You are on page 1of 24

พบข้อคิดและเรื่องราวดีๆ ที่ http://smilebug4u.bloggang.

com/
Born to be สัตวแพทย์
กุมภาพันธ์ 2553
ISBN 978-616-90160-1-4
จำนวนหน้า 272 หน้า
ราคา 169 บาท

เขียนโดย : น.สพ.กิติกร เกียรติยิ่งอังศุลี


บรรณาธิการที่ปรึกษา : ภีรพล คชาเจริญ
บรรณาธิการ : สุรัสวดี วงศ์จันทร์สุข
ออกแบบ/รูปเล่ม : วรวิทย์ แซ่อึ้ง
การตลาดการขาย : นพไพสิทธ์ พรรณโภชน์
ภาพประกอบ : JJoy

สนพ. บายยัวร์เซลฟ์ (ByYourself)


ห้างหุ้นส่วนจำกัด บายเนเจอร์ พับลิชชิ่ง
119/272 หมู่ 8 ซ.รัตนาธิเบศร์ 18 ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมือง
จ.นนทบุร ี 11000 โทร. 02 525 5033, 39 แฟกซ์ 02 580 4654

พิมพ์ที่ : บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำกัด


จัดจำหน่าย : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) SE-EDUCATION
PUBLIC COMPANY LIMITED อาคารเนชั่นทาวเวอร์ ชั้น 19
เลขที่ 1858/87-90 ถ.บางนา-ตราด บางนา กรุงเทพฯ 10260
โทร. 0-2739-8222, 0-2739-8000 Fax. 0-2739-8356-9
http://www.se-ed.com

สงวนลิขสิทธิ์ เนื้อหา และภาพประกอบในเล่ม ห้ามลอกเลียน


ไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้
นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
จากสำนักพิมพ์ บายยัวร์เซลฟ์ พับลิชชิ่ง
คำนำสำนักพิมพ์

ปัจจุบนั อาชีพสัตวแพทย์คอ่ นข้างจะบูม สังเกตได้จากปริมาณคลินกิ รักษาสัตว์


ที่เปิดกันมากมายตามเมืองใหญ่ ซึ่งมันก็เป็นไปตามความนิยมเลี้ยงสัตว์เลี้ยงพันธุ์
ต่างประเทศ ไม่ว่าจะเป็น หมา แมว กระต่าย หนู รวมไปถึงสัตว์เลี้ยงแปลกๆ เช่น
เม่น กิ้งก่า งู แน่นอนคนที่จะเลี้ยงสัตว์พวกนี้ ก็จะยอมจ่ายค่ารักษาสัตว์ราคาแพง
ของเค้าด้วยเช่นกัน แต่ ในอีกทางหนึ่ง มหาวิทยาลัยทั่วประเทศ ก็เริ่มเปิดคณะ
สัตวแพทย์ศาสตร์กันมากขึ้น โดยมุ่งหวังที่จะผลิตสัตวแพทย์เพื่อดูแลรักษาสัตว์
เกษตรกรรมในพื้นที่ นั่นทำให้นักเรียนที่จะเอนท์คณะนี้มีตัวเลือกมากขึ้นด้วย
เนือ่ งจากมันเป็นการศึกษาเฉพาะทางทีห่ นักและเหนือ่ ยมาก มหาวิทยาลัยต่างๆ
จึงจัดกิจกรรม Open House** ให้นักเรียนที่สนใจจะเป็นสัตวแพทย์ ในอนาคตได้
เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสัมผัสส่วนหนึ่งของการเรียนเพื่อเป็นสัตวแพทย์ จะได้เตรียม
ความพร้อมสำหรับตัวเอง ประเมินตัวเอง ว่าแค่นี้ ไหวไหม ถ้าต้องเจอหนักกว่านี้จะ
ไหวหรือเปล่า ซึ่งก็นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมาก จะได้ไม่เสียเวลาเสียโอกาสทั้งสองฝ่าย
แต่ว่าแค่ Open House สามวันห้าวันนั้นไม่สามารถถ่ายทอดได้ครอบคลุม
ถึงชีวิตนักศึกษาได้ครบถ้วน หนังสือเล่มนี้จึงเป็นส่วนที่เติมเต็มถึงความหนักหน่วง
ของเนื้อหาวิชาเรียน กิจกรรมอีกหลากหลายที่ว่าที่สัตวแพทย์ ในอนาคตจะต้องพบ
เจอ ตลอดจนประสบการณ์การทำงานในฐานะสัตวแพทย์ ตลาดแรงงานที่รองรับ
เพื่อให้น้องๆ ที่กำลังจะเอนท์ ได้สามารถมองเห็นภาพรวมของอาชีพที่ตัวเองกำลัง
จะเลือกทำต่อไปเมื่อเรียนจบ
หนังสือชุด Born to be มุง่ หวังทีจ่ ะให้ความรูแ้ ก่นอ้ งๆ ในการทีจ่ ะเลือกอาชีพ
ที่ตัวเองจะทำในอนาคตได้อย่างมั่นใจค่ะ

สุรัสวดี วงศ์จันทร์สุข

**กิจกรรม Open House ของมหาวิทยาลัยต่างๆ สามารถติดตามข่าวสารได้ที่เว็บไซต์ของคณะ


สัตวแพทย์ศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนั้นๆ และเว็บไซต์ http://www.bynatureonline.com/forum
อยากบอก

“สัตวแพทย์” คงจะเป็นอาชีพในฝันของเด็กหลายๆ คน นั่นอาจจะเป็น


เพราะว่า ได้เคยเลีย้ งหมา, แมว หรือสัตว์เลีย้ งอืน่ ๆ ไว้เป็นเพือ่ นเล่น เป็นส่วน
หนึ่งของครอบครัว มีหลายครอบครัวเลือกที่จะเลี้ยงสัตว์เพื่อให้เป็นเพื่อนเล่น
กับลูกหลาน และสอนให้เด็กๆ ได้รจู้ กั ความรับผิดชอบ ด้วยการดูแลสัตว์เลีย้ ง
เหล่านั้น

ความรักความสัมพันธ์ระหว่างคน และสัตว์เลี้ยงเป็นเรื่องที่สวยงาม
แต่ ในความสวยงามนั้นก็แฝงไปด้วยภาระและความรับผิดชอบ เช่น การดูแล
เรื่องอาหาร ความสะอาด การขับถ่าย และที่สำคัญที่สุดเมื่อถึงคราวเจ็บไข้ได้
ป่วยนั้น ก็ต้องพามันไปรักษา

