You are on page 1of 65

เขียนเครื่องหมาย P หน0าข0อความที่ถูกต0อง

…………. น้ำระเหยได-เมื่ออุณหภูมิถึงจุดเดือดเท<านั้น

…………. เมื่อน้ำระเหยจะกลายเปCนไอน้ำอยู<ในอากาศ

…………. เราสามารถมองเห็นไอน้ำเปCนควันสีขาวลอยอยู<

…………. เมฆ และฝนเปCนรูปแบบหนึ่งของหยาดน้ำฟQา


ความชื้นต่ำ
อากาศต,องการความชื้น
น้ำต,องระเหยมาก
เสื้อผ,าแห,งเร็ว
ผิวแห,ง
ความชื้นสูง
อากาศไม@ต,องการความชื้น
น้ำเลยระเหยน,อย
เสื้อผ,าแห,งช,า
ผิวเหนียว เหนอะหนะ
ความชื้นของอากาศ

ความชื้นของอากาศ คือ ปริมาณไอน้ำในอากาศซึ่งได:มาจากการ


ระเหยของน้ำจากแหลBงน้ำตBาง ๆ การคายน้ำของพืช และกิจกรรมตBาง ๆ
ของมนุษยH
ความชื้นในอากาศในบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศตBางกันจะมี
ความชื้นของอากาศตBางกัน กลBาวคือ บริเวณพื้นที่แห:งแล:ง ทะเลทราย
มีต:นไม:น:อยจะมีความชื้นของอากาศต่ำ บริเวณที่มีปOาไม: ใกล:แหลBงน้ำจะมี
ความชื้นของอากาศสูง
ความชื้นของอากาศ

อากาศที่อยูBในสภาวะอิ่มตัวด:วยไอน้ำ เปQนสภาวะที่อากาศมีไอน้ำ
สูงสุดไมBสามารถรับไอน้ำได:อีก
ปริมาณไอน้ำอิ่มตัว หมายถึง ปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับไว:ได:
มีหนBวยเปQน กรัม/ลูกบาศกHเมตร (g/m3) เชBน ที่อุณหภูมิ 40 oC ปริมาณไอ
น้ำอิ่มตัวเทBากับ 50 g/m3 หมายความวBา อากาศปริมาตร 1 ลูกบาศกHเมตร
มีไอน้ำมากที่สุดได:เทBากับ 50 กรัม
สรุป ระเหย

เมื่อโลกได+รับความร+อนจากดวงอาทิตย9 น้ำจากแหล>งน้ำต>าง ๆ บนโลกจะ


ระเหยกลายเปCนไอน้ำ รวมไปถึงไอน้ำที่ได+จากการคายน้ำของพืช และกิจกรรมต>าง ๆ
ของมนุษย9 จะทำให+ไอน้ำลอยอยู>ในอากาศปะปนกับแกOสต>าง ๆ ซึ่งปริมาณไอน้ำที่มี
อยู>ในอากาศนี้ เรียกว>า ความชื้นของอากาศ
ความชื้นในอากาศเหล>านี้เปCนปSจจัยที่ทำให+เกิดเมฆ หมอก น้ำค+าง หรือ
รูปแบบอื่นของหยาดน้ำฟVา
สรุป
ปริมาณไอน้ำที่อากาศรับไว+จะมากหรือน+อย
ขึ้นอยู>กับอุณหภูมิของบรรยากาศ
ความชื้นต่ำ
ถ"าอุณหภูมสิ ูงอากาศจะรับไอน้ำได"มาก

ถ"าอุณหภูมติ ่ำอากาศจะรับไอน้ำได"น0อย
ความชื้นสูง
อิ่ม
แล-วจ-า

- ถ:าอากาศอยูBในสภาพที่ไมBสามารถรับไอน้ำได:อีก แสดงวBา อากาศขณะนั้น


อิ่มตัวด2วยไอน้ำ
- เรียกสภาวะนี้วBา อากาศอิ่มตัวด2วยไอน้ำ หรืออากาศอิ่มตัว ซึ่งเปQน
สภาวะที่อากาศมีความชื้นมากที่สุด
- ปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับได2ขึ้นอยูDกับอุณหภูมิอากาศ
ความชื้น
ü ณ อุณหภูมิและความดันหนึ่ง ๆ อากาศสามารถ
รับไอน้ำในอากาศได<ในปริมาณจำกัด
ü ปริมาณไอน้ำอิ่มตัว (saturated water vapor)
คือ ปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศสามารถรับได< ณ
อุณหภูมิและความดันหนึ่ง ๆ ในหนึ่งหนFวยปริมาตร

