You are on page 1of 20

บทที่ 2

2.1 เพาเวอร์ซัพพลาย Power Supply


อุปกรณ์ชิน้ หนึ่ งในเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเรามักจะมองข้ามไปและเป็ น
อุปกรณ์ท่ีสำาคัญเพราะถ้าขาดเจ้าตัวนี้แล้วเครื่องคอมพิวเตอร์ตัวเก่งของเราก็
เปรียบเสมือนกล่องเหล็กธรรมดาๆใช้การอะไรไม่ได้ อุปกรณ์ชิน ้ นี้ก็คือ แหล่ง
จ่ายไฟ หรือที่เรามักจะเรียกกันว่า เพาเวอร์ซัพพลาย (Power Supply)
นั่ นเองเพาเวอร์ซัพพลายมีหน้ าที่หลักก็คือ เปลี่ยนแรงดันกระแสสลับจากไฟ
บ้าน 220 โวลท์เอซีให้เป็ นแรงดันไฟตรงดีซีท่ีคอมพิวเตอร์ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟ
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือคอมพิวเตอร์พีซีนั้น ส่วนใหญ่จะบรรจุในเคสด้าน
หลังถ้ามองไปที่หลังเคสจะเห็นก่องเหล็กสี่เหลี่ยมมีช่องเสียบสายไฟและพัดลม
เพื่อระบายความร้อน เพาเวอร์ซัพพลายจะใช้เทคโนโลยีท่ีเราเรียกว่า สวิตชิ่งเพา
เวอร์ซัพพลายคือการเปลี่ยนแรงดันอินพุตกระแสสลับเอซี ให้เป็ นแรงดันตำ่า
กระแสตรงแรงดันที่ออกแบบให้ออกมาจากเพาเวอร์ซัพพลายมีอย่่ทัว่ ไป 3 ระดั
บคือ 3.3 โวลท์ , 5 โวลท์ และ 12 โวลท์ โดยที่แรงดัน 3.3 โวลท์และแรง
ดัน 5 โวลท์จะนำ าไปใช้ในวงจรดิจิตอล ส่วนแรงดัน 12 โวลท์ถ่กนำ าไปใช้ในการ
หมุนมอเตอร์ของดิสท์ไดรฟ์ และพัดลมระบายความร้อน

ร่ปที่ เมนบอร์ดบอกขนาดของสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย ร่ปที่1 ช่องเสียบ


สายไฟและพัดลมเพื่อระบายความร้อน

เมื่อหลายปี ก่อนบางท่านที่เคยใช้คอมพิวเตอร์ยุคแรกๆตัง้ แต่รุ่น


8088 จนถึงรุ่น 486 คงจะจำาได้วา่ สวิตช์เปิ ดปิ ดของคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าพวกนี้
จะแตกต่างจากสวิตช์ปิดเปิ ดคอมพิวเตอร์ในปั จจุบัน ด้วยเหตุวา่ คอมพิวเตอร์รุ่น
แรกๆนั ้น จะใช้เพาเวอร์ซัพพลายแบบ AT ซึ่งมีสวิตช์เพื่อควบคุมการปิ ดเปิ ดเพา
เวอร์ซัพพลายโดยตรง และใช้สวิตช์กดติดค้างคล้ายๆกับสวิตช์เปิ ดปิ ดไฟบ้าน
ซึ่งต่างจากคอมพิวเตอร์ในปั จจุบันจะใช้สวิตช์แบบกดติดปล่อยดับ สวิตช์นี้จะไม่
ต่อเข้ากับเพาเวอร์ซัพพลายโดยตรงแต่จะต่อกับแผงวงจรเมนบอร์ดของ
คอมพิวเตอร์โดยใช้การควบคุมการปิ ดเปิ ดจากโปรแกรมปฎิบัติงาน สัง่ ให้แผง
เมนบอร์ดปิ ดเพาเวอร์ซำพพลาย เมื่อเรากดสวิตช์นี้ เมนบอร์ดจะส่งแรงดัน
5 โวลท์ไปยังส่วนควบคุมในเพาเวอร์ำซัพพลายเพื่อเปิ ดปิ ดการทำางานของตัวมัน
แรงดันไฟตรงนี้เราเรียกว่าแรงดัน VSB เพาเวอร์ซัพพลายรุ่นใหม่นี้เราเรียก
แบบว่า แบบ ATX

