You are on page 1of 40

ประเด็นหารือด ้านวิศวกรรม

 ปั ญหา/ทางเลือก และข ้อสรุปเรือ


่ ง “แหล่งทราย”
 ปรับปรุงแบบจำลองการเปลีย
่ นแปลงแนวชายฝั่ ง
 แบบจำลองฯ การเคลือ
่ นตัวแนวตัง้ ฉากกับชายฝั่ ง
 ่ สำหรับการเล่นกระดานโต ้คลืน
การจำลองคลืน ่
 รูปแบบทางเลือกและบทสรุปทางเลือกทีไ่ ด ้คะแนนสูงสุด
 ความพอเพียงของชายหาดกรณีคลืน
่ รอบเวลาเกิดย ้อนกลับ 50 ปี
 รูปหน ้าตัดชายหาด Optimal
 การประเมินรอบเวลาเสริมซ้ำ
เรือ
่ งหารือ
 งานปรับปรุงภูมท
ิ ัศน์หน
ิ หัวหาด
ก่อน
ประเด็นแหล่งทราย

 แหล่งทรายบริเวณปากคลองน้ำเค็ม
Cr, Hg > ค่ามาตรฐาน
 แหล่งทรายนอกฝั่ ง
Hg, As > ค่ามาตรฐาน

แหล่งทรายทีเ่ สนอใน PG2


การปนเปื้ อน – ปรอท (Hg)

หน่วย: มก./กก.
เกณฑ์ < 0.4 มก./กก.แห ้ง
เกณฑ์มาตรฐาน < 0.4 มก./กก.
การปนเปื้ อน – สารหนู (As)

หน่วย: มก./กก. เกณฑ์ < 7 มก./กก.แห ้ง


เกณฑ์มาตรฐาน < 7 มก./กก.
d50 แหล่งทรายนอกฝั่ ง

d50 ทรายชายหาด
0.54 มม.
แหล่งทราย
ปรับปรุงแบบจำลอง
การเปลีย่ นแปลงแนวชายฝั่ ง
แบบจำลองเสนอใน Draft Final Report

แบบจำลองเสนอใน PG2
ปริมาณการเคลือ
่ นทีข
่ องตะกอน

รายการ ฤดูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนาว ตลอดปี


16 ก.พ. – 15 16 พ.ค. – 15 16 ต.ค. – 15
พ.ค. ต.ค. ก.พ.
เคลื่อนตัวไปทิศ
เหนือ 24,370 165,928 18,884 209,182
เคลื่อนตัวไปทิศ
ใต้ -29,242 -134,343 -16,894 -180,479
สุทธิ -4,857 31,592 1,991 28,726
การเปลีย
่ นแปลงแนวชายฝั่ ง
กรณี “ไม่มโี ครงการ”
แบบจำลอง
การเคลือ
่ นตัวแนวตัง้ ฉากกับชายฝั่ ง
 การเปลีย ึ ามิ 2547
่ นแปลงแนวชายฝั่ งหลังสน
 ใช ้ module tsunami ใน Delft Dashboard สร ้างปรากฎการณ์
tectonic เคลือ
่ นตัว
 ใช ้ Delft3D สร ้างข ้อมูลระดับน้ำทีข
่ อบเขตแบบจำลอง
 ใช ้ Xbeach ประเมินการเปลีย ั ฐานแบบ 2D
่ นแปลงสณ
 การเปลีย
่ นแปลงตามฤดูกาล
 ใชข้ ้อมูลคลืน
่ รายเดือนประเมินการเปลีย
่ นแปลงรูปหน ้าตัด
ชายหาด แบบ 1D
ึ ามิ
เหตุการณ์สน

Tectonic Plate

Delft 3D - FLOW

Water Level

Module tsunami ของ Delft Dashboard


การเปลีย ่ นแปลง
สณั ฐาน
ึ ามิ
เหตุการณ์สน

Cumulative sedimentation/erosion (m)


การเปลีย ั ฐาน
่ นแปลงสณ
ตามฤดูกาล

40

30 4+000

20 ฤดูฝน
ฤดูร ้อน
10
ฤดูหนาว
0

-10

-20
4000 4500 5000 5500 6000 6500 7000 7500
่ สำหรับการเล่น surf
คลืน

 Smith and Kraus (1990) เสนอว่าคลืน ่ ทีเ่ หมาะสมกับการเล่น surf


มีคา่ surf similarity ระหว่าง 0.4 – 1.2
 คลืน
่ ทีจ
่ ำลองใน Delft3D – WAVE สามารถแสดงคุณลักษณะคลืน
่ ที่
เหมาะกับการเล่น surf ได ้หรือไม่
 ทดลองสร ้างแบบจำลองคลืน
่ ทีม
่ ค
ี า่ surf similarity ต่าง ๆ
 Vary ความลาดพืน
้ ทะเล คุณลักษณะคลืน
่ คงที่
 Vary คุณลักษณะคลืน
่ ความลาดพืน
้ ทะเลคงที่ Surf similarity


