You are on page 1of 129

พระราชบัญญัตวิ ิธีพจิ ารณาคดีผูบริโภค พ.

พ.ศ.
2551
ปรชญา
ปรัชญา อยู
อยประเสรฐ
ระเสริฐ
12 พฤษภาคม 2552
• ประชาชนในฐานะผูบริโภคหรือผูไดรบั ความเสียหายจาก
สินคาอันตรายตาง ๆ สามารถใชสทิ ธิฟองรองตอแผนกคดี
ผูบริิโภคทีมี่ ีประจําํ อยูในศาลแขวง ศาลจัังหวัดั และศาล
แพงทกแห
แพงทุ กแหงง โดยระบบวิ
โดยระบบวธพจารณาคดผู
ธีพจิ ารณาคดีผบ ริรโภคจะเออตอ
โภคจะเอื้อตอ
การใชสทิ ธิของผููบริโภค เปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว
เที่ยงธรรม และสงเสริมใหผูประกอบการใหความสําคัญ
ตอการพัฒนาคุณภาพสินคาและบริการใหดยี ิ่งขึ้น
• ยื่นฟองสามารถฟองดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได ฟองดวยตนเองหรือ
แตงทนายความ
 หรือื ขอให
ใ ค ณะกรรมการคุม ครองผูบริโิ ภคหรือื สมาคม
ทีค่ ณะกรรมการคุม ครองผูบริโภครับรอง ดําเนินการฟองรองแทนใหก็
ไดโดยไมตองเสียคาฤชาธรรมเนียม และประชาชนที่ไดรับความเสียหาย
จากสินคาทีเ่ ปนอันตรายไมตองเสียคาฤชาธรรมเนียมเชนกัน ซงทงสอง
จากสนคาทเปนอนตรายไมตองเสยคาฤชาธรรมเนยมเชนกน ซึ่งทั้งสอง
กรณีตอ งไมเปนการเรียกคาเสียหายเกินควร ไมเชนนั้นศาลอาจมีคาํ สั่งให
ชําระคาฤชาธรรมเนียมในภายหลังได
• ทีส่ ําคัญการทีผ่ ูบริโภคไมมคี วามรู ขาดขอมูลในหลักฐาน
ที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิตของผูประกอบการ ดังนั้น
ใ ีผูบริโิ ภคจึึงกํําหนดให
ในคดี ใ ภาระการพิสิ จู นเปนหนาทีี่
ของผประกอบการ จงชวยประหยดคาใชจายและเวลาใน
ของผู จึงชวยประหยัดคาใชจายและเวลาใน
การตอสูคู ดีใหกับผูบู ริโภคเปนอยางมาก
ผูผบรโภค
ริโภค
• หมายถึง ผูซื้อหรือผูไดรับบริการจากผูป ระกอบธุรกิจหรือผูซึ่งไดรับการ
เสนอหรือการชักชวนจากผประกอบธรกิ
เสนอหรอการชกชวนจากผู ระกอบธุรกจเพอใหซอสนคาหรอรบ
จเพื่อใหซื้อสินคาหรือรับ
บริการ และหมายความรวมถึงผูใชสินคาหรือผูไดรับบริการจากผู

ประกอบธุ รกิิจโโดยชอบ แมมิไดเปนผูเสีียคาตอบแทนก็็ตาม
• หากยืน่ ฟองในขอพิพาทเกี่ยวกับสิทธิผบู ริโภคที่ไมใชความเสียหายที่เกิด
จากสินคาทีไ่ มปลอดภัยอาจตองเสียคาฤชาธรรมเนียมเอง แตหาก
คณะกรรมการคมครองผู
คณะกรรมการคุ ครองผบรโภคหรอสมาคมทไดรบการรบรองฟองแทน
ริโภคหรือสมาคมที่ไดรับการรับรองฟองแทน
จะไดรับการยกเวนคาฤชาธรรมเนียมเวนแตเปนการเรียกคาเสียหายเกิน
ควร
ความหมาย ผูผบรโภค
ริโภค มาตรามสามกลุ
มาตรามีสามกลม

• 1 กลุม ทีเี่ สียี คาตอบแทน



• 2 กลมุ ที่ไดรับสินคาตัวอยาง
• 3 กลุม ที่ใชโดยไมไดซอื้ แมไมเสียคาตอบแทน เชนเด็ก
กฎหมายที
กฎหมายทเกยวของ
เ่ กี่ยวของ

1 กระทบผูประกอบการ ไมใหเอาเปรียบกัน ไมแขงขันโดยไมเปน


ธรรม เกยวนายทุ
ี่ น ทรพยสนทางปญญา
ั  ิ ป กฎหมายปองกนการ
ป ั
แขงขัน 2542 ยังกันไมได ผููกขาด มีผลทางออม
2 เปนผลโดยตรง เครื่องสําอาง ขายตรง พ.ร.บ.คุมครองผูบ ริโภค ๆ
2522พ.ร.บ.สินคาที่ไมปลอดภัย จาก pl law
สิทธิของผบริรโภค
สทธของผู โภค

