You are on page 1of 10

การเมืองการปกครองของไทย

อ.อุษณีย ยุชยะทัต
โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย

การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย แบงออกเปน 2 แบบ คือ


- แบบปตาธิปไตย (พอปกครองลูก) ในสมัยสุโขทัยตอนตน
- แบบธรรมราชา สุโขทัยตอนปลาย หลังสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ฐานะของ
กษัตริยเปลี่ยนเปนธรรมราชา ซึ่งไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนา
โครงสรางการเมืองการปกครอง แบงได ดังนี้
1. เมืองหลวง คือ สุโขทัย
2. เมืองลูกหลวง หรือเมืองหนาดาน ตั้งอยูรอบๆ เมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ มีเชื้อพระวงศปก
ครอง
3. เมืองพระยามหานคร (เมืองชัน้ นอก) เมืองทีอ่ ยูห า งไกลออกไป มีเจาเมืองเชือ้ สายขุนนาง
ทองถิน่ ปกครอง
4. เมืองประเทศราช เมืองที่ยอมออนนอม มีกษัตริย หรือเจาเมืองเดิมปกครอง ไดแก แพร
นาน เวียงจันทน หงสาวดี
โครงสรางการปกครองในสมัยสุโขทัย

ศรีสัชนาลัย

นครชุม สองแคว
(กําแพงเพชร)
สุโขทัย (พิษณุโลก)

สระหลวง
(พิจิตร) เมืองราชธานี
เมืองลูกหลวง
เมืองพระยามหานคร
เมืองประเทศราช

23
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา

การเมืองการปกครองของอยุธยา แบงเปน 3 ระยะ คือ


1. สมัยกอนการปฏิรูป ชวง 100 ปแรก
2. สมัยปฏิรูปการปกครอง กษัตริยสําคัญคือ พระบรมไตรโลกนาถ
3. สมัยหลังการปฏิรูป หลังเสียกรุงครั้งที่ 1 – เสียกรุงครั้งที่ 2
การปกครองสมัยอยุธยา มีลักษณะเดน ดังนี้
1. ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย พระมหากษัตริยทรงมีฐานะเปนเทวราชา หรือ
สมมติเทพ สาเหตุที่อยุธยาตองใชการปกครองแบบนี้ เพราะ
1) อาณาจักรขยายใหญโตกวางขวางขึ้น
2) ความตองการกําลังคนไวทําสงครามและผลิต
2. เปนการปกครองแบบนายกับบาว เจากับขา
3. ใชระบบศักดินา คือ การกําหนดสิทธิ หนาที่ของคนในแตละชนชั้นระบบไพร คือ
ระบบการควบคุมกําลังคน
4. ฐานะของพระมหากษัตริยทรงเปนสมมติเทพและธรรมราชา
สมัยอยุธยาตอนตน มีลักษณะ
1. เปนระบอบราชาธิปไตยตามแบบเขมรและฮินดู
2. พระมหากษัตริยเปนทั้งประมุขและผูปกครองที่มีอํานาจสูงสุด
3. ลักษณะการปกครองราษฎรเปนแบบนายปกครองบาว
4. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางเปนแบบจตุสดมภ
5. การปกครองสวนภูมิภาค แบงเชนเดียวกับสุโขทัย
สมัยอยุธยาตอนกลาง เริ่มสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีลักษณะ
1. รวมอํานาจเขาสูสวนกลางมากขึ้น
2. ใชระบบศักดินาเขมแข็ง
3. แบงแยกทหารและพลเรือนออกจากกัน
4. แตงตั้งอัครมหาเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม (ทหาร) สมุหนายก (พลเรือน)
5. ยกเลิกเมืองลูกหลวง (ชั้นใน) ลดฐานะเปนเมืองจัตวา มีผูรั้ง ดูแล

24
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

พระมหากษัตริย

สวนกลาง สวนภูมิภาค ประเทศราช

ราชธานี
เหมือนสมัยสุโขทัย
เมืองจัตวา หัวเมืองชั้นนอก
อัครมหาเสนาบดี
ผูรั้ง เอก โท ตรี
สมุหกลาโหม สมุหนายก
(ทหาร) (พลเรือน)
แขวง – หมื่นแขวง
ตําบล - กํานัน
จตุสดมภ
หมูบาน - ผูใหญบาน

