You are on page 1of 45

ประชุมพิจารณาตรวจรับร่างรายงานแผนแม่บทและ

ร่างการสำรวจออกแบบฯ
(ฉบับแก้ไข)
วันศุกร์ที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมกองวิศวกรรม กรม
เจ้าท่า
และระบบออนไลน์อิเล็กทรอนิกส์ แอพพลิเคชั่น Zoom
Room ID : 985 8464 9218
Passcode : 1234
หน่วยงานเจ้าของโครงการ: กรมเจ้า
ท่า
สัญญาเลขที่ : กลุ่มบริษัทที่ปรึกษา:

92/2564/พย.
วันที่ลงนาม : วันที่ 14 บริษัท คอนซัลแทนท์ ออฟ เทคโนโลยี จำกัด
พฤษภาคม 2564
วันสิน
ทึกข้อตกลงแก้้ สุดไสัขเปลี
ญญา่ยนแปลงสั
: วันญ
ที่ ญา
5
พฤศจิกายน 2565
เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2565”
บริษัท โกลเด้น แพลน
จำกัด
2
2
ระเบียบวาระการประชุม
วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
วาระที่ 2 เรื่องเพื่อพิจารณา
ที่ปรึกษาเสนอร่างรายงานแผนแม่บทและร่างการสำรวจ
ออกแบบฯ (ฉบับแก้ไข)
วาระที่ 3 อื่น ๆ (ถ้ามี)

3
3
วาระที่ 1
เรื่องประธานแจ้งให้ที่ประชุม
ทราบ

4
วาระที่ 2
เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ 2.1 การส่งรายงานที่ผ่านมา / การส่งร่างรายงานแผน
แม่บทและร่างการสำรวจออกแบบฯ (ฉบับแก้ไข)

5
วาระที่ 2.1 การส่งงานที่ผ่านมา / การส่งร่างรายงานแผนแม่บท
และร่างการสำรวจออกแบบ
งวดงานที่ 1 งวดงานที่ 2 งวดงานที่ 3
ในการประชุมครัง้ ที่ 2/2564 เรื่อง เพื่อพิจารณารายงานแผนการปฏิบัติ
งาน ในวันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 เวลา 09.30 – 12.30 น. คณะกรรมการ 3 5
ตรวจรับพัสดุงานจ้างที่ปรึกษาได้มีข้อคิดเห็น ให้ที่ปรึกษาดำเนินการแก้ไขรายงาน
แผนการปฏิบัติงานโครงการศึกษาวางแผนแม่บทและสำรวจออกแบบเสริมทราย
ป้ องกันการกัดเซาะสนับสนุนการท่องเที่ยว บริเวณเขาหลักถึงแหลมปะการัง ตำบล
ตะกั่วป่ า จังหวัดพังงา ซึ่งที่ปรึกษาได้ดำเนินการแล้วเสร็จและนำส่งให้กรมเจ้าท่า
พิจารณาเป็ นที่เรียบร้อยแล้ว
1 2

ที่ปรึกษา ส่งรายงานความ
ก้าวหน้า ฉบับที่ 1
ต่อกรมเจ้าท่า
Our Ref. ENV-210724/406420
ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2564

4
ที่ปรึกษา ส่งรายงาน ที่ปรึกษา ส่งรายงาน กรมเจ้าท่า
Inception Report Inception Report (ฉบับ
ต่อกรมเจ้าท่า
พิจารณาตรวจรับ ที่ปรึกษา ส่งรายงานความก้าวหน้า
ปรับปรุง) ต่อกรมเจ้าท่า ฉบับที่ 2
รายงานแล้ว ตาม
Our Ref. ENV- Our Ref. ENV- ต่อกรมเจ้าท่า
210536/406420 ลงวันที่ 210683/406420
หนังสือเลขที่ 1/2564
ลงวันที่ 27 กรกฎาคม Our Ref. ENV40-220010/406520
11 มิถุนายน 2564 ลงวันที่ 14 กรกฎาคม ลงวันที่ 12 มกราคม 2565
2564 2564

6
ที่ปรึกษาได้ส่งรายงานความก้าวหน้า ฉบับ
6 ที่ ๒ (ฉบับแก้ไข) ร่างรายงานแผนแม่บทและร่างการ
ในวันที่ 1 มีนาคม ๒๕๖๕
งวดงานที่ 4
7 สำรวจออกแบบ
Our Ref. ENV40-
230090/406520
ลงวันที่ 8 มีนาคม 2566

ที่ปรึกษา ส่งรายงานความก้าวหน้า ฉบับที่ 2


(ฉบับแก้ไข)
ต่อกรมเจ้าท่า
Our Ref. ENV40-220010/406520
ลงวันที่ 12 มกราคม 2565

7
แก้ไข-เพิม
่ เติมในรายงานฯ ร่างรายงานแผนแม่บทและร่างการสำรวจ
ตามข้อสังเกตและความเห็น
8
Our Ref. ENV40-
ออกแบบฯ
230163/406420 (ฉบั
บ งวดงานที
แก้ไข) ่ 4
ของกรรมการฯ ลงวันที่ 21 เมษายน 2566
(ลงรับรายงาน 24 เม.ย. 66)

ความเห็นต่อร่างรายงานแผนแม่บทและร่าง
รายงานการสำรวจออกแบบ เสริมทรายป้ องกัน
การกัดเซาะบริเวณเขาหลักถึงแหลมปะการัง
อ.ตะกั่วป่ า จ.พังงา (ตามรายงานการประชุม
6/2566 วันที่ 28 มี.ค. 66) 8
เมษายน
วาระที่ 3
เรื่องเพื่อพิจารณา