สำหรับเด็กตัวเล็กๆ แล้ว การที่เพื่อนตัวน้อยของพวกเค้าเจ็บไข้ได้ป่วย


โดยทีบ่ อกเล่าอาการไม่ได้นนั้ ไม่รวู้ า่ จะช่วยเหลืออย่างไรดี การทีจ่ ะมี ใครสักคน
ทีส่ ามารถช่วยให้เพือ่ นของเค้าหายดีได้กค็ งไม่ตา่ งจากฮี โร่เลยทีเดียว แล้วคนๆ
นั้นจะเป็นใครไปไม่ได้นอกจาก “สัตวแพทย์” ก็เลยกลายเป็นความใฝ่ฝันว่า
สักวันหนึ่ง จะต้องเป็นสัตวแพทย์ ให้เหมือนกับฮี โร่ที่เคยพบเห็นในวัยเด็ก
จนเมื่อถึงวันที่สอบเข้าไปเรียนในคณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้แล้วนั้น
นัน่ เป็นเพียงจุดเริม่ ต้น เป็นเพียงด่านแรกเท่านัน้ เส้นทางการฝึกฝนเพือ่ เป็นฮี โร่
ยังมีการเรียน การสอบ การฝึกงาน การขึน้ โรงพยาบาล ฯลฯ บอกไค้แต่เพียงว่า
กว่าจะเรียนจบ มันไม่ ใช่เรื่องง่ายๆ เลย
แต่ละปี จะมีเด็กในคณะสัตวแพทย์จำนวนไม่น้อยที่เมื่อเข้ามาเรียนแล้ว
มารู้ทีหลังว่า ตัวเองไม่ชอบหรือไม่ถนัดกับการเรียนสายนี้ ทำให้ต้องเสียเวลา
ออกไปสอบคัดเลือกใหม่ เสียเวลาไปฟรีๆ อีกหนึ่งปีเต็ม

ฉะนัน้ เพือ่ ให้นอ้ งๆ สามารถตัดสินใจได้วา่ คณะนีเ้ หมาะกับตัวเองหรือไม่


หรือเมือ่ ตัดสินใจเรียนไปแล้ว จะเอาตัวรอดเรียนจนจบได้อย่างไร หนังสือเล่มนี้
จึงเปรียบเสมือนพีร่ หัสทีจ่ ะคอยแนะแนวการเรียนการสอนในแต่ละชัน้ ปี ว่าจะ
ต้องเรียนอะไรบ้าง สอบอะไรบ้าง ตลอดจนเคล็ดลับต่างๆ ในการพิชติ ข้อสอบ
หรือการเลือกลงทะเบียนเรียนเพื่อดึงเกรดให้สูง

ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยมันพึ่งจะเริ่มต้นตะหากล่ะ หนทางยังอีกยาวไกล
...สู้ต่อไปว่าที่ฮี โร่ทั้งหลาย 

น.สพ.กิติกร เกียรติยิ่งอังศุลี
สารบัญ
สัตวแพทย อาชีพในฝัน ของคนรักสัตว ........16
หมออ๊อบ กับการเป็นสัตวแพทย์คลินิกสัตว์เล็ก ........17
หมอกต สพ.ญ.ธวัลรัตน์ เกียรติยิ่งอังศุล
กับการถวายงานผ่าน สุนัขทรงเลี้ยง ........26
สัตวแพทย์ผลิตมาจากไหน ........32
เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ ........35

เรียนยังไง? ไดŒเปšนสัตวแพทย ........36


ปี 1 เรียนง่าย แต่ระวังไม่รอด ........37
เรื่องของเฟรชชี่ ........53
เด็กหอ ........55
ประชุมเชียร์ รับน้อง และรับรุ่น ........59
การสอบครั้งแรกของเฟรชชี่ ........62
เคล็ดวิชากู้เกรดเฉลี่ยเมื่อติด F ........65
Summer ปีแรกทำอะไรดี ........67
ป‚ 2 เรียนหนักจนหัวบาน ........71
Summer ปี 2 โดนบังคับฝึกงาน ........93
ปี 3 เรียนโหดควบภารกิจรับน้อง ........98
ซีเนียร์กับการทำเชียร์ ........119
Summer สุดท้ายของแสงสี ........121
ปี 4 เรียนกับสัตว์ ตัวเป็นๆ สักที ........127
ป‚ 5 เรียนโหดทิ้งทวน ........169
SUMMER ป‚ 5 วุ่นวายสารพัด ........201
ป‚ 6 ช่วงฝึกงานเต็มรูปแบบ ........203
การฝึกงานด้านสัตว์เล็กและสาธารณสุข ........205
การฝึกงานกับสัตว์ ใหญ่และสัตว์เศรษฐกิจ ........221
การสอบ Oral และสอบใหญ่ ........228
Special Clinical Practice ........229

ติดยศ น.สพ (สพ.ญ) พรŒอมออกปฏิบัติการ ........230


จบแล้ว ได้เวลาหางาน ........231
การขึ้นทะเบียนเป็นสัตวแพทย์เต็มตัว ........233
ข้อคิดเวลาหางาน ........235
สัตวแพทย์ เงินเดือนเท่าไหร่ ........236
หน‹วยงานที่เกี่ยวข้องกับแวดวงสัตวแพทย์ ........239
สัตวแพทย์อัพเกรด ........240
หมอออบ แห†ง หŒองแมว
พันทิปดอทคอม
ผมเป็นเด็กทีโ่ ชคดีมากๆ คนนึงทีไ่ ด้เกิดมาในครอบครัวทีม่ คี วามรักความ
อบอุ่นอย่างเต็มเปี่ยม และยังแบ่งปันความรักนั้นไปสู่สัตว์โลกด้วย ครอบครัว
ของผมจัดได้ว่าเป็นครอบครัวที่รักสัตว์มากครอบครัวหนึ่ง ตั้งแต่จำความได้
ทีบ่ า้ นได้เต็มไปด้วยสัตว์เลีย้ งมากมาย หมา แมว เป็ด ไก่ ห่าน กระต่าย กระรอก
หนู นกแก้ว นกหงษ์หยก ปลาอีกหลากหลายชนิด (ขนาดจิง้ จกคุณพ่อยังคอยโปรย
ข้าวให้กนิ เลย พอถึงเวลาให้อาหารหมา จิง้ จกจะไต่มารอทีเ่ สาบ้านกันมากมาย
หลายตัว เพื่อรอกินข้าว) ดังนั้นนิสัยการรักสัตว์นั้นผมได้รับการปลูกฝังจาก
ครอบครัวมาตั้งแต่เด็กๆ แม้ว่าในวัยเด็กการแสดงความรักสัตว์ของผมจะออก
มาในแนวเล่นซนและรังแกสัตว์ซะเป็นส่วนใหญ่