นครบาล ธรรมาธิกรณ โกษาธิบดี เกษตราธิการ

สมัยอยุธยาตอนปลาย ตั้งแตสมัยพระเพทราชา จนถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา การบริหารงาน


เหมือนสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีขอแตกตางคือ ไมแยกฝายทหารและพลเรือนออกจากกัน

โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระเพทราชา

พระมหากษัตริย

หัวเมืองฝายใต หัวเมืองฝายเหนือ

สมุหกลาโหม สมุหนายก

ฝายทหาร ฝายพลเรือน ฝายทหาร ฝายพลเรือน

25
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ขอทดสอบ

1. การปกครองแบบพอปกครองลูกในสมัยสุโขทัย ทําใหเกิดผลที่เดนชัดที่สุดในขอใด
1. การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
2. ความเปนปกแผนของสถาบันครอบครัว
3. ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย
4. การเกิดระบบศักดินา
2. ถึงแมวาพระมหากษัตริยในสมัยอยุธยาทรงมีอํานาจลนพน แตอํานาจของพระองคถูกจํากัดโดย
ขอใด
1. กฎมณเฑียรบาล 2. ความเปนเทวราชา
3. หลักธรรมทางศาสนา 4. อํานาจของรัฐอื่น
3. การดําเนินการตามขอใดเปนปจจัยสําคัญในการเสริมสรางอํานาจและบารมีของพระมหากษัตริย
ในสมัยอยุธยา
1. การทําสงครามแผขยายราชอาณาจักร
2. การควบคุมขุนนางและราษฎรไวไดอยางใกลชิด
3. การสงเสริมพระราชประเพณีและพิธีการทางศาสนาตางๆ
4. การสรางสัมพันธฉันทเครือญาติกับประเทศเพื่อนบาน
4. ขอใดเปนรูปแบบการปกครองสวนภูมิภาค
1. หัวเมืองชั้นนอกในสมัยกรุงสุโขทัย 2. กรมเมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยา
3. เมืองดุสิตธานีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร 4. เมืองพัทยาในสมัยปจจุบัน
5. การปกครองในสมัยกรุงสุโขทัยกับสมัยกรุงศรีอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด
1. ลักษณะการปกครอง 2. อํานาจของผูปกครอง
3. ระบบการปกครอง 4. ศูนยกลางของอํานาจปกครอง
6. ขอใดเปนการจัดระเบียบการปกครองของไทยในสมัยตนรัตนโกสินทร
1. เมืองพิษณุโลกอยูในบังคับบัญชาของสมุหกลาโหม
2. เมืองนครศรีธรรมราชอยูในบังคับบัญชาของสมุหนายก
3. เมืองโคราชอยูภายใตการบังคับบัญชาของสมุหเทศาภิบาล
4. เมืองจันทบุรีอยูภายใตการบังคับบัญชาของกรมทา

26
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
7. แนวความคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในสมัยตนรัตนโกสินทรแตกตางจากสมัยอยุธยาใน
เรื่องใด
1. ระบบศักดินา 2. ฐานะของพระมหากษัตริย
3. การจัดระเบียบการปกครองสวนกลาง 4. การจัดระเบียบการปกครองสวนภูมิภาค
8. ขอใดไมใชลักษณะของเมืองลูกหลวงในสมัยสุโขทัย
1. เปนเมืองหนาดาน 2. มีขุนนางเปนเจาเมือง
3. อยูลอมรอบเมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ 4. หางจากเมืองหลวงเดินดวยเทา 2 วัน
9. ขอใดไมใชสาระสําคัญของการปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
1. การดึงอํานาจเขาสูศูนยกลาง
2. การยกเลิกระบบเมืองลูกหลวง
3. การขยายเขตการปกครองของราชธานี
4. การแบงเขตการปกครองระหวางสมุหกลาโหมและสมุหนายก
10. พระมหากษัตริยไทยพระองคใดที่ทรงเริ่มนําหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาเปนหลักสําคัญ
ในการปกครอง
1. พอขุนรามคําแหงมหาราช 2. พระมหาธรรมราชาที่ 1
3. สมเด็จพระเจาทรงธรรม 4. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
11. การปกครองสมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด จากขอ 1 - 5 ตอไปนี้
1. ระบบการเมือง
2. ฐานะของพระมหากษัตริย
3. ความสัมพันธของพระมหากษัตริยกับประชาชน
4. การปกครองเมืองประเทศราช
5. ศูนยกลางของอํานาจ
1. ขอ 1 และ 2 2. ขอ 2 และ 3
3. ขอ 3 และ 4 4. ขอ 4 และ 5
12. การปกครองในสมัยสุโขทัยกับอยุธยามีลักษณะที่เหมือนกันในเรื่องใด
1. สถานภาพของผูปกครอง 2. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
3. ศูนยกลางการใชอํานาจการปกครอง 4. ความสัมพันธระหวางผูปกครองกับประชาชน

