You are on page 1of 25

โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์

มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม

ระบบควบคุ มเบื้ องต้น

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ความหมายของระบบควบคุ ม
ระบบ (System) คือการทำงานร่วมกันเพือ ่ จุด
ประสงค์เดียวกันให ้เกิดผลสำเร็จ
ระบบควบคุม (Control System) คือการจัดองค์
ประกอบสว่ นต่าง ๆ ให ้มีการทำงานสม ั พันธ์กน ั เพือ

บังคับหรือปรับปรุงให ้ระบบทำงานตามทีต ่ ้องการ
แพล้น (Plant) คือ สงิ่ ทีจ
่ ะถูกควบคุม อาจเป็ น
เครือ
่ งมือ เครือ ้
่ งจักร หรืออุปกรณ์ทใี่ ชในการทำงาน
ดิสเตอร์บลานต์ (Disterbance) คือ สญ ั ญาณ
รบกวนทีเ่ ข ้ามาในระบบทำให ้ค่าเอาต์พต ุ ของระบบ
เปลีย่ นไป
การควบคุมป้อนกล ับ (Feedback) คือ การ
พยายามลดค่าแตกต่างระหว่างเอาต์พต
ุ กับค่าอ ้างอิง
(Set point) หรือ อินพุต
ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ความหมายของระบบควบคุ ม
ระบบการควบคุมป้อนกล ับ (Feedback Control
System) คือ ระบบการควบคุมทีร่ ักษาค่าเอาต์พท ุ ได้
ใกล้เคียงก ับค่าอินพุต โดยมีการเปรียบเทียบ

สญญานท งสองนี
ั้ ้ ผลจากการเปรียบเทียบจะเป็น

ค่าผิดพลาด (Error) ซงึ่ เป็นส์ ญญาณที ้ ้ อนเข้าสู่
ใ่ ชป
เซอร์โวแมคคานิกส (Servomechanism) คือ ระบบ
ต ัวควบคุม (Control)
ควบคุมป้ อนกลับ โดยทีเ่ อาต์พต ุ อยูใ่ นรูปของตำแหน่ง
(Position) ความเร็ว (velocity) หรือ อัตราเร่ง (Acceleration)
ออโตเมติก เรคกูเรติง้ (Automatic Regulating System )
คือ ระบบควบคุมป้ อนกลับซงึ่ รักษาค่าเอาต์พต ุ ให ้คงที่
ตามการเปลีย
่ นแปลงของค่าอ ้างอิงหรืออินพุต
ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
พื้ นฐานของระบบควบคุ ม
ระบบการควบคุม คือ รูปแบบของระบบใด ๆ
ทีม่ ก
ี ารจ ัดองค์ประกอบต่าง ๆ ภายในระบบเพือ ่ ให้
มีผลตอบสนองของระบบเป็นไปตามทีต ่ อ
้ งการ
สว่ นมากอาศยพื ั น ้ ฐานทฤษฎีระบบเชงิ เสน ้ มาชว่ ย
ในการวิเคราะห์ พิจารณาถึงความสมพ ั ันธ์ระหว่าง
เหตุผล (Cause effect) ของแต่ละองค์ประกอบของ
ระบบ ซงึ่ องค์ประกอบทีสำ ่ ค ัญ 3 สว่ นด ังนี้
1) ว ัตถุประสงค์ของการควบคุม (Input)
2) กระบวนการ ขนตอน ั้ หล ักทีใ่ ชใ้ นการ
ควบคุม (Process)
3) ค่าทีไ่ ด้ร ับจริง (Output) ส ั
มพ ันธ์ แห
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
พื้ นฐานของระบบควบคุ ม

อินพุ เอาต์


ระบบที ต้องการควบคุ มพุต

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม

1) ระบบควบคุมแบบเปิ ด (Open-loop control


system)
2) ระบบควบคุมแบบปิ ด (Closed-loop control
system)

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม
1) ระบบควบคุมแบบเปิ ด (Open-loop
control system)
เป็ นระบบทีค
่ า่ เอาต์พต
ุ ไม่มผ
ี ลต่อการควบคุม
ขบวนการของระบบ คือ ไม่มก ี ารนำเอาค่าเอาต์พต ุ ที่
ได ้กลับมาเปรียบเทียบกับค่าอินพุตทีป ่ ้ อนให ้กับ
ระบบ