กราฟแสดงปริมาณไอน้ำอิ่มตัวในอากาศ
ที่อุณหภูมิต>าง ๆ
อุณหภูมิกับความชื้น
อากาศ 1 ลูกบาศกDเมตร ณ อุณหภูมิตIาง ๆ กัน จะรับไอน้ำ ไดOดังนี้

ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส อากาศรับไอน้ำไดOมากที่สุดประมาณ 16 กรัม


ที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส อากาศรับไอน้ำไดOมากที่สุดประมาณ 29.5 กรัม
ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อากาศรับไอน้ำไดOมากที่สุดประมาณ 50 กรัม

สรุป
เมื่ออุณหภูมิสูง
อากาศจะสามารถรับไอน้ำไดAมาก
อากาศอุ ณ หภู ม ิ ใ ดมี ป ริ ม าณไอน้ ำ อิ ่ ม ตั ว สู ง กว< า กั น ระหว< า งอากาศที ่ อ ุ ณ หภู มิ
20 องศาเซลเซียส หรืออากาศที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส P.132

กราฟแสดงปริมาณไอน้ำอิ่มตัวในอากาศ
ที่อุณหภูมิต>าง ๆ
อุณหภูมิอากาศและปริมาณไอน้ำอิ่มตัวมีความสัมพันธJกันอยDางไร P.132
การหาปริมาณความชื้น
สามารถบอกค>าความชื้นของอากาศได+ 2 วิธี ดังนี้

ความชื้นสัมบูรณD (A.H.)
(Absolute Humidity)

ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)
ความชื้นสัมบูรณD (A.H.)
(Absolute Humidity)

- แสดงปริมาณไอน้ำที่มีอยู<จริงในอากาศ ณ อุณหภูมิใด อุณหภูมิหนึ่ง


- อัตราส<วนระหว<างมวลของไอน้ำในอากาศกับปริมาตรของอากาศ ณ
ขณะนั้น

หน6วยเป;น กรัมต6อลูกบาศกGเมตร (g/m3)


สูตร
ความชื้นสัมบูรณ< (A.H) =
มวลของไอน้ำในอากาศ
ปริมาตรของอากาศ ณ อุณหภูมิเดียวกัน
อากาศในที่แหDงหนึ่งมีปริมาตร 8 ลูกบาศกJเมตร
ตัวอยDาง ณ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มีไอน้ำอยูD 32 กรัม
ความชื้นสัมบูรณJมีคDาเทDาไร
ในห2องขนาด 250 ลูกบาศกJเมตร มีความชื้นสัมบูรณJ 30 กรัม
ตัวอยDาง ตDอลูกบาศกJเมตร ในห2องนั้นจะมีมวลของ
ไอน้ำในอากาศเทDาใด P.131
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)
- แสดงความสามารถของอากาศในการรับปริมาณไอน้ำ ณ ขณะนั้นว<าอากาศ
มีปริมาณไอน้ำในอากาศเท<าไรเทียบกับความสามารถที่จะรับได-ทั้งหมด และ
จะสามารถรับได-อีกเท<าไร โดยแสดงค<าเปCนเปอร\เซ็นต\
- ปริมาณเปรียบเทียบระหว<างปริมาณของไอน้ำที่มีอยู<จริงในอากาศขณะนั้นกับ
ปริมาณของไอน้ำในอากาศอิ่มตัวที่อุณหภูมิ ความดัน และปริมาตรเดียวกัน
- ถ-าความชื้นสัมพัทธ\น-อย เหงื่อระเหยได-เร็วจะรู-สึกหนาวเย็น แต<ถ-าความชื้น
สัมพัทธ\มาก เหงื่อระเหยได-น-อยจะรู-สึกอึดอัด ดังนั้นอากาศที่ทำให-รู-สึกสบายจะมี
ความชื้นสัมพัทธ\ประมาณ 60%
- อากาศมีความชื้นสัมพัทธ\ 80% หมายถึง อากาศปริมาตร 1 m3 มีไอน้ำอยู<
80 กรัม และจะรับไอน้ำได-อีก 20 กรัม
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

