You are on page 1of 174

คำ�นำ�

ตามที่ ส ภามหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ มี น โยบายในการติ ด ตามและประเมิ น ผลการดำ� เนิ น งานเพื่ อ การเรี ย นรู้
และพัฒนาของอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยกำ�หนดรอบการรายงานหลัก 2 รอบ คือ รอบที่ 1 เมื่อดำ�รงตำ�แหน่ง
ครบ 1 ปี 8 เดือน และรอบที่ 2 เมื่อดำ�รงตำ�แหน่งครบ 3 ปี ปัจจุบันอธิการบดีและทีมบริหาร ทำ�หน้าที่บริหารมหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ ครบรอบ 1 ปี 8 เดือน (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) และได้จัดทำ�รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดี
มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ เสนอต่ อ คณะกรรมการติ ด ตามและประเมิ น ผลเพื่ อ การเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาของอธิ ก ารบดี
ตามคำ�สั่งที่ 023/2563 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิริบ�ำ รุงสุข เป็นประธาน
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) ครอบคลุม
การดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561-2565 และใช้กรอบการรายงานใน 6 ประเด็น
ตาม 3 ยุทธศาสตร์หลักเพื่อการขับเคลื่อนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รวมทั้งสรุปผลการประเมินตนเองตามเกณฑ์
คุณภาพการศึกษาเพื่อดำ�เนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำ�ปีการศึกษา 2562 ไว้ท้ายเอกสาร
รายงานนี้ด้วย โดยหวังว่าข้อมูลและสารสนเทศที่นำ�เสนอในรายงานจะเป็นประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ
คณะกรรมการติดตามและประเมินผล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง บุคลากรของมหาวิทยาลัย นักศึกษา
และประชาชนทั่วไป ที่จะได้สร้างความเข้าใจร่วมกันในผลงานของมหาวิทยาลัย และรายงานผลการดำ�เนินงานเป็นผลงาน
ร่วมกันของบุคลากรในมหาวิทยาลัย ทุกวิทยาเขต และทุกคณะ/ส่วนงาน ทีมบริหารขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูง
และหวั งเป็ น อย่างยิ่งว่าจะได้รับ ความร่ว มมือร่ว มใจในการสืบสานภารกิ จ ให้ ลุ ล่ ว งสอดคล้ อ งกั บความต้ อ งการของสั งคม
และประเทศต่อไป

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ แก้วประดับ)


อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ธันวาคม 2563
สารบัญ สารบัญ
หน้า
คานา
สารบัญ
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร I-X
ทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ XI
ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561-2565 XII-XXII
วิกฤตและความท้าทายของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ XIII
ความคาดหวังต่อการบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ XIII
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ XVI
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การวิจัย/นวัตกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ XVIII
ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร XIX
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ประเด็นที่ 1 การมีบทบาทในการชีน้ าสังคม 1
1. การเป็นมหาวิทยาลัยฐานความรู้และแหล่งเรียนรู้ 1
1.1 ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย 1
1) The 2021 Times Higher Education World University Rankings by Subject 1
2) THE World University Rankings 2021 1
3) Academic Ranking of World Universities 2020 1
4) Round University Ranking (RUR) 2020 1
5) U.S. News & World Report Best Global Universities rankings 2020 2
6) QS Asia University Rankings 2020 2
1.2 การดาเนินงานในลักษณะเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานระดับประเทศและนานาชาติ 2
1) โครงการ Erasmus+ 2
2) โครงการจัดตั้ง PSU – Center 5
3) Medical Hub/Education Hub ตะวันออกกลาง 6
4) การจัดทาหลักสูตรร่วม (Double/Joint Degree) 6
1.3 ผลงานและงานวิจัยที่สาคัญของบุคลากรและนักศึกษา 6
1) ผลงานด้านการเรียนการสอน 6
2) ผลงานด้านเกษตรและอุตสาหกรรม 6
3) ผลงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข 7
4) ผลงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9
5) ด้านสังคมศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว 10
6) ด้านดิจิทัลและพาณิชย์ 11
สารบัญ สารบัญ
หน้า
1.4 การเป็นแหล่งเรียนรู้และบริการวิชาการในภาคใต้ 12
1) แหล่งเรียนรู้โดยหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย/ภายในคณะหรือหน่วยงาน 12
- สานักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ 12
- พิพิธภัณฑ์สถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 12
- ศูนย์บริการวิชาการและการเรียนรู้ปัตตานีศึกษา ม.อ.ปัตตานีภิรมย์ 12
- ศูนย์การเรียนรู้จะบังติกอ มัสยิดรายอฟาฏอนี 13
- การพัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. อย่างยั่งยืน 13
2) แหล่งเรียนรู้ทางด้านสาธารณสุข 16
- ศูนย์สมุนไพรทักษิณ คณะเภสัชศาสตร์ 16
- ศูนย์บริการปฏิบัติการทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ 16
3) แหล่งเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่าย 17
- กลุ่มตลาดออนไลน์ PSU Bazaar 17
- PSUConnext 17
- สถานีวิทยุกระจายเสียง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 17
2. การบริหารจัดการ Covid-19 18
2.1 ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวัง COVID-19 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 18
2.2 ความพร้อมในการรองรับผู้ปว่ ย COVID–19 ของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 19
2.3 การสนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับ COVID-19 19
2.4 โครงการบัณฑิตอาสาสู้ภัยโควิด 21
2.5 แนวทางการช่วยเหลือนักศึกษาระดับปริญญาตรีในช่วงโควิด 22
3. ระบบรักษาพยาบาลที่มั่นใจในคุณภาพอุ่นใจในคุณธรรมและการรักษาพยาบาลที่เป็นเลิศ 22
3.1 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 22
3.2 โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย 24
3.3 โรงพยาบาลทันตกรรม 25
3.4 ศูนย์การดูแลต่อเนื่อง คณะพยาบาลศาสตร์ 25
3.5 โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 26
4. บทบาทการสร้างคนให้เป็นคนดีของสังคมรู้จักแสวงหาความรู้ 28
4.1 ด้านการพัฒนาหลักสูตร 28
1) การจัดทาหลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (OBE) 28
2) การพัฒนาชุดวิชาในลักษณะ Non-degree เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 29
3) การพัฒนาหลักสูตรปริญญาโทเพื่อตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม Hi-FI 31
4) การพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-Curve 31
5) คลินิกวิชาการ 32
สารบัญ สารบัญ
หน้า
4.2 ด้านการพัฒนา New Learning Platform เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 33
1) LMS2@PSU 33
2) PSU MOOC 33
3) PSU MySchool 33
4) Platform สาหรับการสอนสดออนไลน์ 33
5) PSU e-Testing 33
4.3 ด้านการพัฒนาอาจารย์ 34
กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 34
4.4 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต 34
1) อัตลักษณ์บัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : PSU Smart Student 34
2) การคัดเลือกนักเรียนเกงและดี 36
3) การพัฒนานักศึกษา 37
4) การดูแลนักศึกษาต่างชาติ 37
5) การดูแลนักศึกษาที่มีปัญหาการเงิน 37
5. บทบาทด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม 38
5.1 วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว 38
1) ย่านตาขาวโมเดล 38
2) วงแหวนพหุวัฒนธรรมเมืองปัตตานี 39
3) กระบี่โมเดล 39
5.2 ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม 40
1) เกาะยอโมเดล 40
2) โครงการประมงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในพืน้ ที่จังหวัดภูเก็ต 41
3) แนวทางบริหารจัดการร่องน้าบ้านน้าเค็มและหาดคึกคัก จังหวัดพังงา 41
4) การดาเนินงานเกี่ยวกับลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา 42
ประเด็นที่ 2 ระบบบริหารงานตามรูปแบบ PSU System และความร่วมมือระหว่างวิทยาเขต (PSU Solidarities) 46
1. การปรับโครงสร้างหน่วยงาน 46
2. ศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามัน 48
3. การเปิดหลักสูตรร่วมกันของหลายคณะ/วิทยาเขต 49
4. การขยายภารกิจการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ท่วี ิทยาเขตภูเก็ต 50
5. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 51
6. การจัดตั้งกองทุนคลัสเตอร์ 51
7. โครงการมหาวิทยาลัย 4.0 (ระยะที่ 1) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 52
สารบัญ สารบัญ
หน้า
ประเด็นที่ 3 การมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงและสร้างพลังเพื่อการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วขององค์กร 54
1. การขับเคลื่อนให้คุณภาพเป็นวัฒนธรรมองค์กร 54
2. ผลการประเมินคุณภาพภายใน 55
3. การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx 55
ประเด็นที่ 4 การนาข้อแนะนาหรือนโยบายจากสภามหาวิทยาลัยสู่การปฏิบัติ 55
1. การแต่งตั้งคณะทางานและกรรมการนโยบาย 56
1.1 คณะทางานคลังสมองยุทธศาสตร์และการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย (Think Tank) 56
1.2 คณะกรรมการนโยบายวิชาการ 56
1.3 คณะกรรมการนโยบายบริหารทรัพยากรบุคคล 57
1.4 คณะกรรมการนโยบายการเงินและทรัพย์สิน 58
1.5 คณะกรรมการนโยบายติดตามและประเมินผล 59
1.6 คณะทางานกลั่นกรองร่างข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 60
1.7 คณะกรรมการตรวจสอบประจามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 60
2. การดาเนินงานตามข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย 61
ประเด็นที่ 5 การบริหารจัดการด้วยความประหยัด มีประสิทธิภาพ และการจัดสรรทรัพยากร 62
1. การจัดระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 62
1.1 คณะทางาน Digital Transformation 62
1.2 โครงการพัฒนาระบบบัญชีและการเงิน (PSU-MAS) 62
1.3 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ 65
1.4 ระบบ PSU Alumni One Code 66
2. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน/การบริหารอัตรากาลัง 67
2.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ “PSUHR Strategies for Our Stronger Future” 67
2.2 การบริหารจัดการคนเก่ง (Talent Management) 69
2.3 การบริหารจัดการพื้นที่ทุ่งใสไช ต.พุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี 70
2.4 การใช้ประโยชน์พนื้ ที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาท่าเพชร 72
2.5 การบริหารจัดการทรัพย์สินและการร่วมทุนในบริษัทร่วมทุน พีเอสยู โฮลดิง้ จากัด 73
2.6 สานักงานบริหารจัดการทรัพย์สินมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 74
ประเด็นที่ 6 การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยที่ตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและเทียบกับมาตรฐานนานาชาติ 74
1. บูรณาการหลักสูตร งานวิจัย และบริการวิชาการ 74
1.1 สนับสนุนนักวิจัยให้รวมกลุ่ม สร้างเครือข่ายวิจัย 75
1.2 การจัดตั้งสถาบันวิจัย 84
1.3 วารสาร Journal of Health Science and Medical Research (JHSMR) 85
สารบัญ สารบัญ
หน้า
2. ความร่วมมือด้านการวิจัยและบริการวิชาการ 85
3. ผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับประเทศและนานาชาติ 91
4. การดาเนินงานของอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 95
5. ความเข้มแข็งทางด้านยางพารา 98
5.1 สถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา 98
5.2 วิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน 99
5.3 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชวี ภาพ 99
5.4 ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ยางพารา 99
5.5 เครือข่ายนวัตกรรมยางพารา Rubber Innovation Network-RIN 100
5.6 ผลงานเด่นในรอบปี 2562-2563 ที่ผ่านมาเกี่ยวกับยางพารา 100
6. การดาเนินงานทางด้านอาหาร 103
6.1 สถาบันวิจัยและนวัตกรรมอาหาร 103
6.2 ศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล 104
6.3 สถาบันฮาลาล 105
6.4 ผลงานสาคัญด้านอาหาร 105

ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)


ประจาปีการศึกษา 2562 108

ภาคผนวก
ข้อมูลและสารสนเทศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วงปี 2559-2563 113
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหาร
อธิการบดีและทีมบริหารเข้าสู่ตาแหน่งการบริหารงานของมหาวิทยาลัย เมื่อ 1 ตุลาคม 2561
นับเนื่องถึ ง 1 พฤษภาคม 2563 ถือ เป็นการปฏิบัติงานในช่วง 1 ปี 8 เดือนแรกของวาระการดารงตาแหน่ง
อธิการบดีและทีมบริหาร และได้จัดทารายงานการดาเนินงานของอธิการบดีและทีมบริหาร โดยใช้แนวคิดตาม
ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2561-2565 ที่ได้พัฒนาจากเอกสารแนวความคิดในการ
พัฒนามหาวิทยาลัยในคราวที่นาเสนอต่อคณะกรรมการสรรหาอธิการบดี และได้นาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย
เพื่อเป็นเครื่องมือในการบริหารและเป็นกรอบแนวทางการบริหาร การจัดการเชิงกลยุทธ์ที่เป็นการบูรณาการ
ร่วมระหว่างการวางแผน การจัดสรรทรัพยากร และแนวปฏิบัติในการติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน
เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาของอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งรายงานตามกรอบการ
ประเมินเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวใหม่ ประกอบด้วย ผลลัพธ์ในการดาเนินงาน (Performance outcome) การ
ปรับปรุงระบบงาน (System improvement) และสมรรถนะในการบริหารงาน (Competency) ในส่วนของรายงาน
ผลการปฏิบัติงานฉบับนี้ มีสาระสาคัญ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ การพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561-2565 กั บการรายงานผล 6 ประเด็ น
หลักที่สอดคล้องกับ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อการติดตามและประเมินผล และเพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวใหม่
ยุทธศาสตร์ 1 การพั ฒนาทรั พยากรมนุษย์ (Human Resource Development : HRD) ประกอบด้วย 2
ยุทธศาสตร์ย่อย คือ 1) การผลิตบัณฑิต และ 2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย สอดคล้องกับประเด็นที่
1 การมีบทบาทในการชี้นาสังคม ด้วยการสร้างคนให้เป็นคนดีของสังคมรู้จักแสวงหาความรู้ โดยการจัดทา
หลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome Based Education : OBE) ปีการศึกษา 2562-2564 รวม 106
หลั ก สู ตร (ร้อ ยละ 35.8) ข้อ มู ล ณ 29 กั น ยายน 2563 ก าหนดเป็ นนโยบายให้ทุก หลั ก สู ตรที่ปรั บปรุ ง /
หลักสูตรใหม่ ออกแบบการเรียนการสอน เป็นชุดวิชา (Module) แทนการสอนเป็นรายวิชา เน้นการสอนที่เป็น
Active Learning และการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง (WIL) และสหกิจศึกษา มีการพัฒนาชุ ดวิชาในลักษณะ
Non-Degree เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) เพื่อ Up-Skill, Re-Skill และสามารถ
เก็บสะสมหน่วยกิตไว้ในระบบคลังหน่วยกิต (Credit Bank) ของมหาวิทยาลัย การพัฒนาหลักสูตรปริญญาโท
เพื่อตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม Hi-FI (Higher Education for Industry) โดยการออกแบบรายวิชาในการเรียน
การสอนตามความต้องการของบริษัทและดาเนินการจัดการเรียนการสอน ณ สถานที่ทางานของนักศึกษา
นั ก ศึก ษาเข้า สู่อุ ตสาหกรรมโดยทางานควบคู่กั บการเรียน เริ่ม ด าเนินการปีก ารศึก ษา 2563 จานวน 6
หลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-curve รวม 8 หลักสูตร (ปีการศึกษา
2563 จานวน 6 หลักสูตร ปีการศึกษา 2564 จานวน 2 หลักสูตร) การพัฒนา New Learning Platform
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยการพัฒนาระบบ LMS2@PSU รองรับการจัดการเรียนการสอนเฉพาะภายใน
ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พัฒนาระบบ PSU MOOC เป็นระบบเรียนออนไลน์ที่มหาวิทยาลัยจัดเตรียม
ขึ้นเพื่อให้บุคคลทั่วไปที่สนใจสามารถเข้าเรียนได้ พัฒนาระบบ PSU MySchool สาหรับนักเรียนในระดับชั้น

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -I-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -I-
บทสรุปปผูผู้บ้บริริหหารและที
บทสรุ ารและทีมมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเตรียมความพร้อมใน 7 กลุ่ม รายวิชาหลักที่จาเป็น มี Platform สาหรับการสอน


สดออนไลน์ มหาวิทยาลัยได้จัดซื้อลิขสิทธิ์และกาหนดให้ใช้ Micrsosoft Teams และ Google Meet รวมถึ ง
ระบบ PSU e-Testing เป็น Platform สาหรับการสอบออนไลน์ พัฒนากรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์
(Teaching Professional Standard Framework : PSU-TPSF) มหาวิทยาลัยได้พัฒนากรอบมาตรฐานของการ
จัดการเรียนรู้อย่างมืออาชีพ และมีอาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผ่านการประเมินกรอบมาตรฐาน
วิชาชีพเพื่อการสอนและการสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพของประเทศอังกฤษ หรือ The UK Professional
Standards Framework : UKPSF ระดับ Senior Fellow จาก The Higher Education Academy (HEA), UK
จานวน 5 ท่าน การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตและคุณภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยกาหนดอัตลักษณ์บัณฑิต
เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาบัณฑิตที่มีความพร้อมสาหรับโลกแห่งอนาคต (PSU Smart Student) มีความร่วมมือ
กับโรงเรียนเพื่อรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจนสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก
จัด Advanced Program ให้นักเรียนได้เรียนรายวิชาพืน้ ฐานในมหาวิทยาลัยได้หรือเรียนออนไลน์ นาเกรดและ
หน่ว ยกิ ต รั บการยกเว้นรายวิช านั้นและเรียนต่อ ยอดเมื่อ เข้า มหาวิทยาลั ย ก าหนดเป้า หมายการพั ฒ นา
นักศึกษาให้เป็นบัณฑิตมีความรู้ มีทักษะ พร้อมทางาน มีความสามารถในการสื่อสารและใช้ภาษาอังกฤษได้
อย่างดีและถู กต้อง และรู้ภาษาที่ 3 นัก ศึกษามีความเข้าใจและมีทักษะในการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัล ( Digital
Literacy) ได้อย่างดีและเท่าทัน นักศึกษามีอัตลักษณ์ I-WiSe และเข้าใจสังคมพหุวัฒนธรรม มีระบบการดูแล
นัก ศึก ษาที่มีปัญ หาการเงินที่เข้ม แข็ งผ่า นช่อ งทางหลากหลายทั้งคณะและส่วนกลาง โดยด าเนินการผ่า น
คณะกรรมการจัดสรรทุนการศึกษา ทั้งทุนขาดแคลนทุนทรั พย์และทุ นทางานแลกเปลี่ยน โดยรวมปี 2562
จานวน 4,174 ราย งบประมาณ 90.57 ล้านบาท สาหรับ แนวทางการช่วยเหลือนักศึกษาระดั บปริญญาตรี
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ด้วยการจัดสรร
ทุนการศึกษา ลดค่า ธรรมเนียม รวมถึงสนับสนุนอุปกรณ์ส าหรับการเรียนแบบออนไลน์ มีระบบการดู แล
นักศึกษาต่างชาติ ด้วยการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษาต่างชาติ จะรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลด้านวีซ่า
(VISA) การดูแลความเป็นอยู่และการใช้ชีวิตประจาวัน รวมถึงโครงการหอพักนักศึกษานานาชาติ
ยุ ทธศาสตร์ 2 การวิจั ย/นวัตกรรมที่สร้ างมู ลค่ าทางเศรษฐกิจและพั ฒนาประเทศ (Research and
Innovation Development : RID) สอดคล้องกับประเด็นที่ 1 การมีบทบาทในการชี้นาสังคม เพื่อการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของชุมชนอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยได้นาความรู้ทางวิชาการออกสู่ชุมชน ต่อยอดการพัฒนา
และนาผลงานวิชาการไปใช้ประโยชน์ โดยโครงการที่เด่นละมีผลต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ได้แก่ ด้านวัฒนธรรม
และการท่องเที่ยว เช่น ย่านตาขาวโมเดล วงแหวนพหุวั ฒนธรรมเมืองปัตตานี กระบี่โมเดล ด้ านทรั พยากร
ธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ เกาะยอโมเดล โครงการประมงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัด
ภูเก็ต แนวทางบริหารจั ดการร่องน้าบ้านน้าเค็ มและหาดคึกคัก จังหวั ดพั งงา การดาเนินงานเกี่ ยวกับลุ่มน้า
ทะเลสาบสงขลา สอดคล้ องกั บ ประเด็ นที่ 6 การพั ฒนาคุณภาพงานวิจั ย ที่ตอบสนองต่อการพั ฒนา
ประเทศและเทียบกับมาตรฐานนานาชาติ เน้นบู รณาการหลักสูตร งานวิจัย และบริการวิชาการ ระหว่าง
ศาสตร์และประเด็นต่าง ๆ ในรูปแบบคลัสเตอร์ สนับสนุนนักวิจัยให้รวมกลุ่ม สร้างเครือข่ายวิจัย ที่ขอรับการ
สนับสนุนจากมหาวิทยาลัย ในลักษณะสาขาความเป็นเลิศ 2 สาขา ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศ 7 กลุ่ม สถานวิจัยและ

รายงานผลการด
-II- าเนินงานของอธิ
รายงานผลการดำ �เนินกงานของอธิ
ารบดีมหาวิกทารบดี
ยาลัยมสงขลานคริ
หาวิทยาลัยนสงขลานคริ
ทร์ (ตุลาคมนทร์
2561(ตุล–าคม
พฤษภาคม
2561 - 2563)
พฤษภาคม -II-
2563)
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ศูนย์วิ จัย 13 กลุ่ ม หน่วยวิ จัย 6 กลุ่ ม มีก ารจั ด ตั้งการจั ด ตั้งสถาบั นวิ จัยใหม่ ๆ อาทิ เช่ น สถาบั นวิจั ยและ
นวัตกรรม โครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและนวัตกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาลม โครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและ
นวั ตกรรมการท่องเที่ยวอย่างยั่ งยืน นอกจากนี้ยังได้ขยายเครือข่ายความร่วมมือทางการวิจัยกั บหน่วยงาน
ภายนอกมากขึน้ เช่น ความร่วมมือกับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.)
หรือ SME D Bank กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บริษัท โตโยต้า ทูโช เน็กซ์ตี อิเล็กทรอนิกส์ (ไทยแลนด์) จากัด
กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บริษัท ซีพีเอฟ ประเทศไทย จากัด (มหาชน) บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี
(วิสาหกิจเพื่อสังคม) บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ซีไอพี กรุ๊ป จากัด กรมทางหลวงชนบท
กระทรวงคมนาคม บริษัท North East Rubber Public Company Limited คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) เป็นต้น มี
ผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับประเทศและนานาชาติ เช่ น ผลงานชุดน้ายาเรืองแสงและ
อุปกรณ์ใช้ สืบสวนแบบพกพา : PSU-VisDNA kit ผลงานหุ่น CPR ช่ วยชี วิตผู้หญิงและตรวจมะเร็งเต้านม
โครงการวิจัย พัฒนา เยียวยา สมานฉันท์และสร้างสรรค์ชุมชนสุขภาวะชายแดนใต้ ผลงานการพัฒนาแผ่นแปะแก้
ปวดจากสารสกั ดไพลและสารเมือกจากเมล็ ดแมงลั ก ผลงานวิจัยระบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมั นปาล์ม
แบบต่อเนื่องด้วยเครื่องปฏิกรณ์ท่อผสมแบบสถิตร่วมกับคลื่นเสียงอัลตราโซนิก ผลงานวิจัยการไกล่เกลี่ยข้อ
พิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบั ญญั ติแห่งศาสนาอิสลามในจั งหวัดชายแดนภาคใต้ ผลงานวิจัยการเพิ่ม
ผลผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากน้าทิง้ โรงงานสกัดน้ามันปาล์มดิบด้วยการย่อยสลายแบบไร้อากาศสองขั้นตอนที่
อุณหภูมิสูง ผลงานวิจัยอุปกรณ์วัดความหนาแบบไม่สัมผัสตัวอย่าง ผลงานวิจัยอุปกรณ์กัดผิวด้วยไฟฟ้าสาหรับ
เก็บกู้เลขหมายทะเบียน ผลงานวิจัยสเตอร์โฟม-โฟมยางธรรมชาติคอมโพสิตสาหรับสกัดสารอินทรีย์ และผลงาน
ผ่านการดาเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เช่น การบ่มเพาะธุรกิจและพัฒนาสู่การ
เป็นผู้ประกอบการ การบริหารจัดการทรัพย์สนิ ทางปัญญา ความเข้มแข็งทางด้านยางพาราและทางด้านอาหาร
ยุทธศาสตร์ 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร (PSU Ecosystem) (Increase Management Efficiency :
IME) สอดคล้องกับประเด็นที่ 2 ระบบบริหารงานตามรูปแบบ PSU System และความร่วมมือระหว่าง
วิทยาเขต (PSU Solidarities) โดยมหาวิทยาลัยมีการปรับโครงสร้างหน่ว ยงาน ตามประกาศเรื่อ งการ
กาหนดวิทยาเขตและการจั ดตั้งส่วนงานของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2562 เพิ่มประสิทธิภาพการ
บริหารงานตามรูปแบบ PSU System โดยดาเนินการโครงการจัดตั้ง ศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามัน ประกอบด้วย
4 ภารกิจ ได้แก่ วิทยาลัยสุขภาพนานาชาติ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ศูนย์สุขภาพนานาชาติ
และศูนย์ทันตกรรมดิจิทัลสงขลานครินทร์ เพื่อให้บริการทางการแพทย์เชิงสุขภาพแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวที่
เข้ามาในจังหวัดภูเก็ต การบูรณาการหลักสูตรที่เหมือน/คล้ายกันของคณะ/วิทยาเขต ตามหลักการใช้ทรัพยากร
ร่วมกั นระหว่างวิทยาเขต ได้แก่ หลักสูตรการทองเที่ยว หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ ยางพาราและการจั ดการ
หลักสูตร Data Science กฎหมายอิสลามและนิตศิ าสตร์ มีการปรับปรุงรายวิชาให้เรียนรู ร่วมกันไดทั้ง 5 วิทยา
เขต การกาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ
ทางาน รวมถึ งปรับเปลี่ ยนนโยบายในรู ปแบบกองทุ นคลั ส เตอร ปั จจุบันมหาวิทยาลั ยได้ด าเนินโครงการ

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –- พฤษภาคม
พฤษภาคม 2563)
2563) -III-
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัย 4.0 (ระยะที่ 1) เพื่อการกาหนดยุทธศาสตร์สกู่ ารปฏิบัติ รองรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการ


ดาเนินงานของมหาวิทยาลัยภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
สอดคล้ อ งกั บ ประเด็ น ที่ 3 การมี ส่ ว นร่ ว มในการเปลี่ ย นแปลงหรื อ สร้ า งพลั ง สะสม
(Momentum for Change) มีการขับเคลื่อนให้คุณภาพเป็นวัฒนธรรมองค์กร แบ่งเป็นระดับของการประเมิน 5
ระดับ ได้แก่ ระดับหลักสูตร ดาเนินการตามระบบ CUPT QA เกณฑ์ประเมินของสภาวิชาชีพหรือมาตรฐาน
สากล ระดับคณะ ดาเนินการตามระบบ EdPEx ระดับหน่วยงานสนับสนุนเทียบเท่าคณะ ดาเนินการตามระบบ
TQA/ISO ระดับหน่วยงานสนับสนุน ดาเนินการตามระบบ TQA ระดับสถาบัน ดาเนินการตามระบบ EdPEx ผล
การประเมินคุณภาพภายใน โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับสถาบัน เห็นว่า มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์เป็นสถาบันการศึกษาที่ดาเนินงานตามภารกิจอย่างมีคุณภาพ สามารถสร้างประโยชน์คุณค่า
และความมั่นคงให้กับสังคมภาคใต้และประเทศผ่านโครงการต่าง ๆ และมีแนวโน้มผลลัพธ์ที่ดี ขึ้นในหลายเรื่อง
สาหรับการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx มหาวิทยาลัยกาหนดเป้าหมาย ภายในปี 2565 จะมีคณะผ่าน
เกณฑ์ EdPEx 200 อย่างน้อยร้อยละ 35 (12 คณะ) และมหาวิทยาลัยสามารถยื่นและผ่าน EdPEx 200 ในระดับ
มหาวิทยาลัย หรือ TQC ภายในปี 2565 และผลการเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ ความเป็นเลิศ
: EdPEx200 ของ สกอ. พบว่า ผ่าน EdPEx 200 จานวน 6 คณะ คือ คณะวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์
คณะพยาบาลศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะเภสัชศาสตร์ และผ่าน
EdPEx300 จานวน 1 คณะ คือ คณะแพทยศาสตร์ คณะที่สมัครเข้าร่วมโครงการ รุ่นที่ 7 (ธันวาคม 2562)
จานวน 6 คณะ ได้แก่ คณะวิทยาการจั ดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะทั นตแพทยศาสตร์ คณะศึก ษา
ศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และคณะอุตสาหกรรมเกษตร
สอดคล้องกับประเด็นที่ 4 การนาข้อแนะนาหรือนโยบายจากสภามหาวิทยาลัยสู่การปฏิบัติ
ที่ผ่านมาสภามหาวิทยาลั ยได้แต่งตั้งกรรมการนโยบายชุดต่า ง ๆ เพื่อพิจารณาแนวทางการดาเนินงานของ
มหาวิทยาลัยในเชิงนโยบายนาไปสูก่ ารปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีสานักงานสภามหาวิทยาลัย รับผิดชอบ
จัดการประชุมสภามหาวิทยาลัย สืบค้นข้อมูลประกอบการพิจารณาของสภา สนับสนุนการทางานของสภา
และคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้ง รวมทั้งถ่ายทอดนโยบายของสภาสู่มหาวิทยาลัยและ
ประชาคม และจากมหาวิทยาลัย/ประชาคมสู่สภามหาวิทยาลัย โดยคณะกรรมการนโยบายชุดต่าง ๆ ได้แก่
คณะกรรมการนโยบายวิช าการ คณะกรรมการนโยบายบริหารทรั พยากรบุ คคล คณะกรรมการนโยบาย
การเงินและทรัพย์สนิ คณะกรรมการนโยบายติดตามและประเมินผล คณะทางานคลังสมองยุทธศาสตร์ และ
การดาเนินงานของมหาวิทยาลัย คณะทางานกลั่นกรองร่างข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลัย
สงขลานคริน ทร์ และคณะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนี้ม หาวิทยาลั ยยั งได้สรุ ปผลและดาเนินการตาม
ข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัยในประเด็นต่าง ๆ
สอดคล้องกับ ประเด็นที่ 5 การบริหารจัดการด้วยความประหยัด มีประสิทธิภาพ และการ
จัด สรรทรัพยากร มหาวิทยาลั ยด าเนินแผนงานที่หลากหลาย ได้แก่ ระบบสารสนเทศ มหาวิทยาลั ยมี
คณะทางาน Digital Transformation เน้นโครงการพัฒนาระบบการเชื่อมต่อระหว่าง 5 วิทยาเขต สร้างระบบ
สารสนเทศเพื่อรองรับ Digital Society, Big Data, IOT พัฒนาฐานข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยเพื่อเก็บข้อมูล

-IV- รายงานผลการดำ
รายงานผลการด �เนิกนารบดี
าเนินงานของอธิ งานของอธิ
มหาวิกทารบดี
ยาลัยมสงขลานคริ
หาวิทยาลัยนสงขลานคริ
ทร์ (ตุลาคมนทร์
2561(ตุล– าคม 2561 - 2563)
พฤษภาคม พฤษภาคม -IV-
2563)
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

PSU Data ที่เอื้อต่อการนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์และสามารถนาไปทา Data Analytic จัดทาโครงการพัฒนา


ระบบบัญชีและการเงิน (PSU-MAS) พัฒนาระบบสารสนเทศทางการบริหาร HR-MIS มีระบบบริหารบุคคลที่
เป็นหนึ่งเดียว เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลวิจัย ระบบสารสนเทศการเงิน ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศนักศึกษา 4 วิทยาเขตที่ใช้งานได้แล้ว ระบบ Single Sign On และระบบ PSU Alumni One
Code การบริหารทรัพยากรมนุษย์ โดยเสนอแผนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ “PSUHR Strategies for Our
Stronger Future” ต่อสภามหาวิทยาลัยมีสาระสาคัญ คือ การรับอาจารย์/อาจารย์ใหม่และมีค่าตอบแทนที่
ดึงดูด การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการให้มีศักยภาพในด้านการสอนและการวิจัย การเพิ่มเกณฑ์มาตรฐาน
ผลงานวิชาการ มีความหลากหลายในการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ มีแผนสืบทอด ทดแทนตาแหน่ ง มีการ
เตรียมบุคคล ประเมินบุคคลเข้ าสู่กระบวนการเตรียมเป็นบุคคลในคลังข้อมูล Successor มีระบบ HR Digital
Transformation จัดทาระบบการทางานแบบ Cross-Function Team เปิดโอกาสให้ทางานข้ามหน่วยงาน ข้าม
คณะ ข้ามวิทยาเขต พร้อมกันนี้ได้เสนอแนวคิดการบริหารจัดการคนเก่ง โดยแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารคน
เก่งทาหน้าที่พิจารณาคัดเลือกผู้ที่มีสมรรถนะสูง เพื่อให้เป็นไปตามทิศทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย การ
บริ ห ารจั ด การพื้น ที่ แ ละสิท ธิป ระโยชน์ ต่า ง ๆ เช่ น การบริห ารจั ด การพื้ น ที่ ทุ่ง ใสไช ต.พุ ม เรีย ง อ.ไชยา
จ.สุ ราษฎร์ธานี (พ.ศ. 2565-2595) ในรู ปแบบวิทยาลั ยนวัตกรรมเกษตรทรั พยากรทะเลและชายฝั่ง การใช้
ประโยชน์พืน้ ที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาท่าเพชร ต.มะขามเตีย้ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี (ช่วงปี พ.ศ. 2565 – 2595)
เพื่อใช้ประโยชน์ใ นการจัด การศึกษาและพื้นที่ทาการของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โรงเรียน มอ .วิทยานุสรณ์
สุราษฎร์ธานี และเป็นพืน้ ที่ป่าอนุรักษ์และไม้พนื้ เมือง นอกจากนีไ้ ด้ดาเนินการจัดตั้ง บริษัทร่วมทุน พีเอสยู โฮลดิ้ง
จากัด และสานักงานบริหารจัดการทรัพย์สนิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การติดตามและประเมินผลเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวใหม่ สรุปได้ดังนี้
ผลลัพธ์ในการดาเนินงาน (Performance Outcome)
ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากสถาบันการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติที่น่าเชื่อถื อ
เช่น Times Higher Education World University Rankings, THE World University Rankings, Academic
Ranking of World Universities 2020 (ARWU 2020) พบว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการจัดอันดับ
ระดับประเทศโดยเฉลี่ยติดอยู่ใน 5 อันดับแรก ส่วนระดับโลกติดอยู่ในอันดับ 600-1000
การดาเนินงานในลักษณะเครือข่ายร่วมกั บหน่วยงานระดั บประเทศและนานาชาติ เช่น โครงการ
Erasmus+ โครงการจัดตั้ง PSU–Center ในต่างประเทศ ทัง้ ประเทศจีนและกลุ่มตะวันออกกลาง Medical Hub /
Education Hub ตะวันออกกลาง การจัดทาหลักสูตรร่วม (Double/Joint Degree) ทั้งในระดับปริญญาตรีและ
บัณฑิตศึกษา
ผลงานและงานวิจัยที่ไ ด้รับการยอมรั บในระดั บนานาชาติและระดั บประเทศ เช่ น อาจารย์ ข อง
มหาวิทยาลัยผ่านการประเมินกรอบมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนและการสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
ของประเทศอังกฤษ หรือ UKPSF รางวัลจากสภาวิจัยแห่งชาติ การได้รับรางวัลจากการส่งผลงานเข้าประกวด

รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –- พฤษภาคม
พฤษภาคม 2563) -V-
บทสรุปปผูผู้บ้บริริหหารและที
บทสรุ ารและทีมมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ในงานวิชาการระดับนานาชาติต่อ เนื่องทุ กปี มหาวิทยาลัย มีแหล่งเรียนรู้และบริก ารวิช าการในภาคใต้ เช่ น


สานั กเครื่อ งมือ วิทยาศาสตร์และการทดสอบ ได้รับการรั บรองระบบการจั ดการด้า นความปลอดภัยของ
ห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี ตามมาตรฐานเลขที่ มอก. 2677-2558 และเข้าร่วมโครงการจัดทา
ระบบและขอการรั บรองมาตรฐานกั บส านัก งานคณะกรรมการวิจั ยแห่ งชา ติ (วช.) และสถาบั นรั บ รอง
มาตรฐานไอเอสโอ พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับ
รางวัล Museum Thailand Award 2020 ทางสังคมศาสตร์มีศูนย์บริการวิชาการและการเรียนรู้ปัตตานีศึกษา
“ม.อ.ปัตตานีภิรมย์” ศูนย์การเรียนรู้จะบังติกอ มัสยิดรายอฟาฏอนี เป็นต้น มีแหล่งเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่าย
ออนไลน์ เช่ น กลุ่ม ตลาดออนไลน์ PSU Bazaar มี PSUConnext ประชาสั ม พั นธ์งานและผลงานของ
มหาวิทยาลัยในหลายช่องทาง การปรับระบบสถานีวิทยุกระจายเสียง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในรูปแบบ
เน้นสื่อออนไลน์
การบริหารงานที่แสดงให้เห็นประสิทธิภาพของมหาวิทยาลัยในสถานการณ์ที่ไม่ปกติที่สาคัญ คือ การ
บริหารจัดการ Covid-19 มหาวิทยาลั ยมีความพร้อมในการรองรั บผู้ป่วย COVID–19 ของโรงพยาบาลสงขลา
นครินทร์ ได้ให้การรั กษาและรั บส่งต่อผู้ป่ วยโควิด-19 ในรอบแรก จานวน 42 ราย รวมมีผู้ได้รับการตรวจ
COVID-19 (PUI) จานวน 909 คน (ข้อมูลตั้งแต่ 26 ก.พ. 2563-20 พ.ค.2563) ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยหนัก และให้
การดูแลผู้ป่วยทุกคนเป็นอย่างดีจนผู้ป่วยทุกคนหายและกลับบ้านได้ สาหรับผู้ป่วยโควิดระลอกใหม่ที่โรงพยาบาล
สงขลานครินทร์มีผู้ได้รับการตรวจ COVID-19 (PUI) จานวน 16 คน (ข้อมูลตั้งแต่ มิ.ย. 2563-ม.ค.2564) รับไว้
ดูแลมีจานวน 2 คน รักษาหายและกลับบ้านได้ทั้ง 2 คน การเปิดโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ สาขา 2 สงขลา ณ
อาคารติณสูลานนท์ และโรงพยาบาลสนามภู เก็ตแห่งที่ 2 การสนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับ COVID-19 ผลิตผล
งานวิจัยและใช้ประโยชน์ได้จริง ได้แก่ แผ่นกรองเพิ่มประสิทธิภาพหน้ากากผ้าใกล้เคียง N95 (Sci-Mask Filter)
เครื่องจ่ายเจลล้างมืออัตโนมัติ (Sci-Automatic Hand Gel Dispenser) ระบบตรวจจับอุณหภูมิร่างกายและคัดกรอง
อาการไข้ดว้ ยภาพถ่ายความร้อน (Sci Thermoscan Infrared Fever Screening System) เครื่องวัดอุณหภูมิระยะไกล
(Sci-Thermometer) ชุ ดตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรั ส (PSU COVID-19) หุ่นยนต์ควบคุมจากระยะไกลผ่าน
เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ “ADA Robot” กล่องยูวีฆ่าเชื้อโรคในธนบั ตร เครื่องพ่นสเปรย์ทาความสะอาดไฮโป
คลอรัสด้วยเทคนิคไฟฟ้าเคมี นอกจากนี้ยังร่วมกับภาครัฐ ดาเนินโครงการ “บัณฑิตอาสาสู้ภัยโควิด” บัณฑิต
ได้รับการจ้างงาน จานวน 774 คน จากยอดผู้สมัคร 3,547 คน
ระบบรั กษาพยาบาลที่มั่นใจในคุ ณภาพ อุ่นใจในคุณธรรมและการรั กษาพยาบาลที่เป็ นเลิศ เช่น 1)
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ได้รับการรับรองกระบวนการคุณภาพขั้ นก้าวหน้า (Advanced HA) ปี 2563 (26
สิงหาคม 2563-25 สิงหาคม 2566) ให้บริการเพิ่มเติมพิเศษ ด้วยการตั้งศูนย์ C Plus Center รับเรื่องร้องเรียน
ร้องทุกข์ และ รับ-ส่งต่อผู้ป่วย ศูนย์บริการพิเศษศรีเวชวัฒน์ ศูนย์ตรวจสุขภาพ ศูนย์เลสิก ม.อ. และหน่วยระบาด
วิทยาทีไ่ ด้รับการแต่งตั้งจากองค์การอนามัยโลกให้เป็นศูนย์ความร่วมมือองค์การอนามัยโลกเพื่อการอบรม วิจัย
ด้านระบาดวิทยาอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 26 มีนาคม 2555 2) โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย เป็นสถาน
พยาบาลการแพทย์แผนไทยแห่งแรกของภาคใต้ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ขั้นที่ 1 จากสถาบันรับรอง
คุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 3) โรงพยาบาลทันตกรรม เป็นศูนย์กลางการให้บริการทางทันตกรรม

-VI- รายงานผลการดำ
รายงานผลการด �เนินกงานของอธิ
าเนินงานของอธิ ารบดีมหาวิกทารบดี
ยาลัยมสงขลานคริ
หาวิทยาลัยนสงขลานคริ
ทร์ (ตุลาคมนทร์
2561(ตุล–าคม 2561 - 2563)
พฤษภาคม พฤษภาคม -VI-
2563)
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ของภาคใต้ ได้รับการประเมินจากสถาบันรั บรองคุ ณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) The Healthcare


Accreditation Institute (Public Organization) ซึ่งได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลตาม
บันได ขั้นที่ 1 และผ่านการรับรองขั้นที่ 1 ซึ่งมีระยะเวลารับรองตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563-19 กุมภาพันธ์
2564 4) ศูนย์การดูแลต่อเนื่อง คณะพยาบาลศาสตร์ ซึ่งดูแลตั้งแต่ระดับปฐมวัยถึงระดับผู้สูงอายุ และ 5)
โรงพยาบาลสัตว์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สามารถให้บริการได้ทั้งสัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่

ปรับปรุงระบบงาน (System Improvement)


ระบบบริหารงานตามรูปแบบ PSU System และความร่วมมือระหว่างวิทยาเขต (PSU Solidarities)
มหาวิทยาลัย การปรับโครงสร้างหน่วยงานตามประกาศเรื่องการกาหนดวิทยาเขตและการจัดตั้งส่วนงานของ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2562 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานตามรูปแบบ PSU System โดย
ดาเนินการโครงการจัดตั้ง ศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามัน ประกอบด้วย 4 ภารกิจ ได้แก่ วิทยาลัยสุขภาพ
นานาชาติ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภู เก็ต ศูน ย์สุขภาพนานาชาติ และศูนย์ทันตกรรมดิจิทัล
สงขลานครินทร์ เพื่อให้บริการทางการแพทย์เชิงสุขภาพแก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในจังหวัดภูเก็ต
การบูรณาการหลักสูตรที่เหมือน/คล้ายกันของคณะ/วิทยาเขต ตามหลักการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างวิทยา
เขต ได้แก่ หลั ก สู ตรการท่อ งเที่ยว หลั ก สู ตรวิศวกรรมศาสตร์ยางพาราและการจั ด การ หลั ก สู ตร Data
Science กฎหมายอิส ลามและนิติศาสตร์ มีการปรั บปรุงรายวิช าให้เรียนรู ร่ว มกั นได้ทั้ง 5 วิทยาเขต การ
กาหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน
รวมถึงปรับเปลี่ยนนโยบายในรูปแบบกองทุนคลัสเตอร์
นโยบายปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษา (PSU Education Transformation) พ.ศ. 2561-2565 โดยการ
จัดทาหลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome Based Education : OBE) กาหนดเป็นนโยบายให้ทุก
หลักสูตรที่ปรับปรุง/หลักสูตรใหม่ ออกแบบการเรียนการสอน เป็นชุดวิชา (Module) แทนการสอนเป็นรายวิชา
เน้นการสอนที่เป็น Active Learning และการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง (WIL) และสหกิจศึกษา มีการพัฒนา
ชุดวิชาในลักษณะ Non-Degree เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) เพื่อ Up-skill, Re-
skill และสามารถเก็บสะสมหน่วยกิตไว้ในระบบคลังหน่วยกิต (Credit Bank) ของมหาวิทยาลัย การพัฒนา
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม Hi-FI (Higher Education for Industry) โดยการ
ออกแบบรายวิชาในการเรียนการสอนตามความต้องการของบริษัทและดาเนินการจัด การเรียนการสอน ณ
สถานที่ทางานของนักศึกษา นักศึกษาเข้าสูอ่ ุตสาหกรรมโดยทางานควบคู่กับการเรียน การพัฒนาหลักสูตรที่
ตอบสนองอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-Curve การพัฒนา New Learning Platform เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ด้วยการพัฒนาระบบ LMS2@PSU รองรับการจัด การเรียนการสอนเฉพาะภายในของมหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ พัฒนาระบบ PSU MOOC เป็นระบบเรียนออนไลน์ที่มหาวิทยาลัยจัดเตรียมขึ้นเพื่อให้บุคคลทั่วไปที่
สนใจสามารถเข้าเรียนได้ พัฒนาระบบ PSU MySchool สาหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อ
เตรียมความพร้อมใน 7 กลุ่มรายวิชาหลักที่จาเป็น มี Platform สาหรับการสอนสดออนไลน์ มหาวิทยาลัยได้
จัดซื้อลิขสิทธิ์และกาหนดให้ใช้ Micrsosoft Teams และ Google Meet รวมถึงระบบ PSU e-Testing เป็น
Platform ส าหรับการสอบออนไลน์ การพัฒนาอาจารย์และนักศึกษา พัฒ นากรอบมาตรฐานสมรรถนะ

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –- พฤษภาคม 2563) -VII-
บทสรุปปผูผู้บ้บริริหหารและที
บทสรุ ารและทีมมบริ
บริหหารมหาวิ
ารมหาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์

อาจารย์ (Teaching Professional Standard Framework : PSU-TPSF) และมีอาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลา


นครินทร์ ผ่านการประเมินกรอบมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนและการสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพของ
ประเทศอังกฤษ หรือ The UK Professional Standards Framework : UKPSF ระดับ Senior Fellow จาก The
Higher Education Academy (HEA), UK จานวน 5 ท่าน การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตและคุณภาพนักศึกษา
มหาวิทยาลัย ได้กาหนดอัตลักษณ์บัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : PSU Smart Student เพื่อตอบโจทย์
การพัฒนาบัณฑิตที่มีความพร้อมสาหรับโลกแห่งอนาคต หรือ Future-Ready Graduates มีความร่วมมือกับ
โรงเรียนเพื่อรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษเขาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจนสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จัด
Advanced Program ให้นักเรียนได้เรียนรายวิชาพืน้ ฐานในมหาวิทยาลัยได้หรือเรียนออนไลน์นาเกรดและหน่วย
กิตรับการยกเว้นรายวิชานั้นและเรียนต่อยอดเมื่อเข้ามหาวิ ทยาลัย กาหนดเป้าหมายการพัฒนานักศึกษาให้
เป็นบัณฑิต ทีม่ ีความรู้และมีทักษะพร้อมทางาน มีความสามารถในการสื่อสารและใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างดี
และถูกต้อง และรู้ภาษาที่ 3 นักศึกษามีความเข้าใจและมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)
ได้อย่างดีและเท่าทัน นักศึกษามีอัตลักษณ์ I-WiSe และเข้าใจสังคมพหุวัฒนธรรม มีระบบการดูแลนักศึกษาที่
มีปัญหาการเงินที่เข้มแข็งผ่านช่องทางหลากหลายทั้งคณะและส่วนกลาง โดยดาเนินการผ่านคณะกรรมการ
จัดสรรทุนการศึกษา ทั้งทุนขาดแคลนทุนทรัพย์และทุนทางานแลกเปลี่ยน รวมทั้งปรับแนวทางการช่วยเหลือ
นักศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019
(COVID-19) มีการจัดสรรทุนการศึกษา ลดค่าธรรมเนียมการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงสนับสนุนอุปกรณ์สาหรับ
การเรียนแบบออนไลน์
นโยบายปรับเปลี่ยนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Transformation) มหาวิทยาลัย
กาหนดทิศทางการพัฒ นากระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ดั งนี้ 1) การรับอาจารย์/อาจารย์ใ หม่และ
ค่าตอบแทนที่ดึงดูด โดยปรั บตามหลั กสมรรถนะและประสบการณ์เพื่อดู ดดึงให้คนเข้ามาทางาน 2) การ
พัฒ นาบุ คลากรสายวิช าการให้มีศัก ยภาพในด้า นการสอนและการวิจัย โดยมีเป้า หมาย ให้อ าจารย์ข อง
มหาวิทยาลัยสามารถสอนได้อย่างมีความมั่นใจ จัดหลักสูตรทบทวนทุก 5 ปี มหาวิทยาลัยเข้าไปช่วยในการ
ประสานสนับสนุนกระบวนการ เช่น การออกแบบหลักสูตร การดูแลช่วยเหลือบุคลากรสายวิชาการให้เข้าสู่
ตาแหน่งทางวิชาการ ระบบการสอนงาน (Coaching) ระบบพี่เลีย้ งอาจารย์ใหม่ ระบบ Fellow เป็นต้น 3) การเพิ่ม
เกณฑ์มาตรฐานผลงานวิชาการ (Standard Academic Outputs) กาหนดค่าเฉลี่ยโดยรวมของมหาวิทยาลัยเป็น
0.75 Papers/คน/ปี ภายในปี 2565 4) ความหลากหลายในการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ (Academic Staff) กลุ่ม
ตาแหน่งประเภทวิชาการเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มตาแหน่งศาสตราจารย์ (ศาสตราจารย์เมธาจารย์ ศาสตราจารย์
ภิชาน ศาสตราจารย์คลินิก ศาสตราจารย์วุ ฒิคุณ ) กลุ่มตาแหน่งวิชาการสายวิจัยและสอนที่เป็ นสายหลั ก
(ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ ) กลุ่มตาแหน่งวิชาการสายผู้สอน (อาจารย์
ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์อาวุโส อาจารย์ผู้สอน) กลุ่มตาแหน่งนักวิจัย (นักวิจัยเชี่ยวชาญพิเศษ นักวิจัยเชี่ยวชาญ
นักวิจัยชานาญการ) 5) การสรรหาผู้บริหาร และ Succession Plan มีการสารวจความคิดเห็นประเด็นอนาคต
ขององค์กร จากทุกกลุ่มที่หลากหลาย จั ดทา Statement of Criteria ตอนประกาศรับสมัคร และมีการค้นหา
ผู้สมัครอย่างกว้างขวาง มีแผนสืบทอด ทดแทนตาแหน่ง Succession Plan โดยกาหนดตาแหน่งสาคัญ ที่ต้องมี
การเตรียมบุคคล ประเมินบุ คคลเข้า สู่ กระบวนการเตรียม เป็ นบุ คคลในคลั งข้อ มู ล Successor ก าหนด

รายงานผลการด าเนินงานของอธิ
-VIII- รายงานผลการดำ �เนิกนารบดี มหาวิกทารบดี
งานของอธิ ยาลัยมสงขลานคริ
หาวิทยาลันยสงขลานคริ
ทร์ (ตุลาคมน2561
ทร์ (ตุล– าคม
พฤษภาคม
2561 - 2563)
พฤษภาคม -VIII-
2563)
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

หลั ก เกณฑ์ ก ารประเมินและก าหนดวิธีก ารพั ฒ นาบุ คคลที่อ ยู่ ในคลั งข้อ มู ล Successor 6) HR Digital
Transformation ระบบข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยที่เชื่อมต่อกันทั้งข้อมูลด้านบุคลากร วิจัย การเรียนการ
สอน บริการวิชาการข้อมูลนักศึกษา การเงิน ฯลฯ เชื่อมต่อข้อมูลส่วนต่าง ๆ เข้าสูฐ่ านเดียวกันทัง้ 5 วิทยาเขต
7) ระบบการทางานแบบ Cross-Function Team (Matrix) เปิดโอกาสให้ทางานข้ ามหน่วยงาน ข้ามคณะ ข้าม
วิทยาเขต นอกจากนี้ยังมีแผนการบริหารจัดการคนเก่ง เพื่อสร้างบุคลากรของมหาวิทยาลัยที่โดดเด่น เน้นการ
สร้า งประโยชน์แก่สั งคม บุ คลากรสายวิช าการและสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย มีก ารสรรหา การจ่า ย
ค่าตอบแทน การจัดสวัสดิการ การยกย่องเชิดชูเกียรติและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งที่เป็นบุคคลจาก
ภายนอกมหาวิทยาลัย และบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย

ความคาดหวังและความร่วมมือร่วมใจประสานพลังปัญญา เพื่อขับเคลื่อนมหาวิทยาลั ยสู่ก ารพัฒนาที่


ยั่งยืน สืบสารภารกิจให้ลุล่วงสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศชาติตอ่ ไป
1. การเพิ่มกาลังคนมีขีดความสามารถในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะนักวิจัยและพัฒนา ทั้งสาย
วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสังคมศาสตร์ ผ่านระบบการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การ
มีกองทุนวิจัย กองทุนบัณฑิตศึกษา สถานวิจัย ศูนย์วิจัยที่มีศักยภาพ พัฒนาศักยภาพและปรับบุคลากรสาย
สนั บ สนุ น เป็ น สายวิ ช าการวิจั ย รวมถึ งการเพิ่ ม หลั ก สู ตร Non-Degree และหลั ก สู ต รพั ฒ นาศั ก ยภาพ
ผู้ประกอบการ SME Start Up มีกลไกส่งเสริมและโครงการเพื่อผลัก ดันให้นักวิจัยที่ มีศักยภาพได้รางวั ล
ระดับชาติและนานาชาติ และส่งเสริมการดาเนินงานของอุทยานวิทยาศาสตร์
2. การจัดการศึกษามีคุณภาพ มาตรฐาน ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย
ด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากร สุขภาพ เพิ่มและพัฒนา WIL Platforms การพัฒนาศักยภาพและปรับบุคลากร
สายสนับสนุนเป็นสายวิชาการวิจัย การเปิดหลักสูตรให้คนพิการ Reinventing University สาขาเกษตร อาหาร
สุขภาพ และ Digital เพิ่มหลักสูตร Up-Skill Re-Skill ในกลุ่มเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาภาคใต้
3. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานตามรูปแบบ PSU System โดยการขับเคลื่อนโครงการ
จัด ตั้งศูนย์สุ ข ภาพนานาชาติอั นดามั น ที่ประกอบด้ว ยภารกิ จหลั ก 4 เรื่อง 1) วิทยาลั ยสุ ข ภาพนานาชาติ
2) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต 3) ศูนย์สุขภาพนานาชาติ 4) ศูนย์ทันตกรรมดิจิทัลสงขลา
นครินทร์ เพื่อให้บริการทางการแพทย์เชิงสุขภาพแก่ประชาชนชุมชนทัง้ ในภูมิภาคและระดับนาชาติ
4. การสร้า งความเข้ม แข็ งในการบริหารงานวิจั ยที่ต อบโจทย์ประเทศ ยกระดั บการพั ฒ นา
Scientific Infrastructure บนความร่วมมือของทั้งสานักเครื่องมือวิทยาศาสตร์ และการทดสอบ สานักวิจัยและ
พัฒนา อุทยานวิทยาศาสตร์ และคณะ เพิ่มสัดส่วนงบวิจัยต่องบดาเนินการของมหาวิทยาลัย โดยกองทุนวิจัย
ของมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และคณะ เพิ่มความร่ว มมือกั บหน่ว ยงานและภาคเอกชนใน 10 ประเด็ น คือ
การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ อาหารและการแปรรูป การท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
สังคมพหุวัฒนธรรม สุขภาพและการแพทย์ Digital พลังงาน สังคมสูงวัย ชุมชนเข้มแข็ง ตั้งหน่วยงาน Holding
Company เพื่อเพิ่มมูลค่างานวิจัย นวัตกรรมเชิงพาณิชย์ เร่ง Reinventing University
5. การขับเคลื่อนโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดใหญ่ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และพัฒนาพื้นที่เพื่อ
นวัตกรรม โดยพัฒนาพืน้ ที่ทุ่งใสไชเป็นพืน้ ที่นวัตกรรมเพื่อสังคม ศูนย์วิจัยทรัพยากรชายฝั่งและอุตสาหกรรม

รายงานผลการด�าเนิ
รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –- พฤษภาคม
พฤษภาคม 2563)
2563) -IX-
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การประมง โดยความร่วมมือกับภาคเอกชนที่มีศักยภาพ เพิ่มการลงทุนวิจัยของบริษัทในอุทยานวิทยาศาสตร์


เพิ่มการให้บริการด้านเครื่องมือวิทยาศาสตร์ และการทดสอบตามมาตรฐานสากล
6. การพัฒนาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต
โดยเพิ่ม ความร่ว มมือกั บหน่ว ยงานและภาคเอกชนตามแผนพัฒ นาเศรษฐกิ จและสังคมของภาคใต้ ใน 10
ประเด็น ข้างต้น ดาเนินโครงการจากมหาวิทยาลัยสู้ตาบล จาก 90 ตาบล สู่ 140 ตาบลในปี 2565 พร้อ ม
ผลักดัน Roadmap การพัฒนาและแก้ปัญหาชายแดนใต้
7. การบริห ารทรั พ ยากรขององค์ ก ร เพื่อ การวางแผนบริหารจั ด การองค์ก รให้ส ามารถใช้
ทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยระบบ Enterprise Resource Planning หรือ ERP
จะทาหน้าเชื่อมโยงข้อมูล และกระบวนการทั้งหมดที่เกิ ดขึ้นในมหาวิทยาลัยให้สามารถทางานร่วมกันได้เป็น
ระบบเดีย ว ผ่า นระบบ PSU-MAS ซึ่งเป็ นระบบงานทางด้า นบั ญ ชี และการเงิน และระบบการให้บริก าร
บุคคลภายนอกองค์การ (เป็นระบบจัดซื้อจัดจ้างที่กาลังดาเนินการร่วมควบคู่กับระบบบัญชีและการเงิน) ที่
ระบบข้อมูลภายในที่เป็นพืน้ ฐาน และต่อไปจะพัฒนาระบบงานทรัพยากรบุคคล และระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้เป็นระบบการจัดการทรัพยากรของมหาวิทยาลัย (PSUERP) รวมทั้งเพิ่มการแสวงหาแหล่งงบประมาณ
จากภายนอก มุ่งเน้นการพึ่งตนเองในการบริหารจัดการ ยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)

........................................................................

รายงานผลการด าเนินงานของอธิ
-X- รายงานผลการดำ �เนินการบดี มหาวิกทารบดี
งานของอธิ ยาลัยมสงขลานคริ
หาวิทยาลัยนสงขลานคริ
ทร์ (ตุลาคมนทร์
2561(ตุล– าคม
พฤษภาคม
2561 - 2563)
พฤษภาคม -X-
2563)
บทสรุ
บทสรุปปผูผู้้บบริริหหารและที
ารและทีมมบริ
บริหหารมหาวิ
ารมหาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์
บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์บทสรุปผู้บริหารและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ทีทีมมบริ
บริหหารมหาวิ
ารมหาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริสงขลานครินนทร์ ทร์
ทีมบริหารมหาวิอธิ ท ยาลั
อธิกการบดี
ารบดีย สงขลานคริ น ทร์
อธิการบดี
ผูผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์
ยศาสตราจารย์ ดร.นิ
ดร.นิววัตัติิ แก้ แก้ววประดั
ประดับบ
รองอธิ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นิ วัติ แก้วประดั บ
รองอธิกการบดี
ารบดีฝฝ่า่ายบริ ยบริหหารและการเงิ
ารและการเงินน รองอธิ
รองอธิกการบดี ารบดีฝฝ่า่ายวางแผนและนโยบายสาธารณะ
ยวางแผนและนโยบายสาธารณะ
รองอธิ ก ารบดี ฝ
อาจารย์พพิิชชิิตต เรื
อาจารย์ า
่ ยบริ
เรือองแสงวั ห
งแสงวัฒ ารและการเงิ
ฒนานา น รองอธิ ยศาสตราจารย์ยวางแผนและนโยบายสาธารณะ
ก ารบดี
ผูผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์ ฝ า
่ ดร.พงค์เเทพ
ดร.พงค์ ทพ สุสุธธีีรรวุวุฒ
ฒิิ
อาจารย์พิชิต เรืองแสงวัฒนา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ
รองอธิ
รองอธิกการบดี ารบดีฝฝ่า่ายวิ
ยวิชชาการ
าการ รองอธิ
รองอธิกการบดี ารบดีฝฝ่า่ายทรั
ยทรัพ พยากรบุ
ยากรบุคคคลและพั
คลและพัฒ ฒนาคุ
นาคุณณภาพ
ภาพ
รองอธิ
รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ การบดีฝ่ายวิ ดร.จุ
ดร.จุ ชาการ

ฑามาส
ามาส ศตสุ ศตสุขข รองอธิ
นายแพทย์
นายแพทย์ การบดี
บบุญ ฝ่ายทรั
ุญประสิ
ประสิ ททธิธิพ ยากรบุ
์์ กฤตย์
กฤตย์ ปประชา
ระชา คคลและพัฒนาคุณภาพ
รองศาสตราจารย์
รองอธิ
รองอธิกการบดี ดร.จุฑามาส ศตสุข
ารบดีววิิททยาเขตหาดใหญ่
ยาเขตหาดใหญ่ นายแพทย์
รองอธิ
รองอธิกการบดี บุญประสิ
ารบดี ยวิทจจธิัยัย์ กฤตย์
ฝฝ่า่ายวิ และนวั
และนวั ประชา
ตตกรรม
กรรม
ผูรองอธิ การบดีวิทยาเขตหาดใหญ่
ผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์
ยศาสตราจารย์ ดร.วศิ
ดร.วศินน สุสุววรรณรั รรณรัตตน์น์ ผูรองอธิ การบดีฝ่ายวินพ.สุ
ผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์
ยศาสตราจารย์ จัยและนวั
นพ.สุ นนทร
ทร วงษ์ตกรรม
วงษ์ ศศิิรริิ
ผูรองอธิ
้ชว่ ยศาสตราจารย์
รองอธิ กการบดี ยพัดร.วศิ
ารบดีฝฝ่า่ายพั ฒ
ฒนานั
นานัน กกสุศึศึวกกรรณรั ตน์ ษษย์ย์เเก่ก่าาสัสัมมพั
ษาและศิ
ษาและศิ พันนธ์ธ์ ผูรองอธิ
้ชว่ ยศาสตราจารย์
รองอธิ กการบดี นพ.สุนทร วงษ์ศิรกกิ ารวิ
ารบดีฝฝ่า่ายกฎหมายและบริ
ยกฎหมายและบริ ารวิชชาการ
าการ
รองอธิ การบดีฝ่ายพั
ผูผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์
ยศาสตราจารย์ สสุพุพฒจน์
จน์นานั
โกวิกททศึยา
โกวิ กษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์
ยา รองอธิ ก ารบดี
ผูผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์ ฝ า

ยศาสตราจารย์ ดร.จุ ยกฎหมายและบริ
ดร.จุมมพล พล ชืชื่น่นจิจิตตต์ต์ศศิิรริิ าการ
ก ารวิ ช
ผูรองอธิ
้ชว่ ยศาสตราจารย์
รองอธิ กการบดี ยวิสุพเเทศสั
ารบดีฝฝ่า่ายวิ จน์ โกวิ
ทศสั พัทนนยา
มมพั ธ์ธ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จุมพล ชื่นจิตต์ศิริ
ผูรองอธิ การบดีฝ่ายวิดร.เถกิ
ผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์
ยศาสตราจารย์ เทศสัมงงพัวงศ์
ดร.เถกิ นธ์ศศิิรริิโโชติ
วงศ์ ชติ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เถกิง วงศ์ศิริโชติ
มหาวิ
มหาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์ ทร์ วิวิททยาเขตปั
ยาเขตปัตตตานี ตานี
รองอธิ
รองอธิกการบดี
ารบดีววิิททยาเขตปั
ยาเขตปัตตตานี ตานี มหาวิทยาลัยสงขลานคริรองอธิ นทร์ วิทกกยาเขตปั
รองอธิ ารบดีฝฝ่า่าตยวิ
ารบดี ยวิตานี ชชาการ
าการ
รองอธิ การบดีวิทออยาเขตปั
รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ เลิศศตพงษ์
ิิ่ม่มจิจิตต เลิ ตานีสสมบั
พงษ์ มบัตติิ ผูรองอธิ การบดีฝ่ายวิดร.มนทิ
ผู้้ชชวว่่ ยศาสตราจารย์
ยศาสตราจารย์ ชาการรราา ลีลีลลาเกรี
ดร.มนทิ าเกรียยงศั
งศักกดิดิ์์
รองศาสตราจารย์ ผูรองอธิ
้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนทิ รา ลีลาเกรียงศักดิ์
รองอธิ ารบดีฝฝ่า่าอยระบบสารสนเทศและวางแผน
รองอธิกการบดี ิ่มจิต เลิศพงษ์สมบัติ
ยระบบสารสนเทศและวางแผน รองอธิกการบดี ารบดีฝฝ่า่ายพั ยพัฒ ฒนานั
นานักกศึศึกกษา ษา
รองอธิ
ดร.อั ต ก
ชั ยารบดี
เอื
อ ้ ฝ
อนัา
่ นยระบบสารสนเทศและวางแผน
ดร.อัตชัย เอือ้ อนันตสันต์ตสั น ต์ รองอธิ
ดร.บดิ นก
ดร.บดินทร์ แวลาเตะ ารบดี
ทร์ ฝ
แวลาเตะา
่ ยพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา
ดร.อัตชัย เอือ้ อนันตสันต์ มหาวิททยาลั
มหาวิ สงขลานคริดร.บดิ
ยาลัยยสงขลานคริ นนทร์ ทร์ นวิวิทร์ แวลาเตะ
ททยาเขตภู
ยาเขตภู เเก็ก็ตต
รองอธิกการบดี
รองอธิ ารบดีววิิททยาเขตภู
ยาเขตภูเเก็ก็ตต มหาวิทยาลัยสงขลานคริรองอธิ นทร์ วิกกทารบดี
รองอธิ ยาเขตภู
ารบดี ฝฝ่า่ายวิ เก็ชชตาการ
ยวิ าการ
รองอธิ การบดีวิทยาเขตภู
รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ ดร.พันนธ์ธ์ เทองชุ
ดร.พั ก็ต มมนุนุมม
ทองชุ รองอธิ
รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ การบดีฝ่ายวิ ชาการ กาลเนาวกุ
ดร.ปรารถนา
ดร.ปรารถนา กาลเนาวกุลล
รองศาสตราจารย์ ดร.พันธ์ ทองชุมมหาวิ นุม ททยาลั
มหาวิ ยาลัยยสงขลานคริ รองศาสตราจารย์
สงขลานครินนทร์
ทร์ วิวิททยาเขตสุ
ยาเขตสุรราษฎร์
าษฎร์ ดร.ปรารถนาธธานี
านี กาลเนาวกุล
รองอธิ
รองอธิกการบดี
ารบดีววิิททยาเขตสุ
ยาเขตสุรราษฎร์ าษฎร์มหาวิ านี ทยาลัยสงขลานครินทร์
ธธานี รองอธิ
รองอธิ วิทยาเขตสุารบดีรฝฝาษฎร์
กการบดี ยวิชชธาการ
่า่ายวิ านี
าการ
รองอธิ การบดีวิทยาเขตสุ
รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ ดร.เจริ
ดร.เจริญ ญราษฎร์
นาคะสรรค์
นาคะสรรค์ ธานี รองอธิ
รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ การบดีฝ่าสสยวิ ุชุชาดาชาการ
าดา ทิทิพพย์ย์มมนตรี
นตรี
รองศาสตราจารย์ ดร.เจริญ นาคะสรรค์มหาวิ มหาวิททยาลั รองศาสตราจารย์
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์ ทร์ วิวิททยาเขตตรั
ยาเขตตรังง ส ช
ุ าดา ทิ พ ย์ มนตรี
รองอธิ
รองอธิกการบดี
ารบดีววิิททยาเขตตรั
ยาเขตตรังง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
รองอธิ การบดีวิทยาเขตตรั
รองศาสตราจารย์
รองศาสตราจารย์ ดร.อุ
ดร.อุดดมผล มผลง พืพืชชน์น์ไไพบู
พบูลลย์ย์
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดมผล พืชน์ไพบูลย์

รายงานผลการด
รายงานผลการดาเนิ
าเนินนงานของอธิ
งานของอธิกการบดี
ารบดีมมหาวิ
หาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์ (ตุ
(ตุลลาคม
าคม 2561
2561 –– พฤษภาคม
พฤษภาคม 2563)
2563) -XI-
-XI-
รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –- พฤษภาคมพฤษภาคม 2563)
2563) -XI-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 11 แผนยุ
แผนยุททธศาสตร์
ธศาสตร์มมหาวิ
หาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์ พ.ศ.
พ.ศ. 2561
2561 -- 2565
2565

ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ว างยุ ท ธศาสตร์ ที่ จ ะน าไปสู่ ค วามส าเร็ จ ของแผนพั ฒ นา
มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ด้ว ยการจัดทาแผนยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 – 2565 ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์หลัก 4 ด้าน คือ สร้างกลไกการ
ทางานเชิงรุก สร้างความเป็นผู้นาทางวิชาการ สร้างความเป็นนานาชาติ และพัฒนาประสิทธิภาพของระบบ
บริหารจัดการ โดยมีทิ ศทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ สร้างความรู้และ
นวัตกรรม เพื่อการขับเคลื่อนสังคม ด้วยการสร้างความเป็นผู้นาทางวิชาการและนวัตกรรม โดยมีการวิจัยเป็น
ฐานเพื่อการพัฒนาภาคใต้และประเทศ เชื่อมโยงสู่สังคมและเครือข่ายสากล การสร้างบัณฑิตที่มีสมรรถนะ
ทางวิชาการและวิชาชีพในระดับสากล ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่ปัญญา จิตสาธารณะ และทักษะในศตวรรษที่ 21
สามารถประยุก ต์ความรู้บนพื้นฐานประสบการณ์จากการปฏิบัติ การพั ฒ นามหาวิทยาลัยให้เป็ นสั งคม
ฐานความรู้บนพืน้ ฐานพหุวัฒนธรรม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้ผู้ใฝ่รู้ได้มีโอกาสเข้าถึง
ความรู้ได้หลากหลายรูปแบบ
ในแผนยุ ทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565 มหาวิทยาลั ยกาหนด
เป้าหมายสูงสุด คือ 1) ความเป็นเลิศทางวิชาการระดับโลก โดยประเมินความสาเร็จจากความมีชื่อเสียงของ
มหาวิทยาลัยจากการ Benchmarking กับมหาวิทยาลัยชั้นนาในประเทศและอาเซียน 2) การขับเคลื่อนสังคมสู่
การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยประเมินความสาเร็จจากผลงานวิชาการและการมีส่วนร่วมของมหาวิทยาลัย ที่สามารถ
สร้างความยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ จากความสาเร็จของแผน/โครงการที่
เป็น University Engagement กับชุมชน ท้องถิ่น ภาครัฐและเอกชน สาหรับยุทธศาสตร์การดาเนินงานที่จะ
ก่ อ ให้ เกิ ด สั ม ฤทธิ์ ผ ลตามเป้า หมายสู ง สุ ด มหาวิท ยาลั ย ก าหนดยุ ทธศาสตร์ก ารด าเนิ นงานที่ส าคั ญ 3
ยุทธศาสตร์คือ
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2. ยุทธศาสตร์การวิจัย/นวัตกรรมที่สร้างมูลคาทางเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ
3. ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร

รายละเอียดของแผนแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 – 2565 มีดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XII-


-XII- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พ.ศ. 2561 - 2565

วิกฤตและความท้าทายของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในปัจจุบันและอนาคต ทั้งในเรื่องระบบเศรษฐกิจ การแข่งขั น
เทคโนโลยี นโยบายทางการเมือ ง สภาพแวดล้อ มทางสังคมทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลั ย ทาให้
มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ ความผันผวน (Volatility) ความไม่แน่นอน (Uncertainty)
ความสลับซับซ้อน (Complexity) และความคลุมเครือ (Ambiguity) เหล่านี้ หรือที่เรียกว่า “VUCA World”
รวมถึงการเปลี่ยนแปลงด้านนวัตกรรมอย่างพลิกผัน (Disruptive Innovation) เป็นตัวเร่งและบีบบังคับให้การ
บริหารของมหาวิทยาลัยจาเป็นต้องเปลี่ยนแปลง อาทิ
1. การจ้างงาน และอาชีพที่เปลี่ยนไป ทาให้ความสนใจและรูปแบบการเรียนรู้เปลี่ยนไป
เป็นผลทาให้จานวนนักศึกษาลดลงทุกมหาวิทยาลัย
2. นโยบายของรัฐบาลในการสนับสนุนงบประมาณแก่มหาวิทยาลัยลดลง จากการเป็น
มหาวิทยาลั ยในก ากั บของรัฐ ทาให้ต้องเลี้ยงตัว เองมากขึ้น และรูปแบบการบริหารงบประมาณของรั ฐ
เปลี่ยนแปลง เช่น การมี พ.ร.บ. วินัยการเงินการคลัง ตลอดจน พ.ร.บ. จัดซือ้ จัดจ้าง อาจส่งผลกระทบต่อการ
บริหารจัดการ และการใช้งบประมาณที่ไม่มีความยืดหยุ่น
3. สถานการณ์ความรุนแรงในชายแดนใต้ยังเป็นปัญหาที่ทาให้คนทั้งภายในและภายนอก
ประเทศ ขาดความมั่นใจเรื่องความปลอดภัย โอกาสของบุคลากรที่มีความสามารถ และนักเรียน นักศึกษาที่
สนใจจะทางานหรือเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก็อาจจะตัดสินใจไปศึกษาที่อื่น
4. ภาวะเศรษฐกิ จ ตกต่ าในภาคใต้ โดยเฉพาะผลผลิต ทางการเกษตรของภาคใต้
ราคาตกและผันแปร โอกาสที่จะสร้างการมีสว่ นร่วมในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นก็เป็นไปได้ยาก และเป็นปัญหา
ที่ตอ้ งการให้มหาวิทยาลัยลงไปช่วยมากขึน้ ปัญหาที่มากและสะสมของพื้นที่ทาให้มหาวิทยาลัยต้องใช้สรรพ
กาลังมากและอาจไปลดทอนงานด้านอื่น ๆ
5. งานวิ จั ย และนวั ต กรรม และงานบริ ก ารวิ ช าการยั ง ไม่ ส ร้ า งประโยชน์ ใ ห้ กั บ
มหาวิทยาลัยและสังคมเท่าที่ควร ไม่สามารถตอบโจทย์ปัญหาและการพัฒนาของภาคใต้ ประเทศ และโลกได้

ความคาดหวังต่อการบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ประชาคมในมหาวิทยาลัยและสังคมคาดหวังมหาวิทยาลัยในหลาย
ประการด้วยกัน เช่น ในวาระครบ 50 ปีน่าจะเป็น Turning Point สาคัญของมหาวิทยาลัย ควรมีการ
Transformation ในหลายด้าน เพื่อสร้างรูปแบบการทางานที่จะช่วยขับเคลื่อนประเทศสู่ Thailand 4.0 เปลี่ยน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XIII-

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -XIII-


ส่ส่ววนที
นที่ ่ 11 แผนยุ
แผนยุททธศาสตร์
ธศาสตร์มมหาวิ
หาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์ พ.ศ.
พ.ศ. 2561
2561 -- 2565
2565

จากนโยบายและทฤษฎีสู่การปฏิบัติ เป็นที่พึ่งของชุมชน สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า ในสังคม แก้


วิกฤตความรุนแรงชายแดนใต้ทั้งความยากจน ความไม่รู้ ความขัดแย้ง ต่อยอดความสาเร็จจากงานวิจัย
พัฒนาระบบ PSU System เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง หลุดกับดักระบบราชการ การปรับเปลี่ยนวัฒ นธรรม
องค์กร การบริหารคนเก่ง การพัฒนาความเป็นผู้นาในทุกระดับ การจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการ เน้น
คุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาและบัณฑิต สร้างสังคมเพื่อความสามารถในการแข่งขัน ใช้แรงผลักจาก
ภายนอกเพื่อการขับเคลื่อนองค์กร และการใช้พลังศิษย์เก่าเพื่อสร้างพลังความสาเร็จ

แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565


แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565 เป็นการวางยุทธศาสตร์ที่จะ
นาไปสูค่ วามสาเร็จของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ภายใต้
กรอบยุทธศาสตร์หลัก 4 ด้าน คือ 1) สร้างกลไกการทางานเชิงรุก 2) สร้างความเป็นผู้นาทางวิชาการ 3)
สร้างความเป็นนานาชาติ และ 4) พัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการ ซึ่งมีแนวทางการนาไปสู่
การปฏิบัติ ดังนี้
1. ทิศทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ สร้างความรู้
และนวัตกรรม เพื่อการขับเคลื่อนสังคม โดย
1) สร้างความเป็นผู้นาทางวิชาการและนวัตกรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐานเพื่อการพัฒนา
ภาคใต้และประเทศ เชื่อมโยงสู่สังคมและเครือข่ายสากล
2) สร้างบัณฑิตที่มีสมรรถนะทางวิชาการและวิชาชีพ ในระดับสากล ซื่อสัตย์ มีวินัย
ใฝ่ปัญญา จิตสาธารณะ และทักษะในศตวรรษที่ 21 สามารถประยุกต์ความรู้บนพื้นฐานประสบการณ์จาก
การปฏิบัติ
3) พัฒนามหาวิทยาลั ยให้เป็ นสั งคมฐานความรู้บนพื้นฐานพหุวั ฒนธรรม และหลั ก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้ผู้ใฝ่รู้ได้มีโอกาสเข้าถึงความรู้ได้หลากหลายรูปแบบ
2. แนวคิดในการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัตริ ะยะ 4 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565)
การแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติใช้แนวคิดที่สาคัญ คือ
1) เพิ่มการสานพลัง สร้างความร่วมมือ (Synergy & Engagement)
2) เพิ่มขีดความสามารถและทุนมนุษย์ (Human Competency & Human Capital)
3) ยกระดับศูนย์กลางงานวิจัยและนวัตกรรม (Research & Innovation Hub)
4) ก้าวสูส่ ากลเพือ่ การพัฒนาพืน้ ที่ (From Local to Global & Act to Local)
5) สร้างแบบการเรียนรู้ใหม่ (New Learning Platforms)
6) เป็นองค์กรมีชีวิต องค์กรสุขภาวะ (Humanization & Healthy PSU)
3. สัมฤทธิผลสาคัญในแผนยุทธศาสตร์
ในแผนยุ ทธศาสตร์มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565 มหาวิทยาลั ย
กาหนดเป้าหมายสูงสุด คือ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XIV-


-XIV- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ น1 ทร์
ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานคริ แผนยุ ทธศาสตร์
พ.ศ. 2561 -ม2565
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

1) ความเป็นเลิศทางวิชาการระดับโลก โดยประเมินความสาเร็จจากความมีชื่อเสียง
ของมหาวิทยาลัยจากการ Benchmarking กับมหาวิทยาลัยชั้นนาในประเทศและอาเซียน
2) การขับเคลื่อนสังคมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยประเมินความสาเร็จจากผลงานวิชาการ
และการมีสว่ นร่วมของมหาวิทยาลัย ที่สามารถสร้างความยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และ
สุขภาพ จากความสาเร็จของแผน/โครงการที่เป็น University Engagement กับชุมชน ท้องถิ่น ภาครัฐและเอกชน
4. ยุทธศาสตร์การดาเนินงาน
การจะก่อให้เกิดสัมฤทธิผลตามเป้าหมายสูงสุด มหาวิทยาลัยกาหนดยุทธศาสตร์การ
ดาเนินงานที่สาคัญ 3 ยุทธศาสตร์ คือ
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2. ยุทธศาสตร์การวิจัย/นวัตกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ
3. ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร
สรุ ปความสั ม พันธ์ ข องยุ ทธศาสตร์ เป้า ประสงค์ และตัวชี้วั ด ดังแผนภาพที่ 1 บั นได 5 ขั้น
ผลลัพธ์ที่คาดหวังในการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ต่อไปนี้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XV-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -XV-
ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development : HRD)


ประกอบด้วย 2 ยุทธศาสตร์ย่อย คือ 1) การผลิตบัณฑิต และ 2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุก
ช่ ว งวั ย โดยแต่ล ะยุ ท ธศาสตร์ ย่อ ยมี เป้ า ประสงค์ การเปลี่ย นแปลงที่ส าคั ญ ตัว ชี้ วั ด และแนวทางใน
การดาเนินงาน ดังนี้ แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565
1.1 การผลิตบัณฑิต
เป้าประสงค์ (Goal) การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ (PSU Change)
HRD1 บัณฑิตมีสมรรถนะระดับสากลสู่ พัฒนาหลักสูตรเพือ่ ให้บัณฑิตสามารถสร้างการ
การเป็นพลเมืองโลก เปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า มีความสามารถในการ
สื่อสาร สามารถทางานได้ทุกที่
HRD2 ระบบการเรียนการสอนมีลักษณะ เปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาภายใน ให้เอือ้ ต่อการเข้าถึง
เป็นรูปแบบการเรียนรู้ใหม่ที่ มากขึน้
หลากหลายและยืดหยุ่น
HRD3 สร้างโอกาสเข้าสู่อดุ มศึกษาในกลุม่ มีชอ่ งทางที่หลากหลายให้กลุ่มผู้ดอ้ ยโอกาส กลุม่ ยากจน
ด้อยโอกาสและกลุม่ เปราะบาง และกลุม่ เปราะบางสามารถเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย

ตัวชี้วัด
KPI1 บัณฑิตที่ประสบความสาเร็จในการเป็นผู้ประกอบการ
KPI2 บัณฑิตที่เข้าสู่ตลาดงานสากล
KPI3 ค่าเฉลี่ยรายได้ของบัณฑิต
KPI4 รูปแบบการศึกษาที่เป็นต้นแบบให้กับสังคม
KPI5 จานวนนักศึกษากลุม่ เปราะบาง ด้อยโอกาส และยากจน ที่เข้าศึกษา
แนวทางการดาเนินงาน
1) จัดทาแผนผลิตบัณฑิต การปรับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรม
เสริมหลักสูตร เพื่อมุ่งสร้างบัณฑิตสมรรถนะสากลสู่การเป็นพลเมืองโลก (Global Citizen) ที่สมบูรณ์ อีกทั้ง
เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกับภูมิศาสตร์ของพืน้ ที่
2) ขยายกรอบงานการเปิดวิทยาเขตหรือ PSU - Center ในต่างประเทศ อาทิ ในภูมิภาค
อาเซียน จนถึงภูมิภาคเอเชีย
3) สร้างความหลากหลายของอุดมศึกษาของ ม.อ. Diversify Higher Education Pathways
ให้นักศึกษาสามารถเลือกเส้นทางตามความสนใจ และพรสวรรค์ของตน มีสายอาชีพหลากหลาย แนะนาเส้นทาง
ต่าง ๆ ตั้งแต่วัยเด็ก ส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นผู้ประกอบการ (Start Up) และการสร้างหลักสูตรใหม่โดยสามารถ
ออกแบบรายวิชาเอง เลือกเรียนรายวิชาที่สนใจ โดยไม่มีข้อจากัดในการเลือกคณะ/สาขาวิชา

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XVI-

-XVI- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


ส่วนที่ น1 ทร์
ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานคริ แผนยุ ทธศาสตร์
พ.ศ. 2561 -ม2565
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

4) จัดการศึกษาร่วมกับการปฏิบัติในสถานการณ์จริง (Work Integrated Learning :


WIL) โดยเฉพาะการจัดให้มีสหกิจในทุกหลักสูตร ซึ่งให้ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทอย่างใกล้ชิดในการร่วมจัด
การศึกษาในลักษณะที่เกิดประโยชน์ร่วมกัน
5) ดาเนินการเชิงรุก เพื่อดึงดู ดนักศึกษาทั้งในประเทศและต่า งประเทศ โดยเพิ่ม
มาตรการจูงใจ เช่น ทุนการศึกษา การสร้างอาชีพ การรับนักเรียนจากโรงเรียนนานาชาติ โปรแกรม EP (English
Program) เข้าสู่หลักสูตรนานาชาติ
6) Pre - College การจัดทาหลักสูตรต่อเนื่องจากโรงเรียนสู่มหาวิทยาลัย มีการรับ
นัก เรียน และมีการเตรียมความพร้อมของนัก เรียนมั ธยม เพื่อ เข้า สู่ก ารศึก ษาระดั บมหาวิทยาลั ย ในบาง
หลักสูตรที่มีความต้องการสูง
7) ยกระดับการเรียนการสอนที่เป็น E - Learning , Long - Distance Learning และ
Online - Learning
8) สนับสนุนและวางรูปแบบการรับเข้าศึกษาของนักศึกษากลุ่มเปราะบาง ด้อยโอกาส
และยากจน และจัดการให้นักศึกษาสามารถหางานทาในระหว่างเรียน

1.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย
เป้าประสงค์ (Goal) การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ (PSU Change)
HRD4 เป็นแกนหลักในการพัฒนา มีระบบการเรียนรู้แบบ Non-Degree ที่นาไปสูก่ ารเรียนรู้
ทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย/ทุกระดับ ตลอดชีวิต (Lifelong Learning)

ตัวชี้วัด
KPI6 จานวนผู้เข้าเรียนแบบ Non - Degree ในพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย (Area Base)
แนวทางการดาเนินงาน
1) ยกระดั บการพั ฒ นาทุ นในตั ว คน โดยวางยุ ทธศาสตร์ พัฒ นาทรั พ ยากรมนุษ ย์
ทุกช่วงวัยในระดับจังหวัด ภาค ประเทศ และสากล เพื่อเตรียมคนสู่การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และด้านสุขภาพ
2) ส่งเสริมและจัดกระบวนการเรียนรู้แบบตลอดชีวิต (Encourage Lifelong Learning)
ให้กับคนในชุมชน เป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้กับคนทุกกลุ่มวัย โดยวิธีการ Experiential Learning
เปลี่ยนการเรียนรู้แบบทฤษฎีในห้องเรียนมาเป็นการฝึกฝนประสบการณ์ ผสมผสานการทางานจริง จะมี
ลักษณะเรียนไป สร้างอาชีพ ทางานไป โดยอาจจะมีการจัดการเรียนรู้แบบ Online Module และการเรียนการ
สอนทางไกล
3) พัฒนาระบบ E - Learning, Online - Learning, Long - Distance Learning เพื่อ
สร้างโอกาสและช่องทางการเข้าถึงระบบการพั ฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในรูปแบบหลั กสูตร และการอบรมทั้ง
ระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งจะสามารถเก็ บเครดิต เพื่อ เข้า ศึก ษาต่อ ทั้งระดั บปริญญาตรี ปริญญาโท และ
ปริญญาเอก ได้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XVII-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -XVII-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 11 แผนยุ
แผนยุททธศาสตร์
ธศาสตร์มมหาวิ
หาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์ พ.ศ.
พ.ศ. 2561
2561 -- 2565
2565

4) สร้างหุ้นส่วนร่วมลงทุนในหลักสูตรพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ กับหน่วยงานราชการ
ชุมชนท้องถิ่น ผู้ประกอบการภาคเอกชน เช่น ศูนย์พัฒนาบุคลากรท้องถิ่น ศูนย์พัฒนาศักยภาพผู้สูงวัย
5) สร้างความเชื่อมโยงกับศิษย์เก่าให้เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยตลอดไป และจัด
หลักสูตรเพื่อยกระดับศักยภาพของศิษย์เก่าอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งจัดทาแผนพัฒนาศิษย์เก่า โดยกระบวนการ
Experiential Learning Cycles

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การวิจัยและนวัตกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและพัฒนาประเทศ (Research and


