You are on page 1of 18

Technology and Innovation Management

Graduate School of Management and Innovation


King Mongkut’s University of Technology Thonburi

RFID Technology เครื่องมือชวยเพิ่มความสามารถในการแขงขันของไทย

Abstract

RFID เปนเทคโนโลยีใหมที่กําลังมีบทบาทและความสําคัญเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว การประยุกต


เทคโนโลยี RFID มีรูปแบบหลากหลายดวยจุดประสงคที่แตกตางกัน แตอยูบนเปาหมายหลักเดียวกัน
นั่นคือการใชคลื่นความถี่วทิ ยุ RFID เพื่อการระบุ บงชี้ คนหา วัตถุที่ติดปาย RFID แทนการระบุดว ย
วิธีการเดิม ๆ ที่มีอยู ซึ่งวิธีนี้จะชวยอํานวยความสะดวกและเพิ่มประสิทธิ์ภาพไดดกี วา สงผลถึงการ
สรางขีดความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจได ซึ่งแนวโนมการตอบรับของโลกจะทวีเพิ่มมากขึน้
บทความนี้ จะนําเสนอ RFID คืออะไร โลกตอบรับอยางไร และประเทศมีการเตรียมความพรอม
อยางไรที่จะนํามาสรางขีดความสามารถในการแขงขันของไทย

Introduction
RFID เปนคํายอมาจาก Radio Frequency identification หรือเทคโนโลยีการชี้เฉพาะดวย
คลื่นวิทยุ RFID เริ่มพัฒนามาตั้งแตป 1980 เพื่อวัตถุประสงคในการใชงานที่ระบบบารโคดทําไมได
RFID เปนระบบติดตามโดยอาศัยคลื่นวิทยุในการระบุหรือคนหาวัตถุ ซึ่งจะมีการติดการโคดหรือชิป
ไวบนวัตถุนั้น ๆ ชิปดังกลาวจะสงคลื่นวิทยุออกมาทําใหทราบวาสินคาหรือวัตถุนั้น ๆ อยูที่ใดและมีการ
เก็บขอมูลไวในเครือขายสามารถตรวจสอบได
องคประกอบในระบบ RFID มี 2 สวนหลักคือ
1. แทกส (Tages) มีชื่อเรียกเปนทางการวา Transponder, Transmitter & Responder เปน
ฉลากที่ผนึกติดกับวัตถุ ใชบันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัตถุชิ้นนั้น โครงสรางภายในแทกสประกอบดวย ชิป
และขดลวด ซึ่งทําหนาที่เหมือนเสาอากาศที่คอยรับ-สงสัญญาณ แทกสมี 2 ชนิดใหญๆ คือ
ƒ Passive RFID Tags แทกสชนิดนี้ไมจําเปนตองรับแหลงจายไฟใดๆ เพราะมีวงจร
กําเนิดไฟฟาเหนี่ยวนําขนาดเล็กเปนแหลงจายไฟในตัวอยูแลว ระยะการสื่อสารขอมูลที่ทํา
ไดสูงสุด 1.5 เมตร มีหนวยความจําขนาดเล็ก (ทั่วไปประมาณ 32 – 128 บิต) มีขนาดเล็ก
และน้ําหนักเบา ราคาตอหนวยต่ํา
ƒ Active RFID Tags แท็กสชนิดนี้จะใชแหลงจายไฟจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก มี
หนวยความจําภายใจขนาดใหญไดถึง 1 เมกะไบต มีระยะการสื่อสารขอมูลที่ทําไดสูงสุด
ถึง 6 เมตรแมวาแท็กสชนิดนี้จะมีขอดีอยูหลายขอแตกม็ ีขอเสียอยูดว ยเหมือนกัน เชน มี
ราคาตอหนวยแพง มีขนาดคอนขางใหญ และมีระยะเวลาในการทํางานที่จํากัด
TIM

รูปที่ 1 แสดงความสัมพันธระหวาง ราคา กับระยะทางของ RFID tags type

รูปที่ 1.1 ความถี่มาตรฐานกับ RFID tags แบบ ตาง


ที่มา : “RFID Overview”, Greg Leeming, Intel Corporation, 2004

2. เครื่องอาน (Reader) มีชื่อเรียกเปนทางการวา Transceiver, Transmitter & Receiver


หนาที่ของเครือ่ งอานคือ การเชื่อมตอเพื่ออานขอมูลจากแทกส

Page 2/18
TIM
ขั้นตอนการทํางานระหวาง RFID tags และ เครื่องอาน (Reader)

รูปที่ 2 แสดงกระบวนการทํางานของ RFID


• ตัวเครื่องอานจะทําการสงสัญญาณวิทยุอยางตอเนื่องหรือเปนจังหวะ และรอคอยสัญญาณตอบ
จากตัว RFID tag
• เมื่อ RFID tag ไดรับสัญญาณคลื่นวิทยุที่สงมาจากเครื่องอานในระดับที่เพียงพอ ก็จะทํา
เหนีย่ วนําเพื่อสรางพลังงานปอนให RFID tag ทํางาน โดย tag จะสรางสัญญาณนาฬิกาเพื่อ
กระตุนใหวงจรภาคดิจิทัลใน tag ทํางาน
• วงจรภาคดิจิทลั จะไปอานขอมูลจากหนวยความจําภายในและเขารหัสขอมูลแลวสงไปยัง
ภาคอะนาล็อกที่ทําหนาที่มอดูเลตขอมูล
• ขอมูลที่ถูกมอดูเลตจะถูกสงไปยังขดลวดที่ทําหนาที่เปนสายอากาศ เพื่อสงไปยังเครื่องอาน
(Reader)
• เครื่องอานจะสามารถตรวจจับสัญญาณการเปลี่ยนแปลงของแอมปลิจูด (Envelope Detector)
และใช พีก ดีเทกเตอร (Peak Detector) ในการแปลงสัญญาณที่ มอดูเลตแลวจาก tag
• เครื่องอานจะถอดรหัสขอมูลและสงไปยังคอมพิวเตอรผานทางพอรตอนุกรมตอไป
จุดเดนที่สําคัญของ RFID tags เปรียบเทียบกับ Barcode
1. สามารถอานขอมูลไดถูกตองรวดเร็ว ไมตอ  งมีการสัมผัสกับ tag
2. สามารถอานคาไดแมในสภาพที่ทัศนวิสัยไมดี หรือสามารถอานคาไดในขณะทีว่ ัตถุที่กําลัง
เคลื่อนที่ เชน สินคาที่กําลังเคลื่อนที่อยูบนสายพานการผลิต
3. ทนตอความเปยกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก
4. สามารถอานและบันทึกขอมูลไดหลายครั้ง สามารถนํากลับมาใชใหมได