27
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร

การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5
ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ (พ.ศ. 2435) ทั้งในสวนกลาง สวนภูมิ
ภาคและสวนทองถิ่น
1. การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง
การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง ยกเลิกจตุสดมภ สมุหนายก สมุหกลาโหม แบง
ออกเปนกระทรวงตางๆ 12 กระทรวง แตละกระทรวงมีเสนาบดีเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ
2. การปฏิรูปการปกครองสวนภูมิภาค
จัดการปกครองแบบเทศาภิบาล ซึ่งประกอบดวย
- มณฑลเทศาภิบาล แตละมณฑลมีขาหลวงเทศาภิบาลปกครอง
- ในแตละมณฑลจะประกอบดวย เมือง อําเภอ ตําบล หมูบาน ตามลําดับ โดยกําหนด
ใหราษฎรเลือกตั้งกํานัน และผูใหญบาน ซึ่งมีขึ้นครั้งแรกที่ ตําบลบานเกาะ อําเภอ
บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
3. การปฏิรูปการปกครองสวนทองถิ่น
มีการจัดสุขาภิบาล เพื่อใหประชาชนไดมีสวนรวมในการบริหารทองถิ่นของตน ใน
ดานการรักษาความสะอาด
สุขาภิบาลแหงแรก คือ สุขาภิบาลกรุงเทพฯ
สุขาภิบาลหัวเมืองแหงแรก คือ ตําบลทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร

แนวคิดแบบประชาธิปไตยของไทย
- ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ
- เหตุการณ ร.ศ. 103 (พ.ศ.2427) คือ การที่เจานายและขุนนางทําหนังสือกราบทูลถวาย ร.5

พัฒนาการประชาธิปไตยของไทย
- การปฏิรูปการปกครองของ ร.5
- กบฎ ร.ศ. 130 ร.6
- การจัดตั้งดุสิตธานี ร.

28
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
โครงสรางการปฏิรูปการปกครองสมัย ร.5
พระมหากษัตริย

สวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น

เสนาบดี สภาที่ มณฑลเทศาภิบาล สุขาภิบาล


กระทรวง ปรึกษา

มีขาหลวง เกิดขึ้นครั้งแรกที่
มณฑลหรือ ทาฉลอม จังหวัด
12 กระทรวง รัฐมนตรีสภา องคมนตรีสภา สมุหเทศาภิบาล สมุทรสาคร ถือวา
หนาที่ชวย (สภาที่ปรึกษา (สภาที่ปรึกษา เปนผูปกครอง เปนการปกครอง
บริหาร ราชการแผนดิน) สวนพระองค) ขึ้นตรงตอพระ ทองถิ่นครั้งแรก
ราชการ มหากษัตริย
แผนดิน เจาเมืองเดิม
ประกอบดวย ประกอบดวย ไมมีอํานาจ
ขุนนางผูใหญ พระบรมวงศานุ
10 – 20 คน วงศชั้นสูงหนาที่ ลักษณะรวม
หนาที่ถวายคํา ถวายคําปรึกษา เมือง 4 – 5
ปรึกษาราชการ ราชการสวนพระ เมืองขึ้นเปน
สวนพระองค องค 1 มณฑล

การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการในสมัยรัชกาลที่ 6
1. รวมมณฑลเปนภาค มีอุปราชปกครอง
2. เปลี่ยนการเรียกชื่อ เมือง เปน จังหวัด
3. ทรงวางพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยตั้งดุสิตธานี

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเหตุการณภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง


ในสมัยรัชกาลที่ 7 ไดเกิดเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก เนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผล
กระทบตอเศรษฐกิจและการเมืองของไทย จากการที่รัฐบาลแกไขปญหาเศรษฐกิจไมไดผล เปน
สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร ซึ่งประกอบ
ดวยทหารและพลเรือน มีพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนาฝายทหาร และหลวง
ประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค) เปนหัวหนาฝายพลเรือน ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปก
ครองการบริหารราชการแผนดินภายใตรัฐสภา ประชาชนมีสิทธิ และเสรีภาพ ตามกฎหมาย

29
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ขอทดสอบ

1. ขอใดไมเกี่ยวของกับการปฏิรูปการปกครองประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5
1. การจัดตั้งภาค 2. การจัดตั้งมณฑล
3. การจัดตั้งสุขาภิบาล 4. การจัดการเลือกตั้งกํานัน ผูใหญบาน
2. การปฏิรูปการปกครองในรัชกาลที่ 5 เกิดจากสาเหตุใดนอยที่สุด
1. ความเสื่อมของระบบมูลนายไพร 2. เหตุการณวุนวายภายในประเทศ
3. โครงสรางการปกครองเดิมลาสมัย 4. การคุกคามจากจักรวรรดินิยมตะวันตก
3. ระบบเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะสอดคลองกับการปกครองในขอใด
1. การปกครองทองที่ 2. การปกครองทองถิ่น
3. การปกครองสวนกลาง 4. การปกครองสวนภูมิภาค
4. กิจกรรมใดเปนการเริ่มวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทย
1. การจัดตั้งรัฐมนตรีสภา 2. การจัดตั้งสุขาภิบาล
3. การเลิกทาส 4. การจัดตั้งดุสิตธานี
5. ขอใดไมใชสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
1. การตื่นตัวทางการเมืองของชนชั้นกลาง
2. พระบรมวงศานุวงศทรงไดรับการศึกษาสมัยใหมของประเทศในยุโรปมากขึ้น
3. วิธีการของรัฐบาลในการลดรายจายที่ไมจําเปนของประเทศเพื่อแกปญหาเศรษฐกิจ
4. เกิดการขัดแยงแตกแยกกันในดานความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกองทัพระหวางกลุมผู
มีอํานาจ
6. การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย พ.ศ. 2475 โดยไมนองเลือดเปนเพราะเหตุใด
1. คณะราษฎรสามารถควบคุมกําลังอํานาจของกองทัพไดทั้งหมด
2. ประชาชนชาวไทยใหการสนับสนุนคณะราษฎร
3. รัชกาลที่ 7 มีพระราชดําริที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับประชาชน
4. ผูนําเห็นความเจริญจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองของญี่ปุนในระบอบรัฐธรรมนูญ
7. การเมืองการปกครองของไทยในชวงระหวาง พ.ศ. 2480 - 2514 มีลักษณะเชนไร
1. ฝายการเมืองบริหารตามระบอบประชาธิปไตย
2. ฝายทหารมีบทบาทในระบบอํานาจนิยม
3. ขาราชการพลเรือนควบคุมการบริหารราชการ
4. กลุมนักธุรกิจการเมืองมีบทบาทบริหารประเทศ

