You are on page 1of 24

ทฤษฎีบคุ ลิกภาพของ

ออลพอร์ท
(Gordon W. Allport)
ประวัติ
• เกิดเมื่อค.ศ. 1897 ที่ รฐั อินเดียนา สหรัฐอเมริกา
• เป็ นลูกคนที่ คนสุดท้ องในบรรดาพี่น้องผู้ชาย 4
คน ในครอบครัวที่ อบอุ่น
• มีความสามารถทางวิชาการ ศึกษาต่อในระดับ
ปริญญาตรีท่ี มหาวิทยาลัยฮาร์เวิรด์ ในสาขา
เศรษฐศาสตร์และปรัชญา
• เป็ นอาจารย์สอนวิชาภาษาอังกฤษและสังคม
วิทยาที่ ตรุ กี
• ได้รบั ทุนเข้าศึกษาระดับปริญญาโททางจิตวิทยา
มหาวิทยาลัยฮาร์เวิรด์
• สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอกทางจิตวิทยาในปี 1922 โดย
วิทยานิพนธ์ของเขาเกี่ยวกับการสํารวจบุคลิกภาพของเทรท
• ไปศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัยแห่งเบอร์ลิน มหาวิทยาลัยฮัมบูรก์
และเคมบริจด์ในสหราชอาณาจักร
• ได้เป็ นอาจารย์สอนที่ภาควิชาจริยศาสตร์สงั คม มหาวิทยาลัยฮาร์
เวิรด์ เป็ นเวลา 2 ปี
• ปี 1926 เขาได้ยา้ ยไปสอนที่ Dartmouth College เป็ นเวลาสัน้ ๆ
• กลับมาสอนที่ มหาวิทยาลัยฮาร์เวิรด์ ในปี 1930
• เสียชีวิตเมือ่ วันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1967 ด้วยโรคมะเร็งปอด
Traits Theory
• Traits = ความเคยชิน
• มีมากมายหลายประการ เช่น ความเป็ นมิตร ความมักใหญ่ใฝ่ สูง
ความกระตือรือร้น ความขีอ้ าย การเก็บกด เป็ นต้น
• ไม่มีเทรทใดตายตัวในแต่ละบุคคล
• บุคคลจะแสดงลักษณะเทรทใดๆ โดดเด่นออกมา ขึน้ อยู่กบั
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและพลังกดดันทางสังคมในขณะนัน้
• ไม่มีลกั ษณะเทรทที่ เด่นขึน้ มาเพียงลักษณะเดียว แต่จะมีเทรทหลาย
ประเภททํางานประสานกัน
Traits Theory
1. เทรทร่วม (Common Traits)
– ลักษณะรวมๆ กันของบุคคลในแต่ละสังคม
– ค่านิยม ขนบธรรมเนี ยม ประเพณี วัฒนธรรม
– อธิบายบุคลิกภาพของแต่ละบุคคลได้อย่างหยาบๆ
– ออลพอร์ทไม่ได้ให้ความสําคัญกับเทรทร่วม
Traits Theory
2. เทรทเฉพาะตัวบุคคล (Personal Traits)
– ลักษณะบุคลิกภาพที่ แท้จริงของบุคคล
– มีความเฉพาะตัว โดดเด่น เป็ นเอกลักษณ์
– เป็ นตัวทํานายลักษณะพฤติกรรมและวิถีชีวิตที่ แท้จริง
– ให้ความสําคัญกับเทรทเฉพาะตัวบุคคลมากกว่าเทรทร่วม
– คนที่มีเทรทเหมือนกันไม่จาํ เป็ นต้องมีพฤติกรรมและบุคลิกภาพที่
แสดงออกมาเหมือนกัน
Traits Theory
เทรทย่อยของ Personal Traits
1) Cardinal Traits หรือเทรทหลัก
– ลักษณะโดยทัวไปที ่ ่สาํ คัญ