ร่ปที่3 เพาเวอร์ซัพพลายรุ่นใหม่แบบ AT ร่ป


ที่4 เพาเวอร์ซัพพลายรุ่นใหม่แบบ ATX
ถ้าพ่ดถึงเทคโนโลยีสวิตชิ่งในเพาเวอร์ซัพพลายจะเห็นได้ว่ามีการพัฒนามา
ตัง้ แต่ปี คศ.1980 ในตอนนั ้นเพาเวอร์ซัพพลายมีขนาดใหญ่และนำ ้ าหนั กมาก
ที่เป็ นเช่นนั ้นเพราะว่าในตัวเพาเวอร์ซำพพลายต้องใช้หม้อแปลงและตัวเก็บประจุ
ที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งในปั จจุบันได้พัฒนาลดขนาดและนำ ้ าหนั กของเพาเวอร์
ซัพพลายลงได้มากเทคโนโลยีสวิตชิ่งไม่ใช่แค่นำาไปใช้แต่คอมพิวเตอร์เท่านั ้นแต่
ยังได้นำาไปใช้ในการสร้างไฟกระแสสลับจากไฟตรง 12 โวลท์ของแบตเตอรี่
รถยนต์เพื่อไปจ่ายให้เครื่องใช้ไฟฟ้ า เช่นทีวี วิดีโอ ดังจะเห็นได้จากรถต้่หรือรถ
ทัวร์เค้าใช้กัน วงจรพวกนี้เราเรียกว่า อินเวอร์เตอร์ดังแสดงในร่ปที่5
เพาเวอร์ซัพพลายที่มีขายตามท้องตลาดนั ้นมีหลายราคา หลายกำาลัง
วัตต์ให้เลือก
ตัง้ แต่200 วัตต์ จนถึง 400 วัตต์ขึ้นอย่่กับว่าคอมพิวเตอร์เราใช้ทรัพยากร
หรือว่ามีอุปกรณ์ต่อมากน้ อยเพียงใด
อุปกรณ์ในคอมพิวเตอร์ กำาลังวัตต์ท่ีอุปกรณ์ใช้
- หน่ วยประมวลผล CPU 15 - 45 วัตต์
- Mainboard 20 - 30 วัตต์
- Hard disk 5 - 15 วัตต์
- CD-ROM drive 10 - 25 วัตต์
- หน่ วยความจำา RAM 5 - 11 วัตต์
- Floppy disk drive 5 วัตต์
- การ์แสดงผล AGP 20 - 30 วัตต์
- การ์ด PCI เช่นการ์ดเสียง 5 วัตต์
- การ์ด SCSI 20 - 25 วัตต์
- การ์ด LAN 4 วัตต์
- พัดลมระบายความร้อน 2 - 4 วัตต์
จะเห็นได้ว่ากำาลังไฟทัง้ หมดถ้ารวมๆกันแล้วก็ไม่เกิน 250 วัตต์ จึง
พอเพียงสำาหรับ
เพาเวอร์ซำพพลายที่มีขายในปั จจุบันปั ญหาที่เราพบบ่อยๆกับเจ้าตัวเพาเวอร์
ซัพพลายก็คือความร้อนที่เกิดจากตัวมันเองโดยทัว่ ไปเพาเวอร์ซัพพลายจะมี
พัดลมช่วยระบายความร้อน แต่ถ้าพัดลมนั ้นเกิดเสื่อมสภาพ
หมุนช้าลงหรือหยุดหมุนไป อุปกรณ์อิเล็กทรอนิ กส์ในเพาเวอร์ซัพพลายก็จะ
ร้อนขึ้นจนอาจจะไหม้ได้ หลังจากนั ้นคอมพิวเตอร์ก็จะหยุดทำางานพร้อมกับมี
กลิ่นไหม้ตามมา ฉะนั ้นถ้าเป็ นไปได้กค ็ วรสำารวจพัดลมหรือฟั งเสียง
พัดลมของเพาเวอร์ซัพพลาย ถ้าพัดลมหมุนช้าหรือหยุดหมุนไปก็ให้ปิดเครื่อง
ทันที ถ้ามีฝีมือหน่ อยก็ถอดฝาออกมาแล้วก็ซ้ือพัดลมขนาดเดียวกันมาเปลี่ยน
แทน หรือถ้าไม่อยากยุ่งยากก็ซ้ือใหม่ทัง้ ชุดเลย ปั จจุบันราคาของ
เพาเวอร์ซัพพลายไม่แพงมากนั ก อย่่ระหว่างประมาณ 350 ถึง 500 บาทขึ้น
อย่่กับกำาลังวัตต์ท่ีใช้และร่ปแบบของเพาเวอร์ซัพพลาย เวลาเปลี่ยนก็ควรปลด
สายไฟออกทัง้ หมดก่อนเพื่อป้ องกันความเสียหายที่จะตามมา
ร่ปที่5 แผงวงจรเพาเวอร์ซัพพลายรุ่นใหม่ ร่ปที6
่ พัดลมช่วยระบาย
ความร้อนของเพาเวอร์ซัพพลาย
ด้วยเหตุนี้ผ้่ผลิตเมนบอร์ดจึงได้สร้างเมนบอร์ท่ีสามารถอ่านค่า
ความเร็วของพัดลมทุกตัวในคอมพิวเตอร์ รวมทัง้ พัดลมของเพาเวอร์ซัพพลาย
ด้วยโดยเมื่อพัดลมหมุนช้าลง หน่ วยควบคุมในเมนบอร์ดก็จะส่งสัญญาณผ่าน
โปรแกรมมอนิ เตอร์เตือนผ้่ใช้ท่ีหน้ าจอ ก่อนที่จะดับเครื่องตัวเองเพื่อป้ องกัน
ความเสียหายที่จะตามมา
2.2 สวิตชิง ่ เพาเวอร์ซัพพลาย(Swingching power
supply)
สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย (Switching Power Supply) เป็ น
แหล่งจ่ายไฟตรงคงค่าแรงดันแบบหนึ่ ง และสามารถเปลี่ยนแรงดัน
ไฟจากไปสลับโวลต์สูง ให้เป็ นแรงดันไฟตรงค่าต่่า เพื่อใช้ในงานอิเลค
ทรอนิ กส์ได้เช่นเดียวกันแหล่งจ่ายไฟเชิงเส้น (Linear Power
Supply) ถึงแม้เพาเวอร์ซัพพลายทั้งสองแบบจะต้องมีการใช้
หม้อแปลงในการลดทอนแรงดันสูงให้เป็ นแรงดันต่่าเช่นเดียวกัน แต่
สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายจะต้องการใช้หม้อแปลงที่มีขนาดเล็ก และ
น่้าหนักน้อย เมื่อเทียบกับแหล่งจ่ายไฟเชิงเส้น อีกทั้งสวิตชิ่งเพาเวอร์
ซัพพลายยังมีประสิทธิภาพสูงกว่าอีกด้วยในปั จจุบันสวิตชิ่งเพาเวอร์
ซัพพลายได้เข้ามามีบทบาทกับชีวิตเราอย่างมาก เครื่องใช้อิเลคทรอ
นิ กส์ขนาดเล็กซึ่งต้องการแหล่งจ่ายไฟที่มีก่าลังสูงแต่มีขนาดเล็ก เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องโทรสาร และ โทรทัศน์ จ่าเป็ นจะต้องใช้สวิต
ชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย แนวโน้มการน่าสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายมาใช้
ในเครื่องใช้อิเลคทรอนิ กส์ทก ุ ประเภทจึงเป็ นไปได้สูง การศึกษาหลัก
การท่างานและการออกแบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายจึงเป็ นสิ่ง
จ่าเป็ นที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ส่าหรับผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับงานอิเ ลคทรอ
นิ กส์ทุกประเภท
2.3 สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายกับแหล่งจ่ายไฟเชิงเส้น(Linear power
supply)
ข้อได้เปรียบของสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายเมื่อเปรียบเทียบกับแหล่งจ่ายไฟ
เชิงเส้น คือประสิทธิภาพที่ส่ง ขนาดเล็ก และนำ ้ าหนั กเบากว่าแหล่งจ่ายไฟเชิง
เส้น เนื่ องจากแหล่งจ่ายไฟเชิงเส้นใช้หม้อแปลงความถี่ตำ่าจึงมีขนาดใหญ่ และ
นำ ้ าหนั กมาก ขณะใช้งานจะมีแรงดันและกระแสผ่านตัวหม้อแปลงตลอดเวลา
กำาลังงานส่ญเสียที่เกิดจากหม้อแปลงจึงมีค่าส่ง การคงค่าแรงดันแหล่งจ่ายไฟ
เชิงเส้นส่วนมากจะใชเ้เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ต่ออนุกรมที่เอาต์พุตเพื่อจ่าย
กระแสและคงเค่าแรงดัน กำาลังงานส่ญเลียในร่ปความร้อนจะมีค่าส่งและต้องใช้
แผ่นระบายความร้อนขนาดใหญ่ซ่ ึงกินเนื้ อที่ เมื่อเพาเวอร์ซัพพลายต้อง่ายกำาลัง
งานส่งๆ จะทำาให้มีขนาดใหญ่และมีนำ้าหนั กมาก ปกติแหล่งจ่ายไฟเชิงเส้นจะมี
ประสิทธิภาพประมาณ 30% หรืออาจทำาได้ส่งถึง 50% ในบางกรณี ซึ่งนั บได้
ว่าค่อนข้างตำ่าเมื่อเปรียบเทียบกับสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายซึ่งมีประสิทธิภาพใน
ช่วง 65%-80% สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายมีช่วงเวลาโคลสต์อัพประมาณ
20x10-3 ถึง 50x10-3 วินาที ในขณะที่แหล่งจ่ายไฟเชิงเส้นจะทำาได้เพียง
ประมาณ 2x10-3 วินาที ซึ่งมีผลต่อการจัดหาแหล่งจ่ายไฟสำารองเพื่อป้ องกัน
การหยุดทำางานของอุปกรณ์ท่ีใช้กับเพาเวอร์ซัพพลายเมื่อเกิดการหยุดจ่ายแรง
ดันไฟสลับ รวมทัง้ สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายสามารถทำางานได้ในช่วงแรงดัน
อินพุตค่อนข้างกว้างจึงยังคงสามารถทำางานได้เมือเกิดกรณี แรงดันไฟคกอีกด้ว
ยอย่างไรก็ตาม สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายจะมีเสถียรภาพในการทำางานที่ตำ่ากว่า
และก่อให้เกิดสัญญาณรบกวนได้ส่งเมื่อเปรียบเทียบกับแหล่งจ่ายไฟเชิงเส้น
รวมทัง้ สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายยังมีความซับซ้อนของวงตรมากกว่าและมีราคา
ส่ง ที่กำาลังงานตำ่าๆ แหล่งจ่ายไฟเชิงเส้นจะประหยัดกว่าและให้ผลดีเท่าเทียมกัน
ดังนั ้นสวิคชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายจึงมักนิ ยมใช้กันในงานที่ต้องการกำาลังงาน
ตัง้ แต่ 20 วัตต์ขึ้นไปเท่านั ้น