1 ไดรับขาวสารรวมทั้งการพรรณนาคุณภาพและบริการ
2 อิสระเลือื กซือ้ื สินคา บริการ ไม
ไ ท อนเปปนลูกอม เศษเงิน
3 สทธไดรบความปลอดภยสนคาและบรการ
ิ ไิ  ั ป ั ิ  ิ
4 สทธรบความเปนธรรมในการทาสญญา
สิทธิรับความเปนธรรมในการทําสัญญา พ.ร.บ.ขอสญญาทไม
พ ร บ ขอสัญญาที่ไม
เปนธรรม
5 สิทธิไดรับการพิจารณาและชดเชยคาเสียหาย
ผูผประกอบธรกิ
ระกอบธุรกจจ
• หมายถึง ผูขาย ผูผลิตเพื่อขาย ผูสั่งหรือนําเขามาในราชอาณาจักรเพือ่ ขาย
หรือื ผูซือ้ เพือื่ ขายตอซึ
 งึ่ สนค
ิ า หรืือผูใหบ รการ
ิ และหมายความรวมถึงึ ผู
ประกอบกิจการโฆษณาดวย
• การยื่นฟองตองเสียคาฤชาธรรมเนียม
• หมายถึง ผูไดรับความเสียหายที่เกิดจากสินคาทีไ่ มปลอดภัย ไมวาจะเปน
ความเสียี หายตอชี
 ีวติ รางกาย
 สุขภาพ อนามยั จตใจิ ใ หรือื ทรพยสน
ั  ิ แต
ไมรวมถึงความเสียหายตอตัวสินคาที่ไมปลอดภัยนั้น
• การยื่นฟองไมตองเสียคาฤชาธรรมเนียมเวนแตเรียกคาเสียหายเกินควร
การคมครองผู
การคุ ครองผบริรโภค
โภค มีมสามดาน
สามดาน
1 ดานโฆษณา
ดานโฆษณา
2 ฉลาก 4 ประเภท
สินคาควบคมฉลาก
สนคาควบคุ
1 สินคาที่ลิตโดยโรงงาน
2 นําํ เขามาขายโดยโรงงาน
โ โ
3 สินคาที่อาจกอใหเกิดอันตราย
4 ประชาชนใชทว่ั ไปเปนประจํา
3 ดานสัญญ
ญญา สัญ ญญ
ญาที่จําเปน
หามใชขอสัญญาที่ไมเปนธรรม
4 โดยประการอน
โดยประการอื่น เช เชนสารเคม
นสารเคมี
สินคาที่อาจเปนอันตราย ทดสอบหรือพิสูจน หามขาย ทําลาย
กรดาเนนคดโดย
ํ ิ โี ส.ค.บ.ทดาเนนคดแทนี่ ํ ิ ี สมาคมทคณะกรรมการคุ
ี่ มครองดานนคด
ํ ิ ี
แทน
ศาลยุ
ศาลยติตธรรมทมอยู
ธรรมทีม่ ีอยในป
นปจจุ
จจบับนนเปนศาลผู
เปนศาลผบริรโภค
โภค

- ระบบวธพจารณาคดเออตอการใชสทธของผู
ระบบวิธีพิจารณาคดีเอื้อตอการใชสิทธิของผบรโภค ริโภค
- การพิจารณาคดีเปนไปอยางสะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรม
- สงเสรมใหผู
สงเสริมใหผป ระกอบการให
ระกอบการใหความสาคญตอคุ
ความสําคัญตอคณภาพสิ
ณภาพสนคาและบรการ
นคาและบริการ
- ภาระพิสูจนเกี่ยวกับสินคาตกแกผูประกอบธุรกิจ
- กระบวนวิิธีพิจารณาคดีีรวดเร็็วขึ้ึน และคําํ พิิพากษาถือื เปปนทีส่ี ิน้ สุดทีศี่ าลอุทธรณ
เทานั้น
- ให
ใ การคุมครองชัว่ั คราวกอนมีคี ําพิิพากษา
- ศาลอาจจะใชผลการพิจารณาคดีเดิม เปนฐานในการกรณีพิจารณาคดีที่ใกลเคียงกัน
ไ 
ได
คดีแบบไหนทีศ่ าลจะรับดําเนินคดีและพิจารณาคดีเปนคดี
ผูบริโภค