อินพุต ตัวควบคุ ม ขยวนการเอาต์พต


ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม
1) ระบบควบคุมแบบเปิ ด (Open-loop
control system)
V2

h V1

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม
1) ระบบควบคุมแบบเปิ ด (Open-loop
control system)
ระดับน้ำ ระดับน้ำ
ที่ ต้องการ ตัวควบคุ ม วาลว
์ ถังน้ำ ่
ที แท้จริ ง
- ไม่มก ั ญาณทางด ้านเอาต์พต
ี ารนำสญ ุ ป้ อนกลับ
ทางด ้านอินพุต
- ระบบไม่มค ั ซอน
ี วามซบ ้
- ระบบใชกั้ บงานทีไ่ ม่ต ้องการความแม่นยำ
- เป็ นระบบควบคุมทีป
่ ระหยัด
ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม
2) ระบบควบคุมแบบปิ ด (Closed-loop
control system)
เป็ นระบบทีนำ ่ สญ ั ญาณจากเอาต์พต ุ ของ
ระบบ ป้ อนกลับมาเปรียบเทียบกับสญ ั ญาณอินพุตที่
ป้ อนให ้กับระบบ ซงึ่ ผลต่างระหว่างสญ ั ญาณทัง้ สอง
ทีนำ
่ มาเปรียบเทียบนัน ้ จะเป็ นค่าผิดพลาด (Error) เพือ

ทีจ ้ นสญ
่ ะใชเป็ ั ญาณป้ อนเข ้าตัวควบคุม (Controller) ให ้
ตัวควบคุมนำไปสร ้างสญ ั ญาณควบคุมใหม่เพือ ่ ลด
ความผิดพลาดทีเ่ กิดขึน ้ ในระบบและทำให ้เอาต์พต ุ
ของระบบเข ้าสูค ่ า่ ทีต
่ ้องการ (Set point)

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม
2) ระบบควบคุมแบบปิ ด (Closed-loop
control system)

อินพุ ค่าผิด เอาต์


ต ตัวควบคุ ม ระบบควบคุ ม พุต
พลา
ด สั ญญา
อุ ปกรณ์ ณ
เปรียบ ควบคุอุมปกรณ์ป้อนกลับ
เที ยบ

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม
2) ระบบควบคุมแบบปิ ด (Closed-loop
control
วาลsystem)
ว์ ตัว
ลม ควบคุม
V2 ลูกลอย

h V1

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
ประเภทของการควบคุ ม
2) ระบบควบคุมแบบปิ ด (Closed-loop
control system)

ระดับ ระดับ
น้ำ ตัวควบคุ ม วาลว
์ ถังน้ำ น้ำ
ที่ ที่ แท้
ต้องกา จริ บ
ร ลู กลอย

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
้ น
1. วิธไี ฮดรอลิก ได้แก่ การใชท ุ่ ลอย
สำหร
วาลว์ ับควบคุมระด ับน้ำ ตัว
ลม ควบคุม
V2 ลูกลอย

h V1

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
2. วิธีควบคุ มด้วยความร้อน ได้แก่ การใช้
แถบโลหะสองชนิ ดผนึ กติดกัน สำหรั บ
ควบคุ มความร้อน เนื่ องจากโลหะต่างชนิ ด
กัน จะยื ดหดไม่เท่ากัน แต่เมื่ อถู กผนึ กติด
กันแล้วมี อุณหภู มิเปลี่ ยนแปลง ทำให้แถบ
โลหะนี้ โก่งงอ เมื่ อตรึงปลายหนึ่ งเอาไว้แล้ว
การโก่งงอนี้ ทำให้อีกปลายหนึ่ งใช้เป็ น
สวิตช์ไฟฟ้าได้ เคร่ื องแบบนี้ มักจะใช้ควบคุ ม
อุ ณหภู มิในตู้ เย็ นหรือห้องปรั บอากาศให้มี
อุ ณหภู มิคงที่ เมื่ ออุ ณหภู มิลดลงจนเย็ นเกิน
ไปปลายแถบโลหะจะถ่างออกจากปุ่ มสั สมพั มผัส
ันธ์ แห
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
3. วิธีควบคุ มด้วยความเฉ่ื อย ได้แก่ การใช้
ระบบตุ้ มเหวี่ ยงสำหรั บควบคุ มความเร็ว เคร่ื อง
แบบนี้ มี ลูกตุ้ มติดกับข้อพับโยงกับแกนหมุ น
ถ้าแกนหมุ นเร็ว จะเหวี่ ยงตุ้ มถ่างออกไปและ
ทำให้ข้อพับกางออก ดึ งกระเดื่ องให้ลดไอ
ทำให้เคร่ื องได้รับเชื้อเพลิงลดลง ถ้าแกนหมุ น
ช้าลู กตุ้ มมี แรงเหวี่ ยงน้อยข้อพับจะถู กสปริงดัน
หุ บเข้าหากัน กดกระเดื่ องให้เปิ ดเพิ่มเชื้อเพลิง
มากขึ้ น ทำให้เคร่ื องหมุ นไม่เร็วและไม่ช้าเกิน
ไป
ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
3. วิธีควบคุ มด้วยความเฉ่ื อย

