You are on page 1of 4

การจายคาตอบแทนพยานเบื้องตนในชั้น พงส.

By ทานติ./

ถาม
ในชั้ น พนั ก งานสอบสวนมั ก เกิ ด คํ า ถามว า ผู ใ ดบ า งมี สิ ท ธิ ไ ด รั บ เงิ น ค า ตอบแทน
โดยเฉพาะผูเสียหายที่เปนผูกลาวหาในคดี หรือ ตํารวจผูเปนผูกลาวหาในคดี มีสิทธิไดรับ
เงินคาตอบแทนพยาน หรือไม และ เกณฑการจายเงิน มีหลักพิจารณาอยางไร
ตอบวา
1. การจายเงินคาตอบแทนพยาน ชั้นพนักงานสอบสวน เปนไปตาม
" ระเบียบกระทรวงยุติธรรมวาดวยคาตอบแทนและคาใชจายแกพยานสามีภริยาผู
บุพการี ผูสืบ สัน ดานของพยานหรือ บุคคลอื่ นที่ มีความสัมพั นธ ใกล ชิด กับพยานใน
คดีอาญา พ.ศ. 2547 "

2.การจายเงินคาตอบแทนพยานในชั้นของตํารวจ หรือชั้นการสอบสวนของพนักงาน
สอบสวน “มีหลักเกณฑการจายเงินตามระเบียบฯ ดังกลาว ขอ 6 วรรคสอง + ขอ
9”
3.ถอดหลักเปนองคประกอบการจายเงินตามระเบียบฯ ไดดังนี้
3.1.พยานผูรับเงิน “ตองใหการกับตํารวจ” จะเปนฝายสืบสวน ปราบปราม สอบสวนได
หมด
3.2.การใหการของพยานตองเปนการใหการหรือใหถอยคํา ที่นําเขา "สํานวนการ
สอบสวน" ของตํารวจ หรือ พนักงานสอบสวน
3.3.ถอยคําหรือพยานปากที่ใหการ "ตองเปนประโยชนแกคดี"
3.4 ตองครบเกณฑทั้ง 3 ขอ คือ
มีการใหการเปนลายลักษณอักษรกับตํารวจ + คําใหการนั้นเปนสวนหนึ่งของ
สํานวนการสอบสวน + และตองเปนประโยชนแกสํานวนการสอบสวนดวย
3.5 ตามองคประกอบ ขออื่นพอเขาใจ เชน การใหการกับตํารวจ การใหการนั้นตองมี
สํานวนการสอบสวน แตประเด็นวา คําใหการเปนประโยชนแกสํานวนคดีนั้น
คําถามวา ผูใดเปนผูมีอํานาจชี้ขาดวาคําใหการของพยานเปนประโยชนแกสํานวนการ
สอบสวนของพนักงานสอบสวน ประเด็นนี้ตอบวา “ผูกํากับการสถานีตํารวจ” ในฐานะ
หัวหนาพนักงานสอบสวนและหัวหนาสวนราชการระดับกองกํากับการ เปนผูมีอํานาจชี้
ขาด
3.6 ถามตอวา แลว ผูกํากับการ จะชี้ขาดอยางไร ตอบวา พนักงานสอบสวนผูทําการ
สอบสวนพยาน จะตอง “ประมวลเรื่อง” ผานบันทึกขอความ ถึง ผูกํากับการ ผาน หน.
สอบสวน วา
(1.) พยานที่มาใหการนั้น เปนพยานประเภทใด เชน เปน เปนประจักษพยาน
ผูเห็นเหตุการณยิงกันโดยตรง หรือเปนพยานบอกเลารับฟงจากผูตาย หรือเปนพยาน
แวดลอมเห็นผานๆ จําอะไรไมได มาก ฯลฯ
(2)ประเด็นที่พยานใหการตอพนักงานสอบสวนนั้น ยืนยันความผิดของผูตองหา หรือ
พิสูจนความบริสุทธิ์ของผูตองหาได เพียงใด (พูดงายๆคือ หากไมมีพยานปากนี้ คดีจะสั่ง
ฟองไดหรือไม )
(3) เห็นควร ไมจายเงินคาตอบแทนพยาน ตามระเบียบฯ (เพราะหากเห็นควรจายไม
ตองทําบันทึกใหชี้ขาด)
4.คําถามวา หากพยานมารองทุกขตอพนักงานสอบสวนในคดีอาญาที่อยูในอํานาจ ของ
ปปช. ควรจายคาตอบแทนพยานหรือไม
ตอบวา
4.1 คดีที่อยูในอํานาจไตสวนของ ปปช. ถือวา พนักงานสอบสวนไมมีอํานาจอบสวน
จนกวา ปปช.จะคืนคํารองทุกขกลาวโทษกลับมาให พนักงานสอบสวนสอบสวนตาม ป.วิ.
อาญา ในการรั บ คํ า ร อ งของผู ก ล า วหาเบื้ อ งต น พนั ก งานสอบสวน เป น เพี ย ง
ผูรับคํารองทุกขสอบปากคําแลวสงคํารองทุกขตอไปให ปปช. เทานั้น (เหมือน พงส.เปน
เพียง ปณ.เทานั้น) กรณีจึงมีองคประกอบเพียง มีการใหการเปนลายลักษณอักษรกับ
ตํ า รวจ แต คํ า ให ก ารนั้ น มิ ไ ด เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของสํ า นวนการสอบสวน จึ ง ขาด
องคประกอบที่จะจายเงินคาตอบแทนพยานตามระเบียบ 3.4
4.2 นอกจากนี้ การใหการในคดี ปปช. เปนประโยชนตอสํานวน ปปช. หรือไม ก็ยังไม
ทราบแนได เพราะ ปปช.เปนผูสอบสวนไตสวน พนักงานสอบสวนหรือตํารวจ ไมอาจให
ความเห็น ได เมื่อตํ ารวจใหค วามเห็นไม ได จึง ตอง รอ ปปช. ชี้ข าดก อนวา ถอ ยคํา ที่
กลาวหารองทุกขใหการ เปนประโยชนตอสํานวนไตสวนหรือไม หรือเปนแคการกลาวหา
ลอยๆ คําใหการของผูกลาวหา / พยาน / ผูเสียหาย จึงขาดองคประกอบตามขอ 3.4
ที่วา คําใหการนั้นตองเปนประโยชนแกสํานวนการสอบสวนดวย อีก
5.ถามตอวาแลว “ใครบาง” ที่มีสิทธิไดรับเงินคาตอบแทนพยาน
5.1 กอนอื่นตองทราบกอนวาบุคคลตอไปนี้คือ
(1.) ผูกลาวหา
(2.) ผูเสียหาย
(3.) ผูใหถอยคํา
(4.) ผูใหปากคํา
ในชั้นสอบสวน ใน สํานวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวน คือใคร
ตอบวา ใหศึกษาจาก หนังสือการสวนหนาที่ 204 เพราะประเด็นนี้ไดเขียนไวละเอียด
แลวไมขอกลาวซ้ําอีก แตขอตอบใหสั้นๆจากหลักในหนังสือวาพวกเขาเหลานั้นก็คือ
"พยาน" นั่นเอง (เหตุผลใหศึกษาในหนังสือการสอสวนหนาที่ 204 )