บทที่ 3
3.1 หลักการทำางานของสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย
สวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายโดยทัว่ ไปมีองค์ประกอบพื้นฐานที่คล้ายคลึง
กัน และไม่ซับซ้อนมากนั ก ดังแสดงในร่ปที่ 1 หัวใจสำาคัญของสวิตชิ่งเพาเวอร์
ซัพพลายจะอย่่ท่ีคอนเวอร์เตอร์ เนื่ องจากทำาหน้ าที่ทัง้ ลดทอนแรงดันและคง
ค่าแรงดันเอาต์พุตด้วย องค์ประกอบต่างๆ ทำางานตามลำาดับดังนี้
รูปที่ 1 องค์ประกอบพื้นฐานของสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย
แรงดันไฟสลับค่าส่งจะผ่านเข้ามาทางวงจร RFI ฟิ ลเตอร์ เพื่อกรองสำญญาณ
รบกวนและแปลงเป็ นไฟตรงค่าส่งด้วยวงจรเรกติไฟเออร์ เพาเวอร์
ทรานซิสเตอร์จะทำางานเป็ นเพาเวอร์คอนเวอร์เตอร์โดยการตัดต่อแรงดันเป็ น
ช่วงๆ ที่ความถี่ประมาณ 20-200 KHz จากนั ้นจะผ่านไปยังหม้อแปลงสวิตชิ่ง
เพื่อลดแรงดันลง เอาต์พุตของหม้อแปลงจะต่อกับวงจรเรียงกระแส และกรอง
แรงดันให้เรียบ การคงค่าแรงดันจะทำาได้โดยการป้ อนกลับคาแรงดันที่เอาต์พุต
กลับมายังวงจรควบคุม เพื่อควบคุมให้เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์นำากระแสมากขึ้น
หรือน้ อยลงตามการเปลี่ยนแปลงของแรงดันที่เอาต์พุต ซึ่งจะมีผลทำาให้แรงดัน
เอาต์พุตคงที่ได้ ร่ปที่ 2 แสดงวงจรซึ่งแบ่งส่วนตามองค์ประกอบหลักในร่ป 1
เพื่อเป็ นตัวอย่าง
3.2 คอนเวอร์เตอร์
คอนเวอร์เตอร์นับว่าเป็ นส่วนสำาคัญที่สุดในสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย มีหน่ าที่
ลดทอนแรงดันไฟตรงค่าส่งลงมาเป็ นแรงดันไฟตรงค่าตำ่า และสามารถคงค่าแรง
ดันได้ คอนเวอร์เตอร์มีหลายแบบขึ้นอย่่กับลักษณะการจัดวงจรภายใน โดย
คอนเวอร์เตอร์แต่ละแบบจะมีข้อดีข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป การจะเลือกใช้
คอนเวอร์เตอร์แบบใดสำาหรับสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายนั ้นมีข้อควรพิจารณาจาก
ลักษณะพื้นฐานของคอนเวอร์เตอร์แต่ละแบบดังนี้คือ
• ลักษณะการแยกกันทางไฟฟ้ าระหว่างอินพุตกับเอาต์พุตของคอนเวอร์
เตอร์
• ค่าแรงดันอินพุตที่จะนำ ามาใช้กับคอนเวอร์เตอร์
• ค่ากระแสส่งสุดที่ไหลผ่านเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ในคอนเวอร์เตอร์ขณะ
ทำางาน
• ค่าแรงดันส่งสุดที่ตกคร่อมเพาเวอร์ทรานซิสเคอร์ในคอนเวอร์เตอร์ขณะ
ทำางาน
• การรักษาระดับแรงดันในกรณี ท่ีคอนเวอร์เตอร์มีเอาต์พุตหลายค่าแรงดัน
• การกำาเนิ ดสัญญาณรบกวน RFI/EMI ของคอนเวอร์เตอร์
จากข้อพิจารณาดังกล่าว จะทำาให้ผ้่ออกแบบทราบขีดจำากัดของคอนเวอร์เตอร์
และตัดสินใจเลือกใช้คอนเวอร์เตอร์แบบใดได้ ปั จจุบันได้มีการพัฒนาคอนเวอร์
เตอร์ในร่ปแบบต่างๆ ขึ้นมามากมาย ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะคอนเวอร์เตอร์ท่ี
นิ ยมใช้เป็ นในอุตสาหกรรมของสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย คือ
3.2.1 ฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ (Flyback converter)
3.2.2 ฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์ (Forward converter)
3.2.3 พุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์ (Push-Pull converter)
3.2.4 ฮาล์ฟบริดจ์คอนเวอร์เตอร์ (Half-Bridge converter)
3.2.5 ฟ่ลบริดจ์คอนเวอร์เตอร์ (Full-Bridge converter)
คอนเวอร์เตอร์ทัง้ 5 แบบนี้ มีลก ั ษณะการทำางานที่ไม่แตกต่างกันจนเกินไปนั ก
และค่อนข้างง่ายต่อการทำาความเข้าใจและศึกษา คอนเวอร์เตอร์เหล่านี้ยัง
สามารถแบ่งย่อยได้อีกหลายประเภทโดยการเพิ่มเทคนิ คบางประการให้กบ ั คอน
เวอร์เตอร์ ในที่นี้จะกล่าวถึงแต่เพียงการทำางานพื้นฐานเท่านั ้น
3.2.1 ฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์

รูปที่2 CNV-1 วงจรพื้นฐานของฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์


