You are on page 1of 9

 

อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 1 

อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต
ในละครเรื่อง “อาทิตยชิงดวง” ระบุเรื่องของกรุปเลือด โดยอางวารังรองไมใชลูกของรังสีและแสงหลา
เนื่องจากรังสีมีเลือดกรุป B และแสงหลามีเลือดกรุป O จึงเปนไปไมไดที่ลูกที่เกิดมาจะเปนรังรองซึ่งมีเลือด
กรุป AB
ผมเห็นวาหมูโลหิตไมใชสิ่งที่สามารถยืนยันการเปนทายาทได เพื่อความเขาใจที่ถูกตองผมจึงไดรวบรวม
ขอมูลเกี่ยวกับการถายทอดหมูโลหิต (กรุปเลือด) ซึ่งแบงออกเปน 2 ระบบคือ
1. ABO Blood Group System
2. Rhesus Blood Group System

หมูโลหิตแบบ ABO (ABO Blood Group System)

ABO Blood Group System เปนการแบงกรุปเลือดตามแอนตี้เจน (Antigen) ในเลือดซึ่งมีอยู 2 ประเภทคือ A


antigen และ B antigen โดยจะแบงออกไดเปน 4 กรุปคือ

1. ผูที่มีสาร A antigen ในเลือดเพียงอยางเดียวจะมีเลือดกรุป A (AO)


2. ผูที่มีสาร B antigen ในเลือดเพียงอยางเดียวจะมีเลือดกรุป B (BO)
3. ผูที่มีสาร A antigen และ B antigen ในเลือดจะมีเลือดกรุป AB (AB)
4. ผูที่ไมมีสาร A antigen และ B antigen ในเลือดจะมีเลือดกรุป O (OO)

ขอสังเกต

- ถาผูที่มี B antigen ในเลือดรับเลือดที่ไมมี B antigen จะไมสงผลกระทบใดๆตอรางกาย


- ถาผูที่ไมมี B antigen ในเลือดรับเลือดที่มี B antigen จะทําใหเลือดไมสามารถเขากันได และจะทําให
ผูรับเลือดเสียชีวิตได
- เลือดกรุป O เปนเลือดที่ไมมี A antigen และ B antigen จึงสามารถใหเลือดไดกับทุกกรุป แตจะสามารถ
รับเลือดไดจากกรุป O เทานั้น
- เลือดกรุป AB เปนเลือดที่มี A antigen และ B antigen จึงสามารถใหเลือดไดกับกรุป AB เทานั้น แตจะ
สามารถรับเลือดไดจากทุกกรุป
 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 2 

การถายทอดหมูโลหิตสูทายาท

การถายทอดกรุปเลือดจากพอกับแมสูทายาทเปนไปตามกฎของเมนเดล (Mendelian Inheritance) โดยกรุป


เลือดของพอกับแมจะเปนตัวกําหนด พอกับแมจะมีเลือดฝายละ 2 สวน (สวนที่ไมมี antigen จะเปน O) และ
จะถายทอดใหกับทายาทฝายละ 1 สวน

การถายทอด allele ใหกับทายาทตามกฎของเมนเดล


 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 3 

พอหรือแม
พอหรือแม O A B AB
O O O, A O, B A, B

A O, A O,A O, A, B, AB A, B, AB

B O, B O, A, B, AB O, B A, B, AB

AB A, B A, B, AB A, B, AB A, B, AB

หมายเหตุ : ยกเวนกรณี O-Bombay

ขอสังเกต

- ถาพอหรือแมคนใดคนหนึ่งมีเลือดกรุป AB ลูกที่เกิดมาจะไมมีเลือดกรุป O (ยกเวนกรณี O-Bombay)


- ถาพอหรือแมคนใดคนหนึ่งมีเลือดกรุป O ลูกที่เกิดมาจะไมมีเลือดกรุป AB (ยกเวนกรณี O-Bombay)
- ถาพอและแมมีเลือดกรุป A และ B ลูกที่เกิดมาอาจจะมีเลือดกรุป AB, O
- พี่นองไมจําเปนตองมีเลือดกรุปเดียวกัน
- ถาพอและแมมีเลือดกรุป A และ B และลูกที่เกิดมามีเลือดกรุป AB พอและแมสามารถใหเลือดลูกได แต
ลูกไมสามารถใหเลือดพอแมได
- ถาพอและแมมีเลือดกรุป A และ B และลูกที่เกิดมามีเลือดกรุป O พอและแมไมสามารถใหเลือดลูกได
แตลูกสามารถใหเลือดพอแมได