Innovation Development : RID)
เป้าประสงค์ (Goal) การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ (PSU Change)
RID1 นาผลงานวิจัย นวัตกรรม และ เปลี่ยนผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์ได้จริงในสังคมและ
บริการวิชาการ สูก่ ารใช้ประโยชน์ ประเทศ
เชิงพาณิชย์ และเพือ่ การพัฒนา
ประเทศ
RID2 มีนโยบายสาธารณะเพือ่ การ สกัดองค์ความรู้จากงานวิจัยและบริการวิชาการ นาไปสูก่ าร
ขับเคลื่อนสังคม แก้ปัญหา หรือพัฒนาสังคมและประเทศ

ตัวชี้วัด
KPI7 ความสาเร็จของการดาเนินงาน 6 สาขาความเป็นเลิศ
KPI8 ผลงานนวัตกรรม/สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร/ผลงานที่นาไปสูเ่ ชิงพาณิชย์
KPI9 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่ได้รับการตอบสนองจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางการดาเนินงาน
1) บูรณาการหลักสูตร งานวิจัย และบริการวิชาการ ที่เน้นการบูรณาการระหว่าง
ศาสตร์ (Discipline Based) และประเด็น (Issues Based) ในรูปแบบคลัสเตอร์ โดยดาเนินการทั้งในรูปแบบคลัส
เตอร์ ในลักษณะ Matrix Cluster ตามประเด็นกับศาสตร์ควบคู่กัน
2) ผลักดันการสร้าง Research & Innovation Hub ในวิทยาเขตที่มีความพร้อมสูง ใน
ลักษณะต่าง ๆ ทั้งการยกระดับ Research Management และสร้าง Research Manager การวาง Research
Visions หรือ Research Mapping (Topics - Researcher - Network - Funding Agencies - Stakeholder) การ
วาง Research Road Map และการวางระบบพัฒนาขีดความสามารถของนักวิจัย เครือข่ายวิจัย โดยเน้นการ
พัฒนาใน 6 ด้านดังต่อไปนี้
(1) ด้านเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ
(2) ด้านการท่องเที่ยว
(3) ด้านสังคมพหุวัฒนธรรม
(4) ด้าน Medical Hub and Aging
(5) ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XVIII-


-XVIII- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ น1 ทร์
ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานคริ แผนยุ ทธศาสตร์
พ.ศ. 2561 -ม2565
หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

(6) ด้าน Digital Technology


3) บริหารสัมฤทธิผลจากระบบงานวิจัย ทั้งจานวนทุน แหล่งทุน และรายได้เพิ่มจาก
ผลงานวิจัยและนวัตกรรม และลงทุนในการนานวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์ โดยเน้นในประเด็นย่อยต่าง ๆ ดังนี้
(1) วางระบบการสร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา แหล่งทุนขนาดใหญ่ทั้ง
ภายในและภายนอกประเทศ ทั้งที่เป็นรัฐ ท้องถิ่น และเอกชน
(2) สนับสนุนการพัฒนา Proposal เพื่อขอทุนจากแหล่งทุนขนาดใหญ่
(3) ทบทวน จัดตั้งศูนย์หรือหน่วยงานผลั กดันงานวิจัยและนวั ตกรรมสู่การใช้
ประโยชน์ต่อสังคมและเชิงพาณิชย์
(4) การจัดตั้งหรือลงทุนในเชิงธุรกิจในผลงานวิจัยและนวัตกรรม เช่น ยางพารา
อาหาร และสุขภาพ
(5) วิจัย และจั ด การความรู้ ทางนโยบายเพื่อ ทาให้ก ระบวนการนโยบายเกิ ด
ประโยชน์สู งสุด เช่น การจัด ตั้งสถาบันนโยบายสาธารณะ เพื่อเป็น ฐานในการขับเคลื่อนผลงานวิจัยและ
นวัตกรรมเชิงระบบและเชิงนโยบาย อันเกิดประโยชน์และคุณค่าต่อการพัฒนาประเทศ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร (PSU Ecosystem) (Increase Management Efficiency : IME)

เป้าประสงค์ (Goal) การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ (PSU Change)


IME1 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการ มีระบบการบริหารที่มีรูปแบบที่แตกต่ า งตามจุ ด เด่น ของ
บริหารจัดการ แต่ละวิทยาเขต
IME2 เป็น Digital University นาเทคโนโลยีไ ปใช้ ในการขั บเคลื่อ นการเปลี่ยนแปลงและ
การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
IME3 เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากร มีระบบบริหารคนเก่ง เพื่อสร้างบุคลากรของมหาวิทยาลัยที่
เพื่อบรรลุสัมฤทธิผลของมหาวิทยาลัย โดดเด่น เน้นการสร้างประโยชน์แก่สังคม
IME4 มีเสถียรภาพและความมั่นคงทาง เลี้ยงตัวเองได้ ไม่พึ่งพางบประมาณแผ่นดิน
การเงิน

ตัวชี้วัด
KPI10 ความสาเร็จของการบริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต
KPI11 ความสาเร็จของระบบสารสนเทศที่รองรับระบบบริหารและผู้ใช้บริการ
KPI12 ผลงานวิชาการของบุคลาการสายวิชาการ 1 เรื่อง/คน/ปี
KPI13 เงินรายได้สะสมที่เพิ่มขึน้
ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ประกอบด้วย 4 เป้าหมาย (Big Achievement) คือ
1) เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการ 2) เป็น Digital University 3) เพิ่มขีดความสามารถของ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XIX-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -XIX-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 11 แผนยุ
แผนยุททธศาสตร์
ธศาสตร์มมหาวิ
หาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์ พ.ศ.
พ.ศ. 2561
2561 -- 2565
2565

บุคลากร เพื่อบรรลุสั มฤทธิผลของมหาวิทยาลั ย และ 4) มีเสถี ยรภาพและความมั่ นคงทางการเงิน โดย


แต่ละเป้าหมาย มีแนวทางในการดาเนินงาน ดังนี้
3.1 เพิ่มประสิทธิภาพของระบบการบริหารจัดการ
3.1.1 การบริหารจัดการวิทยาเขต
แนวทางการดาเนินงาน
1) สร้างความเป็น Autonomous Organization อย่างแท้จริง โดยใช้หลักการ Chaordic
และ Learning Organization และใช้หลักการบริหารความต่างตามบริบทของแต่ละวิทยาเขต
2) พัฒนาระบบบริหารวิทยาเขตและจัดตั้งกองทุนกลางเพื่อการพัฒนาวิทยาเขต และ
คณะขนาดเล็กในทุกวิทยาเขต
3) ปรับโครงสร้างการบริหารวิทยาเขต โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร
จัดการและพัฒนาวิทยาเขต ทาให้รู้สกึ ว่าเป็นมหาวิทยาลัยของชุมชนนั้น ๆ และมุ่งมั่นที่จะสร้างประโยชน์ให้
กับชุมชน
4) สนับสนุน ม.อ. ทุกวิทยาเขต สานพลังความร่วมมือของรัฐ ท้องถิ่น เอกชน และ
ชุมชน เพื่อร่วมสร้างเมืองต้นแบบในจังหวัดที่ตั้งวิทยาเขต
5) สนับสนุนการเปิดหลักสูตรร่วมกันของหลายวิทยาเขต เพื่อการ Share – Mobilize
Resources และใช้ระบบ Information Technology ในการบริหารจัดการการเรียนการสอน
6) จัด สมดุ ล และสร้า งความสอดคล้อง ระหว่างการเรียนการสอน การจัด การ
งานวิจัย และบริการวิชาการ โดยใช้แหล่งทุนจากงานวิจัยและงานบริการวิชาการมาหนุนเสริมการพัฒนา
ศักยภาพของอาจารย์และการเรียนการสอนของนักศึกษา
3.1.2 โครงสร้างการบริหารและระบบงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1) จั ด โครงสร้า งการบริหารองค์ก รที่สั้น กระชั บ เพื่ อ ประโยชน์ใ นการสั่ งการ
การสื่อสารที่รวดเร็ว และลดขั้นตอนการทางาน
2) ปรับปรุง กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ที่เป็นอุปสรรค และไม่เอื้อต่อการทางานเพื่อ
มุ่งเป้าเชิงสัมฤทธิผลมากกว่าตามขั้นตอนปฏิบัติ
3) ออกแบบการสื่อสารมหาวิทยาลัยกับประชาคม ทั้งในและระหว่างวิทยาเขต
4) วางระบบในการจัดการทรัพยากร และการจัดสรรทรัพยากรของ ม.อ. อย่างมี
ประสิทธิภาพและให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งสินทรัพย์ที่มีตัวตน เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่องมือ อุปกรณ์ เป็นต้น
และไม่มีตัวตน เช่น ทรัพย์สนิ ทางปัญญา ความรู้ ทักษะ ความสามารถ เป็นต้น
5) การพัฒนาระบบรักษาความปลอดภัย เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ปกครองและ
นักศึกษาในวิกฤตชายแดนใต้
6) พัฒนาต้นแบบองค์กรที่มีการใช้พลังงานทางเลือก เพื่อการจัดการพลังงานอย่าง
ยั่งยืน รวมถึงเป็นองค์กรประหยัดพลังงาน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
7) เปิดโอกาสให้ชุมชนสามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของ ม.อ. อย่างเหมาะสม

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XX-


-XX- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

ส่วนที่ 1 แผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561 - 2565

3.1.3 การประกันคุณภาพ
แนวทางการดาเนินงาน
1) พัฒ นาวิธีการบริหาร วิธีการด าเนินงาน เพื่อทาให้อ งค์กรมีประสิทธิภาพและ
สามารถมุ่งไปสูค่ วามเป็นเลิศตามระบบหรือเกณฑ์ EdPEx และที่สาคัญต้องเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของผู้บริหาร
และผู้ที่เกี่ยวข้องให้เห็นว่าการที่เป็นเลิศ มีคุณค่าต่อคน องค์กร และสังคม
2) จัดทา PSU - EdPEx Roadmap ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย วิทยาเขต คณะ และ
หน่วยงาน โดยจัดเป็น Phase ควบคู่ไปกับการให้ความรู้ในด้านการบริหารจัดการตามแนวทางคุณภาพกับ
ผู้บริหารทุกระดับ/บุคลากร
3) สนับสนุนให้มีก ารจั ด การกับปั จจั ยที่นาไปสู่ความส าเร็ จตามระบบหรือ เกณฑ์
EdPEx ประกอบด้วย มิติผู้บริหารต้องเข้าใจ มีความมุ่งมั่น จริงจัง และต่อเนื่องในการร่วมมือและสนั บสนุน
ทรัพยากรดาเนินงาน และมิติบุคลากรต้อ ง เข้าใจ เปิด ใจ และแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยอมรั บการ
เปลี่ยนแปลงจนนาไปสู่การให้ความร่วมมือ เสียสละเวลา และรับผิดชอบในการดาเนินกิจกรรมอย่างครบถ้วน
4) มีการพัฒนา Assessor ในองค์กรให้มากขึน้ อย่างต่อเนื่อง มีระบบพี่เลี้ยง (โครงการ
บ่มเพาะ) หรือโครงการเพื่อนช่วยเพื่อน และการสนับสนุนการติดตามและปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
3.2 เป็น Digital University
3.2.1 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
แนวทางการดาเนินงาน
1) พัฒนาระบบสารสนเทศและพัฒนาเทคโนโลยี/สื่อการเรียนรู้ ไปสู่รูปแบบ Smart
Learning ที่สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ทั้งในชั้นเรียนและการเรียนรู้ด้วยตัวเองนอก
ห้องเรียน
2) สร้างระบบข้อ มูล คลังความรู้และระบบจั ด การทรั พยากรองค์ความรู้เพื่อ สร้า ง
บริบทการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เปิดกว้าง ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์แก่ทุกกลุ่มประชากร
3.2.2 พัฒนาระบบสารสนเทศทางการบริหาร
แนวทางการดาเนินงาน
1) สร้างความสมบูรณ์ขององค์ประกอบระบบนิเวศในความเป็น Digital University ที่
เป็นด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและฐานสาหรับต่อยอดประยุกต์ใช้ในภารกิจต่าง ๆ
2) เชื่อมโยงระบบข้อมูลสารสนเทศจากระดับคณะ/ส่วนงาน/วิทยาเขตให้เป็นระบบ
สารสนเทศทางการบริหารและนาไปสูก่ ารสังเคราะห์ตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
3.2.3 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทาง IT
แนวทางการดาเนินงาน
1) พัฒนาระบบเครือ ข่า ยอินเตอร์เน็ตความเร็ วสูง ให้มั่ นคงปลอดภัย ทั่ว ถึง และมี
เสถียรภาพ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XXI-

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -XXI-


ส่ส่ววนที
นที่ ่ 11 แผนยุ
แผนยุททธศาสตร์
ธศาสตร์มมหาวิ
หาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์ พ.ศ.
พ.ศ. 2561
2561 -- 2565
2565

2) นาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้เพื่อรองรับการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยโดย
ร่วมมือกับพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น ระบบ Cloud Computing, Big Data,
Mobile Computing และ Social Network
3) จัดทา Application เพื่อให้มีการใช้งานแบบตลอดเวลา ไม่มีวันหยุด (Twenty -Four
Seven : 24/7) อย่างมีเสถียรภาพ ผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
3.3 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แนวทางการดาเนินงาน
1) พัฒนาบุคลากร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมีระบบการวางแผนและบริหาร
อัตรากาลัง (Workforce Planning) ระบบการสร้างเสริมศักยภาพและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร (Workforce
Development) และการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทางานของบุคลากร (Work Life Balance)
2) จัดทาแผนการสร้างนั กบริหารจั ดการ นักยุ ทธศาสตร์ นักประสานงาน และ
นักสื่อสาร เพื่อขับเคลื่อนวิชาการสู่สังคมที่ยั่งยืน
3.4 ด้านการลงทุน
แนวทางการดาเนินงาน
1) พัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชย์
2) การให้บริการเชิงพาณิชย์ จากทรัพย์สนิ ทางปัญญา การบริการวิชาการ และการ
บริหารจัดการทรัพย์สนิ ที่มีอยู่
3) การระดมทุนจากศิษย์เก่าและผู้สนับสนุนภายนอก

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -XXII-


-XXII- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ส่วนที่ 2 รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์


ประเด็นที่ 1 การมีบทบาทในการชี้นาสังคม
1. การเป็นมหาวิทยาลัยฐานความรู้และแหล่งเรียนรู้
1.1 ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัย
1) The 2021 Times Higher Education World University Rankings by Subject ผลการจัดอันดับ
มหาวิทยาลัยชั้นนาของโลก ตามกลุ่มสาขาวิชาประจาปี 2021 เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2563 ซึ่งใช้เกณฑ์ในการ
พิจารณาในด้านคุ ณภาพการเรียนการสอน คุ ณภาพของงานวิจัย การนางานวิจัยไปใช้ อ้า งอิง รายได้จาก
นวัตกรรมที่คิดค้นขึ้น และความเป็นนานาชาติ จาก 11 กลุ่มสาขา คือ ด้านการศึกษา ธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
การแพทย์และสุขภาพ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมและเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์
กายภาพ สังคมศาสตร์ จิตวิทยา มนุษยศาสตร์ และด้านกฎหมาย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัด
อันดับในระดับโลกและระดับประเทศดังนี้
ระดับประเทศ ระดับโลก
ด้านการแพทย์และสุขภาพ อันดับที่ 5+ ด้านการแพทย์และสุขภาพ อันดับที่ 601+
ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี อันดันที่ 4 ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี อันดับที่ 801-000
ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ อันดับที่ 4 ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ อันดับที่ 601-800
ด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ อันดับที่ 6+ ด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ อันดับที่ 1001+
2) THE World University Rankings 2021 ได้จัดอันดับเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2563 มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ ติดกลุ่มอันดับ 3 ร่วมมหาวิทยาลัยไทยอยู่ในกลุ่มอันดับที่ 1001+ ของโลก โดยพิจารณาจาก
ตัวชี้วั ดผลการดาเนินงาน 5 ด้านได้แก่ ด้า นการเรียนการสอน (Teaching 30%) ด้านการวิจัย (Research
30%) การอ้างอิงผลงานวิชาการ (Citations 30%) รายได้จากอุตสาหกรรม (Industry Income 2.5%) และ
ความเป็นนานาชาติ (International Outlook 7.5%)
3) Academic Ranking of World Universities 2020 (ARWU 2020) โดยสานัก Shanghai Ranking
Consultancy ได้จัดอันดั บเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2563 เป็นการจัดตามสมรรถนะทางด้านวิชาการและวิจัย
ประจาปี ค.ศ. 2020 ซึ่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อยู่ในกลุ่ม 800-900 มีมหาวิทยาลัย/สถาบันอุดมศึกษา
จากทั่วโลก ได้รับการจัดอันดับไว้ 1,000 อันดับ โดยมีมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน ที่ได้รับการจัดอันดับใน
ARWU 2020 เป็นมหาวิทยาลัยในประเทศสิงคโปร์ 4 แห่ง มาเลเซีย 5 แห่ง และไทย 4 แห่ง
4) Round University Ranking (RUR) 2020 สถาบันการจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลกของ
สหพันธรัฐรัสเซีย ได้จัดอันดับเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2563 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัดอันดับ
ให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพอันดับที่ 6 ของประเทศ และอันดับที่ 618 ของโลก ซึ่งได้รับการจัดอันดับคุณภาพ
ที่ดีขึ้นหากเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา ซึ่งปี 2562 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อยู่ในอันดับ 8 ของประเทศ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -1-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -1-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

และอันดับ 679 ของโลก เป็นการจัดอันดับคุณภาพตามตัวชี้วัด 4 ด้านได้แก่ ด้านการสอน ด้านการวิจัย ด้าน


ความเป็นนานาชาติ และด้านความยั่งยืนทางการเงิน โดยแต่ละด้านจะแบ่งออกเป็น 5 ตัวชี้วัด
5) U.S. News & World Report Best Global Universities rankings 2020 เป็นการจัดอันดับของ
สหรัฐอเมริกา โดยจะมี 13 ตัวชี้วัดเพื่อเปรียบเทียบผลงานวิจัยที่อยู่ในฐาน ISI และชื่อเสียงด้านงานวิจัยของ
มหาวิทยาลัย โดยจะมี 1,500 มหาวิทยาลัยทั่วโลกที่ได้รับการจัดอันดับ ซึ่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับ
การจัดอันดับ 1 ระดับประเทศ "Agricultural Sciences" (ด้านสาขาวิทยาศาสตร์การเกษตร)
6) QS Asia University Rankings 2020 ได้จัดอันดับให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อยู่ในอันดับ 7
ของมหาวิทยาลัยไทย และอันดับที่ 148 ในภูมิภาคเอเชีย ตัวชี้วัดที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้คะแนน
สู งสุ ด ได้แก่ การตีพิม พ์ร่ ว มกั บนัก วิจั ยชาวต่า งประเทศในฐานข้อ มู ล Scopus (International Research
Network) โดยในปีนี้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้คะแนนสูงสุด เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองลงมาคือ
นักศึกษาแลกเปลี่ยนไปต่างประเทศ (Outbound Exchange Students) การถูกอ้างอิงของงานวิจัย (Citations
per Paper) และชื่อเสียงในแวดวงวิชาการ (Academic Reputation) ตามลาดับ
1.2 การดาเนินงานในลักษณะเครือข่ายร่วมกับหน่วยงานระดับประเทศและนานาชาติ
1) โครงการ Erasmus+ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เข้าร่วมโครงการ Erasmus+ มาอย่างต่อเนื่อง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน นับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีการดาเนินโครงการ Erasmus+ มากที่สุดของประเทศ
โดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ เข้าร่วมเป็นคณะแรก โครงการ Erasmus+ ในระยะแรกเป็นโครงการ ERASMUS
Mundus (ERASIA 2) คือ ทุนของสหภาพยุโรป (European Union) ที่เปิดให้นักศึกษาทั่วโลกสมัคร ซึ่งเป็นทุนให้เปล่า
100% ไม่มีข้อผูกมัด จุดมุ่งหมายเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และการศึกษาระหว่างประเทศ สร้างสัมพันธไมตรี และ
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มาศึกษาในสหภาพยุ โรป ต่อมา ปี พ.ศ. 2558 โครงการ Erasmus+ เป็ นโครงการ
เสริมสร้างขีดความสามารถในด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษา (Capacity Building in Higher Education) สนับสนุน
การสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ การเข้ าถึงความรู้ และความเป็ นสากลของการศึกษาระดั บอุดมศึกษาใน
ประเทศที่เป็นภาคีในโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและมหาวิทยาลัยที่
เป็นพันธมิตร ส่งเสริมความท้าทายในการจัดการและการกากับดูแลของสถาบันอุดมศึกษา การปรับปรุงคุณภาพ
ของการศึกษาขั้นสูง การพัฒนาโปรแกรมการศึกษาใหม่และนวัตกรรม สร้างและปฏิรูปการศึกษา แนวทางและ
เครื่ องมือ การเรียนการสอนที่ ทันสมั ย การศึ ก ษา และการส่ งเสริ มความร่ว มมื อในภู มิภ าคต่า ง ๆ ทั่ ว โลก
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้จัดงานวัน Erasmus เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2563 เพื่อร่วมฉลอง Erasmus Days
ของสหภาพยุโรป โดยมีผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ใน
ประเทศไทย เข้าร่วมฟังบรรยายออนไลน์ โดย ฯพณฯ Mr. Pirkka Tapiola เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจา
ประเทศไทยกล่าวปาฐกถาออนไลน์ และมีการบรรยายพิเศษของศิษย์เก่า Erasmus Mundus เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
ทุน Erasmus Mundus และทุน Erasmus+ รวมทั้งการบรรยายประสบการณ์การดาเนินงานโครงการ Erasmus +
PISAI และ Erasmus + TOURIST projects โดยสรุปมหาวิทยาลัยได้เข้าร่วมโครงการ Erasmus+ มาอย่างต่อเนื่อง มี
โครงการที่ ด าเนินการรวม 16 โครงการ เป็ นวงเงินรวมทั้งสิ้น 48,399,876 ล้า นบาท หรือ 1,344,441 ยู โ ร
(ประมาณ 36 บาท/1 ยูโร) ดังนี้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -2-


-2- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

1.1) Strengthening innovative social entrepreneurship practices for disruptive business


settings in Thailand and Myanmar (STEPup) เป็นโครงการที่เสริมสร้างการดาเนินงานของการประกอบการที่
มีอยู่ให้มีความทั นสมัยและส่งเสริมนวัตกรรมให้แก่ สถาบั นการศึก ษาระดับอุด มศึกษาในประเทศไทย และ
ประเทศพม่า โดยบูรณาการเครื่องมือการเรียนรู้ขั้นสูง สาหรับการสร้างความคิดทางธุรกิจสู่โครงสร้างทาง
วิชาการที่มีอ ยู่เดิม รับผิดชอบโดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ ระยะเวลาด าเนินโครงการ พ.ศ. 2562-2565
ได้รับงบประมาณ 3,692,124 บาท หรือ 102,559 ยูโร
1.2) Furthering International Relations Capacities and Intercultural Engagement to Nurture
Campus Diversity and to Support Internationalisation at Home (FRIENDS) เพื่อส่งเสริมขีดความสามารถด้าน
วิเทศสัมพันธ์และการมีสว่ นร่วมระหว่างวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมความหลากหลายและความเป็นนานาชาติภายใน
มหาวิทยาลั ย เพื่อเสริมสร้างกิจกรรมตามแนวคิด Internationalization at Home (IaH) ภายในมหาวิทยาลั ย
รับผิดชอบโดยศูนย์กิจการนานาชาติ ส านักงานอธิการบดี ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2561-2564 ได้รับ
งบประมาณ 2,971,404 บาท หรือ 82,539 ยูโร
1.3) Euro-Asia Collaboration for Enhancing STEM Education (ESTEM) พัฒนาความสามารถใน
การจ้างงานของผู้สาเร็จการศึกษาด้านSTEM จากมหาวิทยาลัยพันธมิตรโดยการสร้างความมั่นใจว่านักศึกษา
จะได้รับทักษะที่จาเป็นในการทางาน EASTEM ใช้แนวทางจากการศึกษา STEM ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเพื่อ
พัฒนาความสามารถของอาจารย์และลดช่องว่างระหว่างมหาวิทยาลัยและภาคอุตสาหกรรม รับผิดชอบโดย
สานักการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2561-2564 ได้รับงบประมาณ
1,850,220บาท หรือ 51,395 ยูโร
1.4) MSc course in Food Processing and Innovation (FOODI) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ
10 สถาบันอุดมศึกษา ในมาเลเซีย กัมพูชา และไทย โดยการพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาโท ด้านการแปร
รูปอาหารและนวั ตกรรม รับผิดชอบโดยคณะอุตสาหกรรมเกษตร ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2561-
2564 ได้รับงบประมาณ 2,319,120 บาท หรือ 64,420 ยูโร
1.5) Joint Master Degree-Food Security and Climate Change (MS FSCC) เพื่อพัฒนา
หลั ก สู ตรร่ว มระดั บ ปริ ญ ญาโทในหั ว ข้อ ความมั่ น คงด้ า นอาหารและการเปลี่ ยนแปลงสภาพภู มิอ ากาศ
รับผิดชอบโดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2560-2563 มหาวิทยาลัยไม่ได้รั บ
การจั ด สรรเงินสนับสนุนโดยตรง แต่ไ ด้รับการสนั บสนุนในรู ปแบบการส่งนัก ศึก ษาและบุ คลากรเข้า ร่ว ม
ฝึกอบรม
1.6) MARCO POLO เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านวิเทศสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ประเทศไทย มาเลเซีย และเวียดนาม และดาเนินการตามแผนทั้งในระดับ
สถาบั น ระดับชาติและระดั บหลายภู มิภาครวมถึ งการดาเนินการฝึกอบรมและโครงสร้างพื้นฐานเชิงกลยุ ทธ์
การศึกษาเปรียบเทียบและการพัฒนาข้อเสนอแนะระดับชาติเพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการ
พัฒนาการเรียนการสอน และวิจัย การจัดทาหนังสือแนวปฏิ บัติที่ดีสาหรั บสถาบันอุดมศึกษา เกี่ยวกับวิธีการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -3-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -3-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปรับปรุงนโยบายและการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รับผิดชอบโดยศูนย์กิจการนานาชาติ สานักงาน


อธิการบดี ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2561-2564 ได้รับงบประมาณ 2,941,956 บาท หรือ 81,721 ยูโร
1.7) Competence Centres for the Development of Sustainable Tourism and Innovative Financial
Management Strategies to Increase the Positive Impact of Local Tourism in Thailand and Vietnam (TOURIST) เพื่อ
เพิ่มการรับรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ซึ่งดาเนินการโดยการฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญ
และการแนะนาศูนย์พัฒนาการท่องเที่ยว สาหรับการพัฒนาการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน และกลยุทธ์การจัดการทางการเงิน
ที่เป็นนวัตกรรม Innovative Financial Management Strategies (IFS) รับผิดชอบโดยคณะการบริการและการท่องเที่ยว
ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2560-2563 ได้รับงบประมาณ 3,958,200 บาท หรือ 109,950 ยูโร
1.8) Nodes of EXcellence in (SEA) Universities Through Spatial Data (NEXUS) เพื่อเพิ่มขีด
ความ สามารถในการวิจัยของสถาบั นอุ ด มศึก ษาในภู มิภ าคเอเชี ยตะวั นออกเฉี ยงใต้โ ดยการเสริม สร้า ง
ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาการวิจัยและนวัตกรรมในสาขา GIS, SDI และ Remote Sensing สาหรับการ
ใช้งานที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม และการเกษตร รับผิดชอบโดยคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ระยะเวลา
ดาเนินโครงการ พ.ศ. 2560-2563 ได้รับงบประมาณ 4,314,528 บาท หรือ 119,848 ยูโร
1.9) Curriculum Development of Master’s Degree Program in Industrial Engineering for
Thailand Sustainable Smart Industry (MSIE 4.0) พัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมอุตสา
หการที่ตรงตามข้อกาหนดมาตรฐานคุณภาพของสหภาพยุโรป และพัฒนาและใช้เครื่องมือและวิธีการส อน
ICT ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น ผู้ เ รี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลางอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รั บ ผิ ด ชอบโดยคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2560-2563 ได้รับงบประมาณ 3,849,552 บาท หรือ
106,932 ยูโร
1.10) Learning to Investigate by Field Experiment for Southeast Asian Emerging Diseases
(LIFE SEA-ED) เพื่อพัฒนาความรู้ และทักษะ ของผู้สอนเพื่อให้สามารถสอนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยของตน
ในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สาขา Applied Medical Entomology, Vector borne Parasitic and Viral
Diseases, Ecology & Environment, Epidemiology, Data Mgt., Data Analysis and GIS. รับผิดชอบโดยคณะ
เทคนิคการแพทย์ ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2560-2563 ได้รับงบประมาณ 4,715,640 บาท หรือ
130,990 ยูโร
1.11) Participatory and Integrative Support for Agricultural Initiative (PISAI) เพื่อปรับปรุง
การศึ กษาด้านการเกษตรในประเทศไทยให้เป็นช่ องทางที่มีประสิทธิภ าพสาหรับการผลิตทางการเกษตรที่
ก่อให้เกิดความมั่นคงด้า นอาหารและอาหารคุณภาพสูงสาหรับการบริโ ภคทั่วโลก มหาวิทยาลั ยเข้าร่วมใน
ฐานะ Coordinator รับผิดชอบโครงการโดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2560-
2563 ได้รับงบประมาณ 8,222,724 บาท หรือ 228,409 ยูโร
1.12) Tuning Asia-South East (Tunning Asia) ประสานความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ผ่านการสร้างกรอบของหลักสูตรปริญญาที่เทียบเคียงเข้ากันได้และโปร่งใสของมหาวิทยาลัยเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ใ น 3 สาขาวิช า ได้แก่ วิศวกรรมโยธา การแพทย์ และการศึกษา พัฒนาดาเนินการและ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -4-


-4- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ติด ตามปรั บปรุ งหลั ก สู ตรปริญ ญาและส่ งเสริม ความร่ว มมือ ระดั บ ภู มิภ าคและระหว่า งประเทศระหว่า ง
มหาวิทยาลัยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และยุโรป รับผิดชอบโดยคณะศึกษาศาสตร์ ระยะเวลาดาเนินโครงการ
พ.ศ. 2560-2563 ได้รับงบประมาณ 934,740 บาท หรือ 25,965 ยูโร
1.13) Strategic Human Resources Management for Southeast Asian Univerisities (HR4ASIA)
สนับสนุนการปฏิรูปองค์กรของสถาบันอุด มศึกษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการปรับปรุงการ
บริหารทรัพยากรมนุษย์ โดยมี เป้าหมายเป็ นสถาบั นอุดมศึกษาจากกัมพูช า สปป. ลาว เวียดนาม และไทย
รับผิดชอบโดย สานักงานอธิการบดีวิทยาเขตปัต ตานี ระยะเวลาด าเนินโครงการ พ.ศ. 2559-2562 ได้รับ
งบประมาณ 2,874,240 บาท หรือ 79,840 ยูโร
1.14) Support of International Platform Merging Labour and Education (SIMPLE) เพื่อส่งเสริมความ
ร่วมมือของภาควิชาการ ของสถาบันอุดมศึกษา กับภาควิชาชีพในประเทศเอเชียที่เลือก (กัมพูชา อินโดนีเซียและไทย)
ซึ่งนาไปสู่การเพิ่มการจ้างงานของศิษย์เก่าของมหาวิทยาลั ยเหล่านั้น รั บผิดชอบโดยคณะทรั พยากรธรรมชาติ
ระยะเวลาดาเนินโครงการ พ.ศ. 2559-2562 ได้รับงบประมาณ 2,217,780 บาท หรือ 61,605 ยูโร
1.15) Reinforcement of Veterinary Studies in Asian Universities (ReVET) เพื่อมีสว่ นร่วมในการ
ส่งเสริมเสริมสร้างและเพิ่มขีดความสามารถของการศึกษาด้านสัตวแพทย์ในมหาวิทยาลัยพันธมิตรในเอเชีย
โดยใช้ “ความรู้” ของยุโรป พื้นฐานหลักของข้อเสนอนีค้ ือการถ่ายทอดและแบ่งปันประสบการณ์ในสาขาสัตว
แพทย์จากยุโรปเอเชียและจากเอเชียไปยุโรป รับผิดชอบโดยคณะสัตวแพทยศาสตร์ ระยะเวลาดาเนินโครงการ
พ.ศ. 2558-2561 ได้รับงบประมาณ 334,800 บาท หรือ 9,300 ยูโร
1.16) Universities as Key Partners for the New Challenges Regarding Food Safety & Quality
in ASEAN (AsiFood) พัฒนาศักยภาพบุคลากรของมหาวิทยาลัยสมาชิกในภูมิภาคเอเชียทางด้าน Food Safety
and Quality โดยผ่า นการจัด ฝึกอบรมต่าง ๆ รั บผิด ชอบโดยคณะทรัพยากรธรรมชาติ ระยะเวลาดาเนิน
โครงการ พ.ศ. 2558-2561 ได้รับงบประมาณ 3,202,848 บาท หรือ 88,968 ยูโร
ในปี 2564 มหาวิทยาลัยได้รับการอนุมัติให้เข้าร่วมโครงการ Erasmus+ อีก 3 โครงการ ระยะเวลา
ดาเนินการ 3 ปี ได้แก่ (1) Advancing Strategic Management, Leadership and Fundraising in Higher
Education in Asia (ASTRA) (2) Measuring and Comparing Achievements of Learning Outcomes in Higher
Education in Asia (CALOHEA) (3) Reinforcing Non-University Sector at the Tertiary Level in Engineering
and Technology to Support Thailand Sustainable Smart Industry (ReCap 4.0)
2) โครงการจัดตั้ง PSU–Center ในต่างประเทศ โดยใช้กลไกวิเทศสัมพันธ์ประสานงานเปิด PSU-
Center ในประเทศกลุ่มอาเซียน เช่น ประเทศจีน ด้วยการเปิด PSU Corner at Mingde College University,
Guizhou China เพื่อประสานงานในการรับนักศึกษาในโครงการแลกเปลี่ยนและหลักสูตรร่วม ประสานงานเปิด
PSU–Center ในประเทศกลุ่ ม ตะวั น ออกกลางที่ ป ระเทศบาห์ เ รน ภายใต้ ค าแนะน า ช่ ว ยเหลื อ จาก
เอกอัครราชทูตไทยประจาประเทศบาห์เรน ในการขอพืน้ ที่ฟรีใน Thai Mart : ประชาสัมพันธ์หลักสูตร เผยแพร
นวัตกรรมจากการวิจัย ผลิตภัณฑ์

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -5-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -5-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

3) Medical Hub/Education Hub ตะวันออกกลาง เป็นโครงการความร่วมมือทางด้านการแพทย์และ


สาธารณสุขของประเทศไทยและประเทศบาห์เรน ลงนามความร่วมมือเมื่อ 27 มีนาคม 2562 ทั้งสองประเทศ
และเริ่มดาเนินการ Visiting doctors, Fellow Training และขยายไปยังคณะด้านสุข ภาพอื่น ๆ เช่ น คณะ
พยาบาลศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ มีการประสานงานกับรัฐบาลทั้งสองประเทศเพื่อกาหนดเป็นความ
ร่วมมือระดับประเทศ (G to G) และไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาลภายในปี 2563 โดยมหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์เป็น Medical Hub ที่ยั่งยืนของกลุ่มประเทศอ่าวและตะวันออกกลาง
4) การจัดทาหลัก สูตรร่วม (Double/Joint Degree) ทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษากั บ
มหาวิทยาลัยในต่า งประเทศ โดยได้คัดเลือ กและรวบรวมรายชื่อสถาบันคู่มือที่ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) ที่มีศักยภาพในความร่วมมือด้า นการจัด ทาหลักสูตรร่ว มพร้อมกั บระบุ
สาขาวิชาที่มีความเป็นไปได้ในการดาเนินการสร้างหลักสูตรนานาชาติที่เป็นความร่วมมือกับสถาบันชั้นนาใน
ต่างประเทศในลักษณะ Double Degree เพิ่มขึน้ 15 หลักสูตร อยู่ระหว่างเจรจาความร่วมมือมหาวิทยาลัยใน
ต่า งประเทศ เช่ น จีน ไดแก Guizhou University, Guizhou Medical University และ Mingde College
University บาหเรน University of Bahrain
1.3 ผลงานและงานวิจัยที่สาคัญของบุคลากรและนักศึกษา
1) ผลงานด้านการเรียนการสอน
อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผ่านการประเมินกรอบมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนและ
การสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพของประเทศอังกฤษ หรือ UKPSF (The UK Professional Standards
Framework) ระดับ Senior Fellow จาก The Higher Education Academy (HEA), UK ระดับ Senior Fellow
ประกอบด้วย รองศาสตราจารย์ ดร.วั นดี สุทธรังษี คณะพยาบาลศาสตร์ ผู้ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.รั ตนา
เวทย์ประสิทธิ์ วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริลักษณ์ บางโชคดี คณะวิทยาการจัดการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โอภาส เกาไศยาภรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ และอาจารย์ตรีชาติ เลาแก้ วหนู คณะ
สถาปัตยกรรมศาสตร์
2) ผลงานด้านเกษตรและอุตสาหกรรม
รางวัลจากสภาวิจัยแห่งชาติ ในงานวันนักประดิษฐ์ ประจาปี 2562 (Thailand Inventors’ Day 2019)”
เมื่อวั นที่ 2 กุ มภาพั นธ์ 2562 ณ ศูน ย์นิทรรศการและการประชุ มไบเทค บางนา กรุ งเทพ ได้แก่ 1) รางวั ล
ผลงานวิจัยระดับดี สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย ผลงานวิจัยเรื่อง : ระบบผลิตไบโอดีเซลจากกรด
ไขมั นปาล์ ม แบบต่อ เนื่อ งด้ ว ยเครื่อ งปฏิ ก รณ์ ท่อ ผสมแบบสถิ ตร่ วมกั บคลื่นเสียงอั ล ตราโซนิ ก โดย ผู้ช่ ว ย
ศาสตราจารย์ ดร.กฤช สมนึ ก และคณะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2) รางวั ลวิทยานิ พนธ์ ระดั บดีม าก สาขา
เกษตรศาสตร์และชีววิทยา ผลงานวิจัยเรื่อง : การเพิ่มผลผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากน้าทิ้งโรงงานสกัดน้ามัน
ปาล์ม ดิ บด้ว ยการย่อ ยสลายแบบไร้ อากาศสองขั้นตอนที่ อุ ณหภู มิสู ง โดย ดร.ชลธิ ชา มามิ มิน และผู้ช่ ว ย
ศาสตราจารย์ ดร.สมพงศ์ โอทอง เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
นักศึกษา สาขาเทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ได้รับรางวัลระดับประเทศ
4 รางวัล จากผลการประกวดบรรจุภัณฑ์ไ ทย ประจาปี 2563 (Thai Star Packaging Awards 2020) ภายใต้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -6-


-6- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

หัวข้อ "บรรจุภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน" (Sustainable Packaging) เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2563 ประกอบด้ว ย


รางวัล ที่ 1 ต้นแบบบรรจุ ภัณฑ์เพื่อการจาหน่ายส าหรับสินค้าทั่ วไป ได้แก่ นางสาวจิราพรรณ มีแย้ม และ
นางสาวจินต์ศุจี ชีวธรรมกุล รางวัลชมเชยลาดับที่ 1 ต้นแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการจาหน่ายสาหรับสินค้าทั่วไป
ได้แก่ นายธกร กาเนิดผล รางวัลชนะเลิศการออกแบบบาร์โค้ด ได้แก่ นางสาวนิษฐปิยากร ยิ่งจาเริญศาสตร์
และรางวั ล การออกแบบบรรจุ ภั ณฑ์ เป็ นมิตรกั บสิ่งแวดล้อ ม ได้แก่ นายธกร กาเห นิด ผล โดยผู้ช นะการ
ประกวดจะได้สิทธิ์สง่ ผลงานเข้าประกวดระดับนานาชาติตอ่ ไป คืองาน Asia Star & World Star Packaging Award
นักศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เข้าประกวดผลงานนักศึกษาสหกิจศึกษา
ดีเด่นระดับเครือข่ายภาคใต้ตอนล่าง ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา เมื่อวันที่ 5
เมษายน 2562 โดยได้รับรางวัล ดังนี้ 1) ด้านนักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติ ได้แก่ Mr. Sereyvuth Aun ชื่อผลงาน
“Reduction of Nonconforming Concrete Roof Tile.” อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นงเยาว์
เมืองดี สถานประกอบการ SCG concrete Roof (Cambodia) Co.,Ltd 2) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่
นางสาวจริยา นาคเล็ก ชื่อผลงาน “ปัจจัยที่มีผลต่อการบวมของแผ่นใยไม้อัดความหนาแน่นปานกลางหลังการปิด
ผิว” อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ดร.วิศนีย์ ยิ่งประเสริฐ สถานประกอบการ บริษัท พาเนลพลัส จากัด หาดใหญ่
นายธกร ก าเนิดผล นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ และวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ได้รับ
รางวั ลการประกวดบรรจุ ภั ณฑ์ ประเภทนักศึกษาในระดั บโลก 2019 (International Packaging Design Student
Competition South Africa 2019) จัดประกวดโดย WPO (World Packaging Organization) จัดที่ The Institute of Packaging
South Africa โดยปีน้ี ยังได้รับรางวัลระดับประเทศ (Thai Star 2019) และระดับเอเชีย (AsiaStar2019) มาแล้ว ซึ่งรางวัล
นีถ้ ือได้ว่าเป็นรางวัลชิ้นที่ 4 ที่ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับรางวัลระดับโลก
3) ผลงานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.วรวิทย์ วาณิชย์สุวรรณ คณะแพทยศาสตร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ รางวัล
นวัตกรรมแห่งชาติผลงาน ในผลงาน อุปกรณ์รองรั บสิ่งขับถ่า ยจากทวารเทียม จาก สานัก งานนวั ตกรรม
แห่งชาติ ในการประกาศสุ ด ยอดนวั ตกรรมของประเทศไทย ประจาปี 2563 ด้า นสั งคมและสิ่งแวดล้อ ม
ประเภทหน่วยงานภาครั ฐ เมื่อวันที่ 5 ตุล าคม 2563 ณ โรงแรมสยาม เคมปินสกี้ กรุงเทพฯ รวมทั้งได้รับ
รางวัลผลงานที่นา่ ลงทุนที่สุดในงาน THAILAND TECH SHOW 2019 จัดโดยสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ระหว่างวันที่ 5 – 6
กั น ยายน 2562 ณ เซ็ นทรั ล เวิล ด์ ชุ ด อุ ปกรณ์รองรั บสิ่งขั บถ่ า ยจากทวารเที ยมจากยางพารา หรือ Thai
Colostomy Bag เป็นการนายางพารามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ลดการนาเข้าสินค้าทางการแพทย์และเพิ่ม
มูลค่ายางพาราอันเป็นพืชเศรษฐกิจของไทย
รางวัลจากงาน “47th International Exhibition of Inventions of Geneva” เมื่อวันที่ 10-14 เมษายน 2562
ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลสวิตเซอร์แลนด์ นครเจนีวา และองค์กรทรัพย์สิน
ทางปัญญาโลก (WIPO) ได้แก่ 1) รางวัล MEDALLED’ OR BRONZE MEDAL (เหรียญทองแดง) และรางวัล Special
Prize จากประเทศรั สเซีย จากผลงานเรื่อง ชุ ดอุ ปกรณ์ผ่าตัดกล้องส่องไร้สายแบบปฏิสั มพั นธ์ ( Interactive
wireless endoscope) โดย ทีมวิจัย ผู้ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.สุ รพงษ์ ชาติพันธุ์ รองศาสตราจารย์ ดร.พรชั ย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -7-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -7-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

พฤกษ์ภัทรานนต์ และผู้ช่ วยศาสตราจารย์ นพ.สุ นทร วงษ์ศิริ คณะแพทยศาสตร์ 2) รางวัล MEDALLED’ OR


BRONZE MEDAL (เหรียญทองแดง) และรางวัล Special Prize จากประเทศไต้หวัน จากผลงานเรื่อง การพัฒนา
แผ่นปิดแผลผสมตารับยาสมานแผล เพื่อรักษาแผลในผู้ป่วยโรคเบาหวานโดยทีมวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
ศศิธร ชูศรี นายธีรวัฒน์ สุดขาว นางสาวอรพรรณ สกุลแก้ว นางกชกร สุขจันทร์ อินทนูจิตร รองศาสตราจารย์
ดร.สนั่น ศุภธีรสกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรศักดิ์ ลิม้ สุวรรณ คณะการ แพทย์แผนไทย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.สุนทร วงษ์ศิริ และนพ.วงษ์ธวัชร์ เหลียวรุ่งเรือง คณะแพทยศาสตร์ ได้รับรางวัล
ชนะเลิศนาเสนอผลงานนวัตกรรมแอพพลิเคชั่น i-Exercise หัวข้อ “ Satisfaction Experiment on i-Exercise Developing
for Assisting Orthopedics Patients” จากงานประชุม The 2nd International Conference on Information Science and
System (ICISS 2019) เมื่อวันที่ 16-19 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัยโตไก (Tokai University) เมืองโตเกียว
ประเทศญี่ปุ่น
ศาสตราจารย์ ดร.ศุภ ยางค์ วรวุฒิ คุณชั ย คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัล ผลงานวิจัยดีเด่น จาก
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ประจาปี 2561 ด้านวิชาการ จากผลงานวิจัยเรื่อง "งานวิจัยมุ่งเป้า
ในการศึกษาสมุนไพรไทยและใช้เทคโนโลยีตอ่ ยอดเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์" เมื่อวัน
พุธที่ 26 มิถุนายน 2562 ณ ห้องแกรนด์ บอลรูม ชั้น 4 โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนทัล กรุงเทพ
นางสาวพรพิลาศ พลประสิทธิ์ ได้รับรางวัลพยาบาลดีเด่นด้านการนวัตกรรม ประจาปี 2562 จาก
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย สาขาภาคใต้ รางวัล Silvers Award of Suggestion Kaizen จากงาน
Thailand Kaizen Award 2019 เมื่ อ วั น ที่ 28-30 สิ ง หาคม 2562 และรางวั ล ศิ ษ ย์ เ ก่ า ดี เ ด่ น
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีพุทธศักราช 2562 นวัตกรรมที่เป็นชิ้นสาคัญ และได้รางวัล คือ GrippyFit ติด
แล้วชัวร์ยาไม่รั่วแน่นอน เป็นอุปกรณ์ยึดขวดยาสารน้าและสารอาหารทางหลอดเลือด
รองศาสตราจารย์ ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยู ปการนันท์ คณะเภสัช ศาสตร์ ได้รับรางวั ลประกาศ
เกียรติคุณนักวิจัย จากสานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. จากผลงาน “การ
พัฒนาแผ่นแปะแก้ปวดจากสารสกัดไพลและสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก ” ในงานประชุมวิชาการ สวก. 2562
ภายใต้แนวคิด “Beyond Disruptive Technology” จุด เปลี่ยนอนาคตไทยด้วยงานวิจัยเกษตร เมื่อ วันที่ 8
ตุลาคม 2562
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ และคณะ คณะเภสัชศาสตร์ ได้รับรางวัล Gold
Medal จาก SIIF และรางวัล Special Award จาก Taiwan Invention Association ชื่อผลงาน "Water-Soluble
Curcuminoid Effervescent Granules" ในงาน Seoul International Invention Fair 2019 ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงโซล
สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 27 – 30 พฤศจิกายน 2562
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ.วรวิทย์ วาณิชย์สุวรรณ ได้รับรางวัลชนะเลิศ รางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ใน
ผลงาน อุปกรณ์รองรับสิ่งขับถ่ายจากทวารเทียม จาก สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ในการประกาศสุดยอด
นวัตกรรมของประเทศไทย ประจาปี 2563 ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ประเภทหน่วยงานภาครัฐ เมื่อวันที่ 5
ตุลาคม 2563 ณ โรงแรมสยาม เคมปินสกี้ กรุงเทพฯ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -8-


-8- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

คุณจุลินทิพย์ พุทธวงศ์ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ


ระดับประเทศ ในงานมหกรรมอวกาศระดับนานาชาติ 2019 ณ อิมแพค ฟอรั่ม เมืองทองธานี จากโครงการ
Space experiment ideas contest (SEIC) ระดับอุดมศึกษา เมื่อวันที่ 27-29 สิงหาคม 2562 จัดโดยสานักงาน
พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ จิสด้า GISTDA โดยหัวข้อที่ได้รับรางวัล
คือ “Drug Controlled Release Using Nanoencapsulation Under Microgravity” ซึ่งเป็นไอเดียนวัตกรรมใหม่
ของโลกในการควบคุมการให้ยาแก่ผู้ป่วยโดยใช้ Microgravity ในสภาวะไร้แรงโน้มถ่วง
4) ผลงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รางวัล จากสภาวิจัยแห่งชาติ ในงานวั นนักประดิษฐ์ ประจาปี 2562 (Thailand Inventors’ Day
2019)” เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพ ได้แก่ 1)
รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับประกาศเกียรติคุณ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ผลงานวิจัยเรื่อง :
อุปกรณ์กัดผิวด้วยไฟฟ้าสาหรับเก็บกู้เลขหมายทะเบียน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรากร ลิ่มบุตร และ
คณะ คณะวิทยาศาสตร์ 2) รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับประกาศเกียรติคุณ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและ
เภสั ช ผลงานวิ จั ยเรื่ อ ง : สเตอร์ โ ฟม-โฟมยางธรรมชาติ ค อมโพสิ ตส าหรั บสกั ด สารอิ นทรี ย์ โดย รอง
ศาสตราจารย์ ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา และคณะ คณะวิทยาศาสตร์
รางวัล จากสภาวิจัยแห่งชาติ ในงานวั นนั กประดิษฐ์ ประจาปี 2562 ( Thailand Inventors’ Day
2019)” เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพ ได้แก่ 1)
รางวั ลผลงานประดิษฐ์คิดค้นระดับดีมาก สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ ผลงานวิจัยเรื่อง :
PSU-VisDNA Kit : ชุดน้ายาเรืองแสงและอุปกรณ์ครบวงจรสาหรับเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจพิสูจน์ดีเอ็นเอ
จากวัตถุพยานชีวภาพ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล ธนะเกียรติไกร และคณะ คณะวิทยาศา สตร์ 2)
รางวั ล ผลงานประดิ ษฐ์ คิ ด ค้ น ระดั บประกาศเกี ย รติ คุณ สาขาวิท ยาศาสตร์ก ายภาพและคณิ ตศาสตร์
ผลงานวิจัยเรื่อง : อุปกรณ์วัดความหนาแบบไม่สัมผัสตัวอย่าง โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชิตนนท์ บูรณชัย
และคณะ คณะวิทยาศาสตร์
รางวัลจากงาน “47th International Exhibition of Inventions of Geneva” เมื่อวันที่ 10-14 เมษายน 2562
ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ภายใต้การสนับสนุนของรัฐบาลสวิตเซอร์แลนด์ นครเจนีวา และองค์กรทรัพย์สิน
ทางปัญญาโลก (WIPO) ได้แก่ 1) รางวัล MEDALLE D’OR SILVER MEDAL (เหรียญเงิน) จากผลงานเรื่อง เกตย์เวย์
สาหรับสรรพสิ่ง และแพลตฟอร์มสรรพสิ่ง สาหรับเมืองอัจฉริยะ (PSU IoT Gateway and Thing Platform for
Smart City) โดยทีมวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สกุณา เจริญ
ปัญญาศักดิ์ นายจิระศักดิ์ นพรัตน์ นายมงคล มโนพิรุฬห์พร และ นางสาวสุนิสา จุลรัตน์ สถาบันวิจัยและพัฒนา
ดิจิทัล 2) รางวัล MEDALLE D’OR SILVER MEDAL (เหรียญเงิน) จากผลงานเรื่อง วัสดุซับแรงกระแทกผลิตจาก
ยางพารา (Impact Absorber Material Prepared From Natural Rubber) โดยทีมวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรศิริ
แก้วประดิษฐ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี คณะวิทยาศาสตร์

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) -9-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -9-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล ธนะเกียรติไกร คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่


ประจ าปี 2562 ผลงานวิ จัย “นวั ตกรรมนิ ติพั นธุ ศาสตร์ แก้ ไ ขปั ญหาความมั่ นคง” จั ดโดยมู ล นิธิ ส่ง เสริ ม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้รับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรม
สมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ มารี มู ลนิธิส่งเสริม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในพระบรม
ราชูปถัมภ์ ในวันพุธที่ 31 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพ
นายวชิรวิทย์ หวังสถิตทองใบ นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ โครงงานสหกิจ
ศึกษาดีเด่น ด้านนวัตกรรมสหกิจศึกษาดีเด่น จากโครงงานเรื่องระบบป้อนกลับแผ่นรองกระแทกของชิ้นส่วน
ห้องเครื่องยนต์แบบอัตโนมัติ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิกร สมิตไมตรี เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ในสถาน
ประกอบการที่ปฏิบัติงานสหกิ จศึก ษา คือ โรงงาน ฟอร์ด ไทยแลนด์ แมนูแฟคเจอริ่ง จั ด โดยส านัก งาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีกาหนดพิธีมอบโล่รางวัลแก่ผู้ได้รับรางวัลในงานวันสหกิจศึกษาไทย ครั้งที่ 10
พ.ศ. 2562 วันที่ 6 มิถุนายน 2562 ณ หอประชุมใหญ่อาคารไทยบุรีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อาเภอท่าศาลา
จังหวัดนครศรีธรรมราช
“ทีมลูกพระบิดา” นักศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ร่วมการแข่งขันเวที 2019 Formula SAE
Japan Monozukuri Design Competition เมื่อวันที่ 27 -31 สิงหาคม 2562 ณ เมืองชิซูโอกะ ประเทศญี่ปนุ่ โดย
“ทีมลูกพระบิดา” ได้ร่วมการแข่งขัน โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ การแข่งขันแบบ Static เป็นการนาเสนอการ
ออกแบบ การนาเสนอแผนธุ รกิ จ การนาเสนอต้นทุน และการสร้า ง การแข่งขั นแบบ Dynamic เป็ นการ
ประเมินความสามารถในการเข้า โค้งการประเมินอั ตราสิ้นเปลื อ งเชื้อ เพลิง การประเมินอัตราเร่งรถการ
ประเมินความสามารถในการเร่ง เบรค และเลีย้ วโค้ง และการประเมินความทนทานรถ โดยทีมลูกพระบิดาได้
ลาดับที่ 25 จาก 90 ทีมในการแข่งขันแบบ Static และได้อันดับที่ 31 จาก 98 ทีม มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
วัชรินทร์ แก้วอภิชัย เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบโครงการ
5) ด้านสังคมศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
รางวัล จากสภาวิจัยแห่งชาติ ในงานวั นนั กประดิษฐ์ ประจาปี 2562 ( Thailand Inventors’ Day
2019)” เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพ ได้แก่ 1)
รางวัลผลงานวิจัยระดับดี สาขานิตศิ าสตร์ ผลงานวิจัยเรื่อง : การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัวและมรดกตาม
บทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มะรอนิง สาแลมิง และ
คณะ วิทยาลัยอิสลามศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรศักดิ์ จินดาบถ และทีม งาน ศู นย์กิจการนานาชาติและสื่อสารองค์ก ร
ผู้ก่อตั้งตลาดออนไลน์ PSU Bazaar ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดคลิปวิดโี อสั้น ภาษาไทย พร้อมจัดทาคา
บรรยายภาษาจีนและอังกฤษ และชนะเลิศบทความ “My story of fighting Covid-19” เครือข่ายมหาวิทยาลัย
เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีสานักเลขาธิการเครือข่ายอยู่ที่เมืองคุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน
เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2563

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 10 -


-10- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
การบดีและที การบดี
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที มบริหารมหาวิ
สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก บัวเพชร คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับคัดเลือกเป็น 1 ใน Southeast


Asian Women 2020 ในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และการศึกษา โดย Young Southeast Asia Leaders Initiative
(YSEALI) Women’s Leadership Academy Alumni Network โดยมีผู้ถูกคัดเลือกทั้งหมด 80 คน จาก 10
ประเทศ และ 16 กลุ่มสาขา เพื่อ สนับสนุนบทบาทการเป็นผู้นาของผู้หญิงและส่งเสริมความร่วมมือภายใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นายสหรัฐ สังข์ทอง นักศึกษาสาขาวิชาชุมชนศึกษา ชั้นปีที่ 4 (ปฏิบัติสหกิจ ณ บริษัท ปตท. สารวจ
และผลิตปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดผลงานนั กศึกษาสหกิจศึก ษา ด้า น
สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และการจัด การ ระดับมหาวิทยาลั ยสงขลานคริน ทร์ ประจาปี 2562 ผลงาน
“โครงการเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชนหัวเขา อาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา” โดย ผู้ช่วยศาสตรา
จารย์ ดร.อุทัย ปริญญาสุทธินันท์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2562
6) ด้านดิจิทัลและพาณิชย์
Mr. Dejan Davidovic นักศึกษาวิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้รั บรางวัลชนะเลิศ Best
Student’s Game Project Award สาขา Emerging Technology & Education จากผลงาน "Mystic Forest" ใน
งาน Bangkok International Digital Content Festival 2020 (BIDC 2020) จัดโดยกรมส่งเสริมการค้าระหว่าง
ประเทศกระทรวงพาณิชย์ และเครือข่าย เป็นงานเทศกาลด้านดิจิทัลคอนเทนท์ที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย
สาหรับในปีนี้ได้มีการจัดงานในรูปแบบออนไลน์ภายใต้แนวคิด “VR BIDC” ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 18 - 23
สิงหาคม 2563
นายประกาศกิ จ อนันต์เลิศสกุ ล นายเจษฎากร มะลิว รรณ์ นางสาวพนิตนันท์ โชคเชาว์ว รรธน
นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดิจิทัลมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ) วิทยาลัยนานาชาติ ได้รับ
รางวั ล ชนะเลิ ศอั น ดั บ 3 จากการแข่ง ขั น พั ฒ นาโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ แห่ งประเทศไทยครั้ งที่ 22 ( The
Twenty-Second National Software Contest: NSC 2020) กับ โครงการ Sebisu : แอพพลิเคชั่นอานวยความ
สะดวกลูกค้าและธุรกิจรายย่อย จากผลงานแอพพลิเคชันที่นาเสนอแพลตฟอร์มทางธุรกิจเพื่ออานวยความ
สะดวกผู้บริโ ภคและธุรกิจรายย่อยบนโทรศัพท์เคลื่อนที่หรือสมาร์ทโฟน นาเสนอโครงการผ่านทาง Cisco
Webex ระบบ Web Conference และประกาศผลการแข่งขันเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2563
ทีม Sleeper นาโดย นายภัคพล ตั้งสิริตระกูล และคณะ นักศึกษาคณะวิทยาการจั ดการ ได้รับ
รางวั ลชนะเลิศ จากการประกวดสินค้าชุมชนออนไลน์ ในงาน “Thailand e-Commerce Pitching Contest
2020” ภายใต้โครงการ DBD Boost UP Online จับมือ จับเมาส์เข้าสูอ่ อนไลน์ จัดโดยกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า
กระทรวงพาณิช ย์ เพื่อสร้า งช่ องทางการตลาดออนไลน์ให้กับผู้ประกอบการและสร้า งเครือข่ายที่เข้ม แข็ ง
ระหว่า งผู้ประกอบการรุ่นใหม่กั บผู้ ประกอบการชุ ม ชนในแต่ล ะจั งหวั ด เมื่อวั นที่ 1-2 สิงหาคม 2563 ณ
โรงแรมเบสท์เวสเทิร์นพลัสแวนด้าแกรนด์ กรุงเทพฯ
นายปัญญายุทธ บุญขันธ์ และคณะ จากทีม CUB House หาดใหญ่ คณะวิทยาการจัดการ ได้รับ
รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ โครงการ IMC Plan Contest by A.P. Honda ครั้งที่ 12 ระหว่างวันที่ 5-7 มีนาคม
2563 ณ ศูนย์การค้าเซนทรัล เวสต์เกท กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จากัด ซึ่งมีเป้า หมายในการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 11 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -11-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

พัฒนานักศึกษารุ่นใหม่สู่การเป็นนักการตลาดมือดีที่เก่งทั้งทฤษฎีและปฏิบัติภายใต้โจทย์การสร้างแผนการ
สื่อสารการตลาดระหว่างปี 2020-2022 สาหรับรถจักรยานยนต์ระดับตานานอย่า ง Monkey และ C125
ภายใต้แบรนด์ CUB House
1.4 การเป็นแหล่งเรียนรู้และบริการวิชาการในภาคใต้
1) แหล่งเรียนรู้โดยหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย/ภายในคณะหรือหน่วยงาน
สานักเครื่อ งมือวิทยาศาสตร์ และการทดสอบ ได้รับการรั บรองระบบการจัด การด้า นความ
ปลอดภั ยของห้อ งปฏิบัติการที่เกี่ ยวข้อ งกับสารเคมี ตามมาตรฐานเลขที่ มอก.2677-2558 และเข้าร่ว ม
โครงการจัดทาระบบและขอการรับรองมาตรฐานกับสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสถาบัน
รับรองมาตรฐานไอเอสโอ โดยได้จัดทากระบวนการตรวจประเมินและรับรองห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมี
นโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม เป็นมหาวิทยาลัยแรกในภาคใต้ที่ได้รับการรับรอง
ในระบบการจัดการด้านความปลอดภัยดังกล่าว
พิพิธภัณฑ์ สถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุ มารี คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับ
รางวัล Museum Thailand Award 2020 ประเภทพิพิธภัณฑ์ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ดีเด่นด้านการ
สื่อความหมายและสร้างประสบการณ์ จากสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) หน่วยงานภายในของ
สานักบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ภายใต้การกากับดูแลของสานักนายกรัฐมนตรี เมื่อ
วันนี้ 17 กันยายน 2563 โดยได้จัดแสดงชีวภพแห่งคาบสมุทรไทย (Biological Worlds of Peninsular Thailand)
แบบครบวงจร ครอบคลุมตั้งแต่กาเนิดของจักรวาล โลกของเรา วิวัฒนาการความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
และระบบนิเวศเด่นในภาคใต้ รวมไปถึงนิทรรศการหมุนเวียนซึ่งจะปรับเปลี่ยนเพื่อให้สาธารณชนได้ความรู้ที่
หลากหลายและทันสมัย จุดเด่นคือ "แหล่งเรียนรู้-วิจัย-อนุรักษ์บนคาบสมุทรไทย"
ศูนย์ บ ริ การวิ ช าการและการเรี ย นรู้ ปั ตตานี ศึกษา “ม.อ.ปั ตตานี ภิร มย์ ” เป็ นศู นย์ บริ ก าร
สารสนเทศ ณ บ้านเลขที่ 203 ถ.ปั ตตานีภิรมย์ ต.อาเนาะรู อ.เมือง จ.ปัตตานี ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ย่านเมืองเก่า
ปัตตานี ตามประกาศคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์และเมืองเก่า เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2558
ลั กษณะเป็ นอาคารสองชั้ น พื้นที่ชั้ นล่างจะใช้ ส าหรั บนาเสนอผลิตภั ณฑ์ และบริ การของมหาวิทยาลั ย เป็ น
ศูนย์บริการสารสนเทศ ได้แก่ สารสนเทศผลงานวิจัย นวัตกรรม การประชาสัมพันธ์กิจกรรมของมหาวิทยาลัย
สารสนเทศปัตตานีศึกษา สารสนเทศอ่าวปัตตานี ส่วนพืน้ ที่ชั้นบนเป็นพืน้ ที่อเนกประสงค์ใช้สาหรับเป็นห้องเรียนรู้
ของนักศึกษาและชุมชน เป็นห้องประชุ มที่ให้บริการวิชาการ และ Co-Working Space ระหว่างบุคลากรของ
มหาวิทยาลัยกับชุ มชน เพื่อสร้างความเข้มแข็งการวิจัยที่เป็นจุ ดเน้นของวิทยาเขตปั ตตานี เช่น ปัตตานีศึกษา
ยางพาราการท่องเที่ยว คณิตศาสตร์และสถิติ ศึกษาศาสตร์ ประมง อาหารฮาลาล พลังงาน ภาษา อิสลามศึกษา
การเยียวยาทางจิตวิทยา การจัดการความขัดแย้งและวัฒนธรรมสันติภาพ เป็นต้น รวมทั้งเป็นอาคารต้นแบบตาม
แนวคิด Green Office และวันที่ 9 มกราคม 2562 เป็นการริเริ่มโครงการพัฒนาศู นย์เรียนรู้ระดับพื้นที่นาร่อง
สร้างสรรค์เครือข่ายศูนย์เรียนรู้ใกล้ชุมชนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาปราชญ์ชุมชน นักธุรกิจในพื้นที่
ชุมชนนักปฏิบัติ อาจารย์ บุคลากร และประชาชน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 12 -


-12- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ศูนย์การเรียนรู้จะบังติกอ มัสยิดรายอฟาฏอนี เปิดเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ณ มัสยิด


รายอฟาฏอนี ต.จะบังติกอ อ.เมือง จ.ปัตตานี จากการที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี โดย
“โครงการ Pattani Heritage City ภายใต้ Creative Economy : ปัตตานีเมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนเส้นทางวง
แหวนพหุวั ฒนธรรม” ได้มีก ารรวบรวม ประมวล และศึก ษาเรื่องราวของเมือ งปัตตานีในพื้นที่ว งแหวนพหุ
วั ฒ นธรรม การด าเนิ น การดั ง กล่ า วทางโครงการได้ ด าเนิ น การอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว มกั บ องค์ ก รในชุ ม ชน
ประกอบด้วยคณะกรรมการมัสยิดรายอฟาฏอนี และ 4 ชุมชนจะบังติกอ ได้แก่ ชุมชนตะลุโบะ ชุมชนจะบังติ
กอ (วังเก่า) ชุมชนจะบังติกอ (ริมคลอง) และชุมชนวอกะห์เจะหะ ตั้งแต่ปี 2561 จากความร่วมมือดังกล่าว
ส่งผลให้เกิดการปรับปรุงอาคารเดิมของมัสยิดรายอฟาฏอนีโดยความเห็นชอบร่วมกันของชุมชน และความ
ร่ว มมือกั น ระหว่า งมั สยิด รายอ ฯ และ ม.อ.ปั ตตานี ในการพั ฒนาเป็ น “ศูนย์ก ารเรียนรู้จะบั งติก อ” เพื่อ
ให้บริการข้อมู ล การท่อ งเที่ยวและการเรียนรู้ย่า นเมือ งเก่ า จะบั งติกอ รวมทั้งเป็ นศูนย์แสดงและจาหน่า ย
ผลิตภัณฑ์จากชุมชน เป็นมัสยิดที่มีประวัติศาสตร์และมีความสวยงาม เช่น ทรงหลังคา วัสดุหลังคา ส่วนโค้ง
ระเบียงอาคาร วัสดุพ้นื ช่องลมแกะลวดลาย โดยนาส่วนต่าง ๆ เป็นแนวคิดในการออกแบบเพื่อให้สอดคล้อ ง
กับอาคารเดิมมากที่สุด ผู้ออกแบบได้ใช้อิฐมอญสีแดงในการก่อสร้างและตกแต่ง เพื่อให้สื่อถึงกายภาพเดิม
ของชุมชนจะบังติกออันเคยเป็นแหล่งผลิตอิฐมอญสีแดง
การพัฒนาตลาดเกษตร ม.อ. อย่างยั่งยืน ตลาดเกษตร ม.อ. ดาเนินงานโดยความรับผิดชอบของ
ศูนย์จั ด การผลประโยชน์ทางวิช าการ กลุ่ ม งานวิจั ย นวั ตกรรม และพั นธกิ จเพื่ อ สั ง คม คณะทรั พ ยากร
ธรรมชาติ เปิดให้บริการครั้งแรก ในวันที่ 2 พฤศจิกายน 2544 โดยเปิดบริการทุกวันจันทร์ พุธ ศุกร์ ระหว่าง
เวลา 13.30 – 20.00 น. มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางการจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตร และอาหารที่
ปลอดภัยให้แก่ชุมชน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา ผู้จาหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. ปฏิบัติ
ตามหลักสุขาภิบาลพื้นฐานด้วยการบังคับใช้กฎอย่างเคร่งครัด โดยเจ้าหน้าที่เดินตรวจทุกวันที่ตลาดเปิดทา
การ การควบคุมอย่างเคร่งครัดเป็นรากฐานที่สาคัญที่ทาให้ตลาดเกษตร ม.อ. แตกต่างจากตลาดอื่น ๆ ด้วย
การใช้กฎอย่างไม่ผ่อนปรนทาให้สร้างสุขนิสัยที่ดีให้แก่ผู้จาหน่าย การปฏิบัติตามกฎอย่างต่อเนื่อง ด้วยกฎ
ตรวจเจอสารปนเปื้อนจากอาหารของใครให้หยุดการจาหน่ายสินค้าทันที จากบังคับกลายเป็นแนวปฏิบัติที่เคย
ชินจนเป็นเรื่องปกติที่ผู้จาหน่ายจะปฏิบัติตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ในปี พ.ศ. 2550 ตลาดเกษตร ม.อ. ได้รับ
ป้ายรับรองจากคณะกรรมการอาหารปลอดภัย อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ให้เป็น “ตลาดที่ใส่ใจ และ
คุ้มครองผู้บริโภค” ด้วยสามารถรับการตรวจประเมินอาหารปลอดภัยในตลาด ผ่านทั้ง 100%
ตั้งแต่ พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา งานด้านอาหารปลอดภัยในตลาดเกษตร ม.อ. ผ่านการตรวจสุขวิทยา
พืน้ ฐานของผู้จาหน่าย และผ่านการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหารทุกครั้ง จากสานักงานสาธารณสุขอาเภอ
หาดใหญ่ สาธารณสุขจังหวัดสงขลา ศูนย์อนามัยเขต 12 จังหวัดยะลา ผลัดเวียนกันมาสุ่มตรวจโดยไม่แจ้งให้
ทราบล่วงหน้า ทาให้งานด้านการคุ้มครองผู้บริโภคก็ ผ่านเกณฑ์ประเมินไปด้วยในระดับหนึ่งเพราะเป็นการ
ดาเนินงานควบคู่กัน
ปี พ.ศ. 2552 ตลาดเกษตร ม.อ. เริ่มน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระ
บรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการพัฒ นาเกษตรกรและผู้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 13 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -13-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

จาหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. อันประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้"


และ "คุณธรรม" โดยมีโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ดาเนินอย่างต่อเนื่อง ดังนี้ จัด “โครงการออมทรัพย์ วิถี
พอเพียง ตลาดเกษตร ม.อ.” โดยให้ผู้จาหน่ายทุกคนต้ องออมเงินกับสถาบั นการเงินใดก็ได้ เป็ นประจาทุ ก
เดือน โดยไม่ถอน เพื่อเป็นการวางแผนการออมเงินไว้ใช้ในอนาคต เริ่มประกาศงดใช้โฟมและลวดเย็บกระดาษ
ภายในตลาดเกษตร ม.อ. ให้ผู้จาหน่ายวางถังขยะใบเล็กหน้าร้านของตนเอง และผู้จาหน่ายทุกคนต้องจัดเก็บ
ขยะหน้าร้านของตนทุกครั้งหลังเลิกตลาด โดยให้แยกขยะที่เป็นอินทรียวัตถุไปไว้ในโรงเรือนหมักปุ๋ย เพื่อทา
น้าหมักชีวภาพสาหรับล้างตลาด
ปี พ.ศ. 2555 ตลาดเกษตร ม.อ. จัดกิจกรรมวันพ่อและกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ซึ่งตลาดเกษตร
ม.อ. จัดโครงการปลูกต้นไม้เพื่อถวายพ่อหลวง โดยร่วมกับเกษตรกรและผู้จาหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ.
นาพืชผัก สวนครัว มาแจกให้ผู้มาใช้บริการตลาดเกษตร ม.อ. ครอบครัวละ 1 ต้น เพื่อนาไปปลูกที่บ้าน และ
โครงการวันเด็ก ร่วมกับเกษตรกรและผู้จาหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อเป็นการสอนให้เยาวชนเรียนรู้
ในการอยู่ร่วมในสังคมโดยวิธีการปลูกฝังคุณธรรม ซึ่งสอดแทรกในกิจกรรมฐานต่างๆ ที่จัดขึ้น นอกเหนือจาก
ความสนุกสนานในการเล่นเกมส์ต่าง ๆ และแจกอาหารและขนมฟรีแล้ว ยังมีการให้ความรู้ด้านต่าง ๆ เช่น
ด้านการเกษตร การรีดนมโค การทาขนมไทย การสาธิตการสีข้าวโดยใช้เครื่องมือสมัยโบราณ เป็นต้น
ปี พ.ศ. 2556 ได้จัดกิจกรรมวัน Sharing Day โดยร่วมกับผู้จาหน่ายในตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อแจก
อาหาร ขนม และจัดให้มีหอ้ งแบ่งปัน โดยมีการแลกเปลี่ยนเสือ้ ผ้า ของใช้ท่ไี ม่ใช้แล้วนามาแบ่งปันกัน
ปี พ.ศ. 2558 จัดให้มีการรวมกลุ่มเกษตรกร ในโครงการ “ธุรกิจเกษตรชุมชน” โดยให้เกษตรกรที่
จาหน่ายผักในตลาดเกษตร ม.อ. มาร่วมทาแปลงสาธิตในงานเกษตรภาคใต้ โดยนัดรวมกลุ่มทาแปลงปลูกผัก
ภายในมหาวิทยาลัยในทุกวันเสาร์ โดยคณะทรัพยากรธรรมชาติให้พนื้ ที่ที่เป็นแปลงปลูกของนักศึกษาชั้นปีที่ 1
ซึ่งใช้แปลงปีละประมาณ 4 เดือน ซึ่งปกติแปลงดังกล่าว ถูกปล่อยทิง้ ไว้โดยไม่ได้ใช้ประโยชน์ 8 เดือน ในการ
รวมกลุ่ม ร่วมกั นลงแปลงปลู กผั ก ชนิด ต่าง ๆ ทาให้เกษตรกรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกั นและกั น ใน
ระหว่างการทางานหากมีข้อสงสัยหรือติดขัดเรื่องโรคแมลง ศัตรูพืชต่าง ๆ ก็ได้รับคาแนะนาจากคณาจารย์ใน
คณะทรัพยากรธรรมชาติ ที่มาอบรมอธิบายให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ อันเป็นการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง
นักวิชาการและเกษตรกร โดยใช้แปลงในมหาวิทยาลัยเป็นสถานที่เรียนรู้ นอกจากนี้รายได้จากการจาหน่าย
ผลผลิตที่ได้จากการลงแปลงร่วมกันถูกเก็บสะสมเป็นเงินกองกลางของเกษตรกร ที่ใช้ในการไปศึกษาดูงาน
เพื่อ พัฒนาศัก ยภาพของเกษตรกรเอง โดยพาเกษตรกรไปศึกษาดูงานทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
รวมทั้งการทาค่า ยเกษตรกรตัวน้อย เป็ นโครงการที่ตลาดเกษตร ม.อ.ร่ว มกับเกษตรกร และผู้จาหน่า ยใน
ตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อจัดอบรมแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและปลูกฝังให้เด็ก ๆ พึ่งพาตนเอง โดยรั บสมัคร
เยาวชน อายุ ตั้งแต่ 9 – 12 ปี มาเข้าร่วมโครงการ โดยผู้เข้าร่วมโครงการต้องจ่ายค่าใช้จ่ายคนละ 2,500 บาท
ปี พ.ศ. 2560 ได้พาเกษตรกรไปศึกษาดูงานที่ประเทศญี่ปนุ่ โดยใช้เงินกองกลางที่สะสมจากการทา
แปลงสาธิต จากการดาเนินงานมากว่า 5 ปี ทาให้เกษตรกรที่ใช้สารเคมี ได้รับการปรับเปลี่ยนมาเป็นการผลิต
แบบอินทรีย์ คือไม่ใช้สารเคมีในการผลิตเลย ในปัจจุบันเกษตรกรในกลุ่มได้พัฒนาและปรับเปลี่ยน จนได้ผ่าน
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (Organic Thailand) จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 14 -


-14- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ปี พ.ศ. 2562 ตลาดเกษตร ม.อ. งดการให้บริการถุงพลาสติก หูหิ้ว โดยใช้ถุงกระดาษแทนการให้


ถุงพลาสติกหูหวิ้
ปี พ.ศ. 2563 ได้เปิดให้บริการถนนคนเดิน @ตลาดเกษตร ม.อ. เพิ่มขึ้น โดยให้บริการครั้งแรกใน
วันที่ 4 สิงหาคม 2563 โดยเปิดให้บริการทุกวัน อังคาร พฤหัสบดี ระหว่างเวลา 14.30-20.00 น. เพื่อ
ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาว่างงานจากโรคระบาดโควิด-19 โดยคิดค่าเช่าพืน้ ที่เพียงเดือนละ 300 บาทกิจกรรม
ที่ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องถึงปัจจุบัน โดยตลาดเกษตร ม.อ. มีกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1) เป็นศูนย์กลางในการทากิจกรรมของนักศึกษา คณะต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เช่น
รายวิชา 550-200 กิจกรรมเสริมหลักสูตร 1 โดยเป็นกิจกรรมเชิงบูรณาการองค์ความรู้ เน้นประโยชน์สังคม
ปลู ก ฝังคุ ณภาพ จริยธรรม จิตสานึก สาธารณะ การทางานเป็ นทีม ทั้งในสาขาหรือระหว่า งสาขาวิชาและ
หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย
2) ใช้มาตรการสูโ้ ควิด-19 โดยจัดให้มีการตั้งจุดคัดกรอง การชาระเงินผ่านโมบายแอปพิเคชั่น โดย
ไม่ใช้เงินสด ร่วมกันฉีดยาฆ่าเชื้อโรค และออกมาตารการ 19 ข้อ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติจนสถานีโทรทัศน์แห่ง
ประเทศไทย มาทาการถ่ ายทอดสดแนวปฏิบัติเพื่อเป็น ต้นแบบของตลาดสู้โควิด -19 ในช่ วงเวลาดังกล่า ว
ตลาดส่วนใหญ่ปิดเพราะไม่สามารถจัดการให้ผู้มาใช้บริการได้รับความปลอดภัยได้ แต่ตลาดเกษตร ม.อ. ไม่
เคยปิดให้บริการ โดยมีผู้มาใช้บริการวันละประมาณ 3,000 คน ด้วยมาตรการที่เข้มแข็ง จึงทาให้เกษตรกร
และผู้ประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ. มีรายได้ไม่ลดลง ในขณะที่ผู้ประกอบการในตลาดอื่น ๆ ได้ผลกระทบ
จากสถานการณ์โควิด-19
3) จัดกิจกรรมวันแห่งการแบ่ง ปันร่ว มกับกรมการค้าภายใน โดยแจกข้า วสาร อาหารคาว หวาน
เสื้อผ้า และคูปองเงินสดเพื่อซือ้ สินค้าในตลาดเกษตร ม.อ. ให้แก่ประชาชนที่ประสบปัญหาจากสถานการณ์โค
วิด-19 ประมาณ 500 คน
4) เปิดให้บริการถนนคนเดิน@ตลาดเกษตร ม.อ. เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาจากโรคระบาดโค
วิด-19 ให้ได้มีที่จาหน่ายสินค้า
5) เชิญเจ้าหน้าที่ สวพ.8 มาให้คาแนะนาในการขอมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เพื่อให้เกษตรกรที่ยังไม่
ผ่านมาตรฐานอินทรีย์ ได้ปรับเปลี่ยนภายในระยะเวลา 2 ปี
6) จัดกิจกรรม “อยากเป็น Youtuber สาหรับตลาดเกษตรออนไลน์ ต้องทาอย่างไร” ร่วมกับสภา
เกษตรจังหวัดสงขลา เพื่ออบรมให้เกษตรกรและผู้ประกอบการในตลาดเกษตร ม.อ. และผู้ประกอบการถนน
คนเดิน@ตลาดเกษตร ม.อ. มีความรู้และสามารถฝึกปฏิบัติจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์โดยใช้สมาท์โฟน
ได้ด้วยตนเอง เป็นการเพิ่มช่องทางในการจาหน่ายออนไลน์ของเกษตรกรและผู้ประกอบการ
7) การจัดโครงการ PISAI PROJECT (Participatory and Integrative Support for Agriculture) ได้
เชิญเกษตรกรในตลาดเกษตรร่วมเป็นวิทยากรอบรม “เกษตรทาเอง นักเลงพอ” เพื่อถ่ายทอดแนวทางการทา
เกษตรอินทรีย์ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 15 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -15-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปี 2564 ตลาดเกษตร ม.อ. ได้แบ่งประเภทผลผลิตทางการเกษตรเป็น 3 สี ดังนี้ สีขาว หมายถึ ง


ผลผลิตที่ได้รับมาตรฐาน Organic Thailand สีเขียว หมายถึงผลผลิตที่ได้รับมาตรฐาน GAP หรือผลผลิตที่
ทราบแหล่งที่มา และสีเหลืองหมายถึง ผลผลิตที่ไม่ทราบแหล่งที่มา แต่อยู่ในระดับปลอดภัย
การได้รับรางวัลต่าง ๆ ของตลาดเกษตร ม.อ.
• พ.ศ. 2550 ได้รับป้ายรับรองจากคณะกรรมการอาหารปลอดภัย อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ให้เป็น “ตลาดที่ใส่ใจ และคุ้มครองผู้บริโภค”
• พ.ศ. 2555 ได้รับคัดเลือกให้เป็น “ตลาดนัดต้นแบบ ของจังหวัดสงขลา” ในโครงการหนึ่งจังหวัด
หนึ่งตลาดนัดต้นแบบ จากสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
• พ.ศ. 2555 – 2558 ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์มาตรฐาน “ตลาดนัดน่าซื้อ อยู่ในระดับดีมาก”
• พ.ศ. 2557 ได้รับรางวัลแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) “ด้านการบริหารจัดการเรื่อง ตลาด
เกษตร ม.อ.” จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
• 31 ตุลาคม 2557 ได้รับได้รับการคัดเลือกให้เป็น “ตลาดนั ดเกษตรกร” เพื่อจาหน่ายสินค้าดีมี
คุณภาพได้มาตรฐานจากเกษตรกรชาวจังหวัดสงขลาที่ผ่านการคัดเลือกจากเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา
• 5 มิถุนายน 2558 ได้รับเกียรติบัตรจากกรมอนามัย “เป็นตลาดปลอดโฟม 100%”
• 29 กรกฎาคม 2558 ได้รับรางวัล “ตลาดนัดน่าซื้อ ระดับดีมาก” จากกรมอนามัย
• 10 มีนาคม 2560 ได้รับคัดเลือกเป็น “ตลาดต้องชม” จากกระทรวงพาณิชย์
• 24 พฤษภาคม 2560 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และคณะ เยี่ ยมและให้กาลังใจ
เกษตรกร และผู้จาหน่ายสินค้าในตลาดเกษตร ม.อ
2) แหล่งเรียนรู้ทางด้านสาธารณสุข
ศูนย์ สมุ นไพรทั กษิณ คณะเภสัช ศาสตร์ เป็นสถานที่รวบรวมและจั ดแสดงองค์ความรู้เกี่ยวกั บ
สมุนไพรในด้านต่าง ๆ อาทิเช่น การจัดแสดงรวบรวมตัวอย่างพืช แห้งในรูปของพิพิธภัณฑ์พืช (Herbarium)
การจัดแสดงองค์ความรู้เกี่ยวกับเภสัชกรรมแผนไทย และฐานข้อมูลด้านเครื่องยา (Crude Drug) และสมุนไพร
ดาเนินการสารวจภู มิปัญ ญาด้า นการแพทย์แผนไทยของหมอพื้นบ้านภาคใต้ รวบรวมองค์ความรู้เกี่ ยวกั บ
การแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ พื้น บ้ า นในพื้ น ที่ 14 จั ง หวั ด ภาคใต้ นอกจากนี้ ได้ ร่ ว มกั บ ส านั ก งาน
สาธารณสุขจังหวัดในภาคใต้ ดาเนินการสารวจภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และจัดทาทาเนียบหมอพื้นบ้าน
ภาคใต้ไ ว้แล้ว จานวน 5 เล่ม ประกอบด้ว ยหมอพื้นบ้า นภาคใต้ ใน 12 จังหวัด จานวน 154 ท่าน และอยู่
ระหว่างการจัดทาทาเนียบหมอพืน้ บ้านภาคใต้ เล่มที่ 6 และ 7 และยังมีแผนจะดาเนินการสารวจให้ครบทั้ง 14
จังหวัด รวบรวมและจัดทาหนังสือรวมพิกัดยาไทย
ศูนย์บริการปฏิบัตกิ ารทางเภสัชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ เป็นหน่วยบริการด้านปฏิบัติการทางเภสัช
ศาสตร์แก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน บริการทดสอบตัวอย่างเภสัชภัณฑ์ ครอบคลุมทั้งยาแผนปัจจุบัน
แผนโบราณ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เข้าร่วมโครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย
ภายใต้การสนับสนุนของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติร่วมกับสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ได้เปิดให้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 16 -


-16- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ห้องปฏิบัติการเข้าร่วมจัดทากระบวนการตรวจประเมินและขอรับรองห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวกับสารเคมีในรูปแบบ
Certification ซึ่งหลังจากเข้าร่วมโครงการทางศูนย์บริการฯ ได้จัดทา ปรับปรุงและพัฒนาขั้นตอนการปฏิบัติงานและ
ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก. 2677-2558 อยู่ระหว่างการจัดทาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล
ISO/IEC 17025 : 2017 เพื่อรองรับการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งระดับภาคใต้และประเทศ
3) แหล่งเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่าย
กลุ่มตลาดออนไลน์ PSU Bazaar มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดตั้งกลุ่มตลาดออนไลน์ “PSU
Bazaar” เพื่อช่วยเหลือศิษย์เก่า นักศึ กษาและบุคลากรที่ได้รับผลกระทบในช่วงวิกฤตนี้ กลุ่มดังกล่าวมีสินค้า
บริการหลากประเภทให้ได้จับจ่ายใช้สอยในช่วงที่ต้องอยู่บ้าน ตั้งแต่สินค้าที่กลายเป็ นสิ่งจาเป็นในยุคนี้ อย่าง
หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ อีกทั้งจาพวกขนม อาหารสดและอาหารท้องถิ่นมากมาย เสื้อผ้า ต้นไม้ สัตว์เลี้ยง
เครื่องสาอาง อาหารแช่แข็ง อาหารสัตว์เลี้ยง และเครื่องสุขภัณฑ์ และบริการที่เป็นหอพัก/โรงแรม บริการแปล
เอกสาร บริการรับดูดวง ในช่วงภาวะวิกฤตโควิด-19 และประกาศเคอร์ฟิวที่หลายคนต้องประสบปัญหาเศรษฐกิจ
ต้องตกงานกระทั นหัน นักศึกษาบางคน พ่อแม่ ตกงานพร้ อมกั น ทาให้ต้องหยุ ดกิ จการ จึงได้ร่วมกั บ งาน
ประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดกลุ่มตลาดออนไลน์ขึ้น เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2563 ในเวลาเพียง
เดือนเดียว ตลาดเติบโต จนปัจจุบันมีสมาชิก เกือบ 40,000 คน มีการขายตั้งแต่อาหาร หลักสิบ จนถึงหลักทรัพย์
นับล้านบาท (https://www.facebook.com/groups/PSUBazaar)
PSUConnext มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้เพิ่มช่องทางในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ข้อมูล
ข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ส่งตรงและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง สร้างการรับรู้และการ
มีส่วนร่วมให้กับ คณาจารย์ นักวิจัย บุคลากร นักศึกษา และศิษย์เก่า รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายภายนอก ได้แก่
นักเรียน ครูแนะแนว ผู้ปกครอง และกลุ่มผู้ใช้บริการ ตลอดจนเพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภารกิจมหาวิทยาลัยใน
ด้านการวิจัย การเรียนการสอน การบริการวิชาการ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม เสริมสร้างภาพลักษณ์
มหาวิ ทยาลั ยสู่ สาธารณชน ช่ อ งทางในการประชาสั ม พั นธ์ข่ าวสารของมหาวิทยาลั ย นอกจาก เว็ บไซต์
www.psu.ac.th แล้ว ยังได้ปรับรูปแบบการนาเสนอ รวมทั้งเพิ่มช่องทางการสื่อสารในทุกช่องทางผ่านสื่อโซเชี่ยล
ได้แก่ FacebookFanpage/ Twitter/Instragram/ Youtube Chanel และ Line ส่งตรงถึงหน้าจอมือถือและอุปกรณ์
สื่อสารทุกชนิด ติดตามข่าวสารของมหาวิทยาลัยผ่านสื่อโซเชี่ยลได้ที่ (https://www.facebook.com/psuconnext)
สถานี วิ ทยุ กระจายเสี ยง มหาวิ ทยาลั ยสงขลานคริ น ทร์ วิ ทยาเขตหาดใหญ่ FM 88.0 MHz
(http://www.psub.psu.ac.th/broadcast/) และวิทยาเขตปัตตานี FM 107.25 MHz (https://psu10725.psu.ac.th/web/index.php)
ปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบเน้นสื่อออนไลน์ สาหรับการบริหารงานของวิทยาเขตหาดใหญ่ เน้น การบริหาร
งานใหม่ โดยให้มีผู้จัด การมือ อาชี พมาบริหารกิ จการทั้งหมดแทนการให้เอกชนแบ่งเช่ า ช่ ว งเวลา เพื่อ ให้
ประชาชนได้รับประโยชน์สู งสุ ด ทั้งรายการข่าว การนาเสนอผลงานทางวิช าการ การพบปะผู้บริหารของ
มหาวิทยาลัย รายการสนทนาเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมือง เป็นต้น

