You are on page 1of 24

PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563

2552 หนา | 1
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

B-PAT1 : ตุลาคม 2551


1. กําหนดให S = {x | x   และ x 3  x  0 } เซตในขอใดตอไปนี้เทากับเซต S
[B-PAT1 ต.ค. 2551 : 1]
1. {x | x   และ x 2  x 4  0 }
2. {x | x   และ x 3  x  2x }
3. {x | x   และ x2  1  0 }
4. {x | x   และ x 2  1  2x }

2. กําหนดให A = {x | x   และ x < 100} และ B = {x | x  A และ 5 หาร x ลงตัว}


จํานวนสมาชิกของเซต P(B) เทากับขอใดตอไปนี้ [B-PAT1 ต.ค. 2551 : 2]
1. 25
2. 219
3. 220
4. 299

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 2
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

3. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4} , B = {2, 4, 6, 8} และ C = {2, 4, 8, 9, 10}


แลว n(A  B) + n(B  C) เทากับขอใดตอไปนี้ [B-PAT1 ต.ค. 2551 : 3]
1. 8
2. 10
3. 12
4. 14

PAT 1 : มีนาคม 2552


4. กําหนดให A = {,, 1, {1}} ขอใดตอไปนี้ผิด [PAT 1 มี.ค. 2552 : 2]
1.   A
2. {}  A
3. {1, {1}}  A
4. {{1}, {1, {1}}}  A

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 3
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

5. กําหนดให A = {x | x เปนจํานวนคูบวก และ x  100}


และ B = {x | x  A และ 3 หาร x ลงตัว}
จํานวนสมาชิกของเซต P(B) เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 มี.ค. 2552 : 1]
1. 216
2. 217
3. 218
4. 219

PAT 1 : กรกฎาคม 2552


6. ในการสํารวจความคิดเห็นของนั นของนักเรียนชั้นมัธยมศึ
ย กษาตอนปลายจํานวน 880 คน เพื่อสอบถามขอมูล
เกี่ยวกับการศึกษาตอ ปรากฏผลดังนี้
มีผูศึกษาตอ 725 คน
มีผูตองการทํางาน 160 คน
มีผูตองการศึกษาตอหรือทํางาน 813 คน
ผูที่ตองการศึกษาตอและทํ
อและทํางานดวยมีจํานวนเท
นวน ากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 ก.ค.. 2552 : 2]
1. 67 คน
2. 72 คน
3. 85 คน
4. 90 คน

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 4
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

7. กําหนดให A = {1, 2, {1, 2}, {1, 2, 3}} ขอใดตอไปนี้ผิด [PAT 1 ก.คค. 2552 : 4]
1. {1, 2}  A
2. {1, 2, 3}  A
3. {1, 2}  A
4. {1, 2, 3}  A

PAT 1 : ตุลาคม 2552


8. กําหนดให A = {0, 1, 2, {0, 1, 2}} และ P(A) แทนเซตกําลังของ A
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. A  P(A)  {0, 1, 2}
ข. n(A  P(A)) < n(P(A)A)
n(P(A)
ขอใดตอไปนี้เปนจริง[PAT
PAT 1 ต.ค. 2552 : 3]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 5
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

9. กําหนดเซตและจํานวนสมาชิกของเซตตามตารางตอไปนี้

เซต A B C AB BC AC (A  B)  C


จํานวนสมาชิก 15 17 22 23 29 32 28

จํานวนสมาชิกในเซต ABC เทากับเทาใด [PAT 1 ต.ค. 2552 : 33]

PAT 1 : มีนาคม 2553


10. ให A = {1, {1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของเซต A
ขอใดตอไปนีผ้ ิด [PAT 1 มี.ค. 2553 : 4]
1. จํานวนสมาชิกของ P(A)  A เทากับ 3
2. จํานวนสมาชิกของ P(P(A)) เทากับ 16
3. {{1}}  P(A)  A
4. {  , A}  P(A)

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 6
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