กรณี O-Bombay

การถายทอดหมูโลหิตสูทายาทในแบบ ABO (ABO Blood Group System) มีขอยกเวนกรณีที่เลือดกรุป O


เปนเลือด O-Bombay ซึ่งไมมี A antigen หรือ B antigen แตมี H antigen
H antigen ไมจัดอยูในระบบเลือด ABO Blood Group System และไมถือเปนเลือดกรุปใหม
H antigen เกิดจากยีนสดอยที่ไมสามารถแสดงตัวเองไดวาจะเปน A antigen หรือ B antigen ที่สมบูรณได
(ไมเกี่ยวกับ C antigen, c antigen, D antigen, E antigen และ e antigen)
 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 4 

H antigen ถูกตรวจพบครั้งแรกที่เมืองบอมเบย อินเดีย และพบไดบอยในชาวเอเชีย (รวมทั้งประเทศไทย)


เลือดที่มี H antigen จึงเหมือนเปนเลือดกรุป O (เพราะไมสามารถแสดงตนเองวาเปนกรุป A หรือ B)

การถายทอด allele ใหกับทายาทโดยเลือด Bombay

ตามทฤษฎี ABO Blood Group System พอกับแมที่มีเลือดกรุป O + A จะมีลูกที่มีเลือดกรุป O หรือ A เทานั้น


แตถาดูในรูปจะเห็นวา พอกับแมมีเลือดกรุป O (สี่เหลี่ยมสีมวง) + A (วงกลมสีเหลือง) กลับสามารถมีทายาท
ที่มีเลือดกรุป O (สี่เหลี่ยมสีเขียวดานลางสุด) และ AB (สี่เหลี่ยมสีแดง) ซึ่งเปนเรื่องที่เปนไปไมได แตกลับ
เกิดขึ้นจริงเพราะผูที่มีเลือดกรุป O เปนเลือด O-Bombay
กรณีนี้เกิดจากเลือด O-Bombay (สี่เหลี่ยมสีมวง) มี H antigen (เกิดจากยีนสดอยที่ถายทอดมาจากผูที่มี B
antigen (วงกลมสีฟาดานบนสุด)) และ H antigen เกิดการกลายพันธุเปน B antigen สงผลใหลูกที่เกิดมาเปน
เลือดกรุป AB
 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 5 

ขอสังเกต

- H antigen สามารกลายพันธุเปน A antigen หรือ B antigen ไดตลอดเวลา หากตรวจเลือดหลายๆครั้งจะ


พบวาบางครั้งเปนเลือดกรุป O แตบางครั้งกลับเปนเลือดกรุป A หรือ B
- ผูที่มีเลือด O-Bombay ไมอาจจะสรุปไดวาเปนเลือดกรุป O, A, B จึงเปนอันตรายมากสําหรับการบริจาค
เลือด เพราะถาตอนที่บริจาคเลือดตรวจวาเปนกรุป O และนําเลือดกรุปนี้ใหกับผูที่มีเลือดกรุป O, A แต
ปรากฏวา H antigen เกิดการกลายพันธุเปน B antigen จะทําใหผูไดรับเลือดไดรับอันตราย
- ผูที่มีเลือด O-Bombay สามารถใหเลือดไดกับผูที่มีเลือดกรุป AB เทานั้น แตสามารถรับเลือดกรุป O ได

หมูโลหิตแบบ Rhesus (Rhesus Blood Group System)

Rhesus Blood Group System เปนการแบงกรุปเลือดตาม Rhesus Antigen บนเม็ดเลือดแดงซึ่งมีอยู 5 ประ


เภทคือ C antigen, c antigen, D antigen, E antigen และ e antigen
การแบงกรุปเลือดตาม Rhesus Antigen บนเม็ดเลือดแดงจะมี C antigen, c antigen, E antigen และ e antigen
โดยจะแบงออกไดเปน 2 กรุปคือ