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 17 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -17-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิ
งานของอธิกการบดี
ารบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2. การบริหารจัดการ Covid-19
2.1 ศูนย์ข้อมูลเฝ้าระวัง COVID-19 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง คัดกรอง ป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของบุคลากรและนัก ศึกษาในสั งกัด มหาวิทยาลัยสงขลานคริน ทร์ จึงได้ดาเนิน การจัด ตั้งศูนย์
ข้อมูลเฝ้าระวัง COVID-19 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขนึ้ ตั้งแต่ต้นปี 2563 และได้มีการกาหนดมาตรการ
ต่าง ๆ อาทิ เช่น การยกเลิกจัดกิจกรรมการรวมกลุ่มของคนหมู่มาก การประกาศแนวทางการจัดกิจกรรม
นักศึกษา แนวทางการจัดการเรียนการสอนและการสอบรูปแบบใหม่ (New Normal) การปิด-เปิดใช้สถานที่
ภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มาตรการการเฝ้าระวังและควบคุมการระบาดของโควิด -19 ระลอกใหม่
มาตรการป้องกันและควบคุมการเข้า -ออกจากอาคาร มาตรการเฝ้าระวังและสารวจกลุ่มเสี่ยง แนวทางใน
การปฏิบัติงานที่บ้าน (Work from Home) ของบุคลากร สาหรับปัจจัยเสี่ยงของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
Covid-19 ร ะ ล อ ก ใ ห ม่ ใน ป ร ะ เ ท ศ เ พื่ อ ป้ อ ง กั น แ ล ะ ส กั ด วง จ ร ก า ร แ พ ร่ ก ระ จ า ย ก า ร ติ ด เ ชื้ อ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ออกมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 ดังนี้
1) ให้ทุกคณะ/หน่วยงาน จัดทาและติดตั้ง QR Code “PSU Care” ณ สถานที่ตงั้ ของคณะ/หน่วยงาน และ
ให้บุคลากร นักศึกษา ในสังกัดและผู้มาติดต่อคณะ/หน่วยงาน สแกน QR Code “PSU Care” และเช็คอิน (Check-
in) ก่ อนเข้าในอาคาร/ห้องเรียน เช็คเอ้าท์ (Check-out) ก่อนออกจากอาคาร/ห้องเรียนทุ กครั้ง พร้อมทั้งให้
บุคลากร นักศึกษา ต้องสแกน QR Code “PSU Care” เข้าสู่ระบบด้วย PSU Passport ของตนเองทุกครั้งที่เข้า-
ออก ภายในอาคารหรือสถานที่ และกรอกรายงานสุขภาพประจาวัน 1 ครั้ง ต่อวันใน QR Code “PSU Care”
2) ประกาศงดใช้สถานที่ชั่วคราวภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยเฉพาะวิทยาเขตหาดใหญ่
ตั้งแต่วันที่ 25 ธันวาคม 2563 ในพื้นที่ สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร อ่างเก็บน้า
สนามเด็กเล่น บริเวณสวนสุขภาพ สนามเทนนิสทุกสนาม สนามเปตองทุกสนาม สนามวอลเลย์บอลชายหาด
สนามซอฟท์บอลทุกสนาม สนามฟุตซอลทุกสนาม สนามฟุตบอลทุกสนาม สระว่ายน้า และพื้นที่ศูนย์กีฬา
และนันทนาการ
3) ในส่วนการจัดการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยได้กาหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนและ
การสอบในภาคการศึก ษาที่ 2/2563 โดยให้งดการเรียนการสอนในชั้ นเรียนทั้งหมด ตั้งแต่วันศุก ร์ที่ 25
ธันวาคม 2563 จนกว่าจะมีประกาศกาหนดแนวทางเป็นอย่างอื่น โดยให้ใช้การเรียนการสอนแบบออนไลน์
หรือการจัดการเรียนการสอน รูปแบบอื่นที่ไม่มีการรวมกลุ่มกันในชั้นเรียน ในกรณีที่ห ลักสูตรมีการจัดการ
เรียนการสอนในคลินิก หรือ รายวิช าที่ต้อ งมีการปฏิบัติก าร วิทยานิพนธ์ข อให้ห ลั ก สูตรบริหารจั ดการให้
สามารถเรียน หรือปฏิบัติการด้วยวิธีที่เหมาะสมที่สุด
4) การฝึกงานทุกรูปแบบ รวมถึงการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ (WIL) หรือสหกิจศึกษา ใน
พืน้ ที่จังหวัดที่มีการแพร่ระบาดสูง ขอให้ประสานงานกับหน่วยงานที่รับนักศึกษา เพื่อพิจารณา ปรับเปลี่ยน
รูปแบบ หรือยกเลิกหากพิจารณาแล้วเห็นว่ามีความเสี่ยงสูง หรือจัดกิจกรรมอื่นที่เหมาะสมทดแทน
5) คณะเตรียมห้องเรียนและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สาหรับนักศึกษาที่ขาดความพร้อมด้านอุปกรณ์
อิเล็ก ทรอนิกส์ หรือ มีข้อ จากั ดด้า นเครือข่า ยอิน เตอร์เน็ต อันอาจนาไปสู่ความไม่เท่าเทียมในการเข้า เรียน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 18 -


-18- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ระบบออนไลน์ และให้ใช้มาตรการที่เข้มงวดในการดูแลและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ โดยเฉพาะการ


จัด การ social distancing พร้อมเน้นย้าให้ทุกคนปฏิบัติตามมาตรการด้ ว ยการสวมหน้า กากอนามั ยหรือ
หน้ากากผ้า และหมั่นล้างมือบ่อย ๆ
2.2 ความพร้อมในการรองรับผู้ป่วย COVID–19 ของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ได้ปรับแผนการรองรับผู้ป่ว ยในโดยเฉพาะผู้ป่วยโควิด ด้ว ยการ
ปรับปรุงหอผู้ป่ว ยบริเวณชั้น 4 ที่จากเดิมมี 4 ห้อง เพิ่มขึ้นเป็น 11 ห้อ ง และปรับพื้นที่บริเวณชั้น 5 อาคาร
เดียวกัน เพิ่มอีก 20 ห้อง เพื่อรองรับปริมาณผู้ป่วย ซึ่งในการก่อสร้างใช้ระยะเวลาอันสั้น เพื่อให้ทันต่อการใช้
งานและการดูแลผู้ป่วยในการรับผู้ป่วยโควิด-19 ของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จะเน้นการรับส่งต่อผู้ป่ว ย
ปานกลางและหนัก จากโรงพยาบาลใน 14 จังหวัดภาคใต้ ซึ่งสามารถรองรับได้ประมาณ 30 ราย โดยมีการ
จัดทีมแพทย์ พยาบาล และบุคลากรทาหน้าที่ดูแลผู้ป่วยเป็นอย่างดี ถูกต้องตามหลักมาตรฐาน จากระยะแรก
ของการแพร่ระบาดจนกระทั่งปัจจุบันนี้ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ได้ให้การรักษาและรับส่งต่อผู้ป่วยโควิด-
19 แล้ว จานวน 42 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 20 พ.ค. 2563) รวมมีผู้ได้รับการตรวจ COVID-19 (PUI) จานวน
909 คน (ข้อมูลตั้งแต่ 26 ก.พ. 2563-20 พ.ค.2563) ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยหนัก และให้การดูแลผู้ป่วยทุกคน
เป็นอย่างดีจนผู้ป่วยทุกคนหาย และกลับบ้านได้ สาหรับผู้ป่วยโควิดระลอกใหม่ที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
รับไว้ดูแลมีจานวน 2 ราย รักษาหายและกลับบ้านได้ทั้ง 2 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 25 มกราคม 2564)
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ สาขา 2 สงขลา โดยความร่วมมือของทุกโรงพยาบาลในจังหวัด
สงขลา (SONGKHLA COVID-19 Recovery Camp) จัดตั้ง ณ อาคารติณสูล านนท์ ศูนย์บริบาลผู้สูงอายุ
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาจัดตัง้ เพื่อเป็นศูนย์รองรับผู้ป่วยโควิด –19 ในจังหวัดสงขลา ที่มีอาการดีขึ้น
แต่ยังต้องพักฟื้นให้หายขาด ที่ฟักฟื้นอยู่ตามโรงพยาบาลต่าง ๆ ในจังหวัดสงขลา เพื่อให้โรงพยาบาลเหล่านั้ น
มีเตียงเพียงพอสาหรับผู้ป่วยโควิด –19 ที่มีอาการรุนแรง หากอาการปกติก็สามารถกลับบ้านได้ เป็นความ
ร่ ว มมื อ จากโรงพยาบาลในจั ง หวั ด สงขลา จั ด ตั้ ง ณ อาคารติ ณ สู ล านนท์ ศู น ย์ บ ริ บ าลผู้ สู ง อายุ สวน
ประวัติศาสตร์ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
โรงพยาบาลสนามภูเก็ต แห่งที่ 2 มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ ได้ส่งทีมแพทย์ พยาบาล และ
บุคลากรทางการแพทย์ จานวน 58 คน มาช่วยดูแลผู้ป่วย โดยมีการวางแผนจัดเตรียมสถานที่ ต่าง ๆ ร่วมกั บ
โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต โรงพยาบาลป่าตอง โรงพยาบาลถลาง และทุกภาคส่วนในจังหวัดภูเก็ต ซึ่งความพร้อม
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (โรงพยาบาลสนามภูเก็ต แห่งที่ 2) เป็นอาคารบริเวณกว้างมีอากาศ
ถ่ายเทสะดวก และแยกออกจากอาคารอื่น ๆ รองรับผู้ป่วยได้ 150 เตียง โดยเทศบาลเมืองกะทู้ให้งบประมาณ
สนับสนุนในการจัดตั้งโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต (โรงพยาบาลสนามภูเก็ต แห่งที่ 2)
2.3 การสนับสนุนงานวิจัยเกี่ยวกับ COVID-19
1) กองทุน Sci-Jai (ใส่ใจ) คณะวิทยาศาสตร์ เป็นกองทุนเพื่อสนับสนุนการวิจัยและสร้างนวัตกรรม
ขึ้น โดยน ากระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการวิจัยเชิงบูรณาการมาใช้ ให้เกิ ดประโยชน์กั บสั งคม

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 19 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -19-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ตอบสนองการระบาด COVID-19 โดยนากระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการวิจัยเชิ งบู รณาการ


สาหรับใช้ประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคดังกล่าว โดยผลงานที่ผลิตได้แก่
แผ่นกรองเพิ่มประสิทธิภาพหน้ากากผ้าใกล้เคียง N95 (Sci-Mask Filter) โดยทีมนักวิจัยจากคณะ
วิทยาศาสตร์ ได้พัฒนาขึ้นและมีราคาถูกกว่าท้องตลาด 2-3 เท่า มีประสิทธิภ าพในการกรองที่สูง ทั้งการ
กรองอนุ ภ าคและการกรองไวรั ส เทีย บเท่ า ใกล้เ คี ยงกั บ หน้า กาก N95 และที่ ส าคั ญ มี คุ ณสมบั ติ Super
hydrophobic ซึ่งจะไม่ยอมให้ละอองน้าหรือละอองลอยสามารถซึมผ่านแผ่นกรองได้
เครื่องจ่ายเจลล้างมืออัตโนมัติ (Sci-Automatic Hand Gel Dispenser) โดยคณะวิทยาศาสตร์ ได้
มอบแผ่นกรองพร้อมเครื่องจ่ายเจลอัตโนมัติ ให้กับคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อ
นาไปใช้ประโยชน์ในการเฝ้าระวังไวรัส COVID-19 เมื่อวันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2563
ระบบตรวจจับอุ ณภู มิร่างกายและคั ดกรองอาการไข้ด้วยภาพถ่ ายความร้อน (Sci Thermoscan
Infrared Fever Screening System) โดยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ได้ส่งมอบเครื่องดังกล่าวในกิจกรรม Sharing day
วันแห่งการแบ่งปัน ณ ตลาดเกษตร ม.อ พร้อมนาแผ่นกรองเพิ่มประสิทธิภาพหน้ากากผ้าใกล้เคียง N95 แจกจ่าย
ให้กับประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ จานวน 600 ชุดเมื่อวันพุธที่ 10 มิถุนายน 2563
เครื่องวัดอุณหภูมิระยะไกล (Sci-Thermometer) ตรวจวัดอุณหภูมิบริเวณหน้าผากของตัวเอง
ด้วยแสงย่านอินฟราเรด ลดการสัมผัส โดยทีมนักวิจัยศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์สารปริมาณ
น้อ ยและไบโอเซนเซอร์ คณะวิทยาศาสตร์ ได้ส่งมอบนวั ต กรรมให้กับทีม แพทย์จากโรงพยาบาลสงขลา
นครินทร์ จานวน 40 เครื่อง เมื่อวันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม 2563
2) ชุดตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัส (PSU COVID-19) โดยทีมงานนักวิจัยคณะเทคนิคการแพทย์
คณะเภสัชศาสตร์ และคณะแพทยศาสตร์ ร่วมกับเครือข่ายภาคเอกชน กว่า 8 หน่วยงาน พัฒนาขึ้น ชุดตรวจ
ดั ง กล่ า วสามารถช่ ว ยคั ด กรองเบื้อ งต้ นในผู้ ป่ ว ยกลุ่ ม เสี่ย ง การตรวจมีป ริ ม าตรน้อ ย ประมาณ 15 -20
ไมโครลิตร (1-2 หยด) ใช้ได้กับตัวอย่างเลือดที่เจาะจากปลายนิว้ พลาสมาหรือซีรัม ซึ่งในเลือดมีปริมาณของ
เชื้อไวรัสที่น้อยมาก จึงลดความเสี่ยงในการติดเชื้อของบุคลากร ชุดตรวจมีความไวและความจาเพาะสูง มี
ความคงตัว สูง สามารถเก็ บรั กษาได้ที่อุ ณหภูมิห้อ งเป็ นเวลาหลายเดือน และเพื่อบุ คลากรที่ทาหน้า ที่เก็ บ
ตัวอย่างลดความเสี่ยงสูงในการติดเชือ้ โควิด-19 โดยใช้เวลาในตรวจประมาณ 15-20 นาที
3) หุ่นยนต์ควบคุมจากระยะไกลผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ “ADA Robot” โดยสถาบันวิจัยและ
นวัตกรรมดิจิทัล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU DRii) ร่วมกับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จากัด
(AIS) และ บริษัท อาดูโ น่ไ ทย จากัด (Arduino Thai) พัฒ นาหุ่นยนต์ควบคุม จากระยะไกลผ่านเครือ ข่า ย
โทรศัพท์มือถือ หรือ เรียกสั้นๆว่า “ADA Robot” โดยผู้เป็นการพัฒนาหุ่นยนต์ให้เจ้าหน้าที่สามารถบังคับจาก
ระยะไกลได้จากทุ ก สถานที่ เพื่อ ล าเลียงอาหารและยาตามเส้นทางที่ต้อ งการ ซึ่งบนตัว หุ่นยนต์ไ ด้ติด ตั้ง
อุปกรณ์ส่อื สารเพื่อให้แพทย์และผู้ป่วย พูดคุยกันได้ทั้งภาพและเสียง พร้อมระบบตรวจวัดอุณหภูมิของคนไข้
ลดโอกาส การสัมผัสและลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ ทาให้ทีมแพทย์ พยาบาล สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่าง
ทั่วถึง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 20 -


-20- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

4) กล่องยูวีฆ่าเชื้อโรคในธนบัตร มีกระบวนการฆ่าเชื่อในธนบัตรโดยใช้กล่องรังสีอัลตราไวโอเลต
หรือรังสี UV ในรูปแบบของ UVC มีการใช้ฟวิ ส์ป้องกันอันตรายหากกระแสไฟฟ้าลัดวงจร และใส่แผ่นฟรอยใน
กล่องเพื่อเป็นการสะท้อนรังสียูวีให้กระจายทั่วถึง มีระบบนิรภัยคือแสงจะส่องได้ต่อเมื่อปิดกล่องเท่านั้น จะ
อันตรายเมื่อสัมผัสกับร่างกายและสายตา จึงออกแบบอุปกรณ์โดยทาเป็นกล่อง เมื่อจะใช้ให้ใส่ธนบัตรแล้วปิด
ฝา ใช้เวลาฆ่าเชื้อ 15 วินาที โดยมหาวิทยาลัยร่วมมือกับวิทยาลัยการอาชีพหลวงประธานราษฎร์นิกร และ
วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่เพื่อผลิตกล่องดังกล่าวให้ประชาชนทั่วไปนาไปใช้ ซึ่งวิธีการนี้มีการใช้กันอยู่ทั่วไป
เพียงแต่ยังไม่มีการดัดแปลงเพื่อรับกับสถานการณ์ในปัจจุบันเท่านัน้
5) เครื่องพ่นสเปรย์ทาความสะอาดไฮโปคลอรัสด้วยเทคนิคไฟฟ้าเคมี ผลงานโดย รศ.ดร.วรากร ลิ่ม
บุตร นักวิจัยศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ เป็น 1 ในนวัตกรรมที่
ใช้ส่วนประกอบง่าย ๆ เช่น น้าประปา เกลือแกง ผนวกกับเทคนิคทางเคมีไฟฟ้า ออกมาเป็น กรดไฮโปคลอรัส
บนเครื่องพ่นสเปรย์ละอองขนาดจิ๋ว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการฆ่าเชือ้ เพิ่มประสิทธิภาพในการสัมผัสกับเชื้อ
โรคได้ดีขึน้ ทาให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการฆ่าเชือ้ โรคต่าง ๆ ได้ดี
2.4 โครงการบัณฑิตอาสาสู้ภัยโควิด
เป็นโครงการจ้างงานประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
2019 โดยศูนย์อาสาสมัคร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ งบประมาณจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม สนับสนุนค่าตอบแทนเดือนละ 9,000 บาท /คน ทั้ง 2 ระยะ รวม 800 ตาแหน่ง เป็นเงิน 36,000,000
บาท งบบริหารจัดการ 1,460,000 บาท และมหาวิทยาลัยสนับสนุนงบดาเนินงานโครงการ 1,394,000 บาท ใช้จริง
669,500 บาท ระยะเวลาดาเนินการ ระยะแรก 4 เดือน (มิถุนายน-กันยายน 2563) ระยะที่สอง 3 เดือน (กรกฎาคม–
กันยายน 2563) ทั้งนี้เพื่อ 1) สร้างงานรองรับผลกระทบจากสถานการณ์วิกฤตและเสริมศักยภาพให้กาลังแรงงาน
สมัยใหม่ โดย บัณฑิตได้รับการจ้างงานทั้งสองระยะ จานวน 774 คน จากยอดผู้สมัคร 3,547 คน 2) ส่งเสริมการ
พัฒนาทักษะในการทางานในด้านต่าง ๆ ให้แก่แรงงาน ได้แก่ เพิ่มทักษะด้าน
การเรียนรู้และนวั ตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศและเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ และเห็ น
คุณค่าตัวเองมากขึ้น 3) สร้างความเข้ มแข็ งให้ชุมชน โดยชุมชนได้รับการสนั บสนุนด้านกาลั งคนในการฟื้นฟู
จานวน 148 ตาบล (ไม่นับซ้า) 69 อาเภอ 9 จังหวัด คือ พังงา ภูเก็ตสุราษฏร์ธานี ตรัง สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา
และนราธิวาส ชุมชนมีฐานข้อมูล/แผนการพัฒนาตามประเด็นต่าง ๆ จานวน 166 ชุมชน แบ่งเป็น ด้านเศรษฐกิจ
ชุมชน 66 ชุมชน ผู้สูงอายุ 43 ชุมชน การท่องเที่ยว 25 ชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 21 ชุมชน เด็ก
และเยาวชน 11 ชุมชน ตัวอย่างผลการช่วยเหลือเบือ้ งต้นต่อชุมชน เช่น เปิดช่องทางตลาดออนไลน์ พัฒนาโมเดล
ตลาดและการท่องเที่ยว พัฒนาคุณภาพการย้อมสีผ้ามัดย้อม ส่งเสริมการออกกาลังกายแก่ผู้สูงอายุ อัพเดท
ข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ส่งต่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ให้การช่วยเหลือเบือ้ งต้น สารวจข้อมูลเด็กและเยาวชนนอก
ระบบส่งต่อให้โครงการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาให้การสนับสนุนอาชีพ พัฒนาห้องสมุดชุมชน
สาหรับมหาวิทยาลัยมีนักวิชาการเข้าร่วมเป็นที่ปรึกษา/วิทยากร จานวน 93 ท่าน จาก 5 วิทยาเขต

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 21 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -21-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิ
งานของอธิกการบดี
ารบดีแและที
ละทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2.5 แนวทางการช่วยเหลือนักศึกษาระดับปริญญาตรีในช่วงโควิด
จากสถานการณ์ก ารแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อ ไวรั ส โคโรนาสายพั นธุ์ใ หม่ 2019 ( COVID-19)
มหาวิทยาลัยได้ประกาศแนวทางการช่วยเหลือนักศึกษาระดับปริญญาตรีในสถานการณ์ ดังกล่าวคือ
1) จัดสรรทุนการศึกษา
2) ลดค่าธรรมเนียมการศึกษา
- ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าธรรมเนียมการศึกษาอัตราปกติสาหรับภาคการศึกษาที่ 3/2562
- ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าธรรมเนียมการศึกษาอัตราปกติสาหรับภาคการศึกษาที่ 1 และ
2 ปีการศึกษา 2563
- คืนค่าธรรมเนียมการศึกษาหอพักบางส่วน สาหรับภาคการศึกษา 2 ปีการศึกษา 2562
- ลดค่าธรรมเนียมหอพักทุกประเภทของมหาวิทยาลัยในอัตราร้อยละ 10 ของค่าธรรมเนียม
หอพักนักศึกษาอัตราปกติ สาหรับภาคการศึกษาที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา 2563
3) จั ด บริ การและสวั สดิ การนั กศึ กษา โดย สนับสนุ นอุ ปกรณ์ ส าหรั บการเรี ยนแบบออนไลน์
สนับสนุนซิมการ์ดและค่าอินเตอร์เนตสาหรับเรียนออนไลน์ ช่วยเหลือนักศึกษาที่ป่วยเป็นโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
สายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) คนละ 10,000 บาท และช่วยเหลือค่าอาหารกลางวัน
การสนับสนุนเงินเพื่อช่วยเหลือนักศึกษาที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) รวม 5 วิทยาเขต
วิทยาเขต สนับสนุนทุนการศึกษา (บาท) สนับสนุนค่าหอพักนักศึกษา (บาท) รวม (บาท)
หาดใหญ่ 68,642,108 3,146,083 71,788,191
ปัตตานี 39,146,256 689,681 39,835,937
ตรัง 11,420,495 217,718 11,638,213
สุราษฏร์ธานี 15,102,512 673,625 15,776,137
ภูเก็ต 10,688,630 272,593 10,961,223
รวม 145,000,000 5,000,000 150,000,000

3. ระบบรักษาพยาบาลที่มั่นใจในคุณภาพ อุ่นใจในคุณธรรมและการรักษาพยาบาลที่เป็นเลิศ
3.1 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ได้รับการรับรอง กระบวนการคุณภาพ ขั้นก้าวหน้า (Advanced
HA) ปี 2563 (26 สิงหาคม 2563 - 25 สิงหาคม 2566) เป็นโรงพยาบาลขนาด 852 เตียง (ณ มีนาคม
2562) ให้บริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินในสาขาต่าง ๆ ได้แก่ เวชปฏิบัติ
ทั่ว ไป สูตินรีเวช ศัล ยกรรม อายุ รกรรม กุม ารเวชกรรม ศัล ยศาสตร์ ออร์โ ธปิดิกส์ ตา หูคอจมู ก จิตเวช
กายภาพบาบัด การระงับปวดและฝังเข็ม และการผ่าตัดแบบผู้ป่วยนอก อีกทัง้ ยังมีศูนย์ความเป็นเลิศทางด้าน
หัวใจ หลอดเลือด มะเร็ง ทางเดินอาหารและตับอีกด้วย เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ แพทย์ใช้
ทุน แพทย์ประจาบ้า นและนักศึกษาหลัก สูตรวิทยาศาสตร์ สุ ขภาพสาขาอื่น ๆ ตลอดจนเป็น แหล่งวิจัยของ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 22 -


-22- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

บุคลากรสาขาวิทยาศาสตร์สุ ข ภาพ ได้รับการยอมรั บว่า เป็ นโรงพยาบาลชั้ นนาแห่งหนึ่งของประเทศและ


ภูมิภาคเอเชีย จานวนผู้รับบริการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยมาขอรับการตรวจรักษาทั้งด้วยตนเองและที่
รับส่งต่อจากโรงพยาบาลอื่นเป็นจานวนมาก โดยในปี พ.ศ.2562 ให้บริการผู้ป่วยนอก 1,108,747 ราย หรือ
ประมาณวันละ 3,095 ราย และรับผู้ป่วยรักษาในโรงพยาบาล 43,459 ราย
ศูนย์ C Plus Center ให้บริการคาแนะนาระบบการให้บริการของโรงพยาบาล ขอประวัติการรักษาและ
หลักฐานทางการแพทย์ บริการสิทธิประโยชน์หลักประกันสุขภาพและสวัสดิการสังคม รับเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์
และรับ-ส่งต่อผู้ป่วย (Referral Center) เปิดบริการทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์
ศูนย์บ ริการพิเศษศรีเวชวัฒน์ “Srivejchavat Premium Center” เป็ น ศูน ย์กลางการแพทย์ที่
ให้บริการดูแล รักษาและให้คาปรึกษาอย่างครบวงจรด้วยมาตรฐานระดับสากล บริหารจัดการที่เป็นเลิศด้วย
รูปแบบวิธีการบริหารพิเศษเพื่อให้มีรายได้ที่สามารถพึ่งพาตนเองได้บนหลักธรรมาภิบาล สอดคล้องกับแผน
กลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ยุทธศาสตร์ที่ 3
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การมีเสถียรภาพและความมั่นคงทางการเงิน สามารถเลี้ยงตัวเองได้
ไม่พึ่งพางบประมาณแผ่น ดิน มีก ารเปิด คลินิกบริก ารพิเศษ ได้แก่ คลินิก ตรวจสุ ขภาพ คลินิก อายุ รกรรม
คลินกิ หู คอ จมูก คลินกิ กระดูกและข้อ คลินกิ ศัลยกรรม คลินกิ เด็ก คลินกิ นรีเวช คลินกิ ระงับปวด ศูนย์เลสิก
คลินกิ ผิวหนัง คลินกิ ตา คลินกิ นิ้วล็อค คลินกิ เวชปฏิบัติครอบครัว คลินกิ ทดสอบภูมิแพ้ คลินกิ จิตเวช
ศูนย์ตรวจสุขภาพ (Checkup Center) จัด ตั้งขึ้นเพื่อเพิ่ม ทางเลือ ก ในการ “ร่วมดูแล” ภาวะ
สุขภาพ มุ่งหวังคัดกรองและควบคุมความเสี่ยงต่อสุขภาพตามเพศและวัย ในผู้รับบริการอย่างองค์รวม มีการ
สอบถามความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง หากพบความผิดปกติจะได้รับการส่งต่อ เพื่อปรึกษาแพทย์เฉพาะ
ทาง ที่คลินิกบริการพิเศษ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โดยศูนย์ดั งกล่าวเปิดให้บริการทางด้านการตรวจ
สุขภาพและพัฒนาสู่การเป็น SMART HOSPITAL ซึ่งเห็นได้จาก การพัฒนาตู้คิวอัจฉริยะ เพื่ออานวยความ
สะดวกให้กับผู้ป่วยในโรงพยาบาลรวมไปถึงโอกาสของการพัฒนาระบบให้ผู้ปว่ ยสามารถจองคิวตรวจรักษาได้
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ยังมีความร่วมมือกับ บริษัท My Health Group พัฒนา Application myHealthFirst
โดยทีมแพทย์และวิศวกร จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ และโรงพยาบาล
หาดใหญ่ แอปพลิเคชั่นนีจ้ ะมีข้อมูลประวัติการรักษา การตรวจสุขภาพ เป็น “แอปพลิเคชั่นตัวแรกของโลก ที่
ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (A.I. in Health Care) มาช่วยดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยประเมินการกิน
อาหาร-ออกกาลังกาย (Lifestyle) ผลการตรวจเลือด-ตรวจร่า งกายมาสร้างเป็ นคาแนะนาสุข ภาพ ผ่า น
โทรศัพท์มือถือ/สมาร์ทโฟน โดยใช้คาสั่งเสียงหรือการถ่ายภาพ มีคาแนะนาจากระบบ A.I. และแพทย์สามารถ
บันทึกบันทึกข้อมูลผลตรวจรักษา แบบอัตโนมัติจากระบบปฏิบัติการของโรงพยาบาล (HIS) ช่วยให้การใช้งาน
ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสะดวกมากขึน้ ซึ่งมีเป้าหมายดูแลสุขภาพ 2 กลุ่มคนคือ 1) กลุ่มคนที่ยังไม่ป่วยและ
กาลังจะป่ว ย ไม่ให้เป็ นโรค แนะนาให้สุขภาพดีไปเรื่อย ๆ 2) กลุ่มคนที่ป่วยแล้ว ส่งเสริมให้ปฏิบัติตัวอย่า ง
ถูกต้องทานยาสม่าเสมอ สุขภาพแข็งแรงขึน้ ลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค ตลอดจนมีประวัติติด
ตัว Online ไว้ยามฉุกเฉิน ในอนาคตแอปพลิเคชั่น “myHealthFirst” The Ultimate PHR จะเป็นอีกตัวช่วยหนึ่ง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 23 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -23-
ส่ส่ววนที
นที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนิ นงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ในด้า นการดู แลสุ ข ภาพของประชาชนรวมถึ งการนาไปใช้ กั บวงการสาธารณสุ ข ของประเทศไทย เพื่อ ให้


สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล Health Care Thailand 4.0 ในการสร้างเสริมสุขภาพที่ดใี ห้กับคนไทยทุกคน
ศูนย์เลสิก ม.อ. (PSU Lasik Center) เปิดรักษาภาวะสายตาผิดปกติ (สายตาสั้น สายตาเอียง และ
สายตายาวโดยกาเนิด) ด้วยนวัตกรรมรูปแบบใหม่ คือ การผ่าตัดแบบ FemtoLASIK ซึ่งเป็นการแก้ไขสายตาที่
มีความแตกต่างจากการรั กษาเลสิ ก แบบเดิม โดยใช้แสงเลเซอร์แทนการใช้ใบมีดด้ว ยเครื่อง Femtosecond
Laser รุ่น VisuMax ในการเปิดชั้นกระจกตาและการผ่าตัดแบบ RelEx SMILE (การผ่าตัดแก้ไขสายตาแผลเล็ก
แบบไร้ใบมีด) ซึ่งเป็นเทคนิคล่าสุดในการผ่าตัดแก้ไขสายด้วยเลเซอร์ที่มีแผลเล็กที่สุดเท่าที่เคยมีมา ซึ่ งจะเปิด
ให้บริการในปี พ.ศ.2563
หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ ได้รับการแต่งตั้งจาก
องค์การอนามัยโลก ให้เป็นศูนย์ความร่วมมือองค์การอนามัยโลกเพื่อ การอบรมและวิจัยด้านระบาดวิทยา
(WHO Collaboration Center for Research and Training on Epidemiology) อย่างเป็นทางการตั้งแต่ 26
มีนาคม 2555 สร้างความเข้มแข็งด้านวิจัยและผลิตนักวิจัยให้ประเทศกาลังพัฒนาในเอเชีย มีคณะกรรมการ
คลินิก วิจัย ทาหน้าที่ใ ห้บริก ารและแนะนาปรึกษาด้านการวิจัยให้แก่บุคลากรในคณะแพทยศาสตร์ พัฒนา
ระบบการให้คาปรึกษาและติดตามการดาเนินงานของคลินิกวิจัย และประเมินผลลัพธ์การให้คาปรึกษา และ
วิเคราะห์ผลการดาเนินงาน พร้อมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาภายในคลินกิ วิจัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผลงาน
เด่นในรอบปี 2562-2563 ได้ แก่ ศ.นพ.วีระศัก ดิ์ จงสู่ วิวั ฒ น์ ว งศ์ ได้ รับการแต่ งตั้งเป็ นคณะที่ป รึก ษา
รัฐมนตรีว่า การประทรวงสาธารณสุข เกี่ ยวกั บภาวะฉุ กเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณีโรคปอด
อักเสบจากเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ เมื่อวันที่ 29 เม.ย. 2563 พร้อมทั้งแต่งหนังสือ “สู้โควิดแบบไทย ๆ”
โดยสานักพิมพ์หมอชาวบ้าน ปี 2563 รางวัลผลงานวิจัยที่มีประโยชน์ต่อชุมชน ประจาปี 2562 ประเภทรางวัล
ทั่ว ไป ผลงานชื่อเรื่อง “ชุด โครงการศึก ษาแบบแผนการใช้และผลกระทบต่อ สุข ภาพให้ผู้ใ ช้ก ระท่อ มแบบ
พื้นบ้านเป็นประจา”มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประกาศ ณ วั นที่ 2 มีนาคม 2563 โดย ศ.พญ.สาวิต รี
อัษณางค์กรชัย และ ดร.อลัน กีเตอร์ เป็นต้น
3.2 โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย เป็นสถานพยาบาลการแพทย์แผนไทยแห่งแรกของภาคใต้
เปิดให้บริการฟื้นฟู บาบัด รักษาโรคด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA ขั้น
ที่ 1 จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ในด้านการจัดการศึกษา สร้างความร่วมมือ
ในการพัฒนาและรับรองคุณภาพทั่วทั้งองค์กร และเป็นโรงพยาบาลที่ได้ปรับปรุงพัฒนาคุณภาพในด้านการ
บันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยการป้อ งกั นอั นตรายจากการทาหัตถการทางการแพทย์แผนไทย อีก ทั้งวางระบบ
ประเมินความพึงพอใจและรับคาร้องเรียนของผู้รับบริการ โดยได้มีการเยี่ยมสารวจเพื่อประเมินระดับการ
พัฒนาคุณภาพ ขั้นที่ 1 เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2562 โดยพันธกิจที่สาคัญในการจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นแหล่งฝึ ก
ปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย นวดไทย และผดุงครรภ์ไทย รวมทั้งให้บริการวิชาชีพ
การแพทย์แผนไทยที่ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาคเอเชีย และเป็นแบบอย่างที่ดีสาหรับผู้ประกอบ
วิชาชีพแพทย์แผนไทย ตลอดจนเปิดให้บริการวิชาชีพด้วยศาสตร์ทางการแพทย์แผนไทยแก่ประชาชนทั่วไป

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 24 -


-24- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

3.3 โรงพยาบาลทันตกรรม เป็นศูนย์กลางการให้บริการทางทันตกรรมของภาคใต้ ศูนย์กลางวิจัยและ


พัฒนาเทคโนโลยีทางทันตกรรม และเป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา มีการจัดหน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่สู่
ชุมชนชนบท ได้แก่ หน่วยทันตกรรมพระราชทาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในพระบรมราชูปถัมภ์และหน่วย
ทันตกรรมเคลื่อนที่ของโรงพยาบาลทันตกรรมเพื่อออก ไปให้บริการแก่ผู้ดอ้ ยโอกาสในพืน้ ที่ห่างไกลซึ่งการเข้าถึง
ทันตแพทย์เป็นไปได้ยาก เป็นต้น ได้รับการประเมินจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
The Healthcare Accreditation Institute (Public Organization) ซึ่งได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ
โรงพยาบาลตามบันได ขั้นที่ 1 และผ่านการรับรองขั้นที่ 1 ซึ่งมีระยะเวลารับรองตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563-
19 กุมภาพันธ์ 2564 และเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2563 ซึ่งเป็นวันทันตสาธารณสุขแห่งชาติ คณะทันตแพทยศาสตร์
ม.อ.และกองทุนเฉลิมพระเกียรติ ๑๐๐ ปี สมเด็จย่า จัดให้บริการทาฟันฟรีแก่ประชาชนทั่วไปจานวน 1,000 ราย
และเปิดกระปุกออมเงินเพื่อผู้ป่วยปากแหว่งเพดานโหว่ รวมทั้งกิจกรรมแปรงฟันป้องกันอนาคตลูกผุ เพื่อสดุดี
สมเด็จย่า สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ 20 ปี ของกองทุน ฯ ที่
ได้ดูแลผู้ป่วยด้อยโอกาสทางทันตกรรมมาร่วม 20 ปี
3.4 ศูนย์การดูแลต่อเนื่อง คณะพยาบาลศาสตร์ ปัจจุบันมี จานวน 4 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์ส่งเสริม
สุขภาพและฟื้นฟู สภาพผู้สูงอายุ ฝ่ายพั ฒนาเด็ กปฐมวั ย โรงการจั ดตั้งศูนย์ส่งเสริมสุ ขภาพครอบครั วไทย
โครงการจัดตั้งศูนย์การดูแลต่อเนื่องสาหรับผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน ตามวิสั ยทัศน์ ที่ว่า “คณะพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นสถาบั นการศึกษาพยาบาลชั้นนาระดั บสากล สร้างนวั ตกรรมเพื่อการดูแล
ต่อเนื่อง” โดยศูนย์ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ นาครอบครัวมามีส่วนร่วมในการดูแล ส่งเสริมให้
ชุมชนจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ โดยการแนะนาและเป็นพี่เลี้ยงให้ พร้อมทั้งดูแลคัดกรองภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ และ
สร้างนวัตกรรมเพื่อการดูแลต่อเนื่อง โดยกาหนดให้ผู้สูงอายุมาทากิจกรรม สัปดาห์ละ 3 วัน ในวันพุธ พฤหัสบดี
และวันศุกร์ มีค่าบริการอัตราปีละ 500 บาท คณะได้ให้นักศึกษาพยาบาล ในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ
สร้างเสริมสุขภาพ มาจัดกิจกรรมการออกกาลังกาย กิจกรรมนันทนาการ รวมทั้งการให้ความรู้ เช่น โควิด -19
นอกจากเป็ นที่ฝึ กปฎิบั ติข องนัก ศึก ษาพยาบาลแล้ ว ยั งเป็ นที่ ฝึก ให้ กั บนัก ศึก ษา คณะแพทยศาสตร์ ทั น ต
แพทยศาสตร์ เภสั ชศาสตร์ และคณะอุ ตสาหกรรมเกษตร อีกด้วย โดยในช่ วงแรกทีมอาจารย์พยาบาลสอน
กิจกรรมให้กับสมาชิกผู้สูงอายุในการทากิจกรรมต่างๆ ปัจจุบัน ผู้สูงอายุ จะเป็นผู้นากิจกรรมต่าง ๆ ได้เอง และ
ยังได้ไปแนะนากิจกรรมออกกาลังกาย กิจกรรมสันทนาการ ที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เช่น ไทเก็ก ลีลาส ราวง
ให้กับชุมชมใกล้เคียง เช่น ที่ตาบลฉลุง อ.หาดใหญ่ บ้านวังพา ตาบลทุ่งตาเสา อ.หาดใหญ่ รวมทั้งได้ร่วมจัดตั้ง
ชมรมผู้สูงอายุ สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมของศูนย์สง่ เสริมสภาพและฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ ได้รับการประเมินภาวะ
สุขภาพในด้านดัชนีมวลกาย ความดันโลหิต ไขมันในร่างกาย โรคประจาตัว การคัดกรองภาวะสมองเสื่อม การ
ประเมินความเสี่ยงต่อการหกล้ม ทดสอบการทรงตัว พบว่า สมาชิกของศูนย์ส่งเสริมสุ ขภาพและฟื้นฟูสภาพ
ผู้สู งอายุ จานวน 50 คน แผนการดาเนินกิ จกรรมการดู แลต่อเนื่องของศูนย์ส่งเสริมสุ ขภาพและฟื้นฟูสภาพ
ผู้สูงอายุว่า จะมีการประเมินภาวะสุขภาพสมาชิกศูนย์และจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่มีความเฉพาะกับปัญหา
สุขภาพของผู้สูงอายุแต่ละคนอย่างต่อเนื่อง การนาครอบครัวผู้สูงอายุมามีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อการ
ดูแลต่อเนื่องจากคณะพยาบาลศาสตร์ไปสู่บ้าน เช่น ร่วมฝึกสมองผู้สูงอายุเพื่อป้องกันสมองเสื่อม ออกกาลังกาย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 25 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -25-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนิ นงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เพื่อเสริมความแข็งแรงป้องกันการหกล้ม การทาฐานข้อมูลผู้สูงอายุและการปักหมุดที่อยู่ของผู้สูงอายุใน Google


Map เพื่อความสะดวกในการเยี่ยมบ้าน และพัฒนา Telehealth เป็นแพลตฟอร์มระบบดูแลสุขภาพผู้สูงอายุจาก
ศูนย์ไปถึงบ้าน และจะขยายให้ครอบคลุมพืน้ ที่จังหวัดสงขลา
3.5 โรงพยาบาลสั ตว์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น 1 ใน 4 หน่ว ยงานภายในของคณะ
สัตวแพทยศาสตร์ที่จัดอยู่ในกลุ่มงานวิจัย นวัตกรรม และพันธกิจเพื่อสังคม ที่ให้บริการทางด้านวิชาชีพแก่
ชุมชน ได้เริ่มเปิดทาการในปลายปี 2558 ขณะนีม้ ีสถานที่ตั้ง 2 แห่งคือ โรงพยาบาลสัตว์ (อาคารจุฬาภรณกา
รุณยรักษ์) เน้นให้บริการสัตว์เลีย้ งเป็นเพื่อน เช่น สุนัข แมว สัตว์ปีก สัตว์นา้ สัตว์พิเศษ เช่น กระต่าย นก ฯลฯ
และ โรงพยาบาลปศุสัตว์ พืน้ ที่สว่ นขยายตาบลทุง่ ใหญ่ ให้บริการประเภทปศุสัตว์ เช่น โค สุกร แพะ ม้า โดยมี
ผลงานที่สาคัญ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561-2563 ดังนี้
1) จัดตั้งคลินกิ เฉพาะทาง ปี 2561 คณะได้เริ่มการเปิดคลินิกเฉพาะทาง เช่น คลินิกระบบสืบพันธุ์
คลินกิ เวชศาสตร์ฟื้นฟู ปัจจุบันคณะมีบุคลากรที่ทยอยจบการศึกษาจากในและต่างประเทศ ทาให้สามารถเปิด
คลินิกเฉพาะทางด้านต่าง ๆ ได้แก่ คลินิกระบบสืบพันธุ์ คลินิกโรคตา คลินิกสั ตว์พิ เศษและสั ตว์ป่า คลินิก
โรคหัวใจ คลินิกเวชศาสตร์ฟื้นฟู คลินิกฉุกเฉินและสัตว์วิกฤต คลินิกกระดูกและข้อ และ ธนาคารเลือด ทาให้
สามารถแก้ปัญหาสัตว์เลีย้ งเชิงลึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการดาเนินการ ดังนี้
1.1) คลินกิ ระบบสืบพันธุ์ ช่วยแก้ปัญหาเรื่องการผสมติดยากในสัตว์เล็ก เช่น หาวันตกไข่และทานาย
วันคลอด ผสมเทียมผ่านกล้องและตรวจการตั้งท้อง และเพิ่มประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ในสัตว์ใหญ่ ทาให้สัตว์
ขยายพันธุ์เพิ่มขนาดฝูงได้เร็วขึน้ ช่วยเหลือการคลอดยาก ซึ่งองค์ความรู้ทางด้านนีจ้ ะทาให้การเลี้ยงสัตว์สามารถ
เพิ่มผลผลิตได้จานวนมากในระยะเวลาที่ลดลง โดยเฉพาะในสัตว์บริโภค จะทาให้ตอบสนองต่อนโยบายด้าน
การเกษตรด้านความมั่นคงทางอาหาร
1.2) คลินกิ โรคตา ปัจจุบันสัตว์เลี้ยงมีอายุยืนยาวขึ้น ทาให้มีสัตว์ที่มีปัญหาโรคตามากขึ้น โรคตา
เป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในสัตว์และบางโรคจะใช้ระยะเวลาในการรักษาค่ อนข้างนาน หรือบางโรคก็อาจจะไม่
สามารถที่จะรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นการรักษาและการดูแลโรคตาที่ถูกต้องจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งแก่การใช้
ชีวิตของสัตว์ โดยอาการโรคตาที่พบได้บ่อยได้แก่ สภาวะตาแห้ง ตาอักเสบ ต้อหิน ต้อกระจก ซึ่งบางโรคสามารถ
ที่จะเกิดได้จากหลาย ๆ สภาวะ ทาให้การรักษาจะต้องมีความซับซ้อนมากขึน้
1.3) คลินกิ สัตว์พิเศษและสัตว์ป่า (Exotic Pet and wildlife) เนื่องจากปัจจุบันลักษณะการใช้ชีวิตของ
ผู้คนที่เปลี่ยนแปลงไป ทาให้การเลีย้ งสัตว์ในกลุ่มสัตว์พิเศษ (exotic pet) ได้รับความนิยมเพิ่มขึน้ เช่น นก กระต่าย
กิ้งก่าอีกัวน่า เม่นแคระ งู จระเข้ เป็นต้น นอกจากนี้ยังร่วมกับทางสวนสัตว์สงขลาในการดาเนินการรักษาสัตว์
ป่วย ตามที่ทางสวนสัตว์ขอความอนุเคราะห์ เช่น ผ่าตัดเสือ ผ่าตัดอุรังอุตัง ผ่าตัดก้อนเนื้อในหมีหมา เป็นต้น
1.4) คลินิกโรคหัวใจ ทาอั ลตร้าซาวนด์หั วใจ (Echocardiography) ซึ่งเป็ นรพส ที่มีความพร้อม
ทางด้านวินจิ ฉัยและเครื่องมือในการรักษาโรคที่พร้อมที่สุดในภาคใต้
1.5) คลิ นิ ก เวชศาสตร์ ฟื้ น ฟู ปั จ จุ บั น การรั ก ษาทางเลื อ กมี ความส าคั ญ มากขึ้ นในการเพิ่ ม
ประสิทธิภาพทางการรักษาสัตว์นอกเหนือจากการรักษาทางอายุรกรรมและศัลยกรรม ซึ่งเวชศาสตร์ฟื้นฟูก็เป็น
หนึ่งในการรักษาทางเลือกที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น ทางโรงพยาบาลสัตว์พบว่าสัตว์ป่วยหลายรายมีโอกาสที่

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 26 -


-26- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

อาการจะดีขึน้ ได้จากการทาเวชศาสตร์ฟื้นฟู จึงได้เปิดหน่วยทากายภาพสัตว์ป่วยเพื่อการรักษา เช่น ทาเลเซอร์


เพื่อการรั กษาแผลและบรรเทาอาการปวด ทากายภาพฟื้นฟู สุ ขภาพสั ตว์หลั งผ่าตัด ทากายภาพฟื้นฟู ระบบ
ประสาท ลู่วิ่งใต้นา้ และฝังเข็ม
1.6) คลินกิ ฉุกเฉินและวิกฤต เนื่องจากโรงพยาบาลมีความพร้อมทั้งด้านเครื่องมืออุปกรณ์ช่วยชีวิต
และมีบุคลากรเฉพาะทาง ทาให้สามารถช่วยชีวิตสัตว์ได้ทันต่อเหตุการณ์ ลดอัตราการเสียชีวิตของสัตว์ได้
1.7) ธนาคารเลือด โรงพยาบาลสัตว์ตระหนักถึงความสาคัญในด้านการรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การรักษาสัตว์ป่วยที่มีภาวะวิกฤต ส่วนใหญ่แล้วสัตว์ที่มีสภาวะวิกฤตมักจะมีภาวะร่างกายขาดเลือดร่วมด้วย เช่น
อุบัติเหตุรุนแรงที่ทาให้เกิดการสูญเสียเลือดในบริมาณมากอย่างฉับพลัน, โรคเรื้อรังที่ทาให้การสร้างเม็ดเลือด
ผิดปกติ โรคที่ทาให้เกิดการทาลายเม็ดเลือด การผ่าตัดที่ทาให้เกิดการเสียเลือดในปริมาณมาก เป็นต้น สภาวะ
เหล่านีห้ ากไม่ได้รับการแก้ไขโดยการถ่ายเลือดจะมีผลทาให้สภาวะของสัตว์ป่วยแย่ลง ทางโรงพยาบาลสัตว์จึงได้
จัดตั้งหน่วยธนาคารเลือดขึน้ เพื่อที่จะแก้ไขสภาวะสูญเสียเลือดดังกล่าว ซึ่งการให้บริการธนาคารเลือด สามารถ
ลดสภาวะวิกฤตของสัตว์ป่วยที่อยู่ในสภาวะขาดเลือด และทาให้ความสาเร็จของการรักษาเพิ่มขึน้ โอกาสรอดของ
สัตว์ป่วยก็เพิ่มขึน้
1.8) คลินกิ กระดูกและข้อ โรงพยาบาลสัตว์เริ่มมีผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ ซึ่งในอนาคตจะมีการพัฒนาการ
รักษาโรคที่เกี่ยวกับการเสื่อมสภาพของโครงสร้างร่างกาย
2) โรงพยาบาลปศุสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์มีโรงพยาบาลปศุสัตว์เพื่อทาการรักษาสัตว์ประเภท โค
สุกร แพะ ม้า แบบครบวงจร ซึ่งมีทั้งบริการตรวจรักษา วินจิ ฉัยโรค พร้อมทั้งอาคารที่พักสาหรับสัตว์ป่วย รวมทั้ง
บริการรถคลินกิ เคลื่อนที่ สัตว์ป่วยที่เข้ามารักษาส่วนใหญ่จะเป็นโคชนซึ่งเป็นสัตว์เศรษฐกิจของภาคใต้ นอกจากนี้
โรงพยาบาลปศุสั ตว์ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษาระดับชั้นคลินิกเพื่อได้ฝึกปฏิบัติงานจริง และในอนาคต
โรงพยาบาลปศุสัตว์ มีแผนที่จะจัดทาโรงเรือนสัตว์ปีกและสัตว์นา้ เพื่อรองรับการบริการชุมชน การเรียนการสอน
และการทาวิจัย อย่างไรก็ตาม ในปี 2563 คณะสัตวแพทยศาสตร์ จะมีบัณฑิตสาเร็จการศึกษาเป็นรุ่นแรก อาจจะ
ทาให้แก้ปัญหาความขาดแคลนสัตวแพทย์ปศุสัตว์เนื่องจากมีการลาออกบ่อย และจะทาให้คณะสามารถวางแผน
เชิงรุกในการเพิ่มลูกค้าในอนาคต
3) โครงการให้บริการวิชาการ คณะมีบริการวิชาการ 2 ลักษณะ คือ
3.1 ศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง เป็นการบริการวิชาการโดยสัตวแพทย์ในพืน้ ที่ ปีละ 2 ครั้ง
3.2 การให้บริก ารวิช าการเชิ งรุ ก โดยการให้ บริ การวิ ชาการเชิ งรุ ก ในการเข้า ถึ งชุ ม ชน ให้แก่
เกษตรกร/ผู้เลีย้ งสัตว์ในพืน้ ที่ ตามโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการสัตวแพทย์พระราชทาน โครงการสัตว์ปลอดโรค
คนปลอดภัยตามพระปณิธานของพระเจ้าน้องนางเธอฯ (จากโรคพิษสุนัขบ้า) โครงการคลินิกสัตวแพทย์เคลื่อนที่
ดูแลสุขภาพสัตว์ชนิดต่าง ๆ ในจังหวัดใกล้เคียง โครงการแก้ปัญหาสุนัข แมวจรจัด ในปี 2563 ในพื้นที่ อ.รัตภูมิ
ได้เริ่มโครงการเลีย้ งโคนม คณะได้ให้บริการวิชาการควบคู่ไปกับงานวิจัย
4) ศูนย์ชันสูตรโรคสัตว์ ปี 2562 คณะได้เตรียมการเปิดบริการหน่วยชันสูตรโรคสัตว์อย่างไม่เป็นทางการ
ปัจจุบันสามารถให้บริการ ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยา พยาธิวิทยา (ชันสูตรซากและจุลพยาธิวิทยา) ภูมิคุ้มกันวิทยา
จุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา ชีววิทยาโมเลกุล สูติศาสตร์ และการตรวจเพศนก ซึ่งได้มีเกษตรกรเข้ารับบริการตรวจเพศ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 27 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -27-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

นกเพิ่มมากขึน้ อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากในนกบางสายพันธุ์ไม่สามารถที่จะระบุเพศจากลักษณะภายนอกได้ การตรวจ


เพศนกจึงมีความจาเป็นมากในนกแก้วกลุ่ม มาคอว์ และซันคอนัวร์ การตรวจเพศนกนี้เป็นการตรวจระดับ DNA โดย
โรงพยาบาลจะทาการตรวจเพศนกจากตัวอย่างเลือด และ ขน นอกจากนี้ ศูนย์ชันสูตรโรคสัตว์ ได้เปิดห้องปฏิบัติการ
วิเคราะห์หาโรคในกลุ่มนกแก้ว เช่น Psittacine Beak and Feather Disease (PBFD), Proventricular Dilatation Disease
(PDD) เป็นต้น ซึ่งทั้งสองโรคนี้เป็นโรคระบาดที่ก่อให้เกิดความสูญเสียในนก เดิมการตรวจโรค PBFD และโรค PDD
จะต้องเป็นการส่งตรวจยังห้องปฏิบัติการที่กรุงเทพมหานคร ดังนั้นการที่โรงพยาบาลสัตว์ร่วมกับศูนย์ชันสูตรในการ
ตรวจดังกล่าว จึงเป็นการเพิ่มความสะดวกในการตรวจแก่เจ้าของสัตว์ ประหยัดค่าใช้จ่าย และยังเป็นข้อมูลสาหรับ
สัตวแพทย์ในการประเมินสภาวะสัตว์ และหาแนวทางรักษาสัตว์ได้ดียิ่งขึน้

4. บทบาทการสร้างคนให้เป็นคนดีของสังคมรู้จักแสวงหาความรู้
4.1 ด้านการพัฒนาหลักสูตร
1) การจัดทาหลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (OBE) มหาวิทยาลัยใช้ Outcome Based Education
ซึ่งเป็นเกณฑ์คุณภาพอาเซียน AUNQA ที่มหาวิทยาลัยเลือกประเมินคุณภาพหลักสูตร เป็นแนวทางในการ
พั ฒ นาหลั ก สู ตร โดยก าหนดให้ทุก หลั ก สู ตรต้อ งปรั บปรุ งหลั ก สู ตรใหม่เน้นผลลั พธ์ก ารเรียนรู้ ( Learning
Outcome) ทัก ษะที่หลั กสูตรจะให้เกิด กับนักศึกษา ออกแบบรายวิช าและการจั ดการเรียนการสอนเพื่อให้
เกิดผลลัพธ์ตามที่ตงั้ ไว้ กาหนดให้ทุกหลักสูตรดาเนินการปรับปรุงทันทีโดยไม่ต้องรอครบรอบการปรับปรุง 5
ปี ปั จ จุ บัน มี หลั ก สู ตรใหม่/ หลั ก สู ตรที่ครบรอบปรั บปรุ งตาม OBE ปีก ารศึก ษา 2562-2564 รวม 106
หลักสูตร (ร้อยละ 35.8) ข้อมูล ณ 29 กันยายน 2563 โดยกาหนดเป็นนโยบายให้ทุกหลักสูตรที่ปรับปรุง/
หลักสูตรใหม่ ออกแบบการเรียนการสอน เป็นชุดวิชา (Module) แทนการสอนเป็นรายวิชา เน้นการสอนที่เป็น
Active learning และการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง (WIL) และสหกิจศึกษา
- การจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ Active learning โดยให้ทุกรายวิชาที่เปิดสอนลดการสอน
เดิมจากการบรรยาย 100 % (Teacher Centre) เป็นการสอนบรรยายไม่เกิน 50 % ที่เหลือให้เป็นการสอนโดย
ใช้ วิธีหรือ กิ จกรรมที่ใ ห้นักศึก ษามีส่ว นร่ว ม (Student Centre) โต้ตอบ แสดงความคิดเห็น การใช้โ จทย์/
โครงงานวิจัยเป็นฐานหรือฝึกปฏิบัติจากสถานการณ์จริง สถานประกอบการจริง (WIL) ได้อย่างหลากหลายวิธี
- สหกิจศึกษา/WIL มหาวิทยาลัยกาหนดเป็นนโยบายให้ทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนโดย
มุ่งเน้นการปฏิบัติงานจริงในสถานที่จริง โจทย์ปัญหาจริง ในรูปแบบสหกิจศึกษาหรือรูปแบบอื่นของ WIL โดยให้
สอดคล้องกับการพัฒนาชุดวิชาในลักษณะ Non-degree เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning)
บริบทของแต่ละวิ ทยาเขตอย่ างเป็ นอิส ระ โดยมีส่ วนกลางทาหน้าที่ ติดต่ อประสานงาน อ านวยสะดวก ให้
คาปรึกษา และร่วมแก้ปัญหากับผู้ปฏิบัติงาน และสถานประกอบการ ผลดาเนินงานสหกิจศึกษา ปีการศึกษา
2562 (สิงหาคม 2562 - กรกฎาคม 2563) พบว่า จำนวนหลักสูตร ที่จัดให้มีรายวิชาสหกิจศึกษา ร้อยละ 71.72
(ไม่รวมหลักสูตรวิทยาศาสตร์สุขภาพ) และมี 2 หลักสูตรที่จัดรายวิชาสหกิจศึกษาเป็นรายวิชาบังคับ (รัฐศาสตร์
และสถาปัตยกรรมศาสตร์) จำนวนนักศึกษำ มีนักศึกษาสหกิจศึกษาทั้งสิ้น 1,690 คน (เพิ่มขึ้นจากปี 2561 ร้อย
ละ 15.75 คิดเป็น ร้อยละ 31.93 ของนักศึกษาในชั้นปีที่ 4 ที่เลือกเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา ในจานวนนี้เป็นสหกิจ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 28


-
-28- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ศึกษาในประเทศร้อยละ 96.4 และสหกิ จศึกษาต่างประเทศร้อยละ 3.6 จำนวนสถำนประกอบกำร มีสถาน


ประกอบการเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษารวมทั้งสิน้ 1,087 แห่ง (ในประเทศ 1,056 แห่ง เพิ่มจากปี 2561 ร้อยละ
24.82 และต่างประเทศ 31 แห่ง เพิ่มขึน้ ร้อยละ 14.81) โดยเฉลี่ยสถานประกอบการ 1 แห่งรับนักศึกษาออกปฏิบัติ
สหกิจศึกษาได้ 1.6 คน จำนวนคณำจำรย์นเิ ทศ มีอาจารยผู้ผ่านการอบรมอาจารย์นิเทศและออกนิเทศนักศึกษา
ทั้งสิน้ 377 คน โดยเฉล่ียทั้งมหาวิทยาลัย อาจารย์นเิ ทศสหกิจศึกษา 1 คน ดูแลนักศึกษา 4.5 คน ทุกวิทยาเขตมี
สัดส่วนอาจารย์ 1 คนดูแลนักศึกษามากกว่า 10 คน ยกเว้นวิทยาเขตหาดใหญ่ที่ มีสัดส่วนเพียง 1: 2.6 จำนวน
MOU มหาวิทยาลั ยขอความร่วมมือให้ทุกคณะทุ กวิทยาเขตจั ดทาความร่วมมืออย่างเป็ นทางการกั บสถาน
ประกอบการที่รับนักศึกษาออกปฏิบัติสหกิจศึกษา มีจานวน MOU เพิม่ ขึ้นจากปี 2561 รวม 13 แห่ง (ในประเทศ
10 แห่งและต่างประเทศ 3 แห่ง) ควำมพึงพอใจของผู้ประกอบกำรต่อกำรดำเนินงำนสหกิจศึกษำ พบว่า ระดับ
ความพึงพอใจของสถานประกอบการต่อนักศึกษาที่ ออกปฏิบัติสหกิจศึกษา ร้อยละ 83.5 ความพึงพอใจต่อ
คณาจารย์นิเทศร้อยละ 87.0 และความพึงพอใจในการติดต่อประสานงานของหลักสูตรร้อยละ 83.5 ชื่นชอบ
นักศึกษาด้านการปรับตัวเข้ากับเพื่อนร่วมงาน และมีข้อเสนอแนะในเรื่องหลักสูตรควรเพิ่มทักษะให้นักศึกษาใน
เรือ่ ง 1) การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐาน 2) ทักษะการคิดออกแบบสร้างสรรค์ 3) การกล้าแสดงออก และ 4)
การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า และเสนอแนะการทางานของเจ้าหน้าที่ ประสานงานของหลั กสู ตรว่าควรปรั บการ
ประสานงานให้รวดเร็วทันการมากขึ้ น และให้นักศึกษาเลือกทางานกับสถานประกอบการที่ สนใจจริง และให้
ความสาคัญกับประสบการณ์ที่ได้รับมากกว่าค่าตอบแทน ควำมพึงพอใจของนักศึกษำต่อกำรออกปฏิบัติสหกิจ
ศึกษำ พบว่า นักศึกษาพึงพอใจกับการทางานของอาจารย์พี่เลี้ยงในสถานประกอบการและเจ้าหน้าที่ในระดับดี
และมีข้อคิดเห็นว่า นักศึกษาได้รับประโยชน์อย่างมาก ได้เรียนรู้ชี วิตท างานประยุ กต์ใช้ ความรู้และมีความ
รับผิดชอบมากขึน้ ได้เรียนรู้ว่าความรู้ในห้องเรียนไม่เพียงพอกับการใช้ชีวิตและไม่สามารถใช้ได้ในสถานการณ์จริง
จึงเสนอแนะว่า อยากให้นักศึกษาทุกคนได้ออกปฏิบัติสหกิจศึกษา หลักสูตรควรส่งนักศึกษาไปทางานที่ตรงสาขา
และคัดเลือกสถานประกอบการที่มีความเข้าใจสหกิจศึกษาอย่างแท้จริงและอยากให้หลักสูตรหาทุนให้ได้ไปสหกิจ
ศึกษาที่ตา่ งประเทศ
2) การพัฒนาชุดวิชาในลักษณะ Non-Degree เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning)
มหาวิทยาลัยกาหนดเป็นนโยบายให้หลักสูตรที่ปรับตามแนวทาง OBE ออกแบบการเรียนการสอน
เป็นชุดวิชา (Module) บูรณาการความรู้ที่เสร็จสมบูรณ์ในตัว มีผลลัพธ์การเรียนรู้และแสดงทักษะที่จะได้รับ
ชัดเจน แทนการจัดเป็นรายวิชา เพื่อเป็นการบูรณาการเชื่อมโยงองค์ความรู้ และเพื่อเปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไป
ลงทะเบียนเรียนได้ตามความสนใจเป็นเรื่อง ๆ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ( Life Long Learning) เพื่อ
Up-Skill, Re-Skill ในลักษณะ Non-Degree ผู้เรียนจะได้รับประกาศนียบัตร และสามารถเก็บสะสมหน่วยกิ ต
ไว้ในระบบคลังหน่วยกิต (Credit Bank) ของมหาวิทยาลัย ผลการดาเนินงาน
- การพัฒนาชุดวิชา (Module) ในหลักสูตรที่ผ่านคณะกรรมการนโยบายวิชาการแล้ว (ข้อมูล ณ
8 ตุลาคม 2563 ) มีการจัดการเรียนการสอนโดยพัฒนาเป็นชุดวิชา (Module) แทนการสอนแบบรายวิชา รวม
183 ชุดวิชา กระจายในทุกวิทยาเขต ในจานวนนี้หลักสูตรระบุว่าสามารถนาไปเปิดให้บุคคลทั่วไปลงทะเบียน
เรียน เพือ่ การ Up-Skill/Re-Skill และเก็บสะสมในระบบคลังหน่วยกิตได้ จานวน 97 ชุดวิชา

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 29 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -29-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

- การพัฒนาชุดวิชา (Module) ที่ไม่ได้อยู่ในหลักสูตร :


(1) พัฒนาตามเป้าหมายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม เพื่อให้
ผู้สนใจทั่วไปเลือกเรียน เพื่อ Up-Skill, Re-Skill, New-Skill เป็นหลักสูตรประกาศนียบัตร ต่ากว่าระดับปริญญา
(Non-Degree) เพือ่ ยกระดับพัฒนาทักษะกาลังคนของประเทศ และได้รับทุนสนับสนุน จานวน 6 หลักสูตร ได้แก่
1) โครงการเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพภาคใต้ดว้ ยวิทยาการข้อมูล (คณะ
วิทยาศาสตร์) หลักสูตรพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) 2) โครงการสร้างนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลมืออาชีพ Going Pro to
Data Scientist (คณะวิทยาศาสตร์) หลักสูตรพันธุ์ใหม่ (Non-Degree) 3) การเขียนโปรแกรมทางด้าน Model Based
Design, Embedded System Design และ Image Processing (คณะวิศวกรรมศาสตร์) หลักสูตรพันธุ์ใหม่ (Non-
Degree) 4) การเขียนโปรแกรมควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม (PLC) (คณะวิศวกรรมศาสตร์) หลักสูตร
พันธุ์ใหม่ (Non-Degree) 5) หลักสูตรผู้ประกอบการอาชีพด้านการดูแลผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ ภายใต้โครงการ อว.
สร้างงาน เฟส 2 (COVID-19) (คณะพยาบาลศาสตร์ วข. หาดใหญ่) หลักสูตรฝึกอบรมและจ้างงาน 3 เดือน 6)
หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงภายใต้โครงการพัฒนาทักษะกาลังคนของประเทศ เพื่อการมีงานทาและ
เตรียมความพร้อมรองรับการทางานในอนาคต (คณะพยาบาลศาสตร์ วข. หาดใหญ่) หลักสูตรประกาศนียบัตร
(Non-Degree) Care Giver 3 เดือน (New-Skill)
(2) ชุดวิชาที่ไม่ได้ขอรับทุนสนับสนุนแต่เปิดให้ผู้สนใจทั่วไปลงทะเบียนได้ ในปีการศึกษา 2563
จานวน 7 หลักสูตร จาแนกเป็นวิทยาเขตหาดใหญ่ 5 หลักสูตร ได้แก่ ชุดวิชาพลังงานและสิ่งแวดล้อม (คณะการ
จัดการสิ่งแวดล้อม เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการพลังงานอย่างยั่งยืน
(หลักสูตรนานาชาติ)) ชุดวิชาโภชนศาสตร์สัตว์เพื่อการประกอบสูตรอาหารและชุดวิชาการขยายพันธุ์พืชและการ
ปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน (คณะทรัพยากรธรรมชาติ : ไม่อยู่ในหลักสูตร Degree) ชุดวิชาการตัดสินใจและการวิเคราะห์
ข้อมูลและชุดวิชาปัญญาประดิษฐ์และการเรียนรู้ของเครื่อง (คณะวิทยาศาสตร์ : ไม่อยู่ในหลักสูตร Degree) และ
วิทยาเขตปัตตานี 2 หลักสูตร ได้แก่ ชุดวิชาการผลิตผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติกและชุดวิชาการทดสอบและ
วิเคราะห์พอลิเมอร์ (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยีพอลิเมอร์)
(3) ชุดวิชาที่แจ้งความประสงค์ที่จะเปิดสอน 16 หลักสูตร ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์ (ชุดวิชา
นักวิทยาศาสตร์ข้อมูลมืออาชีพ (Going Pro to Data Scientist) ชุดวิชาการยกระดับผลิตภาพของอุตสาหกรรม
เกษตรและเทคโนโลยี ชี ว ภาพด้ ว ย Lean/Six-Sigma และชุ ด วิ ช าวิ ทยาการข้ อ มู ล ทางการแพทย์ (Medical
Informatics Analyst)) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ชุ ดวิชาวิทยาการข้อมู ลทางการเกษตร
(Agricultural Data Science)) คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ชุดวิชาการเขียนโปรแกรมทางด้าน Model Based Design,
Embedded System Design และ Image Processing สาหรับอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ และชุดวิชาสมรรถนะ
ทางด้านยานยนต์ไฟฟ้าสมัยใหม่) คณะศิลปศาสตร์ (ชุดวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและการบริการ ชุดวิชา
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมวลชน ชุดวิชาการจัดบริการอาหารและเครื่องดื่มสาหรับครัวการบิน ชุดวิชาการ
ออกบัตรโดยสารทางเครื่องบิน ชุดวิชาความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉินทางการบิน ชุดวิชานิรภัยทางการบิน ชุด
วิชามนุษย์ปัจจัยทางด้านการบิน ชุดวิชาการจัดการคลังสินค้าและวั ตถุอั นตราย และชุดวิชาภาษาจีนสาหรั บ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 30


-
-30- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว) คณะการบริการและการท่องเที่ยว (ชุดวิชาการดาเนินงานบริการภาคพื้นดินของ


สนามบิน)
3) การพั ฒนาหลั กสูตรปริญญาโทเพื่อตอบโจทย์ภาคอุ ตสาหกรรม Hi-FI (Higher Education for
Industry)
เป็นหลักสูตรระดับ บัณฑิ ตศึกษาที่รับผู้จบการศึก ษาระดับปริญญาตรี เพื่อปฏิบัติงานเต็มเวลาใน
สถานประกอบการเป็ น ระยะเวลา 2 ปี กั บ สถานประกอบการที่ มี ค วามต้ อ งการพั ฒ นาหรื อ ปรั บ ปรุ ง
กระบวนการผลิต ทดสอบและวิจัยนวัตกรรมใหม่ ๆ โดยการออกแบบรายวิชาในการเรียนการสอนตามความ
ต้อ งการของบริษัทและด าเนินการจั ด การเรียนการสอน ณ สถานที่ ทางานของนัก ศึก ษา นัก ศึก ษาเข้า สู่
อุตสาหกรรม โดยทางานควบคู่กับการเรียน เริ่มดาเนินการปีการศึกษา 2563 จานวน 6 หลักสูตร ได้แก่
(1) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร
หลักสูตรปรับปรุงปี 2563 คณะอุตสาหกรรมเกษตร (ยังไม่มีนักศึกษาในโครงการ) สถานประกอบการที่ร่วม
ผลิต ได้แก่ บริษัท โออิชิ เทรดดิ้ง จากัด บริษัท เบทาโกร จากัด (มหาชน) บริษัท เซาท์เทิร์น แดรี จากัด และ
องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย
(2) หลั กสู ตรวิทยาศาสตรมหาบั ณฑิต สาขาเคมีประยุกต์ หลั กสู ตรปรั บปรุ งปี 2563 คณะ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2 คน) สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท โชติวัฒน์อุตสาหกรรมการผลิต
บริษัท ท๊อปโกลส เทคโนโลยี
(3) หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เพื่ออุตสาหกรรม หลักสูตรใหม่ปี
2563 คณะวิทยาศาสตร์ (6 คน) สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท ที.ซี.กรุ๊ป จากัด (1 คน) บริษัท
พัทลุงพาราเท็กซ์ จากัด (1 คน) บริษัท ไบโอแอ็กซ์เซล จากัด (1 คน) บริษัท อีเกิ้ลครีม จากัด (1 คน) บริษัท เอ
เอฟ อินโนเวชั่น จากัด (2 คน)
(4) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า หลักสูตรปรับปรุง 2559
คณะวิศวกรรมศาสตร์ (1 คน) สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท อินเตอร์เน็ต ประเทศไทย จากั ด
(มหาชน)
(5) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง
2560 คณะวิศวกรรมศาสตร์ (1 คน) สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท วนาวัฒน์วัสดุ จากัด
(6) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ หลักสูตร
ปรับปรุง 2560 คณะวิศวกรรมศาสตร์ (1 คน) สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท วนาวัฒน์วัสดุ จากัด
4) การพัฒนาหลักสูตรที่ตอบสนองอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-Curve
ยุทธศาสตร์ข องรั ฐบาลในการกาหนด 10 อุ ตสาหกรรมเป้า หมาย (S-Curve) มีความหมายถึ ง
อุตสาหกรรมที่มีกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต แบ่งเป็น 5 อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพในการต่อยอด
(First S-Curve) ได้แก่ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ส มั ยใหม่ (Next-Generation Automotive) อุ ตสาหกรรม
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดี และการท่องเที่ยวเชิง
สุข ภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) อุ ตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชี ว ภาพ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 31 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -31-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

(Agriculture and Biotechnology) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future) และ 5 อุตสาหกรรม
อนาคต (New S-Curve) ได้แก่ หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม (Robotics), อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติก ส์
(Aviation and Logistics), อุ ตสาหกรรมเชื้อเพลิงชี วภาพและเคมีชี วภาพ (Biofuels and Biochemicals),
อุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital), อุตสาหกรรมการแพยท์ครบวงจร (Medical Hub) มหาวิทยาลัยดาเนินงานรวม
8 หลักสูตร (ปีการศึกษา 2563 จานวน 6 หลักสูตร ปีการศึกษา 2564 จานวน 2 หลักสูตร) ได้แก่
(1) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ หลักสูตรใหม่ ปี 2564
คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท มอร์ คอร์ปอเรชั่น จากัด บริษัท โอ เอส ดี จากัด
(2)หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเมคาทรอนิกส์ หลักสูตรปรับปรุง ปี
2564 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท สยามมิชลิน จากัด บริษัท มิตซูบิชิ
อิเล็คทริคแฟคทอรี ออโตเมชั่น ประเทศไทย จากัด บริษทั ทรู คอเปอเรชั่น จากัด (มหาชน)
(3) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบินและการบริการ
หลัก สูต รใหม่ ปี 2563 คณะศิลปศาสตร์ สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท ไทยไฟลท์ เทรนนิ่ ง
จากัด (บริษัทในกากับของ บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน))
(4) หลักสูตรเกษตรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเกษตรและการจัดการ หลักสูตรใหม่
พ.ศ.2563 คณะทรัพยากรธรรมชาติ สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท วาย. วี. พี. เฟอร์ตไิ ลเซอร์ จากัด
บริษัท ศรีตรั งรั บเบอร์ แอนด์แพลนเทชั่ น จากั ด สถานประกอบการด้านพืช เช่ น บริษัท ซี พี ออลล์ จากั ด
(มหาชน) สถานประกอบการด้านการแปรรูปสินค้าเกษตร
(5).หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการข้อมูล และหลักสูตรปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการข้อมูล หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563 คณะวิทยาศาสตร์ สถานประกอบการที่ร่วมผลิต
ได้แก่ บริษัท มิตรผล จากัด บริษัท MFEC จากัด และกรมการค้าข้าว
(6) หลักสูตรวิทยาศาสตรบั ณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการจั ดการอุ ตสาหกรรมอาหาร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 (อยู่ระหว่างการปรับปรุงหลักสูตร) คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถานประกอบการที่
ร่วมผลิต ได้แก่ บริษัท โออิชิ จากัด บริษัท หาดทิพย์ จากัด และบริษัท แมนเอโฟรสเซนฟูดส์ จากัด
(7) หลั กสูตรวิทยาศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิชาสื่อสร้างสรรค์และเทคโนโลยีดิจิทัล (หลักสู ตร
นานาชาติ) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 วิทยาลัยนานาชาติ สถานประกอบการที่ร่วมผลิต ได้แก่ 1) Kyungsung
University, Rebublic of Korea 2) Dongseo University, Rebublic of Korea 3) University Telekom SDN.BHD. (as
the registeredowner of Multimedia University, Malaysia) 4) Teesside University, United Kingdom
(8) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว (หลักสูตรนานาชาติ)
หลั ก สู ต รปรั บปรุ งปี 2563 คณะการบริก ารและการท่อ งเที่ ยว สถานประกอบการที่ ร่ว มผลิต ได้แ ก่ 1)
Bangkok Airways Ground Services (BAG) 2) John Grey Sea Canoe 3) Hilton International
5) คลินกิ วิชาการ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ เปิด “คลินิกวิชาการ” ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2563 เพื่ อบริการให้
คาปรึกษาด้านวิชาการ ทุกวันศุกร์ สัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของเดือน ในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ การจัดทาหลักสูตรตาม

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 32 -


-32- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

เกณฑ์ OBE / การบูรณาการข้า มศาสตร์ / การจัดการศึกษาแบบ WIL-สหกิจ ระบบคลังหน่วยกิต (Credit


Bank) การจัดทาชุดวิชา (Module) การเรียนการสอนออนไลน์ การวัดและการประเมินผล การผลิตสื่อการ
เรียนการสอน การเขียนข้อเสนอ Degree หรือ Non Degree เพื่อรับทุน การจัดทาหลักสูตร 2 ปริญญา การ
พัฒนาตนเองเพื่อเข้าสู่เกณฑ์ มาตรฐาน PSU-TPSF (PSU-Teaching Professional Standards Framework)
โดยระหว่างเดือนมิถุนายน – กันยายน 2563 มีผู้เข้าร่วมคลินกิ วิชาการ ทั้งหมด 34 คน
4.2 ด้านการพัฒนา New Learning Platform เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
1) LMS2@PSU เป็น Platform ที่พัฒนาบนฐานของ Small Private Online Course หรือ SPOC เป็น
ระบบที่รองรับการจัดการเรียนการสอนเฉพาะภายในของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้ LMS@PSU
(https://lms2.psu.ac.th) เนือ้ หารายวิชาจะถูกนาขึน้ แขวนบน LMS2@PSU เพือ่ ให้นักศึกษาสามารถเข้าทบทวน
เนือ้ หาวิชาได้ตลอดเวลา ได้ทาการปรับปรุง ประสิทธิภาพด้านซอฟต์แวร์ของระบบ LMS@PSU และได้มีการ
อั พเกรดเครื่ อ งคอมพิว เตอร์แ ม่ข่า ยใหม่ ในรู ปแบบของ Cloud server ปั จจุ บันมีร ายวิ ช าที่อ ยู่บนระบบ
LMS@PSU จานวนทั้งสิน้ 7,468 รายวิชา (วิทยาเขตหาดใหญ่ 5,303 รายวิชา วิทยาเขตปัตตานี 426 รายวิชา
วิทยาเขตภูเก็ต 1,094 รายวิชา วิทยาเขตตรัง 387 รายวิชา วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 258 รายวิชา) มีจานวน
ผู้ใช้งานในระบบทั้งหมด 58,570 คน แยกเป็น อาจารย์ 2,494 คน และนักศึกษา 56,076 คน
2) PSU MOOC เป็น Platform ที่พัฒนาบนฐานของ Massive Open Online Course เป็นระบบเรียน
ออนไลน์ทีม่ หาวิทยาลัยจัดเตรียมขึ้นเพือ่ ให้บุคคลทั่วไปที่สนใจสามารถเข้าเรียนได้ ในระยะต้นเป็นการเรียนฟรี ไม่
มีค่าใช้จ่าย (https://mooc.psu.ac.th) ตามแนวคิดทีว่า “ความรู้สู่สาธารณะ” มีการจั ดอบรมการสร้าง MOOC
เพือ่ ให้ผู้สอนสามารถจัดทาได้ด้วยตนเอง รายวิชาที่พัฒนาแล้วเสร็จในระบบ PSUMOOC ทั้งสิ้น 49 รายวิชา นา
ขึน้ ระบบแล้ว 28 รายวิชา อยู่ระหว่างนาเข้าระบบอีก 21 รายวิชา มีจานวนผู้ใช้งานในระบบ ทั้งหมด 19,111 คน
และได้รับใบประกาศนียบัตร 7,775 คน
3) PSU MySchool เป็น Platform ที่พัฒ นาบนฐานของ Massive Open Online Course มหาวิทยาลัย
พัฒนาขึ้นสาหรับนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (https://mooc.psu.ac.th/psu-myschool/) เพื่อเตรียม
ความพร้อมใน 7 กลุ่ม รายวิชาหลักที่จาเป็น ได้แก่ คณิตศาสตร์ ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
และสังคมศึกษา มีรายวิชาที่พัฒนาแล้วเสร็จในระบบ PSU MySchool 77 หัว ข้อ ใน 7 รายวิชา มีจานวน
ผู้ใช้งานในระบบทั้งหมด 64,348 คน และได้รับใบประกาศนียบัตร 715 คน
4) Platform สาหรับการสอนสดออนไลน์ มหาวิทยาลัยได้จัดซือ้ ลิขสิทธิ์และกาหนดให้ใช้ Micrsosoft
Teams และ Google Meet เป็นโปรแกรมหลักสาหรับการจัดการเรียนการสอนสดออนไลน์ และจัดเตรียม
บุคลากรไว้เพื่อให้คาปรึกษาในกรณีที่อาจารย์ผู้สอนพบปัญหาในด้านของโปรแกรม
5) PSU e-Testing เป็น Platform สาหรับการสอบออนไลน์ จากการปรับรูปแบบการเรียนการสอนในชั้น
เรียนสู่การสอนแบบออนไลน์ เพื่อปรับปรุงให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น มหาวิทยาลั ยจึงได้ พัฒนาระบบส าหรั บการสอบออนไลน์โดยเฉพาะ โดยใช้ ชื่อว่า e-Testing ใช้ สร้าง
แบบทดสอบ ชุดข้อสอบต่าง ๆ (https://etesting.psu.ac.th) สามารถรองรับผู้เรียนเข้าทาการสอบได้พร้อมกันทั้งสิ้น

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 33


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -33-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

จานวน 1,600 คน จานวนรายวิชาที่สอบผ่านระบบ PSU e-Testing รวม 230 รายวิชา และมีนักศึกษาเข้าสอบ


ผ่านระบบดังกล่าว 12,333 คน
4.3 ด้านการพัฒนาอาจารย์
กรอบมาตรฐานสมรรถนะอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (Teaching Professional Standard
Framework : PSU-TPSF) มหาวิทยาลัยได้พัฒนากรอบมาตรฐานของการจัดการเรียนรู้อย่างมืออาชีพ เพื่อใช้เป็น
แนวทางสาหรับการพัฒนาสมรรถนะของการจัดการเรียนการสอน นับเป็นมหาวิทยาลัยแรกที่มีการพัฒนากรอบ
มาตรฐานเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นระบบ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเป็นแผนรายปี แก่คณาจารย์ที่สนใจครอบคลุม
ทุกกิจกรรม ได้แก่ การออกแบบหลักสูตร/รายวิชาที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ การออกแบบการสอน Active learning
รูปแบบต่าง ๆ การวัดประเมินผลรูปแบบต่าง ๆ ทีส่ อดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน การใช้เทคโนโลยี
ในการสอน การสร้างสื่อออนไลน์ นวัตกรรมการสอน WIL สหกิจศึกษา อาจารย์นิเทศสหกิจ ฯลฯ ปีละ 30-40
โครงการ โดยวิทยากรจากทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ผู้ผ่านการประเมินตามกรอบมาตรฐานสมรรถนะ
อาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Teaching Professional Standards Framework: PSU–TPSF) ข้อมูล ณ
วันที่ 30 กันยายน 2563 มีจานวน 302 คน (จาแนกตามสมรรถนะอาจารย์ เป็น ดรุณาจารย์ 231 คน วิชชาจารย์
55 คน สามัตถิยาจารย์ 16 คน) จากทั้งหมด 2,313 คนหรือร้อยละ 13.1 มหาวิทยาลัยได้คัดเลือกกลุ่มอาจารย์
เพื่อพัฒนาเป็นวิทยากรแกนนาของมหาวิทยาลัย (Train the Trainer) โดยสนับสนุนให้เข้ารับอบรมจาก Advance
Higher Education Academy หลั กสูตรการพัฒนาการจั ดการเรียนการสอนของประเทศอั งกฤษ ปั จจุ บัน มี
คณาจารย์ 12 ท่านได้รับการรับรองคุณภาพด้านการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานอาจารย์มืออาชีพ UK
Professional Standards Framework (UKPSF) ระดับ Senior Fellow และผ่านการประเมินมาตรฐานสมรรถนะ
อาจารย์ Teaching Professional Standards Framework (PSU-TPSF) ระดับสามัตถิยาจารย์ (Scholarly Teacher)
นอกจากนี้อาจารย์ของมหาวิทยาลัย ที่มีสมรรถนะตามกรอบ PSU-TPSF ได้รับการคั ดเลือกและได้รับรางวั ล
อาจารย์ต้นแบบ จากสมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย
(ควอท.) 3 ปีตดิ กัน ได้แก่ รองศาสตราจารย์ พญ.จิตเกษม สุวรรณรัฐ, 2561 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ ปาน
รัตน์, 2562 ; ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปาริชาติ มณีมัย, 2563
4.4 การพัฒนาคุณภาพบัณฑิต
1) อัตลักษณ์บัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : PSU Smart Student มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มี
ความพยายามและตั้งใจออกแบบการพัฒนานักศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Development) เพื่อตอบโจทย์
การพัฒนาบัณฑิตที่มีความพร้อมสาหรับโลกแห่งอนาคต หรือ Future-Ready Graduates โดยกระบวนการ
ผลิตบัณฑิตนั้นมีหลายส่วนงานในมหาวิทยาลัยที่ตอ้ งร่วมมือกันทางานสอดประสานกันเพื่อเป้าหมายเดียวกัน
ให้ไ ด้ อย่า งไรก็ ตามการจัด การเรียนการสอนในห้องเรียน ถือ ว่า เป็นภาระหน้า ที่หลั กในการผลิตบั ณฑิ ต
ขณะเดียวกันกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ผ่านการเรียนรู้นอกห้องเรียน ก็เป็นอีกส่วนงานหนึ่งที่ต้องทางานควบคู่
กับการเรียนการสอน ทัง้ นีเ้ พื่อสร้างบัณฑิตที่ตรงกับความต้องการของประเทศและของความเป็นพลเมืองโลก
(Global Citizen) ดังนั้นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้สร้างอัตลักษณ์นักศึกษา (Student Attributes) ของ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 34 -