 ตรวจสอบคุณลักษณะคลืน

กรณีพบว่าแสดงคุณลักษณะคลืน
่ ทีพ
่ บในแบบจำลอง

่ surf ได ้
𝜉 0 = tan 𝛽
( 𝐻0
𝐿0
ก็จำลองคลืน
่ ทีเ่ กิดในพืน
้ ทีก
่ อ
่ น-หลังเสริมทราย b ความลาดพืน ้ ทะเล
H0 ความสูงคลืน
่ ในทะเลลึก
L0 ความยาวคลืน ่ ในทะเลลึก
แบบจำลองคลืน
่ แตกตัว

Surf similarity สำหรับกีฬาโต ้คลืน


่ 0.4 – 1.2

Surf similarity
ปรับปรุงวิธใี ห ้คะแนนทางเลือก
การให ้คะแนนแบบเดิมได ้ข ้อสรุปเป็ นเสริมทรายโดยมีโครงสร ้างสลายพลังงานคลืน

ผลการให ้คะแนนแบบระบบใหม่
ลำด ับที่ ระบบหาดคึกค ักตอนที่ 2 ระบบหาดนางทองตอนที่ 2 ระบบหาดนางทองตอนที่ 4
1 เสริมชายหาดและสนั ทราย เสริมชายหาดและสน ั ทราย
2 เสริมชายหาดอย่างเดียว เสริมชายหาดอย่างเดียว เหมือนระบบหาดนางทองตอน
เสริมชายหาด สนั ทราย และมี ที่ 2
3 หาดป้ อนทราย
โครงสร ้างสลายพลังงานคลืน

งานออกแบบ

 ขนาด d50 และ overfill factor


 ความพอเพียงสำหรับคลืน
่ รอบเวลาเกิดย ้อนกลับ 50 ปี
 รูปหน ้าตัดชายหาด Optimal
 แนวชายหาดสมดุล - หินหัวหาด
 รอบเวลาเสริมทราย
 การระบายน้ำหน ้าหาด
 เขือ
่ นป้ องกันการกัดเซาะชายฝั่ ง
 งานปรับปรุงภูมท
ิ ัศน์
d50 แหล่งทรายนอกฝั่ ง

d50 ทรายชายหาด
0.54 มม.
แหล่งทรายนอกฝั่ ง

Depth from CD 30.0 m


Tidal range 2.5 m
Dredging depth 1.0 m
Total 33.5 m
เรือดูดทราย

ตัวอย่างเรือทีส
่ ามารถดูด
ทรายทีค่ วามลึก 35 ม.

Suction LOA Breadth Speed Power Product


รายการ Hopper Suction pipe
GT depth
capacity m3 Mm
M M M Kts (kW) cum/hr

Beagle®12 - 12,000 2x900 36 127 28 15 - -


Willem van
13917 12,000 - 62 136 28 - 13,870  -
Oranje
Tian Kun Hao 9587 - - 35 140 28 -  - 6000
Hussein
7438 - - 35 147 23 - 29190  -
Tantawy

8000m3 TSHD 9900 8,000 2x800 40 123 25 14 - -


ขนาด d50
ทรายละเอียดถูกคัดออกหลังผ่านกระบวนการดูดขึน
้ เก็บในระวางและพ่นทราย

D50
ตัวอย่างที่ 3-3 ทรายชายหาด 0.54 มม.
แหล่งทราย 0.56 มม.

Overfill factor 1.03


คลืน
่ return period 50 ปี
เสริมหาดทรายระดับ + 3 ม.
กว้าง 60 ม.
รูปหน้าตัดชายหาดเดิม
(ไม่ทำอะไร)

เสริมทรายระดับ + 3 ม.
กว้าง 60 ม. กับสันทรายระดับ +4.5 ม.