เมื่อเริ่มขึ้นเรียนในชั้นมัธยม ผมเลือกเรียนสาย วิทย์-คณิต ห้องช่าง


อุตสาหกรรม เรียกว่าเลือกเรียนตามกลุม่ เพือ่ นๆ นัน่ ล่ะ การเรียนห้องช่าง การ
ได้ใส่เสื้อช็อปเป็นอะไรที่ดูเท่ห์สำหรับผมมาก ในตอนนั้นก็ใช้ชีวิตเฮฮาตาม
เพือ่ นฝูงไปตามประสาวัยรุน่ ไม่ได้คดิ ถึงอนาคตตัวเองซะเท่าไหร่ จนเมือ่ ถึงเวลา
ทีจ่ ะต้องตัดสินใจเลือกคณะทีจ่ ะสอบเอ็นทรานซ์ ผมไม่มคี วามคิดทีจ่ ะเลือกพวก
คณะวิศวะหรือสถาปัตย์เลย ด้วยความที่เป็นคนที่ชอบในวิชาชีวะวิทยาเป็น
อย่างมาก ความรักสัตว์ที่มี และคำแนะนำจากคุณพ่อ คณะสัตวแพทยศาสตร์
คือเป้าหมายอันดับหนึ่งที่ผมหวัง และผมก็สมหวังซะด้วย
หลังสือเล่มนีเ้ ป็นการเล่าเรือ่ งชีวติ การเรียนในคณะสัตวแพทย์ เป็นเหมือน
คู่มือแนะแนวให้กับน้องๆ ได้รู้ก่อน ว่าเมื่อเข้าไปเรียนในคณะสัตวแพทย์แล้ว
นั้นจะต้องเรียน จะต้องพบเจอกับอะไรบ้าง อย่างน้อยอาจจะเป็นแนวทางให้
ใครสักคนได้รู้ว่าการเข้าไปเรียนในคณะสัตวแพทย์นั้นใช่สิ่งที่ตัวเองต้องการ
ใช่สิ่งที่ตัวเองชอบจริงหรือเปล่า จะได้ไม่ต้องเสียเวลากลับไปเริ่มต้นเรียนที่
คณะอื่นอีกครั้ง

สำหรับตัวผมเองนั้น คณะสัตวแพทยศาสตร์ ไม่ได้ให้แค่วิชาความรู้ไป


ประกอบอาชีพเท่านั้น แต่ยังอบรมสั่งสอนหล่อหลอมให้ผมเป็นสัตวแพทย์
อย่างทุกวันนี้ ให้ผมได้ทำตามฝันของตัวเอง เรียกว่าได้ให้ชีวิตใหม่กับผมเลย
ทีเดียว และที่สำคัญยังได้ให้คู่ชีวิต (ภรรยาคนสวย) กับผมอีกตะหาก 

ทุกๆ การเดินทางย่อมต้องมีกา้ วแรก และก้าวต่อๆ ไปเสมอ หวังว่าหนังสือ


เล่มนี้จะเป็นเหมือนแผนที่นำทางให้กับน้องๆ ที่สนใจจะเรียนในคณะสัตว
แพทยศาสตร์ ได้รเู้ ส้นทางเบือ้ งต้น เพือ่ ทีจ่ ะได้ไม่ตอ้ งหลงทาง เพิม่ ความมัน่ ใจ
ให้กบั เส้นทางทีเ่ ลือก ทีจ่ ะก้าวเดินต่อไป ส่วนสำหรับผูอ้ า่ นทัว่ ไปหวังว่าหนังสือ
เล่มนี้จะช่วยให้รู้และเข้าใจในวิชาชีพสัตวแพทย์มากขึ้นนะครับ
หมอออบ กับการเปšน

Born to be สัตวแพทย์
สัตวแพทยคลีนิกสัตวเล็ก
สั ต วแพทย์ในมุมมองของหมอ อย่ า งที่ ส องคื อ ชาวเผ่ า เราต้ อ ง
อ๊อบ เป็นยังไงคะ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ชี วิ ต ของสั ต ว์ ด้ ว ย
ในมุ ม มองของนายสั ต วแพทย์ ก็ได้ชื่อว่าเป็นสัตวแพทย์แล้ว ก็ต้อง
มือเริม่ เก่าอย่างผม ผมว่าชีวติ วัยเรียน เต็ ม ที่ กั น หน่ อ ย ทั้ ง ความรู้ แ ละ
เป็นช่วงที่สบายที่สุดแล้ว เพราะทันที ประสบการณ์ทงั้ หมด ถูกงัดขึน้ มาเพือ่
ที่เรียนจบ เปลี่ยนคำนำหน้าจาก นาย รักษาและช่วยชีวติ สัตว์อย่างสุดความ
เฉยๆ มาเป็น นายสัตวแพทย์ หรือ สามารถ
สั ต วแพทย์ ห ญิ ง มั น ทำให้ พ วกเรา อย่างที่สาม เรายังต้องรับผิดชอบ
กลายเป็นชาวเผ่าพิเศษ ทีม่ าพร้อมกับ ต่ อ ความคาดหวั ง ของเจ้ า ของ โดย
ความรับผิดชอบมากมาย เฉพาะสัตว์เลีย้ งทีเ่ จ้าของเลีย้ งเป็นลูก
อย่างแรกเลยคือ ชาวเผ่านี้ต้อง เป็ น เพื่ อ นรั ก เค้ า จะผู ก พั น กั น มาก
รับผิดชอบต่อวิชาชีพ มันเป็นเรือ่ งของ สัตวแพทย์อย่างเราก็เลยถูกคาดหวัง
จรรยาบรรณน่ะครับ ตามไปด้วย