• คดีแพง ทีผ่ บู ริโภคกับผูป ระกอบธุรกิจมีขอ พิพาทกันเนือ่ งจากการ


บริโภคสินคาหรือบริการ
บรโภคสนคาหรอบรการ
• คดีแพง ที่ประชาชนไดรบั ความเสียหายที่เกิดจากสินคาที่ไมปลอดภัย
• คดีแพง ที่เกี่ยวพันกับคดีทั้ง 2 ขอขางตน
• คดีแี พง อืืน่ ทีมี่ ีกฎหมายบัญ
ั ญััติใหเปนคดีผี บู ริโิ ภค
• ขอดีของศาลคดีผูบริโภค
– - ศาลยุติธรรมทีม่ อี ยูในปจจุบนั เปนศาลผูบริโภค
– - ระบบวิธีพจิ ารณาคดีเอือ้ ตอการใชสทิ ธิของผูบริโภค
– - การพจารณาคดเปนไปอยางสะดวก
การพิจารณาคดีเปนไปอยางสะดวก รวดเร็ รวดเรวว และเที
และเทยงธรรม
ย่ งธรรม
– - สงเสริมใหผูประกอบการใหความสําคัญตอคุณ ุ ภาพสินคาและ
บริการ
– - ภาระพิสิ ูจนเกีีย่ วกับั สิินคาตกแกผปู ระกอบธุรกิิจ
– - กระบวนวธพจารณาคดรวดเรวขน
กระบวนวิธีพิจารณาคดีรวดเร็วขึ้น และคาพพากษาถอเปนทสนสุ
และคําพิพากษาถือเปนที่สิ้นสดด
ที่ศาลอุทธรณเทานั้น
– - ใหการคุม ครองชั่วคราวกอนมีคําพิพากษา
– - ศาลอาจจะใช ใ ผ ลการพิจิ ารณาคดีเี ดิมิ เปปนฐานในการกรณี
ใ พี ิจารณา
คดีทใี่ กลเคียงกันได
ขั้นตอนการยื่นฟองตอศาลคดีผูบริโภค
• 1.ผูบริโภคหรืือผูเสียหาย มีสิทธิยืน่ ฟอ งตอศาลทีต่ นมีภูมิลําเนาอยูหรือื ตอศาล
แหงอื่นได แตผูประกอบธุรกิจจะฟองคดีผูบริโภคไดเฉพาะเขตศาลที่ผูบริโภคมี
ภูมิลําเนาอยูเทานั้น
2. ใหยื่นฟองตอศาล ที่แผนกคดีผูบริโภค ภายในความ 3 ปนับแตวันที่รูถึงความ
เสียหาย หากเลยกําหนดนี้ถือวาขาดอายุความ
3. หากความเสียหายไมเกิน 300,000 บาท ใหยื่นฟองตอศาลแขวง ถาเกิน
300,000 บาทใหยื่นฟองตอศาลจังหวัด หากอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ใหยื่นฟอง
ตอศาลแพง
4. ในการฟองคดีผูบริโภค สามารถฟองดวยวาจาหรือเปนหนังสือก็ได
5. การยื่นฟองดวยวาจา เจาพนักงานคดีจะเปนผูบันทึกคําฟอง และใหโจทกลง
ลายมือชื่อไวเปนสําคัญ ดังนั้นผูฟองจึงสามารถยื่นฟองไดดวยตนเองโดยไมตองมี
ทนายความก็ได
6.คําฟองตองมีขอเท็จจริงเกี่ยวกับเหตุที่ตองมาฟองคดี รวมทั้งตองมีคําขอบังคับ
ใหจําเลยชดใชความเสียหายที่เกิดขึ้นชัดเจนพอที่จะใหเขาใจได
7.เมื่อศาลรับคําฟองแลว ศาลจะกําหนดวันนัดพิจารณาโดยเร็ว และออก
หมายเรียกจําเลยใหมาศาลตามกําหนดนัดเพื่อไกลเกลี่ย ใหการ และสืบพยานในวัน
ศาลคดผูี บรโภคมอานาจสงใหผู
โิ ีํ ั่ ใ  ประกอบกจทาอะไรไดบาง
ิ ํ ไไ  
• ศาลคดีผูบริโภคมีอํานาจสั่งใหผูประกอบกิจทําอะไรไดบาง
– - เปลยนสนคาใหใหม
ป ี่ ิ  ใ ใ  แทนการแกไขซอมแซมไ 
– - ใหทําประกาศเรียกรับสินคาคืนจากผูบริโภค
– - หามจําหนายสินคาที่เหลือ เรียกเก็บสินคาที่ยังไมไดจาํ หนาย หรือใหทําลาย
สินคาที่เหลือ กรณีที่สินคาอาจเปนอันตรายตอผููบริโภคโดยสวนรวม หากไม
ปฏิบัติตามคําสั่ง ศาลมีอํานาจสั่งจับกุมและกักขังผูประกอบธุรกิจได
– - จายคาเสยหายเกนคาขอของผู
จายคาเสียหายเกินคําขอของผบริรโภคไดหากเหนวาเกดความเสยหายมากกวา
โภคไดหากเห็นวาเกิดความเสียหายมากกวา
ที่ไดขอไป
– - จายคาเสยหายเพอการลงโทษเพมขนจากคาเสยหายทแทจรง
จายคาเสียหายเพื่อการลงโทษเพิ่มขึ้นจากคาเสียหายที่แทจริง
– ฯลฯ
อายุ
อายความสามป
ความสามป
• อายุความ3 ปนับแตรคู วามเสียหายและรูตัวแตไมเกินสิบปนับแตรคู วาม
เสียี หาย
• มาตรา 14 ระหวางเจรจาใหอายุ
ระหวางเจรจาใหอายความสะดดหยดอย
ความสะดุดหยุดอยู จนอกฝายบอกเลก
จนอีกฝายบอกเลิก
การเจรจา
การพิพากษา