สูตร
ปริมาณไอน้ำที่มีอยู<จริง
ความชื้นสัมพัทธJ(R.H) = x 100 %
ปริมาณไอน้ำในอากาศอิ่มตัว
หรือ
ความชื้นสัมบูรณ\
ความชื้นสัมพัทธJ(R.H) = x 100 %
ปริมาณไอน้ำในอากาศอิ่มตัว
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

• บริเวณที่มีต"นไม"หนาแน?น อากาศจะมีความชื้นสัมพัทธGสูงกว?า
บริเวณกลางแจ"ง หรือบริเวณที่อยู?ใกล"แหล?งน้ำจะมีความชื้น
สัมพัทธGสูงกว?าบริเวณที่อยู?ไกลแหล?งน้ำ
• ดั ง นั ้ น ปH จจั ยที ่ มี ผลตL อคL า ความชื ้ น สั มพั ทธ< คื อ อุ ณหภู มิ
อากาศ ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่ตรวจวัด และเวลาใน
การตรวจวัด
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)
• อากาศที่มีความชื้นสัมพัทธJร2อยละ 100 เปQนอากาศที่ไมBสามารถรับ
ไอน้ำได:อีก เนื่องจากปริมาณไอน้ำจริงในอากาศมีคBาเทBากับปริมาณ
ไอน้ำอิ่มตัว เรียกอากาศนี้วBา อากาศอิ่มตัว

ที่มา: pixabay.com/Maja Kochanowska


ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

• ถ:าอุณหภูมิอากาศลดลงอีกแม:เพียงเล็กน:อย ความสามารถในการรับไอ
น้ำของอากาศจะลดลงจากเดิม อากาศจึงไมBสามารถรับไอน้ำที่เกินจาก
คBาปริมาณไอน้ำอิ่มตัวได: ไอน้ำในอากาศสBวนเกินจึงควบแนBนกลายเปQน
ละอองน้ำ แล:วรวมตัวกันเกิดเปQน เมฆ หมอก หรือน้ำค:าง
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

• อุณหภูมิที่อากาศควบแนBนเปQนละอองน้ำ เรียกวBา อุณหภูมิจุดน้ำค2าง


คBาความชื้นสัมพัทธHจึงมีความสำคัญ สามารถใช:ทำนายการเกิด เมฆ
หมอก หรือน้ำค:างได:

ที่มา: pixabay.com/katya10 ที่มา: pixabay.com/Pitsch


ความชื้นสัมพัทธF (R.H.)
(Relative Humidity)

• ค> า ความชื ้ น สั ม พั ท ธ9 เ ฉลี ่ ย ตลอดปZ ข องประเทศไทยอยู > ใ นช> ว งร+ อ ยละ 70-80
เนื่องจากอยู>ใกล+เส+นศูนย9สูตร อุณหภูมิอากาศตลอดปZค>อนข+างสูง และมีพื้นที่อยู>
ติดทะเล
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

• ภูมิภาคที่อยูBติดทะเล ความชื้นสัมพัทธHมีคBาสูง สBวนภาคที่อยูBลึกเข:าไป


ในแผBนดิน ความชื้นสัมพัทธHโดยเฉลี่ยจะต่ำกวBาภาคอื่น ๆ
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

โดยในบริเวณที่มีต:นไม:หนาแนBน อากาศจะมีความชื้นสัมพัทธHสูงกวBา
บริเวณกลางแจ:ง หรือบริเวณที่อยูBใกล:แหลBงน้ำจะมีความชื้นสัมพัทธHสูงกวBา
บริเวณที่อยูBไกลแหลBงน้ำ

ที่มา: pixabay.com/Julius Silver


ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

• หากพิจารณาความชื้นสัมพัทธHเฉลี่ยในแตBละฤดูจะพบวBา ฤดูฝนมีคBา
ความชื้นสัมพัทธHสูงที่สุด รองลงมาคือ ฤดูหนาว และฤดูร:อน ตามลำดับ
ถ0าอากาศมีความชื้นสัมพัทธ<ต่ำ น้ำจะระเหยได0มากขึ้น
หรือน0อยลง เป`นเพราะเหตุใด P.136
หากปริมาณไอน้ำจริงในอากาศมีคLาคงที่ เมื่ออุณหภูมิ
ลดลง ความชื้นสัมพัทธ<จะมีคLาเพิ่มขึ้นหรือลดลง P.136
เหตุใดบริเวณที่อยูLใกล0แหลLงน้ำจึงมีความชื้นสัมพัทธ<สูง
กวLาบริเวณที่อยูLไกลแหลLงน้ำ P.136
พื้นที่สองบริเวณมีความชื้นสัมพัทธ<เทLากัน จะสามารถ
สรุปได0หรือไมLวLาอากาศทั้งสองบริเวณมีความชื้นเทLากัน
เพราะเหตุใด P.136
เหตุใดทะเลหมอกจึงมักพบในชLวงเช0า P.137