234
และอย่าลืม รับผิดชอบต่อตัวเอง เทรนนิ่งแล้วจะได้เงินเดือนเท่าไหร่
ด้วยนะครับ เราควรจะมีความรูส้ กึ ทีด่ ี ก็คงคล้ายๆ กับทำงานบริษัททั่วไป
ต่อตัวเอง ต่อเพื่อนร่วมงาน และต่อ ที่มีทดลองงานนั่นแหละครับ ที่เด็ก
วิชาชีพ ทำหน้าที่อย่างดีที่สุด และ ใหม่จะต้องผ่านด่านการเทรนนิง่ ไปให้
ขอให้ภมู ใิ จกับความเสียสละ คิดซะว่า ได้ซะก่อน ถึงจะได้ชอื่ ว่าเป็นพนักงาน
“เวลาทีเ่ ราสุขสบาย มันเทียบไม่ได้กบั มีงานทำแบบเต็มตัว สมัยผมทำงาน
เวลาที่ ย อมสละเพื่ อ ช่ ว ยชี วิ ต สั ต ว์ ที่ ใหม่ๆ พอผ่านช่วงเทรนนิ่งใบอนุญาต
เจ็บป่วย หรือกำลังจะตาย” ยังไงก็ ก็ส่งมาถึงพอดี เหมือนรู้ว่าต้องเอาไป
เต็มที่กับสิ่งที่ทำ ดีที่สุดครับ ใช้แปะข้างฝาคลีนิคแล้ว

ตอนได้ เ ป็ น สั ต วแพทย์
เต็มตัว รู้สึกยังไงคะ
ก็เหมือนกับผมได้เรียนปี 6
อีกครั้ง เพราะช่วงเดือนแรกๆ
ที่เริ่มทำงาน ปกติก็จะเป็นช่วง
เทรนนิ่งไม่ว่าที่ไหนก็ประมาณ
นี้ แต่ ฝึ ก งานคราวนี้ ก ดดั น
คนละอย่ า ง เพราะผมต้ อ ง
รั บ ผิ ด ชอบเคสจริ ง ๆ แล้ ว คลิ นิ ก จะ
ประเมินผลงาน และก็สอนงานให้ดว้ ย
มี ค ลิ นิ ก หรื อ โรงพยาบาล
Born to be สัตวแพทย์

สั ต ว์ ห ลายๆ ที่ เ ค้ า จะบอกชั ด เจน


เลยว่ า ช่ ว งเทรนนิ่ ง นี้ ไ ด้ เ งิ น เดื อ น
เท่าไหร่ ต้องเทรนนิ่งกี่เดือน พอผ่าน
234
Born to be สัตวแพทย์
ฝึกงานมาตัง้ ปี แถมมาฝึกทีค่ ลินกิ ผมเชื่อว่า ตอนเริ่มเป็นสัตวแพทย์
ต่ออีก ยังมีกดดันอีกเหรอคะ ใหม่ ๆ ทุ ก คนจะกดดั น กั น อี ก รอบ
ก็ อ ย่ า งที่ บ อกครั บ กดดั น คนละ ตั ว ผมก็ ภ าวนาเช้ า เย็ น ขอให้ เ จอ
แบบ แต่มีกดดันแน่ สิ่งที่หมอใหม่ เคสง่ายๆ ทีเถิด ขอให้ทุกอย่างเป็นไป
เกือบทุกคนมักจะเจอก็คอื ลูกค้ามักจะ อย่างราบรื่น ก็แหม เริ่มต้นดี มีชัยไป
ถามหาหมอคนเก่าก่อนเสมอ เพราะ กว่าครึ่ง จริงมั้ยครับ คิดดูสิ ถ้าเจอ
ในความรู้สึกของเค้า หมอคนเดิมที่ เคสแรก สัตว์ป่วยหนักหรือเป็นเคส
เคยรั ก ษากั น มาตลอดจะรู้ ป ระวั ติ ฉุ ก เฉิ น แบบว่ า มาตายกั น ต่ อ หน้ า
สัตว์ป่วยตัวนั้นๆ ดีอยู่แล้ว และก็มีนะ ต่อตา แล้วลูกค้าก็ร้องไห้ฟูมฟายดัง
ที่ คิ ด ว่ า หมอใหม่ ที่ ห น้ า ตายั ง อ่ อ น ลั่ น ห้ อ ง เจอแบบนี้ ผ มคงจะจิ ต ตก
ดูไม่น่าเชื่อถือเท่าไหร่ ผมเนี่ยภูมิใจ ไปเลย มันเป็นเรื่องของความมั่นใจ
มากที่เกิดมาหน้าเด็ก แต่เจอแบบนี้ ล้วนๆ
ก็ ท้ อ เลย ต้ อ งมานั่ ง ทำหน้ า ให้ ดู แ ก่ แต่ผมโชคดีครับ เคสแรกผ่านพ้น
มันทำยากนะ ไปได้ ด้ ว ยดี เป็ น เคสที่ ต้ อ งรั ก ษา
น้องๆ ถ้าเจอเคสแบบนี้ในช่วงเริ่ม ต่อเนื่องหลายวัน เป็นเคสทีป่ ระทับใจ
งานใหม่ๆ ก็อย่าไปท้อกับเรื่องแค่นี้ ผมมากๆ ครับ
ได้เจอกันหมดทุกคนครับ ไม่ได้มีแต่
เราที่เจอหรอก พยายามทำหน้าที่ของ ช่ ว ยเล่ า เคสแรกให้ น้ อ งๆ ฟั ง
เราให้ดที สี่ ดุ ดีกว่า หัดเสนอหน้าเข้าไว้ หน่อยนะคะ
เข้าไปสวัสดีเจ้าของ หรือทักทายกับ เคสแรกของผมเป็นการรักษาแมว
สั ต ว์ เ ลี้ ย งก็ ไ ด้ ลู ก ค้ า ก็ จ ะจำได้ เ อง แก่ชื่อเจ้าลาย มันไม่สบายเป็นหวัด
วันไหนมาแล้วไม่เจอ เค้าก็จะถาม และไม่กนิ อาหารมาหลายวัน เจ้าของ
หาเราเอง หน้าด้านเข้าไว้ครับ  แมวก็ เ ป็ น คุ ณ ยาย อายุ ม ากแล้ ว
เดินแทบไม่ไหว ท่านอยู่ตัวคนเดียว
234
ไม่มีลูกหลาน เจ้าลายนี่แหละที่เป็น ใครได้ยนิ คุณยายพูดกับเจ้าลายก็
ลูกของคุณยาย คงอดสงสารไม่ได้ ผมเองก็ตงั้ ใจเต็มที่
พอเจ้าลายป่วย คุณยายต้องอุม้ ใส่ ยังไงก็ต้องรักษาเจ้าลายให้หายให้ได้
ตะกร้าพามารักษาตัง้ หลายวันกว่าจะ ก็อย่างทีบ่ อกว่าเคสแรกผ่านไปด้วยดี
หาย แค่คณุ ยายเดินตัวคนเดียวก็แทบ เจ้ า ลายก็ ห าย ผมบอกคุ ณ ยายว่ า
จะไม่ไหวแล้ว นี่ยังต้องหิ้วตะกร้าใส่ เจ้าลายหายดีแล้วนะ ไม่ต้องพามา
เจ้าลายขึ้นรถสองแถวมาตั้งไกลเพื่อ ฉีดยาแล้ว
มาหาหมอ รอยยิ้ ม ของคุ ณ ยายวั น นั้ น เป็ น
เวลาที่เจ้าลายนอนให้น้ำเกลือที่ รอยยิ้ ม ที่ ผ มจะไม่ มี วั น ลื ม ผมดี ใ จ
คลินิก คุณยายก็จะเฝ้าอยู่ด้วย คอย และ ภูมใิ จมาก คิดไม่ผดิ ทีเ่ ลือกมาเป็น
ลูบหัวลูบหางคุยกับเจ้าลายอยู่ตลอด สัตวแพทย์ มันทำให้ผมรู้สึกว่า ผมไม่
“ลายหายไวๆ นะลูก อย่าทิ้งยาย ได้แค่รกั ษาสัตว์เลีย้ งเท่านัน้ แต่ผมได้
ไปไหนนะ” รักษาสมาชิกในครอบครัวของคุณยาย
“ลายอย่าเป็นอะไรไปนะ ยายอยู่
คนเดียวไม่ได้นะ”
Born to be สัตวแพทย์