Page 3/18
TIM
5. สามารถสื่อสารผานตัวกลางไดหลายอยางเชน น้ํา, พลาสติก, กระจก หรือวัสดุทึบแสงอื่นๆ
ในขณะที่บารโคดทําไมได
6. สามารถอานขอมูลของผลิตภัณฑไดพรอมกันครั้งละ หลายๆ ชิ้น ในขณะที่ Barcode อาน
ไดเพียงทีละชิน้

การประยุกตใช RFID ในอุตสาหกรรมตาง ๆ


การประยุกตใช RFID ไดแพรหลายไปยังวงการตาง ๆ มากมาย ซึ่งจะขอยกตัวอยางเพื่อให
เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น และทีส่ ําคัญประสบการณนํา RFID ไปใชในองคกรตาง ๆ จะเปนสวนสําคัญที่
ชวยกระตุนใหทุกทานทราบวา RFID ไมใชเรื่องไกลตัวอีกตอไป
Wall Mart รานคาปลีกชื่อดังของสหรัฐฯ ซึ่งมียอดขายปละกวา 250,000 ลานดอลลาร ได
ออกระเบียบกําหนดให Suppliers รายใหญ 100 ราย เชน Gillette, Nestle, Johnson & Johnson ,
และ Kimberly ติด RFID Chip บนหีบหอ และกลองบรรจุสินคา สวน Suppliers รายเล็ก ๆ จะตอง
ติดชิปในรถสงสินคาใหแลวเสร็จภายในสิน้ ป 2549 ทาง Wall Mart ไดมองวา ระบบดังกลาวจะ
ชวยใหบริษัททราบถึงการเดินทางของสินคาไดทุกระยะ ตั้งแตโรงงานของ Suppliers จนถึงศูนย
กระจายสินคาของหาง และเมื่อใดที่สินคาถูกหยิบออกจากชั้นไป RFID ก็จะสงสัญญาณเตือนไปยัง
พนักงานใหนาํ สินคามาเติมใหมทําให War Mart ไมจําเปนตองเก็บสต็อกสินคา แตสามารถสั่งให
Suppliers มาสงของไดทันทีรวมทั้งจะชวย Guarantee วาสินคามีวางจําหนายตลอดเวลา
Extra Future Store ซึ่งเปน Supermarket ในเยอรมนี ก็ไดนําเทคโนโลยี RFID มาใชงาน
แลวหากลูกคาตองการซื้อชีส ลูกคาก็เพียงปอนคําสั่งลงในหนาจอระบบสัมผัสที่อยูหนารถเข็น จากนั้น
หนาจอก็จะแสดงแผนที่บอกทางไปสูชั้นวางชีส ทันทีทลี่ ูกคาหยิบชีสจากชั้นวาง tag ที่ติดอยูบนหอชีส
ก็จะสงสัญญาณขอมูลไปยังแผนเก็บขอมูล และเครื่องอานก็จะสงสัญญาณแจงไปยังฐานขอมูลของ
คลังสินคาวาชีส ถูกหยิบออกไปแลว และขอมูลดังกลาวก็จะถูกสงไปยัง Supplier เพื่อนําขอมูล
เหลานั้นไปใชในการวางแผนการตลาด และนอกจากนีย้ ังมีการนําไปประยุกตใชงานกับหางอืน่ ๆ
นํา RFID มาชวยเพิ่มความสะดวกใหลูกคาและลดจํานวนพนักงานในการเก็บเงินลูกคา โดย
ลูกคาที่เขามาซื้อสินคาผานในรานสามารถหยิบสินคาทีต่ ิดปาย RFID เดินผานเครื่องอานปาย ซึ่งเครื่อง
อานจะคํานวณราคาของสินคาทั้งหมดและตัดเงินจากธนาคารของลูกคาอัตโนมัตโิ ดยลูกคาไมตอ งรอคิว
Tesco เปนหางที่ไดเริ่มนํา RFID tag มาใชกับสินคาประเภทที่มใิ ชอาหาร ณ ศูนยกระจาย
สินคาในประเทศอังกฤษแลว
METRO GROUP เปนผูค  าสงขนาดใหญที่ใหบริการกวา 2,300 แหง กําหนดให Suppliers
รายใหญ ๆ กวา 300 ราย ตองติด RFID tag

Page 4/18
TIM
การนําRFIDไปประยุกตใชทางการแพทย อาทิ ใชเปนปายประจําตัวผูปวย ซึ่งปายดังกลาวจะ
เก็บขอมูลและประวัติการรักษาของผูปวย ในขณะที่บางประเทศเริ่มนําปาย RFID มาติดที่ตวั ผูปวย
เพื่อใหแพทยสามารถตรวจวินิจฉัยอาการของผูปวยไดตลอดเวลาจากระยะไกล
RFIDไปประยุกตใชกับระบบหองสมุดโดยติดชิปที่บรรจุขอมูลเกี่ยวกับตัวหนังสือซึ่งนอกจาก
จะชวยอํานวยความสะดวกเรื่องการยืม-คืน หนังสือใหรวดเร็วขึน้ แลว ยังชวยปองกันการขโมยหนังสือ
อีกดวย หรือจะนํามาใชกับบัตรโดยสารรถไฟฟา หนังสือเดินทาง