9
องค์ประกอบของ ร่างรายงานฯ (ฉบับแก้ไข)
บทที่ 1 บทนำ 1. ร่างรายงานสรุป
บทที่ 2 งานศึกษารวบรวมข้อมูลบริเวณที่ตงั ้ โครงการ สำหรับผู้บริหาร
บทที่ 3 งานศึกษา สำรวจ และวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม
2. ร่างแบบรายละเอียด
บทที่ 4 งานพัฒนาและปรับเทียบแบบจำลอง
คณิตศาสตร์ 3. ร่างการประมาณ
บทที่ 5 งานศึกษาจัดทำแผนแม่บท ราคา
บทที่ 6 งานสำรวจออกแบบ 4. ร่างเอกสารประกวด
บทที่ 7 งานศึกษาด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว ราคา ข้อกำหนดต่าง
บทที่ 8 งานประเมินความเหมาะสมของโครงการ ๆ
บทที่ 9 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
บทที่ 10 งานประชาสัมพันธ์และประชุมสัมมนา ตัวหนังสือสีแดง : ส่วนที่
แก้ไข/เพิ่มเติม
10
ประเด็นเกี่ยวเนื่องกับงานศึกษาด้าน
วิศวกรรม
• แนวเสริมหาดพิจารณาจากความต้องการด้านการท่อง
เที่ยวเพียงอย่างเดียว ขอทำไม่เกินแนวชายฝั่ งเดิมเพื่อ
ป้ องกันไม่ให้เกิดประเด็นถมทะเล
• ความลาดชายหาด 1: 20 ใช้ทรายเยอะ สิน ้ เปลืองงบ
ประมาณ ควบคุมงานลำบาก
ขอให้ดำเนินการระหว่าง 1: 10 ถึง 1: 15
• การประเมินแนวชายฝั่ งหลังเสริมทราย/รอบระยะเวลา
เสริมซ้ำ ขอให้ใช้ XBeach แทนการใช้ GENESIS

11
แนวเสริมทราย
• งานศึกษาดำเนินการตามกรอบที่ระบุใน TOR ข้อ 3.2.4
“๓.๒.๔ ศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงการใช้งานชายหาดของ
พื้นที่โครงการในอนาคตทางด้านของการท่องเที่ยว จำนวนนักท่องเที่ยว
กิจกรรมบนชายหาดทัง้ ของภาครัฐและเอกชน ธุรกิจต่อเนื่อง เมื่อมีโครงการตาม
ทางเลือกที่เหมาะสม เพื่อคำนวณหาขนาดพื้นที่ชายหาดที่เหมาะสมในการ
รองรับนักท่องเที่ยวและกิจกรรมดังกล่าว”
• ข้อพิจารณาอื่นนอกมิติที่กำหนดใน TOR
- เสถียรภาพแนวชายฝั่ งกรณีหินหัวหาด (Headland-Bay Beach
Planform Stability/Shoreline Planform Stability of Embayed
Beach)
- แนวชายฝั่ งในอดีต

12
เสถียรภาพแนวชายฝั่ งกรณีหินหัวหาด

2
𝑅 𝑁 / 𝑅 0= 𝐶 0+ 𝐶 1 ( 𝛽/ 𝜃 𝑁 ) +𝐶 2 ( 𝛽 / 𝜃 𝑁 )

13
กรณีโครงการพังงา
C0 = -0.928150
C1 = 2.852117
C2 = -0.923970
60

50

40

30

20
𝑅 𝑁 / 𝑅 0= 𝐶 0+ 𝐶 1 ( 𝛽/ 𝜃 𝑁 ) +𝐶 2 ( 𝛽 / 𝜃 𝑁 )2
10

0
0 50 100 150 200 250 300 350 400 450

14
45

C0 = -0.007210
40

35

30

C1 = 0.156068 25

20

C2 = 0.851146 15

10

0
0 100 200 300 400 500 600

100

50

C0 = -1.41500 -100
0

-50
0 100 200 300 400 500

C1 = 3.83941 -100

C2 = -1.42441
-150

-200

-250

15
การสร้างแนวเสริมชายหาดในโครงการ
• ลากเส้นระหว่างกองหินหัวหาดที่ระยะห่างจากแนวชายฝั่ ง
ปั จจุบัน ~60 เมตร
• RUN GENESIS 5 ปี
• ใช้เส้นแนวชายฝั่ งปี ที่ 5 เป็ นแนวเสริมทราย

16
แนวชายฝั่ งในอดีต
• เสนอว่าจะเขียนสรุปประเด็นนีไ้ ว้ในรายงานแผนแม่บทฉบับ
สมบูรณ์
ชายฝั่ งปี 1987 – 2020 จาก Google Earth Engine

กอง
หิน แนวเสริมทราย

17
ความลาดของงานเสริมทราย
ข้อเสนอความลาด 1: 20
มาจากผลวิเคราะห์รูปหน้าตัดชายหาดที่สูญเสียทรายน้อยที่สุด

18
งานเสริมทรายของกรมเจ้าท่าในปั จจุบัน
• ทัง้ หมดทำที่ความลาด 1: 10
• หลังผ่านคลื่นและการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำ (น้ำขึน
้ -น้ำลง)
ห้วงเวลาหนึ่ง ความลาดบริเวณหน้าหาดเปลี่ยนเป็ น 1: 15

• ค่า gradient 1: 15 เท่ากับ 6.7% ใกล้เคียงกับที่เสนอ 5%


พิจารณาว่าอยู่ในระดับเดียวกัน
ที่ปรึกษาแก้แบบก่อสร้างเปลี่ยนความลาดเป็ น 1: 15

19
การทำนายแนวชายฝั่ ง
• GENESIS: เหมาะกับงานศึกษาแนวชายฝั่ งหลังชายหาดเสีย
สมดุล เช่น งานก่อสร้างเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่ ง (offshore
breakwater) เขื่อนกันทราย (groin) งานเสริมทราย
(beach nourishment) ฯลฯ
• XBeach: เหมาะกับงานศึกษาการเปลี่ยนแปลงแนวชายฝั่ งที่
เกิดในระยะเวลาสัน้ ๆ
หลังเผชิญพายุไต้ฝุ่น
วัตถุประสงค์:
ประเมินรอบเวลาเสริมซ้ำแบบ
conservative

