You are on page 1of 137

ิ ปะ

้ ว่ ั ไป....ศล
ความรูท
Introduction of Art
รายวิชา 01999034 ศิลปะวิจักษณ์ (Art Perception)
ผศ.ดร.วันดี พินิจวรสิน
01999034

ิ ปะวิจ ักษณ์ (Art Perception)


ศล
….???
ึ ษา...
ทําไมจึงควรศก ิ ปะวิจ ักษณ์?
ศล
Why do we have
to study Art
Perception?
Meaning of Art
Type of Art
Influence on Art Work creation

ิ ปะ
้ ว่ ั ไป....ศล
Element of Art
ความรูท Content of Art
Aesthetics of Art
(Introduction of Art) Role and value of Art

• ความหมายของศล ิ ปะ
• ประเภทของศล ิ ปะ
• อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานศล ิ ปะ
• องค์ประกอบทางศล ิ ปะ
• ้ หาในงานศล
เนือ ิ ปะ
• สุนทรียภาพในงานศล ิ ปะ
• บทบาทและคุณค่าของศล ิ ปะ
ิ ปะคืออะไร?
ศล

What is Art?
Art is Nature and Life

ิ ปะ...ธรรมชาติและชวี ต
ศล ิ
Australian Aboriginal Cave Painting……25,000 ปี
ั จ.อุท ัยธานี...3,000-5,000 ปี
เขาปลาร้า อ.ลานสก
what is Art?
Art is one factor in life and it’s developing
along with human society since ancient time.
However, it’s still difficult to assume What is Art?

ิ ปะคืออะไร?
ศล

ศลิ ปะเป็นปัจจ ัยหนึง่ ทีอ


่ ยูค
่ วบคูก่ ับ

วิว ัฒนาการของสงคมมนุ ษย์มา
ตงแต่
ั้ ในอดีต....
แต่เป็นเรือ
่ งยากทีจ ่ ะสรุปให้แน่ชดว่ ั า
ศล ิ ปะคืออะไร
Art can be what human created since
ancient time 300-450 BC or Greek era,
imitation of nature, representation of human

ิ ปะคืออะไร?
ศล
world and environment, art is beauty.
Aristotle said Artwork is created from
copying naturalistic shape to present
ิ ปิ น และน ักวิชาการ
ตามท ัศนะโดยน ักปราชญ์ ศล abstract concept of things more than its
shape and figure.

ิ ปะ คือ สงิ่ ทีม


• ศล ้ (ประมาณ 300-450 ปี ก่อน
่ นุษย์สร้างขึน
ิ )
คริสตกาลหรือสม ัยกรีกในยุคคลาสสค
ิ ปะ คือ การเลียนแบบธรรมชาติ – เพลโต้ (Plato) กล่าวว่า
• ศล
ธรรมชาติเป็นต้นแบบสา ํ ค ัญต่องานศล ิ ปะ เป็นแหล่งวิทยาการความรูอ ้ ัน
สา ํ ค ัญต่อมนุษยชาติ เพือ ่ การดํารงชพี อย่างมีคณ ุ ค่าต่อไป
• ศล ิ ปะ คือ การเป็นต ัวแทนของแก่นสารของสงิ่ ต่างๆ -
อริสโตเติล (Aristotle) กล่าวว่า ศล ิ ปิ นสร้างงานศล ิ ปะโดยเลียนแบบ
รูปทรงจากธรรมชาติ เพือ ่ แสดงสาระสา ํ ค ัญทีม ี ยูใ่ นสงิ่ ต่างๆ มากกว่า
่ อ
การเลียนแบบรูปร่าง หรือรูปทรงภายนอกของสงิ่ นนๆ ั้
• ศล ิ ปะ คือ ความงาม ความงามน ับเป็นพืน ้ ฐานขนต้ ั้ นของศล ิ ปะ
ความงามม ักปรากฏในล ักษณะของความรูส ้ กึ ทงั้ “สุขนาฏกรรม”
“โศกนาฏกรรม” และความน่าอึง้ และทึง่ ความรูส ้ ก ึ เหล่านีเ้ ป็นปัจจ ัย
สาํ ค ัญทีศ่ ล ้ า
ิ ปิ นใชถ ่ ยทอดออกมาในงานศล ิ ปะนนๆ ั้
Plato said nature is prototype of art work . Beauty is fundamental factor of art both Comedy and
Resource for knowledge to human and their Tragedy. Excitement and amazement are basic emotions in
valuable ways of life. creating art piece.
Burj al-Arab, Dubai
Art is expression of feeling in form of art piece both physical and mental
from an artist’s mind and life experience, society, race, humanity.
ิ ปะคืออะไร?
ศล
ิ ปิ น และน ักวิชาการ
ตามท ัศนะโดยน ักปราชญ์ ศล

• ศลิ ปะ คือ การถ่ายทอด/การแสดงออกทางความรูส ึ เป็น


้ ก
รูปทรงในรูปของผลงาน ซงึ่ การแสดงออกถึงนนหมายถึ
ั้ งสว่ นที่
่ ายในของชวี ต
อยูภ ิ และจิตใจ อาจจะเป็นสงิ่ ทีอ ิ ปิ นเอง ของ
่ ยูใ่ นต ัวศล