ที่มา: pixabay.com/Dan Fador


เหตุใดผ0าที่ตากไว0บางวันจึงแห0งช0ากวLาปกติ P.137

ที่มา: pixabay.com/Jill Wellington


เหตุใดจึงพบหยดน้ำเกาะบริเวณข0างแก0วน้ำเย็น P.137

ที่มา: pixabay.com/Dirk Wohlrabe


เหตุใดความชื้นสัมพัทธ<เฉลี่ยในฤดูร0อน จึงต่ำกวLาฤดู
หนาว P.138
ความชื้นสัมพัทธD (R.H.)
(Relative Humidity)

สูตร
ปริมาณไอน้ำที่มีอยู<จริง
ความชื้นสัมพัทธJ(R.H) = x 100 %
ปริมาณไอน้ำในอากาศอิ่มตัว
หรือ
ความชื้นสัมบูรณ\
ความชื้นสัมพัทธJ(R.H) = x 100 %
ปริมาณไอน้ำในอากาศอิ่มตัว
ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวด-วย
ไอน้ำ 180 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร แต<ขณะนั้น
ตัวอยDาง
มีไอน้ำอยู<จริงเพียง 135 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร
ความชื้นสัมพัทธ\มีค<าเท<าไร
ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อากาศที่มีคDาความชื้นสัมพัทธJ
ตัวอยDาง ร2อยละ 70 มีปริมาณไอน้ำจริงเทDาใด และจะสามารถรับไอน้ำ
ได2อีกเทDาใด P.133
ความชื้น
ü การหาความชื้นสัมบูรณMทำให<ทราบความชื้นในอากาศขณะนั้น แตFไมFทราบวFาในขณะนั้น
อากาศมีความชื้นมากหรือน<อยเพียงใด
ü ความชื้นสัมพัทธD (relative humidity) เปKนคFาเปรียบเทียบปริมาณไอน้ำที่มีอยูFจริงในอากาศ
กับปริมาณไอน้ำอิ่มตัว ณ อุณหภูมิ ความดัน และปริมาตรเดียวกัน
ü คF า ความชื ้ น สั ม พั ท ธM บอกได< ว F า ในขณะนั ้ น อากาศมี ความชื ้ น มากหรื อ น< อ ยเมื ่ อ เที ย บกั บ
ความสามารถของอากาศที่จะรับไอน้ำทั้งหมด และอากาศจะสามารถรับปริมาณไอน้ำได<อีก
มากน<อยเพียงใด
แบบฝ$กหัด
อากาศอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มีไอน้ำอยู<
ขOอ 1 ในอากาศ 120 กรัม โดยมีปริมาตรของอากาศ
5 ลูกบาศก\เมตร จงหาความชื้นสัมบูรณ\
หOองอบไอน้ำหOองหนึ่งกวOาง 1.5 เมตร ยาว 5 เมตร
ข-อ 2 สูง 2 เมตร มีไอน้ำกระจายทั่วหOอง ปริมาณ
660 กรัม อยากทราบวIา ถOาเขOาไปในหOองนี้
ความชื้นสัมบูรณDภายในหOองขณะนั้น มีคIาเทIาใด
ห-องห-องหนึ่งมีความชื้นสัมบูรณ\ 65 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร พบว<า มีไอน้ำ
ข-อ 3
กระจายอยู<ในอากาศ 1,235 กรัม ปริมาตรของห-องนี้ มีค<าเท<าใด
ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวด-วยไอน้ำ
ข-อ 4 180 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร แต<ขณะนั้นมีไอน้ำอยู<จริง
เพียง 81 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร
ความชื้นสัมพัทธ\จะมีค<าเท<าใด
ณ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส อากาศอิ่มตัวด-วยไอน้ำ
ข-อ 5 160 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร แต<ขณะนั้นมีไอน้ำอยู<จริง
เพียง 100 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร
ความชื้นสัมพัทธ\จะมีค<าเท<าใด
ความชื้นสัมบูรณ\ของอากาศมีค<า 74 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร
ข-อ 6 ในขณะทีอ่ ากาศแห<งนี้สามารถรับไอน้ำ
ได-เต็มที่ 80 กรัมต<อลูกบาศก\เมตร ความชื้นสัมพัทธ\
ของอากาศมีค<าเท<าใด
ความชื้นสัมพัทธ\มีค<า 45 เปอร\เซ็นต\ และความชื้นสัมบูรณ\ 90 กรัมต<อ
ข-อ 7 ลูกบาศก\เมตร จงหาค<าอากาศอิ่มตัว
การวัด
ความชื้น
atmospheric moisture