234
สัตวแพทยผลิตมาจากไหน
ในปีการศึกษา 2552 คณะสัตวแพทย์มีการเปิดการเรียนการสอนอยู่ 9
สถาบัน ได้แก่
• จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
• มหาวิทยาลัยมหิดล
• มหาวิทยาเชียงใหม่
• มหาวิทยาลัยขอนแก่น
• มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
• มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
• มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
• มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
โดยแต่ละแห่งอาจจะวางหลักสูตรแตกต่างกันไปบ้างตรงทีล่ ำดับการเรียน
แต่ละวิชา แต่เนื้อหาหลักก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก
และในแต่ละปี คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ของแต่ละสถาบัน มักจะจัดกิจกรรม
ให้น้องๆ นักเรียนมัธยมปลาย หรือผู้ที่สนใจเข้าเยี่ยมชมคณะ ได้สัมผัสการ
เรียนและการทำงานจริงในฐานะสัตวแพทย์ เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจ
เลือกวิชาชีพที่น้องๆ สนใจ โดยสามารถติดตามข่าวกิจกรรมเหล่านี้ได้จาก
เว็บไซต์ของคณะสัตวแพทย์ของแต่ละสถาบัน สำหรับของมหาวิทยาลัยผม จะมี
กิจกรรมที่วิทยาเขตกำแพงแสน และในงานเกษตรแฟร์ก็สามารถเข้าชมได้
Born to be สัตวแพทย์

เช่นกันครับ

234
Born to be สัตวแพทย์
สำหรับของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สามารถติดตามข่าวได้ที่ http://
www.vetclub.nisit.ku.ac.th โดยปีทผี่ า่ นๆ มา จะจัดกิจกรรมในเดือนสิงหาคม
ส่วนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีทผี่ า่ นมาจะจัดในเดือน ตุลาคม สำหรับมหาวิทยา
ลัยอื่น สามารถติดตามข่าวสารได้ที่เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยนั้นๆ นะครับ
ผมรวบรวมไว้ให้แล้ว
ถ้าตกลงปลงใจแล้วว่าจะเป็นสัตวแพทย์ แน่นอนก่อนทีจ่ ะก้าวเข้าไปเรียน
จำเป็นจะต้องผ่านการสอบคัดเลือกของคณะให้ได้ซะก่อน ซึง่ ในสมัยของผมก็คอื
การสอบเอ็นทรานซ์ ซึ่งคุณสมบัติของคนที่จะสอบเข้าคณะนี้ได้นั้น จะต้องจบ
มาจากสายวิทย์ โดยมีวิชาที่ใช้สอบ 6 วิชา คือ เลข, ฟิสิกส์, เคมี, ชีวะ, สามัญ
(ภาษาไทย + สังคม) และภาษาอังกฤษ
เมื่อก่อนอาจจะเคยได้ยินคนพูดกันบ่อยๆ ว่า
“ใครเก่งชีววิทยาก็ให้ไปเอ็นฯ เป็นหมอ เป็นสัตวแพทย์”
“ใครเก่งเคมีก็ไปเอ็นฯ เภสัช”
“ใครเก่งเลขเก่งฟิสิกส์ก็ให้ไปเอ็นฯ วิศวะหรือสถาปัตย์”
แต่เอาเข้าจริงๆ ในการเรียนสัตวแพทย์นั้น การเก่งชีวะเพียงวิชาเดียว
ไม่สามารถช่วยอะไรได้ เพราะกว่าวิชาชีวะจะช่วยท่านได้ จะต้องสอบผ่านวิชา
พื้นฐานทั้ง เคมี ฟิสิกส์ เลข ให้ได้ซะก่อน ซึ่งถ้าไม่ผ่านก็จะไม่สามารถลงเรียน
ในวิชาต่อเนื่องตัวอื่นๆ ต่อไปได้เลย