ชุมชน ของสงคม ของเชอ้ื ชาติ หรือความเป็นมนุษยชาติโดยรวม

Shimogamo, Kyoto, Japan Sri Harmandir Sahib (Golden temple), Sri Amritsar, India
Art in Religions and beliefs

ิ ปะ...ศาสนาและความเชอ
ศล ื่
Nasir ol Molk Mosque (Pink Mosque), Shiraz, Iran
Nasir ol Molk Mosque (Pink Mosque), Shiraz, Iran
Notre – Dame De Paris, France
St. Basil’s Cathedral, Russia
Holi Festival, India
World Bodypainting Festival (2014), Australia
ิ ปะคืออะไร?
ศล
ิ ปิ น และน ักวิชาการ
ตามท ัศนะโดยน ักปราชญ์ ศล

ิ ปะ คือ ภาษา/สอ
• ศล ื่ /การสอ
ื่ ความหมาย ผ่านเทคนิคและ
กระบวนการต่างๆทีท่ า ิ ปะสามารถสอ
ํ ให้ผลงานศล ื่ ความหมายไปย ังผู ้
ดูตามเป้าประสงค์
ิ ปะ คือ การแสดงออกทางบุคลิกภาพเด่นหรือท ักษะ
• ศล
ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานของศล ิ ปิ น
• ศลิ ปะ คือ ความสมปรารถนา - ซก
ิ มุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund
Freud) กล่าวว่าความฝันและงานศล ิ ปะล้วนเป็นการแสดงออกตาม
ความปรารถนาทีถ ่ ก
ู เก็บกดเอาไว้ภายในจิตใต้สา ํ นึก ซงึ่ ในบางเรือ ่ ง
ไม่สามารถกระทําได้ในชวี ต ิ จริง ต ัวอย่างเชน ่ งานศล ิ ปะแบบเหนือ
จริง (Sur-realism)
• ……………………. Art is language/ media/ expression through techniques and various
process to transfer its meaning to its viewer.
Art is expression of behaviour, artist’s skill to create artwork.
Singmund Freud said Art is desire fulfilment. Both dream and art work
are expression from subconsciousness, mind sometimes it can
happen sometimes it can’t happen in reality such as surrealism art
work.
Art is product of creativity in various forms to create
aesthetics, impression or sadness due to an artist’s talent
and skill, value, tastes, intelligence in order to appease and
fulfil admiration, harmony, culture, tradition, believes in
Religions.

ิ ปะคืออะไร?
ศล
What is…...Art..?
ศลิ ปะ คือ ผลแห่งพล ังความคิดสร้างสรรค์ทแ ี่ สดงออกใน
รูปล ักษณะต่างๆ ให้ปรากฏซงึ่ สุนทรียภาพความประท ับใจ
หรือความสะเทือนอารมณ์ตามอ ัจฉริยภาพ พุทธิปญ ั ญา
ประสบการณ์ รสนิยม และท ักษะของแต่ละคน เพือ ่
[ตอบสนอง]ความพอใจ ความรืน ่ รมย์ ขนบธรรมเนียม
จารีต ประเพณี หรือความเชอ ื่ ในล ัทธิศาสนา
ื ปร ัชญาศล
กีรติ บุญเจือ จากหน ังสอ ิ ปะ อ้างในพ ัทยา สายหู (2550, หน้า 6)
2
ิ ปะ….???
Type of Art

ประเภทของศล
ิ ปะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ศล

• ประเภทวิจต ิ ป์ (Fine Arts)


ิ รศล
• ประเภทประยุกต์ศล ิ ป์ (Applied Arts)
วิจต ิ ป์ (Fine Arts)
ิ รศล
วิจต
ิ รศล ิ ป์ คือ ศล ิ ปะทีม ่ เน้นการแสดงออกซงึ่ ความ
่ ุง
งาม การให้อ ารมณ์ ค วามรู ้ส ึก ในแง่ มุ ม ต่ า งๆ เป็ น
คุณ ค่า สํ า ค ญ ั อาจมีก ารคํ า นึง ถึง การใช ป้ ระโยชน์
บ้า ง แต่ม ก ั มุ่ง เน้น ความประณี ต ในการสร้า งสรรค์
บางครงอาจมี
ั้ ความวิจต ิ รบรรจง หรูหราเกินประโยชน์
ใชส ้ อย บางครงอาจเรี ั้ ยกว่า ประณีตศล ิ ป์
Fine arts is art which mainly focuses on admiration, beauty, feeling in different aspects.
sometimes it is art for elegance, extravagance, neat and luxurious more than
it’s usage. In Thai , it’s called Pre-Neet-Silp (neat)
ความรู้ ท่ วั ไปเกี่ยวกับศิลปะ

ประเภทของงานวิจต ิ ป์ (Fine Arts)


ิ รศล

• จิตรกรรม (Painting)
• ประติมากรรม (Sculpture)
• วรรณกรรม (Literature) จินตศลิ ปะ/
ิ ปะการแสดง (Performing Art) โสตท ัศนศล
• ศล ิ ป์
• ดนตรี (Music) ศลิ ปะผสม
ิ ป์ (Applied Arts)
ประยุกต์ศล
ิ ป์เป็นศล
ประยุกต์ศล ิ ปะทีม่ จ
ี ุดมุง
่ หมายเพือ