จากร่ปที่2 CNV-1 เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ Q1 ในฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์จะ
ทำางานในลักษณะเป็ นสวิตช์ และจะนำ ากระแสตามคำาสัง่ ของพัลส์ส่ีเหลี่ยมที่
ป้ อนให้ทางขาเบส เนื่ องจากหม้อแปลง T1 จะกำาหนดขดไพรมารี่และขดเซคัน
ดารี่ให้มีลก
ั ษณะกลับเฟสกันอย่่ ดังนั ้นเมื่อ Q1 นำ ากระแส ไดโอด D1 จึงอย่่
ในลักษณะถ่กไบแอสกลับและไม่นำากระแส จึงมีการสะสมพลังงานที่ขด
ไพรมารี่ของหม้อแปลง T1 แทน เมื่อ Q1 หยุดนำ ากระแส สนามแม่เหล็ก T1
ยุบตัวทำาให้เกิดการกลับขัว้ แรงดันที่ขดไพรมารี่และเซคันดารี่ D1 ก็จะอย่่ใน
ลักษณะถ่กไบแอสตรง พลังงานที่สะสมในขดไพรมารี่ของหม้อแปลงก็จะถ่ก
ถ่ายเทออกไปยังขดเซคันดารี่ และมีกระแสไหลผ่านไดโอด D1 ไปยังตัวเก็บ
ประจุเอาต์พุต Co และโหลดได้ ค่าของแรงดันทีเอาต์พุตของคอนเวอร์เตอร์จะ
ขึ้นอย่่กับค่าความถี่การทำางานของ Q1 ช่วงเวลานำ ากระแสของ Q1 อัตราส่วน
จำานวนรอบของหม้อแปลง และค่าของแรงดันที่อินพุต เมื่อวงจรทำางานอย่่ใน
สภาวะคงที่ ค่าแรงดันเอาต์พุตที่ได้จากคอนเวอร์เตอร์จะเป็ นไปตามสมการ

T คือคาบเวลาการทำางานของ Q1 เป็ นวินาที


tON คือช่วงเวลา
Np คือจำานวนรอบของขดไพรมารี่
Ns คือจำานวนรอบของขดเซคันดารี่
คือแรงดันที่เอาต์พุตของคอนเวอร์เตอร์
Vout
เป็ นโวลต์
คือแรงดันที่อินพุตของคอนเวอร์เตอร์ เป็ น
Vin
โวลต์
Vce( คือแรงดันตกคร่อม Q1 ขณะนำ ากระแสที่
sat) จุดอิ่มตัว เป็ นโวลต์
คือแรงดันคกคร่อมไดโอด D1 ขณะนำ า
VD
กระแส เป็ นโวลต์
รูปที่3 กราฟแสดงลักษณะกระแสและแรงดันในวงจรขณะทำางาน
ฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์เป็ นคอนเวอร์เตอร์ท่ีให้กำาลังงานได้ไม่ส่งนั ก โดยอย่่
ในช่วงไม่เกิน 150 วัตตุ และให้คา่ สัญญาณรบกวน RFI/EMI ค่อนข้างส่ง แต่
ใช้อุปกรณ์น้อยและมีราคาถ่ก
3.2.2 ฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์

รูปที่4 CNV-2 วงจรพื้นฐานของฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์


วงจรพื้นฐานของฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์แสดงไว้ในร่ป CNV-2 จะเห็นได้ว่า
ฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์มีลักษณะใกล้เคียงกับฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ แต่
พื้นฐานการทำางานจะแตกต่างกัน คือ หม้อแปลงในฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์จะ
ทำาหน้ าที่ส่งผ่านพลังงานในช่วงที่เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์นำากระแส ต่างจาก
ฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ซ่ึงหม้อแปลงจะสะสมพลังงานในช่วงที่เพาเวอร์
ทรานซิสเตอร์นำากระแส แล้วจึงถ่ายเทพลังงานออกไปขณะที่เพาเวอร์
ทรานซิสเตอร์หยุดนำ ากระแส การทำางานของวงจรจะเป็ นดังนี้
เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ Q1 จะทำางานโดยนำ ากระแสและหยุดนำ ากระแสสลับกัน
ไป เมื่อ Q1 นำ ากระแส จะมีกระแส Ip ไหลผ่านขดไพรมารี่ Np และตัวมัน
เนื่ องจากหม้อแปลง T1 ในฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์จำากำาหนดขดไพรมารี่และ
เซคันดารี่ให้มีเฟสตรงกัน ดังนั ้นไดโอด D1 จึงถ่กไบแอสตรง ทำาให้มีกระแส
ไหลที่เซคันดารี่ Ns ผ่านตัวเหนี่ ยวนำ า Lo ไปยังตัวเก็บประจุเอาต์พุต Co และ
โหลดได้ ขณะที่มีกระแสไหลผ่าน Lo จะมีการสะสมพลังงานไว้ในตัวมันด้วย
ส่วนโดโอด D2 จะอย่่ในลักษณะไบแอสกลับ จึงไม่มีการนำ ากระแส เช่น
เดียวกันไดโอด D3 เนื่ องจากขดดีเมกเนไตซิ่ง Nr ถ่กพันไว้ในทิศตรงข้ามกับ
ขดไพรมารี่ Np ไดโอด D3 จึงอย่่ในลักษณะไบแอสกลับ และไมีมีประแสไหล
เมื่อ Q1 หยุดนำ ากระแส ไดโอด D1 จะถุกไบแอสกลับและไม่มีกระแสไหลจาก
ขอเซคันดารี่ Ns แต่ในขณะเดียวกันสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นใน Lo ยุบตัว
ทำาให้มกี ารกลับขัว้ แรงดันที่ Lo ไดโอด D2 จึงถ่กไบแอสตรง พลังงานที่ถ่ก
สะสมไว้ใน Lo จะถุกถ่ายเทออกมาทำาให้มก ี ระแสไหลผ่าไดโอด D2 ไปยังตัว
เก็บประจุ Co และโหลดได้ กระแสที่ไหลผ่านโหลดจึงมีลักษณะต่อเนื่ อง ทัง้ ใน
ช่วงที่ Q1 นำ ากระแสและหยุดนำ ากระแส ทำาให้มก ี ารกระเพื่อมของแรงดันที่
เอาต์พุตตำ่ากว่าฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ในขณะที่ Q1 หยุดนำ ากระแส สนาม
แม่เหล็กที่ตกค้างภายในหม้อแปลงจะมีการยุบตัวและกลับขัว้ แรงดันที่ขด Np,
Ns และ Nr ไดโอด D3 จะอย่่ในลักษณะถ่กไบแอสตรง ทำาให้มีการถ่ายเท
พลังงานที่เหลือค้างนี้ออกไปได้ ขดลวดดีแมกเนไตซิ่ง Nr และไดโอด D3 นี้มี
ความสำาคัญมาก เพราะถ้าไม่มีการถ่ายเทพลังงานที่ตกค้างออกไปจากขด
ไพรมารี่ในขณะที่ Q1 หยุดนำ ากระแส เมื่อ Q1 เริ่มนำ ากระแสอีกครัง้ สนามแม่
เหล็กที่หลงเหลืออย่่จะทำาให้ Q1 เป็ นอัตรายได้