234
ในส่วนของสถาบันที่ผมจบมานั้น หลักสูตรของคณะสัตวแพทยศาสตร์
(หลักสูตร 6 ปี) จะแบ่งเป็น 3 ระยะ (1:2:3) คือ
ปีที่ 1 ศึกษากลุ่มวิชาพื้นฐานทั่วไป ได้แก่ เคมี ฟิสิกส์ เลข (สถิติ) ชีวะ
(สัตววิทยาทั่วไป) และภาษาอังกฤษ
ปีที่ 2-3 เป็นการเรียนกลุ่มวิชาพรีคลินิก ได้แก่ กายวิภาคศาสตร์ จุลกาย
วิภาคศาสตร์ สรีรวิทยา จุลชีววิทยาและวิทยาภูมคิ มุ้ กัน เภสัชวิทยา พยาธิวทิ ยา
และปรสิตวิทยา
ปีที่ 4-5-6 จะเป็นการเรียนในวิชาคลินิก อายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์และ
รังสีวทิ ยา สูตศิ าสตร์ สัตวแพทย์สาธารณสุขศาสตร์์ เธนุเวทวิทยาและวิทยาการ
สืบพันธุ์ รวมถึงการทำปัญหาพิเศษ โดยในชัน้ ปีที่ 6 จะมีการฝึกงานในโรงพยาบาล
สัตว์ตลอดปี
นอกจากนี้นิสิตคณะสัตวแพทย์จะต้องมีชั่วโมงการฝึกงานเพิ่มเติมอีก
ไม่ต่ำกว่า 200 ชั่วโมง อีกด้วย
จากประสบการณ์ทผี่ มเจอมาไม่วา่ กับตัวเองหรือกับเพือ่ นๆ การทีจ่ ะต้อง
เรียนซ้ำชั้นหรือตกรุ่นนั้น สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการตกวิชาพื้นฐานปี 1 กัน
เกือบทุกคน เพราะถ้าผ่านวิชาพืน้ ฐานไปไม่ได้ ก็แทบจะลงเรียนวิชาต่อๆ ไปใน
คณะไม่ได้เลย จะมีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ไปพลาดวิชาในคณะจนต้องซ้ำชั้น
เพราะฉะนั้นการเรียนในปี 1 นั้นสำคัญอย่างยิ่งสำหรับสาขาวิชานี้
Born to be สัตวแพทย์

234
ป‚ 2 เรียนหนัก

Born to be สัตวแพทย์
จนหัวบาน
หลังจากผ่านการเรียนวิชาพื้นฐานของปีหนึ่งจนหมด (หรือเกือบหมด)
ก็ได้เวลาเข้าไปเรียนในคณะ เริม่ เรียนวิชาในกลุม่ พรีคลินกิ ซะที รายชือ่ วิชาต่างๆ
ก็จะเริ่มมีคำว่า Veterinary ซึ่งแปลว่า สัตวแพทยศาสตร์ ให้ความรู้สึกว่าเรา
กำลังเรียนอยู่ในคณะสัตวแพทย์จริงๆ แล้วนะ

ในช่วงของการเรียนปีสองนั้น จะมีการเรียนทั้งในและนอกคณะ เหมือน


การปรับตัวก่อนการเรียนในคณะแบบเต็มรูปแบบทีจ่ ะเริม่ กันในปีสาม แม้วา่ การ
เรียนในชั้นปีสองจะเรียนหนักกว่าปีหนึ่งมาก แต่ก็นับว่าโชคดีมากที่ตอนเรียน
ชั้นปีสองแทบไม่มีกิจกรรมอะไรเลย ทำให้มุ่งไปที่การเรียนเพียงอย่างเดียวได้
การเรียนวิชาในคณะ เนื้อหาจะค่อนข้างมากและเรียนหนักจนแทบไม่
มีเวลาว่างเลย แม้จำนวนหน่วยกิตที่ลงเรียนในแต่ละเทอมจะเท่าๆ คณะอื่น
แต่เนื่องจากเกือบทุกวิชาจะมีการเรียนแล็บด้วย ทำให้เวลาเรียนดูเหมือน
มากกว่าคณะอื่นๆ (เลกเชอร์ 1 หน่วยกิต เรียน 1 ชั่วโมง ส่วนแล็บ 1 หน่วยกิต
เรียน 3 ชั่วโมง)

234
เทอมไหนเรียนอะไร…
เทอมหนึ่งเรียน : Veterinary Gross Anatomy I, Veterinary Embryo
logy, Veterinary Biochemistry, Introduction of Veterinary Medicine,
Principles of Genetics, Foundation English III, และวิชาเลือกกลุ่ม
วิชามนุษยศาสตร์ และกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ตัวสุดท้าย
เทอมสองเรียน : Veterinary Gross Anatomy II, Veterinary Histology,
Veterinary Neuroanatomy, Veterinary Bacteriology, Veterinary
Physiology I, Animal Behavior Restraint & Hygiene และ General
Aquaculture
Born to be สัตวแพทย์

234
Born to be สัตวแพทย์
Veterinary Gross Anatomy I และ II
วิชากายวิภาคศาสตร์ทางสัตวแพทย์ หรือเรียกสั้นๆ ว่า Gross เนื้อหา
เริ่มตั้งแต่การเรียนรู้คำศัพท์เทคนิคทางกายวิภาคศาสตร์ ไปจนถึงการเรียนรู้
เรื่องระบบโครงสร้างทุกส่วนของร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น กระดูก กล้ามเนื้อ
ผิวหนัง ข้อต่อ อวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย โดยวิชานี้ก็จะแบ่งออกเป็นสองส่วน
คือ เลกเชอร์กับการทำแล็บ

การเรียนเลกเชอร์นั้น จะเรียนเกี่ยวกับสัตว์เกือบทุกประเภท ทั้งสุนัข วัว


ม้า สุกร ทำให้เนื้อหามีมากจริงๆ เรียกได้ว่า วิชากายวิภาควิชาเดียว ใช้ตำรา
เรียนหนากว่าทุกวิชาในชั้นปีหนึ่งรวมกันซะอีก
การเรียนในช่วงแรกๆ ก็ต้องปรับตัวกันซักหน่อย เพราะถึงแม้ว่าตำรา
เรี ย นจะเป็ น ภาษาไทยก็ ต าม แต่ ศั พ ท์ เ ทคนิ ค และชื่ อ เรี ย กต่ า งๆ จะเป็ น
ภาษาอังกฤษทั้งหมด และเนื่องจากเป็นการเริ่มเรียนรู้ศัพท์ทางสัตวแพทย์
เป็นเทอมแรก จึงค่อนข้างสร้างความหนักใจให้ผมพอสมควร แต่กท็ ำให้คนุ้ เคย
กับการเรียนในคณะได้ดี
สิ่ ง ที่ ข าดไม่ ไ ด้ เ ลยสำหรั บ การเรี ย นกายวิ ภ าค ก็ คื อ การเรี ย นแล็ บ
เนือ่ งจากการเรียนแต่เลกเชอร์ ทีเ่ น้นบรรยายและดูรปู ในตำราเพียงอย่างเดียว
ไม่สามารถทำให้เราเข้าใจถึงโครงสร้างทางกายวิภาคได้ดีเท่ากับการได้เห็น
ของจริง