20
ด้านเศรษฐกิจและการ
ท่องเที่ยว
ข้อสังเกตและความเห็นของกรรม
การฯ
ต่องานศึกษา
21
1 หน้า ๗-๑๑๓ การประมาณการหรือคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยว
ขอให้ระบุให้ซัดเจน ว่าคิดปี ฐานจากปี ไหนเพราะอะไร - อัตราการ
เพิ่มของจำนวนนักท่องเที่ยวเป็ นเท่าไร เพราะอะไรจึงนำค่านัน
้ มา
ใช้ได้ – แสดงสูตรและวิธีการคิดคำนวณจำนวนนักท่องเที่ยวมาไว้
พบว่าด้
กระทรวงการท่
วย องเที่ยวปรับข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวปี ฐาน ที่
ปรึกษาจึงวางแผนปรับปรุงประมาณการจำนวนนักท่องเที่ยวใหม่

การประมาณการหรือคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน)
สำหรับพื้นที่โครงการที่ปรับปรุงใหม่ พิจารณาแนวโน้มจำนวนนักท่อง
เที่ยวในอนาคต จากสถิติข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวในช่วงเวลา 10 ปี
ของจังหวัดพังงา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2553-2562 ตามตารางที่ 7.2.3-1
ข้อมูลการท่องเที่ยวจังหวัดพังงา พ.ศ. 2553-2564 โดยใช้สมการที่
อธิบายความสัมพันธ์ได้ดีที่สุด คือสมการในรูปแบบลอการิทึม
(Logarithmic model) โดยพยากรณ์ตงั ้ แต่ปี 2567 – 2601 ราย
22
ละเอียด อัตราการเพิ่ม เหตุผล สมการและวิธีคำนวณ แสดงในหน้า
2 การตัง้ สมมุติฐานว่า จำนวนนักท่องเที่ยวจะเพิ่มขึน ้ เป็ นสัดส่วนกับความกว้าง
ชายหาดที่เสริมลงไป เหมาะสมและถูกต้องหรือไม่ - แสดงว่าหากยิ่งถมหาดกว้างมากๆ
นักท่องเที่ยวจะมากันมาก ถ้าถมหาดออกไป ๑ กิโลเมตร นักท่องเที่ยวน่าจะเพิ่มขึน ้
หลายเท่าตัว ข้อเท็จจริง เป็ นอย่างนัน ้ หรือไม่ – มีแนวทางหรือวิธีอ่ น ื ที่ใช้ค ำนวณความ
สัมพันธ์ของปริมาณนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึน ้ กับการเสริมทรายฟื้ นฟูชายหาดได้หรือไม่
เอาที่น่าจะเป็ นวิทยาศาสตร์และน่าเชื่อถือ มีวิชาการรองรับ เช่น มีแบบสอบถามนักท่อง
เที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติว่า คิดเห็นอย่างไรหากมีการแก้ไขปั ญหากัดเซาะด้วยการ
เสริมทรายชายหาด เขาอยากจะกลับมาเที่ยวที่หาดนีอ ้ ีกหรือไม่ คิดเป็ นสัดส่วนเท่าไร
- มีรายงานการศึกษาระบุว่าความกว้างชายหาดหากมากไป เช่น ๑ กม. ไม่ทำให้จำนวน
เทียบกับตอนที่ไม่มีหาดหรือยังไม่ได้เสริมหาด แล้วนำสัดส่วนตัวเลขดังกล่าวมาประยุกต์
นักท่องเที่ยวเพิ่มขึน้ แต่ลดลงเพราะนักท่องเที่ยวจะกระจุกตัวบริเวณที่หาดแคบไม่
ใช้เป็ นอัตรานักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึน
้ เป็ นต้น
กระจายตัวตลอดความยาวหาด ความกว้างชายหาดที่เสริม ๖๐ เมตร เป็ นความกว้าง
ชายหาดที่ยังสามารถใช้สมมุติฐานจำนวนนักท่องเที่ยวแปรผันตามพื้นที่หาดได้
- ไม่ชัดเจนว่าการใช้แบบสอบถามจะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่แม่นยำขึน ้ เพราะนักท่องเที่ยวที่
พบในวันสัมภาษณ์จะเป็ นนักท่องเที่ยวพื้นที่นน ั ้ ในอนาคต
มีการปรับปรุงในรายงานใช้จำนวนนักท่องเที่ยวโดยประมาณการจาก
จำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ที่จะเพิ่มขึน
้ ตามศักยภาพของการเพิ่ม
สัดส่วนของพื้นที่หาดที่เพิ่มขึน
้ และปรับลดจำนวนในส่วนนักท่องเที่ยวผู้
พักค้างตามอัตราวันพักค้างเฉลี่ยปี 2562 ของนักท่องเที่ยวชาวไทย 2.3
23
ความกว้างของหาดทรายสำหรับ
นันทนาการและการท่องเที่ยว

คำแนะนำของ California Public Outdoor


Recreation Plan ได้เสนอแนะว่า ความกว้างของ
ชายหาดสำหรับกิจกรรมนอนอาบแดดและการละเล่น
บริเวณชายหาด คือ 60 เมตร วัดจากระดับน้ำทะเลขึน ้
เฉลี่ย (MHW: Mean High Water) ไม่รวมพื้นที่
กันชน พื้นที่สิ่งอำนวยความสะดวก พื้นที่ปิกนิก และ
พื้นที่จอดรถ

