You are on page 1of 35

3 Reinforced Concrete Design I

Bending in Beam 1
 Floor Framing System
 Load Transferred to Beam from Slab
 Continuous Beams and Slabs
 ACI Moment and Shear Coefficients
 Cracking in RC Structures

Mongkol JIRAVACHARADET
SURANAREE INSTITUTE OF ENGINEERING
UNIVERSITY OF TECHNOLOGY SCHOOL OF CIVIL ENGINEERING
Typical Structure

Spandrel
beam 2nd Floor Column

Beam Joist

1st Floor

Spread footing
Wall footing
Typical Structure

Column
Floor slab

Main beam
(Girder) Spandrel
beam

Pier

Foundation
(Footing)
ระบบผังคาน (Floor Framing System)
เพื่อถ่ายน้ำหนักบรรทุกในแนวดิ่งจากพื้ นไปยังคานและลงสู่เสาอย่าง
ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ
Columns

Layout of Beams and Columns


Joist
- Occupancy requirements
Spandrel
- Commonly used beam size

- Ceiling and services requirements


Stair

Stringer
Floor beam or Girder
การถ่ ายน้ำหนักพืน้ ลงคาน
Tributary area = Area for which the beam is supporting
One-way Floor System (m =S/L < 0.5)
wS kg/m
C1
B2

S B1 Loading
L
Tributary area
B3
B1 Load from B1
Floor load w kg/m2

B3 Loading

B1 = Secondary Beam
B3 = Primary Beam

If span of B3 is too large, more secondary beam may be used.


พืน้ คอนกรีตสำเร็จรู ป
Precast Concrete Slab
พืน้ คอนกรีตสำเร็จรู ป
Precast Concrete Slab

C1
B2

Floor load = w kg/sq.m

Tributary area = 0.5SL sq.m


B3 S
Load on beam = 0.5wS kg/m

L
Two-way Slab Span ratio m = S/L

D C Short span (BC):


45o 45o Floor load = w kg/sq.m

S Tributary area = S2/4 sq.m


Load on beam = wS/4 wS/3 kg/m
45o 45o
A B
B C B C
L

Long span (AB):


Floor load = w kg/sq.m
S2 2m
Tributary area = SL/2 - S /4 =
2
  sq.m
4  m 

wS  3  m 2 
Load on beam   kg/m
3  2 
นิวเวิลด์ ถล่ม หวิดฝังทั้งเป็ น 50 คนงานหนีตาย
เหตุการณ์หา้ งนิวเวิลด์ยา่ นบางลำพูถล่มครั้งนี้ เกิดขึ้นเมื่อเวลา
10.30 น. ของ วันที่ 2 มิ.ย. 2547
เป็ นอาคาร 11 ชั้น อยูร่ ะหว่างการรื้ อถอน แต่ ยงั มีการใช้ งาน
ตั้งแต่ช้ นั จี และชั้น 1 เปิ ดใช้งาน ส่ วนชั้น 2-4 นั้นปิ ด จุดที่เกิด
เหตุเป็ นบริ เวณร้านตัดผมเกย์คทั มีเศษวัสดุก่อสร้างถล่มลงมา
จากชั้นบนทับถมกันสูงประมาณ 10 เมตร
คนงานได้นำเศษปูนมากองรวมกันไว้ที่บริ เวณชั้น 8 จนพืน้ รับน้ำ
หนักไม่ ไหว พังทลายต่อกันเป็ นโดมิโน่ จนถึงชั้นใต้ดิน
ตัวอย่างการน้ำหนักบรรทุกลงคาน B1 ขนาด 30  50 ซ.ม. กำหนดพื้ นหนา 12 ซม.
น้ำหนักบรรทุกจร 200 ก.ก./ตรม. มีผนังบนทุกแนวคานแบบก่ออิฐครึ่งแผ่น หนัก 180
ก.ก./ตรม. สูง 3 เมตร และคาน B2 มีขนาด 20  40 ซ.ม.
5m 4m
วิธีทำ
B2 B2
น้ำหนักพื้ น = 0.1 x 2,400 = 240 kg/m2
4m B2 S B2 S B2
น้ำหนักบรรทุกจร = 200 kg/m2
B1
น้ำหนักผนัง = 180 x 3 = 540 kg/m
3m B2 S B2
น้ำหนัก B1 = 0.3x0.5x2400 = 360 kg/m