5.2 เมื่อบุคคลตามขอ 5.1 ในสํานวนการสอบสวนคือ "พยาน" โดยหลัก ตามระเบียบฯ


“จึงมีสิทธิไดรับคาตอบแทนพยาน”
5.3 แตมีขอยกเวน คือ “คําใหการของบุคคลดังกลาว” ตองเปนประโยชนแกคดี ตาม
ขอ 9 ของระเบียบฯ ตามที่ไดเขียนไวในขอที่ 3.4
6. กลาวโดยสรุป ผูกลาวหา ผูเสียหาย ที่แจงความรองทุกขคดีอาญา และคดีนั้นเปน
"สํานวนสอบสวน" มีก ารตัดเลข มีการสอบสวน มีสิทธิได รับคาตอบแทนพยานตาม
ระเบียบกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2547 ขอ 6 แตมีขอยกเวนวา คดีที่แจง คดีที่ใหการ
คําใหการ ตองมีมูลและเปนประโยชนแกทางราชการในการ ปราบปรามผูกระทําผิดทาง
อาญา ตาม ขอ 9 แหงระเบียบเดียวกัน
7.สําหรับคดีอาญาที่มีการแจงความวา ตํารวจใช วิทยุสื่อสาร ไมถูกตอง หรือแจงความ
วารถตํารวจไมจัดทํา พรบ.คุมครองผูประสบภัย หรือ พรบ.คุมครองผูประสบภัยขาดอายุ
ฯลฯ ผูเขียนเห็นวาไมควรจายคาตอบแทน เพราะ มีลักษณะเปนการแจงเบาะแส ใน
ความผิ ดที่ไม แนชัด และการสอบสวนยังไมแนว าจะมี การดํ าเนิน คดีกับ ผูถูกกลาวหา
หรือไม เพียงใด จึงไมควรจายคาตอบแทน ตามระเบียบ
8. นอกจากนี้ แมแตตํารวจผูจ ับกุมผูตองหา แลว มาพบพนักงานสอบสวนใหการใน
ฐานะผูกลาวหา ในสํานวนคดีอาญา ตร. ก็เคย วินิจฉัยวาสามารถ "จายคาตอบแทน
พยานได" เชนกัน

You might also like