รายละเอียดใน หัวข ้อ 5.3


https://www.planning.org/pas/reports/
เป้ าประสงค์ของงานเสริมทราย
report194.htm 24
คณะกรรมการ
นันทนาการและสวนสา
ธารณะหลุยเซียน่า
แนะนำสำหรับชายหาด
พื้นที่หนึ่งหน่วยในการ
ว่ายน้ำชายฝั่ งควรมี
ความยาว 600 ฟุต และ
กว้าง 665 ฟุต (กว้าง
565 ฟุตเป็ นพื้น และ
100 ฟุตเป็ นน้ำ)....
หน่วยขัน ้ ต่ำ 9.2
เอเคอร์ (1.4
https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED032147.pdf
25
The experiences and records of the Department of Irrigation
and Drainage Malaysia, Coastal Engineering Division in
undertaking coastal protection work throughout the country.
Profile Shape
The profile of beach nourishment is a geometric shape with a
flat dry beach berm and foreshore slope. Cost constraints
commonly influence the steepness of the design slope and the
length of the dry berm. In local designs, a slope angle of 15 to 20
degrees and a dry beach berm of 60 meters are commonly used.
The length of the design berm is governed by the expected rate
of reduction, costs and the expected time for renourishment.
The local practise of allowing about 20 meters of the new beach
berm to be ‘sacrificed’ in the process of achieving equilibrium
has appeared to be sufficient in most cases.

Mohd Ghazali, Nor Hisham (2004) Beach nourishment and its impact on holiday beaches. In: Seminar Sumberjaya Pinggir Pantai dan
Pelancongan: Isu dan Cabaran, 20-21 Disember 2004, Bukit Merah Laketown Resort, Perak.
https://www.water.gov.my/jps/resources/auto%20download%20images/5844e2e43b2af.pdf
26
250 ft. =76.2 m.

27
200-250 ft. =60.96 -76.2 m.

28
มีการศึกษาที่เกี่ยวข้องที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของพื้นที่ชายหาดต่อ
จำนวนนักท่องเที่ยว ได้แก่
- การศึกษาที่ Catalan beaches ประเทศสเปน พบว่าแนวโน้มการกัดเซาะในปั จจุบันจึงส่งผล
เสียต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวชายฝั่ งในคาตาโลเนียในอนาคต และการที่ระดับน้ำทะเลสูงขึน ้
อย่างรวดเร็วทำให้สถานการณ์เลวร้ายยิ่งขึน ้ พื้นที่ชายหาดที่จะลดลงจากระดับน้ำทะเลที่จะ
เพิ่มขึน
้ โดยปี 2050 จะทำให้นักท่องเที่ยวลดจำนวนลง จะลดลงเหลือ 83% ของค่าปั จจุบัน ที่
Catalan beaches ประเทศสเปน การดำเนินกลยุทธ์การปรับตัวโดยอาศัยการเสริมทราย
ชายหาดเป็ นแนวทางเดียวที่เหมาะสม จึงจำเป็ นต้องมีแหล่งทรายที่มีคุณภาพเพียงพอเพื่อรักษา
ความกว้างของชายหาดในอนาคต (López-Dóriga, U., Jiménez, J. A., Valdemoro, H. I.,
& Nicholls, R. J. (2019). Impact of sea-level rise on the tourist-carrying capacity
of Catalan beaches. Ocean and Coastal Management, 170, 40-50.)
- การศึกษาในประเทศไทย Nidhinarangkoon, Pattrakorn, Sompratana Ritphring, and
Keiko Udo. 2020. "Impact of Sea Level Rise on Tourism Carrying Capacity in
Thailand" Journal of Marine Science and Engineering 8, no. 2: 104. ได้ทำ การ
ศึกษาผลกระทบของการเพิ่มขึน ้ ของระดับน้ำทะเลที่จะมีผลต่อขีดความสามารถในการรองรับได้
ด้านการท่องเที่ยว โดยได้สรุปได้ว่าว่า การสูญเสียพื้นที่ชายหาดจากการเพิ่มขึน
้ ของระดับน้ำ
ทะเลจะเป็ นประเด็นสำคัญสำหรับการท่องเที่ยวชายหาด โดยขีดความสามารถในการรองรับได้
ด้านการท่องเที่ยวจะลดลง จึงควรพิจารณาการป้ องกันการสูญเสียชายหาดในอนาคตสำหรับ
การจัดการชายฝั่ ง