-34- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

มหาวิทยาลั ยภายใต้ชื่อ PSU Smart Student และขับเคลื่อ นร่ว มกั นทั้ง 5 วิทยาเขต ซึ่งเป็ นกรอบการ
ดาเนินงาน PSU System ที่ต้องการให้ทั้ง 5 วิทยาเขตนาหลักการเดียวกันไปขับเคลื่อน ลดความซ้าซ้อน ใช้
ทรัพยากรร่วมกัน ขณะเดียวกันยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นวิทยาเขตแต่ละแห่งไว้อย่างชัดเจน
ในการดาเนินงาน PSU Smart Student ได้เริ่มการหารือและออกแบบร่วมกัน ระหว่างฝ่า ย
วิชาการและฝ่ายพัฒนานัก ศึกษาของวิทยาเขตปัตตานีเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2562 ภายใต้คณะกรรมการ
บูรณาการระหว่างวิชาการและกิจการนักศึกษา (บวก) พร้อมกับได้กาหนดเป้าหมาย 5Hs และ OKRs ทั้งหมด
17 ข้อ และได้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการวิทยาเขตปัตตานีเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2563
โดยฝ่า ยวิช าการได้นาไปขั บเคลื่อ นร่ว มกั บคณะและหลั กสู ตรต่า ง ๆ กองกิ จการนัก ศึก ษาก็ ได้ด าเนินการ
ร่ว มกั บฝ่า ยกิ จการนัก ศึก ษาของทุ กคณะเพื่อ ให้ก ารทางานสอดคล้อ งกั บ OKRs ที่ไ ด้รับมอบหมายจาก
คณะกรรมการบวก จากนั้นท่านอธิการบดีได้ดาริให้นาประเด็น PSU Smart Student ใช้กับทุกวิทยาเขตตาม
กรอบ PSU System จึงได้บรรจุเป็นวาระการประชุมเชิงปฏิบัติการของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย
(กบม.) ที่จังหวัดเชียงรายเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 และได้เชิญตัวแทนทั้ง 5 วิทยาเขตหารือร่วมกันใน
วัน ที่ 7-8 มกราคม 2564 ที่วิทยาเขตปั ตตานี ซึ่งได้ข้อสรุ ปของ PSU Smart Student และได้กาหนด
เป้าหมาย 5Hs ข้างต้น
หลักการสาคัญของ PSU Smart Student คือ 1) ต้องการสร้างคุณลักษณะของบัณฑิตให้ตรง
หรือใกล้เคียงกับความต้องการตลาดงานในโลกยุคใหม่ ที่จาเป็นต้องมีทั้งทักษะเชิงวิชาชีพ (Professional Skills)
และทักษะสังคม (Soft Skills) เพื่อตอบโจทย์การมีงานทาของบัณฑิต ขณะเดียวกันยังคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ของ
ความเป็ นสงขลานครินทร์ นั่นคือ “ประโยชน์ข องเพื่อ นมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ” 2) เน้นการทางานร่ว มกันเชิ ง
บูรณาการของทุกส่วนงานที่รับผิดชอบในการผลิตบัณฑิต นั่นคือคณะหรือหลักสูตรการเรียนการสอน และ
ส่วนงานที่สนับสนุนการผลิตบัณฑิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งกองพัฒนานักศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยหรือวิทยา
เขต รวมถึงฝ่ายพัฒนานักศึกษาในระดับคณะ ทั้งสองส่วนต้อ งสร้างเป้าหมายในการมองเห็นทิศทางเดียวกัน
เพียงแต่แยกส่ว นภารกิจในการดาเนินงาน มีก ารหารือร่วมกันและเชื่อมโยงการทางานให้ม ากขึ้น ทั้งนี้ใ ห้
เล็งเห็นประโยชน์ของนักศึกษาเป็นประการสาคัญ โดยที่หลักคิดของ PSU Smart Student ต้องสามารถตอบ
โจทย์สมรรถนะหลักของบัณฑิตในโลกศตวรรษที่ 21 (Core Competency) ซึ่งประกอบไปด้วยอย่างน้อย 5
ประการด้วยกัน คือ มีทักษะการคิดวิเคราะห์วิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ และมีความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่
ซั บซ้อ นได้ มีทั ก ษะการคิด เชิ ง นวั ตกรรม และวิธีคิด แบบผู้ประกอบการ มีทัก ษะทางเทคโนโลยี ดิจิทั ล
ตลอดจนการสื่ อ สารที่มีป ระสิ ทธิภ าพ มีความฉลาดทางอารมณ์ และมีคุ ณธรรมจริ ยธรรม มีจิต อาสา
ช่วยเหลือ สังคมและมีความสามารถในการสร้างอิทธิพลทางสังคมได้ มหาวิทยาลั ยสงขลานคริน ทร์ ได้น า
Core Competency ทั้ง 5 ข้อดังกล่าว มากาหนดเป็นคุณลักษณะที่สามารถขับเคลื่อนได้และสามารถกาหนด
ตัวชี้วัดความสาเร็จในเชิงพฤติกรรมของนักศึกษาได้เป็น 5 Smart หรือ 5Hs ดังต่อไปนี้
(1) Smart HEAD เป็นการสร้างจุดเน้นด้านทักษะเชิงวิชาชีพ (Professional Skills) ตามสาขา
หรือหลักสูตรที่นักศึกษาเลือกเรียน เน้นพัฒนาการของกระบวนการคิด (Cognitive) และต้องการเห็นนักศึก ษา
มีทักษะในการเรียนรู้ เพราะเชื่อว่าโลกยุคใหม่มีการเปลี่ยนชุดขององค์ความรู้เร็วมาก ดังนั้น Smart HEAD จึง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 35


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -35-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ได้กาหนดเป้าหมายไว้ว่านักศึกษาต้อง “มีความความรู้ความสามารถในสาขาวิชาที่เรียน สามารถแก้ปัญหาที่


ซับซ้อนได้ และมีทักษะในวิชาชีพของสาขาวิชานั้น ๆ ตลอดจนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน”
(2) Smart HEART การสร้างอัตลักษณ์ของความเป็นสงขลานครินทร์ “ประโยชน์เพื่อนมนุษย์
เป็นกิจที่หนึ่ง” ได้กาหนดไว้ในข้อนีอ้ ย่างชัดเจน สร้างคุณลักษณะพืน้ ฐานของความเป็นมนุษย์ที่ต้องอยู่ร่วมกัน
ในสังคม สอดคล้องกับความต้องการบัณฑิตของโลกแห่งอนาคตในเรื่องการให้ความสาคัญกับพื้นที่ส่วนรวม
ชุม ชน สังคม ดังนั้น Smart HEART จึงได้ก าหนดเป้า หมายว่า นักศึกษาต้อ ง “มีความซื่อสั ตย์ มีวินัย จิต
สาธารณะ จิตใจเอือ้ เฟื้อเผื่อแผ่ รักเพื่อนมนุษย์ และมีความรับผิดชอบต่อสังคม”
(3) Smart HAND การส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีทักษะแห่งศตวรรษที่
21 หรือ The 21st Century Skills เป็นเรื่องที่ตอ้ งความสาคัญมาก ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นมากที่จะทาให้บัณฑิต
อยู่ในโลกแห่งการผันผวนสูง (Chaotic World) และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่ว่านักศึกษาจะเรียนใน
สาขาวิชาใดก็ตาม นักศึกษาความจาเป็นต้อง “มีทักษะทางไอที ภาษาอังกฤษ ภาษาต่างประเทศ ทักษะการ
คิดเชิงนวัตกรรม ทักษะการเป็นผู้ประกอบการ และการสื่อสาร”
(4) Smart HEALTH การที่นักศึกษาจะมีพัฒนาการทั้งทางด้านทักษะวิชาชีพ (Professional Skills)
และทักษะทางสังคม (Soft Skills) ได้นนั้ จาเป็นอย่างยิ่งต้องมีสุขภาพแข็งแรงทั้งสุขภาพร่างกาย และสุขภาพจิตใจ
การสร้างพลั งการคิดบวก มีความสามารถในการจัดการด้านอารมณ์ความรู้สึกทั้งต่อตนเอง และผู้อื่น ดังนั้น
Smart HEALTH จึงได้กาหนดเป้าหมายไว้ว่านักศึกษาต้อง “มีสุขภาพกายและใจ และความฉลาดทางอารมณ์”
(5) Smart HABIT ความเฉลียวฉลาดต่าง ๆ ข้างต้นควรจะสาแดงออกมาเป็นเชิงพฤติกรรมที่
เจ้าตัวและผู้คนรอบข้างสามารถสัมผัสได้ และต้องสอดคล้องกับความเป็นความคาดหวังของแต่ละสังคมให้ได้
ความเหมาะสมกับเวลาและสถานที่ ดั งนั้น Smart HABIT จึงได้ก าหนดเป้า หมายไว้ว่านักศึก ษาต้อ ง “มี
บุคลิกภาพที่ดี สง่าผ่าเผย มีความอ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ทัง้ เรื่องการพูดและการปฏิบัติ”
กล่าวโดยสรุป มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้กาหนดเป้าหมายร่วมของคุณลักษณะบัณฑิต
(Student Attributes) ภายใต้หลักคิดของ 5Hs เพื่อสร้างอัตลักษณ์บัณฑิตสงขลานครินทร์ PSU Smart Student
ในการพั ฒ นากาลั งคน ซึ่งเป็ นภารกิ จหลั กของมหาวิทยาลั ยที่สอดรั บการพลวั ตรของโลกในปั จจุบันและ
อนาคต เพื่อเป็นกาลังหลักสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศไทย โดยคณะทางานบูรณาการร่วม
ระหว่างฝ่ายวิชาการและฝ่ายพัฒนานักศึกษาอยู่ในช่วงของการกาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จหรือ OKRs ในแต่ละ
H ที่สามารถวัดความสาเร็จได้จริงและสอดคล้องกับ Core Competency ทั้ง 5 ข้อ โดยจะกาหนดให้แต่ละฝ่าย
รับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อน OKRs แต่ละข้ออย่างชัดเจน
2) การคัดเลือกนั กเรียนเกง/ดี เพื่อเขาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลั ยมีแผนกลยุ ทธ์รับ
นักเรียนเกง/ดีที่หลากหลาย จากทั้งในประเทศและนอกประเทศ โดย 1) ความร่วมมือกับโรงเรียน เพื่อรับนักเรียน
ห้องเรียนพิเศษเขาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยจนสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก 2) จัด Advanced Program ให้
นักเรียนได้เรียนรายวิชาพืน้ ฐานในมหาวิทยาลัยไดหรือเรียนออนไลน์นาเกรดและหน่วยกิตรับการยกเว้นรายวิชา
นั้นและเรียนต่อยอดเมื่อเข้ามหาวิทยาลัย นาร่องพัฒนารายวิชาออนไลน์ในรายวิชาพื้นฐาน เช่น รายวิชาคานวณ
ศิลป์ รายวิชาออนไลน์ในลั กษณะโมดู ล จานวน 4 รายวิชา ของสาขาวิชาภาษาเกาหลี และ 3) จัดโครงการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 36


-
-36- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

MySchool@PSU ไดพัฒนารายวิชาทั้ง 7 กลุ่มรายวิชาหลักที่จาเป็น ไดแก คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา


เคมี ฟิสิกส์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และสังคมศึกษา สามารถเข้าถึงไดจาก https://myschool.psu.ac.th/
3) การพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยกาหนดเป้าหมาย
3.1) บัณฑิตมีความรู้ มีทักษะ พร้อมทางาน : ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างสรรค์
นวัตกรรม การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา การเรียนรู้ตลอดชีวิต การเข้าใจและอยู่ได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม
3.2) บัณฑิตมีความสามารถในการสื่อสารและใช้ภ าษาอั งกฤษ ได้อย่างดีและถูก ต้อ ง และรู้
ภาษาที่ 3 เช่ น จี น บาฮาซามาเลย์ห รือ อิน โด มีจั ด สรรโปรแกรมเรียนภาษาอั งกฤษด้ว ยตนเอง ตลอด
ระยะเวลาที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยของนักศึกษา โดยให้ License โปรแกรม Tell me more แกนักศึกษาปริญญา
ตรีโท เอกและบุคลากร ทั้งสิน้ 44,430 ราย มีการจัดกิจกรรมภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาบาฮาซามาเลยหรืออิน
โด และกิจกรรมอื่นที่หลากหลายเช่น ASEAN Week English camp นักศึกษามีความสุขในสังคมพหุวัฒนธรรม มี
การจัดกิจกรรมส่งเสริมภาษาอังกฤษ ไดแก TOEIC, IELTS, Spelling Bees, English Camp และ CV and
Interview in English เป็นต้น
3.3) นักศึกษามีความเข้าใจและมีทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) ได้อย่างดี
และเท่าทัน พัฒนา Digital Literacy ให้กับนักศึกษาทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน นักศึกษามีความรู และใช้
ดิจิทัลได้อย่างดีและเท่าทัน โดยกาหนดในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปให้นักศึกษาทุกคนเรียน Digital Literacy
3.4) นักศึกษามีอัตลักษณ์ I-WiSe และเข้าใจสังคมพหุวัฒนธรรม อยู่ได้อย่างกลมกลืนและมี
ความสุข โดยสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาใช้เวลาช่วงปิดภาคการศึกษา จัดกิจกรรมค่ายอาสาพัฒนา
และกิ จ กรรมจิ ต อาสา 9 โครงการใน 6 จั ง หวั ด ภาคใต้ คื อ ส งขลา พั ท ลุ ง ตรั ง สตู ล กระบี่ และ
นครศรีธรรมราช โดยนอกจากจะเข้าศึกษาวิถีชีวิต ชุมชน เพื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ที่ไ ม่มีสอนในห้องเรียน และ
กระตุ้นให้เยาวชนเห็นความสาคัญของการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นแล้ว นักศึก ษาเหล่านี้ยังเข้าสร้า งพัฒนา
สถานที่เพื่อการเรียนรู้ให้กับชุมชน เช่น การสร้างห้องสมุด อาคารอเนกประสงค์ตามความต้องการของชุมชน
ปรับปรุงอาคารเรียนและภูมิทัศน์ ให้บริการวิชาการขั้นพื้นฐาน ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม เป็นต้น
4) การดูแลนัก ศึก ษาต่างชาติ มหาวิทยาลัยได้มีการจั ด เก็ บข้อ มูล พื้นฐานของนัก ศึ กษาต่า งชาติ
ในช่วงของการรายงานตัวเป็นนักศึกษา ในระบบข้อมูลพื้นฐานนักศึกษาของมหาวิทยาลัย (สน.1-2 /PSU1-2)
และบันทึกในระบบสารสนเทศนักศึกษา (Student Information System) ซึ่งเป็นการรวบรวมข้อมูลประวัติทั่วไป
ก่อนการลงทะเบียน นอกจากนี้ บุคลากรด้านวิเทศสัมพันธ์ของทุกคณะ/หน่วยงาน ที่มีหน้าที่ดูแลนักศึกษา
ต่างชาติ จะรวบรวมและจั ดเก็บข้อมูลด้านวีซ่า (VISA) ของนักศึก ษาต่างชาติในสังกัด ไว้ในฐานข้อมูลของ
คณะ/หน่วยงานและเป็นผู้ดูแลนักศึกษาต่างชาติในการดาเนินการขออนุญาตเพื่ออยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ
ชั่วคราว การขออนุญาตเพื่อกลับเข้ามาในราชอาณาจักร การแจ้งอยู่ในราชอาณาจักรเกินกว่า 90 วัน และ
การแจ้งที่พักอาศัยคนต่างด้าว ซึ่งข้อมูลในส่วนต่าง ๆ ด้านวีซ่า (VISA) อาทิ วันที่เข้ามาในราชอาณาจักรและ
วันหมดอายุของวีซ่ามหาวิทยาลัยสามารถตรวจสอบได้จากคณะต้นสังกัดที่นักศึกษาต่างชาติศึกษาอยู่ไ ด้อีก
ทางหนึ่ง มีโครงการหอพักนักศึกษานานาชาติ (PSU International Dormitory)

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 37 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -37-
ส่ส่ววนที
นที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

5) การดูแลนักศึกษาที่มีปัญหาการเงิน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีการดูแลนักศึกษาอย่างเป็น
ระบบผ่ า นช่ อ งทางหลากหลาย ทั้ งจากคณะและส่ ว นกลาง โดยด าเนิน การผ่ า นคณะกรรมการจั ด สรร
ทุนการศึกษา ปีการศึกษา 2562 มีการจัดสรรทุนการศึกษา จานวน 95,910,125 บาท 4,305 ราย ดังนี้

ตารางแสดงข้อมูลจานวนทุนและจานวนนักศึกษาผู้รับทุนการศึกษา 5 วิทยาเขต ปีการศึกษา 2562


วข.หาดใหญ่ วข.ปัตตานี วข.สุราษฎร์ธานี วข.ภูเก็ต วข.ตรัง
ประเภททุน จานวนเงิน จานวน จานวนเงิน จานวน จานวนเงิน จานวน จานวนเงิน จานวน จานวนเงิน จานวน
คน คน คน คน คน
1.ทุนขาดแคลน 39,375,930 1,436 42,583,850 869 3,445,000 106 4,941,500 56 4,546,000 220
ทุนทรัพย์
2.ทุนทางาน 474,200 1,298 406,400 128 246,000 60 90,000 86 207,645 174
แลกเปลี่ยน
รวม 39,850,130 2,734 42,583,850 869 3,691,000 166 5,031,500 142 4,753,645 394

5. บทบาทด้านวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม


5.1 วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว
1) ย่านตาขาวโมเดล ปี พ.ศ. 2559 วิทยาเขตตรัง ได้คัดเลือกพื้นที่อาเภอย่านตาขาว เพื่อริเริ่ม
โครงการย่านตาขาวโมเดล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมี
นัก วิจั ยจากคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ไ ด้เข้ า ศึก ษาชุ ม ชนในมิติต่ า ง ๆ ผลการศึก ษาในเบื้อ งต้น พบว่ า
สถาปัตยกรรมที่เป็นอัตลักษณ์โดดเด่นของย่านตาขาว ตัวอย่างที่สาคัญคือ “เรือนไม้ย่านชุมชนหัวสะพานเก่า”
ต่อ มาในปี พ.ศ. 2561 ทางเทศบาลตาบลย่า นตาขาวได้ใ ช้ ผ ลการศึก ษางานรั งวั ด สถาปั ตยกรรมที่ทาง
มหาวิทยาลัยได้ทาการศึกษาไว้มาเป็นแนวทางในการเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณจากท่องเที่ยว
และกีฬาจังหวัดตรัง เพื่อการปรับปรุงเรือนไม้และภูมิทัศน์บริเวณชุมชนหัวสะพานเก่า จานวน 4.5 ล้านบาท
ซึ่งขณะนี้กาลังอยู่ระหว่างการดาเนินโครงการปรับปรุงพื้นที่ดังกล่าว รวมทั้ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ดาเนินโครงการ “การยกระดับมู ลค่า ทางเศรษฐกิ จภายใต้การดาเนินงานโครงการย่า นตาขาวโมเดล” มี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนย่านตาขาวอย่างยั่งยืนโดยชุมชนมีส่วนร่วม มีนักวิจัย
จากคณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ เข้าร่วมดาเนินโครงการ ผลการศึกษาวิจัยในปี 2561 สร้างเป็นอัต
ลักษณ์ของย่านตาขาวได้ทั้งสิน้ 6 ด้าน คือ 1) ความบริสุทธิ์ (ดอกย่านตาขาว) 2) สีสัน (ใบยางที่เปลี่ยนสีตาม
ฤดูกาล) 3) ความอุดมสมบูรณ์ (ธรรมชาติ) 4) ศิลปวัฒนธรรม 5) ความเจริญรุง่ เรือง 6) ความสดใส (สายน้า
และทะเล) ซึ่งสามารถนาอั ต ลั ก ษณ์เหล่ า นี้ไ ปพั ฒ นาเป็ น แบรนด์ส ถานที่ ( Destination Brand) แบรนด์
ผลิตภัณฑ์ และเป็นแนวทางในการออกแบบธุรกิจ/ร้า นค้า ต่า ง ๆ เพื่อการสื่อสารทางการตลาดของชุ มชน
ขณะเดียวกั นทางเทศบาลได้สนับสนุนให้มีก ารจัดตั้งคณะกรรมการชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวขึ้น เพื่อดาเนิน
กิจกรรมด้านการท่องเที่ยวของชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีคณะนักวิจัย (อาจารย์และนักศึกษา) เข้ามาร่วม

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 38


-
-38- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ศึกษาและสนับสนุนการทางานขับเคลื่อนให้เกิดการท่องเที่ยวชุมชนในย่านเมืองเก่าเขตเทศบาลย่านตาขาว
โดยเน้นรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
ในปี 2562-2563 ทางชุมชนย่านตาขาว เทศบาลย่านตาขาว และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มี
เป้าหมายร่วมกันที่จะมุ่งขับเคลื่อนการท่องเที่ยวชุมชนในย่านเมืองเก่าย่านตาขาว เพื่อช่วยสร้างรายได้ให้แก่
สมาชิกในชุมชน แนวทางการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยในปี 2562 จะมุ่งเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจในรูปแบบ
สร้างสรรค์ (Creative Economy) ผ่าน (1) การออกแบบการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism)
และ (2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากอัตลักษณ์ภายใต้แบรนด์ “ย่านตาขาว” รวมถึงการพัฒนาโมเดลธุรกิจของ
ชุมชน (Community Enterprise) ภายใต้โครงการย่อย จานวน 8 โครงการ ได้แก่ 1) การพัฒนาทรัพยากรทาง
วัฒนธรรมเพื่อเพิ่มมูลค่าในอาเภอย่านตาขาว 2) การพัฒนาศิลปะการแสดงจากอัตลักษณ์ของชุมชนเพื่อการ
ท่องเที่ยวอย่า งยั่งยืน 3) การออกแบบการจัด พื้นที่ลานวั ฒนธรรมบริเวณชุม ชนหัวสะพานเพื่อ รองรับการ
ท่องเที่ยว 4) การยกระดับมูลค่าการบริโภคสร้างสรรค์ดว้ ยอัตลักษณ์ของอาเภอย่านตาขาว 5. การจัดทาแผน
บูรณาการเพื่อ พัฒ นาการท่องเที่ยวโดยชุ มชนเชิงสร้างสรรค์ : เมือ งเก่า ย่า นตาขาว 6) การออกแบบและ
พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 7) การพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้
เชิ งสร้า งสรรค์แบบมีส่ว นร่วมกั บชุ มชนโดยใช้ แหล่งเรียนรู้ท่อ งถิ่นในเมืองเก่ า ย่า นตาขาว 8) แนวทางการ
พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเทศ กรณีศกึ ษา วังหินลาด อาเภอย่านตาขาว และเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2562
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง ได้จัดทาความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับหน่วยงานในพื้นที่
ได้แ ก่ องค์ ก ารบริห ารส่ว นจั งหวั ด ตรั ง เทศบาลนครตรั ง การท่อ งเที่ยวแห่ง ประเทศไทยส านัก งานตรั ง
สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดตรัง และสานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดตรัง เพื่อสนับสนุนข้อมูลทาง
วิชาการ วิทยาการ ความรู้และความก้าวหน้าในการดาเนินงานด้านต่าง ๆ ต่อกัน และสร้างความร่วมมือใน
การส ารวจและรวบรวมข้อ มู ล ด้า นการท่อ งเที่ยวของจั งหวั ด ตรั ง เพื่ อ รองรั บการพั ฒ นาฐาน ข้อ มู ล การ
ท่องเที่ยว (Trang Tourism Database) และระบบสารสนเทศในอนาคต
2) วงแหวนพหุวัฒนธรรมเมืองปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี กาหนด
วิสัยทัศน์เป็นสถาบันชั้นนาระดับชาติด้านวัฒนธรรมชายแดนใต้เพื่อนวัตกรรมและสังคมในปี 2565 มีพันธกิจ
ในการสร้างองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมโดยมีการวิจัยเป็นฐาน บริการวิชาการด้านวัฒนธรรมและพัฒนาแหล่ง
เรียนรู้บนพื้นฐานพหุวัฒนธรรมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างนวัตกรรมด้านนวัตกรรมชายแดนใต้สู่สังคม
สมรรถนะหลัก การดาเนินงานในกรอบของวงแหวนพหุวัฒนธรรม ดาเนินการดังนี้
สร้างองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมโดยมีวิจัยเป็นฐาน โดยขับเคลื่อนศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อการ
พัฒ นาบริเวณวงแหวนพหุวัฒ นธรรมเมืองปัตตานี (ชุม ชนพุทธ ชุม ชนจีน ชุม ชนมุส ลิม ตามประวั ติศาสตร์
รัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ 3 ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่จะบังติกอ ถนนอาเนาะรู ถนนฤาดี สามแยกจะบังติกอ ซึ่ ง
วิทยาเขตได้รับทุน สกสว จัด กิ จกรรม 9 กิ จกรรมอยู่ใ นโครงการวงแหวนวั ฒนธรรมดั งกล่า ว) และสร้า ง
บรรยากาศการท่องเที่ยว รวมทั้งการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนจะบังติกอ
บริการวิชาการด้านวัฒนธรรมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้บนพื้นฐานพหุวัฒนธรรมเพื่อการเรียนรู้
ตลอดชีวิต วิทยาเขตปัตตานีได้พัฒนาศูนย์บริการท่องเที่ยวชุมชนและการพัฒนาศูนย์แสดงและถ่ายทอดศิลปะ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 39


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -39-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิ
งานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

และวัฒนธรรม การสร้างบรรยากาศการท่องเที่ยว มีศูนย์เรียนรู้หัตถศิลป์ซึ่งมีพื้นที่จาหน่ายและจัดแสดงการ


สาธิต ฝึ ก อบรมปฏิบัติใ ห้แก่ เยาวชนและผู้ประกอบการ ใช้ เป็ นแหล่งค้นคว้าในการจั ด การเ รียนการสอน
รายวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชา 125-101 มหัศจรรย์แห่งภูมิปัญญาและ 125-102 หัตถกรรมสร้างสรรค์
ส่งเสริมและบูรณาการนวัตกรรมสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานทุนวัฒนธรรม ได้แก่ การพัฒนา
ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีทอผ้าบ้านตรัง อาเภอมายอ จังหวัดปัตตานี การพั ฒนาผู้ประกอบการ
วิส าหกิ จชุม ชนกลุ่มรายาบาติก ตาบลเขาตูม อ าเภอยะรัง จังหวัด ปั ตตานี พั ฒนากลุ่ม โดยใช้ อ งค์ความรู้
การศึกษา การสร้างสรรค์งาน การใช้ทรัพย์สนิ ทางปัญญาที่เชื่อมโยงกับพืน้ ฐานทางวัฒนธรรม วัฒนธรรม ภูมิ
ปั ญ ญา เทคโนโลยี/ นวั ต กรรมสมั ยใหม่ กั บกลุ่ม ผู้ ประกอบการที่ต่อ ยอดและเพิ่ม มู ล ค่า ผลิตภั ณฑ์ กลุ่ ม
ผู้ประกอบการที่ต้องการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม กลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์
สร้างสรรค์กลุ่มใหม่ (Start Up) เมื่อผ่านขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าท้องถิ่นแล้ว ได้ส่งเสริม
กระบวนการทางการตลาดด้ว ย กิ จกรรมที่ดาเนินการยั งมีการจั ดการทางวั ฒนธรรมอาหารพื้นบ้าน การ
จัด การทางวั ฒ นธรรมเพื่อ การอนุ รัก ษ์ก ารละเล่นพื้นบ้า นตาบลกาบั ง อ าเภอกาบั ง จั งหวั ด ยะลา ตาบล
ช้างเผือก อาเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส และตาบลบาเจาะ อาเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส เพื่อสร้างความ
เข้มแข็งของชุ มชน การถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรพื้นบ้าน ตาบลบ้านควน
อาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี และตาบลตะบิง้ อาเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
3) กระบี่โมเดล เป็นโครงการพัฒนาคุ ณภาพชีวิตให้แก่ประชาชนด้วยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ของคณะกรรมาธิการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สภาผู้แทนราษฎร
และคณะทางานในพืน้ ที่กระบี่ หรือ “กระบี่โมเดล” โดยมีโครงการวิจัยของคณะทรัพยากรธรรมชาติ 2 เรื่อง ที่จะ
นาไปขยายผลพั ฒนาคุ ณภาพชี วิตของประชาชนในพื้นที่ คือ การส่งเสริมและถ่ ายทอดองค์ความรู้เรื่ องการ
เพาะเลีย้ งสาหร่ายขนนก และการสนับสนุนแพะพันธุ์ทรัพย์-ม.อ. ของศูนย์วิจัยและพัฒนาสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาด
เล็ก คณะทรัพยากรธรรมชาติ ให้กับเกษตรที่สนใจ 20 ครอบครัว รวมจานวนทั้งสิน้ 80 ตัว แพะพันธุ์ทรัพย์-ม.อ.
เป็นแพะที่พัฒนาพันธุ์ให้เหมาะสมกับพืน้ ที่สภาพแวดล้อมและภูมิอากาศของภาคใต้
5.2 ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงานและสิ่งแวดล้อม
1) เกาะยอโมเดล เป็นความร่ว มมือระหว่า งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยคณะการจั ดการ
สิ่งแวดล้อม สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดสงขลา (ทสจ.) สานักงานสิ่งแวดล้อมภาค
16 และสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสงขลา มุ่งพัฒนารูปแบบคัดแยกขยะครัวเรือนแบบครบวงจร ที่ผ่านมาใน
การจัดการขยะในชุมชนบางแห่งมักจะมีการเข้าจัดการปัญหาที่ไม่ถูกต้อง โดยคิดว่าการจัดการโดยหน่วยงาน
ใหญ่จะง่ายและได้งบประมาณมากกว่า ซึ่งหลายพื้นที่ได้ใช้รูปแบบดังกล่าวกันมานานแล้วแต่ได้ผลน้อยมาก
หากจะให้ได้ผ ลจริงจังจะต้องมีการจั ดการตั้งแต่ใ นระดับครั วเรือน โดยการคัด แยกขยะที่สามารถน าไปใช้
ประโยชน์ต่อได้และขยะประเภทเศษอาหารออกจากกัน เพื่อนาพลาสติกและกระดาษไปจาหน่ายเป็นรายได้
ส่วนเศษอาหารสามารถนาไปหมักทาเป็นปุ๋ยได้ สาหรับบ้านในเกาะยอที่ทาสวนขนุน จาปาดะ หรือต้นไม้อื่น ๆ
หรือชาต้นไม้ขาย วิธีการดังกล่าวจะสามารถลดจานวนถังขยะที่วางอยู่หน้าบ้านให้น้อยลง ซึ่งขยะที่เหลือส่วน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 40 -


-40- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ใหญ่จะเป็ นถุงพลาสติกที่ใช้แล้ว เช่น ถุงใส่แกง ซึ่งสามารถลดลงได้อีกโดยการใส่ภาชนะอื่นแทนสิ่งแรกที่


จะต้ อ งเข้ า ท าตาม โครงการ “เกาะยอโมเดล” คื อ การเข้ า ไปคุ ย ให้ ค วามรู้ กั บชุ ม ชน แต่ ล ะบ้ า น และ
ผู้ประกอบการร้านอาหาร ให้เข้าใจวิธีการจัดการขยะ การแยกขยะรีไซเคิล การหมักขยะครัวเรือนเพื่อทาเป็น
ปุ๋ยเพราะส่วนใหญ่มีสวนและปลูกต้นไม้อยู่แล้ว อย่างไรก็ตาม กระบวนการหมักปุ๋ยจากเศษอาหารจะต้องมี
การอบรมวิธีการหมักและการใช้ถังหมักเพื่อการหมักที่ได้ผลและลดกลิ่น รวมทั้งพิจารณาการเลือกรูปแบบ
ของถังที่มีราคาที่คนในชุมชนสามารถซือ้ หาได้
2) โครงการประมงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต มีชุมชนชาวเลหรือชาวไทยใหม่ ที่เป็น
ชาติพันธุ์ดงั้ เดิม ดารงชีพด้วยการจับสัตว์นาตามชายฝั
้ ่งทะเล และเร่ร่อนไปตามเกาะแก่งต่าง ๆ ต่อมาได้มาตั้งถิ่นฐาน
บนชายฝั่งเกาะภูเก็ต แต่โดยสภาพสังคมเป็นชุมชนที่มีความเหลื่อมล้า ยังขาดความเชื่อมโยงกับสังคมภายนอก จึง
ต้องการที่จะพัฒนาอาชี พซึ่งชุมชนมีความเกี่ ยวข้องมาแต่ดั้งเดิม คือ การประมง เมื่อมหาวิ ทยาลัยได้รับทุนวิจัย
“ประมงที่ยั่งยืนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” จากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือ วช. เป็นทุนเพื่องานวิจัยเชิง
บูรณาการจึงเข้าไปหาชุมชนชาวไทยใหม่เพื่อสอบถามความต้องการโดยการสื่อสารผ่านผู้นาชุมชน และนาเรื่องของ
“สาหร่ายพวงองุ่น” ไปนาเสนอซึง่ ได้รับการตอบรับจากชุมชนเป็นอย่างดี มีการเพาะเลี้ยงสาหร่ายพวงองุ่นบริเวณริม
อ่าวสะปา บ้านสะปา หมู่ที่ 3 ตาบลเกาะแก้ว อาเภอเมืองภูเก็ต แต่มีปัญหาเรื่องคุ ณภาพน้าเป็นอุ ปสรรคต่อการ
เพาะเลีย้ ง จึงได้ประสานงานกับบริษัท บริษัท ภูเก็ต เพิร์ล อินดัสทรี ซึ่งร่วมมือกั บมหาวิทยาลัยในการวิจัยหอยมุกที่
กระชั งบริเวณแหลมหิน จังหวั ดภูเก็ต เพื่อขอพื้นที่เพื่อการเพาะเลี้ยงสาหร่ายพวงองุ่น ปัจจุบันผลผลิตจากการ
เพาะเลี้ยงสาหร่ายพวงองุ่นสามารถทารายได้ให้กับชุมชนชาวไทยใหม่ นอกจากนั้นยังนาเข้าเชื่อมโยงเป็นโครงการ
กิจกรรม “ประโยชน์เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” ของนักศึกษาวิทยาเขตภูเก็ต ตั้งแต่ปี 2560 ทาให้นักศึกษาส่วนหนึ่งมี
รายได้โดยไม่ตอ้ งเป็นภาระกับผู้ปกครอง ซึ่งโดยปกติสาหร่ายพวงองุ่นจะเลีย้ งในบ่อ มีการให้ปุ๋ยแต่การเพาะเลี้ยงตาม
โครงการนีจ้ ะเลีย้ งในทะเลซึ่งมีการปนเปื้อนสารพิษน้อยกว่า ทาให้ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในระดับหนึ่ง แต่ปัญหาที่พบ
คือสาหร่ายจะมีขนาดเล็กไม่เป็นที่นิยมของท้องตลาด แต่ปัจจุบันการปลู กพืชออร์แกนนิค เป็นที่รับรู้กันในสังคม
ผู้บริโภคมากขึ้น โดยในอนาคตจะมีการต่อยอดงานวิจัยตามโครงการ “ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทรัพยากรทาง
ทะเลและชายฝั่งพืน้ ที่เชื่อมโยงจังหวัดภูเก็ต พังงา ระนอง” เพื่อเป็นการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพชุมชนประมงพื้นบ้าน
อย่างยั่งยืน โดยมีแนวโน้มว่าการปลูกสาหร่ายออร์แกนิคจะเป็นที่นยิ มมากขึน้ ในอนาคต นอกจากนั้น วิทยาเขตภูเก็ต
กาลังให้นักศึกษา ศึกษาคุณสมบัติดา้ นอื่นของสาหร่ายพวงองุ่นและมีพบว่ามีคุณสมบัติสามารถสกัดสารฆ่าเชือ้ สแต
ฟิโลค็อกคัส ที่เป็นเชือ้ ก่อให้เกิดสิวได้ ซึ่งจะนาไปสู่การนาเป็นส่วนผสมในสบู่ครีมบารุงผิว หรือเจลอาหารสาหรับ
ผู้ป่วยต่อไป
3) แนวทางบริหารจัดการร่องน้าบ้านน้าเค็มและหาดคึกคัก จังหวัดพังงา ฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง
บ้านน้าเค็ม ตามวิถีชีวิตของชุมชน เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ด้วยการนาทรายจากเหมืองเก่าในจังหวัดพังงา มา
เติ ม ชายหาดและป้ อ งกั น การกั ด เซาะด้ ว ยปะการั ง เที ย ม “โดมทะเล” โดยศู น ย์ บ ริ ก ารวิ ช าการ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ ศึกษาวิจัยเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือน
มีนาคม 2563 รวมเป็ นระยะเวลา 6 เดือน เพื่อเสนอแนวทางในการบริหารจัดการชายฝั่งบ้านน้าเค็ม โดยการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 41 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -41-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สารวจสมุทรศาสตร์ เพื่อฟื้นฟูบ้านน้าเค็มจังหวัดพังงา สาหรับใช้เป็นแนวทางในการบริการจัดการร่องน้า รวมถึง


การอนุรักษ์ และฟื้นฟู ทรัพยากรชายฝั่งบ้านน้าเค็ ม ทีมวิจัยได้สารวจพบเหมืองเก่าในจังหวัดพั งงาที่มีจานวน
มากกว่า 100 แห่ง เมื่อนาทรายในเหมืองมาวิจัย พบว่า สามารถนามาเติมบริเวณชายหาดได้ และจากการศึกษา
การป้องกันทรายถูกกั ดเซาะบริเวณชายหาด ที่ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ดาเนินการ
ศึกษาวิจัยมากว่า 10 ปี ด้วยการใช้ปะการังเทียม “โดมทะเล” วางเป็นแนวเพื่อป้องกันการกัดเซาะ ซึ่งถ้าไม่มีการ
ป้องกัน ชายหาดที่นามาเติม จะถูกกัดเซาะหายไปภายใน 3-5 ปี โดยได้นามาทดลองในแบบจาลองที่ภาควิชา
วิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยวิธีการฟื้นฟูชายหาด คือ จะนาทรายจากเหมืองในจังหวัดพังงา จานวน
200,000 ลูกบาศก์เมตร มาเติมที่หาดคึกคัก จ.พังงา โดยจะเพิ่มพื้นที่ชายหาดได้ 24 ไร่ ซึ่งถือว่าคุ้มค่า เพราะ
ปัจจุบัน พื้นที่บริเวณนี้มีราคาไร่ละ 20 ล้ านบาท โดยได้รับความร่วมมือจาก สส.ในพื้นที่ ผู้ว่าราชการจังหวั ด
นักวิชาการ และนักธุรกิจพร้อมสนับสนุน คาดว่าจะใช้งบประมาณในการดาเนินการ จานวน 200 ล้านบาท และใช้
เวลา 1 ปี ในการดาเนินการหลังจากทาการศึกษา สาหรับ "ชุมชนบ้านน้าเค็ม" ตั้งอยู่ในเขตตาบลบางม่วง อาเภอ
ตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ประกอบด้วยประชากร 2,202 ครัวเรือน ประกอบอาชีพทาการประมงเป็นหลัก โดยใช้ร่อง
น้าคลองตะกั่วป่า เป็นเส้นทางสัญจร และที่จอดเรือประมง
4) การดาเนินงานเกี่ยวกับลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา ผลการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาระบบ
และกลไกสนับสนุนการบริหารงานวิจัยและการจัดการความรู้จากการวิจัยในลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาเชิงบูรณา
การ ภายใต้แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา ระหว่าง ต.ค. 2561- พ.ค. 2563 มีรายละเอียดดังนี้
4.1) การสร้างกลไกสนับสนุนการด าเนินภารกิจเชิ งบูรณาการด้า นวิจัยและบริก ารวิช าการ
ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยที่มีที่ตงั้ หรือมีความรับผิดชอบที่เกี่ยวข้องกับพืน้ ที่ลมุ่ น้าทะเลสาบสงขลา
(1) การพัฒนาเครือข่ายวิจัยลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา โดยความร่วมมือของมหาวิทยาลัยในลุ่ม
น้าทะเลสาบสงขลาจานวน 6 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลศรีวิจัย มหาวิทยาลัยราชภั ฏ นครศรีธรรมราชา มหาวิทยาลั ยหาดใหญ่ มหาวิทยาลั ยทั ก ษิณ และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(2) เครือข่ายฯ ได้มีการพัฒนา “กรอบการดาเนินงานเครือข่ายวิจัยลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา
พ.ศ. 2561-2565” เพื่อใช้เป็นกรอบในการดาเนินงานร่วมกัน โดยเสนอกรอบแผนงานวิจัยที่สอดคล้องกับ
ประเด็นปัญหาและความต้องการของพื้นที่ ในประเด็น 1) การอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้า ป่าพรุ และป่าชาย
เลน 2) การบริหารจัดการน้า 3) การใช้ประโยชน์ที่ดินและการเกษตร 4) การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์
ทรั พยากรสั ต ว์น้า/ประมง 5) การพั ฒ นาเมือ งและคุ ณภาพสิ่งแวดล้อ ม 6) คุ ณค่า ทางประวั ติศาสตร์
ศิลปวัฒนธรรม การท่องเที่ยวและมรดกโลก 7) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ (น้าท่วม
ภัยแล้ง การตื้นเขินของทะเลสาบ และการกัดเซาะชายฝั่ง) 8) ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการลุ่มน้า
4.2) การสนับสนุนการศึกษาวิจัยประเด็นปัญหาของลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา เพื่อแก้ปัญหาเร่งด่วน/
ปัญหาสาคัญที่เป็นความต้องการของพืน้ ที่จานวน 5 โครงการ โดยมีรายละเอียดโครงการและผู้ใช้ประโยชน์ดังนี้
(1) การบริหารจัดการน้าชลประทานแบบมีส่วนร่วมสาหรับโครงการส่งน้าและบารุงรักษา
ระโนด–กระแสสินธุ์ เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนาแนวทางการจัดสรรน้าไปปรับใช้เพื่อให้ การจัดสรร

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 42 -


-42- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

น้าตอบสนองความต้อ งการของกลุ่ม ผู้ใ ช้ น้าในพื้นที่ โดยผู้ใ ช้ ประโยชน์ไ ด้แก่ เกษตรกรกลุ่ม ผู้ใ ช้ น้า และ
โครงการส่งน้าและบารุงรักษาระโนด-กระแสสินธุ์ สานักงานชลประทานที่ 16 สงขลา
(2) การคาดการณ์ปริมาณฝนในอนาคตของลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง
สภาพภู มิอากาศ เพื่อให้สามารถคาดการณ์ปริมาณน้าฝนของพื้นที่ลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา และเพื่อทาการ
วางแผนแนวทางในการรั บมือสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ ผู้ใช้ ประโยชน์เป็ นหน่วยงานที่รับผิดชอบ
เกี่ยวกับการจัดการน้าในลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา เช่น สานักงานทรัพยากรน้า สานักงานชลประทาน
(3) การปรับตัว ต่อ ภัยแล้งของชุ มชนเกษตรกรรมในลุ่ม น้าทะเลสาบสงขลา กรณี ศึก ษา
ชุม ชนตะโหมด อาเภอตะโหมด จังหวั ดพั ทลุง เพื่อ ให้ชุ มชนเกษตรกรรมอื่น ๆ ในลุ่ม น้า ทะเลสาบสงขลา
สามารถนาแนวทางการปรับตัวต่อภัยแล้งไปปรับใช้ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนาแนวทางการปรับตัว
ต่อภัยแล้งไปกาหนดเป็นนโยบาย ในการให้ความช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนแก่ประชาชนในพื้นที่ ผู้ใช้
ประโยขน์ เป็ นชุมชนเกษตรกรรมในลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา หน่วยงานภาครั ฐที่มีบทบาทหน้าที่ใ นการดูแล
บรรเทาภัยพิบัติเกี่ยวกับทรัพยากรน้า เช่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมชลประทาน
(4) กระบวนการดาเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับท้องถิ่น กรณีศึกษา:
เทศบาลตาบลปริก อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อื่น ๆ สามารถนาแนว
ทางการดาเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนไปปรับใช้ โดยผู้ใ ช้ ประโยชน์ ได้แก่ เทศบาลตาบลปริก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพืน้ ที่อื่น ๆ
(5) ความยั่ งยื น และความสู ญ เสี ยทางเศรษฐกิ จ ของการจั บ สั ตว์ น้ าก่ อ นขนาดอั นควร
กรณีศึกษาการประมงกุ้งจากไซนั่งในทะเลสาบสงขลาตอนนอก เพื่อสามารถบ่งชี้ระดับความยั่งยืนของการทา
ประมงกุ้งทะเลจากไซนั่งในทะเลสาบสงขลาตอนนอก และทราบความสูญเสียทางเศรษฐกิจอันเกิดจากการทา
ประมงกุ้งก่อนขนาดอันควร และสื่อสารให้ชาวประมงและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าใจได้ -กลุ่มชาวประมงใน
พื้น ที่ลุ่ม น้าทะเลสาบสงขลา ผู้ใ ช้ ประโยชน์ เป็ นหน่ว ยงานที่เกี่ ยวข้อ งกั บการบริหารจั ด การประมง เช่ น
ส านั ก งานประมงจั งหวั ด สงขลา ศูน ย์บริห ารจั ด การประมงทะเล หน่ว ยงานที่ เกี่ ย วข้อ งกั บการวิจั ยและ
การศึกษา (ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์นาชายฝั้ ่งเขต 6 (สงขลา) ศูนย์พัฒนาประมงทะเลอ่าวไทย
ตอนล่าง ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่าง)
4.3) การพั ฒ นาศัก ยภาพชุ ม ชน สนั บสนุน การวิ จัย เชิ งปฏิบั ติก ารโดยชุ ม ชนในประเด็ น ที่
สอดคล้องกับแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา ประเด็นปัญหาเร่งด่วน/ปัญหาสาคัญ และความ
ต้องการของชุมชน มีนัก วิจัย/นักวิช าการในมหาวิทยาลัยเป็ นที่ปรึกษา โดยได้สนับสนุนโครงการวิจัยชุม ชน
จานวน 26 โครงการ ในพืน้ ที่รอบลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา บริเวณทะเลน้อยในอาเภอควนขนุน อาเภอตะโหมด
อาเภอปากพะยูน อาเภอเขาชัยสน และอาเภอกงหรา ในจังหวัดพัทลุง บริเวณคาบสมุทรสะทิ้งพระและลุ่มน้า
คลองอู่ตะเภา (คลองหอยโข่ง หาดใหญ่) ในจังหวัดสงขลา จากการสนับสนุนโครงการวิ จัยเชิงปฏิบัติการโดย
ชุมชน สามารถพัฒนาศักยภาพแกนนาชุมชนและชุมชน จานวนประมาณ 130 คน เกี่ยวกับการทาวิจัยเบือ้ งต้น
ทั้งการวิเคราะห์ปัญหาของพืน้ ที่-สาเหตุของปัญหา กระบวนการวิจัยเพื่อหาคาตอบและแนวทางแก้ปัญหา ทา
ให้สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงวิธีการทางานของชุมชนให้มีการใช้ข้อมูลและการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลมาก

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 43 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -43-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ขึ้น นอกจากนี้ยังมีการสร้างเครือ ข่ายนักวิจัยชุมชนรอบลุ่ม น้าทะเลสาบสงขลาเพื่อการดาเนินงานร่วมกั น


โครงการที่สนับสนุนการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาศักยภาพชุมชน ประกอบด้วย
(1) โครงการศึกษาองค์ประกอบและฤทธิ์เบื้องต้นของพืช-ผั กสมุ นไพร (สถานที่ตะโหมด
อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง)
(2) โครงการการปลู กไม้เศรษฐกิจร่วมยางพาราเพื่อเป็นทางรอดแก่ เกษตรกรการปลูกพืช
เชิงเดี่ยว ตาบลคลองหลา อาเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
(3) โครงการการมีสว่ นร่วมเพื่อการอนุรักษ์คลองอู่ตะเภาโดยพืช (สถานที่ตาบลทุ่งลาน อาเภอ
คลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา)
(4) โครงการศึกษาการใช้ประโยชน์จากต้น บากง เพื่อลดปัญหาผลกระทบต่อระบบนิเวศใน
พืน้ ที่ทะเลน้อย
(5) การศึกษาความเหมาะสมในการปลู กกล้วยน้าว้าโดยไม่ใช้ สารเคมี พื้นที่ต าบลเชิ งแส
อาเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา
(6) การบริหารจัดการน้าแก้ ปัญหาภั ยแล้งและน้าท่วมขั ง กรณีศึกษาตาบลราแดง อ าเภอสิง
หนคร จังหวัดสงขลา
(7) โครงการการจัดการน้าเสียในครั วเรือนของประชาชนชายฝั่งทะเลสาบสงขลา เขตชุมชน
เทศบาลตาบลปากพะยูนอาเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
(8) การจัดการความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของการปลูกพริกปลอดภัย ตาบล
แดนสงวน อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา
(9) โครงการศึกษาคุณภาพน้าผิวดินของคลองอู่ตะเภา จังหวัดสงขลา
(10) สารวจสภาพริมคลอง พันธุ์ไม้ และการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ป่าริมคลองสายน้าในตาบล
ตะโหมด อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
(11) การศึกษาวิจัยตลาดหน่อไม้ไผ่ตง สาหรับวิสาหกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงบ้านท่าหมอ
ไชย ตาบลทุ่งตาเสา อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
(12) โครงการศึกษาสมุนไพรเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ตาบลตะโหมด อาเภอตะโหมด
จังหวัดพัทลุง
(13) ประสิทธิภาพของการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (Integrated Pest Management) ของ
การปลูกพริกแบบปลอดภัย ตาบลแดนสงวน อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา
(14) ศึกษาการพัฒนาเตาไร้ควันโดยใช้เชือ้ เพลิงชีวมวลในชุมชนตาบลทุ่งใหญ่ อาเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา
(15) การแปรรูปน้ามันมะพร้าวสกั ดเย็นเป็ นผลิตภัณฑ์สบู่และแชมพูต้นแบบ ตาบลทุ่งใหญ่
อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
(16) การศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยหมักชีวภาพต่อการปลูกมันสาปะหลังของเกษตรกร หมู่ที่
3 ตาบลทุ่งใหญ่ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 44 -


-44- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

(17) การสารวจปริมาณและประเภทขยะอย่างมีสว่ นร่วมในชุมชน หมู่ที่ 3 ตาบลทุ่งนารี อาเภอ


ป่าบอน จังหวัดพัทลุง
(18) สาเหตุการลดลงของกุ้ งก้ ามกรามและแนวทางแก้ ไข บริเวณชุมชนคลองขุ ด หมู่ที่ 8
ตาบลหานโพธิ์ อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
(19) การศึกษาผลกระทบจากการเป็นคลองระบายน้าท่วมของคลองลาเบ็ด จังหวัดพัทลุง
(20) ศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากสมุ นไพรที่มีผลต่อการกาจัดหอยเชอรี่ในนาข้าว ตาบลตะ
โหมด อาเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
(21) การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักที่ปลูกแบบไฮโดรพอนิกส์และผักที่ปลูกในดิ น
เพื่อการบริโภคในครัวเรือนและจาหน่ายในชุมชน พืน้ ที่โรงเรียนกระแสสินธุ์วิทยา ตาบลเชิงแส อาเภอกระแสสินธุ์
จังหวัดสงขลา
(22) ศึกษาสมุนไพรภูมิปัญญาท้องถิ่นเขาชัยสน อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
(23) ศึกษาพืชผักสมุนไพรในท้องถิ่นพัทลุง เพื่อแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ผักแผ่น อาเภอเขาชัยสน
จังหวัดพัทลุง
(24) โครงการศึกษาสถานะสัตว์นาเศรษฐกิ
้ จในลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาตอนล่าง
(25) โครงการศึกษาชนิดพันธุ์มะเดื่อเพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนาอาชีพเสริมในอนาคตพื้นที่
ชุมชุนบ้านคู ตาบลคลองเฉลิม อาเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
(26) โครงการศึกษาการเลี้ยงหอยโล่บ้านคลองหวะหลังตาบลคลองทรายขาว อาเภอกงหรา
จังหวัดพัทลุง
4.4) เป็นที่ปรึกษาด้านวิชาการในการจัดทาแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี
(พ.ศ. 2561-2568) นักวิชาการจากคณะการจัดการสิ่งแวดล้อมมีสว่ นร่วมในการจัดทาแผนแม่บทการบริหาร
จัดการทรัพยากรน้าลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาและแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทฯ ระดับลุ่มน้า (พ.ศ. 2561-
2568) ซึ่งจัดทาขึ้นโดยความร่วมมือจากตัวแทนภาคประชาชน หน่วยงานส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา และ
หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อ ง ในการกาหนดโครงการบริหารจั ดการทรั พยากรน้าใช้ข้อมู ลจากการรวบรวม
แผนงานโครงการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนงานภายใต้แผนแม่บทลุ่มน้า ความต้องการของพื้นที่ โดย
พิจารณาความเชื่อมโยงกับประเด็นประเด็นปัญหาของพื้น ที่และมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561-2580) และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
4.5) การพัฒนาเทคโนโลยีสารเสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ โดยการพัฒนาเว็บไซต์และเฟซบุค
เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งมีการเชื่อมโยงกับเว็ บไชต์และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เช่น เว็บไชต์สรุปงานวิจัย
เกี่ยวกับลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา เว็บไซต์ฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา ระบบคลังข้อมูลและ
องค์ความรู้ออนไลน์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา
4.6) ร่วมมือกับภาคประชาสังคมในพื้นที่ลุ่ มน้าทะเลสาบสงขลาเพื่อดาเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน โดยคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม เป็นสานักงานและให้การ
สนับสนุนด้านวิชาการแก่ “สภาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา” ซึ่งเป็นองค์กรภาคประชาสังคมที่เกิดจากการรวมตัว

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 45 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -45-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ของภาคส่วนต่าง ๆ ประกอบด้วยตัวแทนเครือข่ายชุมชนจาก 7 โซนของลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา ท้องถิ่นและ


ส่วนราชการ ประชาสังคม/องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อสารมวลชน และภาคีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นองค์กร
ขับเคลื่อนการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาสู่ความยั่งยืน

ประเด็นที่ 2 ระบบบริหารงานตามรูปแบบ PSU System และความร่วมมือระหว่างวิทยาเขต (PSU Solidarities)


1. การปรับโครงสร้างหน่วยงาน
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้มีประกาศ เรื่อง การกาหนดวิทยาเขตและการจัดตั้งส่วนงานของ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2562 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562 หน้า
17 เล่ม 136 ตอนพิเศษ 306 ง โดยสาระสาคัญของประกาศ คือ
1. กาหนดเขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นวิทยาเขต ดังต่อไปนี้ 1) วิทยาเขตตรัง
2) วิทยาเขตปัตตานี 3) วิทยาเขตภูเก็ต 4) วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 5) วิทยาเขตหาดใหญ่
2. ส่วนงานของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จาแนกเป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้
2.1) ส่วนงานนโยบายและบริหาร มีภาระหน้าที่ในการดาเนินการตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
และบริหารจัดการทั้งระดับส่วนกลางและระดับวิทยาเขต ประกอบด้วย
(1) สานักงานสภามหาวิทยาลัย มีภ าระหน้าที่ใ นการสนับสนุน ประสานงานในกิจการของ
สภามหาวิทยาลัย รวมทั้งประเมินและติดตามสัมฤทธิผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยและส่วนงาน
(2) สานักงานอธิการบดี มีภาระหน้าที่ในการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการดาเนินการตาม
วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และภารกิจอื่นตามที่สภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารมหาวิทยาลัยมอบหมาย
(3) สานักงานวิทยาเขตตรัง สานักงานวิทยาเขตปัตตานี สานักงานวิทยาเขตภูเก็ต สานักงาน
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ส านัก งานวิทยาเขตหาดใหญ่ มีภาระหน้า ที่ในการบริหารจัดการเพื่อสนั บสนุ นการ
ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ของวิทยาเขต และมีภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
2.2) ส่วนงานวิชาการ มีภาระหน้าที่ในการจัดการศึกษา พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย พัฒนางานวิจัย
และนวัตกรรม พัฒนางานบริการวิชาการเพื่อสังคม และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ได้แก่ คณะ วิทยาลัย สถาบัน
(1) ส่วนงานวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วยส่วนงาน ดังต่อไปนี้
(1.1) บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มี ภ าระหน้ า ที่ ใ นการบริ ห ารหลั ก สู ต รและการวิ จั ย ระดั บ
บัณฑิตศึกษา หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.2) วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ มีภาระหน้าที่ในการบูรณาการศาสตร์ดา้ นคอมพิวเตอร์
วิทยาการข้อ มูลและเทคโนโลยีส ารสนเทศ เพื่อจั ดการศึกษา การวิจัยและสร้างงานนวัตกรรมการบริการ
วิชาการ หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.3) วิทยาลั ยนานาชาติ มีภ าระหน้า ที่ใ นการจั ดการศึกษาหลัก สู ตรนานาชาติหรือ
หลักสูตรที่ใช้ภาษาอื่นในการเรียนการสอน เชื่อมโยงและสนับสนุนกิจกรรมการดูแลนักศึกษาต่างชาติการวิจัย
และการบริการวิชาการ หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 46 -


-46- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

(1.4) สถาบันนโยบายสาธารณะ มีภาระหน้าที่ในการสร้างงานวิจัย หรือเชื่อมโยงงานวิจัย


จากแหล่งอื่น สู่การพัฒนาต้นแบบและนวัตกรรมในการแก้ปัญหาสาหรับจัดทาเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และ
จัดการศึกษาในศาสตร์ที่เป็นความเป็นเชี่ยวชาญของสถาบัน หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.5) สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา มีภาระหน้าที่ในการวิจัยและบริการวิชาการ
เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงพืน้ ที่และความยั่งยืนด้านศิลปวัฒนธรรม หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.6) สถาบันสันติศึกษา มีภาระหน้าที่ในการวิจัยและบู รณาการองค์ความรู้วิถี การอยู่
ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม และจัดการศึกษาในศาสตร์ที่เป็นความเชี่ยวชาญของสถาบันหรือภารกิจ
อื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.7) สถาบันฮาลาล มีภาระหน้าที่ในการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้เกิดนวัตกรรมการพัฒนาฮา
ลาลเชิงพื้นที่ กากั บดูแลมาตรฐานฮาลาล และจัดการศึกษาในศาสตร์ที่เป็ นความเชี่ยวชาญของสถาบั นหรือ
ภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(2) ส่วนงานวิชาการของวิทยาเขตตรัง ประกอบด้วยส่วนงาน คณะพาณิชยศาสตร์และการ
จัดการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
(3) ส่ว นงานวิช าการของวิทยาเขตปั ต ตานี ประกอบด้ว ยส่วนงาน คณะพยาบาลศาสตร์
วิทยาเขตปัตตานี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะวิทยาการสื่อสาร คณะวิทยาการ
อิสลาม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์
(4) ส่ว นงานวิชาการของวิทยาเขตภู เก็ต ประกอบด้วยส่วนงาน คณะการบริการและการ
ท่องเที่ยว คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และคณะวิเทศศึกษา
(5) ส่วนงานวิชาการของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วยส่วนงาน คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ
(6) ส่ว นงานวิ ช าการของวิ ท ยาเขตหาดใหญ่ ประกอบด้ ว ยส่ ว นงาน คณะการจั ด การ
สิ่ง แวดล้ อ ม คณะการแพทย์ แผนไทย คณะทรั พยากรธรรมชาติ คณะทั น ตแพทยศาสตร์ คณะเทคนิ ค
การแพทย์ คณะนิติศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสั ช ศาสตร์ คณะวิทยาการ
จั ด การ คณะวิ ท ยาศาสตร์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ คณะศิ ล ปศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสั ต ว
แพทยศาสตร์ คณะอุตสาหกรรรมเกษตร
2.3) ส่วนงานอานวยการและสนับสนุนภารกิจ มีภาระหน้าที่ในการสนับสนุนการดาเนินการของ
มหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนการพัฒนาแต่ละภารกิจ
(1) ส่วนงานอานวยการและสนับสนุนภารกิจกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย
(1.1) สานักการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ มีภาระหน้าที่ในการกากับ ติดตาม ดูแล
พั ฒนาคุ ณภาพการจั ด การเรียนการสอนและมาตรฐานการศึก ษาของมหาวิทยาลั ย หรือ ภารกิ จอื่น ตามที่
มหาวิทยาลัยมอบหมาย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 47 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -47-
ส่ส่ววนที
นที่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

(1.2) ส านัก เครื่อ งมือ วิ ทยาศาสตร์และการทดสอบ มีภ าระหน้า ที่ใ นการสนับสนุ น


เครื่อ งมือวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการเพื่อ การทดสอบสาหรั บการเรียนการสอน การวิจัย และการสร้า ง
นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.3) สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มีภาระหน้าที่ในการ
ให้ บริ ก ารทรั พ ยากรการเรีย นรู้ เพื่อ สนั บสนุน การศึ ก ษา การค้ น คว้า การอ้า งอิ ง โดยใช้ เ ทคโนโลยีสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์และสื่อดิจิทัลที่หลากหลาย ทันสมัย หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.4) สานักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ มีภาระหน้าที่ในการพัฒนาโครงสร้าง
พืน้ ฐานด้านดิจิทัล ด้านวิทยาการข้อมูล การบริหารและวิเคราะห์ชุ ดข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อนาไปสู่ระบบการ
ให้บริการที่ทันสมัยและการตัดสินใจอัตโนมัติ หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.5) ส านัก พั ฒ นาทรั พยากรมนุษย์ และพั นธกิ จสั ง คม มีภ าระหน้ า ที่ใ นการพั ฒ นา
ทรัพยากรมนุษย์ ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เชื่อมโยงมหาวิทยาลัยสู่ชุมชนเพื่อส่งเสริม
และสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตและสร้างชุมชนเข้มแข็ง หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.6) ส านัก วิจั ยและพั ฒ นา มีภ าระหน้า ที่ใ นการบริหารจั ด การเพื่อ สร้า งศัก ยภาพ
งานวิจัยและนวัตกรรม กากับทิศทางและยุทธศาสตร์การวิจัยของมหาวิทยาลัยที่สอดคล้องกับนโยบายการ
วิจัยและการพัฒนาประเทศ หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(1.7) สานักวิทยบริการ มีภาระหน้าที่ในการให้บริการและพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้
เพื่ อ สนั บ สนุ น การศึ ก ษา การค้ น คว้า การอ้ า งอิ ง โดยใช้ เ ทคโนโลยี สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิก ส์ แ ละสื่ อ ดิ จิ ทั ล ที่
หลากหลาย ทันสมัย หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(2) ส่วนงานอานวยการและสนับสนุนภารกิจของวิทยาเขตปัตตานี ประกอบด้วย
(2.1) สานักส่งเสริมและบริการวิชาการ มีภาระหน้าที่ในการสร้างงานบริการวิชาการ
และถ่า ยทอดความรู้ เทคโนโลยีที่หลากหลายรู ปแบบเพื่อเชื่อ มโยงมหาวิทยาลัยกับชุมชน สร้างเสริม การ
เรียนรู้ตลอดชีวิตและยกระดับชุมชนเข้มแข็ง หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
(3) ส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่ทาภารกิจกลางของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย
(3.1) อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีภาระหน้าที่ในการเชื่อมโยงองค์
ความรู้และนวัตกรรมจากงานวิจัยที่ขยายผลให้เกิดการสร้างนวัตกรรมร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยภาคเอกชน และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นาร่องสู่การสร้างผู้ประกอบการใหม่ หรือภารกิจอื่นตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
2. ศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามัน
สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีมติในการประชุมครั้งที่405(1/2562) เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2562
ตามคาเสนอของคณะกรรมการส่งเสริมกิ จการมหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ โดยในสาระของข้อเสนอ คือ
ยุ ทธศาสตร์ ที่ 3 ประเด็ นการเพิ่ มประสิทธิภ าพการบริหารจั ดการโดยเฉพาะเสถี ยรภาพด้า นการเงิน โดย
มอบหมายให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่และวิทยาเขตภูเก็ต ส่งเสริมให้มีการจัดตั้ง Medical
Hub ที่วิทยาเขตหาดใหญ่และวิทยาเขตภูเก็ต โดยการร่วมลงทุนกับมืออาชีพ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่และการมีส่วน
ร่วมกับหน่วยงานและคณะต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ตามหลั กการ PSU System ซึ่งต่อมาใน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 48 -


-48- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ขั้นตอนสู่การปฏิบัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ “ศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามัน” ขึ้น


และได้มีการกาหนดทิศทางของ “ศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามัน” คือ ให้มีโครงสร้างใน 4 ภารกิจ ได้แก่
2.1 วิทยาลั ยสุขภาพนานาชาติ (International health and Science College) เพื่อผลิตบุคลากร
ทางด้า นวิทยาศาสตร์สุ ขภาพ ให้เพียงพอและปิด ช่ อ งว่า งปั ญ หาของการรั ก ษาของพื้นที่อั นดามันในอดีต
รวมทั้งการส่งเสริมอุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยวแก่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติที่เข้ามาใน
เขตพื้นที่กลุ่มจังหวัดอันดามัน โดยตามแผนจะมีการผลิตบุคลากรโดยใช้ความเข้มแข็งของคณะที่มีอยู่เดิมเป็น
ฐานและขยายความร่วมมือกับวิทยาเขตภูเก็ต รวมทั้งภาคส่วนต่าง ๆ โดยกาหนดแผนการเปิดรับนักศึกษา
คณะพยาบาลศาสตร์ ปี 2563 จานวน 20 คน และปี 2565 รั บนั ก ศึก ษาคณะแพทยศาสตร์ คณะทั น ต
แพทยศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ และคณะเภสัชศาสตร์ จานวน 20, 24, 60, 30, 30 และ 20 คน
2.2 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภู เก็ต (Songklanakarin Hospital Phuket Campus)
เพื่อให้ประชาชนในกลุ่มจังหวัดอันดามันได้รับบริการการรักษาโรคซับซ้อนที่สถานพยาบาลในพื้นที่ไม่สามารถ
รองรับได้ รวมไปถึงการลดค่าใช้จ่ายของประชาชนในพื้นที่ เป็นสถานพยาบาลขั้นตติยภูมิและเฉพาะทางเป็น
หลั ก ตลอดจนการศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ ป้ อ งกั น โรคและรั ก ษา เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ประชาชนและ
นักท่องเที่ยวในการเข้ามาท่องเที่ยวในกลุ่มจังหวัดอันดามันและประเทศไทย อันจะเป็นการสร้างรายได้ให้กับ
ประเทศและสนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ
2.3 ศูนย์สุขภาพนานาชาติ (International Wellness center) เพื่อให้บริการทางการแพทย์เชิงสุขภาพ
แก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวที่เข้ามาในจังหวัดภูเก็ต การดูแลแบบครบวงจร ทั้งรักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ
และส่งเสริม สุ ข ภาพที่ ดีมีคุณภาพมาตรฐาน สะดวกรวดเร็ ว และเพื่อเตรียมความพร้อมและรองรั บการ
ขยายตัวของภาคการท่องเที่ยวที่เกิดขึน้ ในอนาคต
2.4 ศูนย์ทันตกรรมดิจิทัล สงขลานครินทร์ (International Dental Center) เพื่อให้บริการทันตกรรม
แก่ประชาชนและนักท่องเที่ยวที่เข้า มาในจังหวัดภูเก็ต ให้ ได้รับบริการที่ดีมีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว เตรียม
ความพร้อมและรองรับการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นในอนาคต สร้างเอกลักษณ์การท่องเที่ยว
เชิงสุขภาพ ดูแลแบบครบวงจร ทั้งรั กษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพและส่งเสริมสุขภาพ กาหนดเป้าหมายของ
โครงการจะมี ศู นย์ ทันตกรรมนานาชาติที่ ทันสมั ย แห่ง แรกในภาคใต้ จานวน 1 ศู น ย์ โดยประชาชนและ
นักท่องเที่ยว ได้รับบริการการดูแลสุขภาพฟัน จานวน 500 คน/เดือน
3. การเปิดหลักสูตรร่วมกันของหลายคณะ/วิทยาเขต
โดยบูรณาการหลักสูตรที่เหมือน/คล้ายกันของคณะ/วิทยาเขต ตามหลักการใช้ทรัพยากรร่วมกั น
ระหว่างวิทยาเขต โดยจัดการเรียนการสอนร่วมกันในวิชาพืน้ ฐานและวิชาแกนที่เหมือนกัน แยกวิชาเฉพาะตาม
ความเชี่ยวชาญและโดดเดนของวิทยาเขต แต่ละวิทยาเขตยังคงจุดเดน/จุดเน้นของวิทยาเขต ตัวอย่างหลักสูตร
ได้แก่
3.1 หลักสูตรการทองเที่ยว ประชุมร่วมกันกับหลักสูตรด้านการทองเที่ยวทั้ง 4 วิทยาเขต โดยมีการ
กาหนดรายวิชาที่สามารถสอน/เรียนร่วมกัน วางแนวทางในการจัดทา Module ของวิชาแกนที่เหมือนกัน เพื่อมี

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 49 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -49-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

จัดการสอนร่วมกันทุกวิทยาเขต และมี Module ของความเชี่ยวชาญเฉพาะวิทยาเขต ซึ่งจะทาให้ทุกหลักสูตร


ยังคงมีความโดดเดนของตนเอง
3.2 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ ยางพาราและการจัดการ จากความร่วมมือกับ Qingdao University
of Science and Technology และ Valley Group มีการพัฒนาหลั กสูตรที่บูรณาการกั นระหว่า งวิทยาลั ย
นานาชาติยางพาราไทย-จีนและคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยพัฒนาหลักสูตรร่วมกันเป็น 1 หลักสูตร แยกเป็น 4
กลุ่มวิชาเอก จัดการเรียนการสอนเป็น module ตามแนวทาง OBE ซึ่งอยู่ระหว่างดาเนินการ
3.3 หลักสูตร Data Science ระดับปริญญาโท โดยจัดทาเป็นหลักสูตรเดียวกัน ใช้ทรัพยากรร่วมกัน
ของทั้ง 5 วิทยาเขต โดยแต่ละวิทยาเขตยังคงสาขาความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
3.4 การบูรณาการศาสตร์ระหว่ างคณะ/สาขาวิช า สร้างมูลค่าเพิ่มให้นักศึก ษาเป็นหลักสูตร 2
ปริญญา กฎหมายอิสลามและนิตศิ าสตร์ โดยใช้เวลาเรียน 5 ปีครึ่ง
3.5 ปรับปรุงรายวิชาให้เรียนรู้ร่วมกันได้ทั้ง 5 วิทยาเขต นักศึกษาสามารถเรียนที่ใดก็ไ ด้ โอนย้าย
หน่ว ยกิ ต จั ด การเรียนการสอนร่ว มกั นในวิชาที่พื้ นฐานเหมือนกั น แยกความเด่นในวิช าเฉพาะตามความ
เข้มแข็งของคณะ/วิทยาเขต รวมทั้งปรับหมวดศึกษาทั่วไป เป็นหมวดพัฒนาทักษะนักศึกษา เพื่อเรียนรู้ร่วมกัน
ทั้ง 5 วิทยาเขต เริ่มใช้ภาคการศึกษา 1/2561
4. การขยายภารกิจการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ที่วิทยาเขตภูเก็ต
มหาวิทยาลัยส่งเสริมให้มีการจัดตั้ง Medical Hub ที่หาดใหญ่และภูเก็ต โดยมีแนวทางหามืออาชีพ
ร่วมลงทุน ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่และการมีสว่ นร่วมกับคณะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องการส่งเสริมให้เกิดศูนย์กลางระบบ
สุขภาพ ส่งเสริมให้เกิดการขยายผลความเป็นเลิศทางด้านสุขภาพไปยังจังหวัดภูเก็ตซึ่ งเป็นพื้นที่ ที่มีศักยภาพ
ทั้งในมิตกิ ารท่องเที่ยวสุขภาพและการบริการสุขภาพ ให้กับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีศักยภาพสูง และเป็นการ
ขยายการดูแลด้านสุขภาพของประชาชนในพืน้ ที่อันดามันให้ได้รับโอกาสอย่างทั่วถึง เกิดการผลิตบุคลากรด้าน
สาธารณสุขในพืน้ ที่ เกิดการจ้างงาน และรองรับแผนยุทธศาสตร์ชาติดา้ น Medical Hub โดยประเด็นเร่งด่วนที่
ด าเนิน การก่ อ น คือ การผลิ ตพยาบาลเพิ่ ม ที่วิ ทยาเขตภู เ ก็ ต เป็ นความร่ว มมื อ ระหว่า งวิท ยาเขตภู เก็ ต
โรงพยาบาลวชิ ระภู เก็ตและคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ รองรับแผนยุ ทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561–2565 โดยมีแนวทางการบริหารหลักสู ตรโครงการขยายภารกิ จ
การศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ เป็นการเพิ่มห้องเรียนของคณะพยาบาลศาสตร์ ที่วิทยาเขตภูเก็ต ใช้หลักสูตร
ปรับปรุงปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นหลักสูตรนานาชาติ ถือเป็นโครงการผลิตบัณฑิตด้านพยาบาลศาสตร์โดยความ
ร่วมมือ ระหว่างคณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาเขตภูเก็ ต มีค่า ธรรมเนียมการศึก ษาสาหรับนัก ศึก ษาไทย
48,000 บาท นักศึกษาต่างชาติ 64,000 บาท การรับนักศึกษายังใช้ สน. เดิมของคณะพยาบาลศาสตร์โดย
การรับนักศึกษาจานวน 30 คน (รับโดยคณะพยาบาลศาสตร์ จานวน 20 คน รับโดยวิทยาเขตภูเก็ ต จานวน
10 คน) นักศึกษาทั้งหมดเรียนที่คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ในชั้นปีที่ 1-2 และชั้นปีที่ 3 ภาค
การศึกษาที่ 1 และเรียนที่วิทยาเขตภูเก็ต ในชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2 และชั้นปีที่ 4

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 50


-
-50- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

5. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน


มหาวิทยาลัยมีแนวทางการดาเนินการ ดังนี้
5.1 การก าหนดมาตรฐานในการบริ ห ารจั ด การด้ า นความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน มหาวิทยาลัยดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้ อ มในการท างาน รั บ ผิ ด ชอบงานด้ า นความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น แล ะด้ า น
สภาพแวดล้อมในการทางาน (การจัดการขยะ ความปลอดภัยด้านการจราจร การบรรเทาสาธารณภัย) (กอง
อาคารสถานที่) ด้า นความปลอดภัยในห้องปฏิบัติก าร (คณะกรรมการ Chemical Safety คณะกรรมการ
Biosafety Safety โดย RDO) ด้านอาชีวอนามัยสุขภาพของบุคลากร (การสูบบุหรี่ การดูแลสุข ภาพจิต อาหาร
เพื่อสุขภาพ การออกกาลังกาย เรียนรู้การช่วยชีวิตเบือ้ งต้น (CPR)) การจัดทาคู่มือและแนวปฏิบัติ เพื่อความ
ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน คู่มือการจัดการสารเคมี ของเสีย ชีวนิรภัยและรังสี
แนวปฏิบัติการประเมินและบริหารจัดการความเสี่ยงในห้องปฏิบัติการ
5.2 เสริมสร้างความรู้ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ด้วยการจัด
อบรม ด้านการบริหารจั ดการความปลอดภั ยในห้องปฏิบัติการทางเคมีและชี วภาพรั งสี อาชี วอนามั ย และ
สิ่งแวดล้อม แก่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละด้านเป็นหลักสูตรที่จัดขึน้ ทุกปีโดยจะต้องกาหนดแผนในการอบรม
5.3 ก าหนดมาตรฐานในการประเมินและการยกระดับการจั ดการความปลอดภั ย อาชีวอนามั ย และ
สภาพแวดล้ อมในการทางาน ขณะที่มีห้องปฏิบัติการต้ องมีคณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี วอนามั ย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน ในระดับคณะ/ส่วนงาน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการท างาน ในระดั บคณะ/ส่ วนงาน ด าเนิ น การวิ เคราะห์ สถานการณ์ ความปลอดภั ย อาชี วอนามั ยและ
สภาพแวดล้อมของคณะ/ส่วนงาน
5.3 กาหนดมาตรฐานในการประเมินและการยกระดับการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน มีการจัดทาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูลผลการประเมินห้องปฏิบัติการด้านความ
ปลอดภัยทางเคมี (ด้วยระบบ ESPReL Checklist) ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ(ด้วยระบบ Biosafety Checklist)
รายชื่อผู้ผ่านการอบรม ฐานข้อมู ลสารเคมี (ระบบ Chem Invent) ฐานข้อมู ลเชื้อ (ที่แจ้งการครอบครอง)
ฐานข้อมูลพิษจากสัตว์ (ที่แจ้งการครอบครอง) จัดทาระบบการจัดการสารเคมีของมหาวิทยาลัย
6. การจัดตั้งกองทุนคลัสเตอร์
มหาวิทยาลัยปรับเปลี่ยนนโยบายการบริหารงานโดยเน้นศาสตร์การบูรณาการมากขึน้ จึงได้กาหนด
ทิศทางการดาเนินงานในอนาคตเพื่อขับเคลื่อนการเรียนการสอนและวิจัยแบบบูรณาการในรูปแบบคลัสเตอร์
โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มศาสตร์ใหญ่ ประกอบด้วย กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทั้งนีน้ อกจากจะเพื่อให้สอดคลองกับความต้องการของประเทศที่ตอ้ ง
อาศัยการทางานร่วมกันในลักษณะบูรณาการแล้ว ยังช่วยส่งเสริมการบริหารงานของมหาวิทยาลัยภายใต้
รูปแบบ PSU System ที่เป็นระบบประสิทธิภาพทางการบริหาร ยึดหลักความเชื่อมโยงและเป็นเครือข่ายของ
วิทยาเขตเพื่อช่วยลดความซ้าซ้อน และเกื้อหนุนให้สามารถใช้ทรัพยากร ความเชี่ยวชาญ และรากฐานวิชาการ
ร่วมกันอย่างประหยัดและเกิดความคุ้มค่ามากที่สุด สาหรับแนวทางการบูรณาการการเรียนการสอนและการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 51 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -51-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิจัยแบบคลัสเตอร์ ประการหนึ่งก็คือ การจัดตั้ง “กองทุนคลัสเตอร์” โดยเมื่อพิจารณาผลการดาเนินงานของ


กองทุนวิจัยคณะ/หนวยงาน จานวน 39 กองทุน ในปี งบประมาณ 2562 พบว่ามีการ ใช้จ่ายงบประมาณจาก
กองทุนวิจัยในภาพรวมร้อยละ 24.9 ซึ่งที่ประชุ ม คณะกรรมการบริหารกองทุนวิจัยมหาวิทยาลั ย ครั้งที่
1/2563 เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2563 พิจารณาแล้ว มีความเห็นว่าควรผลักดันให้เกิดการใช้จ่ายงบประมาณ
จากกองทุนวิจัยให้มากขึน้ และเพื่อใด้สอดรับกับนโยบายการจัดตั้งกองทุนคลัสเตอร์ จึงเกิดแนวคิดในการรวม
งบประมาณจากทุกกองทุนวิจัยซึ่งมีรายได้ปละประมาณ 1,000 ล้านบาท เพื่อใช้เป็นงบประมาณสาหรับการ
ดาเนินงานกองทุนคลัสเตอร์ เพื่อขับเคลื่อน PSU System โดยจะแบ่งกองทุนคลัสเตอร์ออกเป็น 2 ระดับรวม 4
กองทุน ประกอบดวย 1) กองทุนคลัสเตอร์ระดับมหาวิทยาลัย โดยรวมงบประมาณจากกองทุนวิจัยของทุก
วิทยาเขตเข้าด้วยกัน 2) กองทุนคลัสเตอร์ระดับคณะ แบงออกเป็น 3 คลัสเตอร์ คือ คลัสเตอร์วิทยาศาสตร
สุขภาพ คลัสเตอร์วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และคลัสเตอร์มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเป็นไปใน
ลักษณะการสนับสนุนงานวิช าการและงานวิจัยในลักษณะคลัสเตอร์ ก าหนดสั ดส่วนการสนั บสนุนระหว่า ง
ส่วนกลางและคณะ และก าหนดวั ตถุประสงค์ข องกองทุนที่ชัดเจนในการบูรณาการการวิจัย บัณฑิ ตศึกษา
พัฒนาบุคลากร และเน้นการพึ่งตนเองในกรณีไ ม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนกลาง แต่ถ้าได้รับ
งบประมาณวิจัยจากส่วนกลางหรื อแหล่งทุนภายนอกในจานวนที่สูง ก็จะลดสัดส่วนการใช้จ่ายงบประมาณ
จากกองทุนคลัสเตอร์ลง ทัง้ นีเ้ พื่อประโยชน์ในการบรรเทาผลกระทบจากปัจจัยภายนอกในการดาเนินภารกิจ
วิจัยของคณะ/หน่วยงาน จะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุนคลัสเตอร์ ประกอบด้วยรองอธิการบดี
ของทั้ง 5 วิทยาเขต คณบดี ผู้ทรงคุณวุ ฒิ และผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อทาหน้า ที่กาหนดนโยบายและบริหาร
จัดการกองทุนคลัสเตอร์ในภาพรวม
7. โครงการมหาวิทยาลัย 4.0 (ระยะที่ 1) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เป็นส่วนหนึ่งของโครงการมหาวิทยาลัย 4.0 ในโครงการวิจัยมุ่งเป้า ภายใต้แผนงานคนไทย 4.0 ซึ่ง
ได้รับการสนับสนุนจากสานักงานการวิจัยแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดทายุทธศาสตร์การดาเนินงาน
ของมหาวิ ท ยาลั ย ร่ ว มกั น ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย ภู มิ ภ าค 3 มหาวิ ท ยาลั ย คื อ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่
มหาวิทยาลั ยขอนแก่น และมหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ ผ่า นเทคนิคการมองภาพอ นาคตเชิงยุทธศาสตร์
(Strategic Foresight) เพื่อ การก าหนดยุ ทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ รองรั บการเปลี่ยนแปลงและพั ฒนาการ
ดาเนินงานของมหาวิทยาลัยภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวการณ์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยทีมผู้วิจัย
มหาวิทยาลัย 4.0 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สรุปผลแนวทางการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยผ่าน 4 ฉากทัศน์
ในช่วงระยะเวลา 20 ปี พบว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยดาเนินการอยู่ในรูปแบบใกล้เคียงกับการดาเนินการของ
PSU.edu มากที่สุด คือ เน้นการทางานในพื้นที่เพื่อค้นพบองค์ความรู้ใหม่ ๆ ตามบริบทของทรั พยากรและ
ผู้เชี่ยวชาญของแต่ละวิทยาเขต สาหรั บใช้ เพื่อพั ฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย พร้อมถ่ ายทอดองค์
ความรู้ไปสู่สังคมภายนอก ร้อยละ 70 ที่เหลือร้อยละ 20 เป็นรูปแบบ PSU.org ที่เน้นการให้องค์ความรู้ทั่วไป
ผ่านทางออนไลน์ และร้อยละ 10 เป็นรูปแบบ PSU.biz ที่เน้นการพัฒนาเทคโนโลยี สาหรับต่อยอดธุรกิจใน
พืน้ ที่เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมและองค์ความรู้สู่ความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ โดยยังไม่มี
การดาเนินการตามแนวทางของ Udemy ที่เน้นการความเชี่ยวชาญเฉพาะด้า นในระดับโลก ดาเนินงานบน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 52 -


-52- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

แพลตฟอร์มเสมือนแบบไร้พรมแดน คณะวิจัยได้ค้นคว้าศึกษาข้อมูลผ่านระเบียบวิธีการวิจัยและสรุปความเห็น
ว่าการดาเนินการของมหาวิทยาลัยในรูปแบบนี้อาจไม่สามารถดารงอยู่ได้ในระยะยาวด้วยแนวโน้มปัจจัยทั้ง
ภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการดาเนินการจึงได้มีการนาเสนอแนวทางในการพัฒนามหาวิทยาลัย
ตามกรอบฉากทัศน์ทั้ง 4 ฉากทัศน์ โดยไม่ไ ด้มุ่งเปลี่ยนแปลงไปสู่ ฉ ากทัศน์ใ ดฉากทั ศน์หนึ่งทั้งหมด แต่มี
รูปแบบการด าเนินการและแนวทางการขับเคลื่อนในแต่ล ะช่วงปี (ช่ว ง 5 ปี 10 ปี 15 ปี และ 20 ปี ) เพื่อให้
สามารถนาเอาแผนกลยุทธ์มาปรับให้และมีการทบทวนการดาเนินการเป็นระยะ โดยมีแนวทางในการปรับปรุง
ทิศทางการดาเนินการของมหาวิทยาลัยดังนี้
7.1 ช่วง 5 ปีแรก จะมีการปรับเปลี่ยนสัดส่วนโดยการลดสัดส่วนของ PSU.edu ลง เพื่อลดภาระ
ทางด้านต้นทุนเรื่องทรัพยากรที่มีอยู่อย่างกระจัดกระจาย มองหาการใช้ทรัพยากรร่วมอย่างมีประสิทธิภาพให้
มากที่สุด มุ่งเน้นการดาเนินการสูเ่ ชิงธุรกิจมากยิ่งขึน้ เพื่อความมีเสถียรภาพขององค์กรและตอบสนองนโยบาย
ของภาครัฐที่ให้มหาวิทยาลัยปรับตัวให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ และเป็นกาลังหลักในการพัฒนาองค์ความรู้บน
ฐานของความได้เปรียบเชิงทรัพยากรและพื้นที่สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอย่างยั่งยืน จาก
แนวทางนีจ้ ึงได้มีการเพิ่มการดาเนินการตามรูปแบบของ PSU.biz มากยิ่งขึ้นจากร้อยละ 10 เป็นร้อยละ 25
ภายใน 5 ปี และมีการเริ่มการด าเนินการตามแนวทางของ PSU.com เพื่อเพิ่มองค์ความรู้และเทคโนโลยี
สมัยใหม่ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่รวดเร็ว โดยเน้นการพัฒนาด้านเทคโนโลยีหรือองค์ความรู้
ที่เป็น Flagship ของมหาวิทยาลัย
7.2 ช่วง 10 ปีหลังจากนี้ การแข่งขันทางด้านเทคโนโลยีและสื่อออนไลน์เข้ามามีบทบาทต่อสังคม
และชีวิตความเป็นอยู่ของคนมากขึน้ มหาวิทยาลัยควรพัฒนาตนเองสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่เสริมความ
ได้เปรียบในด้านการแข่งขันโดยเน้นการใช้พัฒนาทรัพยากรและความได้เปรียบเชิงพื้นที่สาหรับการยกระดับ
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศจากฐานวิจัยและนวั ตกรรม ยกระดับเศรษฐกิ จฐานนวัตกรรมของพื้นที่ใ ห้
สูงขึน้ สู่ระดับโลก ดังนั้นการพัฒนาของมหาวิทยาลัยจะมุ่งเน้นไปสู่การพัฒนาตามแนวทางของ PSU.biz มาก
ยิ่งขึ้น โดยเพิ่ม สัด ส่วนจากร้อ ยละ 25 สู่ร้อยละ 40 ภายในปี 10 โดยลดสั ดส่ว นของการดาเนิน การตาม
แนวทางของ PSU.edu และ PSU.org ลง เนื่องจากประชาชนในอีก 10 ปีข้างหน้าสามารถหาความรู้ต่าง ๆ ได้
เองตามความถนัดและความสนใจของตน การให้ความสาคัญของคนต่อใบปริญญาลดลง แต่จะเน้นพัฒนา
ทักษะ ความชานาญเฉพาะตนและเฉพาะด้านมากยิ่งขึน้
7.3 ปีที่ 15 เมื่อสังคมโลกถูกเชื่อมต่อกันอย่างไร้รอยต่อ การที่มหาวิทยาลัยจะอยู่รอดได้ด้วยตนเอง
ต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญอย่างต่อเนื่อง และสามารถนาเอาองค์ความรู้นั้นไปพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศมากยิ่งขึ้น เพื่อยกระดั บประเทศให้พ้นกับดักรายได้ปานกลางด้วยวิจัยและ
นวัตกรรม ดังนั้นจึงควรมีการส่งเสริมการพัฒนาในส่วนของ PSU.biz และ PSU.com มากยิ่งขึ้น โดยมีการ
เชื่อมโยงความร่วมมือในระดับนานาชาติทั้งในส่วนของพันธมิตรเชิงธุรกิจและผู้เชี่ยวชาญระดับโลกที่มีองค์
ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีระดับสูงที่มีความซับซ้อนมากขึน้
7.4 เป้า หมาย 20 ปี ของมหาวิท ยาลั ยทางผู้ วิจัยเล็ งเห็น ว่า ควรมีก ารพั ฒ นาไปสู่ แนวทางของ
PSU.biz มากยิ่งขึ้นและลดสัดส่วนของ PSU.edu ลง เพื่อให้เป็นองค์กรที่มีความคล่องตัวและมีเสถียรภาพ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 53


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -53-
ส่ส่ววนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ ที่เข้ามากระทบ โดยสัดส่วนที่ควรจะเป็น คือ การดาเนินการตาม


แนวทางของ PSU.biz ร้อยละ 60 ของการดาเนินการทั้งหมด ตามมาด้วย PSU.edu ร้อยละ 20 สาหรับการ
ดาเนินการตามแนวทางของ PSU.com และ PSU.org มีสัดส่วนที่เท่ากันคือร้อยละ 10
การดาเนินการตามแนวทางของ PSU.biz จะมุ่งเน้นพัฒนาในวิทยาเขตหาดใหญ่ ภูเก็ต และสุ
ราษฎร์ธานีเป็นหลัก เนื่องจากเป็นพืน้ ที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศและมีโครงสร้างพื้นฐานพร้อมรองรับสู่
การพัฒนาในด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี เหมาะแก่การร่วมลงทุนและดาเนินการร่วมกับหน่วยงานในระดับ
นานาชาติ ในขณะที่การดาเนินการตามแนวทางของ PSU.com จะเป็นการดาเนินการในวิทยาเขตหาดใหญ่เป็น
หลัก เพื่อสร้างองค์ความรู้และผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเทคโนโลยีระดับสูงที่มีความซับซ้อนในระดับโลก ส่วนวิทยา
เขตตรังและปัตตานีจะดาเนินการตามแนวทางของ PSU.org เนื่องจากมีความพร้อมทางด้านทรัพยากร และมี
องค์ความรู้ที่หลากหลายตรงตามความต้องการเรียนรู้และพัฒนาทักษะของคนทุกช่วงวัย ส่วนการดาเนินการ
ตามแนวทางของ PSU.edu คณะและหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ 5 วิทยาเขตยังสามารถดาเนินการตามแนวทางนี้ได้
แต่ตอ้ งมีการปรับตัวไปสู่ 3 ฉากทัศน์ดังที่กล่าวไปข้างต้น