https://www.scimath.org/video-science/item/8093-2018-05-02-06-27-24
เครื่องมือที่ใชAวัดความชื้น
การวัดความชื้นในอากาศนิยมวัดเปOน
“ความชื้นสัมพัทธ<”
เครื่องมือที่ใช2วัด
“ไฮโกรมิเตอรJแบบ
กระเปาะเปbยกและกระเปาะแห2ง”
หรือ
”ไซโครมิเตอร<”
เทอร%มอมิเตอร%
(Psychrometer)
กระเปาะแห/ง กระเปาะเป1ยก

ผ/าฝ5าย

น้ำ
ความชื้นอากาศ คือ ปริมาณไอน้ำที่มีอยู<ในอากาศบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
เครื่องมือที่ใช2วัดความชื้นของอากาศ เรียกวDา ไซโครมิเตอรJ
ไซโครมิเตอร\ (psychrometer)
• ประกอบไปด<วย เทอรMมอมิเตอรMสองอัน ด<านหนึ่งคือด<าน
เทอรDมอมิเตอรDกระเปาะแหOงวัดอุณหภูมิอากาศ อีกด<าน
เปKนเทอรDมอมิเตอรDกระเปาะเปlยก (มีไส<ผ<ายึดติดอยูFที่สFวน
ปลายของเทอรMมอมิเตอรM) จะวัดอุณหภูมิอากาศที่ลดลง
เมื่อน้ำระเหยออกไป
• หากความแตกตF า งของอุ ณ หภู ม ิ ข องเทอรM ม อมิ เ ตอรM
กระเปาะแหTง กระเปาะเปPยก กระเปาะแห<งและเทอรMมอมิเตอรMกระเปาะเปTยกมีคFามาก
นั ่ น คื อ น้ ำ ระเหยออกจากผ< า หุ < ม กระเปาะเปT ย กได< ม าก
ไฮกรอมิเตอรD
แสดงวFาคFาความชื้นต่ำ เพราะน้ำระเหยได<มาก
กระเปาะแห+ง กระเปาะเปZยก
วัดอุณหภูมิธรรมดา จะมีผ<าเปTยกหุ<มปลายกระเปาะไว<
อุณหภูมิจะต่ำกวFาอันแรก
วัดอุณหภูมิอากาศที่ลดลงเมื่อน้ำ
ระเหยออกไป

วิธีหาคDาความชื้นสัมพัทธJ
นำผลต>างของอุณหภูมทิ ั้งสอง
มาหาค>าความชื้นจากตาราง
แสดงค>าความชื้นสัมพัทธ9
วิธีการใช, 4 STEPS

STEP 1 : หาผลต<างของอุณหภูมทิ ี่วัดได-จากกระเปาะแห-งและกระเปาะเปwยก


STEP 2 : นำผลต<างที่ได-ไปใช-สังเกตตารางหาค<าความชื้นสัมพัทธ\ในแนวตั้ง
STEP 3 : สังเกตอุณหภูมิของเทอร\มอมิเตอร\กระเปาะแห-งในแนวนอน
STEP 4 : ลากเส-นจากแนวตั้งและแนวนอนของตารางมาตัดกัน
ถ0าอุณหภูมิจากเทอร<มอมิเตอร<กระเปาะแห0งและเทอร<
มอมิเตอร<กระเปาะเปvยกไมLตLางกัน ความชื้นสัมพัทธ<ใน
อากาศควรมีคLาเทLาใด P.136
อ"านค"าอุณหภูมิของเทอร2มอมิเตอร2กระเปาะแห8งอ"านได8
29 องศาเซียลเซียส และอุณหภูมิของเทอร2มอมิเตอร2กระเปาะ
ตัวอยDาง
เปDยกอ"านได8 25 องศาเซลเซียส จงหาค"าความชื้นสัมพัทธ2