234
ในการเรียนแล็บกายวิภาคนั้น จะเน้นที่สุนัขเป็นส่วนใหญ่ โดยใช้สุนัข
เป็ น ต้ น แบบและเปรี ย บเที ย บกั บ สั ต ว์ ช นิ ด อื่ น ๆ ได้ แ ก่ โค สุ ก ร ม้ า แพะ
แกะ ไก่ และช้าง (แม้จะเน้นสุนัขเป็นหลักแต่ก็ไม่ได้หมายความว่า เนื้อหา
ในส่วนของสัตว์ชนิดอืน่ ๆ จะน้อยลงไปนะครับ ยังคงเข้มข้นเช่นกัน) โดยทางคณะ
จะเป็นฝ่ายจัดเตรียมสุนัขไว้ให้ และอาจารย์จะเป็นคนฉีดยาให้สุนัขสลบ
หลังจากนั้นจึงเป็นหน้าที่ของนิสิตที่จะต้องเตรียมซากสุนัข
หลังจากสุนขั สลบแล้ว ก็จะมีการเอาเลือดออกจากร่างกายสุนขั โดยกรีด
เปิดเส้นเลือดใหญ่ทคี่ อ แล้วฉีดอัดฟอร์มาลีนและสีเข้าไปทางเส้นเลือดเส้นเดิม
เพือ่ รักษาสภาพสุนขั ไม่ให้เน่า และสีทผี่ สมกับฟอร์มาลีนก็จะแข็งอยูใ่ นเส้นเลือด
ทำให้เมื่อถึงเวลาเรียนเรื่องระบบเลือดก็จะมองเห็นเส้นเลือดได้อย่างชัดเจน
เมื่อจัดเตรียมซากเสร็จแล้วก็นำซากสุนัขไปแช่ในถังเก็บ
ในการเรียนแล็บ อาจารย์จะให้จับกลุ่มกัน 6 คนต่อซากสุนัขหนึ่งตัว และ
ต้องใช้ซากสุนัขตัวนั้นไปจนจบเทอม สมาชิกในกลุ่มจะต้องคอยดูแลซากสุนัข
ให้ดี โดยเฉพาะช่วงก่อนสอบ เนือ่ งจากทุกๆ ปีมกั จะมีนสิ ติ บางคนมาขโมยซาก
สุนัขของคนอื่นไปท่อง (มักจะแอบเข้ามาในคณะตอนดึกๆ เวลาที่ปลอดผู้คน)
พวกนี้มักจะผ่าหรือชำแหละซากจนเสียหาย บางครั้งแอบตัดขาหายไปทั้งข้าง
ทำให้กลุม่ ทีโ่ ดนขโมยซากไปไม่มซี ากทีจ่ ะใช้เรียนต่อ หรือซากเสียหายจนใช้งาน
ต่อไม่ได้เลยก็มี
อุปสรรคในการเรียนแล็บกายวิภาคคือ กลิ่น ทั้งกลิ่นของฟอร์มาลีนที่ฉุน
แสบจมูก และกลิน่ คาวของซากสุนขั ใน(ช่วงแรกของ)การเรียนนัน้ นิสติ แทบทุก
คนจะใส่เครือ่ งแบบสำหรับการเรียนแล็บอย่างเต็มยศเลยทีเดียว คือมีเสือ้ กาวด์
Born to be สัตวแพทย์

สวมถุงมือยางป้องกันมือเปือ้ น และสวมหน้ากากผ้าเพือ่ ป้องกันกลิน่ หลังเรียน


แล็บเสร็จแต่ละครั้ง กินอะไรกันแทบไม่ลง แต่หลังจากผ่านการเรียนไปได้สัก
ครึ่งเทอมก็จะเริ่มชิน ไม่ต้องใส่หน้ากาก หรือไม่สวมถุงมือยางก็ยังได้
234
Born to be สัตวแพทย์
เนือ่ งจากเนือ้ หาภายในวิชานีม้ มี ากจริงๆ ดังนัน้ เมือ่ เรียนจบแต่ละบทจึงมี
การแบ่งสอบย่อยหลายๆ ครั้ง เพื่อไม่ให้ไปหนักเอาตอน Mid-term และ Final
เพราะยังมีอกี หลายวิชาทีเ่ รียนหนักพอๆ กัน สำหรับการสอบเลกเชอร์นนั้ คงไม่มี
อะไรทีด่ ไี ปกว่าการท่องจำ เน้นว่าต้องท่องเท่านัน้ การอ่านเพียงแค่ผา่ นๆ ไม่อาจ
ช่วยให้สอบผ่านวิชากายวิภาคได้ เพราะนอกจากเนื้อหาจะมากเนื่องจากต้อง
เรียนในสัตว์เกือบทุกประเภท ยังต้องท่องศัพท์ใหม่ๆ ที่เกิดมาไม่เคยได้ยิน
อีกมากมาย แม้วา่ จะไม่คอ่ ยมีใครสอบตกวิชากายวิภาคกันมากนัก แต่วชิ านีก้ ็
แจกหมา (เกรด D) กันกระจาย
ส่วนในการสอบแล็บนั้น หลังจากได้สร้างความคุ้นเคยกับ แล็บกริ๊ง
กันมาแล้ว การสอบกายวิภาคก็เป็นลักษณะแล็บกริ๊งเช่นกัน แถมสอบเข้มข้น
กว่าด้วย ตั้งแต่จำนวนข้อสอบในการสอบแต่ละครั้งจะเพิ่มขึ้น ข้อย่อยในการ
สอบแต่ ล ะข้ อ ก็ ม าก แต่ มี สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ ม ากตามไปด้ ว ยคื อ เวลาในการ
ทำข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ เช่น บนโต๊ะมีกระดูกวางอยูห่ นึง่ ชิน้ ก็จะมีคำถามตามมา
หลายข้อเช่น 1. เป็นกระดูกของสัตว์ชนิดไหน 2. เป็นข้างซ้ายหรือข้างขวา 3.
ตำแหน่งทีส่ ติกเกอร์แปะอยูน่ นั้ ชือ่ อะไร 4. ถ้ากระดูกนีเ้ ป็นของสัตว์อกี ชนิดหนึง่
เรียกว่าอะไร โดยทั้งหมดในข้อนี้มีเวลาตอบเพียงแค่ 1 นาทีเท่านั้น