ความสําคัญของ RFID ในตลาดโลก


ความสําคัญของ RFID จะเริ่มเห็นภาพที่ชัดเจนขึน้ เมื่อองคการการคาโลก หรือ WTO
ประกาศใชอยางจริงจัง โดยสินคาตางๆจะกระจายไปทุกที่ทั่วโลก จะมีการแลกเปลี่ยนสินคา และ
บริการมากมายชนิดที่เรียกวาไมเคยเปนมากอน
ผูที่สามารถควบคุมระบบขนสง(Logistic) และสายการผลิต (Supply chain) ได ในเมื่อ
ตอไปเรื่องตนทุน, ความรวดเร็ว และความถูกตอง จะกลายเปนปจจัยที่สําคัญในการแขงขัน และการอยู
รอดในตลาดโลก เนื่องจากสินคาจะตองสามารถตรวจสอบไดถึงที่มา ทั้งกระบวนการผลิต ตลอดจนถึง
วิธีการผลิต โดยไมเวนแมแตสินคาการเกษตร เชน เนื้อวัว เนื้อหมู หรือเนื้อไก ที่จะถูกสงออกสู
ตลาดโลก จะตองสามารถตรวจสอบถึงวิธีการเลี้ยง การใหวัคซีน การปองกันโรคระบาด เพื่อผูบริโภค
จะมั่นใจไดถึงความปลอดภัยและคุณภาพ
สิ่งที่จะสามารถตอบโจทยตางๆ ไมวาจะเปนการตรวจสอบขอมูลที่มาของสินคา ผูผลิต
สามารถบอกปลายทาง วันหมดอายุ ฯลฯ ทั้งหมดจะรวมอยูในเทคโนโลยีที่ถูกคาดการณวาเปน 1 ใน
10 เทคโนโลยีที่จะเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคน นั่นคือ เทคโนโลยีที่เรียกวา "RFID"
ลาสุดในตางประเทศทั้งที่อเมริกา และยุโรป ยักษใหญทางดานการขาย และการผลิตกําลังอยู
ในระหวางทดสอบระบบดังกลาว เพื่อใชในระบบการผลิต โดยคาดวาจะเริ่มใชงานจริงในป 2548
นอกจากนี้ประเทศสิงคโปร ผูนําทางดานการขนสง และเทคโนโลยี เตรียมทุมเงินประมาณ 2,320 ลาน
บาทภายในป 2549 เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีอารเอฟไอดีในประเทศ
นอกจากนี้ประเทศสิงคโปรยังไดนําเทคโนโลยี RFID มาใชในการเชื่อมโยงทาเรือระหวาง
ทาเรือในประเทศ กับทาเรือของสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือวาใหญเปนอันดับหนึ่งของโลก โดยเปนรายแรก
ในทวีปเอเชีย ที่นําระบบดังกลาวมาทดลองใชในการผนึกตูคอนเทนเนอรทั้งหมดทีส่ งไปอเมริกา ตาม
มาตรฐานของ U.S. Container Security Initiative
ดานการพัฒนาสิงคโปรยังไดมีการจัดกลุมบริษัท และองคกรตางๆภายในประเทศ มารวมมือ
กันทํางานเปนกลุมเพื่อศึกษา และพัฒนาระบบดังกลาว ซึ่งไมเพียงแตจะพัฒนาใหเปนผูเชีย่ วชาญ
ทางดานเทคนิค แตยังมุงเนนการพัฒนาบุคลากรดานการบริหาร และปฏิบัติการดานดังกลาวออกมา เพื่อ
รองรับการนําไปใชในภาคธุรกิจในอนาคต

Page 5/18
TIM
RFID Adoption

ในตลาดโลก WTO WALMART และ TESCO เปนผูริเริ่มในการนําเทคโนโลยี RFID มา


ใหในระบบการขนสง เพื่อลดคาใชจายในการเก็บสินคา การขนสง และชวยใหมีขอ มูลในการตัดสินใจ
ที่รวดเร็ว ดังนั้นบริษัทเหลานี้จึงผลักดันใหบริษัทคูคาทีม่ าติดตอจําเปนตองใชเทคโนโลยี RFID ดวย
จึงทําใหปจ จุบนั เทคโนโลยี RFID เขาไปอยูในชวง Early Majority เนื่องจากแรงผลักดันทางการคา

แนวโนมการขยายตัวของโลก
ปจจุบัน RFID ไดกลายเปนแนวโนมทางเทคโนโลยีของโลกซึ่งจะถูกปรับใชในเชิงพาณิชย
จากการศึกษาของ Venture Development Corp. (VDC) พบวาในป 2000 ตลาดอุตสาหกรรม
RFID ในโลกมีมูลคา 663 ลานเหรียญสหรัฐ ในป 2002 มีมูลคาตลาดเพิ่มขึ้นเปน 964.5 ลานเหรียญ
และคาดวาจะมีการขยายตัวของตลาดอยางตอเนื่องถึงปละประมาณ 25% โดยในป 2006 คาดวาจะมี
มูลคาตลาดอยูที่ 3,600ลานเหรียญสหรัฐ สอดคลองกับผลการศึกษาของ Frost and Sullivan แหง
สหรัฐที่ระบุมลู คาตลาดที่ 3,600 ลานเหรียญในป 2006 เชนกัน ทั้งยังคาดการณวามูลคาตลาดจะสูงถึง
11,700 ลานเหรียญสหรัฐในป 2011 ในขณะที่ Sereon Research แหงสวิตเซอรแลนด ทํานายวาในป
2008 สินคาทุกๆ 20 ชิ้นจะมีอยู 1 ชิ้นติดปาย RFID
การประยุกตใชงาน RFID มีในหลายลักษณะ สามารถจําแนกการประยุกตดานหลักๆของ
RFID มีดังนี้