11. กําหนดให A, B และ C เปนเซตใดๆ


ถา n(ABC) C) = 91 , n(A  B  C)  11, n((B  A)  (B  C))  15
n(A  B  C)  20 , n((A  B)  (A  C)  (B  C))  47 และ n(C) = 59
แลว n(A  B  C) เทากับเทาใด [PAT 1 มี.ค. 2553 : 18]

PAT 1 : กรกฎาคม 2553


12. ให A = {, {}, {,, {}}}
{ และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของเซต A
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT 1 ก.ค. 2553 : 4]
1. จํานวนสมาชิกของ P(A) เทากับ 16
2. จํานวนสมาชิกของ P(A)  {, {}} เทากับ 7
3. {, {, {}}}  P(A)  {, {}}
4. {, {}, {{}}}
}}}  P(A)

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 7
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

13. ในการสอบวิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนในโรงเรียนแหงหนึ่ง


มีนักเรียนเขาสอบทั้งหมด 66 คน ปรากฏวามีนักเรียนที่สอบตกทั้งสามวิชาจํานวน 13 คน
นักเรียนที่สอบผานทั้งสามวิชา มีจํานวน 17 คน นักเรียนที่สอบผานวิชาภาษาไทยและวิชาภาษาอังกฤษแต
สอบตกคณิตศาสตรมีจํานวน 10 คน นักเรียนที่สอบผานวิชาภาษาไทยและวิชาคณิตศาสตรแตสอบตก
วิชาภาษาอังกฤษมีจํานวน 11 คน นักเรียนที่สอบผานเพียงวิชาเดียว มีจํานวน 6 คน จํานวนนักเรียนที่
สอบผานวิชาภาษาอังกฤษและวิชาคณิตศาสตรเทากับเทาใด [PAT 1 ก.ค. 255 2553 : 26]

PAT 1 : ตุลาคม 2553


14. กําหนดให I แทนเซตของจํานวนเต็ม และ P(S) แทนเพาเวอรเซตของ S
ให A  {x  I | | x2  1 |  8}

และ B  {x  I | 3x2  x  2  0}
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT 1 ต.ค. 2553 : 4]
1. จํานวนสมาชิกของ P(A  B) เทากับ 4
2. จํานวนสมาชิกของ P(I  ( A  B )) เทากับ 2
3. P(A  B) = P(A)  P( A  B )
4. P(A  B)  P( A  B ) = {{0}}

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 8
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

15. กําหนดให A, B และ C เปนเซตใดๆ


ถา n(A) + n(B) + n(C) = 301 และ n(A  B  C)  102
แลว n(A  B  C) มีคาอยางนอยเทากับเทาใด [PAT 1 ต.ค. 2553 : 97]

PAT 1 : มีนาคม 2554


16. โรงเรียนแหงหนึ่งมีนักเรียนจํานวน 750 คน พบวามีนักเรียนจํานวน 30 คน ไมเลนกีฬาเลย
นอกนั้นเลนกีฬาอย
อยางนอยหนึ่งประเภทคือปงปอง แบดมินตัน เทนนิส
จากการสํารวจเฉพาะกลุมนักเรียนที่เลนกีฬา พบวา
มีนักเรียนจํานวน 630 คน เลนกีฬาเพียงประเภทเดียวเทานั้น
มีนักเรียน 30 คน เลนเทนนิสและปงปอง
มีนักเรียน 50 คน เลนปงปองและแบดมินตัน
มีนักเรียน 40 คน เลนเทนนิสและแบดมินตัน
มีนักเรียนไมเลนเทนนิสจํานวน 250 คน
จงหาวามีนักเรียนกี่คนทีเล
เ่ ลนเทนนิสเพียงอยางเดียว [PAT 1 มี.ค. 2554 : 415
415]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 9
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

17. กําหนดให A, B และ C เปนเซตจํากัด


โดยที่ n(P(A)) = log 2 4
log5 256
n(P(B))   5 

และ n(P(A  B))  32 log9 32


เมื่อ P(S) แทนเพาเวอรเซตของเซต S
จงหาคาของ n  P(A)  P(B)  [PAT 1 มี.ค. 2554 : 18]