ิ คลืน
ก่อนเผชญ ่ รอบเวลาเกิดย ้อนกลับ 50 ปี

ิ คลืน
หลังเผชญ ่ รอบเวลาเกิดย ้อนกลับ 50 ปี
optimize รูปหน ้าตัดชายหาด
วิทยานิพนธ์ปี 2561
Delft Technology

รูปหน ้าตัดทีส
่ ญ ี ทรายน ้อยทีส
ู เสย ่ ด

 ปรับความลาดหน ้าหาด 5 – 20%


 มีสนั ดอนทรายหน ้าหาด
ทีค
่ วามลึกน้ำ 2 – 4 เมตร
 มีโดมทะเลหน ้าหาด 1 – 3 แถว
ปรับความลาดหน ้าหาด
ความลาดธรรมชาติ
10

05.csv 10.csv 15.csv 20.csv org bed


5
Level (m MSL)

-5

-10
6600 6650 6700 6750 6800 6850 6900 6950
Distance across shoreline (m)
35% 35%

30% 30%

25% 25%

Seabed slope
Seabed slope

20% 20%

15% 15%

10% 10%

5% 5%

0% 0%
6800 6820 6840 6860 6880 6900 -2 -1 0 1 2
Distance across shoreline (m) seabed level (m MSL)

ทรายทีใ่ ชและสู ี
ญเสย
BEACH SAND: volume fill, remain, and loss
600 50

500 45
Fill vol.
Vol. abv -1m
400 Remain 40
% loss
cum/m

% loss
300 35

200 30

100 25

0 20
0% 5% 10% 15% 20% 25%
Beach slope
หน่วย: ลบ.ม./ม.
ทรายทีอ ่ ยูเ่ หนือเสน้ -1 ม. ทรายทีส
่ ญ ี
ู เสย
ความลาด ปริมาณทรายทีใ่ ช ้ หลังสร ้างเสร็จ หลังเผชญ ิ คลืน
่ ลบ.ม./ม. ร ้อยละ
ชายหาด (ลบ.ม./ม.)
5% 538.09 491.02 395.91 142.18 26.4
10% 349.51 332.74 229.06 120.45 34.5
15% 295.24 285.28 166.48 128.75 43.6
20% 268.51 259.00 140.11 128.40 47.8
ั ดอนหน ้าหาด
มีสน

ทรายทีใ่ ชและสู ี
ญเสย

หน่วย: ลบ.ม./ม.
ทรายทีอ ้ -1 ม.
่ ยูเ่ หนือเสน ทรายทีส
่ ญ
ู เสยี

สนดอนทราย หลังสร ้างเสร็จ หลังเผชญ ิ คลืน
่ ลบ.ม./ม. ร ้อยละ
ทีค่ วามลึกน้ำ ใชท้ ราย
กรณีฐาน 349.51 332.74 229.06 120.45 34.51
2 เมตร 391.30 357.64 259.99 131.31 33.56
3 เมตร 375.76 332.74 235.40 140.36 37.35
4 เมตร 367.47 332.74 223.48 144.00 39.19
โดมทะเล

10 1 row start 1 row after


2 row start 2 row after
3 row start 3 row after
org bed
5

-5

-10
6500 6550 6600 6650 6700 6750 6800 6850 6900 6950 7000

ทรายทีใ่ ชและสู ี
ญเสย
Influence of seadome fill vol. fill abv -1 remain abv -1 % loss
400 35%

350 34%

300
33%
Sand vol. (cum/m)

250
32%

% loss
200
31%
150
30%
100

50 29%

0 28%
base case 1 row 2 row 3 row

หน่วย: ลบ.ม./ม.
ทรายทีอ ้ -1 ม.
่ ยูเ่ หนือเสน ทรายทีส
่ ญ ี
ู เสย
กรณีฐาน/ ปริมาณว ัสดุ หลังสร ้างเสร็จ หลังเผชญ ิ คลืน
่ ลบ.ม./ม. ร ้อยละ
จำนวนโดม (ลบ.ม./ม.)
กรณีฐาน 349.51 332.74 229.06 120.45 34.5
1 แถว 352.04 332.74 231.13 120.91 34.4
2 แถว 354.68 332.74 238.88 115.80 32.7
3 แถว 357.35 332.74 248.53 108.82 30.5
การวิเคราะห์รอบเวลาเสริมซ้ำ

แบบจำลอง
การเปลีย
่ นแปลงแนวชายฝั่ ง

บริเวณมีงานเสริมทราย
อ่าวสมดุล
การกำหนดรอบเวลาเสริมซ้ำ
ปี ท ี่ ระยะถูกกัดเซาะเทียบกับปี ท ี่ 0 ระยะถูกกัดเซาะ 5 ปี สุดท ้าย
พืน
้ ที่ 2
(เมตร) (เมตร)
5 16.42 16.42
10 25.4 8.98
15 30.74 5.34
20 34.11 3.37
25 36.36 2.25