29
มีการศึกษาที่เกี่ยวข้องที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของพื้นที่
ชายหาดต่อจำนวนนักท่องเที่ยว ได้แก่
- การศึกษาที่ใช้สัดส่วนพื้นที่เสริมทรายต่อจำนวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึน ้
รายงานการศึกษาวางแผนแม่บทและสำรวจออกแบบเพื่อเสริมทราย
ป้ องกันการกัดเซาะชายหาดหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2560 หน้า 7-6
ระบุ “พื้นที่นำร่องในการเสริมทรายคิดเป็ นพื้นที่ประมาณร้อยละ 5 ของ
ชายหาดหัวหินทัง้ หมด จากตัวเลขดังกล่าวจึงสามารถประมาณการตัวเลขนัก
ท่องเที่ยวที่เปลี่ยนแปลงไปในอนาคตหากมีการเสริมทรายและพัฒนาคุณภาพ
ชายหาดได้ โดยคิดตามสัดส่วนพื้นที่เสริมทรายต่อพื้นที่หาดหัวหินทัง้ หมด”
รายงานการศึกษาวางแผนแม่บทและจัดทำรายงานการศึกษาผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม สำหรับโครงการเสริมทรายป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง บริเวณ
ชายหาดจอมเทียน จังหวัดชลบุรี 2563 ในหน้า 2-132 ระบุ “การศึกษาฉบับ
นีจ้ ึงประเมินจำนวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึน
้ ตามสัดส่วนของพื้นที่ชายฝั่ งที่
เหมาะสมกับการท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึน ้ คือร้อยละ 11 ของจำนวนนักท่องเที่ยว
เดิม”
30
2 จากตารางคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยวในอนาคต สมมติฐาน
ในการประมาณการขึน
้ อยู่กับอะไร เนื่องจากตัวเลขที่คาดการณ์หากมาก
เกินไป จะเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เป็ นรายได้จากนักท่อง
เที่ยวที่เข้ามาในพื้นที่หรือจังหวัดพังงา ซึ่งในรายงานที่เสนอพบว่าผลการ
คาดการณ์ที่ได้มากเกินความเป็ นจริง ซึ่งทำให้ค่าผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจสูงตามมา ดังนัน ้ ควรใช้ตัวเลขสมมติฐานจริง พร้อมระบุสาเหตุที่
เกี่ยวข้อง เช่นจสถานการณ์
การคาดการณ์ ำนวนนักท่อโงเที ควิด่ย-๑๙ หรือปั จจัย
วเป็ นเฉพาะพื ้นอะไรบ้ างที่จโดยการ
ที่โครงการ ะทำให้นัก
ท่องเที่ยวเพิ่มขึกน
ประมาณการนั ้ ท่อเพื
่ อไม่
งเที ให้ผนการประเมิ
่ยวเป็ ลการคาดการณ์ นพิจนารณาจากข้
ักท่องเที่ยวมี
อมูคล่าจำนวนห้
มากเกิน อง
ความเป็
พั กในพื้นนจริ ง
ที่โครงการเปรี ยบเทียบจำนวนห้องพักทัง้ หมดของจังหวัดพังงา
และได้ประชุมสอบถามผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมในพื้นที่ ตัวแทนธุรกิจ
ท่องเที่ยว ถึงสัดส่วนที่คาดว่าจะเป็ นนักทัศนาจร นักท่องเที่ยวในพื้นที่
จำนวนประมาณเท่าใด มีส่วนแบ่งร้อยละเท่าไรจากทัง้ จังหวัด โดยจำนวน
ห้องพักของจังหวัดพังงาทัง้ หมด กับห้องพักในพื้นที่โครงการ ซึ่งจาก
จำนวนนักท่องเที่ยวของจังหวัดพังงา ปี ๒๕๖๒ ประมาณ ๔ ล้านกว่า31
2 เนื่องจากข้อมูลการท่องเที่ยวของกระทรวงการท่องเที่ยวล่าสุด
ในปี ๒๕๖๕ พบว่ามีค่าต่ำกว่าค่าที่ประมาณการไว้ เนื่องจากประเทศจีนไม่
เปิ ดประเทศ หากประเทศจีนเปิ ดประเทศอาจจะทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวมี
จำนวนใกล้เคียงกับค่าที่ประมาณการไว้
ทางผู้ศึกษาจะดำเนินการปรับปรุงตัวเลขเริ่มต้นกรณีไม่มีโครงการปรับปรุง
ฟื้ นฟูชายหาดให้สอดคล้องกับข้อมูลปั จจุบัน ดังนัน้ การเพิ่มขึน
้ ของนักท่อง
เที่ยวกรณีหลังมีโครงการ ก็จะมีจำนวนที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งรายละเอียด
ทัได้ ปรับเปลี่ย่มนในรายงานการประมาณการหรื
ง้ หมดจะเพิ ้ จงต่อไป อคาดการณ์จำนวนนักท่อง
เติมไว้ในเอกสารชีแ
เที่ยว (ผู้มาเยือน) สำหรับพื้นที่โครงการ พิจารณาแนวโน้มจำนวนนัก
ท่องเที่ยวในอนาคต จากสถิติข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวในช่วงเวลา 10
ปี ของจังหวัดพังงา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2553-2562 ตามตารางที่ 7.2.3-1
ข้อมูลการท่องเที่ยวจังหวัดพังงา พ.ศ. 2553-2564 โดยใช้สมการที่
อธิบายความสัมพันธ์ได้ดีที่สุด คือสมการในรูปแบบลอการิทึม
(Logarithmic model) โดยพยากรณ์ตงั ้ แต่ปี 2567 – 2601 ราย
ละเอียด อัตราการเพิ่ม เหตุผล สมการและวิธีคำนวณ แสดงในหน้า 327-
2
การปรับปรุงในรายงาน
ในกรณีที่มีโครงการปรับปรุงพื้นที่ชายหาด โดยการเสริมทราย ใช้
จำนวนนักท่องเที่ยวโดยประมาณการจากจำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มา
เยือน) ที่จะเพิ่มขึน
้ ตามศักยภาพของการเพิ่มสัดส่วนของพื้นที่หาดที่เพิ่ม
ขึน
้ และปรับลดจำนวนในส่วนนักท่องเที่ยวผู้พักค้างตามอัตราวันพักค้าง
เฉลี่ยปี 2562 ของนักท่องเที่ยวชาวไทย 2.3 วัน-คน นักท่องเที่ยวชาว
ต่างชาติ 6.3 วัน-คน แสดงในหน้า 7-112 ถึง 7-116