PAT 1 : ธันวาคม 2554


18. กําหนดให A, B เปนเซตจํากัด โดยที่จํานวนสมาชิกของ P(A) เปนสองเทาของจํานวนสมาชิก P(B)
จํานวนสมาชิกของ P(A  B)  8 และจํานวนสมาชิกของ P(A  B)  256
จํานวนสมาชิกของ P(A  B) เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 ธ.ค. 2554 : 3]
1. 2
2. 4
3. 8
4. 16

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 10
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

19. กําหนดใหเซต A, B , C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U โดยที่ A, B, C  


n(U )  44, n(B)  19, n(A  B  C)  2, n[(A  C)  B]  3
n[A  (B  C)]  6 และ n(A  B  C)  9
แลว n[(A  C)  B] เทากับเทาใด [PAT 1 ธ.ค. 2554 : 16]

PAT 1 : มีนาคม 2555


20. สําหรับเซต S ใดๆให S แทนคอมพลีเมนตของเซต S
กําหนดให A, B และ C เปนเซตในเอกภพสัมพัทธ U
โดยที่ A  B  B , C  A และ B  C  
ถาเซต U มีสมาชิก 12 ตัว เซต A  B มีสมาชิก 10 ตัว
และเซต A  B มีสมาชิก 4 ตัว แลวจะมีเซต C ทั้งหมดกี่เซต [PAT 1 มี.ค. 2555 : 2]
1. 60 เซต
2. 48 เซต
3. 16 เซต
4. 8 เซต

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 11
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

21. ในการสํารวจสโมสรแหงหนึ่งมีสมาชิกจํานวน 100 คน พบวาชอบอานนวนิยาย หรือ หนังสือพิมพ หรือ


นิตยสารอยางนอย 1 รายการ และ
มี 75 คน ชอบอานนวนิยาย
มี 70 คน ชอบอานหนังสือพิมพ และ
มี 80 คน ชอบอานนิตยสาร
จะมีสมาชิกอยางนอยกี่คนที่ชอบอานทั้งสามรายการ [PAT 1 มี.ค. 2555 : 25]

PAT 1 : ตุลาคม 2555


22. กําหนดให U เปนเอกภพสัมพัทธ และให A, B, C ใดๆที่เปนสับเซตของ U
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT
PAT 1 ต.ค. 2555 : 2]
1. A  (B  C)  (A  B)  (A  C)
2. (A  B)  C  (A  C)  (B  C)
3. A  (B  C)  A  (B  C)
4. (A  B)  C  A  (B  C)

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 12
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

23. กําหนดให U เปนเอกภพสัมพัทธ และให A และ B เปนสับเซตของ U


ถา 20% ของสมาชิกในเซต A เปนสมาชิกในเซต B
25% ของสมาชิกในเซต B เปนสมาชิกในเซต A
และจํานวนสมาชิกของเซต (A  B)  (B  A)  112
แลวจํานวนสมาชิกของเซต A  B เทากับเทาใด [PAT 1 ต.ค. 2555 : 128]

PAT 1 : มีนาคม 2556


24. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. A  [(A  B)  (A  B  C)]  A  B
ข. P[A  (B  C)]  P[(A  B)  C]
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT
PAT 1 มี.ค. 2556 : 1]
1. ก. ถูก และ ข. ถูก
2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก
4. ก. ผิด และ ข. ผิด

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 13
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

25. กําหนดให A และ B เปนเซตจํากัด โดยที่ A  B  


สับเซตของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว มีทั้งหมด 10 เซต
และสับเซตของ B ที่มีสมาชิก 2 ตัว มีทั้งหมด 6 เซต
ถาจํานวนสมาชิกของ P(P(A  B)) เทากับ 16 เมื่อ P(S) แทนเพาเวอรเซตข
ซตของ S
แลวจํานวนสมาชิกของเซต A  B เทากับเทาใด [PAT 1 มี.ค. 2556 : 7]