ประโยชน์ใ ช ้ส อยในช ีว ต
ิ ประจํ า ว น
ั และมี
ความงามให้เกิดความรืน ่ รมย์ไปพร้อมๆก ัน
Art with purpose, to use it in daily life with beauty and aesthetics
at the same time. (beauty you can use)
ิ ป์
ประเภทของงานประยุกต์ศล

• ศลิ ปห ัตถกรรม (Art & Crafts)


• อุตสาหกรรมศล ิ ป์ (Industrial Art) งานออกแบบ
ผลิตภ ัณฑ์ (Product design)
• งานออกแบบเสอ ื้ ผ้าและเครือ
่ งแต่งกาย (Fashion
Design)
• การออกแบบสอ ื่ สาร (Communication Design)
• ศล ิ ปะภาพถ่าย (Photography)
• สถาปัตยกรรม (Architecture) การตกแต่งภายใน
(Interior Design) และภูมส ิ ถาปัตยกรรม
(Landscape Architecture)
3
ิ ปะ.
Influence on Art creativity

อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศล
factors in art creation
influence of environment
influence of believe and religions
Influence of society especially culture and tradition
Influence on Politics and governance
Influence of material and technology in creation
Influence of creativity in an artist or group of artist

ปัจจ ัยทีม
่ ผ ิ ปะ
ี ลต่อการสร้างสรรค์งานศล

• อิทธิพลของสภาพแวดล้อม
• อิทธิพลด้านความเชอ ื่ และศาสนา
• อิทธิพลสภาพทางสงคม ั โดยเฉพาะทีเ่ กีย่ วก ับ
ประเพณีและว ัฒนธรรม
• อิทธิพลด้านการเมืองและการปกครอง
• อิทธิพลจากว ัสดุและเทคโนโลยีในการสร้าง
• อิทธิพลทางความคิดสร้างสรรค์ของศล ิ ปิ นและ
กลุม ิ ปิ น (ศล
่ ศล ิ ปิ นพืน ิ ปิ นร่วมสม ัย ....)
้ บ้าน ศล
• ……..
PONT DU GARD, France สงั คบุร ี จ.กาญจนบุร ี
MORI Building DIGITAL ART MUSEUM by teamLab Borderless, Odaiba, Tokyo, Japan
4
ิ ปะ…?
Element of Art

องค์ประกอบของศล
what is element of art?
element of art (especially in visual arts) are
visible element (see, touch) which are mixed together
to create artistic shape. an artist use these elements to
express the meaning and his creativity.

ิ ปะคืออะไร?
องค์ประกอบศล

องค์ประกอบศล ิ ปะ (โดยเฉพาะในงานท ัศนศล ิ ป์)


ห ม าย ถึง อ ง ค์ป ร ะก อ บที่ ม อ ง เ ห็ น [ห รื อ ร บ ั รู ้
สม ั ผ ส ไ ด้ ]นํ า มาจ ดั ร วมเ ข้า ด้ว ย ก น
ั เ กิด เ ป็ น
รู ป ทรงของศ ล ิ ปะขึน้ ิ ปิ นใช ้อ งค์ป ระกอบ
ศล
ศล ิ ปะเพือ ่ สอ ื่ ความหมายในการแสดงออกถึง
ความคิดสร้างสรรค์ของตน
ิ ปะ
องค์ประกอบศล 3 elements of Art are

ิ ปะ ประกอบด้วย 3 สว
องค์ประกอบศล ่ น

• สอื่ /รูปทรง/องค์ประกอบพืน
้ ฐาน
(Media/Form/Elements)
• เนือ ้ หา (Content)
• สุนทรียธาตุ (Aesthetical elements)
Media/shape/ basic elements
Media = artist use media in create his/her creativity.
it is structure of object which can be seen and absorbed
Media is derived from Elements with Unity
-Basic elements
-Concerning in arranging elements in Art piece.

1. สอื่ /รูปทรง/องค์ประกอบพืน้ ฐาน


ื่ (Media) เป็นสว่ นทีม่ นุษย์นํามาใชเ้ พือ่ การ
สอ
ถ่ายทอดการสร้างสรรค์ขน ้ึ เป็นโครงสร้างทางว ัตถุท ี่
้ ด้วยการ
สามารถมองเห็นหรือร ับรูไ้ ด้ เกิดขึน
ประสานก ันขององค์ประกอบอย่างมีเอกภาพ

• องค์ประกอบศลิ ปะพืน
้ ฐาน (Basic elements)
• ข้อพิจารณาในการจ ัดวางองค์ประกอบในงาน
ศลิ ปะ
ÿ
ิ ปะพืน
1.1 องค์ประกอบศล ้ ฐาน þ of Art are
Basic elements
B

่ นประกอบสําค ัญอ ันเป็นพืน


สว ้ ฐานการ
ิ ปะ ของน ักออกแบบ
สร้างสรรค์งานศล
• จุด (Dot)
• เสน ้ (Line)
• ระนาบ/รูปร่าง (Plane/Shape)
• รูปทรง มวล (Form, Mass)
• ล ักษณะผิว (Texture)
• ส ี (Colour)
• นํา้ หน ักอ่อนแก่ของแสง-เงา (Tone – Light
& Shadow)
• ทีว่ า ่ งไฟ (Space)
่ ง/ชอ
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

Dot is the smallest element of art

จุด (Dot)
which can be seen and can be formed
into other elements. Dot has no width, length and depth.
Dot can be used in shaping form and movement in empty space in picture.