33
การคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยวในอนาคต
• ในการคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยวในอนาคตได้นำการคาดการณ์
สถานการณ์การท่องเที่ยวจำนวนผู้มาเยือนในอนาคต ได้พิจารณาแนวโน้ม
จำนวนนักท่องเที่ยวในอนาคต จากสถิติข้อมูลจำนวนนักท่องเที่ยวในช่วง
เวลา 10 ปี ของจังหวัดพังงา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2553-2562 ตามตารางที่ 7.2.3-1
• ฝ่ ายวิจัยเศรษฐกิจและกลยุทธ์ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร มองว่าใน
ปี 2023 (2566) การท่องเที่ยวจะทยอยฟื้ นด้วยสัดส่วนนักท่องเที่ยวแต่ละ
สัญชาติที่กลับมากระจายตัวดีขน ึ้ โดยเฉพาะจากนักท่องเที่ยวจีนที่กลับมา
ตามการเปิ ดประเทศของจีนที่เร็วกว่าคาดตัง้ แต่ช่วงต้นปี 2023 โดยประเมิน
ว่าจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทงั ้ ปี 2023 จะอยู่ที่ประมาณ 29.7 ล้านคนใน
ปี นี ้ และคาดว่าจะมีนักท่องเที่ยวต่างชาติจำนวน 39.8 ล้านคนหรือเท่ากับ
ช่วงก่อนโควิด-19 ในปี 2024 (2567)
• ดังนัน ้ ในการคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) สำหรับพื้นที่
โครงการ จะประมาณการสำหรับจำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) จังหวัด
พังงา และพื้นที่โครงการ ในปี พ.ศ. 2567
ลัทธกิตติ ์ ลาภอุดมการณ์ และบูรกร ทิพยสกุลชัย, 2566. ท่องเที่ยวไทยฟื้ นแล้ว แต่จะเจอ “Long-COVID” หรือไม่?
ฝ่ ายวิจัยเศรษฐกิจและกลยุทธ์ กลุ่มธุรกิจการเงินเกียรตินาคินภัทร (KKP Research)
https://media.kkpfg.com/document/2023/Apr/thai_tourism_%20recovers_but_%20faces_long_ 34
%20covid_.pdf
การคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยวในอนาคต
• ในการพยากรณ์จำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ในที่นใี ้ ช้สมการพยากรณ์ จากข้อ
มูลปี พ.ศ. 2553-2562 โดยพยากรณ์ตงั ้ แต่ปี 2567 – 2601 ในการประมาณการนัก
ท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) สำหรับพื้นที่โครงการบริเวณเขาหลักถึงแหลมปะการัง แยก
เป็ นนักท่องเที่ยว(พักค้าง) และนักทัศนาจรไทย นักทัศนาจรต่างชาติ จะใช้สัดส่วน
ตามที่เสนอรายละเอียดในหัวข้อที่ 7.3.3 ปริมาณที่พัก ปริมาณห้องพักในพื้นที่
โครงการ และปริมาณผู้มาเยือน
• ซึ่งมีสัดส่วนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ในพื้นที่โครงการ พ.ศ. 2562 จำนวน
746,732 คน สัดส่วนร้อยละ 15.22 ต่อจำนวนผู้มาเยือนจังหวัดพังงาในปี เดียวกัน
4,905,309 คน แยกเป็ นนักทัศนาจร 112,053 คน (ร้อยละ 15.00) นักท่องเที่ยว
พักค้าง 634,679 คน (ร้อยละ 85.00)
• จำนวนผู้มาเยือนจำแนกเป็ น
นักทัศนาจร มีสัดส่วนนักทัศนาจรชาวไทยต่อชาวต่างชาติ ร้อยละ 38.4 ต่อ 61.6
นักท่องเที่ยว (พักค้าง) มีสัดส่วนนักท่องเที่ยว ชาวไทยต่อชาวต่างชาติ ร้อยละ
12.0 ต่อ 88.0
สัดส่วนนักทัศนาจรชาวไทยต่อชาวต่างชาติ และสัดส่วนนักท่องเที่ยว (พักค้าง) มีสัดส่วนนักท่องเที่ยว ชาวไทยต่อชาวต่าง
ชาติ ได้จาก ผลการสัมภาษณ์ผู้มีความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการท่องเที่ยวพื้นที่โครงการ ซึ่งเป็ นผู้ประกอบธุรกิจ
การท่องเที่ยวในพื้นที่และตัวแทนองค์กรธุรกิจท่องเที่ยวของพื้นที่ รายละเอียดในหัวข้อที่ 7.3.3 35
ประมาณการจำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ในโครงการ ในกรณี
ที่ไม่มีการปรับปรุงฟื้ นฟูชายหาด
• จากข้อมูลปี พ.ศ. 2553-2562 ที่สามารถคาดการณ์ความสัมพันธ์
ของการเติบโตของจำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) โดยสมการที่
อธิบายความสัมพันธ์ได้ดีที่สุด คือสมการในรูปแบบลอการิทึม
(Logarithmic model) ได้แก่ ได้ดังนี ้
• สำหรับจำนวนนักทัศนาจรไทย ได้แก่ y = 522,912 ln (x) –
130,394 R2= 0.9304
• สำหรับจำนวนนักทัศนาจรชาวต่างชาติ ได้แก่ y = 1,405,392.76
ln (x) – 476,182.71 R2= 0.8233
• สำหรั บนักท่ปอแบบลอการิ
ใช้สมการในรู งเที่ยวพัก ค้าง รวมชาวไทยและชาวต่างชาติ
ทึม
(Logarithmic model) ตามรู
ได้แก่ y = 307,816 ln ป(x)
แบบทฤษฎี
+ 444,985 R2=0.8578
วงจรชีวิตสินค้าท่องเทียว (Butler’s
Tourism Life Cycle Model) แหล่งท่อง
เที่ยวจะมีวงจรการพัฒนา 6 ขัน ้ ตอน ตัง้ แต่
ขัน
้ เริ่มต้น ขัน
้ สำรวจ ขัน
้ พัฒนา ขัน้ อิ่มตัว
36
ขัน้ ชะลอตัว และขัน ้ ตกต่ำหรือขัน
้ การฟื้ นตัว
การคาดการณ์จำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ในพื้นที่โครงการ กรณีที่ม
การปรับปรุงฟื้ นฟูชายหาด
- พิจารณาจากปริมาณพื้นที่หาดทรายตาม ตารางที่ 7.3.6-2 สรุปพื้นที่
ชายหาดโครงการ
- เมื่อมีพ้น
ื ที่หาดทรายเพิ่มขึน
้ จะเพิ่มการมาเยือนและการใช้ประโยชน์
สำหรับนักท่องเที่ยวตามที่เสนอในหัวข้อที่ 7.3.5 (แนวคิดเกี่ยวกับการท่อง
เที่ยวชายหาดและชายฝั่ งทะเล พิจารณาภายใต้สมมุติฐานที่ว่า จะมีจำนวน
นักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึน
้ จากการมีพ้น ื ที่ชายหาดสำหรับประกอบกิจกรรมการ
ท่องเที่ยวเพิ่มขึน้ สามารถดึงดูดให้มี
ผู้มาเยือน ในพื้นที่โครงการมากขึน ้ ตามสัดส่วนพื้นที่ ตามศักยภาพของการ
เพิ่มสัดส่วนของพื้นที่หาดที่เพิ่มขึน