234
¡ÒâÖé¹·ÐàºÕ¹໚¹ÊÑμÇᾷàμçÁμÑÇ

Born to be ÊÑμÇᾷ
อยางที่บอก วานิสิตปสุดทายตองทำการยื่นคำขอสมัครเปนสมาชิก และ
ขอขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย ซึ่งเปนขอ
บังคับสำหรับสัตวแพทยทุกคน โดยจะตองมีเลขที่ใบอนุญาต หากไมมีก็จะ
อยูในฐานะหมอเถื่อน
ในการขอใบอนุญาตนัน้ ในรุน ผมจำเปนทีจ่ ะตองรีบขอใหเร็วทีส่ ดุ เพราะ
ขั้นตอนดำเนินการออกใบอนุญาตนั้น ใชเวลานานพอสมควร ขนาดขอกัน
ตั้งแตกอนเรียนจบ กวาใบอนุญาตจะออก จบแลวยังตองรอกันตออีกสอง
ถึงสามเดือนเลยทีเดียว หากมัวแตชักชาไปขอทีหลังก็จะยิ่งไดชาไปอีก จะเริ่ม
ทำงานก็ไมได เดี๋ยวคนอื่นจะหาวาเปนหมอเถื่อนไมมีใบอนุญาต
ปจจุบัน การขอใบอนุญาตนั้นสะดวกกวารุนผมมากมาย เนื่องจาก
สามารถดาวนโหลดใบคำขอสมัครเปนสมาชิก และขอขึน้ ทะเบียนรับใบอนุญาต
เปนผูป ระกอบวิชาชีพการสัตวแพทยไดทเี่ ว็บไซตของสัตวแพทยสภาโดยตรงที่
www.vetcouncil.or.th ตรงหัวขอดาวนโหลดเอกสาร หลังจากกรอกเอกสาร
และจัดสงเรียบรอยแลว ก็จัดการชำระคาธรรมเนียมการออกใบอนุญาต แลว
ก็นอนรอใบอนุญาตสงตรงมาใหที่บานไดเลย

234
μÑÇÍ‹ҧ ºÑμûÃШÓμÑÇÊÁÒªÔ¡ÊÑμÇá¾·ÂÊÀÒ (¢¹Ò´à·‹ÒºÑμûÃЪҪ¹ àÍÒäÇŒ¾¡μÔ´μÑÇ)

μÑÇÍ‹ҧ ãºÍ¹ØÞÒμ໚¹¼ÙŒ»ÃСͺÇÔªÒªÕ¾¡ÒÃÊÑμÇᾷ (ªÑ้¹Ë¹Ö่§)

มีขนาดเทากระดาษ A4 ปกติจะใสกรอบแขวนไวที่โรงพยาบาลหรือ
คลินิกที่ทำงาน เพื่อไวเปนหลักฐานยืนยันวา นายสัตวแพทยหรือสัตวแพทย
Born to be ÊÑμÇᾷ

หญิงที่ทำงานอยูนั้น เปนผูไดรับอนุญาตประกอบวิชาชีพอยางถูกตองตาม
กฎระเบียบของการตั้งสถานพยาบาลสัตวอีกทีหนึ่ง เนื่องจากปจจุบันมีคลินิก
เถื่อนเยอะมาก โดยเฉพาะตามตางจังหวัด
234
¢ŒÍ¤Ô´àÇÅÒËÒ§Ò¹

Born to be ÊÑμÇᾷ
หลายๆ คนอาจจะคิดวา เรียนจบสัตวแพทยแลวก็ออกมารักษาสัตว
ตามโรงพยาบาลสัตว หรือไมก็เปดคลินิกรักษาสัตว (ซึ่งก็คงไมมีใครหาญ
กลาจบปุบเปดคลินิกปบอยางแนนอน เพราะยังขาดประสบการณทั้งทาง
ดานการรักษา การบริหารงาน และการบริหารธุรกิจ) แตจริงๆ แลวงานดาน
สัตวแพทยก็มีหลากหลายสาขา เชน ดานการรักษาสัตวเล็ก สัตวเศรษฐกิจ
การเปนพนักงานบริษทั ยา และผลิตภัณฑตา งๆ เกีย่ วกับสัตว (ตำแหนงฝายขาย
หรือไมก็ฝายวิชาการ) งานดานสัตวทดลองและงานวิจัย งานดานสัตวปา
งานดานสาธารณสุข การรับราชการ ไปจนถึงงานบริการสังคมและมูลนิธิ
การเลือกสมัครงานหรือทำงานที่ไหนนั้น ทั่วๆ ไปก็จะดูกันเรื่องเงินเดือน
การกินอยู ที่พัก ความสะดวกในการเดินทาง (กรณีที่ไมมีที่พักให) สวัสดิการ
ค า รั ก ษาพยาบาลต า งๆ แต ก็ มี ห ลายคนเหมื อ นกั น ที่ ไ ม ส นใจเรื่ อ งพวกนี้
ขอแคใหไดงานทำก็พอ แบบวากลัวตกงานมากกวา พอมีประสบการณแลว
ก็คอยวากันอีกที

ÍÂÒ¡¨Ðá¹Ð¹Óà´ç¡ÃØ‹¹ËÅѧæ äÇŒÊÑ¡¹Ô´
นอกจากการดูคาตอบแทนที่เราควรจะไดรับแลว อยากใหดูเพิ่มในเรื่อง
เครื่องไมเครื่องมือในการตรวจวินิจฉัย และรักษาของโรงพยาบาล วาสามารถ
สนับสนุนใหเราพัฒนาศักยภาพของเราไดมากนอยแคไหน มีการสนับสนุน
ใหมีการฝกอบรมเพิ่มเติมความรูใหกับบุคลากรในโรงพยาบาลหรือไม เพราะ
การเปนสัตวแพทยที่ดี จะตองไมนิ่งอยูกับที่ หากแตตองมีการศึกษาหาความ
รูใหมๆ และพัฒนาตัวเองอยูตลอดเวลา

234

You might also like