1. ผูที่มี D antigen บนเม็ดเลือดแดงจะมีเลือด Rh+


2. ผูท่ไี มมี D antigen บนเม็ดเลือดแดงจะมีเลือด Rh-

โครงสรางระบบเลือด Rhesus

Genotype Symbol Rh (D) status


ce rr Rh-
cE r”r” Rh-
cEe rr” Rh-
cDe R0R0 Rh+
cDE R2 R2 Rh+
cDEe R2r Rh+
Ce r’r’ Rh-
 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 6 

CE r#r# Rh-
CEe r#r’ Rh-
CDe R1 R1 Rh+
CDE RZRZ Rh+
CDEe RZ R1 Rh+
Cce rr’ Rh-
CcE r#r” Rh-
CcEe r#r Rh-
CcDe R1r Rh+
CcDE RZ R2 Rh+
CcDEe R1R2 Rh+

ขอสังเกต

- เลือดของทุกคนประกอบดวย Antigen อยางนอย 1 ตัวจาก 2 กลุม (กลุม C (C antigen, c antigen) และ


กลุม E (E antigen, e antigen))
- เลือดในระบบ Rhesus Blood Group System ใชสัญลักษณ R (มี D antigen) และ r (ไมมี D antigen)
- เลือดที่มีสัญลักษณ R 2 ตัวจะเปนเลือด Rh+ (มี D antigen 2 สวน)
- เลือดที่มีสัญลักษณ R 1 ตัวและ r 1 ตัวจะเปนเลือด Rh+ (มี D antigen 1 สวน และ ไมมี D antigen 1
สวน)
- เลือดที่มีสัญลักษณ r 2 ตัวจะเปนเลือด Rh- (ไมมี D antigen 2 สวน)
- ถาผูที่มี D antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh+) รับเลือดที่ไมมี D antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh-) จะไมสงผล
กระทบใดๆตอรางกาย
- ถาผูที่ไมมี D antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh-) รับเลือดที่มี D antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh+) ครั้งแรก
รางกายของผูรับเลือดจะถูกกระตุนใหสราง Antibody เพื่อตอตาน D antigen แตจะยังไมสงผลกระทบ
ตอรางกาย
- ถาผูที่ไมมี D antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh-) รับเลือดที่มี D antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh+) ครั้งที่ 2
(รางกายมีสาร Antibody เพื่อตอตาน D antigen) จะทําใหเลือดไมสามารถเขากันได และจะทําใหผูรับ
เลือดเสียชีวิตได (หากตั้งครรภอาจทําใหเด็กในครรภแทง)
 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 7 

- สถิติคนไทยรอยละ 99.97 มี D antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh+) มีเพียงรอยละ 0.03 เทานั้นที่ไมมี D


antigen บนเม็ดเลือดแดง (Rh-)
- แมและลูกในครรภมักจะมี D antigen ตรงกัน (ถามีไมตรงกันมีโอกาสทําใหเกิดโรคแทรกซอนได เชน
ภาวะตัวเหลืองในเด็กแรกเกิด)

การถายทอดหมูโลหิตสูทายาท

การถายทอด Rh จากพอกับแมสูทายาทเปนไปตามกฎของเมนเดล (Mendelian Inheritance) โดย Rh ของพอ


กับแมจะเปนตัวกําหนด พอกับแมจะมีเลือดฝายละ 2 สวน (พอหรือแมอาจมี D antigen 1 - 2 สวน (Rh+)
หรืออาจไมมี D antigen (Rh-) ขึ้นอยูกับการถายทอดหมูโลหิตจากบรรพบุรุษ) แตจะถายทอดใหกับทายาท
ฝายละ 1 สวน (สวนที่มี D antigen เปน D, สวนไมมี D antigen เปน -)

พอหรือแม
พอหรือแม
D/D (ไมมี r) D/- (r 1 ตัว) -/- (r 2 ตัว)

D/D (ไมมี r) D/D D/-, D/D D/-

D/- (r 1 ตัว) D/-, D/D D/D, D/-, -/- D/-, -/-

-/- (r 2 ตัว) D/- D/-, -/- -/-

หมายเหตุ : ยกเวนกรณี G antigen

G antigen

การถายทอดหมูโลหิตสูทายาทในแบบ Rhesus Blood Group System มีขอยกเวนกรณีที่เลือดไมมี D antigen