- จากจำนวนนักท่องเที่ยว (ผู้มาเยือน) ต่อพื้นที่ชายหาดเดิมรวมของ
โครงการ ต่อพื้นที่ชายหาดที่เพิ่มขึน ้ จากการเสริมทราย ใช้สัดส่วนการเพิ่มผู้
มาเยือน ต่อพื้นที่ที่คำนวณได้ และปรับลดตามอัตราวันพักค้างเฉลี่ยปี
2562 ของนักท่องเที่ยวชาวไทย 2.3 วัน-คน นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 6.3
วัน-คน 38
ด้านการประเมิน
ความเหมาะสมของ
โครงการ
ข้อสังเกตและความเห็นของกรรม
การฯ
ต่องานศึกษา
39
1 หน้า ๘-๔ ค่าลงทุนโครงการ ๑,๒๐๐ ล้านบาท มาจากที่ไหน -
เหตุใดไม่ตรงกับที่วิศวกรรมคำนวณเอาไว้ - โครงการหากมีมูลค่าเกิน
๑,๐๐๐ ล้านบาท ต้องเอาเข้า ครม. เห็นชอบ ซึ่งจะเพิ่มกระบวนการและ
ภาระในการทำงาน ตัวเลขนีต้ ้องปรับปรุงให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน
ได้ปรับผลการศึกษาให้สอดคล้องกับวงเงินค่าก่อสร้างที่แก้ไขล่าสุด
(มูลค่าลงทุนเป็ นเงินทัง้ สิน
้ 786,996,671.84 บาท)

40
2 ค่า B/C ratio ๑ ต่อ ๑๖ ค่อนข้างสูง เนื่องจากจำนวนนักท่อง
เที่ยวที่เพิ่มขึน
้ สูง อาจจะต้องปรับสมมุติฐานการคำนวณจำนวนนักท่อง
เที่ยวที่เพิ่มขึน
้ ใหม่อีกครัง้
ได้ปรับสมมุติฐานด้านจำนวนนักท่องเที่ยวดังบทที่ 7 ตารางที่
7.3.7-2 ทำให้ค่า B/C ลดลง
ดังผลการศึกษาในบทที่ 8
ตัวชีว
้ ัด ค่า
EIRR 39.68%
ENPV 4,703.60
B/C Ratio 7.18

41
3 หน้า ๘-๑๕ มูลค่าเพิ่มจากรายได้การท่องเที่ยวคืออะไร ขอให้
อธิบายอย่างง่ายและเห็นภาพ ทัง้ นีใ้ ห้แสดงตาราง I-O Table ที่นำค่ามา
ใช้ ไว้ในภาคผนวกด้วย
ผลประโยชน์ส่วนเพิ่มจากการท่อง ค่าสัมประสิทธิด ์ ังกล่าว อ้างอิงจากตาราง
เที่ยวไม่ควรคิดจากรายได้หรือราย I-O ของประเทศไทยด้านการท่องเที่ยว
จ่ายของนักท่องเที่ยวโดยตรงเพราะ เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอันดามัน
เพราะผู้ประกอบการมีต้นทุนในการ ของกระทรวงการท่
รหัส กิจกรรม องเที่ย
สัดวและกี ฬ
ส่วนมูลค่าเพิ
มูลค่าผลผลิต
่มา
ต่อ