1 พิพากษาใหผูกพันบุคคลภายนอกได มาตรา 30,43


2 พิพากษาเกินคําขอได มาตรา 39
3 ศาลกําหนดคาเสียหายเพิม่ ได มาตรา 40
4 ศาลกําหนดคาเสียหายเชิงลงโทษได มาตรา 42
หลั
หลกเกณฑวธการ
กเกณฑวิธีการ และระยะเวลา
• พ.ร.บ. วิธีพจิ ารณาคดีผบู ริโภค พ.ศ.2551
• ขอกําหนดประธานศาลฎีกา
• ระเบยบก.บ.ศ.
ระเบียบก บ ศ เกยวกบการไกลเกลย
เกี่ยวกับการไกลเกลี่ย
กรณีรองเรียน
กรณรองเรยน
• จับรางวัลแลวไมได
• บริษิ ัทฟตเนส เปปนแลว เลิิกไม
ไ ไ ด
• รานขายยาไมมีเภสัช
• หอพักเก็บคาน้ําคาไฟแพง
• ขายโทรศัพทแ ลวใชงานไมไดอยางโฆษณา
• เครื่องสําอางทําหนาเสีย
เครองสาอางทาหนาเสย
• ศัลยกรรมแลวเสียโฉม ฉีดโบท็อก
• ผาตัดแลวตาย ถอนฟนตาย
เกี
เกยวกบสญญาและการกอสราง
่ยวกับสัญญาและการกอสราง
• ไมกอสราง
• กอ สรา งไม
ไ แลวเสร็็จ
• ชํารุุดบกพรองหลังปลูกู สราง
• ไมโอนกรรมสิทธิ์
• ไมดําเนินการตามโฆษณา
• ไมจัดทําสาธารณปโภค
ไมจดทาสาธารณู ปโภค
• ขายใหคนอื่น
• กอสรางผิดแบบทีอ่ นุญาต
ดดานอาคารชุ
านอาคารชดด
• ไมกอสราง
• กอสรางไมแลวเสร็จ็
• ชํารดบกพร
ชารุ ดบกพรองหลงปลู
องหลังปลกสร
กสราง
าง
• ไมโอนกรรมสิทธิ์ใหผูซอื้
• ไมดําเนินการตามโฆษณา
• ไมจัดทําสาธารณูปโภค
• เกบคาสวนกลางไมเปนธรรม
็  ส ไ  ป
คดผู
คดีผบรโภค
ริโภค
• 2/2551 ศาลแขวงราชบุรี ผูข ายฟองเรียกคาวัสดุกอสรางจากผูซ ื้อ เปน
คดีผี บู รโภค
ิโ
• 6/2551 ศาลแขวงสุ
ศาลแขวงสริรนทร
นทร ซอขายทดนโดยผู
ซื้อขายทีด่ ินโดยผขายไมไดประกอบธุ
ายไมไดประกอบธรกิ
รกจจ
ขายทีด่ ินเปนการคาปกติ ไมเปนคดีผบู ริโภค
• 60/2551 ศาลแพง ผููเอาประกันภัยฟองผููรับประกันภัยตาม
สัญญาประกันความเสี่ยงในการกอสราง เปนคดีผูบริโภค
• 63/2551 ศาลจังหวัดระนอง ผูวาจางฟองผูรับเหมากอสรางฐาน
ผิดสัญญาทําใหเสียหาย เปนคดผู
ผดสญญาทาใหเสยหาย เปนคดีผบริรโภค98/2551
โภค98/2551 ศาลจงหวด
ศาลจังหวัด
อุบลราชธานี ฟองตามสัญญาประนีประนอมยอมความที่มีมูล
หนีจี้ ากเชา ซือ้ื เปปนคดีีผูบริิโภค
• 124/2551 ศาลจงหวดนางรอง
ศาลจังหวัดนางรอง ผผูรับจางสรางบานฟองผู
บจางสรางบานฟองผวาจาง
าจาง
เรียกสินจางพรอมดอกเบี้ย เปนคดีผูบริโภค
• 128/2551 ศาลจังหวัดเชียงใหม นิติบุคคลหมูบานฟองคดีแทน
สมาชิกกรณีผจ ดสรรทดนนาทดนสปอรตคอมแพลกซไปขาย
สมาชกกรณผู ัดสรรที่ดินนําที่ดินสปอรตคอมแพล็กซไปขาย
เปนคดีผูบริโภค
ไมเปนคดีผบรโภค
ไมเปนคดผู ริโภค
• 99/2551 ศาลจังหวัดพระโขนง ผูขายวัสดุกอสรางฟองผูซื้อสินคาไปใช
และขายตอ ไมเปนคดผู
และขายตอ ไมเปนคดีผบ รโภค
ริโภค
• 100/2551 ศาลจังหวัดพระโขนง ผูขายวัสดุกอสรางฟองผูซื้อสินคาไป
ใชและขายตอ ไมเปนคดีผบู ริโภค
• 143/2551 ศาลจงหวดนราธวาส
ศาลจังหวัดนราธิวาส ผผูขาย+รบตอกเสาเขมฟองผู
าย+รับตอกเสาเข็มฟองผซื้ออกรณ
กรณี
ซื้อ+จางตอกเสาเข็มในงานรับเหมากอสรางของผูซื้อ ไมเปนคดีผูบริโภค
• 152/2551 ศาลแพง ผูขาย+ติดตั้งโครงหลังคาบานเอื้ออาทรฟองผูซื้อ+
จางติดตั้งแกลกู คาของผููซื้อ) ไมเปนคดีผูบริโภค
ไมเปนคดีผบรโภค
ไมเปนคดผู ริโภค
• 171/2551 ศาลแพง ผูวาจางสรางอาคารเพื่อใหเชา)ฟองผูรับเหมากรณี
กอสร
 า งลาช
 า ผดแบบ
ิ ไ  ป ผี บู รโภค
ไมเปนคดี ิโ
• 113 172/2551 ศาลจงหวดชลบุ
ศาลจังหวัดชลบรีร ผูผขายไม
ายไมมอาชพขายทดน)ฟองผู
มีอาชีพขายที่ดนิ )ฟองผซื้อ
กรณีผิดสัญญาไมโอนที่ดินสวนเกินสวนที่ไมขาย)คืน ไมเปนคดี
ผูบ ริิโภค
• 114 177/2551 ศาลจงหวดลาพู
ศาลจังหวัดลําพนน ผผูขายวั
ายวสดุ
สดกกออสรางฟองผู
สรางฟองผรับบเหมาชวง
เหมาชวง
ใหชําระคาสินคาที่ซื้อไปกอสรางงานที่รับเหมาชวง ไมเปนคดีผบู ริโภค
• บานที่เปนปญหามากที่สุดคือ บานไมเรียบรอย คุณ ุ ภาพไม
เปนไปตามตองการ เชน บานมีฐานรากไมแข็งแรง
• รองลงมาเปนปญหาพื้นที่สว นกลาง เชน มีคําสัญญาวาจะ
มีสโมสร คลับเฮาส สระวายน้ํา้ สนามกีฬา หรือที่ผานมา
เคยมีี ตอมาปรากฏวาผู
 ป  ประกอบการนําํ พืืน้ ทีสี่ วนกลางไป
 ไป
หาประโยชนเชิงพาณิชย โดยใบโฆษณา โบรชั
หาประโยชนเชงพาณชย โบรชวร วร แผ
แผนน
พับ บอกวาจะมีคลับเฮาสแลวตอมาไมมีเปนตน
• ขอรองเรียนลําดับรองลงไป คือ การวาจางสรางบาน การ
ขอเงินดาวนคนื ซึ่งผูบริโภคอาจกูไมผานหรือ เปลี่ยนใจ
ไมอยากไดบาน
วตถุ
วัตถประสงค
ประสงคของกฎหมาย
ของกฎหมาย