– ไม่สามารถแยกออกจากลักษณะท่าทางหรือเอกลักษณ์ของ
บุคคลนัน้ ได้
– เป็ นคุณลักษณะที่ บคุ คลมีมากและเด่นในชีวิต
– เป็ นที่ ร้จู กั โดยทัวไป

– ไม่สามารถจะซ่อนได้
Traits Theory
2) Central Traits หรือเทรทแกนกลาง
– ลักษณะท่าทางของแต่ละบุคคลที่ แสดงแบบของพฤติกรรม
สันนิษฐานได้จากพฤติกรรมของแต่ละบุคคลที่ แสดงออกมา
– เป็ นลักษณะที่ มีอยู่แล้วในแต่ละบุคคลอย่างมันคงแต่
่ ไม่เด่นชัด
– เป็ นภาพรวม
– ไม่สาํ คัญเท่าเทรทหลัก
– อาจมีอยู่ไม่เกิน 10 ชนิด เช่น ความรูส้ ึกเป็ นศัตรู ความรู้สึกมันใจ

ในตนเอง เป็ นต้น
Traits Theory
3) Secondary Traits หรือเทรทรอง
– ลักษณะของแต่ละบุคคลที่ตอบสนองต่อส่ิ งเร้าเฉพาะอย่าง
(สิ่งแวดล้อม)
– ไม่ค่อยมีความสําคัญต่อชีวิตประจําวันและจะแสดงออกมาก็
ต่อเมื่อเขาได้พบกับส่ิ งเร้าที่ ชอบเท่านัน้
– ไม่เข้าใกล้ศนู ย์กลางของบุคลิกภาพเท่ากับเทรท 2 ชนิดแรก
The Proprium
• Proprium = Self
• ความรู้สึก “ที่ เป็ นของเราโดยเฉพาะ”
• เป็ นจุดร่วมและจุดรวมของลักษณะต่างๆ ที่ ประกอบเป็ นบุคลิกภาพ
ของมนุษย์แต่ละคนทัง้ กาย จิตใจ สังคม และอารมณ์
• ทํางานประสานเชื่อมโยงกัน ไม่แยกออกจากกัน
• ถ้า Proprium ทําหน้ าที่ประสานกันได้ดี  บุคลิกภาพที่ มนคง
ั่
• ถ้า Proprium ทําหน้ าที่ประสานกันได้ไม่ดี  มีแนวโน้ มเป็ นโรคจิต
โรคประสาท และมีปัญหาด้านบุคลิกภาพ
The Proprium
• คุณลักษณะที่ สอดแทรกอยูใ่ น Proprium คือ “ความรู้สึกผิดชอบ”
(Conscience)
• เป็ นผลจากการเรียนรูจ้ ากครอบครัว สังคม และวัฒนธรรม
• ในวัยเด็กจะเกิดจากความกลัว
• ในวัยผู้ใหญ่จะเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรอง
The Proprium
1. The Body Self (การตระหนักรู้เกี่ยวกับร่างกายของตน)
– Bodily self = ตัวตนที่เป็ นร่างกายที่ปรากฏชัดในวัยทารก
– เกิดจากการที่เราเร่ิ มรับรูว้ ่าเรามีส่วนของกายที่แยกเป็ นอิสระจากแม่
และจากส่ิ งแวดล้อมอื่นๆ
– เด่นชัดขึน้ ว่าเราหิว รูส้ ึกคับแค้น และเมือ่ ชนถูกของ
– เร่ิ มต้นในช่วงปลายวัยทารก และจะดํารงอยู่กบั เราตลอดชีวิต
– พัฒนาไปตามวัยและประสบการณ์
– เป็ นรากฐานของ self-awareness เช่น การรับรูว้ ่าตนเป็ นคนสวย
– เป็ นส่วนสําคัญต่อแรงจูงใจ ลักษณะพฤติกรรมและลักษณะบุคลิกภาพ
ต่างๆ
The Proprium
2. Self-Identity (การตระหนักรูใ้ นอัตลักษณ์ของตน)
– พัฒนาในช่วงวัยทารกตอนปลาย
– คนที่ มีบคุ ลิกภาพปกติคือคนที่ สาํ นึ กรู้ เห็นความสืบเนื่ องของ