• จุ ด เป็ นองค์ป ระกอบเบื้อ งต้น ที่เ ล็ กที่สุ ด ของการ


มองเห็ น แต่ ม ีค วามสํ า ค ญ ั ของก ารไปสู่ ก ารเกิด
องค์ประกอบอืน ่ ๆ ล ักษณะเฉพาะของจุดคือมีมต ิ เิ ป็น
ศูนย์ ไม่มค ี วามกว้าง ยาว และลึก
• จุดเป็นสงิ่ ทีใ่ ชใ้ นการสร้างรูปทรงและสร้างพล ังความ
เคลือ ่ นไหวของพืน ้ ทีว่ า ้ ในภาพ
่ งขึน
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

Line is formed by collecting many dots together in length in one

้ (Line)
เสน
dimension.
Line is basic element of Art work in every type because
it can express feeling by itself and can be formed in various shapes.

• เ ส ้ น เ ป็ น ผ ล จ า ก ก า ร นํ า จุ ด ห ล า ย ๆ จุ ด ม า เ รี ย ง
ติด ต่ อ ก น ั ออกไปจนเกิด เป็ นความยาวซ ึ่ง เป็ นมิต ิ
เดียว
• เสน ้ เป็นองค์ประกอบพืน ้ ฐานของงานศล ิ ปะเกือบทุก
ประเภท เนือ ่ งจากสามารถแสดงความรูส ึ ด้ว ยต วั
้ ก
ม ันเอง และสามารถนํามาประกอบก ันให้เป็นรูปทรง
ต่างๆ
Line and feeling
I = strength, elegance, stability
_ = relax, smooth, still

้ ก ับการแสดงความรูส
เสน ึ
้ ก _ - _ - _ - = lost, mysterious, imperfect

แข็งแรง มน
่ ั คง สง่างาม น่าเกรงขาม น่าศร ัทธา

สงบ ราบเรียบ ผ่อนคลาย หยุดนิง่

ขาดหาย ลึกล ับ ไม่สมบูรณ์


smooth, soft, stability นุม
่ นวล แข็งแรง หน ักแน่น

contrast, fear, excite, strange ข ัดแย้ง น่ากล ัว ตืน


่ เต้น แปลกตา

ประสานก ัน แข็งแกร่ง ไม่ปลอดภ ัย ไม่หยุดนิง่


mix, co-operate, strenght dangerous, moving
Melbourne Convention and Exhibition Centre
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

ระนาบ/รูปร่าง (Plane/Shape)
้ มาประกอบก ับให้เกิด
• ระนาบ/รูปร่างเป็นการนํ าเสน
ความกว้างและความยาวมีล ักษณะ 2 มิต ิ ไม่มค
ี วาม
หนาหรือความลึก ไม่แสดงความเป็นรูปทรง
Plane/shape are formed by lines in 2 dimensions without depth.
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

รูปทรง (Form) Form is created from Lines in 3 dimension with


width, length, depth

้ มาประกอบก ับให้เกิดความ
• รูปทรงหมายถึงการนําเสน
กว้าง ความยาว และความหนา มีล ักษณะ 3 มิต ิ

รูปทรงอินทรียรูป รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระ


(Organic form) (Geometrical form) (Free Form)
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

มวล (Mass)
Mass is collection of many shapes in
similarity or grouping of objects with
mass, weight

• มวล หมายถึง การรวมกลุม ่ ของรูปร่างหรือรูปทรงที่


มีค วามกลมกลืน ก น
ั หรือ การรวมกลุ่ม ของว ต ั ถุ ใ ห้
เกิดความหนาแน่น มีนํา้ หน ัก
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

ล ักษณะผิว (Texture) Texture is outer skin of objects which can be touched


view and feel both real texture and artificial texture

ล ักษณะผิวหมายถึง
ล ักษณะภายนอกของ
ว ัตถุตา่ งๆทีส่ ามารถจ ับ
ต้อง สมผ ั ัส หรือมองเห็น
แล้วเกิดความรูส ึ ได้
้ ก

การสมผั ัสทีร่ ับรูไ้ ด้จาก


ล ักษณะผิวมีทงที ั้ เ่ กิดจาก
ความเป็นจริงทาง
กายภาพ (Real
texture) และเกิดจาก
เทคนิคภาพลวงตา
(artificial texture)

http://writer.dek-d.com/Peachgal/story/viewlongc.php?id=378902&chapter=7
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

Colour comes from light reflecting on objects and


reflect
some light wave into our eyes so we can detect its size,

ส ี (Colour) texture, colour, shape.