• ผูบริโภคมีโอกาสเขาถึงความยุตธิ รรม
• จัดกระบวนการคนหาความจริงใหมปี ระสิทธิภาพและ
เปน ธรรม
• ปรับปรุงระบบพิจารณาคดีใหร วดเร็็ว มีหลักเกณฑเยียวยา
ผูผเสีสยหาย
ยหาย
• เสรมสรางมาตรฐานทางจรยธรรมผู
เสริมสรางมาตรฐานทางจริยธรรมผประกอบธรกิ
ระกอบธุรกจจ ปอง
ปอง
ปรามผประกอบธรกิ
ปรามผู ระกอบธุรกจไมสุ
จไมสจจริรตต
ขอพิจารณาเบื้องตน
ขอพจารณาเบองตน
• มีวิธีพิจารณาพิเศษไมไดจัดตั้งศาลขึน้ ใหม
• ใชเฉพาะคดีแพง
• ใหสิทธิผบรโภคฟองโดยไมมหลกฐานเปนหนงสอหรอทาตามแบบ
ใหสทธผู ริโภคฟองโดยไมมีหลักฐานเปนหนังสือหรือทําตามแบบ ม10
• มาตรา12 กําหนดหลักการพิจารณาคดีที่สุจริตของผูประกอบธุรกิจ
• ขยายอายุความกรณีความเสียหายในรางกาย อายุความสะดุดกรณีเจรจามาตรา 13
,14
• สงวนสิทธิแกไขคําพิพากษามาตรา 40
• ใหเปลี่ยนสินคาใหมกรณีใชแลวเกิดอันตรายมาตรา 41
ใหเปลยนสนคาใหมกรณใชแลวเกดอนตรายมาตรา
• ศาลมีอาํ นาจสั่งใหจายคาเสียหายเพื่อการลงโทษ มาตรา 42
• ใหผูเปนหุนสวน ผูถือหุนรวมรับผิดดวย มาตรา 44
• แกปญหาผููบริโภครายอื่นดวย
หลั
หลกวธพจารณาพนฐาน
กวิธีพิจารณาพื้นฐาน
• หลักความสะดวกและประหยัด
• หลักความรวดเร็ว็
• หลักความไมเปนทางการ
หลกความไมเปนทางการ
• หลักสุจุ ริต
• มาตรา ๑
พระราชบัญ ั ญัตั นิ เี้ รียี กวา “พระราชบัญ
ั ญัตั วิ ธิ ีพิจารณาคดีี
ผูผบรโภค
ริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑
๒๕๕๑”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตนิ ใี้ หใชบังคับเมือ่ พนหนึง่ รอย
แปดสบวนนบแตวนประกาศในราชกจจานุ
ป ิ ั ั ั ป ใ ิ เบกษาเปนต ป น
ไป
• ประกาศ 25กุมภาพันธ 2551 ครบ23สิงหาคม
2551 มีผี ลใช ใ บ ังคับั 24 สิงิ หาคม 2551
• มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้
“คดีผบรโภค”
“คดผู ริโภค” หมายความวา
หมายความวา
(๑) คดีแพงระหวางผูบริโภคหรือผูมีอํานาจฟองคดีแทนผูบริโภคตามมาตรา ๑๙
หรือตามกฎหมายอื่น กบผู
หรอตามกฎหมายอน กับผประกอบธรกิ
ระกอบธุรกจซงพพาทกนเกยวกบสทธหรอหนาทตาม
จซึ่งพิพาทกันเกี่ยวกับสิทธิหรือหนาที่ตาม
กฎหมายอันเนื่องมาจากการบริโภคสินคาหรือบริการ
(๒) คดีแพงตามกฎหมายเกีฎ ่ยวกับความรับผิดตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่
ไมปลอดภัย
(๓) คดีแพงที่เกี่ยวพันกันกับคดีตาม (๑) หรือ (๒)
(๔) คดีแี พง ที่ีมีกฎหมายบัญญัติใหใชวิธีพิจารณาตามพระราชบัญญัตินี้
“ผูบริโภค” หมายความวา ผูบริโภคตามกฎหมายวาดวยการคุมครองผูบริโภค และ
ใ 
ใหหมายความรวมถงผู ึ เสยหายตามกฎหมายเกยวกบความรบผดตอความเสยหายท
สี ี่ ั ั ิ  สี ี่
เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยดวย
“ผผูประกอบธุ
ระกอบธรกิ รกจจ” หมายความวา
หมายความวา ผผูประกอบธุ
ระกอบธรกิ รกจตามกฎหมายวาดวยการคุ
จตามกฎหมายวาดวยการคมครอง
ผูบริโภคและใหหมายความรวมถึงผูประกอบการตามกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิด
ตอความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคาที่ไมปลอดภัยดวย
“ก.ศ.” หมายความวา คณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมตามกฎหมายวาดวย
ระเบียบบริหารราชการศาลยุติธรรม
“เจาพนักงานคดี” หมายความวา บุคคลทีเ่ ลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมแตงตัง้
ใหปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้
• มาตรา ๔ ใหมเจาพนกงานคดทาหนาทชวยเหลอศาลในการดาเนนคด
ใหมีเจาพนักงานคดีทาํ หนาที่ชวยเหลือศาลในการดําเนินคดี
ผูบ ริโภค ตามที่ศาลมอบหมาย ดังตอไปนี้
(๑) ไกล
ไ เ กลีย่ี คดีผี บู ริโิ ภค
(๒) ตรวจสอบและรวบรวมพยานหลักฐาน ฐ
(๓) บันทึกคําพยาน
(๔) ดาเนนการใหมการคุ
ดําเนินการใหมีการคมครองสทธของคู
ครองสิทธิของคความทงกอนและระหวางการ
วามทั้งกอนและระหวางการ
พิจารณา
(๕) ปฏบตหนาทอนตามพระราชบญญตนหรอตามขอกาหนดของ
ปฏิบัติ น ที่ นื่ ต มพร ร ชบัญญัตินี้ รื ต มข กํ นดข ง
ประธานศาลฎีกาในการทําหนาที่ชวยเหลือนั้น ในการปฏิบตั ิหนาที่ตาม
พระราชบัญญัตินี้ ใหเ จาพนักงานคดีเปนเจาพนักงานตามประมวล
กฎหมายอาญาและให
ฎ ญ มีอํานาจมีหนังสือเรียกบุคุ คลใดบุุคคลหนึ่งมาให
ขอมูล หรือใหจัดสงเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ตามอํานาจหนาที่
ตามอานาจหนาท
หลักเกณฑและวิธกี ารปฏิบัตหิ นาที่ของเจาพนักงานคดีใหเปนไปตามที่
• มาตรา ๕ ผููที่จะไดรับแตงตั้งเปนเจาพนักงานคดี ตองมี
คุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้
(๑) สาเรจการศกษาระดบปรญญาโททางกฎหมายหรอปรญญา
สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางกฎหมายหรือปริญญา
เอกทางกฎหมาย
(๒) สาเรจการศกษาระดบปรญญาตรทางกฎหมาย
สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางกฎหมาย เปนสามญ เปนสามัญ
สมาชิกแหงเนติบัณฑิตยสภาและไดประกอบวิชาชีพทาง
กฎหมายตามทีี่ ก.ศ. กําํ หนดเปปนเวลาไมไ นอ ยกวา หนึึง่ ป
(๓) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญ ญญาตรีทางกฎหมายและปริ
ฎ ญ
ญญญา
ในสาขาวิชาอื่นที่ ก.ศ. กําหนดซึ่งไมต่ํากวาปริญญาตรี และได
ประกอบวิชาชีพตามที่ ก.ศ.
ประกอบวชาชพตามท ก ศ กาหนดเปนเวลาไมนอยกวาสป
กําหนดเปนเวลาไมนอ ยกวาสี่ป
ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุตธิ รรมมีอํานาจพิจารณาแตงตั้ง
บุบคคลซึ
คคลซงมคุ
่งมีคณ
ณสมบั
สมบตตามวรรคหนงเปนเจาพนกงานคด
ตติ ามวรรคหนึ่งเปนเจาพนักงานคดี ทงน ทั้งนี้
ตามระเบียบที่ ก.ศ. กําหนด
• มาตรา ๖ ใหประธานศาลฎการกษาการตามพระราชบญญตน
ใหประธานศาลฎีการักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้
และใหมีอํานาจออกขอกําหนดเพื่อใหการดําเนินกระบวน
พิจารณาคดีผูบริโภคเปนไปดวยความสะดวก รวดเร็วและเที่ยง
ธรรมแตขอกาหนดดงกลาวจะตองไมทาใหสทธในการตอสู
 ํ ั   ไ  ํ ใ สิ ใิ  สคดี
ของคููความลดนอยลง
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกาตามพระราชบัญญัตนิ ี้ เมือ่ ไดรับ
ความเห็น็ ชอบจากที่ประชุมใหญศาลฎีกาและประกาศในราช
กิจจานเบกษาแล
กจจานุ เบกษาแลวใหใชบงคบได
วใหใชบังคับได
<>บททั่วไป
• มาตรา ๗ กระบวนพจารณาคดผู
กระบวนพิจารณาคดีผบ รโภคใหเปนไปตาม
ริโภคใหเปนไปตาม
บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตนิ แี้ ละขอกําหนดของ