ความเป็ นมาในอดีตและปัจจุบนั และอนาคตตามข้อเท็จจริง
– สังเกตได้จากการใช้ภาษาและการมีปฏิสมั พันธ์กบั ผู้อื่น
– พัฒนาเป็ นโครงสร้างเมือ่ อายุ 5 ขวบ
– เปลี่ยนแปลงรูปแบบอย่างต่อเนื่ องไปตลอดชีวิต
The Proprium
3. Self-Esteem (ความเคารพในตนเอง)
– เกิดขึน้ ในช่วงอายุ 2-3 ขวบ
– เด็กจะรู้สึกภูมิใจและเห็นคุณค่าของตนเองเมื่อสามารถจัดการกับ
งานได้สาํ เร็จและจะรู้สึกอับอายถ้าพวกเขาล้มเหลว
– ผล  จะเร่ิ มคัดค้านพ่อแม่ เด็กช่วงนี้ จะชอบปฏิเสธและต่อต้าน
– ถ้าบุคคลมีความภูมิใจในตนเองมากเกินไป  หลงตน เห็นแก่
ตัว อวดดีอวดเด่น
– ถ้ามีน้อยเกินไป  ขาดความมันใจในตนเอง
่ มีความต้องการ
พึ่งพาสูง และยอมคนมากเกินไป
The Proprium
4. Self-Extension (การขยายความสนใจนอกเหนื อจากตนเอง)
– อายุ 4-6 ปี : มีศนู ย์กลางอยูท่ ่ี ตวั เอง หมกมุ่นกับการเป็ นเจ้าของ
และเอาแต่ใจตนเอง
– เมื่อเด็กมีความสัมพันธ์กบั ผู้อื่น เด็กจะขยายความสนใจจาก
ตนเองไปสู่ผ้อู ื่น
– ในระดับอุดมคติ  การพัฒนาพฤติกรรมและความรู้สึกนึ กคิด
เพื่อสังคมและส่วนรวมมากกว่าการคิดคํานึ งตัวเองเพียงฝ่ าย
เดียว
The Proprium
5. Self-Image (ภาพลักษณ์ของตนเอง)
– เริ่มพัฒนาเมื่ออายุประมาณ 4-6 ปี พร้อมกับความรูส้ ึกผิดชอบ
– Good me and bad me  พัฒนามาจากพฤติกรรมการให้รางวัลและ
การลงโทษ
– มีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ
1) ความคาดหวังของบทบาทที่เราต้องแสดงซึ่งเราเรียนรูม้ า
2) ความหวังเกี่ยวกับอนาคตที่เราต้องไปให้ถงึ
– ภาพของตนที่พฒ ั นาในวัยเด็ก มีผลต่อการสร้างลักษณะเด่นๆ ของ
บุคลิกภาพของบุคคลด้านต่างๆ ทัง้ ทางบวกและทางลบอย่างยิ่ง ซึ่งจะ
กลายเป็ นนิสยั ถาวรของแต่ละบุคคล
The Proprium
6. The Self as Rational Coper
(ตัวตนในฐานะที่เป็ นนักจัดการที่มีเหตุผล)
– อายุ 6-12 ปี : รูจ้ กั คิดทบทวนและหาวิธีการในการแก้ปัญหา
– รู้จกั บิดเบือนความจริง
– สร้างกลไกในการป้ องกันตัวเองเมือ่ รู้สึกเจ็บปวด เพื่อใช้เป็ น
เหตุผลในการปลอบใจตนเองและเพื่อให้ตวั เองรูส้ ึกสบายใจ
The Proprium
7. Propriate Striving (ความดิ้นรนไปสู่เป้ าหมายชีวิต)
– อายุ 12 ปี ขึน้ ไป
– เป็ นลักษณะส่วนสําคัญของแกนบุคลิกภาพของมนุษย์ประการ
หนึ่ ง
– บุคคลที่ ปราศจากคุณสมบัติดงั กล่าวจะเป็ นคนที่ ขาดชีวิตชีวา
ขาดความกระตือรือร้น และขาดเป้ าหมายในชีวิต
ุ ิ ภาวะและ