PAT 1 : ธันวาคม 2556


26. ให A แทนคอมพลีเมนตของเซต A และ n(A) แทนจํานวนสมาชิกของเซต A
กําหนดให U แทนเอกภพสัมพัทธ ถา A และ B เปนสับเซตใน U โดยที่
n(A  B)  30 , n(A  B)  18 , n(A  B)  3 และ n(A  B)  8
แลวจํานวนสมาชิกของเอกภพสัมพัทธ U เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 ธ.ค. 2556 : 3]
1. 29
2. 30
3. 37
4. 42

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 14
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

PAT 1 เมษายน 2557


27. สําหรับเซต S ใดๆ ให n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
กําหนดให U แทนเอกภพสัมพัทธ ถา A, B และ C เปนสับเซตใน U
โดยที่ n(A) = 2(n(B)) = 3(n(C)) , n(A  B  C)  15 , n(A  B  C)  2
ถา n(A  B)  8 , n(B  C)  4 และ n(A  C)  9
แลว n((A  B)  C) เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 เม.ย. 2557 : 3]
1. 13
2. 12
3. 11
4. 10

PAT 1 พฤศจิกายน 2557


28. ให S แทนคอมพลีเมนตของเซต S และ n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
ให A, B และ C เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
โดยที่ A  C   , A  B   , B  A   , B  C   และ C  B  
ถา n(U) = 20 , n(A)  12 , n(B)  9 , n(C)  15 , n((A  B)  (B  A))  11
และ n((B  C)  (C  B))  12
แลว n((A  B)  (C  B)) เทากับเทาใด [PAT 1 พ.ย. 2557 : 7]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 15
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

29. กําหนดให U  {1,2, 3, 4, 5}


ให S เปนเซตของคูอันดับ (A, B) ทั้งหมด โดยที่จํานวนสมาชิกของเซต A  B เทากับ 2
เมื่อ A และ B เปนสับเซตของ U
จํานวนสมาชิกของเซต S เทากับเทาใด [PAT 1 พ.ย. 2557 : 270]

PAT 1 มีนาคม 2558


30 . ให P(s) แทนพาวเวอรเซตของเซต S ถา A, B, C, D และ E เปนเซตจํากัด
โดยที่ P(D) = {,{1}, D, E} , D  E  A  B , B  C   , {2, 3, 4, 5}  A  B
แต 2  B และ

เซต P(A) P(B) P(A  C) P(C  A)


จํานวนสมาชิก 8 32 2 4

แลวจํานวนสมาชิกของเซต ABC เทากับเทาใด [PAT 1 มี.ค. 2558 : 8]

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 16
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

31. กําหนดให S = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7}


จงหาจํานวนสับเซต A  S ทั้งหมดที่เซต A มีจํานวนสมาชิกอยางนอย 2 ตัว และ a–b>1
สําหรับทุกสมาชิก a และ b ใน A [PAT 1 มี.ค. 2558 : 26]

PAT 1 ตุลาคม 2558


32. ให S แทนคอมพลีเมนตของ S และ n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
ให A, B และ C เปนเซตใดๆ โดยที่ A  (B  C)   , n(A) = 12, n(B) = 15 ,
n(C) = 16, n(A  B  C)  20 และ n(A  B)  n(B  C)  n(A  C)
ขอใดตอไปนีไ้ มถูกตอง [PAT
PAT 1 ต.ค. 2558 : 5]
1. n(A  B  C)  10
2. n(A  B)  11
3. n(A  B)  4
4. n((A  B)  C)  12
5. n((A  B)  C)  5

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 17
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

33. ในการสํารวจความชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร วิชาภาษาไทย และวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนกลุมหนึ่ง


พบวา มีนักเรียนชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร 150 คน
มีนักเรียนชอบเรียนวิชาภาษาไทย 80 คน
มีนักเรียนชอบเรียนภาษาอังกฤษ 60 คน
และ มีนักเรียน 30 คน ชอบเรียนทั้งสามวิชา
นักเรียนกลุมนี้มีจํานวนอย
อยางมากกี
งมาก ่คน [PAT 1 ต.ค. 2558 : 230]