Objects with different colours can absorb and reflect
light differently.
There are 3 types of Colour (below)

• สหี มายถึงปรากฏการณ์ทแี่ สงสอ่ งกระทบว ัตถุแล้วสะท้อน


คลืน ่ แสงบางส่ว นเข้า ตา ระบบประสาทตาประมวลผลจึง
สามารถร ับรูถ ้ งึ ขนาด รูปร่าง ล ักษณะผิวและส ี
• วตั ถุ ม ีส ีต ่ า งก น ั เกิด จากคุ ณ สมบ ต ั ิใ นการดู ด กลืน และ
สะท้อนคลืน ่ แสงทีแ ่ ตกต่างก ัน
• สม ี ี 3 ประเภท
- สข ี องปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ (Naturalistic color)
- สข ี องเนือ ้ ว ัสดุ (Material/Real color)
- สท ี เี่ กิดจากเนือ ้ ส ี (Hue/Specific color)
c a n b e used in
art
ject
ี ก
• สถ ู นํามาใชใ้ น
Colour from ob
การสร้างสรรค์งาน
o lo u r
y. C s
creativit an represent it l
c ee
quality olor wh
ต่างๆ สว ่ นมากเป็น
ip in C
sh
relation

สจ ี ากเนือ้ สเี รียกว่า


สวี ัตถุธาตุ สามารถ
แสดงความสมพ ั ันธ์
ได้เป็นวงจรส ี
(Color wheel)
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

วงจรส ี (Color wheel)

http://realcolorwheel.com/colorwheel/Real_Color_Wheel_475.jpg
Cool Tone Colour side/ Warm tone Colour side

วรรณะสเี ย็น วรรณะสรี อ


้ น
สเี ขียวเหลือง - สม
ี ว
่ ง สเี หลือง - ม่วงแดง

การออกแบบวงจรส ี
Work of 1st year Architectural student in 2008
ค่าส ี หรือนํา้ หน ักของส ี (Value)

Design by using value of Colour from darkest to lightest value

การออกแบบการไล่คา่ นํา้ หน ักความอ่อนแก่ของส ี


การไล่คา่ นํา้ หน ักความอ่อนแก่ของส ี
ความเข้มส ี (Intensity)

https://sites.google.com/site/rainbowtheory1/02-thvsdi-si
ี ับความรูส
จิตวิทยาสก ึ ( Psychology of Color)
้ ก

ี ดง ให ้ความรู ้สก
สแ ึ เร่าร ้อน รุนแรง อันตราย ตืน
่ เต ้น
สเี หลือง ให ้ความรู ้สก
ึ สว่าง อบอุน
่ แจ่มแจ ้ง ร่าเริง ศรัทธา มั่งคัง่
สเี ขียว ให ้ความรู ้สก
ึ สดใส สดชน
ื่ เย็น ปลอดภัย สบายตา มุง่ หวัง
ี ้ า ให ้ความรู ้สก
สฟ ึ ปลอดโปล่ง แจ่มใส กว ้าง ปราดเปรือ
่ ง
ี ว่ ง ให ้ความรู ้สก
สม ึ เศร ้า หม่นหมอง ลึกลับ
ี ํา ให ้ความรู ้สก
สด ึ มืดมิด เศร ้า น่ากลัว หนั กแน่น
Red = anxiety, danger
ี าว ให ้ความรู ้สก
สข ึ บริสท ื
ุ ธิ์ ผุดผ่อง ว่างเปล่า จืดชด
Yellow = warm, lively
Green = fresh, cool, relax
สแ ี สด ให ้ความรู ้สก ึ สดใส ร ้อนแรง เจิดจ ้า มีพลัง อํ านาจ
Blue = wide, elegance,
relax
สเี ทา ให ้ความรู ้สก ึ เศร ้า เงียบขรึม สงบ แก่ชรา Violet = gloomy, sad
Black = fear, sad
white = pure, empty, pale
สน ี ํ้ าเงิน ให ้ความรู ้สก ึ เงียบขรึม สงบสุข จริงจัง มีสOrange
มาธิ = hot, powerful
Grey = sad, old, calm
สน ี ํ้ าตาล ให ้ความรู ้สก ึ แห ้งแล ้ง ไม่สดชน
ื่ น่าเบือ
่ dark blue = elegance,
smooth, concentrated
สช ี มพู ให ้ความรู ้สก ึ อ่อนหวาน เป็ นผู ้หญิง ประณีตpink ร่า=เริsweet,
ง lady, neat
brown = dry, boring

gold = stability, rich,


สท ี อง ให ้ความรู ้สกึ มั่งคัง่ อุดมสมบูรณ์ fruitful

https://www.novabizz.com/CDC/Interior/Interior_Colour01.htm
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

นํา้ หน ักอ่อนแก่ของแสงเงา

Light weight from darker area to lighter area. Light can reflect on some area and
create shadow. Colour gradation from darker to lighter shade.