6m น้ำหนัก B2 = 0.2x0.4x2400 = 192 kg/m

m = S/L = 4/5 = 0.8

wS  3  m2  (240  200 )  4  3  0.82 


     = 692 kg/m
3  2  3  2 
5m 4m

B2 B2
wS 440  4
B2 S B2 S B2  = 587 kg/m
4m 3 3
B1 wS 440  3
 = 660 kg/m
2 2
3m B2 S B2

Load from B2 = (540+192)x3/2 = 1,098 kg


6m
540 +
540 +
360 +
360 +
540 + B2 692 + 587 +
360 + 660 = 2,252 kg/m
660 = 2,147 kg/m
692 = 1,592 kg/m

3m 2m 4m
CONTINUOUS BEAMS AND SLABS

w w w w

L L L L

SHEAR:

MOMENT:

Methods of Analysis:
- Exact analysis: slope-deflection, moment distribution
- Approximate analysis: ACI shears and moments coefficients
- Computer: MicroFEAP, Grasp, SUTStructor, STAAD.Pro, SAP2000
ACI Approximated Coefficients for Moments and Shears

สำหรับประมาณค่าโมเมนต์และแรงเฉือนมากที่สุดในคานหรือพื้ นทางเดียวต่อเนื่ อง
เงื่อนไข :
1) มีช่วงคานตั้งแต่ 2 ช่วงขึ้ นไป
2) มีช่วงยาวเท่ากันโดยประมาณ โดยช่วงที่ติดกันมีความยาวต่างกันไม่เกิน 20%
3) รับน้ำหนักแผ่สม่ำเสมอเต็มทุกช่วง
4) น้ำหนักจรไม่เกิน 3 เท่าของน้ำหนักบรรทุกคงที่
5) องค์อาคารมีลกั ษณะเป็ นปริซึมหน้าตัดคงที่
ตารางที่ 13.1 ค่าโมเมนต์และแรงเฉือนโดยใช้สมั ประสิทธิ์ของ ACI
(ก) โมเมนต์บวก
1) คานช่วงปลาย
- ปลายไม่ต่อเนื่ องไม่ยดึ รั้งกับจุดรองรับ wuln2/11
- ปลายไม่ต่อเนื่ องหล่อเป็ นเนื้ อเดียวกันกับจุดรองรับ wuln2/14
2) คานช่วงใน wuln2/16
(ข) โมเมนต์ลบ
1) โมเมนต์ลบที่ขอบนอกของจุดรองรับตัวในตัวแรก
- เมื่อมี 2 ช่วง wuln2/9
- เมื่อมีมากกว่า 2 ช่วง wuln2/10
2) โมเมนต์ลบที่ขอบของจุดรองรับตัวในอื่นๆ wuln2/11
(ข) โมเมนต์ลบ (ต่อ)
3) โมเมนต์ลบที่ขอบของจุดรองรับทุกแห่งสำหรับ
- พื้ นที่มีช่วงยาวไม่เกิน 3.00 ม. wuln2/12
- คานที่มีอตั ราส่วนสติฟเนสของเสาต่อคาน > 8 wuln2/12
4) โมเมนต์ลบที่ขอบในของจุดรองรับตัวริมที่หล่อเป็ นเนื้ อเดียวกับจุดรองรับ
- เมื่อจุดรองรับเป็ นคานขอบ wuln2/24
- เมื่อจุดรองรับเป็ นเสา wuln2/16
(ค) แรงเฉือน
1) แรงเฉือนที่ขอบนอกของจุดรองรับตัวในแรก 1.15 wuln/2
2) แรงเฉือนที่ขอบของจุดรองรับตัวอื่นๆ wuln/2
คานต่อเนื่องมากกว่าสองช่วง
จุดรองรับเป็ นเสา
คานขอบ(Spandrel)
จุดรองรับเป็ นคานขอบ