ประธานศาลฎี ีกาตามมาตรา ๖ ในกรณี
ใ ีทไี่ มมี บี ทบญญต
ั ัิ
และขอกําหนดดังกลาวใหนําบทบัญญญญัติแหงประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับโดยอนุโลม
• มาตรา ๘ ในกรณีมีปญ  หาวาคดีใดเปนคดีผูบริโภคหรือไม ใหประธาน
ศาลอุทธรณเปนผูว ินิจฉัย คําวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณใหเปน
ที่สดุ แตทั้งนี้ไมกระทบถึงกระบวนพิจารณาใดๆๆ ทีไ่ ดกระทําไปกอนที่
จะมีคําวินิจฉัยนั้น
การขอใหประธานศาลอทธรณ ุ วินิจฉัยปญหาตามวรรคหนึ่งไมวาโดย
คูความเปนผูขอหรือโดยศาลเห็นสมควร ถาเปนการขอในคดีผบู ริโภค
ตองกระทําอยางชาในวันนัดพิจารณา แต
ตองกระทาอยางชาในวนนดพจารณา แตถาเปนการขอในคดอนตอง
ถาเปนการขอในคดีอื่นตอง
กระทําอยางชาในวันชี้สองสถานหรือวันสืบพยาน ในกรณีทไี่ มมีการชี้
สองสถานหากพนกําหนดเวลาดังกลาวแลวหามมิใหมีการขอใหวินิจฉัย
สองสถานหากพนกาหนดเวลาดงกลาวแลวหามมใหมการขอใหวนจฉย
ปญหาดังกลาวอีก และเมื่อไดรับคําขอจากศาลชั้นตนแลว ใหประธาน
ศาลอทธรณ
ศาลอุ ทธรณมคาวนจฉยและแจงผลไปยงศาลชนตนโดยเรว
มีคําวินิจฉัยและแจงผลไปยังศาลชั้นตนโดยเร็ว
เพื่อใหการดําเนินคดีเปนไปดวยความรวดเร็ว การดําเนินการใดๆ
ระหวางศาลชั้นตนกับศาลอทธรณ
ระหวางศาลชนตนกบศาลอุ ทธรณตามมาตราน
ตามมาตรานี้ จะดาเนนการโดยทาง
จะดําเนินการโดยทาง
โทรสารหรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอื่นใดก็ได
• มาตรา ๙ ในกรณีที่ปรากฏวามีขอผิดระเบียบหรือผิดหลงในการ
ดําเนินิ กระบวนพิิจารณาของคูความฝฝายใด
ใ ใใหศาลสััง่ ให
ใ คูความ
ที่ดําเนินกระบวนพิจารณาผิดระเบียบหรือผิดหลงนัน้ ทําการ
แกไขใหถูกตองภายในระยะเวลาและเงื่อนไขที่ศาลเห็นสมควร
กําหนด เว
กาหนด เวนแตขอผดระเบยบหรอผดหลงดงกลาวเกดจากความ
นแตขอผิดระเบียบหรือผิดหลงดังกลาวเกิดจากความ
ไมสุจริตของคูความฝายนัน้
• มาตรา ๑๐ บทบัญญัติแหงกฎหมายทีบ่ ังคับใหนิติกรรมใดตองมี
หลักฐานเปนหนังสือลงลายมือชื่อฝายที่ตองรับผิดจึงจะฟองรองบังคับ
หลกฐานเปนหนงสอลงลายมอชอฝายทตองรบผดจงจะฟองรองบงคบ
คดีไดนั้น มิใหนํามาใชบังคับแกผบู ริโภคในการฟองบังคับใหผปู ระกอบ
ธุธรกิ
รกจชาระหน
จชําระหนี้
ในกรณีทบี่ ทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับใหสัญญาทีท่ าํ ขึ้นระหวาง
ผูบ รโภคกบผู
โิ ั ป ระกอบธุรกจจะตองทาตามแบบอยางใดอยางหนง
ิ  ํ  ใ  ึ่ ถงแม
ึ 
สัญญาดังกลาวยังมิไดทาํ ใหถกู ตองตามแบบนั้น แตหากผูบ ริโภคไดวาง
มดจํั าํ หรืือชํําระหนบางสวนแล
ี้  ว ใใหผ บู รโภคมอํ
ิโ ี ํานาจฟฟองบงคบ
ั ั ให
ใ ผ  ู
ประกอบธุรกิจจัดทําสัญญาใหเปนไปตามแบบทีก่ ฎหมายกําหนดหรือ
ชําํ ระหนีเ้ี ปนการตอบแทนไดไ
ใในการดําํ เนินิ คดีตี ามวรรคหนึ่ึงและวรรคสอง มิิใหนํามาตรา ๙๔ แหง
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาใชบังคับแกผบู ริโภคในการ
ฟองคดีผี บู ริโิ ภคและการพิสิ ูจนถ ึงนิิติกรรมหรือื สัญ
ั ญาทีท่ี ําขึน้ึ ระหวา ง
ผูบ ริโภคกับผูป ระกอบธุรกิจ
• มาตรา ๑๑ การโฆษณา
ฆ ณ แมไมมสญญ
สี ญ
ั ญา ใชแทนสัสญญ
ญญาฟองได
โดยไมตองมีเอกสารสัญญาใดๆ
• มาตรา ๑๒ ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี ผูู
ประกอบธุรกิจตองกระทําดวยความสุจริตโดยคํานึงถึงมาตรฐาน
ทางการคาทเหมาะสมภายใตระบบธุ
 ี่ ส ใ  รกจทเปนธรรม
ิ ี่ ป