รูปที่5 กราฟแสดงลักษณะกระแสและแรงดันในวงจรขณะทำางาน
สำาหรับฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์ เมื่อวงจรทำางานอย่่ในสภาวะคงที่ ค่าแรงดัน
เอาต์พุตที่ได้จากคอนเวอร์เตอร์จะเป็ นไปตามสมการ

ฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์ให้กำาลังงานได้ในช่วงเดียวกับฟลายแบคคอนเวอร์
เตอร์ (ในช่วง 100 - 200 วัตต์) แต่กระแสที่ได้จะมีการกระเพื่อมตำ่ากว่า
อย่างไรก็ตาม ตัวอุปกรณ์ท่ีเพิ่มเข้ามาจะให้มีราคาส่งกว่า
3.2.3 พุช-พูลคอนเวอร์เตอร์
พุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์เป็ นคอนเวอร์เตอร์ท่ีจ่ายกำาลังได้ส่ง ในช่วง 200
- 1000 วัตต์ แต่มีข้อเสียคือมักเกิดการไม่สมมาตรของฟลักศ์แม่เหล็กของ
แกนหม้อแปลง ซึ่งจะมีผลต่อการพังเสียหายของเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ได้ง่าย
ในปั จจุบันเทคนิ คการควบคุมแบบควบคุมกระแสช่วยลดปั ญหานี้ลงได้ ดังนั ้น
พุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์จึงเป็ นคอนเวอร์เตอร์ท่ีน่าสนใจสำาหรับสวิตชิ่งเพาเวอร์
ซัพพลายที่ต้องการกำาลังส่ง
การทำางานของพุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์ เปรียบเสมือนการนำ าฟอร์เวิร์ด
คอนเวอร์เตอร์สองชุดมาทำางานร่วมกัน โดยผลัดกันทำางานในแต่ละครึ่งคาบ
เวลาในลักษณะกลับเฟส ทำาให้จ่ายกำาลังได้ส่ง เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ในวงจร
ยังคงมีแรงดันตกคร่อมในขณะหยุดนำ ากระแสค่อนข้างส่งเช่นเดียวกับฟลาย
แบคและฟอร์เวิร์ดคอนเวอร์เตอร์ รวมทัง้ ปั ญหาการเกิดฟลักซ์ไม่สมมาตรใน
แกนเฟอร์ไรต็ของวงจรทำาให้เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์พังเสียหายง่าย พุช-พ่ลคอน
เวอร์เตอร์เป็ นพื้นฐานของ Î าล์ฟบริดจ์ และฟ่ลบริดจ์คอนเวอร์เตอร์ซ่ ึงมีการ
ทำางานคล้ายกัน แต่มีข้อบกพร่องน้ อยกว่า

รูปที่6 CNV-3 วงจรพื้นฐานของพุช-พูลคอนเวอร์เตอร์


วงจรพื้นฐานของพุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์ แสดงไว้ในร่ป CNV-3 จากร่ป Q1
และ Q2 จะสลับกันทำางานโดยผลัดกันนำ ากระแสในแต่ละครึ่งคาบเวลา T ใน
ขณะที่ Q1 นำ ากระแสจะมีกระแส Ip ไหลผ่านขดไพรมารี่ Np1 และไดโอด
D1 จะถ่กไบแอสกลับ ส่วนไดโอด D2 จะถ่กไบแอสตรง ทำาให้มีกระแสไหลที่
ขดไพรมารี่ Ns2 ผ่านไดโอด D2 และ Lo ไปยังตัวเก็บประจุ Co และโหลด ใน
จังหวะนี้แรงดันตกคร่อม Q2 จะมีค่าเป็ น 2Vin (จำานวนรอบ Np1 = Np2
และ Ns1 = Ns2) ในทำานองเดียวกันขณะที่ Q2 นำ ากระแส Q1 และ D2
จะไม่นำากระแสเนื่ องจากถ่กไบแอสกลับ D1 ซึ่งถ่กไบแอสตรงจะนำ ากระแสจาก
ขดเซคันดารี่ Ns1 ผ่าน Lo ไปยังตัวเก็บประจุ Co และโหลด จะเห็นได้วา่ ใน
หนึ่ งคาบเวลาการทำางาน ขดเซคันดารี่จะให้กระแสไหลผ่าน Lo ได้ถึงสองครัง้
พุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์จึงสามารถจ่ายกำาลังงานได้มากเป็ นสองเท่าของฟอร์เวิร์ด
คอนเวอร์เตอร์ท่ีค่ากระแสส่งสุดด้านไพรมารี่มีค่าเท่ากัน และโหลดมีกระแส
ไหลต่อเนื่ องตลอดเวลา กระแสที่ได้ทางเอาต์พุตจึงค่อนข้างเรียบ
3.2.4 ฮาล์ฟบริดจ์คอนเวอร์เตอร์
ฮาล์ฟบริดจ์คอนเวอร์เตอร์จัดอย่่ในตระก่ลเดียวกับพุชพ่ลคอนเวอร์เตอร์
แต่ลักษณะการจัดวงจรจะทำาให้เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ในวงจรมีแรงดันตก
คร่อมขณะหยุดนำ ากระแสเพียงค่าแรงดันอินพุตเท่านั ้น ทำาให้เพาเวอร์
ทรานซิสเตอร์ท่ีใช้มีราคาถ่ก และหาได้ง่ายกว่า และลดข้อจำากัดเมื่อใช้กับระบบ
แรงดันไฟส่งได้มาก รวมทัง้ ยังไม่มีปัญหาการไม่สมมาตรของฟลักซ์ในแกน
เฟอร์ไรต์ของหม้อแปลงได้ด้วย