ประเด็นที่ 3 การมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนแปลงหรือสร้างพลังสะสม (momentum for change) ในการ


เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วขององค์กร
1. การขับเคลื่อนให้คุณภาพเป็นวัฒนธรรมองค์กร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีนโยบายประกันคุณภาพ
หน่วยงานภายในทั่ว ทั้งองค์ก ร เพื่อให้ส อดคล้องกั บพระราชบัญ ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ ไ ข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) พ.ศ.2543 ซึ่งมหาวิทยาลัยได้พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2544 เพื่อรับ
การประเมินคุณภาพภายนอกทุก 5 ปี สาหรับปี 2561 แบ่งเป็นระดับของการประเมิน 5 ระดับดังนี้ 1) ระดับ
หลักสูตร ดาเนินการตามระบบ CUPT QA (AUN QA+ ตัวบ่งชี้การกากับมาตรฐานของ สกอ.) เกณฑ์ประเมิน
ของสภาวิช าชี พ หรือ มาตรฐานสากล 2) ระดั บคณะ ด าเนินการตามระบบ EdPEx 3) ระดั บหน่ว ยงาน
สนับสนุนเทียบเท่าคณะ ดาเนินการตามระบบ TQA/ISO 4) ระดับหน่วยงานสนับสนุน ดาเนินการตามระบบ
TQA 5) ระดับสถาบัน ดาเนินการตามระบบ EdPEx และจากการที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้นาเกณฑ์
คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) มาใช้ และกาหนดให้มีการประเมินคุณภาพภายใน
ประจาปีก ารศึก ษา 2561 ระดับวิทยาเขต ประเมินระหว่างวัน ที่ 11-20 กันยายน 2562 และระดับสถาบั น
ประเมินระหว่างวันที่ 28-29 ตุลาคม 2562 และตามแนวทางการจัดทารายงานผลการประเมินตนเองตาม
มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 โดยมหาวิทยาลัยจะต้องรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในระดับ
มหาวิทยาลัยไปยัง สานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ผ่านระบบ CHE
QA Online ภายใน 120 วัน หลังจากสิน้ สุดปีการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบัน ดังนี้ ส่วนที่ 1
รายงานการก ากั บมาตรฐาน ผลการด าเนินการด้า นการก ากั บมาตรฐาน (องค์ประ กอบที่ 1) ของแต่ล ะ
หลักสูตรในสถาบันอุดมศึกษา ส่วนที่ 2 การรายงานผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการอุดมศึกษา ให้ระบุ
ผลลัพธ์ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 โดยระบุตามตัวบ่งชี้ที่สถาบันอุดมศึกษากาหนดในมาตรฐาน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 54 -


-54- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนที ่ 2 รายงานผลการดำ
นงานของอธิ �เนินมงานของอธิ
การบดีและที การบดี
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที มบริหารมหาวิ
สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์

แต่ละด้านเหล่านัน้ โดยให้แนบเอกสาร / หลักฐานอ้างอิงประกอบ (ผลลัพธ์ด้านผู้เรียน ผลลัพธ์ด้านการวิจัย


และนวัตกรรม ผลลัพธ์ดา้ นการบริการวิชาการแก่สังคม และผลลัพธ์ดา้ นศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย)
2. ผลการประเมินคุณภาพภายใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน
ระดับสถาบัน ซึ่งมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พ.ต.ท. ดร.นภดล ทองนพเนื้อ เป็นประธาน ได้เข้าตรวจประเมินคุณภาพ
การศึ ก ษาภายในระดั บ สถาบั น ตามเกณฑ์ ก ารบริ ห ารคุ ณ ภาพการศึ ก ษาสู่ ค วามเป็ น เลิ ศ ( EdPEx)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจาปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันที่ 28-29 ตุลาคม 2562 โดยมี คณะผู้บริหาร
ระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ และบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ ร่วมให้ข้อมูลและตอบข้อซักถาม รวมทั้งรายงานผลการ
ดาเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย สรุปผลการประเมินคุ ณภาพภายใน คณะกรรมการ เห็นว่า
มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์เป็ นสถาบั นการศึกษาที่ดาเนินงานตามภารกิ จอย่างมีคุณภาพ สามารถสร้าง
ประโยชน์คุณค่าและความมั่นคงให้กับสังคมภาคใต้และประเทศผ่านโครงการต่าง ๆ โดยยึดถือประโยชน์ของเพื่อน
มนุษย์เป็ นหลั ก ในปี ที่ผ่ านมามีแนวโน้ม ผลลั พธ์ที่ ดีขึ้ นในหลายเรื่ อง มีพั ฒนาคุ ณภาพอย่า งเข้ม ข้น มี การ
เตรียมพร้อมเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ส่งเสริมความก้าวหน้าให้กับบุคลากร มีกระบวนการสารวจและ
รับฟังเสียงของกลุ่มผู้เกี่ยวข้องผ่านการสื่อสารที่หลากหลาย อย่างไรก็ตาม ควรมีมุมมองเชิงระบบที่เชื่อมโยง
สอดคล้องกั นโดยมีตัวชี้วั ดความส าเร็ จ ควรแสดงผลลั พธ์ในด้านที่ส าคัญ ๆ มีการก าหนดค่าเป้าหมายของ
ผลลัพธ์ที่ชัดเจน และควรแสดงผลลัพธ์ที่มีค่าเทียบเคียงกับคู่เทียบเพื่อส่งเสริมศักยภาพในการแข่งขันขององค์กร
ควรมีการวิเคราะห์หาสาเหตุความสั มพันธ์ของปัจจัยต่าง ๆ เพื่อการบรรลุทุกภารกิจอย่างยั่งยืน ควรก้าวข้าม
ตัวชี้วัดแบบเดิมที่ไม่สามารถใช้ในการติดตามความก้าวหน้าของความสาเร็จเชิงกลยุทธ์ มีการทบทวนการทางาน
แบบเดิม และปรับปรุงกระบวนการสาคัญที่มีอยู่แล้วอย่างต่อเนื่อง
3. การประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx มหาวิทยาลัยกาหนดเป้าหมาย โดยใช้แนวทางตามเกณฑ์ EdPEx ใน
การบริหารมหาวิทยาลัย วิทยาเขต คณะ ส่วนงาน อย่างมีประสิทธิผล ซึ่งภายในปี 2565 คณะผ่านเกณฑ์ EdPEx
200 อย่างน้อย 35% (12 คณะ) และมหาวิทยาลัยสามารถยื่นและผ่าน EdPEx 200 ในระดับมหาวิทยาลัย หรือ
TQC ภายในปี 2565 จากที่ผ่านมาการดาเนินการระดับคณะ ผลการเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่
ความเป็นเลิศ : EdPEx200 ของ สกอ. พบว่า ผ่าน EdPEx 200 จานวน 6 คณะ คือ คณะวิทยาศาสตร์ คณะศิลป
ศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะทรัพยากรธรรมชาติ คณะเภสัชศาสตร์ และ
ผ่าน EdPEx 300 จานวน 1 คณะ คือ คณะแพทยศาสตร์ คณะที่สมัครเข้าร่วมโครงการ รุ่นที่ 7 (ธันวาคม 2562)
จานวน 6 คณะ ได้แก่ คณะวิทยาการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม และคณะอุตสาหกรรมเกษตร
ประเด็นที่ 4 การนาข้อแนะนาหรือนโยบายจากสภามหาวิทยาลัยสู่การปฏิบัติ
สานักงานสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดตั้งขึ้นเพื่อรับผิดชอบจัดประชุมสภา
มหาวิทยาลัย สืบค้นข้อมูลประกอบการพิจารณาของสภา สนับสนุนการทางานของสภาและคณะกรรมการชุด
ต่า ง ๆ ที่ส ภามหาวิท ยาลั ย แต่ง ตั้ งขึ้ น เช่ น คณะท างานคลั ง สมองยุ ท ธศาสตร์แ ละการด าเนิน งานของ
มหาวิ ท ยาลั ย คณะกรรมการนโยบายวิ ช าการ คณะกรรมการนโยบายบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คล

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 55


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -55-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะกรรมการนโยบายการเงินและทรัพย์สิ น คณะกรรมการนโยบายติดตามและประเมินผล จัดทารายงาน


การด าเนินงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลั ยและผู้บริหาร ถ่า ยทอดนโยบายของสภาสู่
มหาวิทยาลัยและประชาคม รวมทั้งจากมหาวิทยาลัยและประชาคมสู่สภามหาวิทยาลัย
1. การแต่งตั้งคณะทางานและกรรมการนโยบาย
1.1 คณะทางานคลังสมองยุทธศาสตร์และการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย (Think Tank) มี
หน้าที่เป็นเวทีระดมความเห็น ที่ปรึกษา และให้ข้อเสนอแนะต่อมหาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุนให้มหาวิทยาลัย
ก้าวข้ามข้อจากัดในรูปแบบวิธีการทางานแบบเดิม ๆ ไปสู่การสร้างวิถีวัฒนธรรมใหม่ที่สามารถสอดรับกั บการ
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ปัจจุบันมีการจัดประชุมไปแล้ว 7 ครั้ง (เมษายน 2562-ตุลาคม 2563)
และในคราวประชุ ม ครั้ ง ที่ 7 เมื่ อ วั น ที่ 29 ตุ ล าคม 2563 ได้พิ จ ารณาทบทวนบทบาทแล้ว พบว่า การ
ดาเนินงานที่ผ่านมายังเป็นในลักษณะการเป็นที่ปรึกษามากกว่าการให้ความคิดเห็นเชิงมองอนาคต (Foresight)
ที่ประชุมจึงมีมติให้ปรับบทบาทการทางานของคณะทางานฯ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงกับสภามหาวิทยาลัย
และทีมบริหาร สรุปได้ ดังนี้ 1) คณะทางานคลังสมองยุทธศาสตร์และการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย (Think
Tank) เสมือ นเป็ น กรรมการชุ ด ย่อ ยของคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ต้อ งมีหน้า ที่ 2 ส่ว น คือ เสนอ
ความคิด (Idea) เพื่อนาไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลง (Transformation) และเสนอวิธีการนาไปสู่การปฏิบัติ โดยเรื่องที่
พิจารณามีได้ทั้งเรื่องโครงการระดับใหญ่ (Big Issue) เพื่อพิจารณาประเด็นให้รอบคอบครอบคลุมทุกมิติก่อน
นาเสนอสภามหาวิทยาลัย และโครงการระดับเล็ก (Small Issue) เพื่อนาไปปฏิบัติได้ทันที (Sand Box) จากนั้น
ฝ่ายบริหารนาประเด็นความคิดและวิธีการนาไปสู่การปฏิบัติไปดาเนินการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อไป 2) ให้นา
ประเด็ น ที่ไ ด้ จากการประชุ ม คณะทางานฯ เสนอต่อ สภามหาวิทยาลั ยเพื่อ ก่ อ ให้เกิ ด กระบวนการเรียนรู้
(Learning Loop) 3) ต้องมีการติดตามงานที่เคยให้ความเห็นไปแล้ว เพื่อดูพัฒนาการและปัญหาอุปสรรคใน
การดาเนินงาน 4)องค์ประกอบของคณะทางานชุดนี้ควรประกอบด้วยบุคคลภายนอกด้วย เพื่อให้ได้ความเห็น
ที่หลากหลายและแตกต่างมากขึ้น 5) พัฒนาให้สานักงานสภามหาวิ ทยาลัยเป็นหน่วยงานสนับสนุนงานของ
สภามหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง โดยปรับโครงสร้างการบริหารให้มีรองอธิการบดีฝ่ายสภามหาวิทยาลัย เพื่อ
ขับเคลื่อนงานของสภามหาวิทยาลัย และกากับดูแลสานักงานสภามหาวิทยาลัย
1.2 คณะกรรมการนโยบายวิชาการ มีอานาจและหน้าที่ 1) กาหนดนโยบายด้านวิชาการเพื่อเสนอต่อ
สภามหาวิทยาลัย 2) ติดตามและประเมินการบริหารงานวิชาการให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและมาตรฐานทาง
วิชาการที่มุ่งเน้นคุ ณภาพวิชาการที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติและการพั ฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในอนาคต 3)
เสนอนโยบายในการบูรณาการการดาเนินงานด้านวิชาการของมหาวิทยาลัยให้มีความเป็นเอกภาพในการพัฒนา
และดาเนินงานในภาพรวม 4) เสนอนโยบายที่คณะกรรมการนโยบายวิชาการเห็นว่าสาคัญตรงตามความต้องการ
และสอดคล้องกับสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลง 5) กลั่นกรองงานวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย 6)
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ และ/หรือ คณะทางานตามที่เห็นสมควร 7) อื่น ๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย
โดยผลการดาเนินการที่ผ่านมาสรุปได้ดังนี้ 1) วิเคราะห์สาระสาคัญในพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา ปี 2562
และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทางไปสู่การวางแผนปฏิบัติการ 2) เสนอนโยบายและ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 56


-
-56- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ยุทธศาสตร์แผนการปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2562-2565 (PSU Education


Transformation 2019-2022) 3) เสนอ หลักเกณฑ์ “การประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์ที่เป็นผลงานนวัตกรรมหรือ
ผลงานสร้างสรรค์เพื่อใช้ขอสาเร็จการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” 4) เสนอแผนยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน
บัณฑิตศึกษาสู่ผลิตภาพกาลังคนด้านการพัฒนาวิจัยระดับแนวหน้าของโลก 5) อยู่ระหว่างดาเนินการแผนการ
ปรับเปลี่ยนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธกิจสังคม และ 6) พิจารณาหลักสูตรปรับปรุง/หลักสูตรใหม่
ที่จัดทาขึน้ ตามแนวทาง Outcome Based Education จานวน 84 หลักสูตร เป็นหลักสูตรใหม่จานวน 5 หลักสูตร
และหลักสูตรปรับปรุง จานวน 79 หลักสูตร
1.3 คณะกรรมการนโยบายบริหารทรัพยากรบุคคล มีอานาจและหน้าที่ 1) เป็นที่ปรึกษา ให้
ความเห็นและข้อเสนอแนะในการดาเนินงานระบบบุคลากรให้กับผู้บริหารมหาวิทยาลัยและเชื่อมโยงแนวคิด
และทิศทางการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยกับระดับสภามหาวิทยาลัย 2) การกากับ ดูแล การพัฒนา
ระบบบุคลากรและแนวปฏิบัติในการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยได้อย่างมีธรรมาภิบาล ให้สามารถใช้
ศักยภาพความต่าง ทักษะ ความชานาญเฉพาะทางสู่การตอบโจทย์การดาเนินงานมหาวิทยาลัยเพื่อนวัตกรรม
และสังคมได้ 3) บู รณาการให้การดาเนินงานในภาพรวมของบุคลากรเกิด ความเป็ นเอกภาพในระบบการ
บริหารมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต รับมอบการตัด สินใจและหรือกลั่ นกรองงานให้ส ภามหาวิทยาลั ย 4)
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและหรือคณะทางาน เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานด้านการบริห ารและพัฒนาระบบ
บุคลากรได้ตามความจาเป็น และ 5) อื่น ๆ ตามที่สภามหาวิทยาลัยมอบหมาย ผลการดาเนินงานที่ผ่านมาได้
มีการศึกษาข้อมูล/พัฒนากระบวนการให้สอดคล้องและผลักดันการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย โดยสรุปภาระงาน
ได้ 9 ประเด็น ดังนี้ 1) การรับอาจารย์/อาจารย์ใหม่/ค่าตอบแทนที่ดึงดูด โดยรับอาจารย์ใหม่ที่มีศักยภาพทาง
วิชาการสูงเพื่อ พัฒ นามหาวิทยาลั ยเข้มแข็ง มีก ารก าหนดค่าตอบแทน สวั สดิการที่จูงใจ เพื่อการได้ม าซึ่ง
อาจารย์ที่เก่ง ดี มีศักยภาพ และตรงตามความต้องการ 2) การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการให้มีศักยภาพในด้าน
การสอนและการวิ จั ย พั ฒ นาอาจารย์ ใ ห้ ส ามารถสอนเก่ ง กระตื อ รื อ ร้ น ในการค้ น หาความรู้ โดยใช้
กระบวนการวิจัย นาความรู้ที่ได้มาจัดการเรียนการสอน ประสานระหว่างฝ่ายการเรียนการสอน ฝ่ายวิจัย ฝ่าย
บริการวิชาการ โดยมีฝ่ายทรัพยากรบุคคลช่วยประสานสนับสนุนกระบวนการ เช่น การออกแบบหลักสูตร การ
ดูแลช่วยเหลื อบุคลากรสายวิชาการให้เข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ ระบบการสอนงาน 3) เพิ่มเกณฑ์มาตรฐาน
ผลงานทางวิชาการ โดยกาหนดค่าเฉลี่ยรวมเป็น 0.75 papers/คน/ปี (ภายในปี 2565 ตั้งเป้าหมายจานวนผลงาน
ตีพิมพ์ 2,000 papers/ปี) ทาแผนร่วมกับคณะ กาหนดเป้าตามกลุ่มของคณะ/สาขาตามธรรมชาติ ของสาขาที่
แตกต่างกันไป ตระหนักถึงความหลากหลายของผลงานวิจัย 4) ความหลากหลายในการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ
จัดกลุ่มตาแหน่งประเภทวิชาการเป็น 4 กลุ่ม คือ 4.1) กลุ่มตาแหน่งศาสตราจารย์ 4.2) กลุ่มตาแหน่งวิชาการสาย
วิจัยและสอน (สายหลัก) 4.3) กลุ่มตาแหน่งวิชาการสายผู้สอน และ 4.4) กลุ่มตาแหน่งนักวิจัย 5) พัฒนาระบบ
แผนทดแทนตาแหน่งที่สาคัญ เพื่อวางแผนการสรรหาคัดเลือก มีกลุ่มคนที่ได้รับการพั ฒนาเพื่อเตรียมเข้ าสู่
ตาแหน่งสาคัญ ของมหาวิทยาลัยจานวนหนึ่ง โดยอาจคัดเลือกมาจากผู้บริหารระดับต้นระดับกลาง หรือกลุ่มที่มี
แนวโน้มที่จะเข้าสู่ตาแหน่งบริหารได้ในอนาคต เพื่อรองรับการเกษียณอายุการลาออก การเจ็บป่วย 6) พัฒนา
มาตรฐานการจ้างงาน และดูแลสิทธิสวัสดิการให้เท่าเทียมทุกกลุ่มประเภทการจ้าง 7) ระบบการทางานข้ามสาย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 57 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -57-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

งาน โดยเน้นเป้าหมายของงานเป็นหลัก บุคลากรสามารถใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่โดยมีระบบการทางาน ระบบการ


ประเมินภาระงานที่เอือ้ ต่อการทางาน ≥ 2 สังกัด 8) ระบบข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยที่เชื่อมต่อกับข้อมูลในทุก
ด้าน ให้แสดงอยู่ในภายใต้ Platform เดียวกัน ทั้งข้อมูลด้านบุคลากร วิจัย การเรียนการสอน บริการวิชาการ
ข้อมู ลนัก ศึกษา การเงิน ฯลฯ โดยมีก ารเชื่ อมต่อข้ อมู ลส่ว นต่า ง ๆ และใช้ ฐานเดียวกั นทั้ง 5 วิ ทยาเขต 9)
พัฒนาการมีส่วนร่วมและความผูกพันกับองค์กร พัฒนาให้บุคลากรมีความจงรักภักดี มีความพึงพอใจ และมี
ความรู้สกึ เป็นเจ้าของร่วมกัน ร่วมแรงร่วมใจกันผลักดันให้มหาวิทยาลัยไปสู่เป้าประสงค์
1.4 คณะกรรมการนโยบายการเงินและทรั พย์ สิน มีอ านาจและหน้า ที่ 1) เป็ นที่ปรึก ษา ให้
ความเห็นและข้อเสนอแนะให้ระบบบริหารการเงินมีเสถียรภาพและการบริหารจัดการสินทรัพย์ และการลงทุน
หรื อ ร่ ว มลงทุ น ของมหาวิท ยาลั ย ที่ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น และกระจายตั ว อย่ า งทั่ ว ถึ ง ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห าร
มหาวิทยาลัย และเชื่อมโยงแนวคิดและทิศทางการจัดการทรัพยากรงบประมาณ/การเงินของมหาวิทยาลัยกับ
ระดั บ สภามหาวิ ท ยาลั ย 2) ก ากั บ ดู แ ล และบู ร ณาการการบริ ห ารจั ด การงบประมาณ/การเงิ น ของ
มหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามกรอบการด าเนินงานในลักษณะมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐและในระบบการ
บริหารมหาวิทยาลัยหลายวิท ยาเขตที่มุ่งให้เกิดสัมฤทธิผล ความคุ้มค่าและประสิทธิผลสูงสุด และสามารถ
ตอบโจทย์ก ารพั ฒ นาอย่า งยั่งยืน 3) รั บมอบการตัด สินใจและหรือกลั่ นกรองงานให้ส ภามหาวิทยาลั ย 4)
แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและหรือคณะทางาน เพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานทางการบริหารการเงินและการ
บริห ารจั ด การทรั พย์สินตามความจ าเป็ น และ 5) อื่นๆ ตามที่ส ภามหาวิทยาลั ยมอบหมาย โดยผลการ
ดาเนินงานที่ผ่านมา
1) เสนอแนะการบริหารการเงินและทรัพย์สนิ แก่อธิการบดีและสภามหาวิทยาลัย รวม 8 ประเด็น
ได้แก่ การลงทุนพัฒนาในพื้นที่ว่างของมหาวิทยาลัยทั้ง 5 วิทยาเขต เช่น ศูนย์การเรี ยนรู้เพื่อการท่องเที่ยวเชิง
สุข ภาพ ณ พื้นที่ทุ่งใหญ่ วิทยาเขตหาดใหญ่ สร้า งที่จอดรถโดยเก็บค่า เช่ า วิทยาเขตหาดใหญ่ การลงทุ น
นวัตกรรมเกษตรและประมง วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ศูนย์การแพทย์นานาชาติ วิทยาเขตภูเก็ต พิจารณาข้อมูล
การลงทุ นของมหาวิทยาลั ย การลงทุนในตราสารด้อ ยสิทธิ์ การกาหนดวงเงินฝากในสหกรณ์อ อมทรั พย์
มหาวิทยาลัย และการนาเงินฝากเข้าธนาคาร ICBC การส่งเสริมงานวิจัยกัญชาและเกษตรอินทรีย์ในประเทศ
ไทยระหว่างมหาวิทยาลัย Ondine Venture International Inc. และ Canagrowth Co.,Ltd. ของคณะแพทย
ศาสตร์ การจัด ตั้งส านักงานบริหารทรั พย์สินของมหาวิทยาลั ย และการรายงานผลการดาเนิน งานบริหาร
จัดการกองทุนส่วนบุคคลของมหาวิทยาลัย
2) กลั่นกรองข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศที่เกี่ยวกับการบริหารการเงิน การพัสดุ และทรัพย์สิน
ของมหาวิทยาลัยที่ตอ้ งนาเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย 4 ประเด็น ได้แก่ ข้อบังคับฯ ว่าด้วยการบริหารการเงิน
และทรัพย์สนิ ของมหาวิทยาลัย พ.ศ.2562 ระเบียบมหาวิทยาลัยว่าด้วยการเงินในการสอบคัดเลือกนักเรียน
เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.2562 ระเบียบมหาวิทยาลัยฯ ว่าด้วยบริษัทร่วมทุนพีเอสยูโฮ
ลดิ้ง จากัด และระเบียบมหาวิทยาลัยฯ ว่าด้วยกองทุนวิจัยของมหาวิทยาลัย
3) เสนอนโยบายการเงิน การจัดหาผลประโยชน์ การลงทุน และการบริหารจัดการทรัพย์สินของ
มหาวิทยาลั ยต่อ สภามหาวิทยาลั ย 9 ประเด็ น ได้แก่ รายงานของผู้ส อบบั ญ ชี ปีงบประมาณพ.ศ. 2561

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 58


-
-58- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

รายงานทางการเงินทุกไตรมาส รายงานทางการเงินประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2562 รายงานทางการเงิน


ปีงบประมาณพ.ศ.2562 ที่ผ่า นการรับรองของผู้สอบบั ญชี การจั ด ตั้งศูน ย์ก ารแพทย์แบบ Premium ณ
โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ การก่อสร้างอาคารจอดรถและอาคารอเนกประสงค์ข องคณะแพทยศาสตร์
การก่อสร้างหอพักนักศึกษาแพทย์และแพทย์ใช้ทุน การมอบอานาจในการอนุมัติแก้ไขข้อสัญญาหรือข้อตกลง
ตามพระราชบัญญัติการจัดซือ้ จัดจ้าง กระทรวงการอุดมศึกษา เห็นชอบการกาหนดวงเงินในการให้กู้ยืมเงิน
การถือหุ้น การเข้าเป็นหุ้นส่วนลงทุนได้ในวงเงินไม่เกินร้อยละ 50 ของจานวนสินทรัพย์ของมหาวิทยาลัย
4) กลั่ น กรองการจั ด สรรงบประมาณให้ส อดคล้อ งกั บยุ ท ธศาสตร์ ข องมหาวิ ทยาลั ย ให้ มี
ประสิทธิภาพ 3 ประเด็น ได้แก่ ระบบการจัดสรรงบประมาณ 2562 งบประมาณรายจ่ายเงินรายได้ประจาปี
งบประมาณ 2563 งบประมาณรายจ่ายเงินรายได้ประจาปีงบประมาณ 2564
- ให้ก รอบแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้ม ค่า ของหลั ก สู ตรการศึก ษาต่า ง ๆ 1 เรือ ง ได้แ ก่
งบประมาณรายจ่ายเงินรายได้ประจาปีงบประมาณ 2563 และปีงบประมาณ 2564
1.5 คณะกรรมการนโยบายติดตามและประเมินผล มีอานาจและหน้าที่ 1) กาหนดโครงสร้า ง
ระบบและกลไกการติด ตามประเมินผล 2) ประเมินผลการด าเนินงานของผู้บริห ารระดั บอธิก ารบดี รอง
อธิการบดี คณบดีและผู้อานวยการที่มี ฐานะเทียบเท่าส่ว นงาน 3) ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายของ
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลั ย และ 4) อื่ น ๆ ตามที่ส ภามหาวิทยาลั ย มอบหมาย ผลการด าเนินงาน
คณะกรรมการนโยบายติดตามและประเมินผล ได้วางระบบและกลไกติดตามประเมินผลการบริหารงานของ
อธิก ารบดี และหัว หน้า ส่ว นงาน โดยกาหนดเป็ นแนวปฏิบัติว่า ด้วยหลั กเกณฑ์ วิธีการ ระบบติด ตามและ
ประเมินผลการดาเนินงานของอธิการบดีและหัวหน้าส่วนงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พร้อมทั้งมีมติให้
แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาในชุดของอธิการบดี และได้พิจารณา
แต่งตั้งคณะกรรมการติด ตามและประเมินผลหัว หน้า ส่ว นงาน แต่เนื่อ งจากจานวนส่ว นงานวิช าการของ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีจานวน 38 ส่วนงาน ซึ่งมีจานวนมาก ดังนั้น กรรมการจึงมีความเห็นว่า หาก
มหาวิทยาลัยตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลครบทั้ง 38 ส่วนงาน จะมีภาระงานที่หนัก เกิน ไป ที่
ประชุมจึงมีมติให้คัดเลือกส่วนงานวิชาการเพื่อทดลองระบบติดตามและประเมินผลไปก่อน โดยพิจารณาจาก
กลุ่ม สาขาทั้ง 3 กลุ่ม คัดเลือ กกลุ่มสาขาละ 1 ส่วนงาน และหัวหน้าส่วนงานนั้น ดารงตาแหน่งไป ณ ช่ว ง
ระยะเวลาหนึ่งแล้ว หรือ ดารงตาแหน่งครบ 1 ปี 8 เดือน มติที่ประชุมเห็นชอบคัดเลือก 3 คณะ ได้แก่ คณะ
ศึกษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะพยาบาลศาสตร์ และได้จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม
และประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาของอธิการบดี โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.บุญสม ศิริบารุงสุข เป็น
ประธาน แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ และพั ฒนาของหัวหน้าส่ว นงานคณะ
ศึกษาศาสตร์ โดยมี ดร.บุญปลูก ชายเกตุ เป็นประธาน แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลเพื่อการ
เรียนรู้และพั ฒ นาของหัว หน้า ส่ว นงานคณะวิทยาศาสตร์ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อั ก ษรแก้ ว เป็ น
ประธาน แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลเพื่ อการเรียนรู้และพั ฒนาของหัวหน้าส่ว นงานคณะ
พยาบาลศาสตร์ โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.ปราณี กุลละวณิชย์ เป็นประธาน และเมื่อวันพุธที่ 30 กันยายน
2563 เวลา 08.30-10.30 น. มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อกาหนดกรอบการติดตามและประเมินผล

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 59


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -59-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาของอธิการบดีและหัวหน้าส่วนงาน ระหว่างคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
ชุดต่าง ๆ กับท่านอธิการบดี คณบดี และทีมบริหารที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการติดตามและประเมินผลเพื่อการ
เรียนรู้และพัฒนา ทั้ง 4 ชุด ปัจจุบันกาลังดาเนินงานตามแนวปฏิบัติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ ระบบติดตาม
และประเมินผลการดาเนินงานฯ ที่ไ ด้ก าหนดไว้ จะมีการรายงานความคืบหน้า ทุก รอบ 4 เดือน และเมื่อ
ครบรอบการดารงตาแหน่งของผู้บริหาร 1 ปี 8 เดือน และรอบ 3 ปี ต่อคณะกรรมการนโยบายติดตามและ
ประเมินผล
1.6 คณะท างานกลั่ นกรองร่ างข้ อ บั งคั บ ระเบี ย บ และประกาศของมหาวิ ทยาลั ย สงขลา
นครินทร์ มีอานาจและหน้าที่ 1) พิจารณากลั่นกรอง ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศ
ของมหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ใ ห้ส อดคล้อ งกั บกฎหมายที่เกี่ยวข้อ งก่ อนนาเสนอต่อสภามหาวิทยาลั ย
พิ จ า ร ณ า 2 ) เ ส น อ ข้ อ คิ ด เ ห็ น แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ท า ข้ อ บั ง คั บ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ ป ร ะ ก า ศ ข อ ง
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ต่อสภามหาวิทยาลัย การดาเนินการที่ผ่า นมาคณะทางานได้อ อก ข้อบั งคั บ
ระเบียบ และประกาศ ไปแล้ว เป็นข้อบังคับ 43 ฉบับ ประกาศ 7 ฉบับ และระเบียบ 4 ฉบับ ประกอบด้วย (นับ
ซ้า) เรื่องเกี่ยวกับการบริหาร 32 ฉบับ การศึกษา 8 ฉบับ การบริหารงานบุคคล 16 ฉบับ และการเงิน 11 ฉบับ
1.7 คณะกรรมการตรวจสอบประจามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นกลไกในการ
สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยมีระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี การบริหารตามหลักธรรมาภิบาล ให้มีการดาเนินงาน
อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และโปร่งใสเพิ่มคุณค่า สร้างความเชื่อมั่น ความน่าเชื่อถือของรายงานทางการ
เงิน สอบทานกระบวนการ บริหารความเสี่ยง กระบวนการควบคุมภายใน ระบบการตรวจสอบภายใน ระบบการ
บริหารจั ดการและการปฏิบั ติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบั งคั บ มติคณะรั ฐมนตรี และนโยบายต่ าง ๆ ของ
มหาวิทยาลัย โดยผลการดาเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบประจามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รอบ 6
เดือนหลังของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ได้แก่ 1. การกากับดูแลกระบวนการควบคุมภายใน กระบวนการบริหาร
ความเสี่ยง ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดี โดย 1) มีการสอบทานรายงานการบริหารจัดการความเสี่ยงของ
มหาวิทยาลัยตามประเด็นยุทธศาสตร์ รวมทั้งการดาเนินงานอันเนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา (COVID-19) โดยมีข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ดังนี้ ให้มหาวิทยาลัยพิจารณาและดาเนินการทางด้าน
การเรียนการสอน เพื่อรองรับสถานการณ์ รวมถึงห้องเรียนแบบวิถีปกติใหม่ (New Normal) การเรียนการสอน
ออนไลน์ พร้อมถ่ายทอดหรือแลกเปลี่ยนให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ให้มหาวิทยาลัยเตรียม
ความพร้ อ มกั บความเสี่ ยงเกี่ ยวกั บความต่อ เนื่อ งในการเรียนของนั ก ศึก ษา และมี แนวทางในการติ ดตาม
ประเมินผล ให้มหาวิทยาลัยพิจารณาการช่วยเหลือบุคลากรของมหาวิทยาลัย และสร้างอาชีพเพื่อลดปัญหาการ
ว่างงานของนักศึกษา 2) ติดตามกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนร้องทุกข์และความคืบหน้าการสอบสวนคดี
ทุจริตของมหาวิทยาลัย โดยมีข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ให้มหาวิทยาลัยสร้างระบบติดตามกระบวนการร้องเรียนที่
รัดกุม พร้อมทั้งเป็นกรณีศึกษาและเสริมสร้างระบบการเรียนรู้และแบ่งปัน (Learn and Share) 2. การติดตามการ
บริหารงานและการด าเนินการตามกลยุ ทธ์ของมหาวิทยาลั ย โดย 1) ประเมินและติดตามความคืบหน้าการ
ขับเคลื่อนการบริหารงานมหาวิทยาลั ย โดยมีข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ดั งนี้ ให้ มหาวิทยาลั ยคานึงถึงการเป็ น

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 60


-
-60- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

มหาวิทยาลัยในกากับ ซึ่งการบริหารงานมีความแตกต่างจากระบบราชการแบบเดิม ให้มหาวิทยาลัยเน้นการ


ร่วมงานกับสถาบันที่มีชื่อเสียงในต่างประเทศ และภาคเอกชนเพื่อผลิตนักศึกษาให้ตรงตามความต้องการของ
ตลาด พร้อมทั้งผลักดันบุคลากรที่มีความสามารถ ให้มีโอกาสเรียนรู้เพิ่มเติมมากขึน้ เมื่อระบบบัญชีและการเงิน
ของมหาวิทยาลัย (Management Accounting System : MAS) พัฒนาเสร็จสิ้น ให้มหาวิทยาลัยเสนอระบบต่อ
กรมบัญชีกลางเพื่อรับรองหลักการบัญชี 2) การติดตามการก ากับดูแลการขับเคลื่อนการบริหารงานทางด้าน
การเงินของมหาวิทยาลัย โดยมีข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ให้มหาวิทยาลัยเน้นให้มีการบริหารความเสี่ยงด้านการเงิน
และการลงทุน เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่เหมาะสมภายใต้ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) รวมถึงการฝากเงิน
หรือการจัดการการลงทุนในองค์กรที่มีความน่าเชื่อถือ 3. การรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ มี
การสอบทานข้อมูลที่สาคัญของรายงานผลการตรวจสอบงบการเงินของมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ สาหรับปี
สิ้นสุดวั นที่ 30 กั นยายน 2562 ร่วมกับผู้สอบบั ญชี ของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ผลการตรวจสอบงบ
การเงินโดยสรุป มีประเด็นสุ่มเสี่ยง คือ ไม่มีเอกสารหลักฐานให้ตรวจสอบของปี 2552-2561 ซึ่งมหาวิทยาลัยได้
ดาเนินการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องชี้แจงและเร่งดาเนินการ มีการตั้งกรรมการสอบข้อเท็จจริงแล้ว อย่างไรก็ตาม
คณะกรรมการตรวจสอบ ต้องการให้งบการเงินได้รับการรับรองจากผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นอย่างไม่มีเงื่อนไข
ในอนาคต โดยมีข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ให้มหาวิทยาลัยกาหนดแนวทางการแก้ไขและระยะเวลาในการดาเนินการ
ในแต่ละเรื่อง อีกทั้งปรับปรุงการบริหารและวิธีปฏิบัติตา่ ง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดประเด็นซ้าขึ้นอีกในอนาคต เช่น
กาหนดระยะเวลาในการแก้ไขข้อทักท้วงจากผู้สอบบัญชี และวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนภายใน 30 วัน

2. การดาเนินงานตามข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย
รายงานผลการด าเนินงานตามข้อ เสนอแนะของสภามหาวิท ยาลั ย ตั้งแต่ มิถุ น ายน 2561–
กันยายน 2563 สภามหาวิทยาลัยมีข้อเสนอแนะรวม 76 เรื่อง กาลังดาเนินการ 59 เรื่อง ดาเนินการแล้วเสร็จ
17 เรื่อง (ร้อยละ 22.4)
เรื่อง กาลังดาเนินการ ดาเนินการแล้วเสร็จ
การบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น ทบทวนการขอตาแหน่งทางวิชาการ 20 2
การแต่ ง ตั้ งพนั ก งานด ารงต าแหน่ง สู ง กว่ า เกณฑ์ สกอ. การจ้ า ง
อาจารย์เป็นพนักงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหาร
การประกั นคุ ณภาพ/การเพิ่ม อั นดั บ Ranking/บริหารจั ด การความ 2 1
เสี่ยง
การจัดการศึกษา แผนการจัดการศึกษา การบริหารหลักสูตร 8
การบริการจัดการทรัพยากร/ทรัพย์สนิ ให้เกิดประโยชน์ 5 1
การพิจารณาปรับกระบวนการทางานของสภามหาวิทยาลัย รายงาน 6 3
ผลการดาเนินงานของกรรมการชุดต่าง ๆ
การจั ด ท าแผนพั ฒ นามหาวิ ทยาลั ย ทิ ศทางการพั ฒ นาวิ ทยาเขต 5 1
อัตรากาลัง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 61 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -61-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

การบริหารจัดการงานวิจัย นวัตกรรม แผนวิจัยและนวัตกรรม 4 1


แนวทางจัดการเรื่องการเงินของมหาวิทยาลัย 5 1
การดูแลนักศึกษา เช่น การติดตามการคืนเงินกูยืม กยศ. - 1
การบริหารจัดการข้อบังคับ ระเบียบต่าง ๆ การปรับโครงสร้าง 3 4
การจัดการที่ดนิ สิ่งก่อสร้าง อนุมัติการจ้าง 1 2
รวม 59 17

ประเด็นที่ 5 การบริหารจัดการด้วยความประหยัด มีประสิทธิภาพ และการจัดสรรทรัพยากร


1. การจัดระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
1.1 คณะทางาน Digital Transformation มหาวิทยาลัยดาเนินการพัฒนาระระบบสารสนเทศมาอย่าง
ต่อเนื่อง ปัจจุบันเน้นโครงการพัฒนาระบบการเชื่อมต่อ (Interactive) ระหว่าง 5 วิทยาเขต โครงการสร้างระบบ
สารสนเทศเพื่อรองรับ Digital Society, Big Data, IOT โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและ
ตัดสินใจ โครงการพัฒนาฐานข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยเพื่อเก็บข้อมูล PSU Data ที่เอื้อต่อการนาข้อมูลไปใช้
ประโยชน์และสามารถนาไปทา Data Analytic โดยได้มีการจั ดตั้งสานักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ
(ประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562) ซึ่งการเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ข้อมูล
ของมหาวิทยาลัยเป็ นแบบ Real Time ที่สามารถช่วยให้การจั ดการข้อมูลดีขึ้น และมหาวิทยาลั ยได้ก าหนด
เป้าหมายการเชื่อมโยงฐานข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ 1) ฐานข้อมูลสามารถรายงานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันได้ 2) ฐานข้อมูล
สามารถรายงานสาเหตุและปัญหาได้ 3) ฐานข้อมู ลสามารถพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคตได้ 4) ฐานข้อมู ล
สามารถนามากาหนดทิศทาง/นโยบายการขับเคลื่อนในด้านด่าง ๆ โดยใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการ มี
การแต่งตั้งคณะทางาน Digital Transformation เพื่อดาเนินการเรื่องคลังข้อมูล (Big Data) โดยวางแผนเป็นระยะ ๆ
ปัจจุ บันได้มีการจัดการฐานข้อมูลให้มี การเชื่อมโยงเพื่อเป็น Platform เดียวกั น ดังนี้ (1) ฐานข้อมูลบุคลากร
ฐานข้อมูลวิจัย และฐานข้อมูลการศึกษา ดาเนินการเรียบร้อยแล้ว ซึ่งจะมีการทดสอบระบบในเดือนมกราคม
2563 (2) ฐานข้อมูลทะเบียนนักศึกษาและฐานข้อมูลบริการวิชาการ กาลังด าเนินการเชื่อมโยงให้แล้วเสร็ จ
ภายในเดือนมิถุนายน 2563 และ (3) ฐานข้อมูลด้านการเงิน จะดาเนินการเชื่อมโยงใน Phase ต่อไป
1.2 โครงการพัฒนาระบบบัญชีและการเงิน (PSU-MAS)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้มีนโยบายให้มีระบบสารสนเทศเพื่อรายงานระบบบัญชีและการเงินที่
สอดคล้องกับทิศทาง นโยบาย และแนวทางการจัดทางบประมาณของมหาวิทยาลัย และว่าด้วยหมวด 4 การ
บัญชีและการตรวจสอบ ในมาตรา 55 แห่งพระราชบัญญัติมหาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.2559 ได้กาหนด “ให้
มหาวิทยาลั ยวางและรั ก ษาไว้ซึ่งระบบบั ญ ชี อั น ถู ก ต้อ ง แยกตามส่ ว นงานของมหาวิท ยาลั ย เป็ นไปตาม
หลั ก การควบคุ ม ภายในที่ดี มี ส มุ ด บั ญ ชี รายการแยกตามประเภทของสินทรั พย์ หนี้สิน ทุ น รายได้ และ
ค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง พร้อมด้วยข้อความอันเป็นที่มาของรายการนั้น ๆ และให้มีการตรวจภายในเป็น
ประจา การบันทึกรายการในสมุดบัญชีตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป” โดย

รายงานผลการด
-62- าเนินงานของอธิ
รายงานผลการดำ �เนินกงานของอธิ
ารบดีมหาวิกทารบดี
ยาลัยมสงขลานคริ
หาวิทยาลัยนสงขลานคริ
ทร์ (ตุลาคมนทร์
2561(ตุล–พฤษภาคม
าคม 2561 -2563)
พฤษภาคม-2563)
62 -
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
การบดีและที การบดี
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที มบริหารมหาวิ
สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์

รายงานทางบัญชีประกอบด้วย 1) งบแสดงฐานะการเงิน 2) งบแสดงผลการดาเนินงาน และ 3) งบกระแสเงิน


สด โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศขึน้ ในการนี้มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์
ได้จัดแต่งตั้งคณะทางานพัฒนาระบบบัญชีและการเงินมหาวิทยาลัย เพื่อร่วมมือพัฒนาระบบ MAS : PSU ขึ้น
แทนการจัด ซื้อโปรแกรม ที่คาดว่า หากจะต้องจัดซื้อ จะต้อ งมีงบประมาณเพื่อการจัดซื้อระบบมากกว่า 80
ล้านบาทซึ่งเป็นวงเงินที่สูงมาก โดยที่มหาวิทยาลัยได้เห็นความสาคัญของการใช้เงินให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ประกอบกับมีผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโปรแกรมบัญชีและการเงินที่เป็นที่ปรึกษาอธิการบดี และเป็นคณะทางาน
ร่ว มกั บ คณะท างานจากกองแผนงาน กองคลั ง และศูน ย์คอมพิ ว เตอร์ จึงก าหนดให้ มีคณะท างานเพื่ อ
ดาเนินงานดังกล่าว ตามคาสั่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ 1478/2561 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2561 โดย
ในระยะ 3 เดือนแรก คือ ระหว่าง 15 สิงหาคม – 15 พฤศจิกายน 2561 เป็นการศึกษาและวางแนวทางการ
ทางานร่วมกันในลักษณะของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประชุมทางานร่วมกันโดยการ conference มาจาก
ประเทศสหรั ฐ อเมริก าโดยผู้ เชี่ ย วชาญด้า นระบบโปรแกรมบั ญ ชี แ ละการเงิน และประชุ ม ร่ว มกั น ที่ศูน ย์
คอมพิวเตอร์ และสานักงานอธิการบดี ส่วนการดาเนินการหลักในช่วงต่อมามีดังนี้
ระยะที่ 1 พ.ศ. 2561–2562 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการพัฒนาและจัดการระบบสารสนเทศ
ทางบัญ ชี มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ ผู้บริห ารมหาวิทยาลั ย ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโปรแกรมบั ญชี และ
การเงินจากประเทศสหรั ฐอเมริกา สานักนวัต กรรมดิจิทัล และระบบอัจฉริยะหรือศูนย์คอมพิวเตอร์ กอง
นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนหรือกองแผนงาน และกองคลัง เป็นคณะทางานเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ใ น
เบือ้ งต้น และเพื่อให้การพัฒนาและการจัดการระบบสารสนเทศทางบัญชีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีระบบ
ข้อมูลและสารสนเทศเพื่อจัดทาแผนงบประมาณและการเงินระยะยาว มีการติดตาม การใช้จ่ายงบประมาณ
ของมหาวิทยาลัย และให้มีระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจด้านการเงินอย่างเป็นระบบ รวดเร็ว และสามารถ
รายงานผลตามเป้าหมายหลักของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นไปตามข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย บางระบบได้
ดาเนินการพัฒนาและใช้งานได้บางส่วนแล้วนั้น ดาเนินการโดยความร่วมมือจากสานักนวัตกรรมดิจทัลและ
ระบบอัจฉริยะหรือศูนย์คอมพิวเตอร์ที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องกับทุกระบบที่ดาเนินการอยู่ในมหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ โดยจะไม่กระทบกับระบบที่มีอยู่เดิมของมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และคณะ/หน่วยงาน ในการดาเนินการ
เกี่ ยวกั บแผนการปฏิบัติ งานและการพั ฒ นาระบบบั ญ ชี และการเงิน ได้ด าเนินการทั้ งในส่ วนของการจั ดหา
ทรัพยากร อุปกรณ์อานวยความสะดวกในการสื่อสาร (video conference) และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทั้งด้านการ
พัฒนา และ server computer และกาหนดคนเพิ่มเติม เป็นการพัฒนาระบบบัญชี Accounting / GL พัฒนาส่วน
Manual : Data Entry หน้าจอสาหรับการบันทึกข้อมูลส่วน Accounting / GL และพัฒนา Report) โดยใช้สถานที่
ทางานหลักที่ ศูนย์คอมพิวเตอร์หรือสานักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตหาดใหญ่ เพือ่ ให้ดาเนินการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ในเบือ้ งต้น
ระยะที่ 2 พ.ศ. 2563-2565 ในการด าเนินการการพัฒนาระบบให้มีความต่อเนื่อง เป็นไปด้วย
ความเรียบร้อยและเพื่อบูรณาการระบบงานต่าง ๆ บางส่ว นเข้าด้ว ยกัน เช่ น การจัด ซื้อ จัดจ้าง และระบบ
เงินเดือนซึ่งแต่ละส่วนงานจะมีความเชื่อมโยงในด้านการไหลของข้อมูล (information flow) จึงต้องปรับระบบ
การพัฒนาและการจัดการบัญชีใหม่ เป็นระบบ ERP ที่ทาหน้าที่เป็นระบบการจัดการข้อมูล ซึ่งจะทาให้การ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 63


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -63-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

บริ ห ารจั ด การงานในกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ที่ เ ชื่ อ มโยงกั น ให้ ผ ลลั พ ธ์ อ อกมาดี ที่ สุ ด พร้ อ มกั บ สามารถรั บ รู้
สถานการณ์และปัญหาของงานต่าง ๆ ได้ทันที ทาให้สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างรวดเร็ว จึงได้
ดาเนินงานเพิ่มเติมเพื่อพัฒนาระบบการจัดซือ้ จัดจ้าง และพัฒนาระบบเงินเดือน นอกเหนือจากระบบ MAS ที่
กาลังพัฒนาไปควบคู่กัน ทัง้ นีเ้ พื่อให้การพัฒนาระบบบัญชีและการเงินเป็นไปตามเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ โดย
สามารถจั ด ท างบเสนองบฐานะการเงิ น รายงานต่ อ ส านั ก งานตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ตามที่ ก าหนดไว้ ใ น
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานรินทร์
ความก้าวหน้าของโครงการ
1. ในระยะแรกของโครงการพั ฒ นาและการจั ดการระบบบั ญชี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
(MAS : PSU) สามารถดาเนินการตามกรอบภารกิจตามกรอบการทางานในเบื้องต้นได้ สาหรับการดาเนินการ
การพัฒนาระบบเพื่อ ให้ใ ช้งานจริง ได้เปิดระบบเพื่อใช้ งานจริงแล้ว ตั้งแต่วันที่ 7 ตุล าคม 2563 โดยการ
เตรียมการได้เป็นตามที่กาหนดและอย่างต่อเนื่อง ตามการออกแบบระบบ โดยผ่านหน้าจอการบันทึกข้อมูล
ประมาณ 74 หน้าจอ ที่เปิดใช้งานในระบบงบประมาณ ระบบเบิกจ่ายเงิน และระบบบัญชี
2. ระบบ MAS มีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องจากรายงานเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2563 รวมทั้ง
การพัฒนาระบบ MAS เพิ่มเติม ระหว่างเดือนกันยายน - ธันวาคม 2563 1) ด้านการจัดทางบประมาณ
ปรับปรุงระบบให้รองรับการแก้ไข/เพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแผนงบประมาณระหว่างปีในการบริหารงบประมาณที่
สภาได้อนุมติไว้ 2) ด้านการบริหารงบประมาณ รองรับการเปลี่ยนแปลง/เพิ่มรายการ และเพิ่ม/ลดวงเงิน ใน
รายการและวงเงินภายใต้งบประมาณของส่วนงาน 3) ด้านการเงิน ให้สามารถบันทึกข้อมูลหลัก สาหรับการ
เริ่มใช้งาน 4) ด้านบัญชี โดยกาหนดในฐานข้อมูลระบบ ให้มีผังบัญชีมาตรฐาน 6 หมวด แต่ละหมวดให้มีได้ถึง
5 ระดับ พัฒนาระบบให้รองรับข้อมูลบัญชีเฉพาะส่วนงานในระดับ 6 และ 7 พัฒนาระบบให้มีความเชื่อมโยง
อัตโนมัติจากการเบิกจ่ายเงินและการรับเงินเข้าสูร่ ายการรายวันและต่อไปยังงบต่าง ๆ ตามมาตรฐานสากล
ทั้งในระดับส่วนงานและระดับมหาวิทยาลัย และพัฒนาระบบการบันทึกบัญชีทุกส่วนงานและส่วนงานย่อย
ตามโครงสร้างมหาวิทยาลัย (Doc Types To GL) ที่ได้มีการจัดทางบประมาณส่วนงาน/ส่วนงานย่อย และทุก
กระบวนการทางการเงินจะถูกบันทึกบัญชีเข้าสู่ระบบ MAS รวมทั้งพัฒนาให้มีการผูกรายการแผนงบประมาณ
กับเลขที่ผังบัญชี (Metric To GL Mapping) 5)ด้านการฝึกอบรม เรื่องแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาระบบงาน
ของกองคลังไปสูร่ ะบบสารสนเทศของมหาวิทยาลัย (การใช้งานในระบบ MAS) ทั้งด้านแผนงบประมาณ การ
เบิกจ่าย การทางานด้านบัญชี ให้แก่ เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีของส่วนงาน ส่วนงานละ 2 – 3 ท่าน ทุกวิทยา
เขตในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อทดลองการใช้งานในระบบ MAS รวมทั้งการทบทบทวนการใช้งาน
ตั้งแต่วันที่เปิด (7 ตุลาคม 2563) เพื่อรับทราบถึงปัญหาและอุปสรรคของการใช้งานระบบการประชุมผ่าน
ระบบ ZOOM ทุกวิทยาเขต ทุกวันศุกร์ เวลา 14.30 - 16.30 น. โดยมีผู้เข้าร่วมประชุม ประมาณวันละ 100
ท่าน และเริ่มตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 ทุกวันจันทร์ เวลา 12.15 - 13.15 ของสัปดาห์ จะมีการประชุม
ร่วมกับผู้บริหาร มหาวิทยาลัย โดยมีรองอธิการบดีฝ่ายบริหารและการเงิน และรองอธิการบดีฝ่ายวางแผน
และนโยบายสาธารณะ กองนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผน กองคลัง และคณะทีมพัฒนาระบบ MAS หารือ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 64 -


-64- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ผู้บริหาร “เพื่อการพัฒนาระบบ MAS” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาข้อสรุปประเด็นปัญหาที่มีผลต่อการพัฒนา


ระบบ กระทบกับนโยบายมหาวิทยาลัย และเพื่อติดตามความก้าวหน้าของโครงการ
ปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาระบบ
1. การยอดยกบัญชีที่ถูกต้อง เพื่อนาเข้าสู่ระบบ MAS เนื่องจากการดาเนินการในเรื่องงบค่าตั้ง
ต้นในระบบ MAS มีการปรับเปลี่ยนเวลาของการส่งข้อมูลรายงานงบการเงิน ทาให้ไม่สามารถดาเนินการปิด
งบในไตรมาสแรก และรายงานการเงินได้ทันตามที่กาหนด แต่ คาดว่าสามารถดาเนินการได้แล้วเสร็จภายใน
ปลายเดือนกุมภาพันธ์ 2564 โดยสามารถปิดงบและทารายงานการเงินตามมาตราฐานสากลได้ทั้งในระดับ
ส่วนงาน วิทยาเขต และมหาวิทยาลัย
2. การจัดการทางบัญชีของหน่วยงานที่อยู่หลายวิทยาเขต ตามโครงสร้างมหาวิทยาลั ย ในเรื่อง
การบริหารและด้า นการเงินของหน่ว ยงานกลางของมหาวิทยาลั ย เช่ น วิทยาลั ยนานาชาติ วิทยาลั ยการ
คอมพิวเตอร์
3. รูปแบบใบเสร็ จรั บเงิน และรอใบเสร็ จรั บเงิน จากโรงพิมพ์ เพื่อให้ส่ว นงานสามารถพิม พ์
ใบเสร็จรับเงินในระบบ MAS ได้
4. ด้านรายรั บ เช่น รายได้ค่าธรรมเนียมการศึกษา ควรเป็ นผังบั ญชีเดียวกันทั้งมหาวิทยาลั ย
เนื่องด้วยระบบ MAS จะมีการสร้างคู่บัญชีอัตโนมัติ
5. ด้านผู้ใช้งาน ทีมพัฒนาระบบ MAS ประเมินผลหลังจากอบรมการใช้งานระบบไปแล้วทั้งใน
ด้านแผนงบประมาณ การเงิน และบัญชี พบว่า กว่าร้อยละ 50 ประสบความสาเร็จจากการอบรมการใช้งาน
ในระบบเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งาน เข้าใจกระบวนการขั้นตอน และสามารถใช้งานบันทึกรายการต่าง ๆ
และมีบางส่วนที่ยังไม่เข้าใจกระบวนการขั้นตอนการทางานของระบบ
6. การสื่อสารและการทาความเข้าใจร่วมกันระหว่างฝ่ายที่จัดทาแผนและงบประมาณ และฝ่าย
ที่ทาหน้าที่การเงินและบัญชี ยังเข้าใจไม่ตรงกันในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลงบประมาณกับข้อมูล
การใช้จ่ายเงิน ซึ่ง ในการออกแบบระบบและการจั ดการค่า ตั้งต้น ในระบบ MAS ได้ทาการเชื่อมโยงแผน
งบประมาณ กับการเงินและบัญชีไว้แล้ว เพื่อให้กระบวนการเงินและบัญชี ที่จะเบิกจ่าย เริ่มจากงบประมาณ
รายจ่า ยจากส่ ว นงานขอจั ด ตั้ ง งบประมาณจากแผนงาน และเสนอสภาเพื่อ ให้ อ นุ มั ติ แผนการเงิน ของ
มหาวิทยาลัย วิทยาเขต และส่วนงาน ทั้งนี้เพื่อ ความเข้าใจร่วมกันในการใช้ จ่ายเงินงบประมาณภายใต้การ
จัดทาในระบบ MAS ส่งผลให้เจ้าหน้าที่การเงินกับเจ้าหน้าที่งบประมาณต้องปรึกษาหารือร่วมกัน เพื่อให้การ
เบิกจ่ายสอดคล้องกับ ทิศทาง นโยบาย แผนงาน งาน และรายการรายจ่าย
1.3 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
1) ระบบ HR-MIS มีระบบบริหารบุคคลเป็นหนึ่งเดียว การดาเนินงาน (1) ปรับปรุงระบบ HR MIS
แล้วเสร็จเดือนตุลาคม 2563 (2) พัฒนาระบบบุคลากร DSS ใหม่ อยู่ในขั้นตอนรวบรวมความต้องการ (3)
สามารถใช้งานและเป็นระบบบริหารงานบุคคล ระบบเดียวได้ปี 2565
2) ระบบฐานข้อมูลวิจัย เชื่อมโยงกับ HR-MIS และระบบอื่น ๆ ได้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 65


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -65-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

3) ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ แสดงผลข้อมูลพืน้ ฐานทั่วไป และข้อมูลที่นาไปใช้ในภารกิจ


ต่าง ๆ ได้จากจุดเดียว การดาเนินการ (1) พัฒนาระบบต้นแบบ Data Warehouse โดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล
หลักของมหาวิทยาลัยฯ และสามารถปรับดูมุม มองตามที่ต้องการวิเคราะห์ (2) ปรับปรุง sis.psu.ac.th ให้
แสดงผลข้อมูลแบบ Virtualization ของข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา
4) ระบบสารสนเทศนักศึกษา 4 วิทยาเขตได้ใช้งานแล้ว ยกเว้น ปัตตานี สานักดิจิตอลฯ ได้ถ่าย
โอนข้อ มูล อบรมการใช้ งานแล้ว รอผู้ใช้ทดสอบการใช้ งานจริง และคาดว่า ในปี 2565 จะสามารถรองรั บ
การศึกษารูปแบบ Hybrid Learning
5) ระบบ Single Sign On ดาเนินการออกแบบ วิเคราะห์ระบบที่จะต้อง เชื่อมต่อใช้งาน Single Sign
On โดยใช้ระบบ E-Doc ที่พัฒนาใหม่ เป็นต้นแบบ และคาดว่าในปี 2564 ทุกระบบเชื่อมโยงด้วย Single Sign On
1.4 ระบบ PSU Alumni One Code เพื่อสร้างความเชื่อมโยงกับศิษย์เก่าให้เป็นส่วนหนึ่งของ
มหาวิทยาลัยตลอดไป โดยได้ดาเนินการจัดหลักสูตรเพื่อยกระดับศักยภาพของศิษ ย์เกาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง
จัดทาแผนพัฒนาศิษย์เกา โดยกระบวนการ Experienial Learning Cycles แบงออกเป็น 3 โครงการ ได้แก่
1) ระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่ าที่เป็นปัจจุบัน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของจานวนศิษย์เกาทั้งหมด
ครอบคลุมข้อมูลเพื่อการสื่อสาร ประสบการณ ความเชีย่ วชาญ และความต้องการต่อเนื่องจากมหาวิทยาลัย
ข้อมูลศิษย์เก่าจะถูกนาเข้าฐานข้อมูลศิษย์เก่าโดยอัตโนมัติ เมื่อนักศึกษาจบการศึกษา และจะมีการปรับปรุง
ข้อมูลอีกครั้งจากการบันทึกข้อมูลการมีงานทาของบั ณฑิตในช่วงพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ซึ่งจะทาให้
มหาวิทยาลัยมีช่องทางติดต่อสื่อสารระหว่างศิษย์เก่ากับมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น ทั้งติดต่อที่สานักงานศิษย์เก่า
สัมพันธ์ ติดต่อทางโทรศัพท์/โทรสาร ติดต่อผ่านทาง Social Media มีการจัดตั้งกลุ่ม Line ศิษย์เก่าสัมพันธ์
เพื่อกระจายข้อมูลข่าวสารจากส่วนมหาวิทยาลัย/สมาคมศิษย์เกา ไปยั งสมาคม/ชมรมศิษย์เกา ตัวแทนรุ่น
และศิษย์เก่าเป็นรายบุคคล จัดทา website : www.OnePSU.psu.ac.th
2) การพัฒนา Application : PSU App โดยมหาวิทยาลัยพัฒนาร่วมกับธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่ง
Application สามารถส่งข้อมูลข่าวสารของมหาวิทยาลัยถึงศิษย์เก่าไดโดยตรง การจัดทา Clip VDO สัมภาษณ์
ศิษย์เก่าที่มีผลงานโดดเดน หรือ ศิษย์เก่ารุ่นแรก ๆ ของมหาวิทยาลัยนาเสนอผ่าน Youtube และสื่อ Online
และมีแนวคิดที่จะหาผู้สนับสนุนที่เป็นกลุ่มกิจการของศิษย์เกามาสนับสนุน การทา Clip VDO อีกด้วย
3) จั ดกิ จกรรมรายงานสรุ ปประจ าปีด้านประสบการณ์ ความเชี่ ยวชาญ ศักยภาพ และความ
ต้องการต่อเนื่องของศิษย์เก่า จัดมหกรรมพบปะสังสรรค์ระดับมหาวิทยาลัยไมน้อยกว่าปีละ 2 ครั้ง และระดับ
คณะ/ภูมิภาค ไม่น้อยกว่าปีละ 3 ครั้ง มีกิจกรรมพบปะศิษย์เก่าโดยใช้กิจกรรมเสวนาทางธุรกิจ ให้ความรูด้านการ
ลงทุน เกิดการจับคู่ธุรกิจ มหาวิทยาลัย-ศิษย์เกา หรือ ศิษย์เกา-ศิษย์เก่า ร่วมสร้างชุมชนต้นแบบจากองค์ความรู้
ใหม่ ๆ
นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยบังให้สทิ ธิประโยชน์กับศิษย์เก่าในการใช้บริการสิ่งอานวยความสะดวก
ของมหาวิทยาลั ยในทุ กวิทยาเขต ประกอบด้ว ย การศึกษาต่อ โดยจั ดทาหลัก สูต รแบบ module ซึ่งผู้เรียน
สามารถเก็บหน่วยกิตไปเรื่อย ๆ เมื่อรวมกันครบตามที่กาหนดแล้วสามารถสาเร็จการศึกษาปริญญา การใช้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 66


-
-66- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

บริการห้องสมุด การใช้บริการศูนย์กีฬา รวมทั้งให้บริการในด้านเครื่องมือ สถานที่ ห้องประชุม เพื่อเป็นสิทธิ


ประโยชน์แก่ศิษย์เก่าด้วย
2. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน/การบริหารอัตรากาลัง
2.1 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ “PSUHR Strategies for Our Stronger Future”
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กาหนดทิศทางการพัฒนากระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้
สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2560–2579 โดยสาระสาคัญของการบริหารบุคลากรที่มี
ประสิทธิภาพ สรุปได้ดังนี้
ประเด็นที่ 1 : การรับอาจารย์/อาจารย์ใหม่และค่าตอบแทนที่ดึงดูด การคัดเลือกอาจารย์ใหม่
ควรปรับให้เป็นไปตามตามหลักสมรรถนะและประสบการณ์เพื่อดูดดึงให้คนเข้ามาทางาน โดยกาหนดแนว
ทางการดาเนินการในระบบรั บอาจารย์ใ หม่/ บุ คลากรใหม่ คือ (1) ให้มีก รรมการร่ วมระหว่างส่วนงานกั บ
มหาวิทยาลัย ตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการการสรรหาจนถึงการได้มาของบุคลากร (2) ระบบค่าตอบแทนที่ดงึ ดูด
(การเพิ่มค่าตอบแทน) มหาวิทยาลัยอยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลของคณะ ส่วนงาน กาหนดค่าตอบแทนเป็น
ระบบ A B C โดยที่ค่าตอบแทน A หมายถึง “เงินเดือน” ค่าตอบแทน B หมายถึง “เงินตอบแทนตาแหน่ง
บริหาร ประเภทวิชาการ วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ” และค่าตอบแทน C หมายถึง “เงินรางวัล”
ประเด็นที่ 2 : การพัฒนาบุคลากรสายวิชาการให้มีศักยภาพในด้านการสอนและการวิจัย โดย
เป้าหมาย พัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยให้สามารถสอนได้อย่างมีความมั่นใจ โดยใช้วิชาที่สอนมาฝึกปฏิบัติ
จริงในช่วงระยะ 1 ปีแรก ของการเป็นอาจารย์ใหม่และจัดหลักสูตรทบทวนทุก 5 ปี จัดหลักสูตรภาคบังคับ
หัวข้อประเด็น “สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัย ” Research Methodology การหาแหล่งทุนวิจัย เทคนิคการ
เขียนบทความ มหาวิทยาลัยเข้าไปช่วยในการประสาน สนับสนุนกระบวนการ เช่น การออกแบบหลักสูตร การ
ดูแลช่วยเหลือบุคลากรสายวิชาการให้เข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ ระบบการสอนงาน (Coaching) ระบบพี่เลี้ยง
อาจารย์ใหม่ ระบบ Fellow เป็นต้น
ประเด็ น ที่ 3 : การเพิ่ ม เกณฑ์ ม าตรฐานผลงานวิ ช าการ (Standard Academic Outputs)
กาหนดค่าเฉลี่ยโดยรวมของมหาวิทยาลัยเป็น 0.75 papers/คน/ปี (ภายในปี 2565 ตั้งเป้าหมายจานวนผลงาน
ตีพิมพ์ 2,000 papers/ปี) มีการทาแผนร่วมกับคณะ ให้เห็นเป้าหมายตัวเลขของจานวนผลงานตีพิมพ์ กาหนด
เป้าตามกลุ่มของคณะ/สาขา
ประเด็ นที่ 4 : ความหลากหลายในการเข้า สู่ตาแหน่งทางวิช าการ (Academic Staff) กลุ่ม
ตาแหน่งประเภทวิชาการเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มตาแหน่งศาสตราจารย์ (Professor) (Full time/ Part time)
ประกอบด้วย ศาสตราจารย์เมธาจารย์ (Chair Professor) : เป็นตาแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง
เอง ศาสตราจารย์ภิชาน (Distinguished Professor) : เป็นตาแหน่งศาสตราจารย์ที่แต่งตั้งจากผู้ดารงตาแหน่ง
ศาสตราจารย์อยู่แล้วและมีความเชี่ยวชาญพิเศษในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ศาสตราจารย์คลินิก (Clinical Professor)
: เป็นตาแหน่งศาสตราจารย์ที่เน้นความเชี่ยวชาญการปฏิบัติงานด้านคลินกิ การให้บริการ และ ศาสตราจารย์
วุฒิคุณ (Adjunct Professor) : เป็นการจ้างผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะในด้านใดด้านหนึ่งเป็นบางเวลา

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 67 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -67-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิ
งานของอธิกการบดี
ารบดีแและที
ละทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

(Part Time) ทั้งภาคเอกชนและภาคราชการมาช่วยสอนเสริม 2) กลุ่มตาแหน่งวิชาการสายวิจัยและสอน (สาย


หลั ก ) (Full Professor) มี 4 ระดับ คือ (1) ศาสตราจารย์ (Professor) (2) รองศาสตราจารย์ (Associate
Professor ) (3) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (Assistant Professor) (4) อาจารย์ (Lecturer) 3) กลุ่มตาแหน่งวิชาการ
สายผู้สอน (Teaching Staff) มี 3 ระดับ คือ (1) อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ (Master Instructor) (2) อาจารย์อาวุโส
(Senior Instructor) (3) อาจารย์ผู้สอน (Instructor) 4) กลุ่มตาแหน่งนักวิจัย (Full Time Researcher) มี 4 ระดับ
คือ (1) นักวิจัยเชี่ยวชาญพิเศษ (2) นักวิจัยเชี่ยวชาญ (3) นักวิจัยชานาญการ (4) นักวิจัย
ประเด็นที่ 5 : การสรรหาผู้บริหาร และ Succession Plan การสรรหาผู้บริหาร ต้องมีการสารวจ
ความคิดเห็นประเด็นอนาคตขององค์กร จากทุกกลุ่มที่หลากหลาย จัดทา statement of criteria ตอนประกาศ
รับสมัคร และมีการค้นหาผู้สมัครอย่างกว้างขวาง (Nationally and Internationally, Applicants and Nominees)
มีแผนสืบทอด ทดแทนต าแหน่ง Succession Plan โดยกาหนดตาแหน่งส าคั ญ ที่ต้อ งมีก ารเตรียมบุคคล
ประเมิน บุ คคลเข้าสู่ กระบวนการเตรียม เป็ นบุ คคลใน “คลังข้อ มู ล Successor” ก าหนดหลั ก เกณฑ์ ก าร
ประเมินและกาหนดวิธีการพัฒนาบุคคลที่อยู่ ใน “คลังข้อมูล Successor”
ประเด็นที่ 6 : HR Digital Transformation แนวคิด ระบบข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยที่เชื่อมต่อ
กันทัง้ ข้อมูลด้านบุคลากร วิจัย การเรียนการสอน บริการวิชาการข้อมูลนักศึกษา การเงิน ฯลฯ เชื่อมต่อข้อมูล
ส่วนต่าง ๆ เข้าสูฐ่ านเดียวกันทัง้ 5 วิทยาเขต โดยที่หน่วยงานเจ้าของข้อมูลเป็นผู้รับผิดชอบ ดูแลข้อมูลในเรื่อง
นั้น ๆ ทัง้ นีฐ้ านข้อมูลกลางจะดูแลภายใต้ของสานักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ มีแนวทาง ดังนี้
1) Data Management : การพัฒนาฐานข้อมูลบุคลากรของมหาวิทยาลัยและบริหารจัดการ
ข้อมูลบุคลากรเพื่อนาไปสู่การบูรณาการข้อมูลที่เกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพ 1.1) Single view of
HR : ออกแบบ Requirement เพื่อนาไปพัฒนาระบบฐานข้อมูลบุคลากรโดยมีการเชื่อมต่อฐานข้อมูลการเงิน
ฐานข้อมูลผลงานวิจัย และฐานข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.2) Data Warehouse : กาหนดรายงานเชิงวิเคราะห์
สาหรับการติดสินใจของผู้บริหารในมิตติ ่าง ๆ เพื่อให้สานักดิจิทัลฯ นาไปจัดทาคลังข้อมูลเพื่อให้สามารถเรียกดู
ข้อมูลได้แบบเรียลไทม์
2) Digital Culture : การพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม
ดิจิทัลเพื่อให้สามารถนาเทคโนโลยีมาประยุก ต์ใ ช้ให้เกิด การเปลี่ยนแปลงการทางาน 2.1 ) HR Capability
Improvement : เสริมสร้าง Digital Mind และพัฒนาศักยภาพให้กับบุคลากรด้านเทคโนโลยีโดยจัดทาเส้นทาง
การฝึกอบรม (Training Roadmap) หรือส่งเสริม สนับสนุนงบประมาณสาหรับการ Upskill 2.2) Digital Tools :
สร้า ง Digital Platform ช่ว ยสนับสนุนการทางาน ลดขั้ นตอนการทางาน ลดการใช้กระดาษ ใช้เทคโนโลยี
คลาวด์ ในการจัดเก็บเอกสารเพื่อให้สามารถใช้งานร่วมกันได้
3) Digital Communications: การน าเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรั บใช้ ในการบริหารจัด การเพื่อ
เปลี่ยนวิธีการสื่อสารแบบเดิมไปสูก่ ารสื่อสารและประชาสัมพันธ์ข่าวสารแบบใหม่ในรูปแบบดิจิทัล 3.1) Social
media : พัฒนาเว็บไซต์ HR ให้ทันสมัย ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร HR ให้กับบุคลากรผ่านทางSocial
Platform ต่าง ๆ เช่น Facebook Instagram Line รวมถึง ปรับปรุงระบบที่ใช้งานให้เป็นระบบสองภาษาเพื่อ
รองรับการปฏิบัติงานของบุคลากรต่างชาติ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 68


-
-68- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ประเด็นที่ 7 : ระบบการทางานแบบ Cross-Function Team (Matrix) เปิดโอกาสให้ทางาน


ข้ า มหน่ ว ยงาน ข้ า มคณะ ข้ า มวิ ท ยาเขต เพื่ อ เกิ ด การบู ร ณาการความรู้ ร ะหว่ า งกั น และร่ ว มพั ฒ นา
มหาวิทยาลัย โดยมีการแบ่งสัดส่วนภาระงาน และการประเมินการปฏิบัติงานตามภาระงานใหม่ตามสัดส่วน
งานที่เหมาะสม เน้นเป้าหมายและวั ตถุ ประสงค์ข องงานเป็ นหลัก แนวทางการดาเนินการ มหาวิทยาลัยมี
คณะกรรมการพิจารณาและให้ความเห็นเกี่ยวกับการดาเนินการ การส่งเสริมและสนับสนุนการทางานข้าม
สายงาน เสนอคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยพิจารณา สาหรับการพิจารณาการอนุญาตให้บุคลากร
ทางานข้ามสายงาน กาหนดแนวปฏิบัติ คือ
(1) ส่ ว นงานโดยคณะกรรมการประจ าส่ ว นงานเป็ น ผู้ พิ จ ารณาการให้ บุ ค ลากรไป
ปฏิบัติงานข้ามสายงานทั้งในส่วนงานเดียวกันและต่างส่วนงาน
(2) สั ดส่ว นการทางานข้ามสายงาน ให้ส่วนงานต้นสั งกั ดและส่วนงานที่บุคลากรจะไป
ปฏิบัติงานพิจารณากาหนดได้ตามความเหมาะสมของงานที่ปฏิบัติ และกาหนดเป็นข้อตกลงภาระงาน สาหรับ
การพิจารณาการเลื่อนเงินเดือนประจาปี
(3) ระยะเวลาการไปปฏิบัติงานข้ามสายงานคราวละไม่เกินห้าปี
(4) การประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้ส่วนงานต่างสังกัดมีส่วนร่วมในการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานและส่งผลการปฏิบัติงานให้หน่วยงานต้นสังกัดประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือนประจาปี
(5) กรณีมีการคิดค่าตอบแทนคืนส่วนงานต้นสังกัด ให้ตกลงกันตามสัดส่วนภาระงานที่ไป
ปฏิบัติทั้งนี้ มหาวิทยาลัยได้จัดทาเป็นประกาศ เรื่อง การทางานข้ามสายงาน ประกาศ ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2563
2.2 การบริหารจัด การคนเก่ ง (Talent Management) ตามที่ม หาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ไ ด้
กาหนดแผนยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2561–2565 ส าหรับยุ ทธศาสตร์ที่ 3 กาหนดให้มีการเพิ่มประสิทธิภาพการ
บริหาร (PSU Ecosystem) เป้าประสงค์ที่ 3 (Goal) เพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรเพื่อบรรลุสัมฤทธิ์ผลของ
มหาวิทยาลัย โดยการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ (PSU Change) คือ การมีระบบบริหารคนเก่ง เพื่อสร้างบุคลากร
ของมหาวิทยาลัยที่โ ดดเด่น เน้นการสร้างประโยชน์แก่สังคมกองการเจ้าหน้าที่ขอเสนอแนวคิดการบริหาร
จัดการคนเก่ง (Talent management) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยแนวทางการบริหารบุคคลผู้ที่เป็น
คนเก่งทั้งบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัย ได้แก่ การสรรหา การจ่ายค่าตอบแทน
การจั ดสวั สดิก าร การยกย่อ งเชิด ชูเกี ยรติและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งที่เป็ นบุคคลจากภายนอก
มหาวิทยาลัย และบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย โดยมีแนวทางการดาเนินการ ได้แก่
1) แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารคนเก่ง (Talent) ทาหน้าที่พิจารณาคัดเลือกผู้ที่มีสมรรถนะสูง
เพื่อให้เป็นไปตามทิศทางยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย รวมถึ งการกาหนดเงินเดือน ค่าตอบแทน และสิทธิ์
สวัสดิการ สาหรับผู้ที่เป็นคนเก่ง (Talent) สายวิชาการและสายสนับสนุน
2) กาหนดสาขาด้านใดที่ทีมบริหารมีความประสงค์มุ่งเน้นให้ระบบบริหารคนเก่ง (Talent) ช่วย
ขับเคลื่อนเพื่อให้ไปสู่เป้าหมายที่มหาวิทยาลัยกาหนด

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 69


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -69-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนิ นงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

โดยแนวคิดการบริหารจัดการคนเก่ง (Talent management) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่


จะมีทีม Talent ตามประเด็นเชิงยุทธศาสตร์อย่างน้อยจานวน 5 ทีม จากจานวน 10 ประเด็นเชิงยุทธศาสตร์
และมีผู้เชี่ยวชาญ มีชื่อเสียงระดับชาติและนานาชาติอย่างน้อย 50 คน
นิยามของ Talent สายวิช าการ [มีทีม Talent เป็ นผู้ที่สร้างผลงานที่เทียบเท่า NUS (National
University of Singapore) เช่น การตีพิมพ์เผยแพร่ผ ลงานวิจัยและมี Citation สู ง การมีทุนวิจัย การเป็ น
วิทยากรในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรที่ผู้เรียนสนใจ สามารถแข่งขันกับมหาวิทยาลัยอื่นได้ เป็นผู้นาทีมวิจัย
และได้รับการยอมรับในวงวิชาการ ฯลฯ มีผู้เชี่ยวชาญ มีชื่อเสียงระดับชาติ และนานาชาติ อย่างน้อย 50 คน
โดยพิจารณาจากการได้รับเชิญเป็นวิทยากร ต่างชาติระดับอาเซียนขึน้ ไป อย่างน้อยจานวน 3 ครั้งภายใน 5 ปี
เป็ น ที่ปรึกษาการทาผลงานวิช าการ ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการสมาคมวิชาชี พระดับอาเซียน ภายใน
ระยะเวลา 3 ปี นับจากปีที่ได้การคัดเลือกเป็น Talent การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยและมี Citation สูง เป็น
ผู้นาทีมวิจัย ได้รับการยอมรับในวงวิชาการ ฯลฯ
นิยามของ Talent สายวิช าการ [พิ จารณาจากผู้ ที่ มีคุ ณลั ก ษณะ เป็ นผู้ที่ มี ทัก ษะพิ เศษหรื อ
ความสามารถพิเศษซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อมหาวิทยาลัย เช่น มีความสามารถสูงในด้านภาษาที่สอง สร้าง
นวั ตกรรม พั ฒนาสั งคม มีความสามารถในการขอทุ นวิจัย ฯลฯ เป็นผู้ที่มีความสามารถเฉพาะตั ว และเป็ น
ประโยชน์ตอ่ มหาวิทยาลัย เป็นผู้ที่มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดแี ละสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดี เป็นผู้ที่มีประสบการณ์
การทางานที่มหาวิทยาลัยต้องการ ฯลฯ พิจารณาจากผลงาน ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีความสามารถตาม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่กาหนด เป็นผู้มีความสามารถด้านอื่น ๆ นอกเหนอจากยุทธศาสตร์ที่กาหนด เป็นผู้ที่ได้รับ
การยอมรับของส่วนงานหรือหน่วยงาน ซึ่งผู้บังคับบัญชาชั้นต้นเสนอชื่อหรือได้รับการเสนอชื่อจากส่วนงานหรือ
หน่วยงานอื่น ซึ่งมิใช่สวนงานหรือหน่วยงานที่ตนสังกัด เป็นผู้ที่ได้รับเชิญเป็นวิทยากรในระดับชาติหรือนานาชาติ
อย่างสม่าเสมอ เป็ นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการจากสมาคมวิชาชีพ เป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องหรือได้รับ
รางวัลระดับประเทศหรือระดับนานาชาติ ฯลฯ]
2.3 การบริหารจัดการพื้นที่ทุ่งใสไช ต.พุมเรียง อ.ไชยา จ.สุราษฎร์ธานี (พ.ศ. 2565-2595) มี
แนวคิด ในการพัฒ นาพื้นที่ทุ่งใสไชให้เป็ นพื้นที่นวัตกรรมเพื่อ สังคม ในรูปแบบ “วิทยาลัยนวั ตกรรมเกษตร
ทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง (College of Agricultural, Marine and Costal Resource Innovation)” มีเนื้อที่
2,296 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา โดยการใช้ วิจัยและการพัฒ นานวัตกรรมแนวหน้า ( Frontier Research &
Innovation) นาการเรียนการสอนและการผลิตบั ณฑิ ต ร่วมกั บการบริก ารสั งคม โดยการดาเนินงานผ่า น
แผนงานหลัก 5 แผนงาน คือ
1) แผนงานพืน้ ฐาน การดาเนินการวิจัยและพัฒนาในแผนงานหลัก 4 แผนงาน คือ แผนงานการ
เพาะเลี้ยงสัตว์นา้ แผนงานประมงชายฝั่ง แผนงานอุตสาหกรรมประมง และแผนงานพืชและสัตว์เศรษฐกิจ
2) แผนงานการเพาะเลีย้ งสัตว์นา้ วิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ครอบคลุม
ถึงสัตว์นาเศรษฐกิ
้ จ เช่น กุ้ง ปลาหอย ปู ปลิงทะเล การเพาะเลีย้ งสาหร่าย (Micro and Macro Algae) สัตว์และพืช
ทะเลและอื่น ๆ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 70 -


-70- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

3) แผนงานประมงชายฝั่ง วิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการทาฟาร์มทะเล (Sea Farming) โดย


การเพาะเลี้ยงสั ตว์น้าในที่กั ก ขังในทะเลในกระชั งหรือ ในคอก (Cage Culture) โดยเลือกชนิด สัตว์น้าให้
เหมาะสมกั บพื้นที่ เช่น การกั้ นคอกเลี้ยงปลิงทะเล หอย ปลา และสัตว์เศรษฐกิ จชนิดต่า ง ๆ การวิจัยการ
เพาะเลี้ยงแบบ Sea Ranching โดยการผลิตลูกพันธุ์สัตว์น้าจนถึงระยะที่เหมาะสมแล้วปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ
เมื่อสัตว์นาเจริ
้ ญเติบโตเต็มที่จึงให้ชุมชนเก็บเกี่ยวนาไปใช้ประโยชน์
4) แผนงานอุ ตสาหกรรมประมง มีขอบเขตการดาเนินภารกิจที่ครอบคลุมด้านการจับสัตว์น้า
การเก็บรักษา การแปรรูป การขนส่ง และการตลาด โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมใหม่ เพื่อนาสู่
การถ่ายทอดองค์ความรู้สภู่ าคธุรกิจ ภาคเกษตรกร และผู้ประกอบการ รวมถึงเครือข่ายความร่วมกับองค์กร
ภาครัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5) แผนงานพืชและสัตว์เศรษฐกิจ การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์
เศรษฐกิจในรูปแบบการทาเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) คือ การเกษตรแม่นยาสูง (Precision Agriculture
หรือ Precision Farming) เกษตรประณีต การเกษตรอินทรีย์ โดยเน้น พืชสวน พืชไร่ และพืชเศรษฐกิจของพื้นที่
รวมทั้งการเลีย้ งปศุสัตว์ที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (รวบรวมพันธุ์ท้องถิ่น/พันธุ์พืช
เศรษฐกิจ/สมุนไพรพืน้ ถิ่น)
การใช้ประโยชน์พนื้ ที่ในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ดาเนินการใช้ประโยชน์พื้นที่ทุ่งใสไช
ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการอนุ ญ าตให้ใ ช้ ประโยชน์ เ พื่อ จั ด ตั้ งศู น ย์วิ จั ยและพั ฒ นาทรั พ ยากรชายฝั่ งและ
อุตสาหกรรมประมง โดยได้มีการดาเนินโครงการ/ กิจกรรมต่าง ๆ ในพืน้ ที่แล้ว ดังต่อไปนี้
1) ศูนย์วิจัยและพัฒนาสายพันธุ์กุ้งกุลาดา ในช่วงปี พ.ศ. 2546–2561 โดยสานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) วิจัยร่ว มกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลั ย
มหิดล และศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ ได้ดาเนินการวิจัยต่อหลังจากหมดสัญญาในปี พ.ศ. 2561 โดยลงนามความร่วมมือด้านการวิจัยและ
นวัตกรรมใหม่ในรูปแบบ “หน่วยปฏิบัติการร่วมด้านการพั ฒนาพันธุ์สั ตว์น้า” ระยะเวลาความร่ว มมือ 5 ปี
ตั้งแต่วั นที่ 1 ตุล าคม 2560 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2565 มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ โครงการวิจัยและ
พัฒนาแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้
โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาระยะที่ 1 (โครงการวิจั ย ที่ อ ยู่ร ะหว่ า งการด าเนิ น การ) ได้ แ ก่
โครงการวิ จั ยและพั ฒ นาการเพาะเลี้ ย งกุ้ งขาวร่ ว มกั บ ปลานิ ล ทะเลในระบบ Itegrated Multi-Trophic
Aquaculture (IMTA) เพื่อการจัดการของเสีย (Zero Waste) โครงการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเชิงพาณิชย์เพื่อการ
ถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร โครงการพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งโดยการปลูกมะพร้าวน้าหอมในพื้นที่ดิน
เค็มและน้ากร่อย โครงการพัฒนาทรัพยากรชายฝั่ง ต้นแบบการเลีย้ งปลานิลในร่องสวนปาล์มน้ามัน โครงการ
พัฒนารูปแบบความหลากหลายทางทรัพยากรชายฝั่งโดยการปลูกส้มโอทับทิมสยามร่วมในแปลงมะพร้า ว
น้าหอม โครงการระบบสถานีเฝ้าสังเกตสาหรับการตรวจวัดและจัดการการวิเคราะห์ข้อมูลการเกษตรแบบ
เวลาจริงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 71 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -71-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาระยะที่ 1 (โครงการวิ จั ย ที่อ ยู่ ร ะหว่า งก ารเตรี ย มการ) ได้ แ ก่
โครงการวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงปูทะเล โครงการพัฒนาทรัพยากรชายฝั่งโดยการปลูกมะม่วงหิมพานต์
ในพืน้ ที่ดนิ เค็มและน้ากร่อย ส่งเสริมอาชีพเกษตรกร ชุมชน
โครงการวิจัยและพัฒนาระยะที่ 2 (2563-2565) ได้แก่ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และเพิ่ม
มูล ค่า จากสาหร่า ยผมนางเชิ งพาณิช ย์ โครงการศูนย์ก ารเรียนรู้ วิจัยและพั ฒนาระบบการผลิตและการ
ปรับปรุงพันธุ์หอยทะเลเศรษฐกิจ ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี โครงการเพาะพันธุ์ลูกกุ้งขาว โครงการเลี้ยงปลา
กะพงในกระชั งของบ่อน้าในสวนต้นแบบ นอกจากนี้ ยังมีโครงการวิจัยและพัฒ นาที่มหาวิทย าลัยได้รับการ
สนับสนุนงบประมาณแผ่นดินจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย และงบประมาณจาก
โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (Southern Economic Corridor, SEC) ประจาปีงบประมาณ 2563 และ 2564
โดยใช้ พื้นที่ด าเนินการในพื้นที่ทุ่งใสไช ดั งนี้ สถาบั นวิจัยและพั ฒ นาสัตว์น้าเศรษฐกิ จแห่งภู มิภ าคเอเชี ย
ตะวัน ออกเฉียงใต้ โครงการพั ฒนาอุตสาหกรรมผลิตสินค้า เกษตรแปรรู ปอบแห้งแบบเย็ น ( Freeze Dry)
โครงการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปาล์มน้ามัน 4.0 โครงการศึกษาวิจัยและใช้ประโยชน์จากต้นปาล์มน้ามัน
หมดอายุ โครงการถ่ายทอดเทคนิคการผลิตผลิ ตภัณฑ์ ไม้ปาล์มน้ามั นอัดขึ้นรูป เพื่อใช้ในงานเกษตร บรรจุ
ภัณฑ์และเครื่องเรือน โครงการวิศวกรรมวัสดุย้อนรอยสาหรับเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูป โครงการการ
ตรวจสอบเปอร์เซ็นต์น้ามันในทะลายปาล์มน้ามันของจังหวัดสุราษฎร์ธานี
2) การใช้ ประโยชน์พื้นที่ทุ่งใสไช เพื่อเป็นพื้ นที่นวั ตกรรมเพื่อสั งคม มหาวิทยาลั ยได้แต่งตั้ง
คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาพืน้ ที่ทุ่งใสไช มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (คาสั่งที่ 1265/2562 ลงวันที่ 15
สิงหาคม 2562 และ 1356/2563 ลงวันที่ 29 สิงหาคม 2562) มีการจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากประชาคม
ทั้งภาคเอกชน หน่วยงานภาครัฐและประชาชนในพื้นที่ รวมทั้งมีข้อเสนอแนะจากการประชุมสภามหาวิทยาลั ย
คณะกรรมการสภาวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และคณะอนุกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี นาสู่การกาหนดพืน้ ที่นวัตกรรมเพื่อสังคม ในช่วงปี พ.ศ. 2565–2595 โดยรายละเอียดที่
กาลั งด าเนินการ เช่ น หน่วยปฏิบัติการร่วมด้านการพั ฒนาพันธุ์สัตว์น้า พื้นที่พัฒนาด้านการท่องเที่ยว การ
อนุรักษ์ และวั ฒนธรรม พื้นที่อนุรักษ์พันธุ์ไม้พื้นถิ่ นและพันธุ์ไม้หวงห้าม พื้นที่อนุรักษ์ทางวัฒนธรรม (เจดีย์
โบราณ)
2.4 การใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาท่าเพชร ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎร์
ธานี (ช่วงปี 2565 – 2595) โดยตั้งแต่ปี 2535 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้ ให้
เข้าใช้ประโยชน์ภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาท่าเพชร ในท้องที่ ต.มะขามเตีย้ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี เพื่อ
ใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษาและใช้เป็นพื้นที่ทาการวิทยาลัยหรือวิทยาเขต เนื้อที่ 440 ไร่ ตั้งแต่วันที่ 29
พฤษภาคม 2535 จนถึงวันที่ 28 พฤษภาคม 2565 ตามประกาศกรมป่าไม้ เรื่อง กาหนดบริเวณพื้นที่ให้ส่วน
ราชการหรือองค์กรของรัฐเข้าใช้ประโยชน์ภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติฉบับที่ 57/2535 ณ วันที่ 29 พฤษภาคม
ส่วนที2535
พ.ศ. ่ 2 รายงานผลการด
โดยปัจจุบันาเนิ
มหาวินงานของอธิ
ทยาลัยได้การบดี
ดาเนิแนละที
การพัมบริฒหนาและใช้
ารมหาวิทปยาลั ยสงขลานคริ
ระโยชน์ นทร์าเพชร เพื่อรองรับการ
พื้นที่เขาท่
จั ด การเรี ย นการสอน การวิ จั ย บริ ก ารวิ ช าการ รวมถึ ง ภารกิ จ อื่ น ๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย ในปี 2563
อนุรักษ์ และวั ฒนธรรม พื้นที่อนุรักษ์พันธุ์ไม้พื้นถิ่ นและพันธุ์ไม้หวงห้าม พื้นที่อนุรักษ์ทางวัฒนธรรม (เจดีย์
โบราณ)
2.4 การใช้
รายงานผลการด ประโยชน์
าเนินงานของอธิ พื้นทีม่ปหาวิ
การบดี ่าสงวนแห่ งชาติ ป่านเขาท่
ทยาลัยสงขลานคริ ทร์ (ตุาลเพชร ต.มะขามเตี
าคม 2561 –พฤษภาคม้ย อ.เมื
2563)อง จ.สุร-าษฎร์
72 -
ธานี (ช่วงปี 2565 – 2595) โดยตั้งแต่ปี 2535 มหาวิทยาลัยสงขลานคริ
-72- รายงานผลการดำ � เนิ น งานของอธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ ได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้ ให้
(ตุ ล าคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
เข้าใช้ประโยชน์ภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาท่าเพชร ในท้องที่ ต.มะขามเตีย้ อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี เพื่อ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

