You are on page 1of 9

โรคบิดมูกเลือดในสุกร

Swine Dysentery
สาเหตุการเกิดโรค
 เกิดจากเชื้ อTreponema hyodysentery
 เป็ นแบคทีเรียรูปร่างเกลียวสว่าน
 สลายเม็ดเลือดแดงแบบ เบต้า บนอาหารเลี้ยงเชื้ อ
 ทนต่อสภาพแวดล้อมที่ 25 องศาเซลเซียส อย่ใู น
อุจจาระนาน 7 วัน
 ที่ 37 องศาเซลเซียส จะมีชีวิตอยู่ได้ไม่เกิน 24 ชัว
่ โมง
การติดต่อ
 สุกรกินอาหารและน้้าที่มเี ชื้ อชนิ ดนี้ ปะปน
เข้าไป
 ระยะฟั กตัวของโรคประมาณ 10-16 วัน
 การระบาดของโรคจะเป็ นไปอย่างช้าๆ
 ใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์ ในการท้าให้โรค
แพร่ระบาดไปติดสุกรในคอกอื่นๆในฟาร์ม
เดียวกัน
อาการ
 พบส่วนใหญ่ในสุกรช่วงอายุ 7-16 สัปดาห์
 (พบน้อยในลูกสุกรดูดนม )
 อัตราการป่ วยอาจสูงถึง 90-100%
 อัตราการตายไม่เกิน 30%แต่ถ้าไม่ท้าการ
รักษาอาจพบอัตราการตายถึง 50%
 ระยะแรกจะพบสุกรป่ วยเป็ นบางตัวและรุก
ลามไปอย่างช้าๆ (ประมาณ 7-14 วัน)
อาการ
 มีไข้ปานกลาง 104-105 องศาฟาเรนไฮด์
 ซึมเล็กน้อยและเบื่ออาหาร
 บางตัวแสดงอาการหลังโก่ง เตะท้องตัวเอง แสดงถึง
อาการเสียดท้อง
 อาการเด่นชัดคือ อาการท้องร่วงโดยจะเห็นอุจจาระ
เปรอะก้นอยู่ตลอดเวลา ลักษณะเหลว กลิ่นเหม็นคาว
จัด มีมูกปะปนออกมา
 อุจจาระในช่วงแรกจะมีสเี หลือง ต่อมาจะเปลี่ยนเป็ นสี
เทาหรือสีเทาแกมแดง ในรายเรื้ อรังอุจจาระจะเป็ นสีด้า
อาการ
 หลังแสดงอาการป่ วยไม่นานบริเวณสวาปจะ
แฟบเห็นชัด เนื่ องจากไม่มีอุจจาระเหลือค้าง
ในล้าไส้ใหญ่ร่วมกับภาวะขาดน้้าอย่างรุนแรง
 ผิวหนั งและเยื่อเมือกทัว
่ ร่างกายจะซีด
เนื่ องจากร่างกายเสียเลือด
การวินิจฉัย
 จากประวัติท่ีเคยมีการระบาดของโรคในฟาร์มมา
ก่อน หรือมีการน้าสุกรจากแหล่งอื่นเข้ามารวม
ในฝูง ก่อนหน้าการเกิดโรคในฝูง
 ลักษณะทางคลินิก
 ผลการตรวจซาก ที่พบรอยโรคเฉพาะในส่วน
ของล้าไส้ใหญ่ ในขณะที่อวัยวะส่วนอื่นๆของ
ร่างกายเป็ นปกติ เป็ นลักษณะที่ค่อนข้างจ้าเพาะ
 ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
 แยกสุกรป่ วยรักษาต่างหาก
 ฉีดยาต้านจุลชีพที่ไวต่อเชื้ อนี้ เพื่อรักษารายตัว
 ยาผสมอาหาร หรือละลายน้้าในฝูงสุกรป่ วย
 สุกรฝูงอื่นที่ยังไม่เป็ นโรคควรได้รบ
ั ยาใน
ขนาดป้ องกันติดต่อกันประมาณ 2-3 สัปดาห์
 ยาที่ใช้เช่น Tiamulin, Dimetridazole,
Lincomycin,Tylosin, Ronidazole เป็ นต้น
การควบคุมและป้ องกัน
 จัดการด้านสุขาภิบาลภายในฟาร์มให้มป
ี ระสิทธิภาพ
 สุกรที่ซื้อมาจากแหล่งอื่นต้องมีการกักสัตว์ จนกว่าจะแน่ใจว่า
ปลอดจากโรคนี้
 ท้าความสะอาดพื้ นคอกและล้างด้วยน้้ายาฆ่าเชื้ อ
 ทางระบายน้้าและสิ่งโสโครก จะต้องมีการระบายที่ดี
 ก้าจัดพาหะน้าโรค เช่น หนู แมลงวัน
 ให้ยาในขนาดป้ องกัน

You might also like