แตมี G antigen
G antigen ไมจัดอยูในระบบเลือด Rhesus Blood Group System และไมถือเปนเลือดกรุปใหม
G antigen เกิดจากยีนสดอยที่ไมสามารถแสดงตัวเองไดวาจะเปน D antigen ที่สมบูรณได (ไมเกี่ยวกับ A
antigen และ B antigen) พบไดบอยในชาวแอฟริกัน
 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 8 

เลือดที่มี G antigen บนเม็ดเลือดแดงจึงเหมือนเปนเลือด Rh- (เพราะไมสามารถแสดงตนเองวาเปน D


antigen)

ขอสังเกต

- G antigen มีลักษณะทางกายภาพคลายคลึงกับ H antigen


- G antigen สามารถกลายพันธุเปน D antigen ไดตลอดเวลา หากตรวจเลือดหลายๆครั้งจะพบวาบางครั้ง
เปนเลือด Rh- แตบางครั้งกลับเปนเลือด Rh+
- ผูที่มี G antigen บนเม็ดเลือดแดงไมอาจจะสรุปไดวาเปนเลือด Rh- หรือ Rh+ จึงเปนอันตรายมากสําหรับ
การบริจาคเลือด เพราะถาตอนที่บริจาคเลือดตรวจวาเปนเลือด Rh- และนําเลือดกรุปนี้ใหกับผูที่มีเลือด
เลือด Rh- แตปรากฏวา G antigen บนเม็ดเลือดแดงเกิดการกลายพันธุเปนเลือด Rh+ จะทําใหผูไดรับ
เลือดไดรับอันตราย
- ผูที่มี G antigen บนเม็ดเลือดแดงจึงสามารถใหเลือดไดกับผูที่มีเลือด Rh+ เทานั้น แตสามารถรับเลือด
Rh- ได

การถายทอดหมูโลหิตของรังรอง

การถายทอดหมูโลหิตของรังรอง
 
อาทิตยชิงดวงกับการถายทอดหมูโลหิต 9 

ในละครบอกวา รังสีมีเลือดกรุป B (ไมทราบ Rh) และแสงหลามีเลือดกรุป O (ไมทราบ Rh) ไมสามารถมีลูก


ที่มีเลือดกรุป AB- ได ดังนั้นรังรองจึงไมใชลูกของรังสีกับแสงหลา
คําแปงมีเลือดกรุป AB- นาจะเปนแมที่แทจริงของรังรอง แตถาพิจารณาจากการถายทอดหมูโลหิตจะเห็นวา
มีความเปนไปไดทั้ง 2 กรณี

- รังสีมีเลือดกรุป B กับแสงหลามีเลือดกรุป O จะมีลูกที่มีเลือดกรุป O หรือ B เทานั้น (ไมสามารถมีลูกที่มี


เลือดกรุป AB)
ความจริง : ถาแสงหลามีเลือด O-Bombay และ H antigen สามารถกลายพันธุเปน A antigen ได ลูกที่เกิด
อาจจะมีเลือดกรุป AB
- คําแปงมีเลือดกรุป AB- นาจะเปนแมของรังรอง (ไมรูกรุปเลือดของสามีของคําแปง)
ความจริง : ไมจําเปนเสมอไปที่ลูกซึ่งมีเลือด AB- จะตองมีพอหรือแมที่มีเลือดกรุป AB- และพอหรือแม
ซึ่งมีเลือดกรุป AB- ไมจําเปนตองมีลูกที่มีเลือดกรุป AB- แมวาคําแปงจะมีเลือดกรุป AB- แตถาสามีของ
คําแปงมีเลือดกรุป O (ไมใช O-Bombay) ลูกที่เกิดจะไมมีเลือดกรุป AB

*****************************

ติชมหรือแสดงความคิดเห็นมาไดที่ E-Mail Address : kaojung11@hotmail.com


คุณสามารถแสดงความคิดเห็น ไดที่

http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=sawasdeekrab&month=02-03-2009&group=3&gblog=1

You might also like