Page 6/18
TIM

รูปที่
4 แสดง Global Shipments of RFID Hardware Segment by Primary
Application
ที่มา : “นวัตกรรม RFID อุตสาหกรรมไฮเทคที่จะสรางมูลคาเพิ่มและทรัพยสินทางปญญาใหกับ
ประเทศ” ดร.เลิศศักดิ์ เลขวัต, Asian Institute of Technology, Bangkok, Thailand, 2004
• อันดับ 1 กลุมขนสง (Transportation) จะเปนธุรกิจที่มีการใชอารเอฟไอดีสูงสุด โดยขอมูล
เพิ่มเติมจากบริษัท เวนเดอร ดิเวลลอปเมนท ฟนด ไดคาดการณวาในป 2005จะมีมูลคาการใชอาร
เอฟไอดีในกลุม ขนสง สูงถึง 443 ลานดอลลารสหรัฐ จากมูลคาตลาดรวม 2038.9 ลานดอลลาร
สหรัฐ
• อันดับ2 การใชงานดานระบบการเขาออก (Security/ Access Control) โดยคาดการณวาในป
2005นี้ จะมีมูลคาตลาด 383.8 ลานดอลลารสหรัฐ
• อันดับ 3 การบริหารจัดการหวงโซอุปทาน (Supply Chain Management) คาดการณวาในป
2005จะมีมูลคาตลาด 387.1 ลานดอลลารสหรัฐ
• อันดับ 4 การบริหารจัดการสินทรัพย (Asset Management) คาดการณวาในป 2005นี้จะมีมูลคา
ตลาด 173 ลานดอลลารสหรัฐ
ในดานอัตราการเติบโตโดยเฉลี่ยตั้งแตป 2000-2005
กลุมที่มีอัตราเติบโตสูงสุด เปนกลุมการชําระเงิน ณ จุดขาย (Point of Sale) โตถึง 76.9%
รองลงมาคือการใชเพื่อติดตามสินคาในธุรกิจคาปลีก (Retail Item Tracking) 62.2% การใชในระบบ

Page 7/18
TIM
ติดตามกระเปาเดินทางในสนามบิน (Baggage Handling) 58.5 % ระบบ “Real Time Location
System” 54.5% และระบบหวงโซอุปทาน (Supply Chain Management) เติบโต 45.2%
โดยตลาด RFID รวมนั้น มีอัตราเติบโตเฉลี่ย 5 ป เติบโต 25.2% จากมูลคา 663.3 ลาน
ดอลลารสหรัฐ ป 2000 เปน 2,038.9 ลานดอลลารสหรัฐ ในป 2005

ปจจัยสําคัญที่มีผลตอการเติบโตของตลาด RFID
1. มาตรฐาน Standardization
เนื่องจากการที่กําหนดมาตรฐานออกมาใชในประเทศอยางเปนทางการลาชาจะสงผลให
เทคโนโลยี RFID ในประเทศมีการพัฒนาชาตามไปดวย ซึ่งมาตรฐานของ RFID สามารถแบงออกเปน
2 สวนไดแก
คลื่นความถี่ (RF spectrum) : คลื่นความถี่ที่จะใชสําหรับอุปกรณ RFID นี้ คอนขางยากทีจ่ ะ
กําหนดใหเปนมาตรฐานสากล เนื่องจากแตละประเทศเปนเจาของและเปนผูควบคุมการใชคลื่นความถี่
เอง ดังนั้น จึงขึ้นอยูแตละประเทศทีจ่ ะเปนผูพจิ ารณาจัดสรรคลื่นความถี่สําหรับการใชงานประเภท
ตางๆ
มาตรฐาน RFID (RFID Standards) : บริษัทผูผลิตตางๆ ไดพัฒนาและผลิตระบบ RFID
ออกมาโดยมีมาตรฐานที่ใชในการสงถายขอมูลระหวางเครื่องอานกับแท็กที่แตกตางกันออกไป ทั้งนี้
ขึ้นกับความตองการของตลาดเปนสําคัญ
อยางไรก็ตาม หลายองคกรไดตระหนักถึงปญหาเรื่องมาตรฐานนี้ และไดเริ่มมีการพัฒนาระบบ
มาตรฐานขึ้นมาทั้งในยุโรปและอเมริกา ตัวอยางเชน
• หนวยงาน ANSI's X3T6 ซึ่งประกอบไปดวยผูผลิตและผูใชงานระบบ RFID ในอเมริกา ได
กําลังทําการพัฒนามาตรฐานของระบบ RFID ที่ความถี่ 2.45 GHz ขึ้นมา
• The International Organization for Standards : ISO ก็ไดมม ี าตรฐานเกีย่ วกับการใช
ระบบ RFID กับงานปศุสัตวออกมาแลว คือ ISO 11784 และ 11785
• The Electronic Product Code (EPC Global) เปนองคกรที่เกิดจากความรวมมือระหวาง
the Uniform Code Council (UCC) และ EAN International โดยไดรับการสนับสนุน
จากภาคอุตสาหกรรม ทําหนาที่ในการกําหนด และพัฒนามาตรฐานรหัสของสินคา
อิเล็กทรอนิกสและโครงขาย มาตรฐาน EPC นี้เปนมาตรฐานเปด (Open standard)
พัฒนาขึ้นโดย the Auto-ID Center ซึ่งไดรับทุนจากบริษัทขนาดใหญหลายบริษัท ไดแก
บริษัท Coca-Cola, Intel, Wal-Mart และ Philips Semiconductors เปนตน โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อที่จะทําใหราคาของอุปกรณฮารดแวรลดต่ําลงจนอยูใ นระดับที่สามารถ RFID
ไปติดไวกับสินคารายชิ้นได

Page 8/18
TIM
ตัวอยาง UHF Reader Standards ในแตละประเทศ
GEO / Country Frequency Band

North America 900 – 930 MHz

EMEA 866 – 868 MHz

Korea 908.5 – 914 MHz

Australia 918 – 926 MHz

China (PRC) TBD

Japan TBD

ที่มา : “RFID Overview”, Greg Leeming, Intel Corporation, 2004


2. ราคา (Cost)
ธุรกิจทั้งขนาดเล็กและใหญจะสามารถเชื่อมโยงขอมูลกันไดทุกที่ทกุ เวลา ถาระบบ RFID มี
ราคาที่ต่ําลงอยางเพียงพอทีจ่ ะนําไปใชไดในทุกธุรกิจ ซึ่งในปจจุบันการที่จะผลิตแถบขอมูลใหมีราคา
ถูกนั้นยังไมสามารถทําได การจะนําเทคโนโลยีนี้มาแทนการใชบารโคดสามารถเปนไปไดในอนาคตถา
สามารถที่จะผลิตแถบขอมูล RFID ไดในราคาประมาณ 5 เซ็นตสหรัฐ
3. ความเปนสวนตัว (Privacy)
การคํานึงถึงสิทธิสวนบุคคลเปนปญหาหลักอันหนึง่ ในการนํา RFID มาใช เนื่องจากผูบริโภค
บางกลุมเกรงวา การนําเทคโนโลยีนี้มาใชกับสินคาอุปโภคบริโภคจะทําใหสูญเสียสิทธิสวนบุคคลไป
โดยเฉพาะการที่นําไปใชในรางกายคน จะทําใหสามารถรูขอมูลตางๆ รวมทั้งพฤติกรรมของคนๆ นั้น
ไดอยางละเอียด

RFID – โอกาสของประเทศไทยเพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขันของโลก
ปจจุบัน RFID เริ่มมีบทบาทสําคัญในภาคเศรษฐกิจทุกภาค ทั้งเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และ
พาณิชยกรรม รวมถึงการคาระหวางประเทศ เนื่องจากผูผลิตสินคา ผูขาย ผูใหบริการขนสง และ
หนวยงานรัฐบาลในหลายประเทศไดตระหนักถึงประโยชนของ RFID ในการเพิม่ ประสิทธิภาพและ
ลดตนทุนการผลิตและการขนสง โดยมีการใชงาน RFID หลายรูปแบบหลายจุดประสงค
ในภาคอุตสาหกรรมอาหารและเกษตรกรรมสงออก มีการใชงาน RFID ในระบบบริหาร
จัดการฟารมปศุสัตวและระบบตรวจสอบยอนกลับในสายโซการผลิตอาหาร (food traceability
system) ผูสงออกสินคาเกษตรและอาหารของไทยมีความจําเปนตองพัฒนาระบบนีเ้ พื่อใหเปนไปตาม
มาตรฐานที่ประเทศคูคากําหนดซึ่งประเทศคูคาที่สําคัญของไทยไดออกกฎหมายวาดวยความปลอดภัย

Page 9/18
TIM
อาหารและการตรวจสอบยอนกลับและเริ่มบังคับใชแลวในปนี้ ตัวอยางการนําไปใชเชนใน
อุตสาหกรรมกุงเพื่อการสงออก
ในระบบ Supply Chain และ Logistic Management มีการนํามาใชในภาคอุตสาหกรรม
และพาณิชยกรรม ในระบบบริหารการผลิต ระบบจัดการคลังสินคาและบริหารสินคาคงคลัง ระบบ
บริหารการขนสงและกระจายสินคา (โลจิสติกส) เชนโครงการนํารอง e-port ในทาเรือแหลมฉบัง
ระบบบริหารการคาปลีก ซึ่งปจจุบันบริษทั คาปลีกรายใหญของโลกเชน WAL-MART และ TESCO
ไดเริ่มวางกฎเกณฑใหผูผลิตหรือผูสงสินคาใชฉลาก RFID บันทึกรหัสสินคาอิเล็กทรอนิกส หรือ EPC
(Electronic Product Code) แทนที่รหัสแทง (bar code) ในหนวยการบรรจุขนาดใหญ (หีบและพัล
เลต) แลว ผูสงออกจึง มีความจําเปนตองพัฒนาระบบ EPC เพื่อรักษาขีดความสามารถในการแขงขัน
การสรางอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ RFID ของไทย ดวยสงเสริมการเปนผูผลิตอุปกรณเกีย่ วกับ
Rfid technology ไมวาจะเปน Rfid tags, เครื่องอาน และ Software ที่เกี่ยวของ เพื่อ ลดการพึง่ พา
นําเขาจากตางประเทศและยังสามารถผลิตสงออก รองรับความตองการตลาด RFID ของโลกที่
กําลังขยายตัว อยางรวดเร็ว ซึ่งภาครัฐบาลไดใหการสนับสนุน โดยการจัดตั้ง Thailand RFID cluster
ภายใตความรับผิดชอบของ Nectec ดําเนินโครงการวิจัยและพัฒนาระบบ RFID มาตั้งแตเดือน
ธันวาคม 2544
ในภาคบริการ มีการใชงาน RFID ในหลายดาน เชน ในดานการขนสงสาธารณะ มีการใช
RFID ในระบบชําระคาผานทางหรือคาโดยสารแบบอัตโนมัต;ิ ในดานการศึกษา มีการใชฉลาก RFID
บันทึกเลขประจําหนังสือ ทําใหสามารถตรวจสอบและจัดวางหนังสือบนชั้นไดอยางถูกตอง รวดเร็ว
สามารถใหบริการยืมคืนแบบอัตโนมัติดวยตนเองได ทําใหเปนหองสมุดอิเล็กทรอนิกส; ใน ดาน
การแพทยและสุขภาพ มีการใชในฉลากยาพูดไดเพื่ออํานวยความสะดวกแกคนที่มีสายตา บกพรอง และ
ใชในสายรัดขอมือผูปวยแบบไรสายในโรงพยาบาลเพื่อการระบุตัวผูปว ยและเขาถึง ขอมูลเวชระเบียน
ของผูปวยไดอยางถูกตองแมนยํา; ในดานการทองเที่ยว อาจใชพวงกุญแจหรือ ในดานบริการภาครัฐ มี
การฝงชิป RFID ในหนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกสรุนใหม

การสนับสนุนจากภาครัฐฯกับการพัฒนาเทคโนโลยี RFID ในไทย


ทางภาครัฐบาลไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของ เทคโนโลยี RFID (Radio Frequency
Identification) เปนเทคโนโลยีที่กําลังจะมีบทบาทสําคัญตอเศรษฐกิจและสังคมในหลายดาน จึงได
ริเริ่มโครงการที่จะสงเสริมตอภาคเอกชนในการพัฒนา เทคโนโลยี RFID มาตั้งแตเดือนธันวาคม 2544
โดยจัดตัง้ เปน เครือขายวิสาหกิจ RFID (RFID cluster) เพื่อสรางสรรคนวัตกรรมใหมที่ทาํ ให
ประเทศไทยมีความสามารถทางเทคโนโลยีทดแทนการนําเขาจากตางประเทศไดและสามารถผลิตเพื่อ
การสงออกได