30
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
8. วิกฤตการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 กอใหเกิดผลดานการเมืองที่สําคัญหลายประการยกเวนขอใด
1. กลุมอาชีพตางๆ เคลื่อนไหวเรียกรองสิทธิประโยชนและเสรีภาพ
2. มีการเลือกตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยตามที่ระบุในรัฐธรรมนูญใหม
3. ทําใหมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517
4. ทหารและกองทัพลดบทบาทการเขามาเกี่ยวของกับการเมืองจนถึงปจจุบัน
9. รัฐบาลในขอใดมีลักษณะใกลเคียงกับรัฐบาลแบบอภิชนาธิปไตยมากที่สุด
1. รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช พ.ศ. 2518
2. รัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พ.ศ. 2531
3. รัฐบาล นายอานันท ปนยารชุน พ.ศ. 2534
4. รัฐบาล พลเอกสุจินดา คราประยูร พ.ศ. 2535
10. “บุญของแผนดินไทย พอหลวงบันดาลให ที่ในยุงฉางมีขาว
นํ้ารินดินดีใดเลา ทุกขใดเหินไปบรรเทา ดวยพระบาท”
ขอความนี้แสดงใหเห็นถึงฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยวาเปนอยางไร
1. ธรรมราชา 2. เทวราชา
3. เจาชีวิต 4. เจาแผนดิน
11. พระมหากษัตริยพระองคแรกที่ทรงดื่มนํ้าพิพัฒนสัตยา และสาบานตนวา จะซื่อสัตยตอพสก
นิกร คือ พระองคใด
1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
3. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
12. ขอใดไมใชสาเหตุสาคั ํ มกี ารเปลีย่ นแปลงการปกครองในประเทศไทยเปนระบอบ
ํ ญทีท่ าให
ประชาธิปไตยในป พ.ศ. 2475
1. ความเหลื่อมลํ้าในทางสังคมระหวางชนชั้นตางๆ
2. ความตกตํ่าทางเศรษฐกิจซึ่งทําใหประชาชนเดือดรอน
3. ความตองการใหประชาชนมีการศึกษาโดยเทาเทียมกัน
4. ความตื่นตัวทางการเมืองที่อยากใหมีการเปลี่ยนแปลง
13. สมานขอใหสมรอธิบายเหตุการณสําคัญที่แสดงถึงความตื่นตัวของนิสิตนักศึกษาในการเรียก
รองประชาธิปไตย สมรจะเลือกเหตุการณใดมาอธิบาย
1 14 ตุลาคม 2516 2. 6 ตุลาคม 2519
3. 23 กุมภาพันธ 2534 4. 17 พฤษภาคม 2536

31
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
14. การเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ในขอใด
มีรูปแบบคลายคลึงกับความเคลื่อนไหวในหมูนักคิดชาวยุโรปสมัยคริสตศตวรรษที่ 17 - 18
1. การรวมกลุมการเมืองภายใตชื่อ ยังเติรก
2. เทียนวรรณออกหนังสือพิมพเพื่อเสนอความคิดเห็นวิพากษวิจารณสังคม
3. การกอกบฎ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6
4. คณะเจานายและขาราชการเสนอคํากราบทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครองใน ร.ศ. 130
15. หนาที่สําคัญขององคมนตรีสภาในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร
1. เปนที่ปรึกษาราชการแผนดิน 2. เปนผูพิจารณารางกฎหมาย
3. เปนที่ปรึกษาราชการสวนพระองค 4. เปนผูพิจารณาระเบียบราชการ
16. เหตุผลสําคัญในขอใดที่รัชกาลที่ 5 ทรงจัดการปฏิรูปการปกครองแผนดิน
1. มีจํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้น 2. ตองการเจริญเหมือนอารยธรรมตะวันตก
3. ที่ปรึกษาสวนพระองคถวายคําแนะนํา 4. เกรงภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม
17. ขอใดถือวาเปนจุดเริ่มตนสําคัญของการพัฒนาการเมืองไทย
1. การกราบบังคมทูลขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2427
2. การปฏิรูปการปกครองแผนดินสมัยรัชกาลที่ 5
3. ความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.ศ. 130
4. การสราง “ดุสิตธานี” เพื่อทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย
18. แนวคิดเกี่ยวกับการมีรัฐธรรมนูญในสังคมไทย มีมาตั้งแตสมัยใด
1. รัชกาลที่ 3 2. รัชกาลที่ 4
3. รัชกาลที่ 5 4. รัชกาลที่ 6
19. การเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเพื่ออะไร
1. ใหฝรั่งเศสคืนดินแดนที่ยึดไปจากไทยในเหตุการณ ร.ศ. 112
2. ใหอังกฤษและฝรั่งเศสยอมแกไขสนธิสัญญาบาวริง
3. ใหตางชาติยอมรับวาไทยมีเกียรติยศเสมอนานาอารยประเทศ
4. ใหตางชาติยอมรับวาไทยตองการรักษาความเปนกลาง
20. ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยของคนไทยเริ่มปรากฏอยางชัดเจนในขอใด
1. ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ
2. ขอคิดเห็นของอัศวพาหุและรามจิตติ
3. คํากราบบังคมทูลของเจานายและขาราชการ ร.ศ. 103
4. ขอเสนอของที่ปรึกษากระทรวงการตางประเทศ ชื่อ นายเรมอนด บี. สตีเวนส

32
สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต

You might also like