รูปที่7 CNV-4 วงจรพื้นฐานของ Î าล์ฟบริดจ์คอนเวอร์เตอร์


วงจรพื้นฐานของ Î าล์ฟบริดจ์คอนเวอร์เตอร์แสดงไว้ในร่ป CNV-4 การทำางาน
เป็ นดังต่อไปนี้ ตัวเก็บประจุ C1 และ C2 ถ่กกำาหนดให้มีค่าเท่ากัน ต่ออนุกรม
กันอย่่ทางด้านอินพุตเพื่อแบ่งครึ่งแรงดัน แรงดันตกคร่อม C1 และ C2 จึงมี
ค่าเท่ากับครึ่งหนึ่ งของแรงดันที่อินพุต เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ Q1 และ Q2 จะ
สลับกันทำางานคนละครึ่งคาบเวลาเช่นเดียวกับพุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์ เพื่อให้
ง่ายต่อการพิจารณาวงจร จะพิจารณาในกรณี ท่ีไม่มีตัวเก็บประจุ Cb ต่อย่่ใน
วงจร โดยให้ปลายของขดไพรมารี่ Np ที่ต่ออย่่กับ Cb นั ้นต่อโดยตรงเข้ากับจุด
ต่อระหว่างตัวเก็บประจุ C1 และ C2 ดังแสดงในร่ป CNV-5
รูปที่8 CNV-6 (บน) ขณะ Q1 นำ ากระแส (ล่าง) ขณะ Q2 นำ ากระแส
เมื่อ Q1 เริ่มนำ ากระแส และ Q2 ไม่นำากระแส แรงดันตกค่อม Q2 จะมีค่า
เท่ากับ Vin-Vce(sat) ส่วนแรงดันตกคร่อมของไพรมารี่ Np จะมีค่าเท่ากับ
Vc1 - Vce(sat) หรือมีค่าเท่ากับ Vin/2 - Vce(sat) นั่ นเอง ในทำานอง
เดียวกัน เมื่อ Q2 นำ ากระแส และ Q1 ไม่นำากระแส แรงดันตกคร่อม Q1 จะมี
ค่าเท่ากับ Vin-Vce(sat) เช่นเดียวกัน แรงดันตกคร่อมที่ขดไพรมารี่ Np ก็ยัง
คงมีค่าเท่ากับ Vin/2 - Vce(sat) เนื่ องจาก Vce(sat) มีค่าประมาณ 0.5-
1 โวลต์ ดังนั ้นจะเห็นได้ว่าแรงดันตกคร่อม Q1 และ Q2 ขณะหยุดนำ ากระแส
จะมีค่าเพียงแรงดันอินพุตเท่านั ้น ผลของการทำางานของ Q1 และ Q2 ที่ด้าน
เซคันดารี่จะมีลักษณะเดียวกันกับพุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์
3.2.5 ฟูลบริดจ์คอนเวอร์เตอร์
ฟ่ลบริดจ์คอนเวอร์เตอร์ ขณะทำางานจะมีแรงดันตกคร่อมขดไพรมาี่
เท่ากับแรงดันอินพุต แต่แรงดันตกคร่อมเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์มีค่าเพียงครึ่ง
หนึ่ งของแรงดันอินพุตเท่านั ้น และค่ากระแสส่งสุดที่เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์
แต่ละตัวนั ้น มีคา่ เป็ นครึ่งหนึ่ งของค่ากระแสส่งสุดใน Î าล์ฟบริดจ์คอนเวอร์
เตอร์ท่ีกำาลังขาออกเท่ากัน เนื่ องจากข้อจำากัดด้านเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ลด
น้ อยลงไป กำาลังงานส่งสุดที่ได้จากฟ่ลบริดจ์คอนเวอร์เตอร์จึงมีค่าส่ง ตัง้ แต่
500 - 1000 วัตต์
รูปที่9 CNV-6 วงจรพื้นฐานของฟูลบริดจ์คอนเวอร์เตอร์
วงจรพื้นฐานของฟ่ลบริดจ์คอนเวอร์เตอร์แสดงในร่ปที่9 CNV-6 เพาเวอร์
ทรานซิสเตอร์ทัง้ 4 ตัวจะทำางานโดยนำ ากระแสและหยุดนำ ากระแสสลับกันเป็ น
ค่่ๆ ในแต่ละครึ่งคาบเวลา Q1 และ Q4 จะนำ ากระแสพร้อมกันในครึ่งคาบเวลา
และเมื่อหยุดนำ ากระแส Q2 และ Q3 จะนำ ากระแสพร้อมกันในครึ่งคาบเวลาที่
เหลือ สลับกันเช่นนี้เรื่อยไป ลักษณะการทำางานของวงจรที่ได้จึงเป็ นเช่นเดียว
กับ Î าลฟ์ บริดจ์คอนเวอร์เตอร์ ยกเว้นแรงดันตกคร่อมขดไพรมารี่จะมีค่าเท่ากับ
Vin - 2Vce(sat) ดังนั ้นผลของการทำางานของวงจรจึงเหมือนกับผลที่ได้จาก
พุช-พ่ล คอนเวอร์เตอร์นั้นเอง ส่วนตัวเก็บประจุบล็อกกิง้ Cb จะมีผลเช่นเดียว
กับวงจร Î าล์ฟบริดจ์คอนเวอร์เตอร์ จะเห็นได้ว่าแรงดันที่ตกคร่อม Q1 และ
Q4 ขณะหยุดนำ ากระแสจะมีค่าเท่ากับ Vin-Vceq2(sat) และ Vin-
Vceq3(sat) ตามลำาดับ ส่วแรงดันที่ตกคร่อม Q2 และ Q3 ขณะหยุดนำ า
กระแสก็จะมีคา่ Vin-Vceq1(sat) และ Vin-Vceq4(sat) ตามลำาดับเช่น
เดียวกัน ส่วนไดโอด D3-D6 ทำาหน้ าที่เป็ นคอมมิวเตติง้ ไดโอดให้กับวงจร เพื่อ
ป้ องกัน Q1-Q4 เช่นเดียวกับ Î าล์ฟบริดจ์คอนเวอร์เตอร์
3.3 วงจรควบคุม
เนื่ องจากคอนเวอร์เตอร์เกือบทุกแบบจะคงค่าแรงดันเอาต์พุตได้ด้วยการ
ควบคุมช่วงเวลานำ ากระแส (tON) ของ เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ ดังนั ้นวงจร
ควบคุมการทำางานของคอนเวอร์เตอร์โดยทัว่ ไปจึงมักนิ ยมใช้เทคนิ คพัลส์วิดท์
มอด่เลชัน่ (Pulse Width Modulation - PWM) เป็ นหลัก การใช้ PWM
เพื่อควบคุมช่วงเวลานำ ากระแสของเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ในคอนเวอร์เตอร์
สามารถทำาได้สองลักษณะ คือ ควบคุมจากแรงดัน และ ควบคุมจากกระแส
3.3.1 วงจรควบคุมในโหมดควบคุมจากแรงดัน
การทำางานของวงจรควบคุมในโหมดแรงดัน (Voltage Mode
Control) จะอาศัยการตรวจจับการเปลี่ยนแปลงค่าของแรงดันที่เอาต์พุตมา
ควบคุมช่วงเวลานำ ากระแสของเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ เพื่อการคงค่าแรงดัน
เอาต์พุตเป็ นหลัก วงจรพื้นฐานเป็ นดังร่ปที่10 CNT-1

รูปที่10 CNT-1 แสดงวงจรพื้นฐานสำาหรับการควบคุมในโหมดควบคุมจาก


แรงดัน
จากร่ป วงจรควบคุมจะอาศัยการป้ อนกลับค่าแรงดันที่เอาต์พุตและเปรียบเทียบ
กับแรงดันอ้างอิง Vref ของวงจร เพื่อตรวจจับการเปลี่ยนแปลงของแรงดันที่
เอาต์พุต ค่าความแตกต่างที่ได้จะถ่กขยายโดยวงจรขยายความแตกต่าง E/A
ก่อนที่จะส่งต่อไปยังวงจร PWM โดยค่าแรงดันที่ได้จากวงจรขยายความแตก
ต่าง E/A ที่ตำาแหน่ ง A จะถุกเปรียบเทียบกับแรงดันร่ปฟั นเลื่อยที่ตำาแหน่ ง B
ของ PWM อีกครัง้ หนึ่ ง เอาต์พุตที่ได้จากวงจร PWM จะมีลก ั ษณธเป็ นพลัส์
สี่เหลี่ยม ซึ่งมีคาบเวลาคงที่เท่ากับคาบเวลาของแรงดันร่ปฟั นเลื่อยและมีความ
กว้างของพัลส์ซ่ึงเปลี่ยนแปลงไปคามผลมอด่แลชัน ่ ของค่าแรงดันที่ตำาแหน่ ง A
และ B ค่าความกว้างของพัลส์นี้เองที่จะเป็ นตัวกำาหนดช่วงเวลานำ ากระแสของ
เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ในคอนเวอร์เตอร์