Page 10/18
TIM
• ศูนยอิเลิกทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ(NECTEC)กับ Thailand RFID Cluster
ศูนยอิเลิกทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ(NECTEC) เปนองคกรของรัฐ ภายใตการกํากับ
ดูแลของสํานักพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลย
ปจจุบันใหการสงเสริมเครือขายวิสาหกิจ RFID ( Thailand RFID Cluster )ประกอบดวยผูออกแบบ
chip และผลิต tag, ผูออกแบบและผลิต reader, ผูพัฒนาซอฟตแวรและระบบ อยางครบวงจร
ผูประกอบการสวนใหญเปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมซึ่งมีทนุ จํากัดแตมีศกั ยภาพ ซึ่งหากมี
การวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑอยางเหมาะสมและสรางชองทางการตลาดอยางถูกตอง
โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ก็จะประสบความสําเร็จเปนอุตสาหกรรมที่แข็งแกรงไดในอนาคต
NECTECไดใหการสนับสนุนเงินทุนและวิชาการในการศึกษาวิจัยตลาดเพื่อใหภาคเอกชนกําหนดทิศ
ทางการพัฒนาผลิตภัณฑไดอยางเหมาะสมและเพื่อใหNECTECไดวางแผนการวิจัยเทคโนโลยีที่
สอดคลองกันตอไป เพื่อใหเกิดหุนสวนความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน (public-private
partnership) ที่ประสานพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมใหเจริญกาวหนาตอไป

รูปที่ 4 Thailand RFID Cluster

การสงเสริมเทคโนโลยี RFID ไดแบงออกเปน 4 สวนดังนี้


1.การสงเสริมดานไมโครชิปและแท็ก (Chip and tag)
NECTEC ไดใหการสนับสนุน บริษัท ซิลิคอนคราฟทเทคโนโลยี จํากัด ดานเงินทุน วิชาการ
และโครงสรางพื้นฐาน ผานศูนยพัฒนาธุรกิจออกแบบวงจรรวม NECTEC สวทช. ในการวิจัย พัฒนา
และออกแบบวงจรรวม RFID tag หลายรุน ดังนี้

Page 11/18
TIM
1.1 วงจรรวม RFID tag ยานความถี่ต่ํา (127 kHz) สําหรับการประยุกตดานการระบุสัตวเลี้ยง
(animal identification) การควบคุมการเขาออกสถานที่ (access control) และอื่นๆ
1.2 วงจรรวม RFID tag ยานความถี่สูง (13.56 MHz) สําหรับการประยุกตดานการควบคุม
การเขาออกสถานที่ (access control) การระบุตัวบุคคล (personal identification) และอื่นๆ
1.3 วงจรรวม RFID tag สองยานความถี่ (dual-band RFID tag) สําหรับการประยุกตแบบ
เอนกประสงค
โดยไดรับความรวมมือจากศูนยพัฒนาธุรกิจออกแบบวงจรรวม (TIDI) TIDI ไดสง นักวิจัยที่
มีประสบการณจากการออกแบบชิป RFID ตนแบบ ไปใหคําปรึกษาดานการออกแบบวงจรรวมสวนดิ
จิทัลและการออกแบบเครื่องอานเพื่อทํางานรวมกับแท็ก เปนการชวยเหลือใหบริษัทเทคโนโลยีที่เกิด
ใหมไดมีโอกาสกาวหนาอยางมั่นคง
นอกจากนี้ยังมีความรวมมือระหวางนักวิจยั ของศูนยพัฒนาธุรกิจออกแบบวงจรรวม (TIDI)
และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ไดทาํ การออกแบบชิปวงจรรวม CMOS สําหรับปายไรสายหรือ
แท็ก (RFID tag) ซึ่งสามารถพัฒนาตอยอดเปนบัตรสมารตชนิดไมมีหนาสัมผัส (contactless smart
card) ได พรอมกันนั้นไดพฒ ั นาตนแบบเครื่องอาน RFID สําหรับอานขอมูลจากปายโดยการสื่อสาร
ผานคลื่นวิทยุความถี่ 13.56 MHz (ยานความถี่สูง) ในระยะใกล เพื่อใชงานรวมกับตนแบบชิป RFID
tag ที่ออกแบบไว ซึ่งผลการทดสอบในหองปฏิบัติการและในภาคสนามประสบความสําเร็จอยางดียิ่ง
จึงเปนผลงานวิจัยดาน RFID ที่สามารถถายทอดเทคโนโลยีสูภาคอุตสาหกรรมไดเปนชิ้นแรก
2.การสงเสริมเทคโนโลยี RFID ดานเครื่องอานหรือเครื่องปลายทาง (Reader or Terminal)
NECTECยังใหการสนับสนุนบริษัทผูผลิตเครื่องอาน ผูพัฒนาซอฟตแวร และผูพัฒนา
ระบบดวย นักวิจยั ของ TIDI ไดพัฒนาเครื่องอาน RFID รุนใหมสําหรับการใชงานดานตางอีกหลาย
รุน เชนเครือ่ งอานความถี่ต่ําสําหรับอานบัตรประจําตัวบุคคลเพื่อควบคุมการเขาออกสถานที่ ซึ่งได
ถายทอดเทคโนโลยีใหบริษทั ไอ อี เทคโนโลยี จํากัด นําไปผลิตและจําหนาย โดยไดทดลองใชในงาน
นิทรรศการวิทยาศาสตรฯ ทีศ่ ูนยแสดงสินคาอิมแพ็ค เมืองทองธานี เมื่อเดือนตุลาคม 2547
โครงการรวมกับบริษัท ฟอรเวิรดซิสเต็ม จํากัด ผูพัฒนาระบบควบคุมที่จอดรถ ทําการทดสอบ
ระบบควบคุมรถยนตเขาออกอุทยานวิทยาศาสตรฯ ในการใชเครื่องอาน RFID ที่ออกแบบโดย
NECTEC ทดแทนเครื่องอานที่นําเขาจากตางประเทศซึ่งมีราคาแพงกวา ซึ่งขณะนี้กําลังดําเนินการ
ทดสอบภาคสนามดวยการติดตั้งและใชงานจริงแลว
นอกจากการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนภาคธุรกิจแลว NECTECยังไดใหการสนับสนุนภาค
สังคมดวย โดย TIDI และ ASTEC (ศูนยวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคน
พิการ) ไดรวมมือกับสมาคมคนตาบอดแหงประเทศไทยพัฒนาระบบฉลากยาอิเล็กทรอนิกสหรือ
“ฉลากยาพูดได” (talking drug label) ซึ่งประกอบดวยฉลากไรสาย (RFID label) และเครื่องอานที่