มหาวิทยาลัยร่ว มกั บสถานีพัฒนาและส่งเสริม อนุรัก ษ์สัตว์ป่าเขาท่า เพชร ได้ด าเนินการส ารวจรังวัด พื้น ที่
พบว่า ได้มีการใช้ประโยชน์เนื้อที่ 455 ไร่ 2 งาน 42 ตารางวา ประกอบด้วย
1) พื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษาและพืน้ ที่ทาการของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เนื้อที่
435 ไร่ 2 งาน 42 ตารางวา
2) พื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์ของโรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี ซึ่งมีมูลนิธิเพื่อการศึกษา
โรงเรียน มอ.วิทยานุสรณ์ สุราษฎร์ธานี ฐานะเป็นนิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็นผู้รับ
อนุญาตจัดตั้งโรงเรียน เป็นโรงเรียนในระบบตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 จานวนเนื้อที่ 20
ไร่ (การจัดตั้งโรงเรียนฯ ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสภามหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ ในคราวประชุมครั้งที่
344 (8/2555) เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2555)
บัดนี้ ใกล้ส้ินสุดระยะเวลาของการได้รับอนุญาตแล้ว มหาวิทยาลัยจึงเสนอแผนการใช้ประโยชน์
พื้น ที่ป่ า สงวนแห่งชาติป่า เขาท่า เพชร ในท้อ งที่ตาบลมะขามเตี้ย อ าเภอเมือ ง จั งหวั ด สุ ราษฎร์ธานี เป็ น
ระยะเวลาต่ออีก 30 ปี (ปี 2565 – 2595) เฉพาะพืน้ ที่ในส่วนที่มหาวิทยาลัย ใช้ประโยชน์ในการจัดการศึกษา
และพืน้ ที่ทาการของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีเนื้อที่ 435 ไร่ 2 งาน 42 ตารางวา จึงได้เสนอแผนการใช้ประโยชน์
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติดังกล่า ว ต่อไปอีก 30 ปี ปั จจุ บันวิทยาเขต ประกอบด้ว ย 1) คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม 2) คณะศิล ปศาสตร์และวิทยาการจั ดการ 3) โครงการจั ด การคณะนวั ตกรรม
การเกษตรและประมง 4) วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และ 5) สานักงานวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มีนโยบายการบริหารแบบรวมศูนย์บริการ ประสาน
ภารกิจ โดยมีสานักงานวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เป็น หน่วยสนับสนุนการดาเนินงานในทุกภารกิจให้กับคณะ/
วิทยาลัย มีการกาหนดโซนและใช้ประโยชน์พนื้ ที่ ดังนี้
1) โซนพืน้ ที่การบริหาร เนื้อที่ 38 ไร่ 3 งาน 51 ตารางวา
2) โซนพืน้ ที่จัดการศึกษา เนื้อที่ 85 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา
3) โซนพืน้ ที่การกีฬา สุขภาพ และพัฒนานักศึกษา เนื้อที่ 124 ไร่ 3 งาน 83 ตารางวา
4) โซนพืน้ ที่อาคารปฏิบัติการ เนื้อที่ 21 ไร่ 3 งาน 85 ตารางวา
5) โซนพืน้ ที่ที่พักบุคลากรและหอพักนักศึกษา เนื้อที่ 89 ไร่ 2 งาน 26 ตารางวา
6) โซนพืน้ ที่ป่าอนุรักษ์และไม้พนื้ เมือง เนื้อที่ 74 ไร่ 3 งาน 57 ตารางวา
2.5 การบริหารจัดการทรัพย์สินและการร่วมทุนในบริษัทร่วมทุน พีเอสยู โฮลดิ้ง จากัด (PSU
Holding Company) จากความต้องการในการจัดตั้งบริษัทรวมทุน พีเอสยู โฮลดิ้ง จากัด เพื่อสนับสนุนการ
ลงทุนในนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพทั้งที่เป็นนวัตกรรมพรอมลงทุนและบริษัทพรอมร่วมทุน เป็น
ช่องทางหารายได้ของมหาวิทยาลัยในระยะยาวที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติมหาวิ ทยาลัยสงขลานครินทร์
เป็นกลไกของมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลกที่มีบริษัทร่วมทุนสนับสนุนผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์
และเป็นรายได้ โดยตัวอย่างผลงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้แก่ เจลสมุนไพรทา
ความสะอาดมือจากสารธรรมชาติ สเปรย์ช่องปากจากสารสกั ดบัวบกที่มีสารเพ็นตะไซคลิกไตรเทอร์ปีนใน
ปริมาณสูง เม็ดฟองฟู่จากสารสกัดเคอร์คูมินอยด์ สารสกัดใบชะมวงโอนด้วยน้ามันราข้าว สารสกัดยางพารา

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 73 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -73-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

(Hb Extract) และสารสกัดโอลิโกแซคคาไรด์ (Hb-OS) ผลิตภัณฑ์น้ามันทาความสะอาดเครื่องสาอางจาก


น้ามันเมล็ดยางพารา โฟมยางที่มีสวนประกอบของสารล่อแมลง แผ่นหนังเทียมจากยางธรรมชาติผสมผงหนัง
และผลงานวิจัยที่มีก ารจั ด ตั้งหรือ ก าลั งจัด ตั้งพร้อ มร่วมทุ น ได้แก่ 1) ชุ ด อุ ปกรณ์ถุ งทวารเทียม จากยาง
ธรรมชาติ หจก. ดับเบิล้ ยู อิน เซอร์เจอรี่ 2) การพัฒนาโพรไบโอติก ส์เพื่อใช้ป้องกันฟันผุ บริษัท เดนทัล สวีท
จากัด 3) จอกยางนาโนป้องกันการเกาะติดของน้ายางพาราและยางธรรมชาติเทอร์โมพลาสติกลอกลายแบบ
3 มิติ บริษัท วอนนาเทค จากัด 4) อุปกรณ์ผ่าตัดผังพืดบริเวณข้อมูลแบบแผลเล็ก บริษัท เวเลอร์ เฮลธ์ จากัด
5) อุปกรณ์วัดกาหนดตาแหน่งก่อนการฉีดยาเข้าีาวุ น้ ้นตา บริษัท วอเทอร์ป๊อก จากัด
2.6 ส านั ก งานบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานคริ น ทร์ จากการประชุ ม
คณะกรรมการนโยบายการเงินและทรัพย์สนิ ในคราวประชุมครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันศุกร์ที่ 5 เมษายน 2562 ที่
ประชุมได้มีข้อเสนอแนะให้มหาวิทยาลัยจัดตั้งสานักงานบริหารจัดการทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย ภายใต้การ
กากับดูแลของอธิการบดีและรองอธิการบดีให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และอาจเชิญ
บุคคลภายนอกที่มีประสบการณ์เข้ามากากับดูแลโครงการที่หารายได้โดยมีการจ่ายค่าตอบแทนตามผลการ
ดาเนินงาน เพื่อสร้างกิ จกรรมและเพิ่ม ความหลากหลายในการจัด หารายได้ จัดการผลประโยชน์จากการ
บริห ารทรั พย์สินของมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามนโยบายการแสวงหารายได้เพิ่มและสร้างเสถียรภาพทาง
การเงินให้กับมหาวิทยาลัย โดยมีแผนการลงทุนในทรัพย์สนิ พื้นที่ และประเภทกิจการต่าง ๆ รวมถึงทาหน้าที่
เป็น หน่ว ยงานกลางทางด้า นติด ต่อเชิงธุ รกิ จระหว่า งหน่วยงานของมหาวิทยาลั ยและองค์ก รภายนอก การ
จัดการผลประโยชน์จากการบริหารทรัพย์สนิ ของมหาวิทยาลัยจาแนกรูปแบบกิจกรรมออกเป็น
- ประเภททรัพย์สนิ คือ ประเภทการลงทุนทางการเงิน เป็นการบริหารและจัดการทรัพย์สินที่นา
เงิน ไปลงทุ น ในตลาดเงิน เพื่อ ให้เกิ ด ผลตอบแทนคุ้ม ค่า และเกิ ด ประโยชน์สู งสุ ด ประเภท โครงการลงทุ น
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ ป็ น การบริ ห ารและจั ด การทรั พ ย์ สิ น ที่ น าเงิ น ไปลงทุ น ทางธุ ร กิ จ ในพื้ น ที่ ต่ า ง ๆ ของ
มหาวิทยาลัย และเพื่อใช้พ้นื ที่ที่ดนิ อาคารสถานที่ และสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
- ประเภทโครงการลงทุ นในทรั พย์สินทางปั ญ ญา เป็ นการบริหารและจั ด การทรั พย์สินทาง
ปัญญาไปลงทุนเชิงธุรกิจ หรือหาประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ และประเภทจัดเก็บผลประโยชน์จากพื้นที่ต่าง ๆ
เช่น การให้เช่าพื้นที่ในอาคาร (ส่วนกลาง) ต่าง ๆ ศูนย์อาหารและบริการ รวมทั้งบริการพื้นที่ตลาด ร้านค้า
ศูนย์อาหารและบริการธุรกิจอื่น ๆ

ประเด็นที่ 6 การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ที่ตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศและเทียบกับมาตรฐานนานาชาติ


1. บูรณาการหลักสูตร งานวิจัย และบริการวิชาการ ที่เน้นการบูรณาการระหว่างศาสตร์ (Discipline Based)
และประเด็น (Issues Based) ในรูปแบบคลั สเตอร์ โดยดาเนินการทั้งในรูปแบบ คลั สเตอร์ ในลั กษณะ Matrix
Cluster ตามประเด็นกั บศาสตร์ควบคู่กัน โดยมหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์มีเป้าหมายที่ชั ดเจนในการสร้าง
บัณฑิต โดยมีวัตถุประสงค์ให้บัณฑิตมีศักยภาพทางวิจัยและนวัตกรรม มีทักษะทาง Critical Thinking เพื่อแก้โจทย์
ปัญหา Formulate Idea และมีความเป็นนานาชาติ โดยบูรณาการภารกิจตามนโยบายพันธกิจสัมพันธ์มหาวิทยาลัย
กับสังคมทุกพืน้ ที่โดยมุ่งเป้าไปยังพืน้ ที่ 5 จังหวัดของวิทยาเขต รวมถึง 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ กาหนดแผนการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 74 -


-74- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

บริหารจั ดการงบประมาณด้านการวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยจัดสรรงบประมาณจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลั ย


กองทุนวิจัยวิทยาเขต และกองทุนวิจัยคณะ/หน่วยงาน วงเงินรวมปีละประมาณ 200 ล้านบาท เพื่อสนับสนุ น
โครงการวิจัย การพัฒนานักวิจัย และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้านการวิจัย สนับสนุนให้นักวิจัยมีการรวมกลุ่ม
สร้างเครือข่ายวิจัย จัดตั้งสถาบันวิจัยและนวัตกรรม สร้างความเข้มแข็งในสาขาต่าง ๆ เพื่อให้มีความพร้อมในการ
ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากแหล่งต่าง ๆ เช่น งบบูรณาการ งบยุทธศาสตร์ งบประมาณจากภายนอก
รวมถึงต่างประเทศ
1.1 สนับสนุนนักวิจัยให้รวมกลุ่ม สร้างเครือข่ายวิจัย
สาขาความเป็นเลิศที่ได้รับการสนับสนุนแล้ว และกาลังดาเนินกิจกรรมในปัจจุบัน
1) สาขาความเป็ น เลิ ศ การเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้ าอย่ า งยั่ ง ยื น (Sustainable Aquaculture)
ระยะเวลา 1 มิ.ย. 2560 - 1 พ.ค. 2565 เป็นการรวมตัวกันกลุ่มนักวิชาการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ได้แก่ ภาควิช าวาริชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ วิทยาเขตหาดใหญ่ ร่ว มกับ คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี วิทยาเขตปัตตานี และ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุต สาหกรรม วิทยาเขตสุ ราษฎร์ธานี
เพื่อ ให้เกิ ดความร่ว มมือ ทางวิช าการ ในการสร้า งความเป็ นเลิศด้า นการเพาะเลี้ยงสั ตว์น้าอย่า งยั่ งยืนใน
ระดับประเทศและภูมิภาค โดยเป็นแหล่งผลิตนักศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก ทางานวิจัยที่
เป็นความร่วมมือของนักวิจัยจากวิทยาเขตต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาและแก้ปัญหาการเพาะเลี้ยงสัตว์
น้าของภาคใต้และประเทศไทย ได้แก่ ระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าทั้งในส่วนของน้าจืดและชายฝั่ง วิศวกรรม
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า อาหารสัตว์น้า โรคและสุขภาพสัตว์น้า พันธุกรรมสัตว์น้า เทคโนโลยีชีวภาพและชี ว
โมเลกุลของสัตว์นา้ สิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศของระบบเลี้ยง สัตว์น้าสวยงามและพืชน้า รวมถึงมาตรฐาน
การเพาะเลี้ยงสัตว์นา้
2) โครงการสู่ความเป็ นเลิศสาขาเภสัช ศาสตร์ ระยะที่ 3 (Discipline of Excellence in
Pharmacy, Phase 3) ระยะเวลา 1 ก.พ. 2561 - 31 ม.ค. 2566 มุ่งเน้นการพัฒนาหลักสูตรปริญญาเอก
เภสัชศาสตรนานาชาติ การรับนักศึกษาต่างชาติ การรับนักวิจัยระดับหลังปริญญาเอกและการมีอาจารย์ชาว
ต่างประเทศเป็นผู้ร่วมสอน การพัฒนาและเพิ่มจานวนอาจารย์นักวิจัย ซึ่งคาดว่าผลจาการดาเนินการตาม
โครงการสู่ความเป็นเลิศสาขาเภสัช ศาสตร์ รวมทั้งโครงการมหาวิทยาลั ยวิจัยแห่งชาติจะช่ ว ยผลั กดั นให้
งานวิจัยสาขาเภสัชศาสตร์สามารถก้าวสู่ความเป็นเลิศได้ในระดับนานาชาติ
ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศที่ได้รับการสนับสนุนแล้ว และกาลังดาเนินกิจกรรมในปัจจุบัน
1) สถานวิจัยความเป็นเลิศด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ระยะที่ 2 (Natural Product Research
Phase 2) ระยะเวลา 1 ก.ค. 2561 - 30 มิ.ย. 2566 ได้รับรางวัลรางวัลเครือข่ายวิจัยที่มีผลงานระดับดี ปี
2562 เป็นการรวมกลุ่มนักวิจัยหลักจากภาควิชาเคมี ภาควิชาจุลชีววิทยา ภาควิชาชี วเคมี ภาควิชาสรีรวิทยา
ในคณะวิทยาศาสตร์ที่มีความเชี่ ยวชาญด้านผลิตภั ณฑ์ ธรรมชาติ โดยเพิ่ม เติม นัก วิจัยจากคณะอื่น ๆ ใน
มหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะเภสัชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเทคนิคการแพทย์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
คณะการแพทย์แผนไทย เพื่อสร้างงานวิจัยเชิงบูรณาการได้ครบวงจรซึ่งจะนาไปสู่การนาไปใช้ประโยชน์เชิง
คลินกิ และเชิงพาณิชย์ได้ ผลงานเด่นเช่น 1) การพัฒนาแผ่นปิดแผลผสมตารับยาสมานแผลเพื่อรักษาแผลใน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 75 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -75-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน 2) ถุงมือทางการแพทย์และท่อหายใจ ที่เคลือ บด้วยซิลเวอร์นาโนจากสารสกัดใบยูคา


ลิปตัส 3) สมุนไพรปูดเบญกานีในรูปแบบยาเตรียมภายนอกสาหรับรักษาแผลติดเชือ้ เรือ้ รัง เป็นต้น
2) ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน (Center of Excellence
Membrane Science and Technology) ระยะเวลา 1 ต.ค. 2561 - 30 ก.ย. 2566 มีการพัฒนาเมมเบรนจาก
พอลิเมอร์และเซรามิกทั้งที่มีรูพรุนและไม่มีรูพรุนให้มีสมบัติเหมาะสมและหรือจาเพาะเพื่อแยกสารสาหรั บ
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาคะตะลิสต์เมมเบรนสาหรับแยกแก๊สเพื่อการผลิตพลังงาน พัฒนาระบบ
และกระบวนการที่ใช้เทคโนโลยีเมมเบรนเป็นฐานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น อาหารยางพารา ปาล์มน้ามัน
พลั ง งาน และสิ่ง แวดล้อ ม เป็ นต้ น พั ฒ นานัก วิ จัย และผลิต บั ณฑิ ตระดั บปริญ ญาโทและเอก ให้มีค วาม
เชี่ ยวชาญทางด้า นวิ ทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเ มมเบรนในระดั บที่ มีศั ก ยภาพในการพั ฒ นาผลิ ตภั ณ ฑ์
นวัตกรรมโดยใช้เทคโนโลยีเมมเบรนเป็นฐาน สร้างความร่วมมือกับภาครัฐและหรือ เอกชนในการแสวงหา
โจทย์วิจัยและหรือร่วมวิจัยและเป็นแหล่งการใช้ประโยชน์ผลการวิจัย ซึ่งจะนาไปสู่การใช้เทคโนโลยีเมมเบรน
เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตและการผลิตเชิงพาณิชย์
3) ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านการวิเคราะห์สารปริมาณน้อยและไบโอเซนเซอร์ (Center of
Excellence Trace Analysis and Biosensor Research Center) ระยะเวลา 1 พ.ย. 2561 - 31 ต.ค. 2566
ประกอบด้วยนักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อ ม
โดยรวมหน่วยวิจัยสองหน่ว ยไว้ด้วยกัน คือ หน่วยวิจัยเคมีวิเคราะห์และสิ่งแวดล้อม/สารปริมาณน้อย และ
หน่ว ยวิจัยชี วฟิสิกส์ : ไบโอเซนเซอร์และกระแสไฟฟ้าชี วภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ขยายงานวิจัยและ
การศึกษาเรียนรู้ทั้งสองด้าน การเตรียมตัวอย่างและเทคนิคในการวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคโครมาโทกราฟีและ
ไบโอเซนเซอร์ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ ในการวิเคราะห์ในด้า นอุตสาหกรรม สุขภาพ อาหารและสิ่งแวดล้อ ม
มุ่งเน้นพัฒนาเทคนิคใหม่ในการเตรียมตัวอย่างและวิธีวิเคราะห์ที่เหมาะสมสาหรับการวิเคราะห์สารปริมาณ
น้อ ย โดยเฉพาะสารปนเปื้อ นหรือ สารที่ตกค้า งในตัว อย่า งทางสิ่งแวดล้อ ม วั ตถุ ดิบ หรือ ผลิตภั ณฑ์ จาก
กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งการวิเคราะห์ทางการแพทย์
4) ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศด้านโลหะและวิศวกรรมวัสดุ (Center of Excellence in Metal and
Materials Engineering (CEMME)) ระยะเวลา 1 ต.ค. 2562 - 30 ก.ย. 2567 ทาหน้าที่ส่งเสริม ผลักดัน และ
อานวยการให้เกิดการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรมและสนับสนุนงานบัณฑิตศึกษา และก่อให้เกิ ดการ
ประยุกต์และการถ่ายทอดเทคโนโลยีสชู่ ุมชนหรืออุตสาหกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ในด้าน
อุ ต สาหกรรมโลหะและวั ส ดุ ซึ่งเป็ น ส่ว นประกอบหลั ก อั นหนึ่งของอุ ตสาหกรรมต่ อ เนื่อ งแขนงอื่ น ๆ ทั้ ง
อุตสาหกรรมยานยนต์ ปิโตรเคมี ไฟฟ้า อิเล็คทรอนิก เซรามิกและแก้ว และการก่อสร้าง เป็นต้น เป็นส่วนหนึ่ง
ของกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต 5 อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพในการต่อยอด (First S-Curve) และ
5 อุตสาหกรรมอนาคต (NewS-Curve) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อบริหารและจัดการให้เกิดการพัฒนางานวิจัย
ทางด้า นวิศวกรรมวั สดุ ที่มีทิศทางที่ชั ดเจน และสามารถรองรั บการวิจัยพัฒ นาของภาคอุตสาหกรรมและ
บัณฑิต ศึก ษาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ไ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลิตผลงานวิจัยทั้งทางด้านวิชาการและ
งานวิจัยเพื่อไปสูอ่ ุตสาหกรรม เพื่อพัฒนากาลังคนทางด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมวัสดุเพื่อเป็นกาลังสาคัญ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 76 -


-76- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนที ่ 2 รายงานผลการดำ
นงานของอธิ �เนินมงานของอธิ
การบดีและที การบดี
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที มบริหารมหาวิ
สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์

ของประเทศ มีทิศทางการวิ จัยออกเป็น 4 กลุ่มหลัก คือ ทิศทางการวิจัยของกลุ่มวิจัยวิศวกรรมโลหะ ทิศ


ทางการวิจัยของกลุ่ม วิจัยวิศวกรรมวั สดุ เซรามิก และคอมพอสิต ทิศทางการวิจัยของกลุ่ม วิจัยวิศวกรรม
กระบวนการหล่อและขึน้ รูปโลหะ และทิศทางการวิจัยของกลุ่มวิจัยวิศวกรรมยาง
5) ศูนย์วิจัยความเป็ นเลิ ศเทคโนโลยีชี ว ภาพเกษตรและทรั พยากรธรรมชาติ ระยะที่ 3
(Agricultural and Natural Resources Biotechnology Phase 3) ระยะเวลา 1 ม.ค. 2563 - 31 ธ.ค. 2568 จาก
ผลการดาเนินงานของสถานวิจัยฯ ระยะที่ 1 ถึงระยะที่ 2 ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา คือ ระหว่าง กุมภาพันธ์ 2552
ถึง ธั น วาคม 2561 พบว่า มีผ ลการด าเนินงานบรรลุ ตามวั ตถุ ประสงค์ที่ว างไว้ โดยในระยะที่ 2 มีคะแนน
ประเมินสูงถึง 83.82% คณะนักวิจัยจึงมีความเห็นว่าควรจัดทาข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนจาก
มหาวิทยาลัยเพื่อจัด ตั้งศูนย์วิจัยความเป็นเลิศฯ ระยะที่ 3 และดาเนินการต่อ เนื่อ งจากระยะที่ 2 คือ ตั้งแต่
เดือ นมกราคม 2563 – ธั นวาคม 2568 ทั้งนี้เพื่อให้ไ ด้อ งค์ความรู้ใ นด้า นเทคโนโลยีชีว ภาพเกษตรและ
ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อ การพัฒนาพันธุ์ ขยายพันธุ์ และการเพิ่มผลผลิตพืช ปศุสัตว์ สัตว์นา้ ตลอดจนการใช้
เทคโนโลยีชีวภาพพัฒนาชีวภั ณฑ์เพื่อการผลิตที่ มีประสิทธิภาพและปลอดภัย รวมทั้งการพัฒนาและสร้า ง
นักวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง
6) ศูนย์วิจัยความเป็ นเลิศยาสมุ นไพรและเทคโนโลยีชี ว ภาพทางเภสั ช กรรม ระยะที่ 2
(Phytomedicine and Pharmaceutical Biotechnology Phase 2) ระยะเวลา 1 ม.ค. 2563 - 31 ธ.ค. 2568
สถานวิจัยความเป็นเลิศยาสมุนไพรและเทคโนโลยีชีวภาพทางเภสัชกรรม ได้ดาเนินการมาจนสิ้นสุดระยะที่ 1
โดยนับเวลารวมเป็ นเวลา 10 ปี ผลการดาเนินงานของสถานวิจัยฯ บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยการตีพิม พ์
ผลงานวิจัยแบ่งเป็นในฐานข้อมูล ISI จานวน 66 ชิ้น และไม่อยู่ในฐานข้อมูล ISI จานวน 12 ชิ้น ได้รับรางวัล
งานวิจัย นวัตกรรมทั้งภายในและต่า งประเทศ 57 รางวัล การให้บริการวิชาการโดยการให้ความรู้ในการ
พัฒนางานวิจัยไปใช้ในการพัฒนาเกษตรกรในชุมชนรวมถึงหน่วยงานของภาครัฐโดยมีโครงการการถ่ายทอด
เทคโนโลยีการผลิตยาและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรทองพันชั่งเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ “ประเทศไทย 4.0” เช่น
โรงพยาบาลโรคผิว หนังเขตร้อ นภาคใต้ โรงพยาบาลห้ว ยยอด จั งหวัด ตรั ง โรงงานเภสัช กรรมทหาร กลุ่ม
เกษตรกรใน อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง และเกษตรกรในจังหวัดใกล้เคียง สสจ. จังหวัดสุราษฎร์ธานี (โครงการ
พัฒนาเมือ งสมุ นไพรสุราษฎร์ธานี) มีการเจรจาเพื่อ สร้างความร่วมมือในการร่วมงานวิจัยกับนั กวิจัยจาก
ต่า งประเทศ รวมทั้งเชิ ญเพื่อ บรรยาย ถ่า ยทอดความรู้ให้กั บนักวิจัยในสถานวิจัย คณะเภสั ชศาสตร์ และ
บัณฑิตศึกษา เช่น Texas A&M Health Science Center, Faculty of Pharmacy, University of Helsinki,
University of Graz, Austria, Department of Pharmacognosy, Graduate School of Biomedical & Health
Sciences, Hiroshima University, Faculty of Pharmcy, BZU, Multan Department of Pharmacy, FCCollege
University, Lahore, Universiti Malaysia Pahang, การขายสิทธิบัตรให้ภาคอุตสาหกรรมนาไปใช้พัฒนาเป็น
ผลิตภั ณฑ์ ทาให้มีเครือข่ายร่วมทาวิจัยเพิ่ม มากขึ้น เช่น การลงนามอนุ ญาตใช้สิทธิใ นสิทธิบัตรพิธีล งนาม
อนุญาตใช้สิทธิ "กรรมวิธีการเตรียมสารสกัดใบชะมวง" และ เรื่อง “ระบบนาส่งยาชนิดก่อแพที่มีส่วนผสมเป็น
สารประกอบละลายน้ายากในรูปแบบโซลิดดิสเพอร์ชันสูตรก่อแพที่มีสว่ นผสมเป็นเคอคูมินในรูปแบบโซลิดดิส
เพอร์ชัน” กับ บริษัท บางกอกแล็ปแอนด์ คอสเมติค จากัด และลงนามอนุญาตใช้สิทธิ "กรรมวิธีการเตรียม

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 77 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -77-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิ
งานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สารสกัดใบชะมวง" บริษัท ทิปโก้ฟูดส์ จากัด (มหาชน) เป็นต้น จากผลงานต่าง ๆ ของสถานวิจัยส่งผลให้คณะ


เภสัชศาสตร์ ได้รับผลการประเมินจาก สกว. ในระดับดีเยี่ยม (TRF Index = 5)
7) ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศระบบนาส่งยา ระยะที่ 3 (Drug Delivery System Phase 3)
ระยะเวลา 1 พ.ค. 2563 - 30 เม.ย. 2568 เนื่องจากการคิดค้นยาใหม่ที่เป็น lead compound ยังไม่สามารถทา
ได้ในประเทศเพราะต้องใช้ เงินจานวนมหาศาลในการลงทุ น การพัฒ นารูปแบบยาหรือ ระบบนาส่งยาใหม่
โดยเฉพาะยาที่หมดความคุ้มครองของสิทธิบัตรแล้ว ประกอบกับศักยภาพของอุตสาหกรรมยาในประเทศที่
สามารถทาได้ ทาให้การพัฒนารูปแบบยาหรือระบบนาส่งยาใหม่มีความเป็นไปได้สูงกว่า การคิดค้นยาใหม่ที่
เป็น Lead Compound การพัฒนาระบบนาส่งยาในประเทศไทยโดยนักวิจัยในมหาวิทยาลัย จึงเป็นการเพิ่ม
ความเชื่อมั่นแก่ภาคอุตสาหกรรมยา ทัง้ เป็นการถ่ายทอดแนวคิดในการพัฒนางานวิจัยพืน้ ฐานของระบบนาส่ง
ยาไปสูก่ ารใช้จริงในโรงงานอุตสาหกรรมยา อันจะเป็นการส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนายาของประเทศให้
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ และคาดว่าจะส่งผลให้อุตสาหกรรมยาของ
ประเทศรุดหน้าไปได้ เพื่อให้การวิจัยเกี่ยวกับระบบนาส่งยามีขีดความสามารถในการแข่งขันกับต่างประเทศ
เพิ่มขึน้ ศูนย์วิจัยความเป็นเลิศระบบนาส่งยา จะเป็นจุดเริ่มต้นของการเชื่อมโยงระหว่างทีมวิจัยของหน่วยงาน
อื่นทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมยาและเครื่องสาอาง การวิจัยและพัฒนา
ระบบนาส่งยาสู่ทางเดินหายใจและยาฉีด มุ่งเน้นการนาส่งยาต้านวัณโรคสู่ถุงลมปอด การนาส่งยาต้านการ
อักเสบชนิดสเตียรอยด์ การนาส่งยาลดความดันในหลอดเลือดแดงที่ปอด การนาส่งยาต้านเชื้อราและการ
นาส่งยาต้านจุลชีพดือ้ ยาชนิดแกรมลบ
สถานวิจัย ศูนย์วิจัยที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน และกาลังดาเนินกิจกรรมในปัจจุบัน
1) สถานวิจัยนวัตกรรมทางการศึกษาและการเรียนการสอนที่เป็นเลิศ (Research Center for
Educational Innovations and Teaching and Learning Excellence) ระยะเวลา 1 ก.ค. 2559 - 30 มิ.ย. 2564
มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน นวัตกรรมการศึกษาและการวิจัยทางการศึกษา ทิศ
ทางการวิจัยนวัตกรรมทางการศึกษาจะนาไปประยุกต์ใช้ในการจั ดประสบการณ์การเรียนการสอนได้อย่าง
เหมาะสม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและมีคุณค่าจะช่วยสนับสนุนกระบวนการวิจัยและปรับปรุงสื่อของ
มหาวิทยาลัย การวิจัยการเรียนการสอนจะเน้นให้ปรับระหว่างการออกแบบระบบการเรียนการสอนและการ
วิจัย การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนจะรวมเข้า กับบริบทของการเรียนการสอนร่วมสมัยและยืดหยุ่นใน
สาขาต่าง ๆ รวมถึ งการวิจัยในสาขาภาษาอังกฤษและภาษาต่า งประเทศจะเป็นโอกาสในการเตรียมความ
พร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
2) สถานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment Research Center)
ระยะเวลา 1 ม.ค.2560 - 31 ธ.ค. 2565 เน้นการผลิตและพัฒนาบุคลากร องค์ความรู้ เครื่องมือที่ใช้ในการ
ประเมินผลกระทบ และงานวิจัย โดยงานวิจัยจะครอบคลุ มประเด็น การประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพจาก
แผนพั ฒ นาพื้ น ที่ ภ าคใต้ (Area-Based) การประเมิ นผลกระทบทางสุ ข ภาพเพื่ อ สร้ า งการเรี ยนรู้ ใ นชุ ม ช น
(Community-Based) การประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพ กรณีนโยบาย แผนงาน โครงการระดับชาติ (Issue-
Based)

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 78 -


-78- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนที ่ 2 รายงานผลการดำ
นงานของอธิ �เนินมงานของอธิ
การบดีและที การบดี
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที มบริหารมหาวิ
สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์

3) สถานวิจัยการควบคุมโรคมะเร็งในประเทศไทย (Research Center for Cancer Control in


Southern Thailand) ระยะเวลา 1 ม.ค.2560 - 31 ธ.ค.2565 ทางานวิจัยร่วมกับเครือข่า ยเพื่อสอดประสาน
องค์ความรู้ด้านมะเร็งกับการใช้ชี วิตเพื่อ อยู่ร่ว มกั บมะเร็ ง มีความร่วมมือด้านการวิจัยมะเร็งกับ เครือ ข่า ย
ทะเบียนมะเร็งไทยและองค์การระหว่างประเทศเพื่อการวิจัยมะเร็ง
4) สถานวิจั ยการประเมิน ทางสิ่ง แวดล้ อ มและเทคโนโลยี ก ารจั ด การของเสีย อั น ตราย
(Environmental Assessment and Technology for Hazardous Waste Management) ระยะเวลา 1 ก.ค. 2560
- 30 มิ.ย. 2565 ได้รับรางวัลเครือข่ายวิจัยที่มีผลงานระดับดีเด่น ปี 2562 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ได้ร่วมลงนามในบันทึกความร่วมมือ (MOU) กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลั ยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลั ยขอนแก่น เพื่อด าเนินงานวิจัยศูนย์ความเป็นเลิศด้านการ
จั ด การสารและของเสีย อั น ตราย ภายใต้ ส านัก พั ฒ นาบั ณฑิ ตศึก ษาและการวิ จัย ด้า นวิท ยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2542 เป็นต้นมา เพื่อสร้างองค์ความรู้ดา้ นการประเมินทางสิ่งแวดล้อม
และเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตรายผ่านงานวิจัยบัณฑิตศึกษาและนาเสนอในรูปผลงานวิชาการรวมถึง
การสร้างเครือข่ายนักวิจัยเพิ่มเติม โดยมุ่งแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดการของเสียอันตรายและการประเมิน
ทางสิ่งแวดล้อมรวมถึงสารอันตรายจาก กิจกรรมพลังงาน สารก่อมะเร็ง ฟีนอลิค สารอันตรายที่บาบัดได้โดย
เทคโนโลยีชีวภาพ และสารอันตรายในขยะชุมชน
5) สถานวิ จั ย สมุ ท รศาสตร์ ช ายฝั่ ง และการเปลี่ ย นแปลงของภู มิ อ ากาศ ( Coastal
Oceanography and Climate Change) ระยะเวลา 1 ก.ค. 2560 - 30 มิ.ย. 2565 เน้นงานวิจัยและพัฒนาองค์
ความรู้ด้านสมุ ทรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางทะเล และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงของภู มิอ ากาศต่อ
สิ่งมีชีวิต โดยใช้สหวิทยาการทั้งด้านฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี ชีววิทยา นิเวศวิทยา วิทยาศาสตร์ทางทะเล และ
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีส ารสนเทศ วิจัยและศึก ษาผลกระทบเชิ งพื้นที่ เช่ น ศึก ษาความสั ม พันธ์และ
ผลกระทบของปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมมีต่อสิ่งมีชีวิตและความหลากหลายทางชีวภาพในทะเลสาบสงขลาและ
คาบสมุทรสทิงพระ และชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานในพืน้ ที่ดังกล่าว ทัง้ ในระยะสั้นและระยะยาว โดยโจทย์วิจัยจะได้มา
จากปัญหาในพืน้ ที่ ศึกษาและทานายผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและ
ความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระแสน้า การเปลี่ยนแปลง pH ของน้าทะเล
การเปลี่ยนแปลงทิศทางและความเร็วของกระแสน้า การบุกรุกน้าเค็มในบริเวณแม่นา้ และทะเลสาบน้าจืด ซึ่ง
ส่งผลให้ความเค็ มเปลี่ยนแปลง ระดั บน้าทะเลที่สู งสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของระดั บน้าขึ้น -น้าลง การ
เปลี่ยนแปลงความเข้ม และความยาวคลื่นแสง การเพิ่มขึน้ ของธาตุอาหารในน้าและดิน การเปลี่ยนแปลงของ
โลหะหนักในน้าและดิน การปรับตัวของชุมชนในพื้นที่ชายฝั่ง
6) สถานวิจัยมลพิษทางอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ (Air Pollution and Health Effect
Research Center) ระยะเวลา 1 ก.ค. 2560 - 30 มิ.ย. 2565 เน้นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของมลพิษ
ทางอากาศและผลกระทบต่อสุ ข ภาพในประเทศไทยโดยใช้ หลั ก การพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) สห
วิทยาการ (Interdisciplinary) และเปลี่ยนผ่านวิทยาการ (Transdisciplinary Approaches) ตลอดจนเป็นการเปิด
โอกาสให้นักวิชาการและนักวิจัยในภาคใต้ในการสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ รวมทั้งงานวิจัยด้านมลพิษทาง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 79 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -79-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ เน้นประเด็นการวิจัยใน 6 ด้าน ดังนี้ 1) แหล่งที่มา การแพร่กระจาย และ


องค์ประกอบของมลพิษทางอากาศในประเทศไทย 2) การประเมินการสัมผัสและความเสี่ยงต่อสุขภาพจาก
การได้รับสารมลพิษทางอากาศ 3) ผลกระทบของมลพิษทางอากาศต่อสุขภาพของประชาชน 4) การตรวจ
ติด ตามคุ ณภาพอากาศภายในบรรยากาศและอาคาร 5) มาตรการการจั ด การคุ ณภาพอากาศภายใน
บรรยากาศและอาคาร 6) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ
7) สถานวิจัยสิ่งแวดล้อมและภัยธรรมชาติอันดามัน ระยะที่ 2 (Andaman Environment and
Natural Disaster Research Center Phase 2) ระยะเวลา 1 ก.ค. 2561 - 30 มิ.ย. 2566 เน้นผลิตงานวิจัยที่มี
คุณภาพสูงและขั้นสูงในด้า นภัยธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อประโยชน์ระดับโลก โดยมุ่งเน้นการพั ฒนาที่
ยั่งยืนสาหรับภูมิภาคอันดามัน ได้แก่ จังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง ระนอง และสตูล ของประเทศไทย
8) ศูนย์วิจัยระบบอัตโนมัติอัจฉริยะ (Intelligent Automation Research Center) ระยะเวลา 1
มิ.ย. 2561 - 31 พ.ค. 2566 มุ่งเน้นความเป็นเลิศด้านการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ
อัจฉริยะ วิจัยและสร้างองค์ความรู้ใหม่ดา้ นเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติอัจฉริยะ พัฒนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยี
ระบบอัตโนมัติอัจฉริยะ ประยุกต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติในการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ
ในอุตสาหกรรม และถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติสอู่ ุตสาหกรรมและชุมชน
9) ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีพลังงาน ระยะที่ 3 (Energy Technology Research Center) ระยะเวลา
1 พ.ย. 2561 - 30 ต.ค. 2566 ได้รับรางวัลเครือข่ายวิจัยที่มีผลงานระดับดีเด่น ปี 2562 เน้นงานวิจัยด้าน
พลังงานทดแทน ได้แก่ ก๊าซชีวภาพ ไบโอดีเซล เทคโนโลยีอบแห้ง เทคโนโลยีการเผาไหม้เชือ้ เพลิงชีวมวล และ
พลังงานลม ตัวอย่างผลงานเด่นเช่น 1) Mr.Ye Min Oo นักศึกษาปริญญาเอก วิศวกรรมเครื่องกล และนักวิจัย
ในทีมไบโอดีเซล ได้รับรางวัล Best Oral Paper Award ในการประชุมวิชาการ ICCME 2019 ประเทศสิงคโปร์
2) นายกฤษกร พงศ์รักธรรม (นักศึกษาปริญญาโท) และ รศ.ดร.กฤช สมนึก (อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ได้รับรางวัล Best Paper Award และรางวัล Best oral Presentation Award ใน
สาขาพลังงานชุมชน ได้นาเสนอบทความชื่อ "การศึกษาอัตราส่วนความยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของเครื่อง
ปฏิก รณ์ท่อ ผสมแบบสถิ ตที่มีผ ลต่อ การผลิตเมทิล เอสเทอร์จากน้ามันปาล์ม กลั่ นบริสุ ทธิ์" ในการประชุ ม
วิช าการ adiCET 10th Anniversary: 10 ปี adiCET กั บการพัฒ นาพลังงานเพื่อ ท้อ งถิ่น เมื่อ วันที่ 20-21
กุมภาพันธ์ 2563 ณ วิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชนแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ศูน ย์แม่ริม 3) รางวัล เหรียญทองจากผลงาน ไฮโดรไดนามิก คาวิเทชั นแบบโรเตอร์และสเตเตอร์เพื่อผลิต
อิมัลชัน ของ นายอภิเชษฐ์ เลขวิริยะกุล และคณะ และรางวัลเหรียญเงิน จากผลงาน เครื่องปฏิกรณ์ท่อผสม
แบบสถิตแบบการพิมพ์สามมิตเิ พื่อผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่อง ของนายกฤษกร พงศ์รักธรรม และคณะ เป็น
รางวั ล ระดั บอุ ด มศึก ษา กลุ่ม พลั งงาน เคมี และวั ส ดุ ชี ว ภาพ ในงาน “วั นนัก ประดิ ษฐ์ ” ประจาปี 2563
โครงการการประกวดสิ่งประดิษฐ์ระดับเยาวชน “Thailand New Gen Award : I New Gen Award 2020"
ระหว่างวันที่ 2 - 6 กุมภาพันธ์ 2563 ณ Event Hall 102 - 104 ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บาง
นา กรุงเทพฯ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 80


-
-80- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ ส่วนที่ 2 รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ได้รับรางวัล Best Paper Award และรางวัล Best oral Presentation Award ใน
สาขาพลังงานชุมชน ได้นาเสนอบทความชื่อ "การศึกษาอัตราส่วนความยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของเครื่อง
ปฏิก รณ์ท่อ ผสมแบบสถิ ต ที่มีผ ลต่อ การผลิต เมทิล เอสเทอร์จากน้ามัน ปาล์ม กลั่ นบริสุ ทธิ์" ในการประชุ ม
วิช าการ adiCET 10th Anniversary: 10 ปี adiCET กั บการพัฒ นาพลังงานเพื่อ ท้อ งถิ่น เมื่อ วัน ที่ 20-21
กุมภาพันธ์ 2563 ณ วิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีชุมชนแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ศูนย์แม่ริม 3) รางวัล เหรียญทองจากผลงาน ไฮโดรไดนามิก คาวิเทชั นแบบโรเตอร์และสเตเตอร์เพื่อผลิต
อิมัลชัน ของ นายอภิเชษฐ์ เลขวิริยะกุล และคณะ และรางวัลเหรียญเงิน จากผลงาน เครื่องปฏิกรณ์ท่อผสม
แบบสถิตแบบการพิมพ์สามมิตเิ พื่อผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่อง ของนายกฤษกร พงศ์รักธรรม และคณะ เป็น
รางวั ล ระดั บอุ ด มศึก ษา กลุ่ม พลั งงาน เคมี และวั ส ดุ ชี ว ภาพ ในงาน “วั น นัก ประดิ ษฐ์ ” ประจาปี 2563
โครงการการประกวดสิ่งประดิษฐ์ระดับเยาวชน “Thailand New Gen Award : I New Gen Award 2020"
ระหว่างวันที่ 2 - 6 กุมภาพันธ์ 2563 ณ Event Hall 102 - 104 ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บาง
นา กรุงเทพฯ
10) ศูนย์วิจัยระบบการป้องกันและดูแลผู้บาดเจ็บและฉุกเฉิน ระยะที่ 2 (Research Center for
Prevention and Care for People in Emergency and Trauma Phase 2) ระยะเวลา 1 ส.ค. 2562 - 31 ก.ค.
2567 เน้นประเด็นการวิจัยใน 2 ด้าน คือ พัฒนาระบบพยาบาลหรือระบบสนับสนุนการป้องกันและจัดการ
ดูแลภาวะบาดเจ็บและฉุกเฉิน ที่ครอบคลุมทั้งวัยผู้ใหญ่แ ละผู้สูงอายุ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมแบบบูรณา
การของภาคีเครือข่ายในสถานพยาบาล และชุมชน ให้เป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้ และพัฒนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยี ด้วยภูมิปัญญาของชุมชนในการป้องกันและจัดการภาวะบาดเจ็บ และฉุกเฉินที่ครอบคลุมทั้งวัย
ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุในชุมชน
11) ศูนย์วิจัยพัฒนศึกษาเพื่อความยั่งยืนในสังคมพหุวัฒนธรรม (Sustainable Development
Education in Multicultural Society Research Center) ระยะเวลา 1 ส.ค. 2562 - 31 ก.ค. 2567 มีทิศ
ทางการวิจัย ดังนี้ พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทในสังคมพหุวั ฒนธรรมด้านการ
บริหารจัดการคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น พัฒนา
รูปแบบการเรียนการสอนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน (Problem Based Learning) การเรียนรู้ที่เป็นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ทักษะการทางาน และการ
สร้างนวัตกรรม สนับสนุนการใช้สื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาแบบดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ที่มีความ
เหมาะสมกับบริบทในสังคมพหุวัฒนธรรม การมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาโดยใช้แนวคิดการจัดการศึกษา
โดยใช้พ้นื ที่เป็นฐาน (Area Based Education)
12) ศูนย์วิจัยโรคที่พบบ่อยในช่องปากและวิทยาการระบาด (Common Oral Diseases and
Epidemiology Research Center) ระยะที่ 3 (1 ต.ค. 2562 - 30 ก.ย. 2567) เป็นหน่วยวิจัยชั้นนาระดับประเทศ
ในการวิจัยโรคที่พบบ่อยในช่องปากและวิทยาการระบาดโดยเน้นการเข้าใจปัญหาในท้องถิ่นภาคใต้เพื่อ เพื่อ
แก้ไขปัญหาให้ท้องถิ่นโดยงานวิจัยจะเน้น การศึกษาความชุกของโรคและความผิดปกติที่พบบ่อยได้แก่ ฟันผุ
โรคปริทันต์ โรคติดเชือ้ ในช่องปากอื่น ๆ และหาสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงตลอดจนพฤติกรรมหรือทัศนคติ ในการ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 81 -

10) ศูนย์วิจัยระบบการป้องกันและดูแลผู้บาดเจ็บและฉุกเฉิน ระยะที่ 2 (Research Center for


Prevention and Care for People in Emergency and Trauma Phase 2) ระยะเวลา 1 ส.ค. 2562 - 31 ก.ค.
2567 เน้นประเด็นการวิจัยใน 2 ด้าน คือ พัฒนาระบบพยาบาลหรือระบบสนับสนุนการป้องกันและจัดการ
ดูแลภาวะบาดเจ็บและฉุกเฉิน ที่ครอบคลุมทั้งวัยผู้ใหญ่แ ละผู้สูงอายุ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมแบบบูรณา
การของภาคีเครือข่ายในสถานพยาบาล และชุมชน ให้เป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้ และพัฒนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยี ด้วยภูมิปัญญาของชุมชนในการป้องกันและจัดการภาวะบาดเจ็บ และฉุกเฉินที่ครอบคลุมทั้งวัย
ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุในชุมชน
11) ศูนย์วิจัยพัฒนศึกษาเพื่อความยั่งยืนในสังคมพหุวัฒนธรรม (Sustainable Development
Education in Multicultural Society Research Center) ระยะเวลา 1 ส.ค. 2562 - 31 ก.ค. 2567 มีทิศ
ทางการวิจัย ดังนี้ พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทในสังคมพหุวั ฒนธรรมด้านการ
บริหารจัดการคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น พัฒนา
รูปแบบการเรียนการสอนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐาน (Problem Based Learning) การเรียนรู้ที่เป็นกระบวนการคิดวิเคราะห์ ทักษะการทางาน และการ
สร้างนวัตกรรม สนับสนุนการใช้สื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษาแบบดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ที่มีความ
เหมาะสมกับบริบทในสังคมพหุวัฒนธรรม การมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษาโดยใช้แนวคิดการจัดการศึกษา
โดยใช้พ้นื ที่เป็นฐาน (Area Based Education)
12) ศูนย์วิจัยโรคที่พบบ่อยในช่องปากและวิทยาการระบาด (Common Oral Diseases and
Epidemiology Research Center) ระยะที่ 3 (1 ต.ค. 2562 - 30 ก.ย. 2567) เป็นหน่วยวิจัยชั้นนาระดับประเทศ
ในการวิจัยโรคที่พบบ่อยในช่องปากและวิทยาการระบาดโดยเน้นการเข้าใจปัญหาในท้องถิ่นภาคใต้เพื่อ เพื่อ
แก้ไขปัญหาให้ท้องถิ่นโดยงานวิจัยจะเน้น การศึกษาความชุกของโรคและความผิดปกติที่พบบ่อยได้แก่ ฟันผุ
โรคปริทันต์ โรคติดเชือ้ ในช่องปากอื่น ๆ และหาสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงตลอดจนพฤติกรรมหรือทัศนคติ ในการ
เกิดโรคและความผิดปกตินั้น ๆ หาแนวทางในการป้องกันและรักษาโรคหรือความผิดปกตินั้น ๆ โดยการค้นหา
สารธรรมชาติ สารเคมีและจุลนิ ทรีย์ เพื่อการพัฒนารูปแบบ การใช้สารธรรมชาติ สารเคมี และจุลินทรีย์ ใน
การแก้ปัญหาโรคหรือความผิดปกตินั้น ๆ เพิ่มประสิทธิภาพของมาตรการการป้องกันโรคและปัญหาที่พบบ่อย
ในช่องปาก เช่น การเคลือบหลุมและร่องฟัน โดยใช้การผสมผสาน ข้อมูลทางวิทยาการระบาด เศรษฐศาสตร์
และการจัดการ พัฒนาวัสดุทางทันตกรรมและเทคนิคในการนาไปใช้งานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อยืดอายุการใช้
งานของวัสดุทางทันตกรรมและฟันธรรมชาติ
13) ศูนย์วิจั ยเนื้อ เยื่อ แข็ ง เพื่อ กะโหลกศี รษะใบหน้า และขากรรไกร ระยะที่ 3 (Cranio-
Maxillofacial Hard Tissue Engineering Center Phase 3) ระยะเวลา 1 ม.ค. 2563 - 31 ธ.ค. 2568 การ
สูญเสียกระดูกบริเวณขากรรไกรและใบหน้าเนื่องจากสาเหตุต่าง ๆ อาทิเช่น อุบัติเหตุ การประทุษร้าย การ
ผ่าตัดเนื้องอกหรือมะเร็ง หรือแม้แต่จากความพิการแต่กาเนิดในเด็ก และการละลายตัวตามธรรมชาติของ
กระดูกขากรรไกรในผู้สูงอายุส่งผลต่อสุขภาพโดยรวมและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยในประเทศไทยอย่างมาก ซึ่ง
ผู้ป่วยกลุ่มดังกล่าวจาเป็นต้องได้รับการบูรณะและเสริมสร้างกระดูกที่สูญเสียไปให้กลับมาใกล้เคียงปกติมาก

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 81 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -81-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ที่สุด โดยวิธีการผ่าตัดปลูกกระดูกที่นิยมมากที่สุด คือ การใช้หลักการชักนาให้กระดูกคืนสภาพ หรือ Guided


Bone Regeneration (GBR) ซึ่งประกอบด้วย การใส่วัสดุทดแทนกระดูก (Bone Substitutes) ลงไปในรอยการ
สูญเสียกระดูก และปิ ดด้วยแผ่นเยื้อกั้ นปิดกระดูก (Barrier Membranes) เพื่อ ทาหน้าที่คงรูปร่างของวัส ดุ
ดังกล่าว และป้องกันกระบวนการสร้างกระดูกใหม่ไม่ไห้ถูกรบกวน ในปัจจุบันมีผู้ป่วยทางทันตกรรมจานวน
มากทั้งในโรงพยาบาลของรัฐบาลและคลินกิ เอกชน ที่จาเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยวิธีการนี้ แต่ประเทศไทย
ยังคงต้องนาเข้าวัสดุดังกล่าวจากต่างประเทศซึ่งมีราคาแพงมาก ตัวอย่างเช่น แผ่นเยื้อกั้นขนาด 13x25 mm
ราคา 4,577 บาท วัสดุทดแทนกระดูกขนาดบรรจุ 0.25 g ราคา 7,590 บาท โดยคณะทันตแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีค่าใช้จ่ายในการสั่งซือ้ วัสดุดังกล่าวปีละกว่า 500,000 บาท ด้วยเหตุนี้จึงทาให้
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายไม่สามารถเข้าถึงการรักษาที่เหมาะสมได้การดาเนินงานของศูนย์วิจัยในระยะที่
2 (พ.ศ. 2557-2561) จึงมุ่งเน้นการพัฒนาและผลิตวัสดุทดแทนกระดูกและแผ่นเยื้อกั้นแบบใหม่ขึ้น สาหรับ
การใช้งานจริงในผู้ป่วย ซึ่งประกอบด้วย วัสดุทดแทนกระดูกที่ ผลิตจากฟันธรรมชาติ (Demineralized Dentin
Matrix) โครงร่า งทดแทนกระดู ก ชนิด สลายตั ว ได้ที่ผ ลิต จากโพลี เมอร์ผ สมกั บเซรามิค ( Biodegradable
Polymerceramic Scaffolds) และแผ่นเยื้อกั้นปิดกระดูกชนิดสลายตัวได้ที่ผลิตจากคอลลาเจนและโพลีเมอร์
(Bioresorbable Collagen and Polymer Membranes) ซึ่งได้ผ่านการทดสอบทั้งในห้องปฏิบัติการในสัตว์ทดลอง
และทางคลินกิ แล้วว่ามีคุณสมบัติที่เหมาะสมและปลอดภัยสาหรับการใช้งานในผู้ป่วยจริง นอกจากนั้นยังเริ่มมี
การทดสอบการใช้งานวัสดุดังกล่าวร่วมกับเซลล์ต้นกาเนิด (Stem Cells) ที่คัดแยกจากเนื้อเยื่อ โพรงประสาท
ฟัน (Dental Pulp Stem Cells) เซลล์ต้นกาเนิดจากเนื้อเยื่อไขมันข้างแก้ม (Buccal Fat Pad Adipose Derived
Stem Cells) และ โปรตีนบีเอ็มพีชนิดที่ 2 (BMP-2)เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเหนี่ยวนาให้มีการสร้า ง
กระดูกได้ดียิ่งขึน้ ซึ่งอยู่ระหว่างการทดสอบคุณสมบัติในสัตว์ทดลอง การดาเนินการของศูนย์วิจัยในระยะที่ 3
จะมุ่งเน้นการพัฒนารูปแบบของวัสดุทดแทนกระดูกและแผ่นเยือ้ กั้นปิดกระดูก เพื่อตอบสนองการรักษาผู้ป่วย
จริงในโรงพยาบาลของรั ฐที่มีทันตแพทย์เฉพาะทางสาขาศัล ยศาสตร์ช่อ งปากและสาขาปริทันตวิทยา ใน
เครือ ข่า ยความร่ ว มมือ ทั่ ว ประเทศ โดยปรั บปรุ ง วิธีก ารและเครื่ อ งมือ การผลิตให้ไ ด้ม าตรฐาน และเพิ่ ม
ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต วั ส ดุ ใ ห้ ไ ด้ ม ากและรวดเร็ ว ขึ้ น นอกจากนั้ น จะร่ ว มมื อ กั บ อุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อหาลู่ทางและบริษัทร่วมทุนสาหรับการผลิตเพื่อการพาณิชย์ อย่างไรก็ตาม
สถานวิจัยฯ จะยังคงดาเนินการวิจัยพัฒนาวัสดุในรูปแบบใหม่อื่น ๆ ได้แก่ วัสดุเย็บแผลชนิดละลายตัว และไม่
ละลายตัว (Resorbable and Non-Resorbable Suture Materials) ถาดรูพรุนสาหรับใส่วัสดุทดแทนกระดูกชนิด
สลายตัวได้ (Resorbable Mesh Tray) การใช้งานวัสดุในระดับเซลล์และโมเลกุลต่อไป เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
หลั ก คือ การใช้ รัก ษาผู้ป่ว ยจริงได้ ควบคู่ไปกับการผลิตบัณฑิตระดั บหลั งปริญ ญาและนักวิจัยใหม่ให้กั บ
มหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง
หน่วยวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนแล้ว และกาลังดาเนินกิจกรรมในปัจจุบัน
1) หน่วยวิจัยตัวบ่งชี้คลื่นไฟฟ้าสมองของโรคทางระบบประสาท (Research Unit for EEG
Biomarkers of Neuronal Diseases) ระยะเวลา 1 ก.ค. 2560 - 30 มิ.ย. 2563 ได้รับรางวัลหน่วยวิจัยที่มี

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 82


-
-82- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ผลงานระดับดี ประจาปี 2561 ตามประกาศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 โดยมี


งานวิจัยหลัก คือ ศึกษาการทางานของสมองด้วยการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง (Electroencephalography, EEG)
2) หน่ วยวิ จัยสั นติ ศึ กษาเพื่ อการพั ฒนาภาคใต้ ระยะที่ 2 (Peace Studies for Southern
Development) ระยะเวลา 1 ส.ค.2560 - 31 ก.ค. 2563 ผลิตงานวิจัยด้านสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น รัฐศาสตร์ รัฐประศาสน
ศาสตร์ สังคมศาสตร์ สิทธิชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ ศาสนา ความขัดแย้งและกระบวนการสร้าง
สันติภาพ นาผลการศึกษาวิจัยไปสู่การบริการวิชาการเพื่อการศึกษาเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
สนั บสนุ นและส่งเสริ มนักศึกษาระดั บบั ณฑิ ตศึกษาให้มี ส่วนร่วมในการแก้ ปั ญหาในชุ มชน โดยให้ชุ มชนพื้นที่
ศึกษาวิจัยของหน่วยวิจัยฯ เป็นฐานการเรียนรู้สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและผู้ที่สนใจ เป็นหน่วยถ่ายทอด
องค์ความรู้วิจัยให้แก่นักวิชาการ นักศึกษา และชุมชนที่สนใจ มีการวิจัยด้านการจัดการความขัดแย้ง ความมั่นคง
และกระบวนการสันติภาพในพืน้ ที่จังหวัดชายแดนใต้ วิจัยด้านการแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างภาคประชาชนกับรัฐ
วิจัยด้านการศึกษา ปรัชญา ความเชื่อ วัฒนธรรม และศาสนา วิจัยด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน
3) หน่วยวิจัยเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชน (Kids and Youth Development Research Unit)
ระยะเวลา 1 พ.ค. 2561 - 30 เม.ย. 2564 ได้รับรางวัลเครือข่ายวิจัยที่มีผลงานระดับดีเด่น ปี 2562 เครือข่าย
ที่ระดมนักวิจัยที่มีความสนใจและต้องการพัฒนางานด้านเด็กและเยาวชนให้ทางานร่วมกันอย่างบูรณาการ มี
เป้าหมาย และเกิดผลกระทบอย่างเป็นรูปธรรมต่อเด็กและเยาวชนไทย โดยสร้างองค์ความรู้ผ่านงานวิจัยใน
ประเด็นต่าง ได้แก่ 1) ความรู้ส่วนขาด เช่น การทาความเข้าใจเด็กและเยาวชนในมิติที่หลากหลาย เช่น การ
รับรู้ความสุข การเลี้ยงดูสาหรับเด็กและเยาวชนเพื่อเติบโตและพัฒนาในโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 2) ความรู้เพื่อ
การนาองค์ความรู้ไปสู่การปฎิบัติอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และคุ้มค่า 3) ความรู้เพื่อนาไปสูก่ ารพัฒนา
นโยบายเพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการดูแล ปกป้อ ง และส่งเสริมการเติบโตและพัฒนาตามที่พึงได้รับ 4)
ความรู้เพื่อสามารถผลั กดั นนโยบายด้านเด็ ก และเยาวชนที่มีอ ยู่ใ ห้นาไปปฎิบัติไ ด้อ ย่า งเป็ นรู ป ธรรมและมี
ประสิทธิภาพ 5) ความรู้อื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์กับเด็กและเยาวชนในมุมมองที่หลากหลาย
4) หน่วยวิจัยพืชเศรษฐกิจของจังหวัดสุราษฎร์ธานี (Economic Plant of Surat Thani Province
Research Unit) ระยะเวลา 1 เม.ย.2562 - 31 มี.ค. 2565 ด าเนิ นงานวิ จั ย และพั ฒ นาพื ช เศรษฐกิ จที่ ส าคั ญ ใน
จังหวั ดสุราษฎร์ธานี ตั้งแต่เรื่องการขยายพันธุ์ การเพิ่มผลผลิต และการใช้ประโยชน์พืชแบบครบวงจร โดยมี
เป้าหมายของหน่วยวิจัยผลิตผลงานวิจัยที่ตอบสนองต่อความต้องการของเกษตรกร และสามารถนาไปถ่ายทอด
เพื่อใช้ ประโยชน์ได้จริง สามารถเป็นที่ให้คาปรึกษาทางวิ ชาการแก่เกษตรกรทั่ วไปในภาคใต้ผลิตผลงานทาง
วิชาการที่ตพี ิมพ์เผยแพร่ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติสร้างความรู้ใหม่ ๆ ทางวิชาการด้านการเกษตร
5) หน่วยวิจัยนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์จากพอลิเมอร์เชิงคลินิก ระยะที่ 2 (Medical
Products Innovations from Polymers in Clinical use Research Unit) ระยะ 1 เม.ย. 2562 - 31 มี.ค. 2565 เพื่อให้
แพทย์ พยาบาล และผู้ป่วย สามารถทางานวิจัยร่วมกับนักวิจัยในการการพัฒนาวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มี
วัสดุพอลิเมอร์เป็นส่วนประกอบ มีผลงาน รองชนะเลิศสุดยอดนวัตกรรมด้านสังคม "อุปกรณ์รองรับสิ่งขับถ่าย
จากทวารเทียม" งาน Thailand Synergy เพื่อ SMEs ไทย 7 INNOVATION AWARDS 2020 และงานนวัตกรรม อื่น ๆ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 83


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -83-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ได้แก่ ชุดอุปกรณ์รองรับสิ่งขับถ่าย แผ่นกาวว่องไวต่อการกดชนิดปราศจากตัวทาละลาย แผ่นยางป้องกันแผลกด


ทับบริเวณหู หุ่นจาลองฝึกหัดดูแลผู้ป่วยที่มีทวารเทียม อุปกรณ์ช่วยจับขวดยาและกรรมวิธีการผลิต เป็นต้น
6) หน่วยวิจัยนวัตกรรมการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Research Unit of Local
Government Administration Innovation) ระยะเวลา 1 พ.ค. 2562 - 30 เม.ย. 2565 ดาเนินการพัฒนาองค์
ความรู้และสร้า งนวั ตกรรมด้า นการบริห ารองค์ก รปกครองส่ว นท้องถิ่ น ทั้งนวั ตกรรมนโยบายสาธารณะ
ท้อ งถิ่ น การบริห ารงานบุ คคลท้อ งถิ่ น การบริห ารงานคลั งท้ อ งถิ่ น พั ฒ นานวั ตกรรมการจั ด การระบบ
บริหารงานท้อ งถิ่ นอิเล็ ก ทรอนิกส์ พั ฒ นานัก วิจัยด้านนวัตกรรมการบริหารองค์ก รปกครองส่ว นท้อ งถิ่ น
สนับสนุนบัณฑิตศึกษาที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมการบริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือทางวิชาการด้านการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
1.2 การจัดตั้งสถาบันวิจัย
1) สถาบันวิจัยและนวัตกรรม (Research and Innovation Institute) เป็นกลไกหนึ่งในการ
บริหารงานวิจัยของมหาวิทยาลัยให้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีแผนงานที่ชัดเจนมุ่งเน้นกระบวนการที่จะ
สร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยด้านใดด้านหนึ่งของมหาวิทยาลัย และสามารถผลักดันงานวิจัยไปใช้ในการ
ตอบสนองความต้องการของสังคม โดยการต่อยอดผลงานวิจัยเพื่อสร้างคุณค่า มูลค่าเชิงพาณิชย์และการใช้
ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีภารกิจ 1) กาหนดทิศทางการวิจัย (Roadmap) และมีแผนการดาเนินงานที่
ชัดเจน 2) สถาบันวิจัยและนวัตกรรมจะทาหน้าที่เป็น Co-Ordinator ดาเนินงานในลักษณะ Research Network
ทางานโดยอาศัยความร่วมมือกับคณะ และเครือข่ายทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 3) สนับสนุน
ดาเนินงานแบบบูรณาการในลักษณะสหสาขาวิชา 4) ดาเนินโครงการขนาดใหญ่เพื่อขอรับการสนับสนุนจาก
ภายนอกในระดับประเทศ 5) กาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดสัมฤทธิผลของการดาเนินงานที่ชัดเจน 6) ไมดาเนิน
ภารกิจที่ซ้าซ้อนกับคณะ เช่น การเรียนการสอน และบริการวิชาการ 7) สามารถพึ่งพาตนเองไดในอนาคต
2) โครงการจัด ตั้งสถาบันวิจัยและนวั ตกรรมปาล์มน้ามั นและน้ามั นปาล์ม เป็ นหน่ว ยงาน
ภายใต้สานักวิจัยและพัฒนา ทาหน้าที่สนับสนุนให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนงานวิจัยทางด้านปาล์มน้ามันและ
น้ามันปาล์มอย่างเป็นรูปธรรม เป็นหน่วย Service Provider ที่เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงนักวิจัยหรือนักวิชาการใน
มหาวิทยาลัยและเครือข่ายองค์ความรูต่าง ๆ ในการช่วยเหลือทางวิชาการและเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ เพื่อให้
เกิดการสร้างทิศทางการวิจัยของนักวิชาการในมหาวิทยาลัยให้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ส่งผลให้เกิด
พัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน้ามันและน้ามันปาล์มที่นาไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน
3) โครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและนวัตกรรมการทองเที่ยวอย่างยั่งยืน ทาหน้าที่เป็นหน่วยงาน
กลางในการขับเคลื่อนงานวิจัยทางด้านการทองเที่ยวและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการทองเที่ยว ตลอดจน
สร้า งความร่วมมือจากเครือ ข่า ยทั้งจากภายในและภายนอก โดยเริ่มต้นวิทยาเขตภู เก็ ตไ ด้ยกร่า งข้อเสนอ
โครงการจัดตั้งสถาบัน (ร่างข้อเสนอแรก) เสนอผ่านสานักวิจัยและพัฒนา ต่อมาเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2563
ได้จัดประชุมร่วมกัน 5 วิทยาเขต ผ่านระบบทางไกล เรื่อง “การจัดทาข้อเสนอโครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและ
นวัตกรรมการทองเที่ยว” และจัดประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกัน 5 วิทยาเขตเมื่อวันที่ 12-13 กุมภาพันธ์ 2563
ณ หองประชุ ม ฉั ตรวิจัย ส านัก วิจั ยและพั ฒ นา และได จั ด ตั้ งคณะทางานยกร่ า งข้อ เสนอโครงการจั ด ตั้ ง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 84 -


-84- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

สถาบันวิจัยและนวัตกรรมการทองเที่ยวอย่างยั่งยืนขึ้นเพื่อ พิจารณาให้ก ารจัดทาข้อเสนอโครงการจัดตั้งฯ


ถูกต้องสมบูรณ สอดคลองกั บยุ ทธศาสตร์ก ารพัฒ นาของมหาวิทยาลั ยและประเทศ และสามารถบริหาร
จัดการงานวิจัยไดครอบคลุมทุกมิติ
1.3 วารสาร Journal of Health Science and Medical Research (JHSMR) ได้รับการตอบ
รับเข้าสู่ฐานข้อมูล Scopus เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2563 ทั้งนี้วารสารยังถูกจัดให้อยู่ในฐานข้อมูลของศูนย์
ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย โดยได้รับการรับรองคุณภาพเป็นวารสารวิชาการ กลุ่มที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม
2563 – 31 ธันวาคม 2567 และจัดอยู่ในฐานข้อมูลอื่ น ๆ เช่น Asian Citation Index (ACI), Crossref, ThaJO,
Google Scholar และ EuroPub เป็นต้น
2. ความร่วมมือด้านการวิจัยและบริการวิชาการ
การดาเนินการด้านการจัดการไมซ์ สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการจังหวัดสงขลา
(เอสเส็ บ) เป็ นหน่วยงานภายใต้การก ากั บของจั งหวั ดสงขลา โดยมีผู้ว่าราชการจั งหวัดเป็ นประธาน โดยได้
มอบหมายให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่งมีคณาจารย์และเปิดหลักสูตรการเรียนการสอนทางด้านการจัดการ
ไมซ์เข้ามาบริหารจัดการ เพื่อให้จังหวัดสงขลามีองค์กรหลักในการทาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม
การจัดประชุม งานแสดงสินค้า และอีเวนต์ มีเป้าหมายให้สงขลาเป็นจุดหมายปลายทางไมซ์ยอดนิยมในระดั บ
นานาชาติ ในการนีผ้ ู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ แก้วประดับ อธิการบดี ได้มอบหมายให้ คณะวิทยาการจัดการ
โดย ดร.ทรงสิน ธีระกุลพิศุทธิ์ รักษาการหัวหน้าสาขาวิชาบริหารธุรกิจ และประธานวิชาเอกการจัดการไมซ์ ทา
หน้าที่ในการก่อตั้งและขับเคลื่อนเอสเส็บ ซึ่งมีผลการดาเนินงานที่สาคัญ ได้แก่
1) ผลักดันให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการไมซ์ซิตจี้ ังหวัดสงขลา และคณะกรรมการส่งเสริม
จังหวัดสงขลาสู่การเป็นจุดหมายปลายทางไมซ์ยอดนิยมระดับนานาชาติ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาเป็น
ประธาน คณะกรรมการไมซ์ซิตี้จังหวัดสงขลา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะกรรมการสานักงาน
ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการจังหวัดสงขลา โดยมีอธิการบดีเป็นประธาน
2) จัดทารายงานประเมินจังหวัดสงขลาสู่การเป็นไมซ์ซิตี้ใ ห้แก่สานักงานส่งเสริมการจั ด
ประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. และทาให้จังหวัดสงขลา “ผ่านการประเมินและเป็น
ไมซ์ซิตี้” ในวันที่ 11 สิงหาคม 2563 เป็นลาดับที่ 6 ในประเทศไทย และลาดับที่สองในภาคใต้
3) เปิดตัวสานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการจังหวัดสงขลา ซึ่งเป็น MICE City
Bureau ระดับจังหวัดที่แรกและที่เดียวในเมืองไทย พร้อมทั้งเฉลิมฉลองการเป็นไมซ์ซิตี้ของจังหวัดสงขลา ใน
วันที่ 20 สิงหาคม 2563
4) จัดทาข้อตกลงความร่วมมือระหว่างจังหวัดสงขลาและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กับ
16 หน่วยงานหลักในระบบนิเวศไมซ์ในการพัฒนาจังหวัดสงขลาสู่การเป็นจุดหมายปลายทางการจัดงานไมซ์
ยอดนิยมในระดับนานาชาติ พร้อมทั้งดาเนินการจัด ทาคู่มือการจัดงานไมซ์จังหวัดสงขลา Songkhla MICE
Planner’s Guide ซึ่งเป็นต้นแบบคู่มือการจัดงานไมซ์เล่มแรกในเมืองไทย รวมถึง Website “Business Events
Songkhla” และ Facebook “Songkhla Convention and Exhibition Bureau” ทางการของสานักงานส่งเสริมการ
จัดประชุมและนิทรรศการจังหวัดสงขลา
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 85
-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -85-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

5) ส่งเสริมให้เอสเส็บเป็นองค์กรสาหรับการสร้างผู้นาไมซ์ในอนาคตโดยเฉพาะการสร้าง
โอกาสให้นักศึกษาไมซ์และหลักสูตรที่เกี่ยวข้องใน ม.อ. มีสว่ นร่วมในการจัดงานไมซ์ และรับนักศึกษาฝึกงาน
และสหกิจศึกษา ตลอดจนข้าราชการในโครงการพัฒนานักบริหารการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่ รวมทั้งส่งเสริม
และสนับสนุนการเตรียมจัดงานอีเวนต์ไมซ์นานาชาติในจังหวัดสงขลาได้แก่ “Amazing Flora Illumination Hat
Yai” “L'Étape Thailand by Tour de France and L'Etape by Tour de France” “SPARTAN Thailand” เป็นต้น
6) ดาเนินการตรวจประเมิน ร่วมจัดทารายงาน และผลักดันจานวนสถานที่จัดงานไมซ์ใน
จังหวัดสงขลาเพื่อขอรับการประเมินมาตรฐาน Thailand MICE Venue Standards และ ASEAN MICE Venue
Standards จากจานวน 8 สถานที่จัดงานมาตรฐาน สู่ 20 สถานที่จัดงานมาตรฐาน
7) เสนอของบประมาณจั งหวัดสงขลาปี 2565 จานวน 3 โครงการ คือ โครงการพัฒนา
ศัก ยภาพบุ ค ลากรในอุ ต สาหกรรมไมซ์ ภ าคใต้ ฝั่ ง อ่ า วไทย จานวน 3,108,600 บาท โครงการพั ฒ นา
ยุทธศาสตร์ไมซ์สงขลาและผลักดันเส้นทางสายไมซ์สงขลาสุดสร้างสรรค์ จานวน 816,400 บาท และโครงการ
ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์สงขลาไมซ์ซิตี้สู่การจัดเป็นจุดหมายปลายทางการจัดงานไมซ์นานาชาติ จานวน
5,200,000 บาท
8) เสนอของบประมาณผ่านโครงการวิจัยในการผลักดันจังหวัดสงขลาสู่การเป็นจุดหมาย
ปลายทางไมซ์ยอดนิยมระดั บนานาชาติ ได้แก่ โครงการวิจัยการพั ฒ นางานเทศกาลที่โดดเด่น (Flagship
Festival) สาหรับสงขลาไมซ์ซิติ้ จานวน 3,484,400 บาท และโครงการการพัฒนางาน CONVEX (Convention
and Exhibition) เพื่อยกระดับการแพทย์ไทยครบวงจรที่เป็นมิตรกับวิถีปฏิบัติมุสลิมสู่เวทีนานาชาติ จานวน
6,500,000 บาท
9) ร่วมมือกับสถาบันฮาลาล และสถานบันวิจัยนวัตกรรมทางการแพทย์ ในการจัดตั้ง MICE
Virtual Studio เพื่อให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น Flagship ของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางด้าน
AR, VR, และ XR ในอุตสาหกรรมไมซ์ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปยังสหสาขาวิชาต่างๆ ในการพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรในศตวรรษที่ 21
ความร่วมมือกับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) หรือ
SME D Bank โดยมีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ “โครงการ SME D Scaleup Society” ระหว่าง
กรมการค้าต่างประเทศและ 4 สถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลั ยกรุงเทพ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์
2562 เพื่อสร้า งระบบ Ecosystem ที่เอื้อต่อการเติบโตและพั ฒนาสตาร์ทอั พและเอสเอ็มอี เชื่อ มโยงภาคี
เครือข่ายระบบการศึกษาเพื่อยกระดับและส่งเสริมเทคโนโลยีนวัต กรรมและสื่อดิจิทัลให้กลุ่มสตาร์ทอัพแจ้ง
เกิดและขยายกิจการทางธุรกิจไปสู่ความยั่งยืน โดยอาศัยศักยภาพความรู้ความเชี่ยวชาญและเข้มแข็งของแต่
ละมหาวิทยาลัยมาช่วยพัฒนา ผ่านกระบวนการบ่มเพาะและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันรวมถึงการ
ส่งเสริม การตลาดต่อยอดสู่เชิ งพาณิช ย์ ทั้งในและต่า งประเทศ โดยมีก รมการค้าต่างประเทศ ที่มีเครือ ข่า ย
โครงการต่ า ง ๆ ทั้ ง ในและต่ า งประเทศ ช่ ว ยสนั บ สนุ น การติ ด ปี ก ก้ า วสู่ ต ลาดโลกต่ อ ไป ส าหรั บ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เข้าร่วมโครงการ SME D Scaleup ในการติดปีกธุรกิจยางพาราด้วยนวัตกรรมให้

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 86


-
-86- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

สามารถต่อยอดแนวคิดสู่การแปรรูปยางพาราด้วยนวัตกรรมใหม่โดยเกิดผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่มีศักยภาพ 12
รายการสูเ่ ชิงพาณิชย์ ผู้เข้าอบรม 51 ราย สร้างยอดขายเพิ่มขึ้นมากกว่า 43.75 ล้านบาท และต่อยอดการใช้
ยางพาราธรรมชาติเพิ่มขึน้ 0.322 ล้านกิโลกรัม จากเดิมใช้ยางพารารวมกันประมาณ 6.45 ล้านกิโลกรัม
ความร่วมมือกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2562 ณ ห้องประชุม 202
ชั้น 2 อาคารจามจุรี 4 สานักงานอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เพื่อพัฒนาวิชาการ วิจั ย และบริการ
วิชาการด้านการเกษตร โดยทั้ง 2 ฝ่ายจะร่วมกันจัด ทายุทธศาสตร์ แผน โครงการ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์
เป้าหมายของความร่วมมือ อาทิเช่น เกษตรผสมผสานเกษตรประณีต เกษตรแปลงใหญ่ เกษตรแปรรูปเพื่อ
การพาณิชย์และอุตสาหกรรม เพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนของเกษตรกร อีกทั้งร่วมกันสนับสนุน
ปัจจัยนาเข้า ทัง้ บุคลากร งบประมาณและทรัพยากรในการดาเนินงาน รวมไปถึงการสร้างหลักสูตร การทา
วิจัย การสร้างและพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ รูปแบบการตลาดนาการผลิต ตลอดจนการใช้งานวิชาการเพื่อการ
พัฒนาและแก้ปัญหาระบบเกษตร และร่วมกันติดตาม ประเมินผล จัดทาข้อเสนอให้กับทั้งสองฝ่าย ซึ่งในส่วน
ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีคณะทรัพยากรธรรมชาติเป็นหน่วยงานหลักส่วนการดาเนินงานของแต่ละ
โครงการจะมีก ารตกลงกั น ในรายละเอียดต่อ ไป โดยบั นทึก ข้อ ตกลงความร่ ว มมือ ฉบั บนี้มีก าหนด 5 ปี
นับตั้งแต่วันลงนาม
ความร่วมมือกับ บริษัท โตโยต้า ทูโช เน็กซ์ตี อิเล็กทรอนิกส์ (ไทยแลนด์) จากัด หรือรู้จักกันใน
ชื่อ NETH บริษัทชั้นนาระดับโลกในการพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์และซอฟต์แวร์ในรถยนต์ ร่วมลงนามความ
ร่วมมือพัฒนาวิศวกรและงานวิจัยทางด้านสมองกลฝังตัวในรถยนต์ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ในโครงการ “NETH-
PSU Research Collaboration” โดยบริษัท NETH ให้ทุนสนับสนุนศูนย์วิจัยร่วมเพื่อเป็นฐานหลักในการสร้าง
วิศวกรที่มีความสามารถพร้อมสาหรับการทางานทางด้านสมองกลฝังตัว รองรั บอุตสาหกรรมรถยนต์ ใน
หัวข้อ 1) Software Quality Assurance for Automotive Industry 2) FPGA Training for Automotive Industry
3) Model Based Design Training for Automotive Industry มีการอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี เตรียมความ
พร้อมสาหรับการทางาน ฝึกทักษะหลากหลายผ่านการเรียนการสอนแบบ Problem Based Learning การให้
โจทย์โครงงานสาหรับนักศึกษาปริญญาตรี การให้โจทย์วิจัยสาหรับนักศึกษาปริญญาโท ปริญญาเอก รวมทั้ง
งานวิจัยร่วมกับอาจารย์ตลอด 3 ปี ที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2559 ถึงปี 2561 นักศึกษาในโครงการผ่านเกณฑ์การ
คัดเลือกได้รับการจ้างงานจากบริษัทกว่า 50 อัตรานักศึกษามีความพร้อมในการทางานได้ทันทีที่จบการศึกษา
โดยไม่ตอ้ งผ่านช่วงการทดลองงาน” ในปีที่ผ่านมา ได้จัดให้มีกิจกรรมสร้างความร่วมมือกับนานาชาติมากขึ้น
การจัดประชุมวิชาการนานาชาติร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนาจากประเทศญี่ปนุ่ ในกิจกรรม Bridge Workshop on
Embedded System between Thailand and Japan ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริน ทร์
และ Asia Pacific Conference on Robot IoT System Development and Platform (APRIS) ณ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต การจัดประชุมวิชาการนานาชาติร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนาจาก
ประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซียในงาน 2018 IEEE 5th International Conference on Smart Instrumentations,
Measurement & Applications (ICSIMA 2018) ณ โรงแรมบีพี สมิหลา สงขลา จึงนับเป็ นก้า วสาคั ญ ที่

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 87 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -87-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร่ ว ม มื อ กั น อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม แ ล ะ ย ก ร ะ ดั บ ใ ห้
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นศูนย์กลางภูมิภาคอาเซียนในการสร้างทรัพยากรมนุษย์และงานวิจัยทางด้าน
สมองกลฝังตัวในรถยนต์
ความร่วมมือกับกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยมีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความ
ร่วมมือ พัฒนาวิชาการวิจัยและบริการวิชาการด้านการเพาะเลี้ยงสั ตว์น้าและการประมง ณ ห้องประชุม 215
สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ วันที่ 19 เมษายน 2562 โดยความร่วมมือ
ครั้งนีเ้ ป็นการพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ผลิตและพัฒนาบุคลากรที่มี
คุณภาพ เสริมสร้างความสามารถและศักยภาพในการแข่งขัน รวมถึงกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจบนฐานที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน สอดคล้องกับทั้งนโยบายของรัฐบาล มาตรฐานและนโยบายในระดับ
สากล ในด้านการเพาะเลีย้ งสัตว์นา้ การบริหารจัดการทรัพยากรประมง การกากับ ดูแลและควบคุมการผลิตและ
การใช้ประโยชน์สัตว์น้าให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล มีการพัฒนางานวิจัยและเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องเป็นที่
ยอมรับ ในระดับชาติและระดับสากล มีความพร้อมด้านบุคลากรที่มีคุณภาพ และมีความร่วมมือเป็นอันดีกั บ
หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศตลอดมา
ความร่วมมือกับบริษัท ซีพีเอฟ ประเทศไทย จากัด (มหาชน) ร่วมลงนามบั นทึกข้อตกลงความ
ร่วมมือเพื่อการศึกษา วิจัย และพัฒนาด้านสัตวแพทย์เพื่อเป็นประโยชน์สาหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ในภาคใต้ ณ
ห้องประชุ ม 1 สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ วันศุกร์ ที่ 28 มิถุนายน
2562 โดยทั้ง 2 ฝ่ายจะร่วมกันศึกษาทดลองในสัตว์เศรษฐกิจ เพื่อการเรียนการสอนและวิจัย โดยอาศัยวิทยากร
ผู้ชานาญการ และอาจารย์พิเศษในการถ่ายทอดวิชาการ และประสบการณ์จากมหาวิทยาลัยและบริษัทซึ่งมีความ
เชี่ยวชาญ อีกทั้งร่วมกั นพั ฒนาหลั กสูตรการเรียนการสอน เพื่อให้สอดคล้องกั บภาคปศุสั ตว์และสั ตว์น้าใน
ปัจจุบัน รวมไปถึงการศึกษาและวิจัย พัฒนาองค์ความรู้ด้านสัตวแพทย์บริการ และติดตามภาวะโรคระบาดใน
พืน้ ที่ภาคใต้ โดยบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฉบับนีม้ ีกาหนด 3 ปี นับแต่วันลงนาม
ความร่วมมือกับ 7 บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี (วิสาหกิจเพื่อสังคม) ซึ่งประกอบด้วยบริษัท ประชา
รัฐรักสามัคคี จังหวัดตรัง สงขลา ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือทางวิชาการ ณ ห้องประชุมเจ้าฟ้า สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต
ภูเก็ต วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม 2562 ทั้งนี้เพื่อพัฒนาพื้นที่ภาคใต้ให้มีความยั่งยืนและมั่นคงทางด้านเศรษฐกิ จ
สังคม ทรัพยากร ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยกระบวนการการมีส่วนร่วมระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาชน ภาคสังคม ภาคท้องถิ่น และภาควิชาการ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นระบบ โดยมุ่งเน้น
ด้านการศึกษา เพื่อสร้างคนให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีคุณธรรมให้พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21 และเพิ่ม
ขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่น ในการพัฒนาการบริหารจัดการ และการพึ่งพาตนเองเพื่อให้เกิดสังคมที่มี
คุณภาพในท้องถิ่นต่าง ๆ ซึ่งถือเป็นโอกาสอันดียิ่งที่มหาวิทยาลัยได้ร่วมลงนามความร่วมมือกับบริษัทประชารัฐ
รักสามัคคี จากัด ทั้ง 7 จังหวัด ซึ่งมีเจตนารมณ์ร่วมกันที่จะเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และพัฒนาพื้นที่
ภาคใต้ให้มีความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจต่อไป

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 88


-
-88- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ความร่วมมือ บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จากัด มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงและ


กรอบความร่วมมือพิเศษ เพื่อร่วมกันใช้ศักยภาพในการพั ฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากร และ
พัฒนาการเรียนรู้ระหว่างกันอย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 2562 โดยสาระสาคัญของบันทึกข้อตกลง คือ
มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์จะแนะนาการพั ฒนาเมืองอั จฉริยะ หรือ Smart City และเผยแพร่ใ ห้เป็ น
กรณีศึกษา เป็นศูนย์การเรียนรู้ที่สาคัญให้กับสถาบันการศึกษาในพื้นที่ภาคใต้และภาคอื่น ๆ ส่วน บริษัท ซิส
โก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จากัด จะเป็นผู้ให้คาปรึกษาในการวางแผนออกแบบระบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ต่อ
มหาวิทยาลัยในการพัฒนาด้าน Smart City ให้เป็นโครงการตัวอย่างและพัฒนาการความรู้และการใช้งานให้
เกิ ด เป็ น รู ปธรรมสามารถนาไปต่อ ยอดการใช้ งานในเมือ งอื่ น ๆ ในภาคใต้ไ ด้ นอกจากนั้นจะร่ ว ม มือ กั บ
มหาวิทยาลัยในการเพิ่ม ขีด ความสามารถของกลุ่ม Start Up ในพื้นที่ภาคใต้ การนาแพลทฟอร์ม Cisco
DevNet ไปใช้ ใ นการพั ฒ นานวั ต กรรมใหม่ ๆ ที่ ส ามารถต่ อ ยอดการใช้ ง านเทคโนโลยี ด้ า น Network,
Cybersecurity, IoT และ Cloud โดยมหาวิทยาลัยได้มีส่วนร่วมกับโครงการ Smart City มาตั้งแต่รัฐบาลได้
กาหนดให้จังหวัดภูเก็ตเป็น Smart City ต่อมาเมื่อจังหวัดสงขลามีนโยบาย “สงขลาเมืองแห่งความสุข ” และ
จากผลงานการไปร่วมโครงการ Smart City กับจังหวัดภูเก็ตทาให้ได้รับงบประมาณจากรัฐบาลมาอีกส่วนหนึ่ง
เพื่อจัดทาต้นแบบการจัดการ Smart City ที่หาดใหญ่ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย “สงขลาเมืองแห่งความสุข ”
ของจังหวัดพอดี จึงเป็นที่มาของความร่วมมือกับระหว่างมหาวิทยาลัย และ บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศ
ไทย) จากัด เพื่อร่วมเป็น หุ้นส่วนสาคัญในการเดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการนี้ ขณะนี้หลายผลงานกาลัง
อยู่ระหว่างการทดลองในมหาวิทยาลัย เช่น ระบบติดตามทะเบียนรถยนต์ ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบ
การให้แสงสว่า งฟาร์ม อัจฉริยะ ซึ่งหลายระบบได้ถูก นาไปใช้ จริงในตัว เมือ งแล้ว โดยมหาวิทยาลั ยเปิด ให้
อาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจ สาธารณชนได้เรียนรู้ระบบเหล่านี้ดว้ ย
ความร่วมมือกับ บริษัท ซีไอพี กรุ๊ป จากัด มีการลงนามความร่วมมือการส่งเสริมผลงานวิจัย/
นวัตกรรมเพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ ณ อาคารศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ (LRC) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
จุดเริ่มต้นของการสร้างกลไกการขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการส่งเสริมผลงานวิจัยและนวัตกรรม ผ่านการ
ดาเนินงานของอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และบริษัท ซีไอพี กรุ๊ป จากัด เพื่อการนา
ผลงานวิจัย/นวัตกรรมไปใช้ ประโยชน์ไ ด้ใ นเชิ งพาณิชย์ สั งคม และอื่น ๆ ทั้งในส่วนของภาคนโยบายแล ะ
ภาคปฏิบัติ เพื่อการพัฒนางานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นไปที่การวิจัยและ
พัฒนาผลงานวิจัย/นวัตกรรมทางด้านการเกษตร การประมง การปศุสัต ว์ อาหาร อุต สาหกรรมการผลิต
สุขภาพและการแพทย์ ตลอดจนการนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมออกสู่การใช้ประโยชน์ จึงมี วัตถุประสงค์
ร่วมกัน ในการกาหนดแนวทางนาผลงานวิจัยและนวัตกรรม ไปใช้ประโยชน์ให้ได้จริงและเป็นรูปธรรม เพื่อก่อ
ประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนและสนับสนุนการเติบโตอย่างยั่งยืนต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย สอดคล้องกับ
นโยบายและยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ความร่วมมือกับกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
ด้านการพั ฒนา ผลิตภัณฑ์ ยางทางด้านการจราจรและความปลอดภัยทางถนนโดยผ่านกระบวนการวิจัยด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และการมุ่งสู่การนาไปใช้ประโยชน์ ในหน่วยงานภาครั ฐ เมื่อวันที่ 20

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 89


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -89-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิ
งานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

กันยายน 2562 ทั้งนี้ ก่อนการลงนามบันทึกข้อตกลงดังกล่าว มีการจัดประชุมคณะทางานศึกษาแนวทางการนา


ยางพารา มาใช้ในงานก่อสร้างและอุปกรณ์ความปลอดภัย การลงนามข้อตกลงดังกล่าว จัดขึน้ เพื่อประสาน ความ
ร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางทางด้านการจราจร และความปลอดภัยทางถนนโดยผ่านกระบวนการวิจัยด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และการมุ่งสู่การนาไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงานภาครัฐ การหารือถึ ง
แนวทางในการพัฒนาผลงานวิจัยโดยเฉพาะผลงานวิจัยด้านยางพารา ที่กาลังประสบปัญหาราคายางตกต่า โดย
มุ่ ง เน้ น ไปที่ ก ารน าเอาผลงานวิ จั ย มาใช้ ใ นงานก่ อ สร้ า ง และอุ ป ก รณ์ อ านวยความปลอดภั ย ซึ่ ง
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้มีผลงานวิจัยเกี่ยวกับยางพารา มาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน จึงถือเป็นโอกาสที่ดี
ในการริเริ่มนาผลงานวิจัย ไปสู่การนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง
ความร่วมมือกับ North East Rubber Public Company Limited โดยร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือ (MOU) เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2562 โดยบริษัทเล็งเห็นความพร้อมของมหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ในการขับเคลื่อนงานวิจัยแบบมุ่งเป้าและบริษัทมีความพร้อมและศักยภาพในการสนับสนุนการต่อ
ยอดยางพาราให้เป็นผลิตภัณฑ์มูลค่าสูงในเชิงพาณิชย์ตอ่ ไป
ความร่วมมือกับคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
แห่งชาติ (กสทช.) จัดตั้งศูนย์ทดสอบ 5G โดยมีการแถลงการณ์จัดตั้งศูนย์ทดสอบระบบโครงข่ายโทรคมนาคม
5G ณ ห้องประชุมดงยาง 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2562 เป็นการขับเคลื่อนเทคโนโลยี
ขั้ น สู ง ในการน าเทคโนโลยี 5G มาใช้ เปิ ด ให้ ผู้ ป ระกอบการภาคเอกชนและภาครั ฐ เข้ า มาใช้ โดย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ร่ว มกั บคณะกรรมการกิ จการกระจายเสียงกิ จการโทรทั ศน์และกิ จการโทรคมนาคมแห่งชาติ ( สานักงาน
กสทช.) เดินหน้าสนับสนุนตั้งศูนย์ทดลองทดสอบและการใช้เทคโนโลยี 5G
ความร่วมมือกับบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) พัฒนานวัตกรรม 5G สู่เมืองมั่นคงยั่งยืน
เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ ร่วมลงนามบันทึกข้อ ตกลง
ความร่วมมือทางวิชาการ (MoU) ร่วมกับบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) ณ ห้องประชุมดงยาง 1 คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ สาระส าคั ญ ของบั นทึก ข้อตกลงคือ ทั้ งสองหน่ วยงานจะร่วมกั นสร้ างความร่ วมมื อด้า น
การศึกษา ด้านการวิจัย การทดสอบเพื่อพัฒนาเทคโนโลยี 5G รวมทั้งเทคโนโลยีอนาคต ในการนามาประยุกต์ใช้
ให้ตรงกั บความต้องการของผู้ใ ช้ บริการอั นจะนาไปสู่ การพั ฒนาด้านนวั ตกรรม ความเป็ นเลิศทางวิชาการ
เทคโนโลยี รวมทั้งสามารถน าผลการวิ จัยและผลการทดสอบมาใช้ เพื่อให้เกิ ด ประโยชน์ ต่อ ประชาชนและ
ภาคอุตสาหกรรม รวมถึงทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี 5G ทั้งในส่วนของ ระบบความปลอดภัย
ระบบสาธารณสุขทางไกล ระบบสนับสนุนทางการแพทย์ ระบบอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ระบบขนส่งและจราจร
อัจฉริยะ สิ่งแวดล้อม พลังงาน เกษตรกรรม และเทคโนโลยีใหม่ที่มีความสนใจร่วมกัน ด้านคณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดเตรียมความพร้อมโครงสร้างพื้นฐานในการติดตั้งสถานีฐาน การยื่นขอเป็นผู้
ประสานงานการใช้ คลื่ นความถี่ เพื่ อ การพั ฒนาและทดสอบนวั ตกรรม ในพื้ นที่ ก ากั บดู แลเป็ นการเฉพาะ
(Regulatory Sandbox) สาหรับการวิจัยและทดสอบ 5G ส่งเสริมการพัฒนาและการทดสอบนวัตกรรมในพืน้ ที่ หวัง
ใช้ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีการสื่อสาร 5G ในการรับส่งข้อมูลที่รวดเร็วและรองรับข้อมูลและอุปกรณ์จานวน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 90


-
-90- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

มหาศาล สามารถสร้างระบบนิเวศน์ธุรกิจใหม่ที่สร้างมูลค่าเกิดขึน้ ในภาคใต้ รวมทั้งการพัฒนาวิศวกรและนักวิจัย


ที่มีศักยภาพเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่สร้างประโยชน์ให้แก่ประเทศต่อไป

3. ผลงานวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับประเทศและนานาชาติ
ผลงาน “ชุดน้ายาเรืองแสงและอุปกรณ์ใช้สืบสวนแบบพกพา : PSU-VisDNA kit” โดย ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร.ภู วดล ธนะเกียรติไกร นางสาวเปรมกมล ต้นครองจัน ทร์ และนายกิตติรัตน์ ภู่พลั บ ทีม
นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ ที่มาของนวัตกรรมนีม้ าจากปัญหาจากการปฏิบัติงานของศูนย์พิสูจน์หลักฐาน
ทางภาคใต้ ที่มักเกิดเหตุอาชญากรรมและเหตุระเบิดบ่อยครั้งแต่ในการลงพื้นที่เพื่อเก็บหลักฐานและดีเอ็นเอ
ยังไม่มีวิธีที่ดที ี่สุดที่จะเก็บดีเอ็นเอได้อย่างมีคุณภาพ มีแค่ 10-20% จากตัวอย่างที่เก็บมาทั้งหมดที่สามารถ
ใช้ได้ ศูนย์พิสูจน์หลักฐานทางภาคใต้จึงต้องการนวัตกรรมที่ช่วยให้มองเห็นดีเอ็นเอของคนร้ายในสถานที่เกิด
เหตุว่ามีอยู่ในตาแหน่งใดบ้าง ซึ่งเดิมต้องใช้กับอุปกรณ์ ที่นาเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาแพงและจากัดการ
ใช้ งานภายในห้อ งมืด เท่า นั้น ประกอบกั บมีผลงานวิจัยเดิมของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ที่เป็ นการ
พัฒนาสารเรืองแสง ที่มีคุณสมบัติสามารถจับกับดีเอ็นเอ แล้วให้การเรืองแสงขึ้น แต่น้ายาดังกล่าวใช้ตรวจ
ปริม าณดีเอ็นเอในห้อ งแล็บระดับโมเลกุล ต้องใช้ ในปริม าณน้อ ยและมีเครื่องเฉพาะ ยังไม่เคยมี ใครนามา
ทดลองใช้ในสเกลที่ใหญ่ขึ้นในรูปแบบของสเปรย์ ที่สามารถตรวจวิเคราะห์และเห็นได้ด้วยตาเปล่า คณาจารย์
จากคณะวิ ทยาศาสตร์จึ งได้พั ฒ นาอุ ปกรณ์ขึ้ นมาเพื่อ ให้ ส ามารถน ามาฉายในที่แ จ้งได้ มีข นาดเล็ ก ไม่
จาเป็ นต้องใช้ ห้อ งมืดและมีราคาถูก สามารถตรวจระบุต าแหน่งของวัตถุพยานชีว ภาพทั้งจากคราบเลือ ด
น้าลาย อสุจแิ ละดีเอ็นเอที่เกิดจากการสัมผัสได้ทั้งในห้องปฏิบัติการและภาคสนาม เริ่มแรกมีการพัฒนาเป็น
กระบอกไฟฉายแต่เมื่อนาไปเสนอกับผู้ใช้งานจริง พบว่ามีความต้องการให้มีขนาดเล็กลงอีก และเพิ่มทั้งตัว
กรองและแหล่งกาเนิดแสงในตัว เพราะการใช้งานตัวเรืองแสงจาเป็นต้องมีแหล่งกาเนิดแสงทาหน้าที่กระตุ้นให้
วัตถุพยานสามารถเรืองแสงก่อน จากนั้นจะมีฟิวเตอร์หรือตัวกรองแสงที่จะกระตุ้นเพื่อให้เห็นแสงที่มาจาก
การเรืองแสงเท่านัน้ จึงพัฒนาอุปกรณ์ให้มีขนาดเล็ก มีตัวกรองอยู่ตรงกลาง มีแหล่งกาเนิดแสงเป็นวงรอบ ๆ
ลักษณะเป็นทูอินวัน ทาให้การใช้งานง่ายขึน้ ราคาถูกลง สามารถกระจายการใช้งานให้กับเจ้าหน้าที่ ได้จานวน
มากขึน้ เกิดความสะดวกรวดเร็วในการทางานมากขึน้ อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบดีเอ็นเอนั้น จากเดิมต้องนาเข้า 1
ล้านบาท แต่ผลงานชิ้นนีส้ ามารถผลิตออกมาใช้งานได้ในราคา 2,000 บาท และใช้งานได้สะดวกรวดเร็วกว่า
แบบเดิมที่มีขนาดใหญ่และต้องใช้ในห้องมืดเท่านัน้ ส่วนตัวสเปรย์เรืองแรง ถือเป็นนวัตกรรมที่ยังไม่มีใครเคย
ทามาก่อน และขณะนีอ้ ยู่ระหว่างการทดลองใช้งาน ความท้าทายต่อไปของงานวิจัยนี้ คือ การพัฒนาสเปรย์
สาหรั บใช้ ใ นพื้นที่มีสีเขียวเพื่ อให้เห็นคราบดีเอ็นเอเป็ นข้อจากั ดที่ยังไม่มีใ ครสามารถทาได้รวมทั้งในวั ส ดุ
โปร่งใสและโปร่งแสง ซึ่งเป็นปัญหาทางทฤษฎี ส่วนอุปกรณ์อาจจะต้องปรับความยาวของคลื่นแสงใหม่
ผลงาน หุ่น CPR ช่วยชีวิตผู้หญิงและตรวจมะเร็งเต้านม โดยนักวิชาการมหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี นาโดยคณะพยาบาลศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ร่วมกับ ผศ.ดร.บุญธรรม นิธิอุทัย ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาฝึกปฏิบัติต้นแบบเพื่อช่วยชีวิตโดยใช้
ยางพารา ร่วมบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์และศิลป์ คิดค้นหุ่น CPR หรือหุ่นช่วยชีวิตผู้หญิงและตรวจมะเร็ง

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 91 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -91-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เต้านมสองตัวแรกของโลกโดยมีชื่อเรียกว่า “ฟาตีลาและอารียา” ซึ่งใช้วัตถุดิบจากยางพารา เพื่อสนับสนุน


การเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และเสริมองค์ความรู้สาหรับการช่วยชีวิตสตรีทั่วไปและสตรีที่นับ
ถือศาสนาอิสลามบูรณาการองค์ความรู้ศาสตร์และศิลป์ผลิตหุ่นช่ วยชีวิต หรือ CPR ผู้หญิงและตรวจมะเร็ง
เต้านมตัวแรกของโลก เนื้อยางพารามีความเหนียวและยืดหยุ่นใกล้เคียงกับผิวหนังและกล้ามเนื้อมนุษย์จึงเป็น
วัตถุดิบที่สาคัญที่นามาใช้ในการพัฒนาหุ่นจาลองมนุษย์ช่วยชีวิตเพื่อใช้ในการฝึกปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
สุขภาพ ปัจจุบันสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์สุขภาพได้นาเข้าหุ่นจาลองต่าง ๆ เพื่อใช้จัดการเรียนการ
สอนทางวิทยาศาสตร์สุขภาพจากต่างประเทศซึ่งมีราคาสูง ดังนั้นการพัฒนาหุ่นจาลองมนุษย์ช่วยชีวิตโดยใช้
ยางพาราจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ส ามารถทดแทนอุ ปกรณ์ฝึกสอนทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุ ขภา พ
ประกอบกับมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของผู้หญิงไทย แต่สามารถลดการสูญเสียได้หาก
ตรวจพบในระยะเริ่มต้น แต่การตรวจด้วยตนเองต้องใช้ทักษะความรู้ในระดับหนึ่ง และต้องใช้โมเดลจาลองฝึก
ตรวจนาเข้าจากต่างประเทศในราคาแพง โดยในระยะเริ่มต้นได้คิดค้นผลิต หุ่น 2 ตัวแรกของโลก คือ หุ่นชื่อ
“ฟาตีลา” มอบให้แก่คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่อให้นักศึกษาใช้
เป็นอุปกรณ์ฝึกปฏิบัติตน้ แบบช่วยชีวิตและเรียนรู้การช่วยชีวิตผู้หญิงทั่วไปและผู้หญิงที่นับถือศาสนาอิสลามให้
ถูกต้องตามหลักศาสนา และชื่อ “อารียา” มอบให้แก่โรงพยาบาลปัตตานี เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ได้ใช้
ปฏิบัติจริงกับผู้ป่ว ย และขณะนี้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปั ตตานี กาลังดาเนินการสร้า งหุ่น
ต้นแบบ CPR ช่วย ชีวิตเด็กในแต่ละช่วงวัยจากยางพารา เพื่อประโยชน์ทางด้านการแพทย์และการพยาบาล
ของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศโดยใช้หลักการบูรณาการในหลักสูตรยางและ
พอลิเมอร์ ประติมากรรม และจิตสาธารณะในภาวะวิกฤต
โครงการวิจัย พั ฒนา เยียวยา สมานฉั นท์และสร้างสรรค์ชุ มชนสุ ขภาวะชายแดนใต้ เพื่อการ
ช่วยเหลือประชาชนด้านสุขภาพและเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ ให้มีโอกาสได้ฟื้นตัว
ด้านสุ ข ภาพและสั งคม โดยใช้ 3 กลไกคื อ กลไกสถาบั นวิจั ยและพั ฒนาสุ ขภาพภาคใต้ (วพส.) กลไกศูน ย์
ประสานงานวิชาการให้ความช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุความไม่สงบจังหวัดชายแดนใต้ (ศวชต.) และ
กลไกโครงการบัณฑิ ตอาสา มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ โดยได้คัดเลือกพื้นที่ดาเนินการวิจัย ประกอบด้วย
ตาบลเขาตูม อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ตาบลห้วยกระทิง อาเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา และตาบลโฆษิต อาเภอ
ตากใบ จังหวัดนราธิวาส มีนักวิจัยอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ดาเนินการวิจัยตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2560 – มกราคม
2562 รวมระยะเวลา 15 เดือน คณะผู้วิจัยได้ดาเนินการสนับสนุนเด็กกาพร้าและด้อยโอกาสให้มีทัศนคติเชิงบวก
รู้จักคุ ณค่าของตนเอง และภูมิปัญญาของชุมชน จัดกิจกรรมเสริมสร้างแรงบันดาลใจในการศึกษา การดู แล
อนามัยในเด็กและชุมชน ค่ายสานฝัน สู่เส้นทางอาชีพ พัฒนาการสื่อสารมุ มบวกกิจกรรมเยี่ยมบ้าน กิจกรรม
พัฒนาครอบครัว สานรั กสานสัมพันธ์เศรษฐกิจพอเพียงครอบครั ว กิจกรรมพั ฒนากลไก ศึกษาดู งานพั ฒนา
ศักยภาพแกนนา ได้แก่ ตาข่ายนิรภัย วางระบบเครือข่ายในการดูแลเด็กและเยาวชนในระยะยาวระดับชุมชน หา
วิธีการระดมทุน การขับเคลื่อนกองทุนออมทรัพย์ช่วยเหลือเด็กกาพร้าและเด็กด้อยโอกาส ผ่านมัสยิดปอเนาะ ตา
ดีกา วางแนวทางในการดูแลเด็กกาพร้าและด้อยโอกาสระยะยาว กิจกรรมสื่อสาธารณะ ค่ายพลังเยาวชนรู้เท่าทัน
สื่อ ผลิตสื่อสร้างสุขผลที่ได้จากการทางานดังกล่าวใน 3 พืน้ ที่ ทาให้เด็กเห็นความสาคัญและคุณค่าของการเรียน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 92 -


-92- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

มีความสนใจ และตั้งใจเรียนมากขึ้น ช่างใฝ่รู้ กล้าแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ลดพฤติกรรมก้าวร้าวและมีการ


ปรับตัวได้เรียนรู้ทักษะการอยู่ร่วมกันกั บเพื่อนและผู้อื่น รู้จักการทางานเป็นทีม กับกลุ่มเพื่อนผู้ปกครองเห็ น
ความสาคัญของการศึกษา มีการปรับวิธีการดูแลลูกติดตามลูกมากขึน้ เข้าใจช่วงวัยของลูก ให้เวลากับลูก มีการ
สื่อ สารเชิ งบวกภายในครอบครั ว การเลี้ยงลู กตามหลั ก คาสอนของศาสนา มีส่ วนร่ว มในการติด ตามการ
เปลี่ยนแปลงของเด็ก มีการต่อยอดกองทุนออมทรัพย์ในชุมชนช่วยเหลือเด็กกาพร้า ได้พัฒนาศักยภาพเยาวชนใน
พื้นที่ สามารถต่ อยอดอาชี พ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครัวเรือน ครอบครั วเด็ กก าพร้าและด้อยโอกาสได้รับ
กาลังใจจากการเยี่ยมบ้าน มีคุณภาพชีวิตที่ดขี นึ้ จากการส่งเสริมอาชีพ และได้พัฒนาศักยภาพเยาวชน ด้านกลไก
ระดับพืน้ ที่แกนนาชุมชนและเยาวชน มีการขับเคลื่อนกองทุนออมทรัพย์สาหรับเด็กกาพร้าและด้ อยโอกาส เกิด
แกนนาชุมชนและเยาวชนที่มีสว่ นร่วมในการดูแลเด็กกาพร้าและเด็กด้อยโอกาส แกนนา รับรู้ปัญหาและคอยให้
คาปรึกษาเกี่ยวกับแนวทางการช่วยเหลือเด็ก ๆ มีเครือข่ายการทางานในพืน้ ที่เพิ่มมากขึน้ จากการจัดทาโครงการ
ครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะจากชุมชน โดยเสนอให้โรงเรียนมีบทบาทในการดูแลเด็กกาพร้าและเด็กด้อยโอกาสอย่างเป็น
ระบบ (โรงเรียนนาร่อง) ปรับมุมมองของชุมชนในเรื่องของการดูแลเด็กกาพร้า ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแล
ส่งเสริม ให้มีกิจกรรมครอบครัวร่วมกัน มีกิจกรรมออกกาลังกายของผู้สูงอายุ มีเครือข่ายการขับเคลื่อนการดูแล
เด็กกาพร้าและเด็กด้อยโอกาส พัฒนากองทุนและส่งเสริมอาชีพเด็กกาพร้า เด็กด้อยโอกาสให้เกิดความต่อเนื่อง
สนับสนุน ต่อยอด แก้ไขปัญหา ยาเสพติด การศึกษา เด็กติดเกมอีกด้วย
ผลงาน การพัฒนาแผ่นแปะแก้ปวดจากสารสกัดไพลและสารเมือกจากเมล็ดแมงลัก โดยรอง
ศาสตราจารย์ ดร.ภก.ภาคภูมิ พาณิชยูปการนันท์ คณะเภสัชศาสตร์ ผลงานดังกล่าว เป็นการพัฒนายาแก้
ปวดจากสารสกัดไพลในรูปแบบแผ่นแปะที่ผลิตจากสารเมือก (Mucilage) จากเมล็ดแมงลัก โดยเตรียมสาร
สกัดจากธรรมชาติด้วยวิธีการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ช่ วยลดต้นทุนในการผลิตยา และสามารถควบคุ ม
ปริมาณสารสาคั ญ ที่ออกฤทธิ์แก้ปวดและต้า นการอักเสบของกล้ามเนื้อในสารสกัดไพลได้อย่า งเหมาะสม
แผ่นแปะแก้ปวดดังกล่าวสามารถรักษาอาการปวดอักเสบกล้ามเนื้อ และไม่ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองแก่
ผิวหนัง
ผลงานวิจัย ระบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขมันปาล์มแบบต่อเนื่องด้วยเครื่องปฏิกรณ์ท่อผสม
แบบสถิ ต ร่ ว มกั บ คลื่ น เสี ย งอั ล ตราโซนิ ก โดยผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ดร.กฤช สมนึ ก และคณะ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ การผลิตไบโอดีเซลจากน้ามันกรดไขมันอิสระต่าไปจนถึงระดับสูงมากด้วยท่อผสมแบบสถิต
ร่วมกับการใช้คลื่นอัลตราโซนิก ซึ่งเทคโนโลยีดังกล่าวจะทาให้ของเหลวผสมกันได้ดีกว่าในระดับ โมเลกุลด้วย
ปรากฏการณ์แคปวิเตชัน ช่วยเร่งปฏิกิริยาได้เร็วกว่าใบกวน ช่วยลดพื้นที่ในการติดตั้งระบบ ช่วยลดปริมาณ
สารเคมีในการทาปฏิกิริยา ด้วยเหตุผลทัง้ นีจ้ ะช่วยลดต้นทุนในการผลิตไบโอดีเซล และได้รับตีพิมพ์ผลงานทาง
วิชาการ ในวารสารระดับนานาชาติ 11 บทความ ตีพิมพ์ผลงานวารสารระดับชาติ 2 บทความ นาเสนอผลงาน
ในการประชุม วิชาการระดั บชาติ 5 บทความ อนุ สิทธิบัตรไทย 3 เรื่อง และได้รับรางวัล ระดั บนานาชาติ 3
รางวั ล รางวั ล ระดั บชาติ 5 รางวัล ซึ่งทั้งหมดเป็ นองค์ความรู้ที่ไ ด้จากการทาวิจัยจากวั ตถุ ดิบ วั สดุ และ
อุปกรณ์ที่หาได้ภายในประเทศ ซึ่งประเทศสามารถจะนาความรู้นี้มาใช้งานได้ทันทีเมื่อมีความต้องการ อีกทั้ง
ผลงานตีพิมพ์ตา่ ง ๆ มีผลกระทบเชิงบวกทางด้านวิชาการทาให้ทราบว่าวารสารชั้นนาในหลายประเทศยอมรับใน
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 93
-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -93-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยนี้ ซึ่งจะมีผลทางอ้อมและทางตรงต่อภาพลักษณ์คุณภาพของงานวิจัยของประเทศ
ไทย
ผลงานวิจัย การไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลามใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มะรอนิง สาแลมิง และคณะ วิทยาลัยอิสลามศึกษา การ
ไกล่เกลี่ยข้อ พิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญ ญัติแห่งศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวั ดชายแ ดนภาคใต้
ประสบปัญหาในด้านประสิทธิภาพงานวิจัย จึงดาเนินการพัฒนาระบบ กลไก รวมถึงจัดทาแผนยุทธศาสตร์
และแผนปฏิบัติการ โดยการแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนรวมถึงส่งเสริมปัจจัยประกอบ เช่น เอกสารและ
เทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการทาข้อเสนอเพื่อปรับปรุงข้อกฎหมาย นอกจากนั้นยังส่งเสริมการไกล่
เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลามให้มีศักยภาพ และได้รับการยอมรับจาก
สังคม โดยการประชาสัมพันธ์และการเผยแพร่ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งการประชุมสัมมนาการ จัดทาสื่อ
และเอกสารตลอดจนการสร้างเครือข่าย ทัง้ กลุ่มมุสลิมที่เกี่ยวข้องโดยตรง เจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับนโยบาย
องค์กรภาคประชาสังคม กลุ่มสื่อมวลชน กลุ่มสตรี กลุ่มเยาวชน และนักศึกษา กองอานวยการรักษาความ
มั่ น คงภายในราชอาณาจั ก ร และหน่ ว ยงานในระดั บ นโยบาย รางวั ล วิ ท ยานิ พ นธ์ ระดั บ ดี ม าก สาขา
เกษตรศาสตร์และชีววิทยา
ผลงานวิจัย การเพิ่มผลผลิตไฮโดรเจนและมีเทนจากน้าทิ้งโรงงานสกัดน้ามันปาล์มดิบด้วยการ
ย่อ ยสลายแบบไร้อ ากาศสองขั้นตอนที่อุณหภู มิสู ง โดย ดร.ชลธิชา มามิมิน และผู้ช่ว ยศาสตราจารย์ ดร.
สมพงศ์ โอทอง เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก กระบวนการหมักไร้อากาศแบบสองขั้นตอน พัฒนาใช้เพื่อผลิต
ก๊าซชี วภาพจากของเสียชีวมวลหรือน้าเสียที่มีของแข็งแขวนลอยสูงโดยแยกกระบวนการสร้างกรดเป็นถั ง
ปฏิกรณ์แรกและตามด้วยกระบวนการสร้า งมีเทนในถังที่สอง ส่งผลให้ระบบมีประสิทธิภาพการย่อยสลาย
ของแข็งสู ง ลดการสะสมของแข็ งในระบบ และระบบมีความเสถี ยรในการดาเนินระบบสู ง ระบบมีความ
เหมาะสมกับน้าเสียที่มีสารอินทรีย์สูงและของแข็งสูง โดยมีอัตราการผลิตไฮโดรเจน 1.8 ลิตรไฮโดรเจนต่อลิตร
ต่อวัน อัตราการผลิตมีเทน 2.6 ลิตรมีเทนต่อลิตรวัน คิดเป็นผลได้พลังงานรวม 15.34 เมกะจูลต่อกิโลกรัมซี
โอดี การผลิตไฮโดรเจนควบคู่กับการผลิตมีเทนให้ผลได้พลังงานสูงกว่าการผลิตมีเทนระบบเดี่ยวร้อยละ 34
ผลงานวิจัย อุปกรณ์วัดความหนาแบบไม่สัมผัสตัวอย่าง โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชิตนนท์
บูรณชัยและคณะ คณะวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์วัดความหนาแบบไม่สัมผัสตัวอย่าง โดยใช้เทคนิคทางแสงไม่ทา
ให้เกิ ดความเสียหายแก่ ตัวอย่างที่ต้องการวั ด อาศัยหลักการทางานของอินเตอร์เฟอโรมิเตอร์ร่วมกั บการ
โฟกัสแสงเป็นกรวย ซึ่งให้ผลดีคือสามารถวัดการแทรกสอดของลาแสงที่เดินทางผ่านชิ้นตัวอย่าง และลาแสง
อ้างอิงที่ตกกระทบผิวด้านนอกได้ที่หลายมุมตกกระทบในเวลาเดียวกัน จึงไม่จาเป็นต้องมีมอเตอร์ช่วยในการ
เปลี่ยนมุมตกกระทบ ทาให้สามารถทราบค่าความหนาได้อย่างรวดเร็วในเวลาเพียงไม่กี่วินาที โดยใช้อุปกรณ์ที่ไม่
ซับซ้อน และมีสว่ นประกอบจานวนน้อยชิ้น จึงทาให้มีราคาถูกและใช้งานได้ง่าย เหมาะกับการใช้งานวัดความหนา
เพื่อตรวจสอบคุณภาพ เข่น การเคลือบฟิล์มกระจกบนรถยนต์ การผลิตฟิล์มเคลือบกันรอยบนหน้าจอโทรศัพท์
ผลงานวิจัย อุปกรณ์กัดผิวด้วยไฟฟ้าสาหรับเก็บกู้เลขหมายทะเบียน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.วรากร ลิ่มบุตร และคณะ คณะวิทยาศาสตร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานได้ง่าย ทั้งในและนอกสถานที่ รู้ผลรวดเร็ว

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 94 -


-94- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

สะดวกในการพกพา ไม่ใช้สารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อน ทาให้ผู้ปฏิบัติ งานมีความปลอดภัย ลดการนาเข้าน้ายาเคมี


จากต่างประเทศ สามารถปรับค่าแรงดันไฟฟ้าได้ตงั้ แต่ 0 ถึง 50 โวลต์ และสามารถปรับค่ากระแสได้ตั้งแต่ 0–20
แอมแปร์ ด้วยวิธีกาหนดเองหรือแบบอัตโนมัติ มีปุ่มเมนูลัดที่ผู้ใช้ได้กาหนดค่าแรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าที่
เหมาะสมไว้ก่อนหน้านีถ้ ึง 9 แบบ ที่ซึ่งสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน มีหน้าจอที่แสดงค่าศักย์ไฟฟ้า และ
กระแสไฟฟ้าที่ได้กาหนดไว้ รวมไปถึงแสดงค่าศักย์ไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าที่เกิดขึน้ จริงระหว่างเปิดเครื่อง
ผลงานวิจั ย สเตอร์โ ฟม-โฟมยางธรรมชาติ คอมโพสิ ตส าหรั บสกั ด สารอิ นทรีย์ โดย รอง
ศาสตราจารย์ ดร.เพริศพิชญ์ คณาธารณา และคณะ คณะวิทยาศาสตร์ เป็นการพัฒนาตัวดูดซับแบบสเตอร์
โฟมขึ้นครั้งแรกโดยการประยุ กต์ใช้ โฟมจากน้ายางธรรมชาติในการเตรียมตัวดู ดซับโดยอาศัยรู พรุนที่มีอ ยู่
จานวนมากของโฟมยางมากักตัวดูดซับ ซึ่งเป็นคอมโพสิตของกราฟีนออกไซต์ และพอลิเอทิลีนไกลคอล เมื่อ
ใช้ลวดโลหะสอดผ่านแกนกลางของโฟมยางจะได้ตัวดูดซับที่มีลักษณะเป็นแท่งคนที่ใช้งานได้ง่าย เพียงนาตัว
ดูดซับโฟมยางนีใ้ ส่ลงในขวดบรรจุสารตัวอย่าง และวางบนเครื่องคนแม่เหล็กไฟฟ้า ตัวดูดซับก็จะหมุนพร้อม
ทั้งสกั ดสารที่ส นใจวิเคราะห์ จึงเรียกตัว ดูด ซับนี้ว่ า “สเตอร์โฟม” เป็ นวิธีก ารสกั ดที่ง่า ย ลดค่า ใช้ จ่า ย ลด
ปริมาณของตัวอย่างและตัวทาละลายอินทรีย์ โดยสามารถประยุกต์ใช้สกัดสารอินทรีย์ปริมาณน้อยในตัวอย่าง
สิ่งแวดล้อม เครื่องสาอาง อาหาร และเครื่องดื่ม
4. การดาเนินงานอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ก่อตั้งขึ้นในปี 2556 เป็นนิคมวิจัยสาหรั บ
เอกชนแห่งแรกของภาคใต้ ตั้งขึ้นเพื่อเป็นการกระจายการพัฒ นาโครงสร้า งพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ระดับภูมิภาค เสริมสร้างและขับเคลื่อนระบบนวัตกรรมของประเทศ สนับ สนุนให้
เกิดกิจกรรมการวิจัยและพัฒนาโดยภาคเอกชนในพื้นที่ภาคใต้ และการนาผลงานวิจัยและพัฒนาเข้าสู่ระบบ
การคุ้ ม ครองและการใช้ ป ระโยชน์ เชิ งพาณิ ช ย์ ทาหน้า ที่เ ป็ นแม่ข่ า ยอุ ทยานวิ ทยาศาสตร์ภ าคใต้ โดยมี
มหาวิทยาลัยเครือข่าย ได้แก่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และมหาวิทยาลัยทักษิ ณ และขยายเครือข่ายเพิ่มเติม
ไปอีก 7 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลัย
ราชภัฎสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ศรีวิชัย และมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ดาเนินงานตามแผนงานหลักที่กาหนดไว้ ดังนี้
1. แผนงานการจัดการนวั ตกรรมและการถ่ ายทอดเทคโนโลยี โดยศูนย์ทรัพย์สินทางปั ญญา ทา
หน้าที่ส่งเสริมการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา การให้การคุ้มครองและการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทาง
ปัญญาและการเชื่อมโยงนวัตกรรมสู่การประโยชน์กับเอกชน ในรอบปี 2562- 2563 ที่ผ่านมา มีผลงานทรัพย์สิน
ทางปัญญาที่ยื่นขอรับการคุ้มครองจานวน 86 และ 124 ผลงาน จานวนทรัพย์สินทางปัญญาที่ได้รับการรับรอง
48 และ 44 ผลงาน จานวนทรัพย์สนิ ทางปัญญาที่สามารถออกสู่เชิงพาณิชย์ 17 และ 20 ผลงาน จานวนสัญญา
การขออนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญาจานวน 17 และ 18 สัญญา จานวนผลิตภัณฑ์นวัตกรรมจาก
ทรัพย์สนิ ทางปัญญาออกสู่ตลาด 6 และ 3 ผลิตภัณฑ์ รายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา 3.1 และ 2.8 ล้านบาท
และผลกระทบทางเศรษฐกิจ 2.9 และ 12 ล้านบาท มีความร่วมมือกับเอกชนจานวน 25 และ 24 ราย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 95


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -95-
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนิ นงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2. แผนงานบ่มเพาะธุรกิจนวัตกรรมโดยศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มีภารกิจหลักในการสร้างและพัฒนา
ผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยีที่ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ในรอบปี 2562-2563 ที่ผ่านมา มีผล
การดาเนินงาน มีผู้ประกอบการใหม่จานวน 18 และ 13 ราย มีจานวนผู้ประกอบการที่สาเร็จหลักสู ตรจานวน 12
และ 22 ราย และผู้ประกอบการที่จบหลักสูตรมีมูลค่ายอดขายที่เพิ่มขึน้ 66 และ 76 ล้านบาท มีการจ้างงานเพิ่ม
198 และ 128 ราย มีเงินลงทุนเพิ่ม 42 และ 15 ล้านบาท และมีผลกระทบทางเศรษฐกิจ 66 และ 64 ล้านบาท
3. แผนงานการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวั ตกรรมแก่ภาคเอกชน โดยสานัก
ความร่วมมืออุตสาหกรรม ในรอบปี 2562-2563 ที่ผ่านมา มีจานวนโครงการสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา/
แก้ ไ ขปั ญ หาทางเทคโนโลยีใ นอุ ตสาหกรรมจานวน 232 และ 187 โครงการ จานวนโครงการที่เป็ น
โครงการวิจัยและพั ฒ นาจานวน 71 และ 92 โครงการ เงิน สนั บสนุ นการวิ จัยและพั ฒนาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมจากภาครัฐและภาคเอกชน 128 และ 29 ล้านบาท ผลกระทบทางเศรษฐกิจ 123 และ 80 ล้านบาท
4. บริก ารโครงสร้า งพื้นฐานและสิ่งอ านวยความสะดวกในการวิจัยและพัฒ นาแก่ ภาคเอกชน
ประกอบด้วยพืน้ ที่เพื่อการวิจัย โรงงานต้นแบบและห้องปฏิบัติการ ศูนย์เทคโนโลยีและศูนย์บริการทดสอบ ใน
รอบปี 2563 ที่ผ่า นมา มีจานวนผู้ใ ช้ บริก ารพื้นที่อ าคารอ านวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ 3,129 คน เกิ ด
กิจกรรมที่มีการใช้บริการอาคารอานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ 97 ครั้ง มีเอกชนมาใช้บริการพื้นที่ภายใน
อาคารอานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ จานวน 8 ราย
5. แผนงานบริก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพและความพร้อ มเพื่ อ ยกระดั บ การแข่ง ขั นแก่ ภ าคเอกชน
IDC/STDB ในรอบปี 2562-2563 ที่ผ่านมา ให้บริการ 615 และ 503 ครั้ง มีผลงานการออกแบบ 346 และ
251 ผลงาน สร้า งมูล ค่าผลกระทบทางเศรษฐกิจ 2.6 และ 5.4 ล้านบาท มีจานวนการเข้าใช้ งานระบบ
ฐานข้อมูลโครงสร้างพืน้ ฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน 21,982 และ 41,058 ครั้ง
6. การพัฒนาชุมชนนวัตกรรม ในรอบปี 2562-2563 ที่ผ่านมา มีจานวนโครงการพัฒนานวัตกรรม
ชุมชน 3 และ 3 โครงการ มีจานวนนวัตกรรมที่ถ่ายทอดลงชุมชนจานวน 6 นวัตกรรม จานวนชุมชน/วิสาหกิจ
ชุมชนที่เข้าร่วมพัฒนานวัตกรรมชุมชนจานวน 34 และ 65 ชุมชน มีจานวนผู้ประกอบการ Local Start Up ใน
ชุมชนชนจานวน 3 ราย และเกิดการการจ้างงานในชุมชนที่เพิ่มขึน้ 30 และ 20 ราย
7. การพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการนักศึกษา โดยสถานพัฒนาการเป็นผู้ประกอบการนักศึกษามี
ภารกิจในการสร้างเสริมทักษะและจิตวิญญาณความเป็นผู้ประกอบการให้กับนักศึกษา และคณะอาจารย์ ใน
ปี 2562 - 2563 ที่ผ่านมา มีโครงการด้าน Entrepreneur 29 และ 35 โครงการ มีจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ
2,770 และ 2,329 คน มีแนวคิด ธุ รกิ จที่นัก ศึก ษานาเสนอ 125 และ380 แนวคิดธุ รกิ จ และมีก ารให้ทุน
สนับสนุนการพัฒนาต้นแบบเป็นมูลค่ารวม 340,000 บาท และ1,332,000 บาท และมีผลงานที่อยู่ระหว่าง
การยื่นคาขอสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร 3 ผลงาน
ผลงานเด่นของอุทยานวิทยาศาสตร์
1. ศูนย์ทรัพย์สินทางปั ญญา ได้รับรางวัล IP Champion 2020 สาขาสิทธิบัต รการประดิษฐ์
ประเภทสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานของรัฐที่มิใช่รัฐวิสาหกิจ จากการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
ผลงานเรื่อง “สารทดแทนฟอสเฟตและไบคาร์บอเนตในการปรับปรุงคุณสมบัติความสามารถในการอุ้มน้าใน

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 96


-
-96- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

อุ ต สาหกรรมแปรรู ปสั ตว์น้ า”ผลงานวิจั ยของศาสตราจารย์ ดร.สุ ทธวั ฒ น์ เบญจกุ ล และทีม วิจัย คณะ
อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2. รางวัลชนะเลิศ RSP Innovation Awards สาขานักธุรกิจนวัตกรรม ของคุณอนุสรณ์ ขวัญคง
บุญ กับผลงานวัสดุปลู กพืชจากขุยมะพร้าว (Coco Peat Plus) ผู้ประกอบการ แผนงานบ่มเพาะธุรกิจและ
เทคโนโลยี ทีอ่ ยู่ในความดูแลของอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

3. นวัตกรรมเด่น
3.1 ชุดตรวจแอนติบอดีของโรคติดเชือ้ ไวรัสก่อโรค-19 (SARS-CoV-2) และกรรมวิธีการ
ผลิตชุดตรวจดังกล่าว คาขอเลขที่ 2001006931

คาอธิบาย : สามารถตรวจคัดกรองการติดเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ได้


อย่างรวดเร็ วใช้ เวลาในการตรวจ 15-20 นาที เป็ นการตรวจหา
แอนติบอดีตอ่ ตัวเชือ้ ไวรัสก่อโรค COVID-19 หรือเป็นการหาร่องรอย
ของการติดเชือ้ ไม่ใช่การหาตัวเชื้อโดยตรง จึงมีความเสี่ยงต่าที่ผู้ป่วย
จะแพร่เชือ้ สู่ผู้เก็บตัวอย่างและผู้ตรวจมีความคงตัวสามารถเก็บรั กษา
ได้ที่อุณหภูมิหอ้ ง ใช้ตัวอย่างในการตรวจปริมาตรน้อย ประมาณ 15-
20 ไมโครลิตร (2-3 หยด) ขั้นตอนการทดสอบไม่ยุ่งยาก

3.2 อุปกรณ์การผลิตกรดไฮโปคลอรัสด้วยวิธีทางเคมีไฟฟ้า เลขที่คาขอ 2003000935

คาอธิ บ าย : เป็ น เครื่อ งที่ ใ ช้ ผ ลิ ต น้ ายาฆ่ า เชื้ อ ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง มี


ความสามารถในการฆ่าเชื้อไวรัสสูงกว่าแอลกอฮอล์ สามารถฆ่าเชื้อได้ใน
ทุกสภาพพืน้ ผิว มีความปลอดภัยต่อผู้ใช้สูง ผลิตได้ทั้งโซเดียมไฮโปรคลอไรด์
และไฮโปคลอรัส สามารถผลิตน้ายาได้รวดเร็ว

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 97 -


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -97-
ส่ส่ววนทีนที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด
รายงานผลการด�าเนิ
เนินนงานของอธิ
าเนิ งานของอธิกการบดี
ารบดีแและที
ละทีมมบริ
บริหหารมหาวิ
ารมหาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์
ส่ส่ส่วววนที
นที ่ 2 รายงานผลการดาเนินนงานของอธิ
นที่่ 22 รายงานผลการดำเนิ
รายงานผลการดำเนินงานของอธิ
การบดีแและที
งานของอธิกการบดี
ารบดีและที
มบริหหารมหาวิ
ละทีมมบริ
บริหารมหาวิ
ทยาลัยยสงขลานคริ
ารมหาวิททยาลั
ยาลัยสงขลานคริ
นทร์
สงขลานครินนทร์
ทร์
ผูผู้้ปประกอบเด่
ระกอบเด่นนในปี ในปี 25632563
ผูผูผู้ป้ป้ป1.1.ระกอบเด่
ระกอบเด่
นายณัฐฐนวีวีในปี
นายณั
ระกอบเด่นนในปี
2563
บับัววแก้
แก้
ในปี 2563
วว บริ
2563
บริษษัทัท จีจีฟฟิินนน์น์ รัรับบเบอร์
เบอร์เเทค ทค จจากั ากัดด เป็
เป็นนผลิ ผลิตตภัภัณ
ณฑ์
ฑ์ถถุุงงเพาะช
เพาะชาย่ าย่ออยสลายได้
ยสลายได้
จากยางพารา
จากยางพารา และผลิ และผลิ 1.1. นายณั
นายณั ณฐวีฑ์
ตตภัภั ณ ฑ์ รรบัองเท้
วแก้ววาาโคจากยางพารา
องเท้ บริษษัทัท จีจีฟฟินินน์น์ รัรับบโดยผลิ
โคจากยางพารา เบอร์เเทค
โดยผลิ ตตภัภัณ จากั
ณ ฑ์นนดวัวัเป็ตตนกรรรมยางพารา
ฑ์ ผลิตตภัภัณณฑ์ฑ์ถถุงุงเพาะช
กรรรมยางพารา าย่อยสลายได้
ผ่ผ่าานการวิ
นการวิ จจััยยและ
และ
1. นายณัฐฐวีวี บับัววแก้ แก้ว บริ บริษัท จีฟินน์ รับเบอร์ เบอร์เทค ทค จำกั จำกัดด เป็ เป็นนผลิ ผลิตภัณฑ์ถุงเพาะชำย่ เพาะชำย่ออยสลายได้
ยสลายได้
จากยางพารา
พัพัฒ ฒนาจากคุ
นาจากคุณ
จากยางพารา ณและผลิสมบัตติิหหตลัลัภักกณฑ์ของยางพารา
สมบั ฑ์ รองเท้
ของยางพารา าโคจากยางพารา
ทีที่่ชช่่ ววยเสริ
ยเสริมมคุคุณ ณโดยผลิ ผลิตตตฑ์ภัภัภัณ
ค่ค่าาผลิ ณฑ์ฑ์
ณ ฑ์นใให้ห้วัตเเกิกิกรรรมยางพารา
ดดความแตกต่
ความแตกต่ าางจากผลิ ผ่านการวิ
งจากผลิ ตตภัภัจณ
ณัยฑ์
ฑ์และ
ใในน
จากยางพารา และผลิ และผลิตตภัภัณ ณฑ์รรองเท้ องเท้าาโคจากยางพารา
โคจากยางพารา โดยผลิ โดยผลิตตภัภัณ ณฑ์นนวัวัตตกรรรมยางพารา
กรรรมยางพารา ผ่ผ่าานการวิ นการวิจจัยัยและพั
และพัฒ ฒนา นา
พัท้ออฒงตลาด
ท้จากคุ นาจากคุ
งตลาด ณ สมบั ต ิ ห ลั ก ของยางพารา ที ่ ช ่ ว ยเสริ ม คุ ณ ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ เ กิ ด ความแตกต่ า งจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น
จากคุณ ณสมบั
สมบัตติหิหลัลักกของยางพาราของยางพารา ทีที่ช่ช่ว่วยเสริ ยเสริมมคุคุณ ณค่ค่าาผลิ
ผลิตตภัภัณ ณฑ์ฑ์ใให้ห้เเกิกิดดความแตกต่
ความแตกต่าางจากผลิ งจากผลิตตภัภัณ ณฑ์ฑ์ใในท้
นท้อองตลาด
งตลาด
ท้องตลาด

3. นายกรั ณย์ย์ ภัภักกดีดี บริ ษัท บนเมฆ จจจำกั ากั


ากัดดด เป็ นออกแบบและผลิ
ออกแบบและผลิ ตระบบบริ หารจั ดการองค์กกร
3.
3. นายกรั
นายกรัณ ณย์ ภักดี บริ บริษษัทัท บนเมฆ
บนเมฆ จำกั เป็ ออกแบบและผลิตตตระบบบริ
เป็นนออกแบบและผลิ ระบบบริ
ระบบบริหหหารจั
ารจั
ารจัดดการองค์
การองค์กร
ด้ด้วววยระบบสารสนเทศ
ยระบบสารสนเทศ
ยระบบสารสนเทศ 3. นายกรั ณย์ ภักดี บริ
ออกแบบและผลิ
ออกแบบและผลิ ษโปรแกรม
ัท บนเมฆและ
ตตตโปรแกรม จากัApplication
และ ดApplication
เป็นออกแบบและผลิ
ทีทีที่่เเ่เหมาะสมส ตระบบบริ
าหรั
หมาะสมสำหรั หารจัดตตการองค์
บบโรงงานอุ สาหกรรม กร
ยระบบสารสนเทศ ออกแบบและผลิตโปรแกรม และ Application ที่เหมาะสมสำหรับโรงงานอุตสาหกรรม
ออกแบบและผลิ โปรแกรม และ Application หมาะสมส าหรั โรงงานอุ สาหกรรม
ด้วยระบบสารสนเทศ
และธุ รกิจท่องเที่ย่ยวว เพื ออกแบบและผลิ
่อการบริหหารจั ตการที
ดการทีโปรแกรม และ Application
่มีระบบโดยการใช้ ที่เหมาะสมส
เทคโนโลยี สารสนเทศ าหรัคอมพิ
บโรงงานอุ
วเตอร์ ตซอร์
สาหกรรม
ฟแวร์
และธุรรกิกิจจท่ท่อองเที
งเที่ยว เพื เพื่อ่อการบริ
การบริหารจั ารจัดดดการที
การที่ม่ม่มีรีรีระบบโดยการใช้
ะบบโดยการใช้
ะบบโดยการใช้เเเทคโนโลยี
ทคโนโลยี
ทคโนโลยีสสสารสนเทศ ารสนเทศ คอมพิ
คอมพิวววเตอร์
ารสนเทศคอมพิ เตอร์
เตอร์ ซอร์
ซอร์ฟฟแวร์
แวร์
และธุรกิจท่ททอีี่เ่เกีกีงเที
เทคโนโลยี ย
่ ่วข้
ยวองเพื:่อการบริ
วข้ หารจั
เทคโนโลยี ส ดการที่มีรและระบบอิ
ารสนเทศ ะบบโดยการใช้น เทคโนโลยี
เตอร์ เน็ ต ไร้ สสายารสนเทศ คอมพิวเตอร์ ซอร์ฟแวร์
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง : เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบอินเตอร์เน็ตไร้สาย
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง : เทคโนโลยีสารสนเทศ และระบบอินเตอร์เน็ตไร้สาย

5.
5. ความเข้
ความเข้มมแข็ แข็งงด้ด้าานยางพารา
นยางพารา
5. ความเข้มแข็ งด้านยางพารา
มหาวิ
มหาวิททยาลัยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์ ทร์ พัพัฒ ฒนาองค์
นาองค์คความรู วามรู้้ททางด้ างด้าานยางพาราและยั
นยางพาราและยังงคงให้ คงให้คความส วามสาคั าคัญ ญกักับบ
ยางพาราในทุมหาวิ
ยางพาราในทุ ทยาลัยสงขลานคริ
กกกระบวนการตั
กระบวนการตั ้้งงแต่
แต่รระดั ะดันบบทร์ต้ต้นนพัน้น้ฒาานาองค์
กลางน้คาาวามรู
กลางน้ ้ทางด้านยางพาราและยั
และปลายน้
และปลายน้ าา เช่
เช่นน การคั การคัดดเลื เลืงออคงให้ กและปรั
กและปรัความสบบปรุ าคังงญพัพักันธุ
ปรุ นธุบ ์์
ยางพาราในทุ
ยางพารา
ยางพารา กกระบวนการตันน้ธุธุงแต่
การตรวจสอบพั
การตรวจสอบพั กก รรม
รรมระดั บการควบคุ
ต้นน้า กลางน้
การควบคุ า และปลายน้
มม โรคยางพารา
โรคยางพารา า เช่น การคั
การแปรรู
การแปรรู ปป ผลผลิ
ผลผลิ ดเลืตตอกและปรั
จากยางในรู
จากยางในรู บปรุปปงแบบ พั นธุ์
แบบ
ยางพารา
ผลิ
ผลิ ตตภัภัณ ฑ์ตตการตรวจสอบพั
ณฑ์ เพราะมีททีี่ต่ตงงั้ั้ นของ
่่าางง ๆๆ เพราะมี ของ ธุ ก รรม55 วิวิททการควบคุ
ยาเขตอยู
ยาเขตอยู่่ใในภาคใต้ ม โรคยางพารา
นภาคใต้ องค์คคการแปรรู
ซึซึ่่งงองค์ วามรู
วามรู้้เเหล่ หล่าาปนีนีผลผลิ
้้มมีีออยูยู่่พพตร้ร้จากยางในรู
มในมหาวิททปยาลั
ออมในมหาวิ แบบยย
ยาลั
ผลิยยตงแต่
เพี
เพี ภัณนนฑ์ามาเชื
งแต่ ต่าง ๆ่อ่อเพราะมี
ามาเชื มประสานให้
มประสานให้ ที่ตงั้ ของ 5 วิทยาเขตอยู
เเกิกิดดความเข้
ความเข้ มมแข็ ่ในภาคใต้
แข็งงมากขึ
มากขึ ซึ่งองค์ความรู
นน้้ ผ่ผ่าานคณะ/หน่
นคณะ/หน่ ววยงานต่
ยงานต่ ้เหล่าางงานีๆๆ้มอาทิ ีอยู่พเเช่ช่ร้นนอมในมหาวิทยาลัย
อาทิ
เพียงแต่นามาเชื 5.1่อมประสานให้ เกิดความเข้ มแข็งมากขึ น้ ผ่านคณะ/หน่วยงานต่ าง ๆ อาทิเช่นฒ นาองค์ ค วามรู้
5.1 สถาบั
สถาบั นน วิวิ จจัั ยย และพั และพั ฒ ฒ นานวันานวั ตต กรรมยางพารา
กรรมยางพารา เพื เพื่่ ออ การวิ
การวิ จจัั ยย และพั และพั ฒ นาองค์ ค วามรู้
นวั
นวั ตต กรรมทางด้
กรรมทางด้ 5.1 าาสถาบั น วิ จั ยรวมทั
นยางพารา
นยางพารา และพั้้ งง ถ่ถ่ฒาานานวั
รวมทั ต กรรมยางพารา
ยทอดเทคโนโลยี
ยทอดเทคโนโลยี ละการจัเพืดด่ อการต่
แแ ละการจั การวิาาจงงั ยๆๆและพั
การต่ ให้ กกัั บบฒเกษตรกร
ให้ นาองค์ ค วามรู
เกษตรกร และ ้
และ
นวั ต กรรมทางด้
ภาคอุ
ภาคอุ สาหกรรมา นยางพารา
ตตสาหกรรม พร้
พร้ออมทั
มทั้้งงผลิ ผลิตตรวมทั บับัณ
ณฑิฑิ้ งตตถ่ทีทีา่่มมยทอดเทคโนโลยี
ีีคความรู
วามรู้้แและสามารถน
ละสามารถน แ ละการจั
าความรู
าความรู ด การต่ างวิาชชงาการไปประยุ
้้ททางวิ ๆ ให้ กั บ เกษตรกร
าการไปประยุ นกและ
กกต์ต์ใใช้ช้ใในก าร
าร
ภาคอุ ตสาหกรรม
รายงานผลการด าเนินพร้ อมทั้งผลิกตารบดี
งานของอธิ บัณมฑิหาวิ ตทีท่มยาลั ีความรู ้และสามารถน
ยสงขลานคริ นทร์ (ตุาความรู
ลาคม 2561 ้ทางวิ ชาการไปประยุ
–พฤษภาคม 2563)กต์ใช้ใ-นก98าร
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 98
--
รายงานผลการด าเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 98
--98- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
รายงานผลการดำเนิ
รายงานผลการดำเนินนงานของอธิ
งานของอธิกการบดี
ารบดีมมหาวิ
หาวิททยาลั
ยาลัยยสงขลานคริ
สงขลานครินนทร์
ทร์ (ตุ
(ตุลลาคม
าคม 2561
2561 –พฤษภาคม
–พฤษภาคม 2563)
2563) -- 96
96 --
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

พัฒนาประเทศ ให้คาปรึกษาและส่งเสริมให้นักวิจัยของมหาวิทยาลัย ทางานวิจัยร่วมกับเอกชนในการจัดตั้ง


โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา มีฐานข้อ มูลที่เกี่ยวข้องกับยางพาราอย่างครบวงจร ทั้งในด้า นของการ
ปรับปรุงพันธุ์ยาง ไปจนถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยเป็นแหล่งของฐานข้อมูล วิจัย ศึกษาค้นคว้าข้อมูลวิจัยใน
แหล่งวิชาการต่าง ๆ วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลจัดทาข้อมูลเป็นระบบ รวมถึงการให้บริการตรวจสอบ
คุณภาพ และออกใบรับรองคุณภาพยางหรือผลิตภัณฑ์ยาง
5.2 วิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้มีความร่วมมือกับ
มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชิงเต่า (Qingdao University of Science and Technology, QUST)
และ Rubber Valley Group (RVG) Company ซึ่งเป็นบริษัทที่ทาการวิจัยผลิตภัณฑ์ยางล้อในมลรัฐชิงเต่า
ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจีน เพื่อ จั ด ทาหลั ก สู ตรวิศวกรรมศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิช าวิ ศวกรรมและ
เทคโนโลยี ย าง (หลั ก สู ต รนานาชาติ ) หลั ก สู ต รใหม่ พ.ศ. 2559 โดยร่ ว มกั น ผลิ ต บุ ค ลากรให้ กั บ
ภาคอุ ต สาหกรรมยางภายในประเทศไทยและระดั บ นานาชาติ หลั ก สู ต รมุ่ ง เน้ น การผลิ ต บั ณ ฑิ ต เพื่ อ
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางธรรมชาติโดยเฉพาะยางล้อ ยางเชิงวิศวกรรม และผลิตภัณฑ์ยางต่าง ๆ บัณฑิตจะ
มีทักษะภาษาอังกฤษและภาษาจีน มีความรู้ความเข้าใจในการสร้างนวัตกรรมและการเป็ นผู้ประกอบการ
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนแผนการเรียนแบบ 2+2 คือ เรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ในชั้นปีที่ 1 -2
(เรียนด้วยภาษาอังกฤษ) และเรียนที่มหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชิงเต่าในชั้นปีที่ 3-4 (เรียนด้วย
ภาษาจีน) จะได้ปริญญาบัตรสองใบ จากสองมหาวิทยาลัย นักศึกษาที่เรียนแผนการเรียนแบบ 4+0 เป็นการ
เรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ทั้ง 4 ปี (เรียนด้วยภาษาอังกฤษ) และจะมีการสอนภาษาจีนเพิ่มเติม
นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์การทางานจากการฝึกงานภาคฤดูร้อนในชั้นปีที่ 3 นักศึกษาสามารถเลือกเรียน
วิชาสหกิจศึกษาซึ่งเป็นการไปทางานที่ภาคอุตสาหกรรมเป็น เวลา 1 ภาคการศึกษา หรือเลือกทาวิจัยเพื่อ
พัฒนาตนเองด้านวิชาการและวิจัย หลักสูตรนีเ้ ป็นหลักสูตรวิศวกรรมยาง (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรเดียว
ในประเทศไทย ปัจจุบันมีนักศึกษาทั้งหมด 48 คน
5.3 ศูนย์ ความเป็ นเลิศด้านการวิจั ยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ จากน้ายางพาราสู่เชิ ง
พาณิชย์ ได้รับการสนับสนุนจาก ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เ ท ค โ น โ ล ยี เ พื่ อ พั ฒ น า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ช่ ว ย ใ ห้ ผิ ว ห น้ า ข า ว จ า ก ส า ร ส กั ด จ า ก น้ า ย า ง พ า ร า โ ด ย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นผู้ริเริ่มค้นคว้าวิจัยและพัฒนาสารสกัดจากน้ายางพารามาอย่างต่อเนื่อง จน
นาไปสู่ผลิตภั ณฑ์ที่ไ ด้รับการยอมรับ TCELS จึงได้พัฒนาจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและพัฒนา
เทคโนโลยีชี ว ภาพจากน้ายางพาราสู่เชิ งพาณิช ย์ เพื่อ ความคล่อ งตัว ในการประสานงานและการพั ฒ นา
โครงการอย่างต่อเนื่อง
5.4 ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ยางพารา ตั้งอยู่หน้าคณะเภสัชศาสตร์ ดาเนินการโดยทีมงานศูนย์
เครื่ อ งมื อ วิ ทยาศาสตร์ ให้ บ ริก ารทดสอบทางด้ า นยางและเครื่ อ งมื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง จ านวน 22 รายการ
ประกอบด้วย 1.เครื่องผสมยางแบบสองลูกกลิ้ง 2.เครื่องผสมยางแบบปิด 3.เครื่องอัดเป้า 4. เครื่องทดสอบ
ความนิ่มของยาง 5.ทดสอบความหนืดของยาง 6.ทดสอบการสุ กของยาง 7.ทดสอบการไหลของยางแบบ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 99


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -99-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Rubber Process Analyzer (RPA) 8.ทดสอบการกระจายตัวของสารตัวเติม 9.ทดสอบการกระเด้งของสารตัว


ยาง 10.ทดสอบความแข็ง 11.เครื่องผสมแบบปิดสาหรับการวิจัยขั้นสูง 12.ทดสอบความต้านทานต่อแรงดึง 13.
เบ้าพิมพ์ชิ้นทดสอบยางตามมาตรฐาน 14.เครื่องตัด ชิ้นทดสอบยางพร้อมมีดตัด ตามมาตรฐาน 15.ทดสอบ
สมบัติการบ่มเร่ง 16.ทดสอบสมบัติการต้านทานต่อโอโซน 17.ทดสอบความต้านทานต่อการหักงอ 18.ทดสอบ
ความหนาแน่น 19.ทดสอบความต้านทานของแรงกด 20.ทดสอบความหนา 21.ทดสอบการติดไฟ 22.เครื่อง
อัดเบ้ายางแบบมือโยก ให้บริการทั้งกับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ผู้ประกอบการขนาดเล็ก ทั่วทุกภาค
นักวิจัยทั่วประเทศ โดยสามารถส่งตัวอย่างการวิเคราะห์ทั้งทางไปรษณีย์ รถยนต์และขอรับผลทางอีเมลล โดย
ไม่ตอ้ งเดินทางเข้ามายังมหาวิทยาลัย
5.5 เครือข่ายนวัตกรรมยางพารา Rubber Innovation Network-RIN มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกับ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
โดยศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่ง ชาติ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และการยางแห่งประเทศไทย
ร่ว มกัน ลงนามในบันทึกข้อ ตกลงความร่ว มมือ เครือข่า ยนวั ตกรรมยางพารา ณ การยางแห่งประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ปี 2559 โดยมีวัตถุประสงค์สาคัญ เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงในรูปแบบของเครือข่าย
ระหว่างภาคส่วนหลักที่สาคัญของประเทศไทย ทัง้ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม ภาคราชการ และภาค
การศึกษาที่มีบทบาทในการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับยางพาราในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจและสังคม ด้าน
วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี และด้า นบุ ค ลากร และเมื่อ วั นที่ 27 พฤศจิก ายน 2562 ได้มี ก ารประชุ ม
คณะกรรมการดาเนินงานตามบันทึกข้อตกลงเครือข่ายนวัตกรรมยางพารา ครั้งที่ 2/2562 โดยภาคี 4 ฝ่าย
ได้แก่ การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) มหาวิทยาลัยสงขลา
นครินทร์ (ม.อ.) และ ศูนย์เทคโนโลยีโ ลหะและวัส ดุแห่งชาติ ส านักงานพัฒ นาวิทยาศาสตร์และเท คโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) ลงนาม MOU ต่ออายุอีก 3 ปี ในการนีไ้ ด้ติดตามโครงการทุนทายาทอุตสาหกรรมยางพารา
นาร่องเพื่อสร้างบุคลากรต้นแบบ ติดตามโครงการ Coaching พัฒนาบุคลากร ติดตามแผนการดาเนินงานใน
ระยะ 3 ปี (2562-2565) การจัดนิทรรศการในงาน Global Rubber, Latex & Tyre Expo 2020 (GRTE2020)
ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 11-13 มีนาคม 2563 เป็นต้น
5.6 ผลงานเด่นในรอบปี 2562-2563 ที่ผ่านมาเกี่ยวกับยางพารา
1) การผลิตนวัตกรรมการแปรรู ปยางพารามาเป็น อุปกรณ์ที่ช่ว ยด้านการจราจรและอานวย
ความปลอดภัยทางถนนที่ผลิตจากยางพาราเพื่อนามาใช้ประโยชน์ในหน่วยงานภาครัฐ เป็นหนึ่งในโครงการจะ
ช่ว ยเพิ่ม มู ลค่า ผลผลิตยางพาราและช่ ว ยยกระดั บราคาผลผลิตให้กั บเกษตรกร ซึ่งมหาวิทยาลั ยสงขลา
นครินทร์ลงนามความร่วมมือกับกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม และคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยได้
เข้ารับโล่ประกาศเกียรติคุณ ผู้สนับสนุนโครงการจาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12
มิถุนายน 2563
2) แผนธุรกิจวัสดุซับแรงกระแทกจากยางพารา โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับรางวัล
ชนะเลิศ การแข่งขัน เส้นทางนวัตวณิชย์ระดับประเทศ ประจาปี 2562 หรือ Research to Market : R2M

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 100


-
-100- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

Thailand 2019 เป็นการนาผลงานวิจัยและนวัตกรรมในสถาบันอุดมศึกษามาเป็นโจทย์ รับรู้ความต้องการของ


ตลาด ให้นักศึกษาทาแผนธุรกิจเพื่อเข้าประกวดจัดโดยสานักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมกิจการ
อุทยานวิทยาศาสตร์ (สอว.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมกับอุทยานวิทยาศาสตร์ในเครือข่ าย 14
มหาวิทยาลัย ซึ่งทีม เพนตากอน ของนัก ศึกษาคณะวิทยาการจัด การ มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ ได้รับ
รางวั ล ชนะเลิศ โดยทีม งานได้เสนอแผนธุ รกิ จการนาวั ส ดุ ซั บแรงกระแทก เพื่อ ผลิต หมวกกั นน็อ ค และ
สามารถผลิตสนับเข่า แผ่นรองกั นกระแทกของเด็ก และผู้สู งอายุ รองรับสั งคมสูงอายุ สามารถทาเป็นเชิ ง
พาณิชย์ได้
3) ยางหุ้มรองเท้าป้องกันเชือ้ โรค ผลงานของทีมวิจัยจากวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน
เป็นถุงยางหุ้มรองเท้าลักษณะคล้ายถุงเท้าเพื่อสวมทับรองเท้าอีกที ทาจากยางธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากความ
ตั้งใจของทีมงานที่ตอ้ งการเพิ่มมูลค่าให้กับยางพารา เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรอีกทางหนึ่ง และเพื่อเป็นการ
ทดแทนการใช้ถุงพลาสติก จากความตั้งใจเดิมที่ตอ้ งการจะผลิตผลิตภัณฑ์นี้สาหรับใช้ในห้องปฏิบัติการ และ
โรงงานอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมอาหารยา และเครื่องสาอาง เป็นต้น โดยมีแนวคิดในการทางานว่าต้อง
ป้องกันไม่ให้เชื้อโรค หรือสิ่งสกปรกจากรองเท้าปนเปื้อนเข้าไปสู่กระบวนการผลิต ก็คิดว่าจะใช้อย่างอื่นแทน
ถุงพลาสติก ที่ใ ช้ อ ยู่เดิม กระบวนการของความคิด ก็ ม าตกผลึก ที่ว่าต้อ งเป็ นวั ตถุ ดิบจากยางยางพารา ที่
สามารถตอบโจทย์การใช้งานได้จริง และยังเป็นวัตถุดิบที่มีในพื้นถิ่น ด้วยว่ายางพารามีคุณสมบัติในเรื่องของ
ความทนทาน สามารถนากลับมาใช้ซ้าได้ ที่สาคัญสามารถพ่วงในเรื่องของการลดปัญหาเกี่ยวกับขยะประเภท
พลาสติก และเมื่อวันที่ 16 เมษายน 2563 ที่ผ่านมาคณะนักวิจัยได้ทาการส่งมอบถุงคลุมรองเท้าป้องกันเชื้อ
โรคให้แก่โรงพยาบาลในพื้นที่จังหวัดสงขลา ได้แก่ โรงพยาบาลหาดใหญ่โรงพยาบาลนาหม่อม โรงพยาบาลจะ
นะ และโรงพยาบาลปาดั งเบซาร์ เพื่อ ให้บุค ลากรทางการแพทย์ นาไปใช้ ป้อ งกั น เพื่อ ความปลอดภั ยใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื่อไวรัส covid – 19 สาหรับแผนในอนาคต จะพัฒนาเป็นแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ซึ่งขณะนีอ้ ยู่ระหว่างการพัฒนา
4) ดาเนินการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ่านอุทยานวิทยาศาสตร์และการจับมือเอกชนพัฒนานวัตกรรม
ยางพารา ที่ผ่านมาได้จัดกิจกรรมลงนามความร่วมมือกับภาคเอกชน 3 บริษัทชั้นนาทางด้านยางพารา ได้แก่
บริษัท อินเตอร์แนชชั่นแนลรับเบอร์พาทส์ จากัด บริษัท รับเบอร์ไอเดีย จากัด บริษัท ศรี ตรังแอโกรอินดัสทรี
จากัด (มหาชน) บริษัท สิงหเสนี กรุ๊ป จากัด และ บริษัท แอทยีนส์ โกลบอล ลิงค์ จากัด เพื่อร่วมกันพัฒนา
ผลงานวิจัยนวัตกรรมด้านยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์ ออกสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เกิดประโยชน์
สูงสุ ดต่อประชาชน และการเติบโตอย่างยั่งยืนต่ อเศรษฐกิจของประเทศ ผลั กดั นการนาผลงานวิจัย ของ
มหาวิทยาลัยออกมาสู่การใช้ประโยชน์ ในมิติต่าง ๆ เช่น การขยายส่วนการผลิต การประชาสัม พันธ์ การ
วิเคราะห์ในเชิงการตลาด การพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของบุคลากรในอุตสาหกรรมยาง และการสหกิจ
ศึกษา ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
5) การศึกษาวิจัยโรคใบร่วงยางพารา จากสถานการณ์การระบาดของโรคใบร่วงยางพาราที่เริ่ม
สารวจพบตั้งแต่เดือ นตุลาคม 2562 ในไทยพบระบาดครั้งแรกในพื้นที่จังหวั ดนราธิวาส และยังพบในพื้น ที่
จังหวัดอื่น ๆ ได้แก่ ยะลา ตรัง พังงา ปัตตานี สุราษฎร์ธานี สงขลา กระบี่ และสตูล มีรายงานความเสียหาย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 101


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -101-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

จากโรคใบร่วงยางพารามากกว่า 100,000 ไร่ โรคนี้สามารถพบได้ในยางพาราตั้งแต่ระยะต้นกล้าในแปลง


เพาะชาจนถึงระยะในแปลงทุกช่วงอายุ สายพันธุ์ที่พบเป็นโรค ได้แก่ สายพันธุ์ RRIM 600, RRIT 251,PB 235
และ PB311 ซึ่งเข้าทาลายส่วนต่าง ๆ ของต้นยาง ได้แก่ ฝัก ใบ กิ่ งก้าน และหน้ากรีดยาง ฝักที่ถูกทาลายจะ
เน่าดา ค้างอยู่บนต้น ไม่แตก และร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งพักตัวของเชื้อ และที่สาคัญ ผลผลิต
ยางจะเริ่ม ลดลง ทีม วิจัยคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ ได้ลงไปส ารวจและเก็ บ
ตัวอย่างโรคใบร่วงยางพาราในพื้นที่จั งหวัดนราธิวาส มาวินิจฉัยถึงสาเหตุโรค ซึ่งสามารถแยกเชื้อและระบุ
ชนิดเชื้อสาเหตุโรค ด้วยการใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาและเทคนิคทางอณูชีววิทยาขั้นสูง โดยศึกษาถึงลาดับ
DNA ของเชื้อรา และเทียบเคียงฐานข้อมู ลนานาชาติ จนสามารถระบุช นิด เชื้อ ราที่ถูก ต้องได้ จากผลการ
ตรวจสอบในห้องปฏิบัติการพบว่า โรคใบร่วงยางพารา เกิดจากเชื้อราในสกุล Neopestalotiopsis จานวน 2
ชนิด คือ Neopestalotiopsiscubana และ N. formicarum ซึ่งนับเป็นรายงานแรกของโลกที่รายงานว่าเชื้อทั้ง 2
ชนิดนี้ ก่อให้เกิดโรคดังกล่าว และเนื่องจากเป็นโรคที่อุบัติใหม่ แนวทางการป้องกันยังไม่ชัดเจน จึงไม่สามารถ
คาดเดาสถานการณ์ได้ว่าโรคดังกล่าวจะสิน้ สุดเมื่อใด แต่สิ่งที่กังวลคือการเข้าทาลายพืชเศรษฐกิจชนิดอื่น ๆ
ดังนั้น การที่เราระบุชนิดของเชื้อราให้ถูกต้องก็จะสามารถหาแนวทางการควบคุมที่เหมาะสมได้ โดยงานวิจัยนี้
ได้รับการตอบรับตีพิ มพ์ล งในวารสารทางด้านโรคพืชระดับนานาชาติ และขณะนี้ทีมวิจัยได้พยายามศึกษา
สารเคมีกาจัด เชื้อราที่มีในประเทศมาใช้งาน เพราะโรคดังกล่า วเป็นกลุ่มของเชื้อ ราโรคพืช ดั งนั้น สารเคมี
กาจัด เชื้อราที่มีข ายในท้องตลาดบางชนิดสามารถควบคุ มได้ เช่น สารเคมีกาจัดเชื้อราประเภทดูดซึ มชนิด
cabendazim และสารเคมีประเภทสัมผัสชนิด captan, mancozeb หรือ propineb โดยใช้ตามอัตราแนะนาที่ระบุ
ไว้ ในเบือ้ งต้นสารดังกล่าวสามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อราโรคพืชชนิดนี้ได้ โดยไม่ต้องนาเข้าสารเคมีจาก
ต่างประเทศที่มีราคาแพงและอาจมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน และในอนาคตทีมวิจัยต้องการศึกษาการใช้สาร
ดังกล่าวในสภาพแปลงจริง เพื่อหาคาแนะนาที่ถูกต้องสาหรับเกษตรกรต่อไป
6) ผลิต ภั ณ ฑ์ ย างพาราสงขลานคริ นทร์ ช่ ว ยสถานการณ์โ ควิ ด -19 สถาบั นวิ จัยและพั ฒนา
นวัตกรรมยางพารา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้มีความร่วมมือกับภาคเอกชนในการผลิต นวัตกรรมเพื่อช่วย
สนับสนุนทุกภาคส่วนในการป้องกันเชือ้ โควิด-19 จากยางพาราธรรมชาติ หลากหลายชนิด อาทิ
- กาวว่องไวต่อการกด เป็นเทคโนโลยียางเพื่อใช้ในทางการแพทย์ที่พัฒนาขึ้นมานานแล้ว
จากนักวิจัยคณะแพทยศาสตร์ เภสัชศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สามารถติดบนผิวหนังมนุษย์ได้ ลอกออกได้โดยไม่
ทิง้ คราบกาว โดยนาข้อด้อยของยางพารา คือ ความเหนียว นามาใช้เป็นข้อเด่น ถ้ายิ่งกดแรง ก็ยิ่งติด ไม่เลื่อนหลุด
ซึ่งแนวคิดในการพัฒนานวัตกรรมนี้ เกิดจากการใส่หน้ากากอนามัยนาน ๆ จะเจ็บที่บริเวณใบหู วัสดุที่พัฒนาขึ้น
สามารถติดเพื่อป้องกันการเสียดสีได้ดี เดิมออกแบบให้เป็นรูปหู และนามาประยุกต์ใช้ที่โรงพยาบาล ใช้หลังผ่าตัด
ป้องกันแผลกดทับ สาหรับสายสวน สายออกซิเจน แต่ในวิกฤตนีไ้ ด้ผลิตแจกจ่ายไปยังประชาชนทั่วไป เพื่อป้องกัน
แผลกดทับจากการสวมหน้ากาก
- ยางปั้นได้ เป็นยางที่สามารถปั้นได้เมื่อเจอความร้อนจะแข็ง ถ้าไปใส่ในน้าร้อน จะนุ่มเหมือนดิน
น้ามัน สามารถนาไปประยุกต์เป็นอะไรก็ได้ เช่น สายคาดหน้ากากอนามัย หรือจะปั้นให้เพื่อประกอบกับดินสอ

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 102


-
-102- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

ปากกาสาหรับใช้กดปุ่มต่าง ๆ ซึ่งต่อ ยอดจากแนวคิดที่ใช้พิสูจน์หลักฐาน ไว้ลอกลายนิว้ มือผู้เสียชีวิต สามารถทา


เป็นรูปร่างอย่างไรก็ได้ โดยวัสดุชนิดนีป้ ัจจุบันมีจัดจาหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดย บริษัท วอนนาเทค จากัด
- ถุงมือเคลือบเงินขนาดอนุภาคนาโนที่ได้จากสมุนไพร โดยนาถุงมือยางมาเคลือบสารสกัดที่ได้จาก
สมุนไพร สารสกั ดดังกล่าวจัดทาโดย ศ.ดร.ศุภยางค์ วรวุฒิคุณชัย มีผลในการยับยั้งเชื้อที่ดี ถุ งมือยางที่ผ่าน
กระบวนการเคลือบสารดั งกล่าวจึงสามารถต้านเชื้อโรคได้ดีและนานกว่าถุงมือทั่ ว ๆ ไป ผลงานชิ้นนี้ได้ผ่าน
กระบวนการ จดสิทธิบัตรแล้ว และอยู่ในกระบวนการทดลองการขยายส่วนการผลิตกั บกระบวนการผลิตจริง
ร่วมกับบริษัทเอกชนผู้ผลิตถุงมือยาง
- ถุงนิว้ ผลิตจากยางพารา ถูกพัฒนาขึน้ ในห้องปฏิบัติการคณะวิทยาศาสตร์ โดย ดร.ชวนพิศ ขาว
คง เพื่อลดความเสี่ยงจากการที่ตอ้ งใช้สิ่งของร่วมกัน เช่น ในสานักงาน ถุงนีว้ อาจเป็นหนึ่งในอุปกรณ์ที่ต้องพกติด
ตัวในอนาคตกับ New Normal หลังวิกฤตการณ์น้ี
- ยางรัดหน้ากากอนามัย โดยได้นาองค์ความรู้ของนักวิจัยเสนอแนะให้โรงงานที่ผลิตยางรัดของ
เดิมทาเป็นยางรัดของธรรมดา ประยุกต์ให้รับการจัดทาหน้ากากอนามัย ทาการเปลี่ยนสูตรและไลน์การผลิตเพื่อ
ทาให้ยางนิ่ม และขนาดวงที่ใหญ่ขึ้น ผลิตภัณฑ์ยางที่พัฒนาขึน้ 1 กิโลกรัม จะได้ยางพร้อมใช้ประมาณ 1,000 เส้น
(สาหรับราคาที่โรงงานจาหน่าย กก.ละ 100 บาท) สถาบันวิจัยและนวัตกรรมยางพารา ร่วมกับ บริษัท ไทยชวนรับ
เบอร์ จากัด ได้แจกจ่าย ยางรัดหน้ากากอนามัยให้กับ ศูนย์บรรเทาและการช่วยเหลือช่วงสถานการณ์โควิด -19
ระบาด มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตปั ตตานี วิทยาเขตสุ ราษฎร์ธานี อุ ทยาน
วิทยาศาสตร์ สภากาชาดสงขลา อบต.โคกเคียน จ.พั งงา โดยมีทั้งจาหน่าย และแจกจ่ายไปทั่วประเทศ แล้ว
มากกว่า 80 ก.ก. คาดว่าจัดทาหน้ากากผ้าแล้ว ประมาณ 40,000 ชุด
นอกจากนีย้ ังมีผลิตภัณฑ์ยางพาราต่าง ๆ อีกมากมาย จากภาคส่วนพันธมิตรที่ผ่านการบ่มเพาะกับ
ทางสถาบันวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางพารา ที่พร้อมนาสินค้าจากยางพาราไปใช้ประโยชน์ในวิกฤตการณ์น้ี เช่น
ถุงมือแม่บ้าน จากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนด่านประกอบ นาทวี รองเท้าบูธ จากกลุ่มสหกรณ์การเกษตร รัตภูมิ และ
กลุ่มสินค้าโฟมยางต่าง ๆ ที่เหมาะอย่างยิ่งกับการ work from home จากอีกหลาย ๆ กลุ่ม เป็นต้น

6. การดาเนินงานทางด้านอาหาร
หน่วยงานที่ดาเนินภารกิจที่สาคัญด้านอาหาร
6.1 สถาบันวิจัยและนวัตกรรมอาหาร เป็นหน่วยงานย่อยภายใต้สานักวิจัยและพัฒนา บูรณาการ
องค์ความรู้ทางด้านวิช าการที่หลากหลายครบวงจรจากงานวิจัยสู่ก ารถ่ายทอดเทคโนโลยีใ ห้แก่ชุ มชนและ
ผู้ประกอบการทุก ระดับ มีการสร้า งระบบการตรวจสอบคุ ณภาพผลิตภั ณฑ์ อาหารและความปลอดภัยให้
สามารถรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ท่มี ีการยอบรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ เชื่อมโยงให้เกิดการวิจัยและ
พัฒนาต่อยอดเพื่อให้เกิดการนาผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ร่ วมกับผู้ประกอบการในการสร้าง
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์อาหารให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลกที่สาคัญ กว่านั้นคือมีการพัฒนาศักยภาพของ
ผู้ประกอบการให้มีความรู้ และสามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ดา้ นเทคโนโลยี กระบวนการผลิต ระบบมาตรฐาน
คุณภาพ ความปลอดภัยของอาหาร การสร้างนวัตกรรมอาหาร และช่องทางการตลาดทั่วโลก

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 103


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -103-
ส่ส่ววนที
นที่ ่ 22 รายงานผลการดำ
รายงานผลการด�าเนิ
เนิ นงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

6.2 ศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล เป็นหน่วยงานภายในภาควิชาวิทยาศาสตร์การอาหารและ


โภชนาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เริ่มดาเนินการ มาตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2546 ภายใต้ชื่อโครงการ
“การให้บริการ วิเคราะห์ วิจัยและพั ฒนาผลิตภั ณฑ์อ าหารฮาลาล จ.ปั ตตานี ” เพื่อตอบสนองต่อนโยบาย
รัฐบาลที่ได้กาหนดให้มี “ยุ ทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล” ของประเทศ บูรณาการการ
ทางานร่วมกันกับสานักงานสาธารณสุขจังหวัด อุตสาหกรรมจังหวัด คณะกรรมการอิสลามประจาจังหวั ด
และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย จนกระทั่งในปี 2553 ได้ปรับเป็น “โครงการ
จัดตั้งศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล” มีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนผู้ประกอบการผลิตอาหารฮาลาลในพื้นที่
จังหวั ด ชายแดนภาคใต้ใ ห้ส ามารถพั ฒ นาผลิตภั ณฑ์ และสถานที่ผ ลิตอาหารเป็ นไปตามมาตรฐาน GMP,
HACCP-HALAL ให้ บริก ารตรวจวิเคราะห์ คุณภาพอาหารตามมาตรฐานสากล มาตรฐานอุ ตสาหกรรม
มาตรฐานผลิต ภัณฑ์ชุมชน และตามข้อกาหนดในประเทศกระทรวงสาธารณสุข วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
อาหารฮาลาลที่สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่และตลาดเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการผลิต
อาหารแก่ผู้ประกอบการและกลุ่มผู้สนใจในพื้นที่
โรงงานแปรรูปอาหาร ปี พ.ศ.2558 ศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล ได้ปรับแต่งอาคารสถานที่ผลิต
เปลี่ยนเครื่องจักรที่ใช้เพื่อการสอนนักศึกษามาเป็นใช้เพื่อการผลิตอาหาร และได้จัดทาเอกสารตามหลัก GMP
(Good Manufacturing Practice) เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการรายใหม่ จากนั้นจึงขออนุญาตผลิตอาหาร สเต
อริไลส์ (อาหารกรดต่า) ในปี พ.ศ.2559 ซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นโรงงานผลิตอาหารและเครื่องดื่มในภาชนะ
บรรจุปิดสนิท และในปี 2561 ได้รับอนุญาตให้เพิ่มชนิดอาหาร ได้แก่ ชา และอาหารกึ่งสาเร็จรูป ต่อมาได้
พัฒนาโรงงานแปรรูปอาหาร และได้ทาการขอ Certified GMP โดยให้บริษัทรับรองระบบมาประเมินตรวจสอบ
(audit) ทั้งการผลิตและระบบเอกสารต่าง ๆ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 349 เรื่องวิธีการผลิต
เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทที่มีความเป็นกรดต่า และ
ชนิดปรับกรด ในขอบข่ายการผลิต 4 ขอบข่าย คือ อาหารในภาชนะที่ปิดสนิท เครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปิด
สนิท ชา และอาหารกึ่งสาเร็จรูป ซึ่งในวันที่ 22 เมษายน 2562 โรงงานแปรรูปอาหาร ได้ผ่านการประเมิน
GMP ด้วยคะแนน 90.03% ปัจจุบันมีผู้ประกอบการรายใหม่ (start up) มาขอรับบริการให้คาปรึกษาและขอ
ผลิตอาหารสเตอริไลส์ จากศูนย์วิทยาศาสตร์อาหารฮาลาล จานวน 15 ราย ซึ่งได้รับเลขสารบบอาหารแล้ว
ได้แก่ รั งนกในน้าเชื่อ ม ไก่ก อและ ขาแพะกอและ แกงแพะ ชานม น้าแกงพะแนงส าเร็จรู ป น้าแกงมัส มั่ น
สาเร็จรูป น้าแกงเขียวหวานสาเร็จรูป แกงกะหรี่ กรือโป๊ะสด แกงเนื้อ เป็นต้น และผู้ประกอบการรายใหม่อีก
13 ราย ได้แก่ ผู้ประกอบการแกงน้าเคยยอดหวาย คั่วกลิ้งไตปลา แกงไตปลา น้าแกงกะหรี่ น้าแกงต้มยา
น้าปลาหวาน เครื่องแกงต้มยาปลาทู ไก่ย่างสาหร่าย ข้าวหมกอาหรับ และน้าจิ้มซีฟู้ด อยู่ในขั้นตอนการวิจัย
และพัฒนาผลิตภัณฑ์ และกาลังรอจดทะเบียนเลขสารบบอาหาร
ผลิตภั ณฑ์ จากโรงงานสเตอริไลส์อ าหาร ร่ว มนาเสนอสินค้าในงาน HAPEX 2018 เมื่อ วันที่ 23
กรกฎาคม 2561 งานแสดงสินค้าและงานประชุมสัมมนานานาชาติด้านฮาลาล ปี 2561 (World HAPEX 2018)
ที่จัดขึน้ เมื่อวันที่ 12 -16 กรกฎาคม 2561 ทางโรงงานสเตอริไลส์อาหาร มีผลิตภัณฑ์ไปนาเสนอ 2 ผลิตภัณฑ์
ได้แก่ แกงกะหรี่แพะ ตราอามา และแกงกะหรี่เนือ้ แพะ ตราอามา
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 104
-
-104- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ร่วมกับ หอการค้าไทย และโคโลญเมสเซ่ ประเทศเยอรมนี จัด