PAT 1 มีนาคม 2559


34. ในการสํารวจนักเรียนหองหนึ่ง เกี่ยวกับความชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร วิชาภาษาอังกฤษ และ
วิชาภาษาไทย พบวานักเรียนในหองนี้ชอบเรี
อ ยนวิชาดังกลาวอยางนอย 1 วิชา และ
มี 24 คน ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร
มี 22 คน ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
มี 21 คน ชอบเรียนวิชาภาษาไทย
มี 21 คน ชอบเรียนเพียงวิชาเดียว
และ มี 4 คน ชอบเรียนทั้งสามวิชา
จํานวนนักเรียนที่ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ หรือวิชาภาษาไทยแตไมชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร
เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT
PAT 1 มี.ค. 2559 : 3]
1. 16 คน
2. 17 คน
3. 18 คน
4. 19 คน
5. 20 คน

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 18
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

35. กําหนดให P(S) แทนเพาเวอรเซตของเซต S


ให A, B และ C เปนเซตใดๆ
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) ถา A  C  B แลว A  B  C
(ข) ถา A  C  B แลว B  (A  B)  (B  C)
(ค) P(A  B)  P(A)  P(B)
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT
PAT 1 มี.ค. 2559 : 5]
1. ขอ (ก) ถูกเพียงขอเดียว
2. ขอ (ข) ถูกเพียงขอเดียว
3. ขอ (ค) ถูกเพียงขอเดียว
4. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูกทั้งสามขอ
5. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ผิดทั้งสามขอ

PAT 1 ตุลาคม 2559


36. กําหนดให P(S) แทนเพาเวอรเซตของเซต S
ให A, B และ C เปนเซตใดๆ
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) (A B)  C  A (B C)
(ข) P(A) – P(B)  P(A – B)
(ค) P(P(  ))  P(P(P(  ))) เมื่อ  แทนเซตวาง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT
PAT 1 ต.ค. 2559 : 3]
1. ขอ (ก) ถูกเพียงขอเดียว
2. ขอ (ข) ถูกเพียงขอเดียว
3. ขอ (ค) ถูกเพียงขอเดียว
4. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูกทั้งสามขอ
5. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ผิดทั้งสามขอ

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 19
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

37. ให Sแทนคอมพลีเมนตของเซต S และ


n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
กําหนดให U แทนเอกภพสัมพัทธ โดยที่ n(U )  70
ถา A, B และ C เปนสับเซตของ U โดยที่ A  B  C   และ
n(A  B)  25 , n(B  C)  18 , n(C  A )  16 และ n((A  B)  C)  7
แลว n(A  B  C) เทากับเทาใด [PAT 1 ต.ค. 2559 : 4]

PAT 1 มีนาคม 2560


38. ให A, B และ C เปนเซตใดๆ
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) ถา A  B   แลว A  B
(ข) ถา C  (A  B)  C  B แลว A  B
(ค) A  B  C  [(A  B)  C]  [(A  B)  C]
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT
PAT 1 มี.ค. 2560 : 5]
1. ขอ (ก) และ ขอ (ข) ถูก แต ขอ (ค) ผิด
2. ขอ (ก) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ข) ผิด
3. ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ก) ผิด
4. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูกทั้งสามขอ
5. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ผิดทั้งสามขอ

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 20
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

39. จากการสํารวจนักเรียนกลุมหนึ่งจํานวน 80 คน เกี่ยวกับการเปนสมาชิกของชมรม 3 ชมรม คือ ชมรม