1. ผลต>างของอุณหภูมิ

2. อุณหภูมิของเทอร2มอมิเตอร2
กระเปาะแห8งมีค"า
อยู"ในช"วง
คIาความชื้นสัมพัทธD
มีคIา %

จากตารางจะพบวIา เมื่อผลตIางของอุณหภูมิ
กระเปาะแห[งและกระเปาะเป\ยกมีคIามากขึ้น แตI
ความชื้นสัมพัทธhจะมีคIา…................................
อ"านค"าอุณหภูมิของเทอร2มอมิเตอร2กระเปาะแห8งอ"านได8
ข2อ 1 34 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิของเทอร2มอมิเตอร2กระเปาะ
เปDยกอ"านได8 30 องศาเซลเซียส จงหาค"าความชื้นสัมพัทธ2

1. ผลต>างของอุณหภูมิ

2. อุณหภูมิของเทอร2มอมิเตอร2
กระเปาะแห8งมีค"า
อยู"ในช"วง
คIาความชื้นสัมพัทธD
มีคIา %
จากข8อมูลที่กำหนดให8 จงเติมลงในช"องว"างให8สมบูรณ2
ข2อ 2
อุณหภูมิกระเปาะ อุณหภูมิกระเปาะ ผลต่าง ความชืน@
แห้ง (°C) เป6ยก (°C) (°C) สั มพัทธ์ (%)
35 33
24 18
32 29
26 4
14 2
20 6 57
32 79
ในหO อ งทดลองแหI ง หนึ ่ ง ผู O ท ดลองอI า นคI า เทอรD ม อมิ เ ตอรD ก ระเปาะเปl ย กไดO
ข-อ 3 25 องศาเซลเซียส มีผลตIางอุณหภูมิเปpน 4องศาเซลเซียส ขณะนั้นมีปริมาณไอน้ำใน
หOองทดลอง เทIากับ 36.92 กรัม/ลูกบาศกDเมตร อยากทราบวIาจะมีปริมาณไอน้ำ
อิ่มตัวเทIาใด
อากาศในที่แหIงหนึ่ง อIานคIาเทอรDมอมิเตอรDกระเปาะแหOงไดO 19 องศาเซลเซียส และ
ข-อ 4 กระเปาะเปlยกไดO 18 องศาเซลเซียส ขณะนั้นสามารถรับไอน้ำไดOเต็มที่
20 กรัม/ลูกบาศกDเมตร จงหาปริมาณไอน้ำที่มีอยูIจริงในขณะนั้น
ความชื้นอากาศ คือ ปริมาณไอน้ำที่มีอยูIในอากาศบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
เครื่องมือที่ใช2วัดความชื้นของอากาศ เรียกวDา ไฮกรอมิเตอรJ
ไฮกรอมิเตอร\แบบเส-นผม หรือบารอเทอร\มอไฮโกรกราฟ
• ไฮโกรมิเตอรDแบบเสOนผม เปpนเครื่องมือวัดความความชื้นสัมพัทธDของอากาศ ที่ใชOเสOน
ผมที่สะอาดปราศจากไขมันของมนุษยDเสOนเดียวหรือหลายเสOน โดยอาศัยหลักการยืด
และหดตัวของเสOนผมเมื่อไดOรับความชื้น กลIาวคือ ถOาความชื้นในอากาศมีมากเสOนผม
จะยืดยาวออก แตIถOาความชื้นในอากาศมีนOอย เสOนผมก็จะหดตัวสั้นลง
เข็มบันทึกกราฟความชื้น

เสTนผม

ไฮกรอมิเตอร[แบบเสTนผม โครงสรTางไฮกรอมิเตอร[แบบเสTนผม
ความชื้นอากาศ

อากาศแห,งเบากว@าอากาศชื้น ??
ความชื้นอากาศ

• ความชื้นจริง (ความชื้นสัมบูรณJ) มีคDาสูง ความชื้นสัมพัทธJจะมีคDาสูง


ด2วย กลDาวถูกหรือผิด ?

You might also like