ผลิตสินค้าและบริการ 012 บริการโรงแรมและที่พัก


(ร้อยละ)
51.05
จึงคิดเฉพาะมูลค่าที่เหลือจากราย 013 การบริการอาหารและ
เครื่องดื่ม
48.90
015 การขนส่งผู้โดยสารทาง 33.27
ได้ที่หักต้นทุนการผลิต คำนวณจาก รถยนต์
019 ตัวแทนบริษัทนำเที่ยว 81.82
ค่าสัมประสิทธิใ์ นตารางปั จจัยการ 022 กิจกรรมและนันทนาการ 65.44
023 การขายสินค้าเพื่อการท่อง 68.32
ผลิต-ผลผลิต เที่ยว
เช่น จำนวนนักท่องเที่ยว x จำนวนวันพำนั
024 ก x รายจ่
การบริ การที่เกี่ยา ยนั
วกั กท่องเที่ยวต่
บการ อวัน x
63.80
ท่องเที่ยวอื่นๆ
กำไรผู้ประกอบการและค่าแรงสู่แรงงาน = 1000 คน x 2000 บาท x 0.5105
เป็ นต้น
42
4๒.ผลประโยชน์
ให้ run sensitivity analysis ด้วย : ๑. ต้นทุนเพิ่มร้อยละ ๑๐
ลดลงร้อยละ ๑๐ ๓. ต้นทุนเพิ่มและผลประโยชน์ลดร้อย
ละ ๑๐ ๔. โครงการล่าช้าไป ๓ ปี
ผลการวิเคราะห์ความอ่อนไหวของผลตอบแทนทาง
เศรษฐศาสตร์ พบว่า B/C ยังอยู่ระดับสูง
แม้สมมติกรณีที่ส่งผลด้านลบต่อตัผล
วแปรสำคัมูญลของโครงการ
ค่า อัตราผล
ตอบแทน ปั จจุบันสุทธิ ประโยชน์ต่อ
การวิเคราะห์
ทาง ต้นทุน
เศรษฐศาส
(ร้อยละ) (ล้านบาท) (เท่า)
ตร์
1. กรณีฐาน (Base Case) 39.66 4,696.51 7.17
2. กรณีเปิ ดโครงการล่าช้า 3 ปี 29.99 3,553.11 6.37
3. กรณีตน้ ทุนโครงการเพิ่มขึน
้ 37.38 4,620.36 6.52
ร้อยละ 10 43
4. ผลประโยชน์โครงการลดลง
5 ค่า EIRR และ FIRR ค่าต่างกันมากอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งในการ
พิจารณาโครงการที่จะลงทุนจำเป็ นต้องพิจารณาค่าทางการเงินด้วย (ด้าน
การเงินมีค่าติดลบมาก แต่ด้านเศรษฐศาสตร์สูงมาก) ดังนัน
้ ควรดูทงั ้ สอง
อย่างให้เหมาะสม
• โครงการนีเ้ ป็ นการลงทุนโดยเงินของภาครัฐ แต่ผลประโยชน์
ตกสู่สังคม เป็ นผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์ ดังนัน ้ ค่า
EIRR เป็ นค่าตัวชีว้ ัดหลักในการตัดสินใจ
• ภาครัฐไม่มีรายได้ทางการเงิน ดังนัน ้ ค่า FIRR มีค่าค่อนข้าง
ต่ำ เป็ นเรื่องปกติ ไม่ได้เป็ นค่าตัวชีว
้ ัดหลักในการตัดสินใจ

44
6 หน้า ๖-๙๓ งบประมาณ ๙๐๐ กว่าล้านบาท ในขณะที่หน้า ๘-๔
งบประมาณก่อสร้าง ๑,๒๐๐ ล้าน
ยังไม่รวมค่าบำรุงรักษา ซึ่งค่าก่อสร้างจริง ๙๕๓ ล้านบาท ไม่ทราบว่าใช้
ตัวเลขใดประเมินด้านเศรษฐศาสตร์ และเป็ นตัวเลขที่รวมค่าบำรุงรักษา
และค่
มูลาค่ดำเนิ นการด้
าก่อสร้ างเป็ า นสิน่งทัแวดล้
นเงิ ง้ สิน อม หรือยัง ซึ่งบาท
้ 786,996,672 ตัวเลขต่ างาดำเนิ
รวมค่ ๆ สัมนพัการด้
นธ์กาับน
การประเมิ
สิ่งแวดล้นอค่ม
า ไม่
IRRรวมค่
FIRR าบำรุและ B/C
งรักษา
รายการค่าใช้จ่าย ปี ที่ 1 ปี ที่ 2 ปี ที่ 3 รวม ค่าบำรุงรักษา ประกอบด้วย
18,862,221 13,699,22 13,699,221 46,260,664
งานที่ 1 หมวดงานค่าใช้จ่ายพิเศษ
1
1) การเสริมทรายซ้ำซึ่งประมาณการไว้ไม่เกิน
1. งานสำรวจ 4,883,600 - - 4,883,600
2. ค่าเช่ารถยนต์สำหรับผู้ควบคุมงาน 634,800 634,800 634,800 1,904,400
1 ร้อยละ 30.0 ของค่าใช้จ่าย [ข้อ 1-5,8] ใน
3. งานติดตัง้ รัว
้ ชั่วคราว 279,400 - - 279,400 10 ปี คิดเป็ น 206,410,754 บาท ในปี ที่ 10
4. งานติดตัง้ ม่านกันตะกอน
5. ค่าขนย้ายเครื่องจักรทางน้ำ
4,680,000 4,680,000 4,680,000 14,040,000
และ 20
4,914,088 4,914,088 4,914,088 14,742,264
3
6. งานติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่ง 1,923,667 1,923,667 1,923,667 5,771,000 2) ค่าบำรุงรักษาเขื่อนป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง
แวดล้อมระยะก่อสร้าง
7. งานประชาสัมพันธ์และสร้างความ 1,546,667 1,546,667 1,546,667 4,640,000
ระบบระบายน้ำ และค่าดูแลภูมิทัศน์พ้น ื ที่สวน
เข้าใจแก่ประชาชน สาธารณะ [ข้อ 9-11] (ร้อยละ 1.0 ต่อปี )
งานที่ 2 หมวดงานเสริมทรายและปรับภูมิ 158,503,47 356,493,9 225,738,57 740,736,008 2
ทัศน์ 5 63 0
873,116 บาทต่อปี
8. งานขุดและเสริมทราย 130,437,23 326,093,0 195,655,85 652,186,183
3) งานติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม
7 91 5
9. งานก่อสร้างเขื่อนป้ องกันการกัดเซาะ 24,661,835 24,661,83 24,661,835 73,985,506 ในช่วงก่อสร้าง 1,923,667 บาท ต่อปี [ข้อ 6-
ชายฝั่ ง
10. งานก่อสร้างระบบระบายน้ำ 1,556,422
5
3,891,055 2,334,633 7,782,110 7]
45
11. งานปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะ
12. งานป้ ายประติมากรรมและป้ าย
1,847,981 1,847,981 1,847,981 5,543,944 4) งานประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจแก่
- - 1,238,265 1,238,265
จบการนำ
เสนอ
46

You might also like