พืน
้ ที่ 3
ปี ท ี่ ระยะกัดเซาะบริเวณ กม.5+200 กม.5+550
เทียบกับปี ท ี่ 0 5 ปี สด
ุ ท ้าย เทียบกับปี ท ี่ 0 5 ปี สด
ุ ท ้าย
5 5.72 5.72 5.62 5.62
10 7.49 1.77 8.08 2.46
15 8.54 1.05 9.47 1.39
20 9.23 0.69 10.31 0.84
25 9.74 0.51 10.88 0.57

ตรวจสอบปี ท ี่ 10 หากจำเป็ นต ้องเสริมซ้ำพิจารณาว่าไม่เกิน 30% ของคราวแรก


การระบายน้ำบริเวณเสริมทราย
จุดที่ Latitude Longitude ขนาดจุดปล่อยน้ำ ื่ สถานที่
ชอ

1 8.672222 98.242056 ท่อ PVC ขนาด 3 นิว้ หน ้าบ ้านพักใกล ้ร ้านน ้องเปรีย้ ว
2 8.672250 98.242111 ท่อ PVC ขนาด 2 นิว้ หน ้าบ ้านพักด ้านใต ้ร ้านน ้องเปรีย้ ว
3 8.671833 98.242111 ท่อ PVC ขนาด 5 นิว้ หน ้าบ ้านพักด ้านใต ้ร ้านน ้องเปรีย ้ ว
4 8.670917 98.242333 ท่อ PVC ขนาด 5 นิว้ หน ้าเดอะซม ั บารา รีสอร์ท
5 8.670500 98.242306 ท่อ PVC ขนาด 3 นิว้ หน ้าคาซา่ เดอรา ฟลอรา
6 8.670222 98.242389 ท่อ PVC ขนาด 3 นิว้ หน ้าคาซา่ เดอรา ฟลอรา
7 8.669889 98.242444 ท่อ PVC ขนาด 3 นิว้ หน ้าคาซา่ เดอรา ฟลอรา
8 8.669278 98.242556 ท่อ PVC ขนาด 3 นิว้ หน ้าซน ั นี เรสเตอร์รองค์
9 8.669083 98.242639 ึ ลอดฐานกำแพงกันดิน
น้ำซม หน ้าซน ั นี เรสเตอร์รองค์
10 8.668861 98.242639 น้ำซมึ ลอดฐานกำแพงกันดิน หน ้าไอยราวิลลา
11 8.667111 98.243444 ท่อ PVC ขนาด 5 นิว้ หน ้าเดอะบีชเขาหลักฯ
12 8.665111 98.244028 ท่อ PVC ขนาด 2 นิว้ หน ้าชอ่ งฟ้ า รีสอร์ทฯ
13 8.665167 98.244833 ท่อระบายน้ำถนนชอ ่ งฟ้ า หน ้าถนนชอ ่ งฟ้ า
14 8.664528 98.244389 รางระบายน้ำ กว ้าง 0.20 เมตร หน ้ามุกดารา รีสอร์ทฯ
15 8.663861 98.244667 ท่อ PVC ขนาด 3 นิว้ หน ้ามุกดารา รีสอร์ทฯ
16 8.662639 98.245472 ท่อระบายน้ำ ขนาด 1 เมตร ถนนข ้างรามาดา รีสอร์ทฯ
17 8.650250 98.246528 ท่อระบายน้ำขนาด 1 เมตร หน ้าเดอะแซนด์เขาหลักฯ
18 8.649056 98.246500 ท่อระบายน้ำขนาด 1 เมตร หน ้าเดอะแซนด์เขาหลักฯ
19 8.646917 98.245972 ท่อ PVC ขนาด 5 นิว้ หน ้าโอเซย ี นบรีซ
บริเวณต ้องจัดให ้มีระบบระบายน้ำ
รูปแบบระบบระบายน้ำ
ท่อ ∅1m S1:1000
Qmax = 0.7573 m3/s

kgravel = 1 cm/s

Drain area
= 0.7573/0.01
= 75.73 ตร.ม.
แบบระบบระบายน้ำ
เขือ
่ นป้ องกันการกัดเซาะ

ั ้ เกราะ
วัสดุชน ั ้ กรอง
วัสดุชน
% Less than by น้ำหนัก มิต ิ % Less than by น้ำหนัก มิต ิ
weight (N) (เมตร) weight (N) (เมตร)
0 854 0.32 0 2.2 0.04
15 2,733 0.47 15 3.8 0.05
50 6,832 0.64 50 12.7 0.08
85 13,390 0.80 85 42.7 0.12
100 (max) 27,326 1.02 100 (max) 71.9 0.14
2nd seismic survey

You might also like