นํา้ หน ักอ่อนแก่ของแสงเงา (Tone - Light & Shadow)


หมายถึง ค่ า ความอ่ อ นแก่ ข องบริเ วณที่ถู ก แสงสว่ า งและ
่ นํา้ หน ักจะเป็นสเี ดียวหรือ
บริเวณทีเ่ ป็นเงาของว ัตถุ การไล่คา
หลายสก ี ็ได้
https://www.ilovetogo.com/shop/Blog/Detail/rim-light
ิ ปะ
้ ฐานในงานศล
องค์ประกอบพืน

ทีว่ า
่ ง (Space)
space is invisible but can be view when other
elements are grouped together.
3 types of Space are.. (below)

• ทีว่ า ่ งไฟ เป็นสงิ่ ทีม


่ งหรือชอ ่ องไม่เห็น จะร ับรูไ้ ด้เมือ
่ มี
องค์ประกอบอืน ่ ๆเข้ามาประกอบ
• ทีว่ า
่ งมี 3 ประเภท
- ทีว่ า่ ง 2 มิต ิ (Two dimensional space)-กําหนดด้วย
ความกว้างและความยาว มีพน ื้ ทีแ
่ บนราบไม่แสดงความ
ลึก ไม่เคลือ ่ นไหว
- ทีว่ า่ ง 3 มิต ิ (Three dimensional space)-กําหนดด้วย
ความกว้าง ความยาว ความลึก (แสดงใกล้-ไกล)
ทีว่ า่ ง 3 มิตม ิ ี 2 ประเภท
ทีว่ า ่ งทีเ่ ป็นจริง (Physical space) พบในงาน
ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม
ทีว่ า่ งลวงตา (Pictorial space) มีล ักษณะ 3 มิต ิ ที่
มองเห็ น แล้ว ลวงตาไม่ใ ช่ความลึก จริง พบในงาน
จิตรกรรม ภาพพิมพ์หรือภาพถ่าย และศล ิ ปะผสม
การผสานระหว่าง Dot-Line-Plane และการจ ัดทีว่ า
่ ง 2 มิต ิ
Work of 1st year Architectural student in 2008
ทีว่ า
่ งลวงตาล ักษณะ 3 มิต ิ
Modern Art (Cubism)-Work of 1st year Architectural student in 2008
http://www.ottobw.dds.nl/filosofie/linear_perspective_size_constancy.jpg
ทีว่ า
่ งลวงตาล ักษณะ 3 มิต ิ 3 dimension pictorial space

ARTIST: M.C. Escher


http://www.puzzlehouse.com/images/webpage/drawinghands2.jpg
ทีว่ า
่ งลวงตาล ักษณะ 3 มิต ิ 3 dimension pictorial space

HOLOGRAM graphic projection


Louis Vuitton LED Storefront Facade, Changi Airport, Singapore
Ambiguous space is empty space divided by lines to create shape.
an empty space and created space are equally important and it creates
movement and instability alternately.

- ทีว่ า
่ งสองน ัย (Ambiguous space) เป็นทีว่ า ่ งทีถ
่ ก

กําหนดแบ่งด้วยเสน ้ ให้เป็นรูปร่างขึน
้ มา แต่สว่ นที่
เป็นรูปร่างและสว ่ นทีว่ า ั้ ความสําค ัญเท่าก ัน
่ งนนมี
ทีว่ า ้ ักทําให้เกิดพล ังความเคลือ
่ งล ักษณะนีม ่ นไหว
และความไม่แน่นอนสล ับก ันไปมาตลอดเวลา
ทีว่ า
่ งสองน ัย Ambiguous space
ิ ปะ
1.2 ข้อพิจารณาในการจ ัดวางองค์ประกอบศล
(Composition)
• สดสั ว
่ น (Proportion)
• เอกภาพ (Unity)
• จุดเด่น (Dominance) และการแปรเปลีย
่ น
(Variation)
• หล ักการดุลยภาพ (Balance)
• จ ังหวะ (Rhythm)
ิ ปะ
ข้อพิจารณาในการจ ัดวางองค์ประกอบศล

ั ว
สดส ่ น (Proportion)
Propotion is relationship among size, shape,
space, intensity, weight, light in every elements
included an art work itself and its surroundings

ั ว
• สดส ่ นหมายถึงความสมพ ั ันธ์ก ันในเรือ่ งขนาด รูปทรง
้ ที่ ความเข้ม ความหน ัก-เบาของสว
เนือ ่ นต่างๆในต ัว
องค์ประกอบเองและความสมพ ั ันธ์เมือ
่ เทียบเคียงก ับ
องค์ประกอบทีอ ่ ยูแ
่ วดล้อมให้มคี วามเหมาะสม

http://www.mew6.com/composer/art/sculpture.php http://www.elizabethjorn.com/popup/pandora.html#
ิ ปะ
ข้อพิจารณาในการจ ัดวางองค์ประกอบศล
Unity is the unity of every elements
and relations among elements in one art
work which can’t be divided. this unity can

เอกภาพ (Unity)
express/present contents and artist’s
intention. 2 types of unity: static and
dynamic. 2 rules of unity are Opposition and
Collaboration

• เอกภาพหมายถึงการรวมเป็นอ ันหนึง่ อ ันเดียวก ัน มี


ความประสานเชอ ื่ มโยงสมพ ั ันธ์ก ันของสว ่ นต่างๆให้
เกิดเป็นผลงานอ ันหนึง่ อ ันเดียวก ันทีไ่ ม่อาจแบ่งแยก
ได้ ให้เ กิด งานศ ล ิ ปะทีส่ ามารถส อ ื่ /นํ า เสนอเนือ ้ หา
(Contents) ตามความตงใจของผู ั้ อ
้ อกแบบ
• เอกภาพในงานศล ิ ปะมีอยู่ 2 ล ักษณะ:
เอกภาพทีน ่ งิ่ (Static unity) และเอกภาพทีม ่ ค
ี วาม
เคลือ
่ นไหว (Dynamic unity)
• กฎเกณฑ์หล ักทีส ่ ําค ัญของเอกภาพมี 2 ล ักษณะ
- กฎเกณฑ์ของความข ัดแย้ง (Opposition)
- กฎเกณฑ์ของความประสาน
เอกภาพ
กฎเกณฑ์ของความข ัดแย้ง
(Opposition)

การสร้างความข ัดแย้งในงาน
ิ ปะ ได้ทงล
ศล ั้ ักษณะรูปทรง
ขนาด ทิศทาง และการเว้น
้ ทีห
พืน ่ รือจ ังหวะชอ่ งไฟ
Opposition rule : to contrast shape, size,
direction and spacing.