คณิตศาสตร ชมรมการแสดง และชมรมกีฬา ปรากฏวา มี 30 คน เปนสมาชิกของชมรมคณิตศาสตร
โดยในจํานวนนี้มีนักเรียน 20 คน เทานั้นที่เปนสมาชิกของชมรมคณิตศาสตรเพียงชมรมเดียว มี 5 คน
ที่เปนสมาชิกของชมรมการแสดงและชมรมกีฬา แตไมเปนสมาชิกของชมรมคณิตศาสตร และมี 10 คน
ที่ไมเปนสมาชิกของชมรมใดเลย
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) มี 15 คน ที่เปนสมาชิกของชมรมอยางนอย 2 ชมรม
(ข) มี 55 คน ที่เปนสมาชิกของชมรมใดชมรมหนึ่งเพียง 1 ชมรมเทานั้น
(ค) มี 50 คน ที่เปนสมาชิกของชมรมการแสดงหรือชมรมกีฬา
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT
PAT 1 มี.ค. 2560 : 4]
1. ขอ (ก) และ ขอ (ข) ถูก แต ขอ (ค) ผิด
2. ขอ (ก) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ข) ผิด
3. ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูก แต ขอ (ก) ผิด
4. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ถูกทั้งสามขอ
5. ขอ (ก) ขอ (ข) และ ขอ (ค) ผิดทั้งสามขอ

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 21
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

PAT 1 กุมภาพันธ 2561


40. กําหนดให้ P(S) แทนเพาเวอร์ เซตของเซต S และ n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
ให้ A, B และ C เป็ นเซตจํากัด โดยที B  A และ A  C  
ถ้ า n(P(P(B)))  n(P(B  C))  16 , n(B  C)  1 , n(A  C)  2
และ n(P(A  C))  4n(P(C  A)) แล้ ว n(P(A)) เท่ากับเท่าใด [PAT
PAT 1 ก.พ. 2561 : 32]

PAT 1 กุมภาพันธ 2562


41. ให n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S
ถา A, B และ C เปนเซต โดยที่ n(A)  10 , n(A  B)  4 , n(A  C)  3 และ
n(A  B  C)  18 แลว คามากที่สุดที่เปนไปไดของ n(B  C) เทากับขอใดตอไปนี้
[PAT 1 : ก.พ. 2562 : 5]]
1. 10 2. 12
3. 13 4. 14
5. 15

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 22
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

41. กําหนดให U  {1 , 2 , 3 ,..., 10} และให A และ B เปนสับเซตของ


โดยที่ A  B  {1 , 9} , (A  B)  (B  A)  {2 , 3 , 4 , 5 , 8 , 10}
และ U  A  {3 , 5 , 6 , 7}
จํานวนสมาชิกของเซต A  B เทากับเทาใด [PAT 1 : ก.พ. 2562 : 24]

PAT 1 กุมภาพันธ 2563


42. ให A, B และ C เปนเซตใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) ถา B  C   และ A  (B  C) แลว (A  B)  C  A  B
(ข) A  (B  C)  (A  C)  B
(ค) ถาเซต A มีสมาชิก 9 ตัว เซต B มีสมาชิก 7 ตัว
และเพาเวอรเซตของเซต A  B มีสมาชิก 32 ตัว
แลวเพาเวอรเซตของเซต B  A มีสมาชิก 16 ตัว
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT 1 : ก.พ. 2563 : 5]
1. ขอ (ก) และขอ (ข) ถูก แต ขอ (ค) ผิด 2. ขอ (ก) และขอ (ค) ถูก แต ขอ (ข) ผิด
3. ขอ (ข) และขอ (ค) ถูก แต ขอ (ก) ผิด 4. ขอ (ก) ขอ (ข) และขอ (ค) ถูกทั้งสามขอ
5. ขอ (ก) ขอ (ข) และขอ (ค) ผิด ทั้งสามขอ

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก
PAT 1 ความถนัดทางคณิตศาสตร 2552-2563
2552 หนา | 23
เรื อง เซต .........................................................................................................................................
................................................................. .................................................

43. ให n(S) แทนจํานวนสมาชิกของเซต S ถาA, B และ C เปนเซต


โดยที่ n(A)  n(B)  n(C)  199, n(A  B  C)  100, n((A  B)  C)  35
และ n(C  (A  B))  9 แลว n(A  B) เทากับขอใดตอไปนี้ [PAT 1 : ก.พ. 2563 : 2]
1. 42 2. 43
3. 44 4. 45
5. 46

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก

You might also like