งาน THAIFEX – World of Food Asia ซึ่งเป็นการจัดงานแสดงสินค้าอาหารและเครื่องดื่มนานาชาติที่ใหญ่ และ
ครบวงจรที่สุดในเอเชีย ในงานดังกล่าวมีผลิตภัณฑ์จากโรงงานสเตอริไลส์อาหาร ของคณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลั ย สงขลานคริน ทร์ ซึ่งได้รับ การรั บรองจากคณะกรรมการอาหารและยา ให้กั บ
ผู้ประกอบการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เข้าร่วมแสดงในงานดังกล่าว อาทิ แบรนด์ AMA ผลิตภัณฑ์แกงกะหรี่
แพะ แกงกะหรี่เนื้อ และน้าแกงสาหรับทานกับโรตี เจ้าของรางวัล SME Provincial Champions แบรนด์ Thai
Delish ผลิตภัณฑ์น้าแกงสาเร็จรูป สูตรเครื่องแกงนครศรีธรรมราช แบรนด์ HANA ข้าวหอมกระดังงาชนิดแท่ง
และแบรนด์สาเภาทอง ผู้ผลิตเครื่องแกงปักษ์ใต้ และเครื่องแกงไทย การแสดงสินค้าจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 28
พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2562 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร
6.3 สถาบันฮาลาล จัดตั้งขึน้ ตามมติที่ประชุมสภาหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในคราวประชุมครั้ง
ที่ 318 (7/2552) เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2552 เป็นหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อผลักดัน
ให้เกิดการขยายตัวของธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมอาหาร สินค้าและบริการตามมาตรฐานฮา
ลาล ด้วยกระบวนการวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและธุรกิจการผลิตอุตสาหกรรมฮาลาล
ช่ว ยส่งเสริม ให้เกิ ด ความพร้อ มแบบครบวงจรในด้า นอุตสาหกรรมฮาลาล รวมทั้งการพั ฒ นาความรู้ด้า น
มาตรฐานฮาลาลที่เกี่ยวข้องกับอาหาร และผลิตภัณฑ์ รวมถึงระบบโลจิสติกของผลิตภัณฑ์ฮาลาลและการ
ให้บริการตามมาตรฐานฮาลาลในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ภัตตาคาร โรงแรม และโรงพยาบาล ส่งเสริม
การใช้กระบวนการพัฒนาระบบคลัสเตอร์ในการส่งเสริมการพัฒนาระบบอุตสาหกรรมฮาลาลไปสู่เป้าหมาย
เชิงธุรกิจมากยิ่งขึ้น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ ส่งเสริมภาวะเศรษฐกิจของชุมชนให้ดี
ยิ่งขึน้ และสามารถช่วยพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ให้มีการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม การท่ องเที่ยว
การศึกษาและสภาพชุมชนเจริญยิ่งขึ้น ซึ่งช่วยให้ประชาชนมีงานทาและมีรายได้สูงขึ้น รวมทั้งส่งเสริมความ
เชื่อมั่นของผู้บริโภคในโลกมุสลิมที่มีตอ่ ผลิตภัณฑ์อาหาร สินค้าและบริการตามมาตรฐานฮาลาล และการให้
การรั บ รองม าตรฐานฮาลาลขอ งไทย นอ กจากนี้ เ พื่ อ รองรั บ เศรษฐกิ จเสรี อ าเซี ย น ปี 2558
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสานักงานคณะกรรมการกลาง
อิสลามแห่งประเทศไทย และแถลงข่าวเปิดตัวนวัตกรรมชุดทดสอบการปนเปื้อนสุกร (PORCINE TEST KIT) วัน
อาทิ ต ย์ ที่ 4 ตุ ล าคม 2563 ณ ศู น ย์ ประชุ ม นานาชาติ ฉ ลองสิ ริ ราชสมบั ติ ครบ ๖๐ ปี โดยมี ส มาพั น ธ์
คณะกรรมการอิสลามประจาจังหวั ด 15 จั งหวัด ภาคใต้เป็นสัก ขีพยานในความร่ว มมือ ดังกล่าว พร้อมทั้ง
สาธิตการใช้งานชุดทดสอบ ผู้เข้าร่วมในครั้งนี้ อาทิ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บุคลากรสถาบันฮา
ลาล อุทยานวิทยาศาสตร์ และ สานักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ คณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง
ประเทศไทย สมาพั นธ์คณะกรรมการอิ ส ลามประจาจั งหวั ด 15 จั งหวั ด ภาคใต้ นัก วิช าการด้า นฮาลาล
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม หน่วยงานภาครัฐ สื่อมวลชน ตลอดจนผู้ประกอบการสินค้าฮาลาล
6.4 ผลงานสาคัญด้านอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีพันธกิจหลักในการนาองค์ความรู้ทาง
วิชาการ ผลงานวิจัย ความเชี่ยวชาญของบุคลากร โดยเฉพาะในด้านเกษตรและอาหาร รวมทั้งสาขาที่เกี่ยวข้องกับ
อุตสาหกรรมอาหารใน 3 วิทยาเขตหลัก (วิทยาเขตหาดใหญ่โดยคณะอุตสาหกรรมเกษตร วิทยาเขตปัตตานีโดย
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 105
-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -105-
รายงานผลการด�าเนิ
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดำ เนินงานของอธิการบดีและทีมบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวิทยาเขตสุราษฎร์ธานีโดยโครงการจัดตั้งคณะนวัตกรรมการเกษตรและ
ประมง) ถ่ ายทอดสู่ชุ มชน และอุ ตสาหกรรมอย่างครบวงจร เพื่อสนั บสนุ นช่วยเหลือผู้ประกอบการทุ กระดั บ
รวมทั้งสนับสนุนการวิจัยพัฒนาอย่างบูรณาการของนักวิจัยหลากหลายสาขาเพื่อนาไปสู่การยกระดับคุณภาพ
และความปลอดภัยของอาหาร พร้อมทั้งสร้างนวัตกรรมที่เพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์อาหารให้เกิดการแข่งขันได้
ทางการตลาด สรุปการดาเนินงานที่สาคัญในรอบการดาเนินงานที่ผ่านมา ได้แก่
(1) รับรางวั ลด้า นทรัพย์สินทางปั ญญา (IP Awards) ประจาปี 2562 ในงาน SPARK STSP
Innovation Fair 2020 เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 ณ อาคารอานวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ ม.อ. ผู้
ได้รับรางวัลได้แก่ รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านทรัพย์สินทางปัญญาศาสตราจารย์ ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล และ
รางวัลผู้ประดิษฐ์ที่มีจานวนผลงานทรัพย์สนิ ทางปัญญา ได้รับการอนุญาตใช้สิทธิสูงสุ ด ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.ปุณณาณี สัมภวะผล
(2) นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์และวัสดุ คณะอุตสาหกรรมเกษตร ได้รับรางวั ล
ระดับชาติจากการประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย ประจาปี 2563 (ThaiStar Packaging Awards 2020) เป็นการ
ประกวดออกแบบบรรจุภัณฑ์ระดับสถาบันอุดมศึกษา ภายใต้หัวข้อ บรรจุภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน (Sustainable
Packaging) ผลงานของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลจานวน 4 รางวัล ดังนี้ รางวัลที่ 1 ต้นแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการ
จาหน่าย ได้แก่ นางสาวจิราพรรณ มีแย้ มและนางสาวจินต์ศุจี ชีวธรรมกุล รางวัลชมเชยลาดับที่ 1 ต้นแบบ
บรรจุภัณฑ์เพื่อการจาหน่าย ได้แก่ นายธกร กาเหนิดผล รางวัลชนะเลิศการออกแบบบาร์โค้ดบรรจุภัณฑ์เพื่อ
การจาหน่า ย ได้แก่ นางสาวนิษฐปิยากร ยิ่งจาเริญ ศาสตร์ รางวั ลการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ เป็ นมิตรกั บ
สิ่งแวดล้อม ได้แก่ นายธกร กาเหนิดผล โดยผลงานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ทงั้ 3 ชิ้นที่ได้รับรางวัล ยังได้รับสิทธิ์
เป็นตัวแทนประเทศไทยส่งผลงานเข้าประกวดในระดับ AsiaStar Packaging Awards 2020 และ WorldStar
Packaging Awards 2020
(3) รศ.ดร.วิโ รจน์ ยู รวงศ์ คณบดีค ณะอุ ต สาหกรรมเกษตร หัว หน้า โครงการ Gastronomy
Tourism: Krabi Gastronomy และทีมงาน ได้ประชุม ร่วมกลุ่ม (Focus Group) ในวันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม 2563
ณ โรงแรมมาริไทม์ ปาร์ค แอนด์ สปา รีสอร์ท จังหวัดกระบี่ ในหัวข้อโครงการ Gastronomy Tourism: Krabi
Gastronomy “กระบี่-มรกตแห่งอันดามัน” โดยมีส่วนราชการที่เกี่ยวข้องภายในจังหวัด ภาคการศึกษา และ
ภาคเอกชน ร่วมประชุม เพื่อนาเสนอกิจกรรมการดาเนินงานการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัด
กระบี่ดว้ ยการสร้างสรรค์และพัฒนาอาหารที่มีเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และคุณภาพมาตรฐานสากล เพื่อดึงดูด
นักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศเพิ่มขึ้น ตลอดจนเกิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอาหารของจั งหวั ดกระบี่
ตอบสนองความต้องการประสบการณ์การท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ โดยผ่านกิจกรรมในแต่ละโครงการย่อยของ
โครงการ Krabi Gastronomy ยังมีก ารศึกษาดูงานในสถานที่ที่เกี่ ยวข้องกับโครงการ Krabi Gastronomy
จานวน 3 พื้นที่ ได้แก่ 1) พื้นที่เกาะศรีบอยา 2) บริษัท ศิริคุณ กระบี่ จากัด และ 3) โครงการอาหารพืน้ บ้านใต้
อย่า งมีคุณภาพ ต.คลองขนาน อ.คลองท่อม จ.กระบี่ เพื่อเป็นการรับทราบ และรวบรวมข้อมู ลประเด็น ที่
เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานโครงการ Krabi Gastronomy ในพืน้ ที่เป้าหมาย

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 106


-
-106- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 2 รายงานผลการดส่าเนิ
วนทีนงานของอธิ การบดีและที
่ 2 รายงานผลการดำ�เนินมงานของอธิ
บริหารมหาวิ ทยาลัแยละที
การบดี สงขลานคริ นทร์ ทยาลัยสงขลานครินทร์
มบริหารมหาวิ

(4) คณะอุตสาหกรรมเกษตรร่วมพิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือ ด้ านวิชาการกั บหน่ว ยงาน


ต่าง ๆ เช่น (1) บริษัท ซีเฟรชอินดัสตรี จากัด (มหาชน) จ.ชุมพร เพื่อความร่วมมือในการจัดการศึกษาเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ ผลิตกาลังคนให้มีทักษะ ความสามารถ สอดคล้องกับภาระกิจของสถานประกอบการ
ซึ่งเน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง แบบ Work Integrated Learning. (2) องค์การส่งเสริมกิจการโคนม
แห่งประเทศไทย(อ.ส.ค) โดยกาหนดความร่วมมือกัน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านวิชาการ (การเรียนการสอน) ด้าน
งานวิจัย และด้า นพัฒนาบุคลากร พร้อมทั้งได้ร่ว มแลกเปลี่ยนข้อ มูลองค์กรระหว่างกันเพื่อกาหนดทิศทาง
ร่วมมือและการขับเคลื่อนตาม MOU (3) บริษัท สยามแม็คโคร จากัด (มหาชน)

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 –พฤษภาคม 2563) - 107


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -107-
ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำ�เนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)

ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็น
เลิศ (EdPEx) ประจาปีการศึกษา 2562

มหาวิทยาลั ยสงขลานครินทร์ รับการประเมินคุ ณภาพภายในระดั บมหาวิทยาลั ยตามเกณฑ์


คุณภาพเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) ปีการศึกษา 2562 ระหว่างวั นที่ 31 สิงหาคม - 1 กันยายน
2563 ได้นาเสนอต่อที่ประชุมทีมบริหารมหาวิทยาลัย วันที่ 14 กันยายน 2563 เพื่อพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ
และแจ้งต่อที่ประชุม คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย (ก.บ.ม.) วั นที่ 15 กั นยายน 2563 และที่ประชุ ม
คณะกรรมการยุทธศาสตร์และสารสนเทศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ประชุมเพื่อพิจารณาข้อเสนอแนะ
ของคณะกรรมการประเมินฯ และกาหนดแผนในการพัฒนาคุณภาพ ที่สาคัญ ได้แก่ แผนทบทวนกระบวนการ
วางแผนกลยุทธ์และการติดตามแผน แผนพัฒนาความเข้มแข็งของ PSU System แผนพัฒนาการประเมินผล
การปฏิบัติงานของบุคลากร (Performance Management System) แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน (Business Continuity
Plan) แผนประเมินและควบคุมต้นทุนการปฏิบัติการโดยรวม แผนพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ และจาก
รายงานการตรวจประเมิน Feedback Report ได้เสนอบทสรุปผู้บริหาร และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ตาม
ประเด็นดังนี้
ข้อสังเกตในภาพรวม
1) มหาวิทยาลัยมีการดาเนินการมาอย่างต่อเนื่องกว่า 50 ปี เพื่อเป็นกลไกหลักในการพัฒนา
ภาคใต้และประเทศ ที่ผ่า นมาประสบความส าเร็ จในหลายด้านจนมีภ าพลั ก ษณ์ที่โ ดดเด่น มีบุคลากรที่มี
ศักยภาพสูงที่กระจายอยู่ตามวิทยาเขต/คณะ/หน่วยงานต่าง ๆ มีความได้เปรียบในการตั้ งอยู่ในภูมิภาคที่เป็น
แหล่งทรั พยากรทั้งทางทะเลและทางบก มีความหลากหลายทางวั ฒ นธรรมและทรั พยากร ซึ่งหากมีก าร
กาหนดทิศทางและกลยุทธ์ที่เฉียบคม และมีการนาไปสู่การปฏิบัติโดยมีการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยอย่าง
จริงจัง ก็จะมีโอกาสที่จะประสบความสาเร็จยิ่งขึ้นในการสร้างความเข้มแข็ งให้แก่ประชากรในภาคใต้และ
ประเทศ
2) มหาวิทยาลัยมีความเป็นเอกลักษณ์ในเรื่องของ PSU System และมีค่านิยมหนึ่งคือ Unity ซึ่ง
หากสามารถทาให้เกิดการประสานงานกันได้อย่างแท้จริง มีการสื่อสารและร่วมมือกันมากขึ้น และขับเคลื่อน
มหาวิทยาลัยไปในทิศทางเดียวกันตั้งแต่ ในระดับผู้บริหารของมหาวิทยาลัยที่รับผิดชอบงานด้านต่าง ๆ ลด
ขอบเขต (Boundary) ของการทางานเฉพาะพันธกิจที่รับผิดชอบ มีการใช้และบูรณาการศักยภาพของแต่ละ
วิทยาเขต เพื่อลดความซ้าซ้อนของหลักสูตรและการทางาน และเสริมจุดเด่นของมหาวิทยาลั ย อาจช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางานของมหาวิทยาลัยได้มากขึน้
Process strength
1) มหาวิทยาลัยดาเนินการด้านการสนับสนุนชุมชนที่สาคัญในภาคใต้ โดยใช้สมรรถนะหลักของ
มหาวิทยาลัยด้านความสามารถในการดาเนินงานในสังคมพหุวัฒนธรรม ความเชี่ยวชาญในด้านทรัพยากรทาง

รายงานการประเมินตนเองของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -


106-

-108- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำ�เนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)

ทะเล และพืชเศรษฐกิจหลักของภาคใต้ มาสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนรวมถึงการบูรณาการกับงานวิจัย


เพื่อ แก้ ปัญ หาในพื้นที่ บางโครงการได้ส่งเสริม ให้เกิ ด การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สั งคม และสุ ข ภาวะในชุ ม ชน
เป้าหมาย ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงความมุ่งมั่นต่อการดาเนินการในการเป็นองค์กรหลักในการพัฒนาภาคใต้ตาม
วิสัยทัศน์
2) มหาวิทยาลัยแสดงถึงการดาเนินงานที่มุ่งเน้นผู้เรียน โดยมีกระบวนการรับฟังความต้องการ/
ความคาดหวังของผู้เรียนและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย ใช้มาตรฐานระดับนานาชาติ เช่น AUN-QA,WFME มาพัฒนา
หลั ก สู ต รและการจั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ มี ก ารพั ฒ นาและก า หนดสมรรถนะของอาจารย์
มหาวิทยาลั ยสงขลานคริ นทร์ (PSU-TPSF) รวมถึงการออกแบบกระบวนการจั ดการศึก ษา และติด ตาม
ปรับปรุงผลการดาเนินงานเพื่อให้นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
Process OFI
1) มหาวิทยาลัยยังไม่ได้แสดงว่ามีการพิจารณาทบทวนประสิทธิผลของกระบวนการวางแผน
กลยุทธ์ และการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติ ตั้งแต่ประสิทธิผลของการวิเคราะห์ข้อมูลป้อนเข้าเนื่องจากจะ
ส่งผลต่อ การกาหนดความท้า ทายเชิงกลยุ ทธ์ ความได้เปรียบเชิ งกลยุทธ์ โอกาสเชิ งกลยุ ทธ์ การกาหนด
วัตถุ ประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัว วัดความส าเร็จ และตารางเวลาที่จะบรรลุ การกาหนดแผนที่ตอบสนองความ
ท้าทายเชิงกลยุทธ์และใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ โอกาสเชิงกลยุทธ์ สมรรถนะหลัก การจัดทา
แผนปฏิบัติการทั้งระยะสั้นและระยะยาวที่สาคัญ ตลอดจนตัววัดที่ใช้ติดตามผลสาเร็จและประสิทธิผลของ
แผนปฏิบัติการ ซึ่งต้องมีความสอดคล้องซึ่งกันและกันเพราะจะช่วยในการถ่ายทอดลงไปเป็นลาดับขั้นจนถึง
รายบุคคล ที่สามารถเชื่อมโยงกัน เพื่อส่งเสริมความสาเร็จซึ่งกันและกันทั้งในแนวราบและแนวดิ่งในการมุ่งสู่
วิสัยทัศน์ ตลอดจนการบรรลุทุกพันธกิจได้อย่างยั่นยืน
2) การมุ่งเน้นบุคลากร มหาวิทยาลัยยังไม่แสดงว่ามีประสิทธิผล เช่น การปรับโครงสร้างของ
บุคลากรเพื่อสนับสนุนการทางานให้ประสบความสาเร็จ การถ่ายทอดแผนงานไปสู่การปฏิบัติที่ยังขาดการ
บูรณาการระหว่างพันธกิจต่าง ๆ ทาให้ภาระงานอาจมากเกินไปในบุคลากรบางกลุ่มระบบการบริหารจัดการ
ผลการปฏิบัติงาน การเตรียมบุ คลากรให้พร้อมรับความเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์จาก PSU System
เพื่อให้เกิ ดการทางานร่วมกันระหว่างบุ คลากรในแต่ละวิทยาเขต รวมทั้งการเสริมสร้า งความสุข และความ
สมดุลระหว่างชีวิตส่วนตัวและการทางานเพื่อให้บุคลากรมีความผูกพันและทุม่ เทในการทางาน
3) มหาวิทยาลั ยไม่ไ ด้แสดงแนวทางอย่า งเป็ นระบบในบางเรื่อ งที่ส า คั ญ เช่ น กระบวนการ
วิเคราะห์และปรับปรุงผลการดาเนินงาน กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการควบคุมต้นทุนกระบวนการ
เตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติและภาวะฉุกเฉิน การมีแนวทางที่เป็นระบบดังกล่าวจะช่วยให้การบริหารจัดการ
ของแต่ละกระบวนการมีประสิทธิผล
4) มหาวิ ท ยาลั ย ยั ง ไม่ มี ก ารติ ด ตาม ประเมิ น ประสิ ท ธิ ผ ลของกระบวนการที่ ส าคั ญ เช่ น
กระบวนการรั บฟั งเสียงของลู กค้า กระบวนการจั ดการความสัม พันธ์ข องลู กค้า กระบวนการทบทวนและ

รายงานการประเมินตนเองของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -107-


รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -109-
ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำ�เนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)

ติดตามตัววัดทัง้ ระดับกลยุทธ์และระดับปฏิบัติการ เพื่อให้เห็นโอกาสในการปรับปรุงกระบวนการ รวมไปถึง


การนาไปสูก่ ารพัฒนาผลการดาเนินงานที่ดขี นึ้ ได้

Result Strength
1) ผลลัพธ์การมุ่งเน้นผู้เรียนและลูกค้าบางด้านบรรลุเป้าหมายที่กาหนด ได้แก่ จานวนหลักสูตร
ที่ผ่านการประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน จานวนผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ได้รับการออกแบบและส่งเสริมการ
สร้างมูลค่าเพิ่มจากศิลปะวัฒนธรรม ร้อยละความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการบริหารทรัพยากรที่เอือ้ ต่อการ
เรียนการสอน งบประมาณวิจัย
2) ผลลัพธ์สาคัญบางด้านมีแนวโน้มที่ดขี นึ้ เช่น ผลลัพธ์จากการจัดอันดับของมหาวิทยาลัยที่ดี
ขึน้ ในปี 2020 รวมถึงสาขาของมหาวิทยาลัยที่ได้รับการจัดอันดับ QS Ranking มีเพิ่มขึ้นเป็น 3 สาขา จานวน
รางวัลที่นักศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับในระดับชาติ จานวนครั้งของผลงานที่ได้รับการอ้างอิง รายได้จาก
ผลงานทรัพย์สนิ ทางปัญญาและงานวิจัยที่นาไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์และการส่งมอบวัสดุเพื่อทาการศึกษา
หรือวิจัย (MTA) รายรับของมหาวิทยาลัย
Result OFI
1) มหาวิทยาลัยไม่ได้รายงานผลลัพธ์ที่สาคัญบางด้าน เช่น ด้านการเรียนรู้และด้านการบริการที่
สาคัญ ที่ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ลูกค้า ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียตามที่ระบุไว้ในโครงร่างองค์กร ผลการ
พัฒนาบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนในด้าน Internationalization และ Digitalization/Digital Work
Flow บรรยากาศการทางาน เช่น สวัสดิการ สิทธิประโยชน์และประสิทธิภาพของการพัฒนาบุคลากร ผลลัพธ์
ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
2) ผลลัพธ์ที่สาคัญต่อความสาเร็จของมหาวิทยาลัยหลายด้านยังไม่บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้
ได้แก่ ความพึงพอใจของนายจ้าง/ผู้ประกอบการที่มีต่อบัณฑิ ตด้านวิชาการ และคุ ณธรรม จริยธรรม ร้อยละ
งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นาไปใช้ประโยชน์ ผลลัพธ์ดา้ นการบริการวิชาการของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ทั้งอัตราการตายของผู้ป่วยในภาพรวมและรายโรคผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจและความผูกพันของบุคลากรส่วน
ใหญ่ ผลการสารวจภาวะผู้นาระดับสูงในทุกวิทยาเขต ผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนินงานของมหาวิทยาลัยโดยสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการประพฤติมิชอบ (ป.ป.ช.) ตัว
วัดด้านงบประมาณและการเงิน หากมีการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ไม่บรรลุเป้าหมายเพื่อวางแผนแก้ไขปรับปรุง อาจ
ช่วยให้มหาวิทยาลัยประสบความสาเร็จในการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุพันธกิจที่กาหนดไว้
3) ผลลัพธ์สว่ นใหญ่ของมหาวิทยาลัยยังไม่แสดงแนวโน้มที่ดขี นึ้ อย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ผลลัพธ์ดา้ น
การนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติส่วนใหญ่ ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทาหรือประกอบอาชีพ
อิสระภายใน 1 ปี ค่าเฉลี่ยเงินเดือนหรือรายได้ต่อเดือน ของผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทา
หรือประกอบอาชีพอิสระ สัดส่วนของจานวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับนานาชาติ จานวน
ผลงานใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ จานวนนวัตกรรมจากการวิจัย จานวนนักศึกษาทั้งหมดและในทุก วิทยาเขต
รายงานการประเมินตนเองของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
108-
-110- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำ�เนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)
ส่วนที่ 3 สรุปรายงานการประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx)

ร้อ ยละของนั ก ศึก ษาระดับปริญญาโทและเอกรั บเข้า เมื่อ เทียบกับแผนทั้งในภาพรวม จานวนผู้รับบริก าร


วิช าการทุ ก ประเภททั้งในภาพรวม หากสามารถปรั บปรุงกระบวนการได้อ ย่า งมีประสิทธิผล อาจช่ ว ยให้
มหาวิทยาลัยสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดขี นึ้ อย่างต่อเนื่องต่อลูกค้าและผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย
4) มหาวิทยาลัยไม่ได้แสดงผลลัพธ์ในเชิงเปรียบเทียบในตัววัดที่สาคัญโดยเฉพาะตัววัดด้านการ
มุ่งเน้น ผู้เรี ยนและลู ก ค้า กลุ่ม อื่น ความพึ งพอใจของลู ก ค้า และการตลาด ซึ่ งเป็ นผลลั พธ์ที่ จะแสดงถึ ง
ความสามารถในการแข่งขันของมหาวิทยาลัยทั้งในระดับประเทศและนานาชาติตามที่กาหนดวิสัยทัศน์ไว้

รายงานการประเมินตนเองของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -


109-
รายงานผลการดำ �เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -111-
ภาคผนวก
-114-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
รายงานผลการดำเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 110 -
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
-115-
รายงานผลการดำเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 111 -
จานวนหลักสูตร/สาขาวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศึกษา 2559-2563 จาแนกตามระดับการศึกษาและคณะ

-116-
คณะ/หน่วยงาน ปีการศีกษา 2559 ปีการศีกษา 2560 ปีการศีกษา 2561 ปีการศีกษา 2562 ปีการศีกษา 2563
ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 12 22 34 12 22 34 12 23 35 12 21 33 12 21 33
คณะวิทยาศาสตร์ 13 31 44 13 32 45 13 33 46 14 28 42 14 28 42
คณะแพทยศาสตร์ 5 11 16 5 11 16 4 11 15 4 10 14 4 11 15
คณะแพทยศาสตร์ (วุฒิบัตรการแพทย์) 19 19 19 19 19 19 23 23 28 28
คณะวิทยาการจัดการ 9 6 15 9 6 15 9 6 15 9 5 14 9 5 14
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 2 11 13 2 11 13 2 11 13 2 10 12 2 10 12
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 3 11 14 3 11 14 3 11 14 3 11 14 3 11 14
คณะเภสัชศาสตร์ 2 8 10 2 8 10 2 7 9 2 7 9 2 7 9
คณะพยาบาลศาสตร์ 1 5 6 1 8 9 1 8 9 1 8 9 2 8 10
คณะทันตแพทยศาสตร์ 2 10 12 2 7 9 2 6 8 2 5 7 2 5 7
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 8 8 8 8 7 7 5 5 7 7
คณะศิลปศาสตร์ 4 5 9 4 5 9 4 5 9 4 4 8 5 4 9
คณะนิติศาสตร์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
คณะเศรษฐศาสตร์ 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3
คณะการแพทย์แผนไทย 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
คณะเทคนิคการแพทย์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
สถาบันสันติศึกษา 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
สถาบันนโยบายสาธารณะ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 2 2 2 2 2 2 2 2
วิทยาลัยนานาชาติ 1 1 1 1 1 1 1 1 2 2

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
112 -
คณะ/หน่วยงาน ปีการศีกษา 2559 ปีการศีกษา 2560 ปีการศีกษา 2561 ปีการศีกษา 2562 ปีการศีกษา 2563
ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม
คณะสัตวแพทยศาสตร์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน 1 1 1 1 1 1
บัณฑิตวิทยาลัย (โครงการจัดตั้งวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ดิจทิ ัล) 2 2
รวมวิทยาเขตหาดใหญ่ 60 154 214 61 155 216 60 154 214 61 144 205 63 152 215
คณะศึกษาศาสตร์ 11 10 21 11 10 21 6 7 13 6 7 13 6 6 12
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 19 3 22 18 4 22 18 3 21 18 3 21 18 3 21
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10 10 20 10 10 20 10 10 20 9 10 19 9 10 19
คณะวิทยาการสื่อสาร 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 1 1 1 1 1 1 2 2 2 2
คณะรัฐศาสตร์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
คณะวิทยาการอิสลาม 6 3 9 6 3 9 6 3 9 6 3 9 5 3 8
คณะพยาบาลศาสตร์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
รวมวิทยาเขตปัตตานี 52 26 78 51 27 78 46 23 69 46 23 69 45 22 67
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 5 4 9 5 4 9 2 3 5 3 5 8 3 5 8
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 2 2 4 2 2 4 3 2 5 3 2 5 3 2 5
คณะวิเทศศึกษา 6 1 7 6 1 7 5 1 6 4 1 5 2 1 3
บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตร์ระบบโลกและการจัดการฯ 2 2 2 2 2 2

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 3 1 4 3 1 4 3 1 4
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตร์ ภูเก็ต 2 2 2 2

-117-
รวมวิทยาเขตภูเก็ต 15 9 24 15 9 24 13 9 22 13 9 22 11 9 20

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -


113 -
คณะ/หน่วยงาน ปีการศีกษา 2559 ปีการศีกษา 2560 ปีการศีกษา 2561 ปีการศีกษา 2562 ปีการศีกษา 2563

-118-
ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม ป.ตรี บัณฑิต รวม
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 9 2 11 9 3 12 11 8 19 11 7 18 6 4 10
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 7 1 8 7 1 8 6 1 7 6 1 7 5 1 6
วิทยาลัยนานาชาติ (วิทยาลัยนานาชาติ วข.สุราษฎร์ธานี) 2 2
โครงการจัดตั้งคณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง 3 3 6
รวมวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 16 3 19 16 4 20 17 9 26 17 8 25 16 8 24
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 10 10 10 10 8 8 9 9 9 9
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
รวมวิทยาเขตตรัง 11 11 11 11 9 9 10 10 10 10
รวมหลักสูตร/สาขาวิชาทั้งหมด (รวมวุฒิบัตรทางการพทย์) 154 192 346 154 195 349 145 195 34 147 184 331 145 191 336
0
กรณีไม่รวมวุฒิบัตรทางการแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ 154 173 327 154 176 330 145 176 321 147 161 308 145 163 308

ตั้งแต่ปี 2561 จานวนหลักสูตร/สาขาวิชาลดลง เนื่องจากบางหลักสูตรมีการปรับปรุง/ยุบรวม/จัดเป็นกลุ่มสาขาวิชาย่อย

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
114 -
เงินงบประมาณรายจ่ายจากงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ ช่วงปีงบประมาณ 2559-2563 จาแนกตามคณะ/หน่วยงาน
คณะ/หน่วยงาน ประเภท งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ (ล้านบาท)
งบประมาณ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
ส่วนกลางมหาวิทยาลัย เงินแผ่นดิน 1,363.716 1,534.470 3,352.918 3,901.230 4,480.592
เงินรายได้ 253.390 343.116 371.258 365.885 354.332
รวม 1,617.105 1,877.586 3,724.177 4,267.115 4,834.924
สานักงานอธิการบดี เงินแผ่นดิน 369.779 323.465 262.161 410.920 2.500
วิทยาเขตหาดใหญ่ เงินรายได้ 232.781 245.522 303.685 333.091 322.216
รวม 602.561 568.987 565.846 744.011 324.716
คณะวิศวกรรมศาสตร์ เงินแผ่นดิน 127.572 98.860 75.711 68.395 36.004
เงินรายได้ 95.061 97.169 98.400 79.913 82.366
รวม 222.634 196.029 174.111 148.308 118.370
คณะวิทยาศาสตร์ เงินแผ่นดิน 209.180 159.771 123.599 111.495 49.242
เงินรายได้ 84.790 89.700 106.563 117.674 116.747
รวม 293.971 249.471 230.162 229.169 165.989
คณะแพทยศาสตร์ เงินแผ่นดิน 1,067.914 1,004.827 954.553 580.595 453.697
เงินรายได้ 3,728.874 4,303.928 4,789.333 5,122.638 5,961.870
รวม 4,796.787 5,308.755 5,743.886 5,703.233 6,415.567
คณะวิทยาการจัดการ เงินแผ่นดิน 37.007 29.415 11.825 13.192 1.460
เงินรายได้ 61.886 66.399 71.342 84.977 69.629
รวม 98.893 95.814 83.167 98.169 71.089
คณะทรัพยากรธรรมชาติ เงินแผ่นดิน 80.699 62.892 35.687 48.287 49.632
เงินรายได้ 81.640 80.546 83.933 72.802 94.064
รวม 162.339 143.438 119.620 121.089 143.696
คณะเภสัชศาสตร์ เงินแผ่นดิน 91.283 84.601 68.305 83.280 18.400
เงินรายได้ 28.064 25.669 31.236 65.783 41.406
รวม 119.347 110.269 99.540 149.063 59.806
คณะพยาบาลศาสตร์ เงินแผ่นดิน 92.859 87.345 57.961 43.201 34.096
เงินรายได้ 31.584 38.641 51.041 51.878 49.444
รวม 124.443 125.985 109.002 95.079 83.540
คณะทันตแพทยศาสตร์ เงินแผ่นดิน 178.370 162.531 152.266 169.096 37.938
เงินรายได้ 127.110 146.605 148.545 149.678 244.047
รวม 305.480 309.136 300.811 318.774 281.985
คณะอุตสาหกรรมเกษตร เงินแผ่นดิน 40.305 60.572 70.118 28.891 10.084
เงินรายได้ 11.960 12.793 17.504 16.906 19.695
รวม 52.265 73.364 87.622 45.797 29.780
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม เงินแผ่นดิน 21.202 16.940 14.271 19.803 5.857
เงินรายได้ 6.691 6.780 7.040 6.270 6.804
รวม 27.893 23.720 21.311 26.073 12.661

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 115


-

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -119-


คณะ/หน่วยงาน ประเภท งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ (ล้านบาท)
งบประมาณ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
คณะศิลปศาสตร์ เงินแผ่นดิน 38.840 27.648 16.281 16.211 4.424
เงินรายได้ 45.037 44.402 50.021 50.898 53.347
รวม 83.878 72.050 66.302 67.109 57.771
คณะนิติศาสตร์ เงินแผ่นดิน 6.555 5.342 4.666 4.501 0.909
เงินรายได้ 8.545 10.427 13.390 14.110 19.723
รวม 15.100 15.769 18.056 18.611 20.631
คณะเศรษฐศาสตร์ เงินแผ่นดิน 6.628 6.316 3.127 2.967 0.329
เงินรายได้ 14.746 15.212 17.865 18.270 17.778
รวม 21.373 21.527 20.992 21.237 18.107
คณะการแพทย์แผนไทย เงินแผ่นดิน 10.874 7.590 7.674 12.356 4.903
เงินรายได้ 10.065 10.127 11.972 13.367 69.531
รวม 20.939 17.717 19.645 25.723 74.434
คณะเทคนิคการแพทย์ เงินแผ่นดิน 8.693 7.323 5.849 9.365 6.521
เงินรายได้ 7.710 6.773 7.122 17.584 64.909
รวม 16.403 14.096 12.971 26.949 71.430
คณะสัตวแพทยศาสตร์ เงินแผ่นดิน 66.357 11.315 2.945 9.219 13.882
เงินรายได้ 9.811 31.295 52.463 55.254 53.469
รวม 76.168 42.611 55.408 64.473 67.351
วิทยาลัยนานาชาติ เงินแผ่นดิน 1.200 1.100 1.100 1.100
เงินรายได้ 19.179 23.993 19.774 19.694 16.734
รวม 20.379 25.093 20.874 20.794 16.734
บัณฑิตวิทยาลัย เงินแผ่นดิน 16.555 16.339 13.539 3.133 0.075
เงินรายได้ 4.788 3.553 4.549 5.318 5.295
รวม 21.343 19.892 18.088 8.451 5.370
สานักนวัตกรรมดิจทิ ัลและระบบ เงินแผ่นดิน 17.010 34.826 13.725 25.379 35.240
อัจฉริยะ (ศูนย์คอมพิวเตอร์ ) เงินรายได้ 17.884 17.297 16.207 13.626 13.938
รวม 34.894 52.123 29.932 39.005 49.178
สานักวิจัยและพัฒนา เงินแผ่นดิน 125.429 207.450 193.315 140.402 40.009
เงินรายได้ 3.000 3.000 3.000 3.000 3.000
รวม 128.429 210.450 196.315 143.402 43.009
สานักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และ เงินแผ่นดิน 10.155 62.354 19.371 49.636 14.495
การทดสอบ เงินรายได้ 8.305 10.728 10.519 13.630 21.731
(ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์) รวม 18.460 73.082 29.889 63.267 36.226
สานักทรัพยากรการเรียนรู้ เงินแผ่นดิน 31.068 26.519 11.336 11.538 0.146
คุณหญิงหลงฯ เงินรายได้ 21.719 20.778 21.568 22.256 20.767
รวม 52.787 47.297 32.904 33.794 20.913
สถาบันทรัพยากรทะเล และชายฝั่ง เงินแผ่นดิน 5.497 6.544 61.304 3.747
เงินรายได้ 1.060 0.914 0.942 0.940 0.919
รวม 6.557 7.458 62.246 4.687 0.919
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 116
-
-120- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
คณะ/หน่วยงาน ประเภท งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ (ล้านบาท)
งบประมาณ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม เงินแผ่นดิน 3.240 6.686 3.563 3.796
เงินรายได้ 2.077 2.498 2.602 2.947 3.239
รวม 5.317 9.184 6.164 6.742 3.239
สถาบันสันติศึกษา เงินแผ่นดิน 6.944 6.925 6.564 6.881
เงินรายได้ 0.993 1.852 1.957 5.481 4.850
รวม 7.937 8.778 8.520 12.362 4.850
ศูนย์บริการวิชาการ เงินแผ่นดิน 12.828 7.351 4.589 4.079
เงินรายได้ 2.076 2.847 2.452 2.516 2.511
รวม 14.904 10.198 7.041 6.595 2.511
สถาบันฮาลาล เงินแผ่นดิน 32.500 32.500 29.000 29.000
เงินรายได้ 7.500
รวม 32.500 32.500 29.000 29.000 7.500
อุทยานวิทยาศาสตร์ เงินแผ่นดิน 11.755 39.056
เงินรายได้
รวม 11.755 39.056
สถานีวทิ ยุกระจายเสียง ม.อ. เงินแผ่นดิน
เงินรายได้ 4.966 5.958 4.800 5.800 5.678
รวม 4.966 5.958 4.800 5.800 5.678
พิพธิ ภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาฯ เงินแผ่นดิน 0.500 0.500 0.500 0.500
เงินรายได้ 0.896 0.895 0.870 0.880 0.900
รวม 1.796 1.395 1.370 1.380 0.900
สถาบันนโยบายสาธารณะ เงินแผ่นดิน
(สถาบันการจัดการระบบ เงินรายได้ 4.624 4.636 4.823 4.862 4.894
สุขภาพภาคใต้ฯ) รวม 4.624 4.636 4.823 4.862 4.894
ศูนย์ประชุมนานาชาติ เงินแผ่นดิน 0.000 0.000 0.000
ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี เงินรายได้ 34.000 34.000 45.000 46.000 52.500
รวม 34.000 34.000 45.000 46.000 52.500
ศูนย์กีฬาและสุขภาพ ม.อ. เงินแผ่นดิน 0.000 0.000 0.000
เงินรายได้ 6.060 6.048 6.238 6.252 6.264
รวม 6.060 6.048 6.238 6.252 6.264
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้ เงินแผ่นดิน 18.770
เงินรายได้
รวม 18.770 0.000 0.000
สานักงานวิทยาเขตหาดใหญ่ เงินแผ่นดิน 182.113
เงินรายได้
รวม 0.000 182.113

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 117


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -121-
คณะ/หน่วยงาน ประเภท งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ (ล้านบาท)
งบประมาณ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
รวมวิทยาเขตหาดใหญ่ เงินแผ่นดิน 2,717.041 2,577.600 2,282.728 5,812.195 1,001.956
เงินรายได้ 4,717.982 5,370.985 6,006.753 6,424.295 7,457.765
รวม 7,435.024 7,948.585 8,289.481 12,236.490 8,459.721
สานักงานวิทยาเขตปัตตานี เงินแผ่นดิน 291.141 280.862 225.245 134.473 77.322
(สานักงานอธิการบดี วิทยาเขต เงินรายได้ 58.048 61.065 97.583 82.225 96.463
ปัตตานี) รวม 349.189 341.927 322.828 216.697 173.785
คณะศึกษาศาสตร์ เงินแผ่นดิน 116.222 106.427 71.597 64.959 93.206
เงินรายได้ 44.558 44.220 53.142 61.516 66.061
รวม 160.780 150.647 124.739 126.475 159.267
คณะมนุษยศาสตร์และ เงินแผ่นดิน 39.845 35.766 23.402 20.529 8.776
สังคมศาสตร์ เงินรายได้ 26.634 40.593 41.312 36.724 39.918
รวม 66.479 76.359 64.714 57.253 48.693
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เงินแผ่นดิน 102.439 83.413 49.497 43.083 36.707
เงินรายได้ 17.656 19.688 27.000 36.000 45.850
รวม 120.095 103.101 76.497 79.083 82.557
คณะวิทยาการสื่อสาร เงินแผ่นดิน 4.523 4.246 3.852 5.155 0.440
เงินรายได้ 10.322 10.442 11.147 11.017 10.307
รวม 14.844 14.688 14.999 16.172 10.747
คณะศิลปกรรมศาสตร์ เงินแผ่นดิน 3.721 11.883 4.818 8.092 5.893
เงินรายได้ 1.477 2.979 4.455 4.800 4.621
รวม 5.199 14.862 9.272 12.893 10.513
คณะรัฐศาสตร์ เงินแผ่นดิน 5.503 6.669 2.042 2.175 0.020
เงินรายได้ 4.807 5.607 9.171 12.313 12.852
รวม 10.310 12.276 11.212 14.488 12.872
คณะพยาบาลศาสตร์ เงินแผ่นดิน 10.136 4.779 3.122 5.788 3.623
วิทยาเขตปัตตานี เงินรายได้ 2.617 3.262 4.225 13.750 8.448
รวม 12.753 8.041 7.346 19.539 12.071
คณะวิทยาการอิสลาม เงินแผ่นดิน 59.299 51.852 16.504 17.273 2.863
(วิทยาลัยอิสลามศึกษา) เงินรายได้ 10.657 16.239 21.534 25.558 26.647
รวม 69.956 68.091 38.038 42.832 29.510
สานักส่งเสริมและบริการวิชาการ เงินแผ่นดิน 7.125 10.305 8.049 3.250 1.054
(สานักส่งเสริมและการศึกษา เงินรายได้ 3.148 3.173 3.849 3.352 4.118
ต่อเนื่อง) รวม 10.273 13.477 11.898 6.601 5.172
สานักวิทยบริการ เงินแผ่นดิน 18.352 21.792 5.736 5.868 0.665
เงินรายได้ 12.564 9.258 10.053 9.928 9.412
รวม 30.916 31.050 15.788 15.796 10.077

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 118


-
-122- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
คณะ/หน่วยงาน ประเภท งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ (ล้านบาท)
งบประมาณ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
สถาบันวัฒนธรรมศึกษา เงินแผ่นดิน 6.326 3.864 2.676 3.524
กัลยาณิวัฒนา เงินรายได้ 2.196 2.233 3.034 2.949 2.556
รวม 8.522 6.097 5.710 6.473 2.556
สถานีวทิ ยุกระจายเสียง เงินแผ่นดิน
ม.อ. วข.ปัตตานี เงินรายได้ 2.162 2.024 2.311 302.491 2.400
รวม 2.162 2.024 2.311 302.491 2.400
รวมวิทยาเขตปัตตานี เงินแผ่นดิน 664.632 621.856 416.540 314.168 230.569
เงินรายได้ 196.846 220.784 288.813 302.491 329.651
รวม 861.477 842.640 705.353 616.659 560.220
สานักงานวิทยาเขตภูเก็ต เงินแผ่นดิน 98.227 102.813 24.693 48.798 17.364
(สานักงานอธิการบดี เงินรายได้ 23.537 25.736 51.212 67.659 69.835
วิทยาเขตภูเก็ต) รวม 121.763 128.549 75.906 116.456 87.199
วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต เงินแผ่นดิน 3.200 9.401 0.761 0.561
เงินรายได้ 1.675 2.168 1.795 2.280 2.697
รวม 4.875 11.569 2.556 2.841 2.697
คณะการบริการ เงินแผ่นดิน 25.921 9.611 5.573 4.884 1.215
และการท่องเที่ยว เงินรายได้ 57.004 40.862 66.324 79.079 70.088
รวม 82.925 50.473 71.897 83.962 71.303
คณะเทคโนโลยี เงินแผ่นดิน 13.429 23.766 18.458 4.241 13.394
และสิง่ แวดล้อม เงินรายได้ 28.394 26.097 32.621 17.963 17.530
รวม 41.823 49.863 51.079 22.204 30.923
คณะวิเทศศึกษา เงินแผ่นดิน 6.732 5.618 3.868 3.969 1.270
เงินรายได้ 33.559 38.999 95.724 79.627 99.896
รวม 40.291 44.617 99.593 83.597 101.166
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ เงินแผ่นดิน 3.246
เงินรายได้ 35.059 43.010
รวม 38.305 43.010
รวมวิทยาเขตภูเก็ต เงินแผ่นดิน 147.508 151.210 53.354 65.698 33.243
เงินรายได้ 144.168 133.862 247.676 281.667 303.056
รวม 291.677 285.072 301.029 347.365 336.299
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เงินแผ่นดิน 109.623 199.589 206.991 214.754 53.991
เงินรายได้ 129.836 141.317 162.821 139.144 134.244
รวม 239.460 340.906 369.812 353.898 188.235
รวมวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เงินแผ่นดิน 109.623 199.589 206.991 214.754 53.991
เงินรายได้ 129.836 141.317 162.821 139.144 134.244
รวม 239.460 340.906 369.812 353.898 188.235

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 119


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -123-
คณะ/หน่วยงาน ประเภท งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ (ล้านบาท)
งบประมาณ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563
วิทยาเขตตรัง เงินแผ่นดิน 90.697 43.090 45.847 123.750 7.352
เงินรายได้ 114.499 110.216 133.492 123.568 108.248
รวม 205.197 153.306 179.339 247.318 115.600
รวมวิทยาเขตตรัง เงินแผ่นดิน 90.697 43.090 45.847 123.750 7.352
เงินรายได้ 114.499 110.216 133.492 123.568 108.248
รวม 205.197 153.306 179.339 247.318 115.600
รวมทั้งมหาวิทยาลัย เงินแผ่นดิน 5,093.218 5,127.815 6,358.377 6,530.565 5,807.704
เงินรายได้ 5,556.721 6,320.280 7,210.813 7,271.165 8,687.295
รวม 10,649.939 11,448.095 13,569.190 13,801.730 14,494.999

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 120


-
-124- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
จานวนนักศึกษาเข้าใหม่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วงปีการศึกษา 2559-2563
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2559 2560 2561 2562 2563
รวมระดับปริญญาตรี 9,223 8,434 7,434 7,770 7,876
วิทยาเขตหาดใหญ่ 4,191 3,992 3,909 4,140 4,491
คณะการแพทย์แผนไทย 130 130 158 113 155
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 325 270 265 283 309
คณะทันตแพทยศาสตร์ 44 50 43 46 49
คณะเทคนิคการแพทย์ 60 61 61 66 88
คณะนิติศาสตร์ 214 281 374 329 360
คณะพยาบาลศาสตร์ 173 202 198 226 239
คณะแพทยศาสตร์ 233 251 254 272 257
คณะเภสัชศาสตร์ 140 156 147 172 155
คณะวิทยาการจัดการ 821 810 658 678 719
คณะวิทยาศาสตร์ 763 573 636 596 721
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 650 695 613 705 726
คณะศิลปศาสตร์ 330 216 248 307 390
คณะเศรษฐศาสตร์ 133 122 121 129 109
คณะสัตวแพทยศาสตร์ 23 25 23 24 32
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 117 121 80 152 153
วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตหาดใหญ่ 35 23 21 20 13
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน 6 9 22 16
วิทยาเขตปัตตานี 2,031 1,916 1,509 1,768 1,900
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี 36 46 62 62 64
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 640 553 393 455 508
คณะรัฐศาสตร์ 291 329 244 316 351
คณะวิทยาการสื่อสาร 171 137 76 136 119
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 251 202 185 190 221
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 30 46 37 53 70
คณะศึกษาศาสตร์ 379 416 365 421 408
คณะวิทยาการอิสลาม 233 187 147 135 159
วิทยาเขตภูเก็ต 786 595 575 506 266
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 218 149 176 168 121
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 199 165 49 61 27
คณะวิเทศศึกษา 271 198 178 185 63
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 94 83 62
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 110 92 55
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตร์ภูเก็ต 4
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 1,332 1,055 760 793 726
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 590 485 305 275 131
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 742 570 455 518 308

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 121


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -125-
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2559 2560 2561 2562 2563
โครงการจัดตั้งคณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง 47
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 240
วิทยาเขตตรัง 883 876 681 563 493
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 818 825 651 531 441
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 65 51 30 32 52
รวมระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต 185 180 102 174
วิทยาเขตปัตตานี 185 180 102 174
คณะศึกษาศาสตร์ 185 180 102 174
รวมระดับปริญญาโท 820 733 730 614 661
วิทยาเขตหาดใหญ่ 582 525 515 429 428
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 11 18 9 2 9
คณะการแพทย์แผนไทย 8 14 6 5 3
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 28 36 44 32 21
คณะทันตแพทยศาสตร์ 18 18 27 33 20
คณะพยาบาลศาสตร์ 59 18 59 59 50
คณะแพทยศาสตร์ 21 14 20 22 15
คณะเภสัชศาสตร์ 12 8 6 3 14
คณะวิทยาการจัดการ 154 126 109 76 112
คณะวิทยาศาสตร์ 75 71 92 67 64
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 102 91 81 67 76
คณะศิลปศาสตร์ 45 51 24 34 11
คณะเศรษฐศาสตร์ 25 24 17 13 9
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 6 14 9 9 2
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส.ม.อ.) 11 13 8 4 3
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 2 1
สถาบันสันติศึกษา 7 7 3 3 4
บัณฑิตวิทยาลัย (วิทยาศาสตร์ดิจทิ ัล) 15
วิทยาเขตปัตตานี 152 144 169 137 170
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 9 22 30 2 11
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 17 26 25 16 21
คณะศึกษาศาสตร์ 120 86 101 100 135
คณะวิทยาการอิสลาม 6 10 13 19 3
วิทยาเขตภูเก็ต 58 52 20 15 17
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 33 13 9 8 12
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 17 24 10 6 4
คณะวิเทศศึกษา 5 4
บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตร์ระบบโลกและการจัดการฯ 3 11
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 1 1 1

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 122


-

-126- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2559 2560 2561 2562 2563
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 10 12 26 20 25
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 6 12 23 20 13
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 4 3 12
วิทยาเขตตรัง 18 13 21
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 18 13 21
รวมประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 112 123 8 9 7
วิทยาเขตหาดใหญ่ 112 123 8 9 7
คณะทันตแพทยศาสตร์ 8 9 6 9 7
คณะแพทยศาสตร์ 104 114 2
รวมปริญญาเอก 166 131 143 145 117
วิทยาเขตหาดใหญ่ 150 118 116 121 102
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 17 9 11 27 15
คณะการแพทย์แผนไทย 2 1 1 1 2
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 6 9 6 3 7
คณะทันตแพทยศาสตร์ 8 3 5 9 11
คณะพยาบาลศาสตร์ 7 1 9 3 4
คณะแพทยศาสตร์ 24 13 16 14 9
คณะเภสัชศาสตร์ 5 10 8 8 6
คณะวิทยาการจัดการ 5 10 7 11
คณะวิทยาศาสตร์ 20 32 24 15 12
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 34 26 15 22 7
คณะศิลปศาสตร์ 8 5 4 5 5
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 10 5 6 3 3
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 4 4 1 4
บัณฑิตวิทยาลัย (วิทยาศาสตร์ดิจทิ ัล) 10
วิทยาเขตปัตตานี 13 8 24 22 12
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6 1 2 3
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 2 18 3 3
คณะศึกษาศาสตร์ 2 5 6 5
คณะวิทยาการอิสลาม 3 4 10 4
วิทยาเขตภูเก็ต 4 1 1 3
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 3 1 1 3
บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตร์ระบบโลก
และการจัดการภัยธรรมชาติอันดามัน 1
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 3 1 2 1
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3 1 2 1
รวมทั้งหมด 10,506 9,601 8,417 8,712 8,661

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 123


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -127-
จานวนนักศึกษาทั้งหมด มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วงปีการศึกษา 2559-2563
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2559 2560 2561 2562 2563
รวมระดับปริญญาตรี 37,770 36,359 33,770 31,879 31,004
วิทยาเขตหาดใหญ่ 16,478 16,158 15,846 15,686 16,228
คณะการแพทย์แผนไทย 354 391 467 452 489
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 1,377 1,200 1,064 1,029 1,048
คณะทันตแพทยศาสตร์ 349 330 312 296 296
คณะเทคนิคการแพทย์ 251 244 222 228 245
คณะนิติศาสตร์ 573 722 917 1,017 1,166
คณะพยาบาลศาสตร์ 668 746 774 780 838
คณะแพทยศาสตร์ 1,318 1,334 1,357 1,360 1,375
คณะเภสัชศาสตร์ 828 807 798 822 832
คณะวิทยาการจัดการ 3,018 3,100 2,957 2,812 2,748
คณะวิทยาศาสตร์ 2,684 2,418 2,374 2,146 2,162
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2,614 2,588 2,488 2,551 2,699
คณะศิลปศาสตร์ 1,180 1,065 1,024 1,072 1,129
คณะเศรษฐศาสตร์ 552 522 485 453 440
คณะสัตวแพทยศาสตร์ 48 73 95 116 145
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 502 482 393 429 475
วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตหาดใหญ่ 162 130 107 90 93
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน 6 12 33 48
วิทยาเขตปัตตานี 9,317 8,846 7,844 7,371 7,224
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี 151 163 185 204 233
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3,023 2,743 2,236 1,994 1,852
คณะรัฐศาสตร์ 910 1,085 1,089 1,142 1,209
คณะวิทยาการสื่อสาร 690 630 529 513 466
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 964 915 814 729 745
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 123 130 132 155 196
คณะศึกษาศาสตร์ 2,326 2,159 1,995 1,907 1,872
คณะวิทยาการอิสลาม 1,130 1,021 864 727 651
วิทยาเขตภูเก็ต 3,322 3,062 2,723 2,371 1,931
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 1,000 931 850 730 619
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 840 736 199 205 174
คณะวิเทศศึกษา 955 916 833 704 567
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 523 479 407 301 217
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 434 431 354
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติศิลปวิทยาศาสตรภูเก็ต 4
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 4,885 4,637 4,129 3,736 3,202
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 2,648 2,488 2,293 2,200 1,807
โครงการจัดตั้งคณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง 47
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 240

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 124


-
-128- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2559 2560 2561 2562 2563
วิทยาเขตตรัง 3,768 3,656 3,228 2,715 2,419
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 3,526 3,403 3,002 2,510 2,204
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 242 253 226 205 215
รวมประกาศนียบัตรบัณฑิต 279 366 287 356 169
วิทยาเขตปัตตานี 279 366 287 356 169
คณะศึกษาศาสตร์ 279 366 287 356 169
รวมปริญญาโท 3,061 2,650 2,474 2,252 2,396
วิทยาเขตหาดใหญ่ 2,234 1,921 1,755 1,622 1,746
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 79 64 47 38 40
คณะการแพทย์แผนไทย 24 24 21 20 21
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 161 130 131 127 126
คณะทันตแพทยศาสตร์ 61 56 63 71 83
คณะพยาบาลศาสตร์ 239 151 166 169 195
คณะแพทยศาสตร์ 59 52 63 70 69
คณะเภสัชศาสตร์ 70 86 68 64 56
คณะวิทยาการจัดการ 498 416 352 279 318
คณะวิทยาศาสตร์ 272 242 245 235 243
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 399 349 329 296
คณะศิลปศาสตร์ 156 123 82 76 81
คณะเศรษฐศาสตร์ 99 88 68 64 66
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 38 55 45 44 40
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส.ม.อ.) 46 52 46 44 42
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 12 12 11 7 6
สถาบันสันติศึกษา 21 21 18 18 22
บัณฑิตวิทยาลัย (วิทยาศาสตร์ดิจทิ ัล) 15
วิทยาเขตปัตตานี 600 535 517 439 458
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 67 92 121 66 56
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 87 94 93 82 81
คณะศึกษาศาสตร์ 340 259 238 251 282
คณะวิทยาการอิสลาม 106 90 65 40 39
วิทยาเขตภูเก็ต 173 152 134 104 80
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 96 59 57 40 43
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 63 65 56 50 36
คณะวิเทศศึกษา 7 9 7 5 1
บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตร์ระบบโลกและการจัดการฯ 7 19
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 14 9

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 125


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -129-
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2559 2560 2561 2562 2563
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 36 42 54 66 76
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 28 37 49 62 60
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 8 5 5 4 16
วิทยาเขตตรัง 18 14 21 36
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 18 14 21 36
รวมประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 303 325 208 114 32
วิทยาเขตหาดใหญ่ 303 325 208 114 32
คณะทันตแพทยศาสตร์ 8 9 6 13 7
คณะแพทยศาสตร์ 295 316 202 101 25
รวมปริญญาเอก 968 907 884 846 881
วิทยาเขตหาดใหญ่ 816 764 731 711 736
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 88 74 68 87 97
คณะการแพทย์แผนไทย 2 4 8 8 8
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 54 53 53 47 54
คณะทันตแพทยศาสตร์ 35 33 28 25 36
คณะพยาบาลศาสตร์ 55 48 41 32 29
คณะแพทยศาสตร์ 76 82 82 81 73
คณะเภสัชศาสตร์ 65 66 62 60 66
คณะวิทยาการจัดการ 38 28 24 31 40
คณะวิทยาศาสตร์ 162 154 155 133 124
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 135 125 131 133 127
คณะศิลปศาสตร์ 17 19 21 24 22
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 66 54 44 35 35
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 23 24 14 15 15
บัณฑิตวิทยาลัย (วิทยาศาสตร์ดิจทิ ัล) 10
วิทยาเขตปัตตานี 138 126 131 111 118
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 26 24 21 20 19
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 44 36 54 39 34
คณะศึกษาศาสตร์ 30 34 29 22 29
คณะวิทยาการอิสลาม 38 32 27 30 36
วิทยาเขตภูเก็ต 6 10 12 13 18
คณะเทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อม 3 6 12 13 12
บัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการวิทยาศาสตร์ระบบโลกและการจัดการฯ 3 4
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 6
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 8 7 10 11 9
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 8 7 10 11 9
รวมทั้งหมด 42,381 40,607 37,623 35,447 34,482

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 126


-
-130- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
จานวนผู้สาเร็จการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วงปีการศึกษา 2558-2562
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2558 2559 2560 2561 2562
รวมระดับปริญญาตรี 7,293 7,563 8,404 8,155 7,809
วิทยาเขตหาดใหญ่ 3,320 3,458 3,523 3,609 3,476
คณะการแพทย์แผนไทย 79 67 56 96 51
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 388 363 327 278 131
คณะทันตแพทยศาสตร์ 50 68 54 64 101
คณะเทคนิคการแพทย์ 58 60 74 54 226
คณะนิติศาสตร์ 123 104 107 135 105
คณะพยาบาลศาสตร์ 193 116 160 205 254
คณะแพทยศาสตร์ 218 229 214 260 45
คณะเภสัชศาสตร์ 133 151 138 132 161
คณะวิทยาการจัดการ 566 612 720 749 171
คณะวิทยาศาสตร์ 432 551 572 646 739
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 499 541 524 491 579
คณะศิลปศาสตร์ 312 309 261 242 504
คณะเศรษฐศาสตร์ 112 126 139 132 308
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 139 121 142 100 96
วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาเขตหาดใหญ่ 18 40 35 25 5
วิทยาเขตปัตตานี 1,786 1,838 2,076 1,935 1,820
คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาเขตปัตตานี 33 37 43 35
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 630 612 749 617 559
คณะรัฐศาสตร์ 151 135 205 233 257
คณะวิทยาการสื่อสาร 128 134 139 135 151
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 68 137 190 193 223
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 27 28 24 17 155
คณะศึกษาศาสตร์ 568 523 480 465 26
คณะวิทยาการอิสลาม 214 236 252 232 414
วิทยาเขตภูเก็ต 494 536 714 609 626
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 132 138 187 185 216
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 178 177 82 44 50
คณะวิเทศศึกษา 120 162 199 252 181
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 64 59 101 58 72
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 145 70 107
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 999 1,020 1,125 1,093 1,163
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 482 459 547 524 526
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 517 561 578 569 637
วิทยาเขตตรัง 694 711 966 909 724
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 694 697 926 871 682
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 14 40 38 42

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 127


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -131-
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2558 2559 2560 2561 2562
รวมประกาศนียบัตรบัณฑิต 85 173 177 172
วิทยาเขตปัตตานี 85 173 177 172
คณะศึกษาศาสตร์ 85 173 177 172
รวมปริญญาโท 816 809 697 662 443
วิทยาเขตหาดใหญ่ 671 615 501 456 295
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 31 30 14 13 10
คณะการแพทย์แผนไทย 5 11 6 4 3
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 31 49 38 32 20
คณะทันตแพทยศาสตร์ 9 21 20 22 8
คณะพยาบาลศาสตร์ 65 62 67 41 19
คณะแพทยศาสตร์ 14 16 5 17 14
คณะเภสัชศาสตร์ 19 13 17 16 22
คณะวิทยาการจัดการ 193 122 106 123 68
คณะวิทยาศาสตร์ 63 92 70 61 59
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 107 97 73 67 48
คณะศิลปศาสตร์ 53 49 29 25 10
คณะเศรษฐศาสตร์ 34 24 26 14 2
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 19 9 15 11 6
สถาบันการจัดการระบบสุขภาพภาคใต้ (สจรส.ม.อ.) 22 12 12 6 4
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 4 4 1 3 1
สถาบันสันติศึกษา 2 4 2 1 1
วิทยาเขตปัตตานี 127 169 144 167 128
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 5 5 10 23 15
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 16 18 23 27 21
คณะศึกษาศาสตร์ 95 135 93 83 90
คณะวิทยาการอิสลาม 11 11 18 34 2
วิทยาเขตภูเก็ต 15 21 35 25 5
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 13 6 19 13
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 2 14 7 8 2
คณะวิเทศศึกษา 1 1 2
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 8 2 3
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 3 4 14 9 15
คณะวิทยาการจัดการ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2 3 11 9 15
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 1 1 3
วิทยาเขตตรัง 3 5
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 3 5

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 128


-
-132- รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)
ระดับการศึกษา/วิทยาเขต ปีการศึกษา (ข้อมูล ณ กันยายนของทุกปี)
คณะ 2558 2559 2560 2561 2562
รวมประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง 98 97 109 103 94
วิทยาเขตหาดใหญ่ 98 97 109 103 94
คณะทันตแพทยศาสตร์ 15 8 9 6 13
คณะแพทยศาสตร์ 83 89 100 97 81
รวมปริญญาเอก 147 135 139 141 106
วิทยาเขตหาดใหญ่ 119 124 123 128 95
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 11 11 6 10 5
คณะการแพทย์แผนไทย 5 0 5 2
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 3 8 9 6 4
คณะทันตแพทยศาสตร์ 6 3 13 10 2
คณะพยาบาลศาสตร์ 15 5 12 8 7
คณะแพทยศาสตร์ 15 11 10 16 17
คณะเภสัชศาสตร์ 4 11 8 8 4
คณะวิทยาการจัดการ 31 9 28 4 4
คณะวิทยาศาสตร์ 14 35 9 36 20
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 14 19 1 16 17
คณะศิลปศาสตร์ 1 12 19 1 5
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 3 11 8
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 2
วิทยาเขตปัตตานี 28 11 16 13 9
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 10 8 5 2 7
คณะศึกษาศาสตร์ 16 2 9 1
คณะวิทยาการอิสลาม 2 3 9 2 1
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 2
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2
รวมทั้งหมด 8,354 8,689 9,522 9,238 8,624

รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) - 129


-
รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563) -133-
จานวนบุคลากรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี พ.ศ. 2559 -2563 จาแนกตามสายงาน

-134-
บุคลากรตามสายงาน
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 170 223 393 173 221 394 148 206 354 146 210 356 146 200 346
คณะวิทยาศาสตร์ 276 287 563 282 273 555 272 265 537 264 268 532 251 240 491
คณะแพทยศาสตร์ 393 4,474 4,867 416 4,501 4,917 419 4,637 5,056 429 4,860 5,289 462 4,997 5,459
คณะวิทยาการจัดการ 78 87 165 81 84 165 78 80 158 78 82 160 75 80 155
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 67 225 292 67 219 286 65 206 271 63 208 271 64 178 242
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 43 79 122 41 82 123 40 103 143 40 113 153 44 122 166
คณะเภสัชศาสตร์ 79 113 192 73 111 184 74 114 188 70 116 186 71 113 184
คณะพยาบาลศาสตร์ 102 157 259 99 145 244 102 136 238 101 136 237 100 135 235
คณะทันตแพทยศาสตร์ 88 305 393 90 310 400 92 313 405 92 321 413 92 302 394
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 19 34 53 20 33 53 19 29 48 16 32 48 25 32 57
คณะศิลปศาสตร์ 82 71 153 88 71 159 88 72 160 84 70 154 84 68 152
คณะนิติศาสตร์ 20 17 37 21 17 38 25 18 43 27 19 46 24 20 44
คณะเศรษฐศาสตร์ 27 19 46 28 20 48 25 18 43 24 19 43 24 18 42
คณะการแพทย์แผนไทย 15 28 43 16 25 41 18 27 45 17 27 44 17 24 41
คณะเทคนิคการแพทย์ 17 22 39 19 21 40 19 21 40 19 23 42 19 19 38
คณะสัตวแพทยศาสตร์ 23 36 59 25 55 80 33 71 104 32 83 115 35 81 116
วิทยาลัยนานาชาติ 10 8 18 11 8 19 9 7 16 10 9 19 14 11 25
สถาบันสันติศึกษา 9 13 22 7 11 18 9 11 20 9 12 21 10 9 19
บัณฑิตวิทยาลัย 23 23 19 19 2 20 22 8 24 32 1 17 18
สานักงานอธิการบดี 7 703 710 6 690 696 6 656 662 3 673 676 14 273 287
สานักนวัตกรรมดิจทิ ัลและระบบอัจฉริยะ
(ศูนย์คอมพิวเตอร์) 89 89 88 88 85 85 84 84 85 85

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
130 -
บุคลากรตามสายงาน
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม
สานักเครื่องมือวิทยาศาสตร์และการทดสอบ
(ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์) 49 49 52 52 57 57 58 58 56 56
สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา (ศูนย์
ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม) 16 16 15 15 1 16 17 1 16 17 14 14
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 8 4 12 6 5 11 7 13 20 8 13 21 6 6
สานักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง (หาดใหญ่) 3 12 15 4 11 15 4 12 16 3 14 17
สานักวิจัยและพัฒนา 4 53 57 6 58 64 7 59 66 3 66 69 3 62 65
สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ 66 66 59 59 54 54 1 54 55 1 41 43
อุทยานวิทยาศาสตร์ 1 58 59 1 55 56 2 62 64 2 66 68 2 73 75
สถาบันฮาลาล 15 15 18 18 20 20 21 21 19 19
สถาบันนโยบายสาธารณะ 4 15 19
สานักการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ 1 63 64
สานักงานสภามหาวิทยาลัย 14 14
หน่วยงานส่วนกลางมหาวิทยาลัย
(หอประวัติ,ศิษย์เก่าม.อ.,วพส.,สจ.รส.ฯลฯ) 3 27 30 3 29 32 2 28 30 2 24 26 12 12
สานักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และพันธกิจสังคม 10 10
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 8 2 10 8 2 10 11 1 12 13 1 14
สานักงานวิทยาเขตหาดใหญ่ 319 319
สถานีวิทยุกระจายเสียง มอ. 16 16 15 15 14 14 14 14

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติยางพารา
ไทย-จีน 4 4 4 4
รวมวิทยาเขตหาดใหญ่ 1,552 7,331 8,883 1,591 7,323 8,914 1,581 7,431 9,012 1,569 7,736 9,305 1,583 7,728 9,312

-135-
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
131 -
บุคลากรตามสายงาน

-136-
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม
คณะศึกษาศาสตร์ 127 130 257 123 143 266 124 146 270 123 157 280 118 153 271
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 157 44 201 158 43 201 160 40 200 156 41 197 157 42 199
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 141 91 232 136 87 223 134 87 221 130 84 214 127 88 215
คณะวิทยาการอิสลาม 47 55 102 53 56 109 54 49 103 56 48 104 57 46 103
คณะรัฐศาสตร์ 23 17 40 20 14 34 19 14 33 17 13 30 18 16 34
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 16 11 27 16 12 28 16 12 28 17 12 29 17 12 29
คณะวิทยาการสื่อสาร 28 28 56 28 27 55 27 25 52 27 25 52 28 24 52
คณะพยาบาลศาสตร์ 19 6 25 18 5 23 20 10 30 20 12 32 21 12 33
สานักงานอธิการบดีวทิ ยาเขตปัตตานี 332 332 2 322 324 1 297 298 2 323 325 2 7 9
ศูนย์คอมพิวเตอร์ (หน่วยคอมฯปัตตานี) 18 18 18 18 17 17
สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา 19 19 18 18 18 18 18 18 20 20
สานักส่งเสริมและบริการวิชาการ 32 32 31 31 30 30 30 30 27 27
สานักวิทยบริการ 61 61 60 60 59 59 60 60 55 55
บัณฑิตวิทยาลัย 3 3 3 3 3 3
สานักงานวิทยาเขตปัตตานี 1 294 295
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 1 1 3 3 1 1 2 2 1 2 3
รวมวิทยาเขตปัตตานี 559 844 1,403 557 839 1,396 556 807 1,363 550 826 1,376 547 798 1,345
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 38 28 66 37 23 60 36 24 60 39 24 63 32 23 55
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 58 27 85 52 23 75 32 16 48 31 17 48 30 17 47
คณะวิเทศศึกษา 65 12 77 64 13 77 61 12 73 53 13 66 51 12 63
วิทยาลัยชุมชนภูเก็ต 9 9 6 6 6 6 7 7
สานักงานอธิการบดีวทิ ยาเขตภูเก็ต 2 149 151 2 131 133 2 124 126 2 126 128

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
132 -
บุคลากรตามสายงาน
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม
ศูนย์การเรียนรู้ 13 13 13 13 12 12 12 12
ศูนย์กิจการนานาชาติ 3 3 4 4 3 3 4 4
โครงการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยสหวิทยาการ
วิทยาศาสตร์ฯ 3 5 8 4 3 7
สานักงานวิทยาเขตภูเก็ต 145 145
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต 1 1 2 2
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 40 17 57 39 17 56 40 17 57
รวมวิทยาเขตภูเก็ต 166 247 413 161 216 377 171 214 385 164 220 384 153 214 367
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 105 1 106 106 1 107 108 1 109 110 110 73 7 80
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ 58 58 59 59 59 59 61 61 40 7 47
วิทยาลัยชุมชนสุราษฎร์ธานี 6 6 6 6 6 6 5 5
สานักงานอธิการบดี วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 142 142 165 165 164 164 171 171 3 4 7
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.สุราษฎร์ธานี 2 2 2 2 2 2 2 65 67 66 66
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ วข.สุราษฎร์ธานี 4 2 6 26 4 30

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


สานักงานวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 159 159
โครงการจัดตั้งคณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง 35 4 39
รวมวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 165 149 314 167 172 339 169 171 340 177 243 420 177 251 428

-137-
บุคลากรตามสายงาน

-138-
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม อาจารย์ สนับสนุน รวม
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 89 89 1 1 82 82
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 8 8 8 8 10 10 10 10 9 9
สานักงานอธิการบดีวทิ ยาเขตตรัง 5 5 5 5 1 1
สานักงานวิทยาเขตตรัง 82 82 88 86 174 89 83 172 87 86 173 93 93
รวมวิทยาเขตตรัง 97 82 179 97 86 183 99 88 187 97 91 188 91 94 185
รวมทั้งมหาวิทยาลัย 2,539 8,653 11,192 2,573 8,636 11,209 2,576 8,711 11,287 2,557 9,116 11,673 2,551 9,085 11,637
สัดส่วนอาจารย์ : สายสนับสนุน 1 3 1 3 1 3 1 4 1 4

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
134 -
จานวนบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี พ.ศ. 2557-2563 จาแนกตามคุณวุฒิ
คุณวุฒิทางการศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4 52 114 170 5 51 117 173 1 35 112 148 33 113 146 30 116 146
คณะวิทยาศาสตร์ 6 65 205 276 4 60 218 282 4 51 217 272 3 45 216 264 2 35 214 251
คณะแพทยศาสตร์ 7 28 358 393 7 38 371 416 6 38 375 419 5 42 382 429 7 59 396 462
คณะวิทยาการจัดการ 44 34 78 47 34 81 41 37 78 38 40 78 37 38 75
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 10 57 67 8 59 67 7 58 65 6 57 63 7 57 64
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 5 38 43 5 36 41 4 36 40 4 36 40 3 41 44
คณะเภสัชศาสตร์ 4 9 66 79 4 7 62 73 5 8 61 74 4 7 59 70 3 6 62 71
คณะพยาบาลศาสตร์ 48 54 102 47 52 99 50 52 102 48 53 101 43 57 100
คณะทันตแพทยศาสตร์ 23 10 55 88 25 10 55 90 27 12 53 92 27 12 53 92 28 11 53 92
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 1 18 19 1 19 20 1 18 19 16 16 1 24 25
คณะศิลปศาสตร์ 5 42 35 82 4 46 38 88 4 45 39 88 4 43 37 84 3 38 43 84
คณะนิติศาสตร์ 4 14 2 20 1 16 4 21 1 17 7 25 1 19 7 27 1 15 8 24
คณะเศรษฐศาสตร์ 16 11 27 17 11 28 13 12 25 11 13 24 9 15 24
คณะการแพทย์แผนไทย 2 3 10 15 1 3 12 16 1 2 15 18 1 2 14 17 1 2 14 17
คณะเทคนิคการแพทย์ 4 13 17 4 15 19 3 16 19 3 16 19 3 16 19
สถาบันสันติศึกษา 6 3 9 5 2 7 5 4 9 4 5 9 4 6 10
คณะสัตวแพทยศาสตร์ 5 6 12 23 2 9 14 25 8 8 17 33 8 7 17 32 5 9 21 35
วิทยาลัยนานาชาติ 2 6 2 10 1 8 2 11 7 2 9 1 6 3 10 1 4 9 14
สานักงานอธิการบดี 1 6 7 1 5 6 1 5 6 1 2 3 1 6 8 15

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


ส่วนกลางมหาวิทยาลัย 1 2 3 1 2 3 1 1 2 2 1 3 1 1
สานักวิจัยและพัฒนา 4 4 6 6 7 7 3 3 3 3
บัณฑิตวิทยาลัย 1 1 2 8 8 1 1

-139-
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
135 -
คุณวุฒิทางการศึกษา

-140-
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 8 8 6 6 7 7 8 8
สถาบันนโยบายสาธารณะ (สถาบัน 1 2 3 1 3 4 1 3 4 3 3 4 4
การจัดการระบบสุขภาพภาคใต้)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา 4 4 8 4 4 8 7 4 11 8 5 13
เขตหาดใหญ่
อุทยานวิทยาศาสตร์ 1 1 1 1 1 1 2 1 1 2 1 1 2
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ศูนย์ส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม 1 1 1 1
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ 4 4 4 4
ยางพาราไทย-จีน
รวมวิทยาเขตหาดใหญ่ 64 374 1,114 1,552 56 387 1,148 1,591 59 358 1,164 1,581 55 342 1,172 1,569 52 324 1,207 1,583
คณะศึกษาศาสตร์ 9 81 37 127 8 78 37 123 7 81 36 124 7 79 37 123 6 73 39 118
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมฯ 10 96 51 157 9 100 49 158 8 98 54 160 4 95 57 156 4 88 65 157
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 43 98 141 34 102 136 30 104 134 25 105 130 23 104 127
วิทยาลัยอิสลามศึกษา 11 10 26 47 13 12 28 53 9 16 29 54 11 15 30 56 10 13 34 57
คณะรัฐศาสตร์ 16 7 23 12 8 20 10 9 19 9 8 17 9 9 18
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 14 2 16 13 3 16 13 3 16 13 4 17 13 4 17
คณะวิทยาการสื่อสาร 19 9 28 18 10 28 16 11 27 14 13 27 14 14 28
คณะพยาบาลศาสตร์ 15 4 19 14 4 18 14 6 20 12 8 20 12 9 21
วิทยาเขตปัตตานี
สานักงานอธิการบดี วข.ปัตตานี 2 2 1 1 1 1 2 3 3
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา 1 1 3 3 1 1 2 2 1 1
เขตปัตตานี
รวมวิทยาเขตปัตตานี 30 295 234 559 30 286 241 557 24 280 252 556 22 265 263 550 20 249 278 547

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
136 -
คุณวุฒิทางการศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม
สานักงานอธิการบดีวทิ ยาเขตภูเก็ต 2 2 2 2 2 2
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 10 16 12 38 10 15 12 37 9 15 12 36 9 16 14 39 1 15 16 32
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 29 29 58 21 31 52 8 24 32 7 24 31 7 23 30
คณะวิเทศศึกษา 12 41 12 65 11 40 13 64 11 36 14 61 8 30 15 53 5 28 18 51
โครงการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย 3 3 4 4
สหวิทยาการวิทยาศาสตร์ฯ
สานักงานอธิการบดี วข.ภูเก็ต 2 2 2 2
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 18 22 40 16 23 39 14 26 40
รวมวิทยาเขตภูเก็ต 22 86 58 166 21 78 62 161 20 77 74 171 17 69 78 164 6 64 83 153
สานักงานอธิการบดี วข.สุราษฎร์ฯ 1 1 2 1 1 2 1 1 2 1 1 2 2 1 3
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 26 78 105 1 23 82 106 1 24 83 108 21 89 110 17 56 73
อุตสาหกรรม
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการ 3 36 19 58 4 30 25 59 4 25 30 59 2 23 36 61 9 31 40
จัดการ
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ 2 2 4 4 16 6 26
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


โครงการจัดตั้งคณะนวัตกรรม 2 33 35
การเกษตรและประมง

-141-
รวมวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 4 63 98 165 5 54 108 167 5 50 114 169 4 47 126 177 4 46 127 177
คุณวุฒิทางการศึกษา

-142-
วิทยาเขต/คณะ/หน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม ตรี โท เอก รวม
คณะพาณิชยศาสตร์และการ 1 41 40 82
จัดการ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 8 8 8 8 10 10 10 10 9 9
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา 1 61 27 89 1 58 30 89 2 54 33 89 2 52 33 87
เขตตรัง
รวมวิทยาเขตตรัง 1 69 27 97 1 66 30 97 2 64 33 99 2 62 33 97 1 50 40 91
รวมทั้งมหาวิทยาลัย 121 887 1,531 2,539 113 871 1,589 2,573 110 829 1,637 2,576 100 785 1,672 2,557 83 733 1,735 2,551
คิดเป็นร้อยละ 4.8 34.9 60.3 100.0 4.4 33.9 61.8 100.0 4.3 32.2 63.5 100.0 3.9 30.7 65.4 100.0 3.3 28.7 68.0 100.0

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
138 -
จำนวนบุคลำกรสำยวิชำกำร มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ ปี พ.ศ. 2559-2563 จำแนกตำมตำแหน่งทำงวิชำกำร
ตำแหน่งทำงวิชำกำร
วิทยำเขต/คณะ/หน่วยงำน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ 71 52 47 170 71 54 47 1 173 56 49 42 1 148 56 49 40 1 146 52 49 42 3 146
คณะวิทยาศาสตร์ 152 82 37 5 276 155 85 37 5 282 138 95 34 5 272 124 102 35 3 264 100 106 42 3 251
คณะแพทยศาสตร์ 221 100 59 13 393 241 102 58 15 416 233 115 56 15 419 238 120 56 15 429 253 126 71 12 462
คณะวิทยาการจัดการ 57 19 2 78 62 17 2 81 60 16 2 78 61 15 2 78 60 14 1 75
คณะทรัพยากรธรรมชาติ 31 17 15 4 67 32 18 14 3 67 28 21 13 3 65 29 18 13 3 63 29 18 13 4 64
คณะอุตสาหกรรมเกษตร 18 17 6 2 43 18 16 4 3 41 18 14 6 2 40 16 16 6 2 40 12 22 8 2 44
คณะเภสัชศาสตร์ 27 28 23 1 79 21 27 24 1 73 21 28 23 2 74 20 24 23 3 70 18 25 24 4 71
คณะพยาบาลศาสตร์ 51 35 15 1 102 53 31 13 2 99 59 29 13 1 102 59 29 12 1 101 58 28 13 1 100
คณะทันตแพทยศาสตร์ 43 28 15 2 88 46 27 15 2 90 44 30 16 2 92 42 32 16 2 92 41 31 17 3 92
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 9 6 4 19 8 7 5 20 7 7 5 19 5 8 3 16 9 11 5 25
คณะศิลปศาสตร์ 54 18 10 82 59 18 11 88 61 16 11 88 60 15 9 84 62 14 8 84
คณะนิติศาสตร์ 16 4 20 16 5 21 20 5 25 22 5 27 16 8 24
คณะเศรษฐศาสตร์ 20 5 2 27 19 6 2 1 28 19 5 1 25 18 5 1 24 18 5 1 24
คณะการแพทย์แผนไทย 11 3 1 15 11 4 1 16 12 4 2 18 11 4 1 1 17 13 3 1 17
คณะเทคนิคการแพทย์ 14 2 1 17 14 4 1 19 11 7 1 19 11 7 1 19 11 7 1 19
สถาบันสันติศึกษา 7 2 9 5 2 7 4 4 1 9 4 4 1 9 5 4 1 10
คณะสัตวแพทยศาสตร์ 21 1 1 23 21 3 1 25 28 4 1 33 27 4 1 32 26 7 2 35
วิทยาลัยนานาชาติ 10 10 11 11 9 9 10 10 12 2 14
สานักงานอธิการบดี 5 1 1 7 4 2 6 5 2 7 3 1 1 5 4 4 6 14
ส่วนกลางมหาวิทยาลัย 1 1 1 3 1 1 1 3 1 1 2 1 1 2 2 2

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


สานักวิจัยและพัฒนา 4 4 6 6 4 1 2 7 0 1 2 3 0 1 2 3
บัณฑิตวิทยาลัย 2 2 6 2 8 0 1 1
สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง 5 2 1 8 3 2 1 6 3 3 1 7 4 3 1 8

-143-
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
139 -
ตำแหน่งทำงวิชำกำร

-144-
วิทยำเขต/คณะ/หน่วยงำน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม
สถาบันนโยบายสาธารณะ (สถาบัน
การจัดการระบบสุขภาพภาคใต้) 3 3 4 4 4 4 3 3 4 4
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตหาดใหญ่ 1 2 5 8 1 2 5 8 1 4 6 11 2 5 6 13
อุทยานวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 0 1 1 0 1 1 0 1 1 2 0 1 1 2 1 1 2
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ
ยางพาราไทย-จีน 4 4 4 4
1,55 1,59 1,58 1,56 1,58
รวมวิทยำเขตหำดใหญ่ 852 425 246 29 2 882 433 243 33 1 852 461 234 34 1 836 471 228 34 9 803 486 259 35 3
คณะศึกษาศาสตร์ 86 34 7 127 86 31 6 123 87 27 10 124 89 24 10 123 85 25 8 118
คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ 124 28 5 157 127 28 3 158 121 35 4 160 118 35 2 1 156 110 44 2 1 157
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 92 45 4 141 88 43 5 136 84 45 5 134 79 45 6 130 66 53 8 127
คณะวิทยาการอิสลาม (วิทยาลัย
อิสลามศึกษา) 39 6 2 47 44 7 2 53 43 9 2 54 47 8 1 56 44 11 2 57
คณะรัฐศาสตร์ 20 3 23 17 3 20 17 1 1 19 15 1 1 17 9 8 1 18
คณะศิลปกรรมศาสตร์ 13 2 1 16 11 4 1 16 11 4 1 16 12 4 1 17 9 7 1 17
คณะวิทยาการสื่อสาร 20 8 28 19 9 28 18 9 27 17 10 27 18 10 28
คณะพยาบาลศาสตร์ วข.ปัตตานี 17 2 19 17 1 18 19 1 20 18 2 20 18 3 21
สานักงานอธิการบดี วข.ปัตตานี 2 2 1 1 2 2 2 1 3
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี 1 1 1 2 3 1 1 1 1 2 1 1
รวมวิทยำเขตปัตตำนี 411 129 19 559 412 128 17 557 401 132 23 556 397 130 22 1 550 361 162 23 1 547
สานักงานอธิการบดี วข.ภูเก็ต 1 1 2 1 1 2 1 1 2
คณะการบริการและการท่องเที่ยว 31 6 1 38 31 5 1 37 28 7 1 36 31 7 1 39 23 8 1 32

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
140 -
ตำแหน่งทำงวิชำกำร
วิทยำเขต/คณะ/หน่วยงำน ปี พ.ศ. 2559 ปี พ.ศ. 2560 ปี พ.ศ. 2561 ปี พ.ศ. 2562 ปี พ.ศ. 2563
อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม อ. ผ.ศ. ร.ศ. ศ. รวม
คณะเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 49 6 3 58 41 8 3 52 22 7 3 32 22 6 3 31 19 6 5 30
คณะวิเทศศึกษา 60 4 1 65 59 4 1 64 57 4 61 49 4 53 45 5 1 51
โครงการจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยสห
วิทยาการวิทยาศาสตร์ฯ 3 3 4 4
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.ภูเก็ต 1 1 2 2 2
วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์ 36 4 40 34 5 39 34 5 1 40
รวมวิทยำเขตภูเก็ต 144 17 5 166 138 18 5 161 144 23 4 171 137 23 4 164 121 24 8 153
สานักงานอธิการบดีวิทยาเขตสุ
ราษฎร์ธานี 0 1 1 2 0 1 1 2 0 1 1 2 0 1 1 2 2 1 3
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม 82 20 3 105 78 25 3 106 72 32 4 108 69 36 5 110 38 32 3 73
คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการ
จัดการ 53 5 58 52 7 59 51 7 1 59 51 9 1 61 34 6 40
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติ
วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 4 4 23 2 1 26
โครงการจัดตั้งคณะนวัตกรรม
การเกษตรและประมง 13 20 2 35
รวมวิทยำเขตสุรำษฎร์ธำนี 135 26 4 165 130 33 4 167 123 40 6 169 124 46 7 177 108 62 7 177
คณะพาณิชยศาสตร์และการจัดการ 73 9 82
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ 8 8 8 8 10 10 10 10 7 2 9
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วข.ตรัง 79 8 2 89 79 9 1 89 81 8 89 79 8 87

รายงานผลการดำ�เนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 - พฤษภาคม 2563)


รวมวิทยำเขตตรัง 87 8 2 97 87 9 1 97 91 8 99 89 8 97 80 11 91
1,62 2,53 1,64 2,57 1,61 2,57 1,58 2,55 1,47 2,55
รวมทั้งมหำวิทยำลัย 9 605 276 29 9 9 621 270 33 3 1 664 267 34 6 3 678 261 35 7 3 745 297 36 1
คิดเป็นร้อยละ 64.2 23.8 10.9 1.1 100 64.1 24.1 10.5 1.3 100 62.5 25.8 10.4 1.3 100 61.9 26.5 10.2 1.4 100 57.7 29.2 11.6 1.41 100

-145-
รายงานผลการดาเนินงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ตุลาคม 2561 – พฤษภาคม 2563) -
141 -

You might also like