Modern art (Cubism)


Work of 1st year Architectural student in 2008
Collaboration rule : transition and repetition

เอกภาพ
กฎเกณฑ์ของความประสาน

• การเป็นต ัวกลางและแปรเปลีย
่ น(Transition)
• การซํา้ (Repetition)
เอกภาพ
จุดเด่น (Dominance)
การเว้นทีว่ า
่ ง (Space)

การวางตําแหน่ง (Location)

http://watkadarin.com/E-(new)1/02studio2classrm/unit3/chapt3.10domnace/domnace.htm
การเพิม
่ องค์ประกอบ
(Adding elements)

การสร้างจุดเด่นด้วยส ี (Color)

การสร้างความแตกต่างด้วย
ทิศทาง (Exception)

การเปลีย
่ นทิศทางของสายตา
(Eye direction)
การสร้างจุดเด่นด้วยขนาด
(Size)

การแปรเปลีย
่ น (Gradation)

การสร้างทิศทางของเสน้
(Converence of line)
ิ ปะ
ข้อพิจารณาในการจ ัดวางองค์ประกอบศล

หล ักการดุลยภาพ (Balance)
ิ ปะด้วยวิธก
• การจ ัดองค์ประกอบศล ี ารถ่วงนํา้ หน ัก

Symmetrical balance Asymmetrical balance


Asymmetrical balance & Dominance
Approximately symmetrical balance
Approximately symmetrical balance

Work of 1st year Architectural student in 2008


Radial balance
ิ ปะ
ข้อพิจารณาในการจ ัดวางองค์ประกอบศล
Rhythm means movement from
repetition which creates frequency

จ ังหวะ (Rhythm) and distant similarly or differently.


without rhythm an art work will
lose its’ aesthetics

• จ ังหวะหมายถึงล ักษณะความเคลือ ่ นไหวทีเ่ กิดจากการซํา้


ให้เกิดความถีห่ า
่ งทีเ่ ท่าก ันหรือแตกต่างก ัน หากผลงาน
ทางศล ิ ปะใดขาดซงึ่ จ ังหวะย่อมทําให้ขาดสุนทรียภาพ
ความงามไปด้วย

Work of 1st year Architectural student in 2008


Rhythm

Repetition Continuous Progressive


Progressive
Rhythm
ิ ปะ
องค์ประกอบศล

ิ ปะ ประกอบด้วย 3 สว
องค์ประกอบศล ่ น

• สอื่ /รูปทรง/องค์ประกอบพืน
้ ฐาน
(Media/Form/Elements)
• เนือ ้ หา (Content)
• สุนทรียธาตุ (Aesthetical elements)
Content means abstract part of an art work
included subject and theme.
subject = things which an artist brought to
inspire art work creation. Theme/Concept =
meaning of shape, symbol in art

้ หา (Content)
2. เนือ represented abstract meaning

เนือ ่ นทีเ่ ป็นนามธรรมของงาน


้ หา (Content) เป็นสว
ศลิ ปะ ซงึ่ ประกอบด้วย เรือ
่ ง (Subject) และแนว
เรือ
่ ง/แนวคิด (Theme/Concept)

• เรือ่ ง - สงิ่ ทีศ ิ ปิ นนํามาเป็นแรงบ ันดาลใจในการ


่ ล
สร้างผลงาน
• แนวเรือ ่ ง/แนวคิด – เป็นความหมายของรูปทรง

สญล ักษณ์ในงานศล ิ ปะทีศ ิ ปิ นได้สอ
่ ล ื่ ความหมาย
และแสดงออกมา มีความเป็นนามธรรม/
ความรูส ึ
้ ก
ANTZ

DreamWorks Walt Disney - PIXAR


http://www.movie-page.com/1998/Antz.htm http://wallpaper.narak.com/thumbnails.php?album=77

Animations
Fruit cake…??
(food)
The cake with fruit topping

Fruit as an ingredient in
the cake
Layering
A cake in the form of fruit
Fruit
+
cake
Adopt, adapt, apply concept of
burger and sandwich
Fruit as the skin
ิ ปะ
องค์ประกอบศล

ิ ปะ ประกอบด้วย 3 สว
องค์ประกอบศล ่ น

• สอื่ /รูปทรง/องค์ประกอบพืน
้ ฐาน
(Media/Form/Elements)
• เนือ ้ หา (Content)
• สุนทรียธาตุ (Aesthetical elements)
3. สุนทรียธาตุ/สุนทรียภาพ
Soon-Tree in Thai
สุนทรี = ดี หรือ งาม means Beauty