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
4. วิธคี วบคุมด้วยแสง ได้แก่ การใชโ้ ฟโต
เซลล์ เป็นเครือ ่ งเปลีย่ นพล ังงานแสงให้
กลายเป็นพล ังงานไฟฟ้า เชน ่ โฟโตเซลล์
ทีใ่ ชเ้ ป็นสวิตชไ์ ฟอ ัตโนม ัติสำหร ับโคมไฟ
บนถนนหลวงพอท้องฟ้ามืด สวิตชน ์ ก
ี้ ็ จ ะ
เปิ ดไฟถนนท ันที หล ักการคล้ายก ันนีใ้ ช ้
ก ับเครือ ่ งบ ังค ับเปิ ดปิ ดประตูอ ัตโนม ัติ
เชน ่ รถยนต์ผา่ นไปย ังลำแสงทีฉ ่ ายอยู่
เป็นการกระตุน ้ ให้ระบบอ ัตโนม ัติสง่

สญญาณไปเปิ ดประตู
ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
4. วิธีควบคุ มด้วยแสง

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
5. วิธคี วบคุมด้วยคลืน ่ วิทยุเรดาร์ ได้แก่
การใชค ้ ลืน
่ สะท้อนสำหร ับควบคุมทิศทาง
เชน ่ ปื นต่อสูอ ้ ากาศยาน ซงึ่ ควบคุมการ
ยิงด้วยระบบเรดาร์ เครือ ่ งเรดาร์บน
รถยนต์จะจ ับทิศทางและความเร็วของ
เครือ ่ งบินเป้า และป้อนข้อมูลนีเ้ ข้าเครือ ่ ง
คำนวณแล้วสง่ คำสง่ ั ยิงเป็นสญญาณ ั
กระตุน ั
้ ไปย ังปื นป.ต.อ. สญญาณนี จ้ ะถูก
ขยายกำล ังและหมุนมอเตอร์ปร ับมุมยิง
ของปื นเพือ ่ ยิงด ักความคลาดเคลือ ่ นของ
กระสุนจากเป้าหมายจะถูกเครือ ่ งเรดาร์
ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
5. วิธีควบคุ มด้วยคลื่ นวิทยุ เรดาร์

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
ี ายก ัมม ันตภาพร ังส ี วิธน
6. วิธฉ ี ใี้ ชส ้ ารทีม่ ี
การแผ่ร ังสก ี ัมม ันตภาพเป็นกระบวนที่
ใชไ้ ด้กว้างขวางมากและมีประสท ิ ธิภาพ
จึงนิยมใชค ้ วบคุมในงานอุตสาหกรรม
สม ัยใหม่นานาประเภท ต ัวอย่างเชน ่ ใช ้
ควบคุมความหนาของกระดาษซงึ่ ผลิต
โดยการรีดออกมาด้วยความเร็วสูง เครือ ่ ง
้ แสงก ัมม ันตภาพร ังสฉ
นีใ้ ชลำ ี ายทะลุ
กระดาษ ถ้าความหนาของกระดาษผิดไป
จากทีต ่ งกำหนดเกณฑ์
ั้ เอาไว้ ก็จะทำให้
ความเข้มของร ังสท ี ท
ี่ ะลุผา่ นเปลีย ่ สนไป
ั ันธ์ แห
มพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
6. วิธีฉายกัมมันตภาพรั งสี

ั ันธ์ แห
สมพ
โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส ์
มหาวิทยาล ัยราชภ ัฏจ ันทรเกษม
วิธีการควบคุ มแบบป้อนกลับ
7. วิธน
ี วิ แมติค หรือแรงอ ัดด ันของ
อากาศ ได้แก่ การใชก ้ ล่องแบบโป่ง
แฟบได้คล้ายหีบเพลงชกเพื ั อ
่ ควบคุม
ความด ัน

ั ันธ์ แห
สมพ

You might also like