Page 12/18
TIM
บันทึกและเลนเสียงพูดได ซึ่งตองอาศัยการปรับเทคโนโลยีใหเหมาะสมกับความตองการของผูใช
เฉพาะกลุม
3.การสงเสริมเทคโนโลยี ดานซอฟตแวรหรือโปรแกรมประยุกต (Application software)
ดานการพัฒนาซอฟตแวร TIDI ไดพัฒนาโปรแกรมประยุกตระบบลงทะเบียนบุคคลดวย
RFID ที่ใชงานรวมกับระบบ RFID ที่พัฒนาขึ้น ซึ่งไดทดลองใชในการประชุมสัมมนาเรื่องระบบ
สมองกลฝงตัว T-Engine เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2547 ที่ศูนยประชุมสถาบันวิจยั จุฬาภรณ
4. การสงเสริมเทคโนโลยี RFID ดานการรวมระบบ (Systems and solutions)
ดานการสงเสริมความรวมมือกับภาคเอกชน นอกจากความรวมมือในการวิจยั และการถายทอด
เทคโนโลยีดังกลาวขางตน ทางศูนยไดเปนแกนนําในการรวมกลุมสรางเครือขายเปนเครือขายวิสาหกิจ
ในนาม Thailand RFID Cluster จัดประชุมระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และเปนสื่อ
เชื่อมตอหนวยงานภาครัฐและภาคการศึกษา ตลอดจนสงเสริมการนําเทคโนโลยี RFID มาประยุกตใช
กับบริการสาธารณะในรูปแบบโครงการนํารอง โดยใหบทบาทภาคเอกชนไดมีสวนรวม เชน
โครงการนํารองยกระดับทาเรือแหลมฉบัง ใหเปนทาขนสงอิเล็กทรอนิกส (e-port) ซึ่งเปน
โครงการภายใตความรวมมือระหวางกรมศุลกากร การทาเรือฯ และสวทช. โดยมีภาคเอกชนเขารวม
ไดแก บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จํากัด, บริษัท เน็ตเบย จํากัด, และ บริษัท ไอเดนทิไฟ จํากัด
โครงการนี้มีการประยุกตเทคโนโลยี RFID ในสวนของระบบ e-toll (ระบบเก็บเงินคายานพาหนะผาน
ทา) และระบบ e-seal (ระบบติดตามและตรวจสอบตูสินคาดวยผนึกอิเล็กทรอนิกส) NECTECมี
บทบาทในการใหคําปรึกษา ศึกษา ออกแบบ และจัดหาระบบ RFID ที่เหมาะสม และไดรวมกับบริษัท
ไอเดนทิไฟ ในการพัฒนาระบบ ขณะนี้โครงการกําลังดําเนินอยูและจะสิ้นสุดภายในเดือนธันวาคม
2548
โครงการวิจัยและพัฒนาตนแบบระบบการลงทะเบียนสัตวและการจัดการฟารมดวยเทคโนโลยี
RFID ที่ฟารมทดลองของคณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อันเปนความรวมมือ
ระหวาง NECTEC กับ บริษัท ไอ อี เทคโนโลยี จํากัด และ บริษัท ซิลิคอนคราฟท เทคโนโลยี จํากัด
ขณะนี้โครงการกําลังดําเนินอยูและจะสิ้นสุดภายในป 2549
โครงการนํารองระบบตรวจสอบยอนกลับ ผลิตภัณฑอาหารสําหรับอุตสาหกรรมกุง (Food
traceability for shrimp industry) ซึ่งจะเริ่มดําเนินการภายในปลายปนี้

• สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หรือ GS1 Thailand


เปนสมาชิกของ GS1 ประเทศเบลเยีย่ ม ซึ่งเปนองคกรระดับชาติทมี่ ีพันธกิจรวมกับองคกร
Uniform Code Council (UCC), USA โดยมีบทบาทและเปนผูนําในการผลักดันใหระบบมาตรฐาน
EAN.UCC เปนมาตรฐานสากล ตลอดจนเปนผูนําในการรวมวางมาตรฐานของการเก็บขอมูล

Page 13/18
TIM
อัตโนมัติ และการสื่อสารอิเล็กทรอนิกสในอุตสาหกรรมตางๆ (multi-industry-standards) ซึ่ง GS1
THAILAND ก็ไดเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการกําหนดมาตรฐาน ระบบ EPC/RFID ตาม
มาตรฐาน EPCglobal เชนกัน
บทบาทและหนาที่ของสถาบัน
1. เปนนายทะเบียนการกําหนดเลขรหัสประจําตัวสินคา ควบคุมดูแลการใช Bar code ในระบบ
EAN.UCC (GS1 System)
2. สงเสริมการนํา Bar code ระบบมาตรฐานและ E-Commerce ไปใชในการปรับปรุงการดําเนินของ
ภาครัฐและเอกชน
3. เปนนายทะเบียนดูแลระบบ EPC/RFID ตามมาตรฐาน EPCglobal
4. สงเสริมการจัดการ Logistic และ Supply Chain ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม
5. เปนเลขานุการใหแก ECR Thailand
6. ปจจุบันมีจาํ นวนสมาชิก 8,000 ราย (รวมผูคาและผูผลิต)

Electronic Product Code (EPC)


เปนเลขรหัสสินคาอิเล็กทรอนิกสโครงสรางใหมในการกําหนดเลขรหัสใหกับสินคาซึง่ ถูก
พัฒนาขึ้นโดย Auto-ID Center โดยมีองคกร GS1 เปนผูสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ซึ่งทําใหการ
กําหนดเลขรหัสใชเพื่อบงชี้สินคาแตละหนวยยอยทีแ่ ตกตางกัน ไมใหซ้ํากัน ซึ่งมีประสิทธิภาพดีกวา
ระบบ Bar Code
เลขรหัสสินคาอิเล็กทรอนิกส (EPC) เปนโครงสรางเลขรหัสอยูใน Microchip หรือ Tag ที่
จะใชกับระบบ RFID ซึ่งจะทําหนาที่แทน Bar Code ที่ติดอยูบนตัวสินคา ซึ่งตองใชรวมกับอุปกรณ
Reader ในการอานจะทําใหสามารถทราบการเคลื่อนที่ และกําหนดตําแหนงของสินคาไดอยางถูกตอง
แมนยํา รวมถึงการบงชี้ขอมูลของสินคาในระบบ เพื่อนํามาบันทึกขอมูลประมวลผล ในดานตางๆได
อยางถูกตอง และรวดเร็ว โดยใชประโยชนจากการอานขอมูลไดครั้งละมากๆ ดวยคลื่นความถี่วทิ ยุใช
รวมกับระบบ RFID
โดยมีศูนยกลางในการเก็บรวบรวมขอมูล Auto-ID center ของ EPC ในแตละประเทศดัง
รายละเอียดตามรูปดานลาง