สุนทรีย- หรือ สุนทรียะ (Aesthetic, esthetic)


ทีเ่ กีย
่ วก ับความนิยมความงาม Beauty in nature or art work
is different due to an artist’s feeling

สุนทรียภาพ (Aesthetics)
there are beauty, picturesqueness, sublimity,
and taste in itself

- ความงามในธรรมชาติหรืองานศล ิ ปะทีแ
่ ต่ละบุคคล
สามารถเข้าใจและรูส ึ ได้ มีทงความงาม
้ ก ั้ (Beauty)
ความแปลกหูแปลกตา (Picturesqueness) และ
ความน่าทึง่ (Sublimity)
- รสนิยมความรูส ึ (Taste)
้ ก
สุนทรีย ์ หรือ สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)

หมายถึง วิชาทีว่ า
่ ด้วยความนิยมความงามหรือความ
นิยมในความงาม (การวิเคราะห์ความงาม) เป็นอารมณ์
ความซาบซงึ้ ในคุณค่าของสงิ่ ต่างๆ ไม่วา ่ จะเป็น
ธรรมชาติหรืองานศล ิ ปะ ความรูส ึ นีเ้ กิดขึน
้ ก ้ ด้วย
ประสบการณ์ การศก ึ ษาอบรมและพ ัฒนาเป็น
รสนิยม และเป็นการสร้างความรูค
้ วามเข้าใจทาง
ประว ัติศาสตร์ สามารถเสริมสร้างพ ัฒนาการทาง
สุนทรียภาพให้เพิม ่ มากขึน ้ รูแ ้ ละเข้าใจคุณค่าของ
ความงาม beauty
Aesthetics is subject which study admiration of
and analysis beauty, emotions, perception
in art value both in nature and art works.
Aesthetics depends on viewer’s experience,
พจนานุกรมศัพท์ศล ิ ปะ
education, training and it’ll develop to be a taste.
Historical knowledge can enhance Aesthetics and
ฉบับไทย-อังกฤษ 2530
value in viewer’s mind.
Art in everyday life

้ หา (เรือ
เนือ ่ ง+แนวคิด) Content (subject+theme)

องค์ประกอบพืน ิ ปะ
้ ฐานในงานศล basic elements of elements
+ composition

ข้อพิจารณาในการจ ัดวางองค์ประกอบ
ิ ปะ (Composition)
ศล

การร ับรูท
้ างสุนทรียภาพ Aesthetics perception
“....ความตอนหนึง่ อ.ศล ิ ป์ พีระศรี บอกไว้วา ่ ความงามเป็น
สงิ่ ทีไ
่ ม่ต ายต วั มีก ารพ ฒ
ั นาตามวุ ฒ ภ ิ าวะของคน ยิง ่ เห็ น
มาก ยิง่ รูม ้ าก...เพราะฉะนน ั้ ในเรือ
่ งของความงาม จะเป็น
เรือ่ งของความประจ ักษ์ แล้วคนเรามากลน ่ ั กรองเอาเอง”
คํา กล่า วโดย รศ.ว วิ ัฒ น ์ เตม ยี พ ันธ ์ ว ันที่ 19 มกราคม 2550
Professor Silpa Peerasri said
beauty is not stable but develop
and dynamic due to human’s
intelligence. when we see much,
know much so beauty depends on
perception and our own analysis.
บทบาท+คุณค่า
ิ ปะ
ของงานศล

... ? Role + Value of Art


Reference of P
ower Point

เอกสารอ้ างอิง
• ความหมายและบทนิยามของสุนทรี ยศาสตร์ <http://learning.ricr.ac.th/art/4-3.html>
• ฉัตรชัย อรรถปั กษ์ . องค์ ประกอบศิลปะ. กรุ งเทพฯ: วิทยพัฒน์ . 2550.
• นิคม มูสิกะคามะ. สุนทรี ยศาสตร์ : ทฤษฎีแห่ งวิจติ รศิลปากร. กรุ งเทพฯ: กรมศิลปากร 2547
(Unpublished).
• มะลิฉัตร เอือ้ อานันท์ . การเรี ยนการสอนและประสบการณ์ ด้านสุนทรี ยภาพและศิลปวิจารณ์ .
กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. 2543.
• เลนนาร์ ด โคเรน. วะบิ-ซะบิ สําหรั บศิลปิ น นักออกแบบ กวี & นักปรั ชญา. (กรินทร์ กลิ่นขจร-แปล)
กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์ สวนเงินมีมา 2546.
• วิชา 2000102 สุนทรี ยภาพแห่ งชีวติ . คณะศิลปรรมศาสตร์ สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.
• วิชา 12305 ศิลปะกับสังคมไทย (ฉบับปรั บปรุ งครั้ งที่ 1). นนทบุรี. สาขาวิชาศิลปะศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2550.
• สุรชาติ เกษประสิทธิ์ และสนั่น คิว้ ฮก. ความรู้ พื้นฐานศิลปกรรม. กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์ พี เอส พี.
2542.
• อํานาจ เย็นสบาย. สุนทรี ยภาพ. กรุ งเทพฯ: กรมการฝึ กหัดครู 2520.

You might also like