รูปที่11 CNT-2 แสดงลักษณะความกว้างของพัลส์จาก PWM


เนื่ องจากค่าแรงดันป้ อนกลับจะถ่กส่งมายังวงจรขยายความแตกต่าง E/A ที่ขา
อินเวอร์ติง้ ผลต่างของแรงดันเอาต์พุต และแรงดันอ้างอิงที่จุด A จึงมีลักษณะ
กลับเฟสอย่่ 180 องศา กล่าวคือ เมื่อแรงดันเอาต์พุตมีค่ามากขึ้น แรงดันที่จด ุ
A จะมีคา่ ลดลง ความกว้างของพัลส์ท่ีเอาต์พุตของวงจร PWM จึงมีค่าลดลง
ด้วย และช่วงเวลานำ ากระแสของเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ tON ก็จะมีค่าลดลง ถ้า
แรงดันเอาต์พุตมีค่าลดลง แรงดันที่จุด A จะมีค่าเพิ่มขึ้น ความกว้างพัลส์ท่ี
เอาต์พุตของวงจร PWM จึงมีคา่ เพิ่มขึ้น tON ก็จะมีค่าเพิ่มขึ้น ทำาให้คอนเวอร์
เตอร์สามารถคงค่าแรงดันเอาต์พุตไว้ได้ ลักษณะร่ปคลื่นแรงดันขณะวงจร
ทำางานจะเป็ นดังร่ปที่ CNT-2 ตัวอย่าง IC ที่ใช้ควบคุมคอนเวอร์เตอร์ในโหมด
ควบคุมจากแรงดันได้แก่ MC34060, MC34166 และ TL494 เป็ นต้น
3.3.2 วงจรควบคุมในโหมดควบคุมจากกระแส
การคงค่าแรงดันเอาต์พุตของคอนเวอร์เตอร์ ด้วยวงจรควบคุมใน
โหมดควบคุมจากกระแส (Current Mode Control) มีข้อดีหลายประการที่
เหนื อกว่าโหมดควบคุมจากแรงดัน จึงเป็ นวงจรควบคุมที่นิยมใช้กันมาก วงจร
ควบคุมในโหมดควบคุมจากกระแสนี้ยังคงใช้เทคนิ คพัลส์วิดท์มอด่เลชัน ่ เช่นกัน
วงจรพื้นฐานแสดงในร่ป CNT-3

รูปที่11 CNT-3 วงจรพื้นฐานสำาหรับการควบคุมในโหมดควบคุมจากกระแส


เพื่อให้ง่ายต่อการพิจารณา เราจะแยกคิดการทำางานของวงจรควบคุมด้วยการตัด
วงจรขยายความแตกต่าง E/A ออกไปก่อน และกำาหนดขาอินเวอร์ติง้ ของวงจร
เปรียบเทียบให้ต่อเข้ากับแรงดันอ้างอิง Ver ดังร่ปที่12 CNT-4 วงจร latch
จะทำางานโดยขา Q ของวงจร latch จะมีสถานะเป็ น high เมื่อมีการกระตุ้นที่
ขา S และขา Q จะมีสถานะเป็ น low เมื่อมีการกระตุ้นที่ขา R

รูปที่12 CNT-4 วงจรควบคุมเมื่อตัดตัวขยายความแตกต่างออก


เมื่อวงจรทำางาน วงจรกำาเนิ ดสัญญาณนาฬิกา จะให้กำาเนิ ดสัญญาณนาฬิกาที่มี
คาบเวลาคงที่ไปกระคุ้นที่ขา S ของ latch ขา Q จึงมีสถานะเป็ น high เพา
เวอร์ทรานซิสเตอร์ Q1 จะเริ่มนำ ากระแส เมื่อ Q1 นำ ากระแสจะมีกระแสไหล
ผ่านขดไรมารี่และตัวต้านทาน Rs ที่ต่ออนุกรมไว้กบั Q1 ทำาให้เกิดแรงดัน Vs
ตกคร่อมที่ตัวต้านทาน Rs ด้วย แรงดันตกคร่อม Rs ที่เกิดขึ้นจะถ่กเปรียบ
เทียบกับแรงดันอ้างอิง Ver โดยวงจรเปรีบยเทียบ ดังนั ้นเมื่อค่าของ Vs เพิ่ม
ขึ้นจนมีค่ามากกาว่าค่าของแรงดันอ้างอิง Ver เอาต์พุตของวงจรเปรียบเทียบจะ
มีสถานะเป็ น High และไปกระตุ้นที่ขา R ของวงจร latch ทำาให้ขา Q มี
สถานะเป็ น low และเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ Q1 หยุดนำ ากระแส จนกว่าที่ขา
S ของวงจร latch จะได้รบ ั การกระตุ้นจากสัญญาณนาฬิกาอีกครัง้ จะเห็นได้
ว่าความกว้างของเอาต์พุตพัลส์ท่ีขา Q ของวงจร latch จะถ่กควบคุมโดยค่า
ของแรงดัน Vs ที่ตกคร่อมตัวต้านทาน Rs ถ้าค่าแรงดันอินพุตของคอนเวอร์
เตอร์มีค่าเพิ่มขึ้น แรงดัน Vs จะเพิ่มขึ้นจนมีค่ามากกว่าแรงดันอ้างอิง Ver ได้
เร็วขึ้นด้วย ทำาให้ความกว้างของเอาต์พุตพัลส์ลดลง เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์จะมี
ช่วงเวลานำ ากระแสน้ อยลง ในทางกลับกัน ถ้าแรงดันอินพุตของคอนเวอร์เตอร์
มีค่าลดล แรงดัน Vs จะเพิ่มขึ้นได้ช้า ความกว้างของเอาต์พุตพัลส์จึง เพิ่มขึ้น
เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์จะมีช่วงเวลานำ ากระแสมากขึ้นด้วย จะเห็นได้ว่าเมื่อโหลด
คงที่ คอนเวอร์เตอร์จะสามารถคงค่าแรงดันเอาต์พุตเมื่อมีการเปลี่นแปลงของ
แรงดันอินพุตได้ โดยไม่ต้องอาศัยการป้ อนกลับแรงดันที่เอาต์พุตเลย ทำาให้
คอนเวอร์เตอร์ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของแรงดันอินพุตได้อย่างรวดเร็ว
พิจารณาวงจรควบคุมอีกครัง้ ตามวงจรในร่ปที1 ่ 1 CNT-3 เมื่อต่อวงจรขยาย
ความแตกต่าง E/A เพิ่มเข้ามา วงจรในลักษณะนี้เมื่อแรงดันเอาต์พุตมีค่าลดลง
เอาต์พุตของวงจรขยายความแตกต่าง E/A จะมีค่ามากขึ้น เพาเวอร์
ทรานซิสเตอร์จะใช้เวลานำ ากระแสมากขึ้นด้วย เพื่อให้ค่าแรงดัน Vs มากกว่า
แรงดันที่เอาตพุตของวงจรขยายความแตกต่าง E/A ในทางกลับกัน เมื่อแรงดัน
เอาตุพุตของคอนเวอร์เตอร์มีค่าเพิ่มขึ้น เอาต์พุตของวงจรขยายความแตกต่าง
E/A จะมีคา่ ลดลง เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์จึงใช้เวลานำ ากระแสลดลงด้วย ดังนั ้น
คอนเวอร์เตอร์จะสามารถคงค่าแรงดันที่เอาต์พุตเอาไว้ได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ที่โหลด ลักษณะร่ปคลื่นและแรงดันขณะที่วงจรทำางานเป็ นดังร่ปที่13 CNT-5