Page 14/18
TIM

รูปที่ 5 แสดงลักษณะของเลขรหัสสินคา
• ประกาศใชยานความถี่คลื่น RFID ในไทย (ราชกิจจานุเบกษา)
ในวันที่ 24 มกราคม 2547 ไทยไดมกี ารประกาศจากคณะกรรมการกิจการ
โทรคมนาคมแหงชาติ เรื่อง การใชเครื่องวิทยุคมนาคมประเภท RFID (ราชกิจจานุเบกษา) มีใจความ
สําคัญคือ คลื่นความถี่ สําหรับ RFID ใหสามารถใช ยานความถี่ 920 – 925 เมกะเฮิรต มีกําลังสง

Page 15/18
TIM
ออกอากาศสมมูลแบบไอโซทรอปก (Equivalent Isotropically Radiated Power: e.i.r.p.) ไมเกิน
4 วัตต และอุปกรณตาง ๆจะตองการทดสอบรับรองตัวอยางเครื่องวิทยุคมนาคมจากสํานักงาน
คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ และสิทธิการคุมครองนั้น การใชเครื่องวิทยุคมนาคม
RFID เปนกิจการรอง (Secondary Service) จะไมไดรับสิทธิคุมครองการรบกวนจากผูอื่น หากคลื่น
เกิดการรบกวนระดับรุนแรงตอการใชคลื่นความถี่ของขายสื่อสารวิทยุคมนาคมอื่นๆ จะตองถูกระงับ
การใชคลื่นความถี่ RFID ทันที

Page 16/18
TIM

Conclusion
ดวยกระแสความเคลื่อนไหวของทั่วโลกที่มีตอการ พัฒนาเทคโนโลยี RFID ประกอบกับ
คุณสมบัติของการนําไปประยุกตใชเปน Application ตางๆ ที่เอื้ออํานวยใหเกิดความสะดวกสบาย
ประหยัดทั้งตนทุนคาใชจายและเวลา ทําใหเทคโนโลยี RFID เปนเทคโนโลยีแหงอนาคตที่กําลังกาว
เขามามีบทบาทสําคัญมากขึ้นทุกขณะ การเตรียมพรอมเพื่อรองรับการใชงานเทคโนโลยีดงั กลาวให
เหมาะสมกับสภาพ ทางเศรษฐกิจ สังคมของประเทศ ยอมทําใหการพัฒนาเทคโนโลยี RFID ตองไดรบั
การแกไขปญหาหรืออุปสรรคที่ เกิดขึ้น เพื่อใหสามารถใชประโยชนสูงสุดจากเทคโนโลยีนั้นได ภาครัฐ
ภาคการศึกษาตองใหการสนับสนุนผลักดันใหเกิดการใชงานดาน RFID Application โดยภูมปิ ญญา
ของคนไทยเอง อาจใช Requirement จากภาครัฐ เพื่อใหไดงานในระดับ Large Scale เปนการพัฒนา
นวัตกรรมอยางตอเนื่องในประเทศ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการวาจางบุคลากรที่มีความรู ความสามารถใน
เรื่อง Hi-Technology อยางตอเนื่อง และยังเปนการสะสม Brand Recognition ดวย ซึ่งเปนสิ่งสําคัญ
ของการกาวไปสูเวทีระดับโลกตอไป สวนภาคเอกชน คือ กลไกสําคัญในการผลักดันใหเกิดการพัฒนา
อยางมีศักยภาพ หากแต ตองอาศัยความรวมมือในการพัฒนาอยางจริงจังและตอเนือ่ ง จึงจะทําใหการใช
เทคโนโลยี RFID ในประเทศกาวทัน ตอกระแสความตองการใชที่เกิดขึ้นอยางกาวกระโดดตอไป

Page 17/18
TIM
Bibliography

1. สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมประเทศไทย
2. หนังสือเทคโนโลยี RFID นวัตกรรมแหงการเพิ่มผลผลิต, บริษัท ออมรอน อิเลคทรอนิคส จํากัด
ประเทศไทย (OMRON)
4. ประกาศ “เรื่อง การใชเครื่องวิทยุคมนาคมประเภท RFID” จาก คณะกรรมการกิจการ
โทรคมนาคม แหงชาติ (ราชกิจจานุเบกษา)
5. “RFID Overview”, Greg Leeming, Intel Corporation, 2004
6. Global Shipments of RFID Hardware Segment by Primary Application,
Venture Development Corp. (VDC) http://www.vdc-corp.com/autoid/press/03/pr03-
09.html
7. ผูจัดการรายวันฉบับวันที่ 23 กุมภาพันธ 2549 หนา 7 คอลัมน Cyber Biz
8. Operation principles of RFID systems, ออนไลน
http://www.rfid-handbook.de/rfid/types_of_rfid.html, [2006, February 20]
9. Klaus Finkenzeller, “RFID Handbook: Fundamentals and Applications in Contactless
Smart Cards and Indentification”, John Willey & Sons, 2003.
10. Microchip. 1992. “microID 125 kHz RFID System Design Guide”,[Online].
Available: http://ww1.microchip.com/down-loads/en/DeviceDoc/51115e.pdf
11. สํานักพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, เอกสารประกอบงานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี
แหงชาติ 2547 [Online], Available: http://www.nstda.or.th/sciencetech/documents/salekit-
th.pdf
12. Microchip.1998. ”microID 125 kHz RFID System Design Guide”, [Online].
Available: http://ww1.microchip.com/downloads/en/DeviceDoc/51115e.pdf

Page 18/18

You might also like