ปลายไม่ต่อเนื่ องไม่ยดึ รั้ง: 0 1/11

จุดรองรับเป็ นเสา: 1/16 1/14 1/10 1/11 1/16 1/11 1/11

จุดรองรับเป็ นคานขอบ: 1/24 1/14


คานยืน่ เป็ นกันสาด

คานรองรับ คานรองรับ คานรองรับ

คานหลัก

เสารองรับ
คานต่อเนื่องสองช่วง
ปลายไม่ต่อเนื่ องไม่ยดึ รั้ง: 0 1/11

จุดรองรับเป็ นเสา: 1/16 1/14 1/9 1/9 1/14 1/16

จุดรองรับเป็ นคานขอบ: 1/24 1/14

พื้นช่วงยาวไม่เกิน 3 เมตร

1/12 1/14 1/12 1/12 1/16 1/12 1/12


คานซึ่งผลรวมสติฟเนสเสามากกว่า 8 เท่าของผลรวมสติฟเนสคาน

1/12 1/14 1/12 1/12 1/16 1/12 1/12


Ex3.1: A two span beam is supported by spandrel beams at the outer edges and by a
column in the center. Dead load (including beam weight) is 1.5 t/m and live load is 3
t/m on both beams. Calculate all critical service-load shear forces and bending
moments for the beams. The torsional resistance of the spandrel beam is not
sufficient to cause restraint of beam ABC at the masonry walls.
Masonry Masonry
Wall
D CL E CL Wall

B’ B’’
6m 6.5 m
A B C
Check conditions (a) Loads are uniformly distributed,
(b) LL/DL = 3/1.5 = 2 < 3,
(c) (L2 – L1)/L1 = (6.5 – 6)/6 = 0.083 < 0.2

Bending Moments MAB = -4.5(6)2/24 = -6.75 t-m, MBA = -4.5(6.25)2/9 = -19.5 t-m,

MCB = -4.5(6.5)2/24 = -7.92 t-m, MBC = -4.5(6.25)2/9 = -19.5 t-m,

MD = 4.5(6)2/11 = 14.7 t-m, ME = 4.5(6.5)2/11 = 17.3 t-m


Masonry Masonry
Wall
D CL E CL Wall

B’ B’’
6m 6.5 m
A B C

Shear Forces
VA = 4.5(6)/2 = 13.5 tons, VB’ = 1.15(4.5)(6)/2 = 15.5 tons,

VC = 4.5(6.5)/2 = 14.6 tons, VB’’ = 1.15(4.5)(6.5)/2 = 16.8 t-m

Reactions
RA = VA = 13.5 tons,

RB = VB’ + VB’’ = 15.5 + 16.8 = 32.3 tons,

RC = VC = 14.6 tons
เมือ่ คานรับน้ำหนักบรรทุก . . .

รอยแตกร้าวเนื่ องจากการดัด

รอยแตกร้าวเนื่ องจากการเฉือน
แรงอัด

แรงดึง

รอยแตกร้าว

บริเวณเกิดแรงอัดสูงสุด

บริเวณเกิดแรงดึงสูงสุด
การขยายตัวของแรงดึง ตามการแอ่นตัวของคานจากน้ำหนักทีเ่ พิม
่ ขึน

1/6 W ขนาดแรงดึง kPa

2/6 W

3/6 W

4/6 W

5/6 W

W
แรงอัด แรงดึงต่ำ

แรงดึงสูงสุด

ลูกศรแสดงทิศทางของแรงดึง ณ จุดต่างๆ
ลูกศรแสดงทิศทางของแรงดึงในเนือ
้ คอนกรีต

ระนาบของรอยร ้าวทีเ่ ป็ นไปได ้ ซงึ่ ต ้องตัง้ ฉากกับทิศทางของแรงดึง


รอยแตกร้าวเนือ
่ งจาก
การดัดตัวของคาน

เหล็กเสน
้ รับแรงดึง
รอยแตกร้าวเนื่ องจากการเฉื อน

เหล็กปลอกทีใ่ ชรั้ บแรงเฉือน


รอยแตกหลังคาน

รอยแตกใต ้ท ้องคาน
รอยแตกหลังคาน

รอยแตกใต ้ท ้องคาน
ฐานรากทรุด
การแตกร ้าวทีผ
่ นัง เป็ นอาการของการทรุดตัวโครงสร ้าง
Architectural
Floor Plan
Structural
Floor Plan

You might also like