– วัยรุ่นคนใดที่ ยงั ไม่มีเป้ าหมายชีวิต  ยังไม่บรรลุวฒ
ความตระหนักรูใ้ นตัวตนยังติดอยู่ในขัน้ ต้นๆ
The Proprium
8. The Self as Knower (การประจักษ์ร้)ู
– เป็ นลักษณะชัน้ สูงของความเป็ นมนุษย์
– การรูจ้ กั ใช้ปัญญา การสะสมความรู้ และจิตสํานึ กต่างๆ
พัฒนาการบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 1 วัยทารก
• ทารกไม่สามารถแยกตนเองกับสิ่งแวดล้อมออกจากกันไม่ได้
ขัน้ ที่ 2 วัยเร่ิ มแรกของตัวตน (1-3 ขวบ)
• 1) รับรู้และแยกแยะร่างกายของตนออกจากแม่และสิ่งแวดล้อมได้
• 2) รับรูใ้ นเอกลักษณ์ ของตน
• 3) เห็นคุณค่าและภูมิใจในตนเองหากได้รบั การสนับสนุนอย่าง
เหมาะสม
พัฒนาการบุคลิกภาพ
ขัน้ ที่ 3 ช่วงอายุ 4-6 ปี
• พัฒนาความรูส้ ึกเป็ นเจ้าของ และภาพลักษณ์ ของตนเอง รวมทัง้ เกิด
ความรู้สึกนึ กคิดต่อตนเอง
ขัน้ ที่ 4 ช่วงอายุ 6-12 ปี
• พัฒนาความคิดอย่างมีเหตุผล
ขัน้ ที่ 5 ช่วงวัยรุ่น (12-21 ปี )
• ความเป็ นเด็กจะหมดไป สร้างเป้ าหมายของชีวิต
ลักษณะของบุคลิกภาพทีม่ วี ฒ
ุ ภิ าวะ
• ลักษณะสําคัญ 2 ประการ คือ
1. รูจ้ กั พัฒนาตนเอง
2. รู้จกั ทําหน้ าที่ต่างๆ ด้วยตนเอง
• ผู้ใหญ่ต้องให้เด็กมีอิสระในการทําหน้ าที่ ต่างๆ ด้วยตนเอง เพื่อให้
เด็กรู้จกั พัฒนาและพึ่งพาตนเองได้
• = เด็กจะต้องเป็ นอิสระจากแรงจูงใจพืน้ ฐานในวัยทารกและเป็ นอิสระ
จากความต้องการของพ่อแม่
• บุคคลที่ มีแรงจูงใจในการทําน้ าที่ อย่างอิสระด้วยตนเองสูง
= ผู้ที่มีบคุ ลิกภาพมีวฒ ุ ิ ภาวะแล้ว
ลักษณะของบุคลิกภาพทีม่ วี ฒ
ุ ภิ าวะ
เกณฑ์ในการพิจารณาบุคลิกภาพที่มีวฒ ุ ิ ภาวะ
1. การขยายความสนใจนอกเหนื อจากตัวเอง ให้ความสําคัญกับผู้อื่น
และสนใจโลกภายนอก เข้าร่วมกิจกรรมกับผูอ้ ่ืนได้ คํานึ งถึงความ
เป็ นอยู่ของผูอ้ ่ืน
2. การมีความสัมพันธ์กบั ผูอ้ ่ืนอย่างอบอุ่น
3. การยอมรับตัวเอง มีความมันคงทางอารมณ์
่ และยอมรับตนเอง
ทนต่อความคับข้องใจและแก้ปัญหาด้วยความอดทน
4. การรับรู้ความจริงตามที่ เป็ นจริง รับรู้ความเป็ นจริงอย่างถูกต้อง
ไม่บิดเบือน มุ่งมันที่ ่ จะแก้ปัญหามากกว่าที่ จะมุ่งเอาใจตนเอง
ลักษณะของบุคลิกภาพทีม่ วี ฒ
ุ ภิ าวะ
เกณฑ์ในการพิจารณาบุคลิกภาพที่มีวฒ ุ ิ ภาวะ
5. การทําให้ตวั ตนสัมผัสได้ มองตนเองด้วยความเข้าใจและเป็ น
กลาง รูจ้ กั ขีดจํากัดของตน มีอารมณ์ ขนั ยืดหยุ่น
6. ความมีเอกภาพของปรัชญาชีวิต มีค่านิยมในการดํารงชีวิต มี
จุดมุ่งหมายในชีวิต

You might also like