รูปที่13 CNT-5 ลักษณะการทำางานที่จุดต่างๆ ของวงจร


จากลักษณะการทำางานดังกล่าว ทำาให้วงจรควบคุมในโหมดควบคุมจากกระแส
มีข้อดีมากกว่าวงจรควบคุมในโหมดควบคุมจากแรงดันดังนี้
• ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของแรงดันอินพุตได้รวดเร็วกว่า ทำาให้ลด
ปั ญหาการคงค่าแรงดันที่เอาต์พุตเมื่อเกิดทรานเซียนส์และการกระเพื่อม
ของแรงดันส่งที่แรงดันอินพุต เพราะไม่ต้องรอสัญญาณป้ อนกลับจาก
เอาต์พุต
• สามารถป้ องกันกระแสโหลดเกินได้ ด้วยการจำากัดค่ากระแสส่งสุดที่ขด
ไพรมารี่ในลักษณะพัลส์ต่อพัลส์อย่างรวดเร็ว
• ให้คา
่ ไลน์เรก่เลชัน
่ ที่ดีมาก
• โดยการจำากัดกระแสส่งสุดที่ขดไพรมารี่ ปั ญหาการไม่สมมาตรฟลักซ์แม่
เหล็กของพุช-พ่ลคอนเวอร์เตอร์จะไม่เกิดขึ้น
• สามารถต่อขนานคอนเวอร์เตอร์หลายชุดเข้าด้วยกันได้ เพื่อให้จ่ายกระแส
ได้มากขึ้น และกระแสเฉลี่ยที่คอนเวอร์เตอร์แต่ละชุดจะมีค่าเท่ากัน
3.4 การป้ อนกลับแบบเชื่อมโยงทางแสง (Optocoupled feedback)
ออปโต้คัปเปอร์ให้ความเหมาะสมในหลาย ๆ ทาง เมื่อใช้ในการแยกการ
ป้ อนกลับ ร่ปที่ 10 แสดงวงจร ทางทุติยภ่มิ 5 โวลท์ของสวิทชิ่งเร็คก่เลเตอร์
ถ้าแรงดันเอ้าท์พุทมีค่าลดลงตำ่ากว่า 2.5 V และกระแส LED ของออปโต้คัป
เปอร์ก็จะลดลง ทำาให้กระแสเอ้าท์พุททรานซิสเตอร์ของออปโต้คัปเปอร์ลดลง
ตาม VFB จะ เพิ่มขึ้น จนกระทัง้ แรงดันเอ้าท์พุทกลับไปอย่่ท่ี 5 โวลท์ตามเดิม

ร่ปที่14 10 ออปโต้คับเปอร์ ฟี คแบคเป็ นตัวสร้างสัญญาณควบคุม โดยแยก


ออกจากวงจรทางเอ้าท์พุท

3.5 การเลือกใช้ IC
เมื่อสวิทชิ่งเร็คก่เตอร์เกิดมีปัญหาขึ้นมา วิธีตรวจสอบให้ขัน
้ แรกคือด่ว่า
อินพุทเพาเวอร์และเอ้าท์พุท เกิดการช้อตหรือไม่, สายหลุด, คอนเน็คเตอร์ไม่
ปกติ จุดบัดกรีเกิดความเสียหายขึ้น หน้ าขัว้ สัมผัสทองแดง เสียหรือไม่ อุปกรณ์
มีการไหม้หรือเปล่า ฮลฮ ซึ่งบ่อยครัง้ เมื่อเราตรวจด่ด้วยสายตาแล้ว เราสามารถ
หาจุดเสีย ได้ง่าย ๆ อย่างน่ าประหลาดใจ
ตารางที่ 1 สรุปการเลือกใช้ ไอซีสวิทชิ่งเร็คก่เลเตอร์
Output(
Mode Single or Pack I Refer
IC Family Manufactures Supply out Comments
VorI PushPull age Max ence
)

CS,ERIC,EXAR, GE,IPS,LT,MOT, 100 5 or


3524/5/7 V P-P 16 Pin 8-35V See Article.
NAT,SGS,SIL, SLG,TI,UNI mA 5.1 V

8 (or
CS,ERIC,IPS, LT,MOT,SGS,
3842-7 I S 8 Pin 16) - 1A 5V See Article.
SIG,TI,UNI
25V

Micropower for
battery
2.4 - 150
4191-3 MAX, RAY V S 8 Pin 1.31 V applications,
30V mA
200uA quiescent
supply current.

Inverting,
micropower for
4 to 100 battery
4391 MAX, RAY V S 8 Pin 1.25 V
30V mA applications,
250uA supply at
4V.

16 10.5 - 40 Full-featured.
5560 5562 V S Pin 18V 10 mA 3.72 V Flexible. Lower
CS, IPS, SIG 20 - 16V , 100 3.80 V cost, fewer
5561 V S Pin 8 10.5 - mA , 3.75 V housekeeping
Pin 18V 20 mA functions.

16 Pin
493/4/5 CS, EXAR, GS, IPS, MOT, NAT, TI, 200
V P-P or 18 7 - 40V 5V
593/4/5 UNI mA
Pin

2.5 - Universal
uA78S40 MOT, NAT V S 16 Pin 1.5 V 1.24 V
40V subsystem IC.

100
125/7 IPS, SIL V P-P 16 Pin 8 - 35V 5.1 V
mA

33060/
500
34060/ IPS, MOT V S 14 Pin 7 - 40V 5V
mA
35060

20 mA
into 5V
1060 IPS, PLES V S 16 Pin shunt 40 mA 3.7 V
regulato
r

LT1070 LT I S 5 Pin 3 - 40V 5A 1.24V Self-contained


Power power IC

You might also like