มาตรา ๑๓ ในกรณีที่ความเสียหายเกิดขึ้นตอชีวิต รางกาย


สุสขภาพ
ขภาพ หรื
หรออนามย
ออนามัย โดยผลของสารที
โดยผลของสารทสะสมอยู
่สะสมอยในร
นรางกายของ
างกายของ
ผูบริโภคหรือเปนกรณีที่ตองใชเวลาในการแสดงอาการ
ผูบริโภคหรือผูมีอํานาจฟองคดีแทนผูบริโภคตองใชสิทธิ
เรียกรองภายในสามปนับแตวันที่รถึงความเสยหายและรู
เรยกรองภายในสามปนบแตวนทรู งความเสียหายและรตัววผูผ
ประกอบธุรกิจที่ตองรับผิด แตไมเกินสิบปนับแตวันที่รูถึงความ
เสียหาย
มาตรา ๑๔ ถามีการเจรจาเกี่ยวกับคาเสียหายที่พึงจาย
ระหวา งผูประกอบธุรกิิจและผูบริโิ ภคหรือื ผูม อี ํานาจฟฟอง
คดีแทนผบรโภค
คดแทนผู ริโภค ให
ใหอายุ
อายความสะดดหยดอย
ความสะดุดหยุดอยูไมมนบใน นับใน
ระหวางนั้นจนกวาฝายใดฝายหนึง่ ไดบอกเลิกการเจรจา
มาตรา ๑๕ ระยะเวลาตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญ ญญัติ
นีห้ รือกฎหมายอื่นที่บทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตนิ ใี้ ห
นํามาใชบังคับ หรื
นามาใชบงคบ หรอระยะเวลาตามทศาลกาหนดไว
อร ย เวลาตามที่ศาลกําหนดไว เมื
เมออ่
ศาลเห็นสมควรหรือเมือ่ คููความรองขอ ศาลมีอาํ นาจยน
หรือขยายระยะเวลาไดตามความจําเปนและเพื่อประโยชน
แหงความยติตธธรรม
แหงความยุ รรม
• มาตรา ๑๖ การสงคําคูค วามหรือเอกสารอื่นใด หรือการ
แจงวันนัด คําสั่งของศาลหรือขอความอยางอื่นไปยัง
คูคความหรื
วามหรอบุ
อบคคลอื
คคลอนใดในคดผู
่นใดในคดีผบ รโภคซงปกตจะตอง
ริโภคซึ่งปกติจะตอง
ดําเนินการโดยทางเจาพนักงานศาลนั้น ศาลอาจสั่งให
ดําเนินการโดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ โทรศัพท

โทรสาร ไป
ไปรษณีียอิเล็็กทรอนิกิ ส หรือื สือ่ื เทคโนโลยี
โ โ ี
สารสนเทศอืน่ ใดก็ได โดยคานงถงความจาเปนเรงดวน
สารสนเทศอนใดกได โดยคํานึงถึงความจําเปนเรงดวน
ความสะดวกรวดเร็ว ความเหมาะสมตามสภาพแหง
เนื้อหาของเรื่องทีท่ ําการติดตอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและ
วธการทกาหนดไวในขอกาหนดของประธานศาลฎกา
ิ ี ี่ ํ ไ ใ  ํ ป ศ ี
หมวดที
หมวดท่ 2
• วิธีพิจารณาคดีผบู ริโภคเบื้องตน
มาตรา 17
• ใหผูประกอบธุรกิจฟองผูบริโภคตอศาลที่ผูบริโภคมีภมู ิลําเนา
• ผูบริโภคขอโอนคดีไปได
• ฟองผู
ฟองผคาประกนตอศาลทมเขตอานาจอนได
้ําประกันตอศาลทีม่ ีเขตอํานาจอื่นได สวนการขอรวมคดผู
สวนการขอรวมคดีผบ รโภค
ริโภค
ตองดูความสะดวก
• ผูบริโภคฟองผูประกอบธุรกิจที่อื่นได
มาตรา 18
• ผูบริโภคไดรับการยกเวนคาฤชาธรรมเนียม
• ถาฟองไมมีเหตุสมควรใหจายคาฤชาธรรมเนียม เรียกคาเสียหาย

เกนควร ป
ประพฤตตนไมเรยบรอย
ิ ไ  ี  ประวง
ป ิ ดาเนนคดไมจาเปน
ํ ิ ีไ  ํ ป
พฤติ
ฤ การณอื่น เชนไมสงสินคาตรวจพิสูจน
• ใหฝายใดชําระคาฤชาธรรมเนียมแทนผูบริโภคหรือผูมีอํานาจ
ฟองคดีแทน
มาตรา 19
• ใหคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคหรือสมาคมฟองคดีแทน
• การถอนฟองตองไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากผูบริโภค
• ศาลเห็น็ วาไไมเปนผลเสีียตอการคุมครองผูบริโภคสวนรวม
• ส
สมาคมเรยกคาเสยหายแทนสมาชกได
ี  สี ส ิไ 
• มาตรา ๒๐ ฟองโดยวาจา ปากเปลาไดโดยศาลเปนผูจ ดั พิมพให
หรือื ฟองเปปนหนังสือื มีขี อเท็็จจริงมีคี ําขอบังคับชัดเจน
• มาตรา ๒๑ ๒ ฟองเพมเตม
ฟ ิ่ ิ ฟองแยง ฟ  สอดเขามาในคด  ใ ี หรอคดท ื ี ี่
เกี่ยวกรณีฟองอืน่ ๆ ใหนํามารวมกันเขากรณี กม.ผููบริโภค
มาตรา22
มาตรา22
• หากเกรงพยานหลักฐานสูญหายขอสืบพยานไวกอน
• พยานอาจสูญหายยากแกการนํามาสืบในภายหลังสืบ
• กอนฟอ งและหลังฟอง พยานทุกชนิด
• มาตรา ๒๓ ในกรณีมีเหตุุฉกุ เฉิน เมื่อมีการยื่นคําขอตามมาตรา
๒๒ ผูยื่นคําขอจะยืน่ คํารองรวมไปดวยเพื่อใหศาลมีคําสั่งหรือ
ออกหมายตามทีี่ขอโดยไม
โ ไ ชักชา และถาจํําเปปนจะขอให
ใ ศาลมีี
คําสั่งใหยึดหรืออายัดเอกสารหรือวัตถทีท่จจะใชเปนพยานหลกฐาน
คาสงใหยดหรออายดเอกสารหรอวตถุ ะใชเปนพยานหลักฐาน
ที่ขอสืบไวกอนโดยมีเงื่อนไขอยางหนึ่งอยางใดตามที่ศาล
เห็นสมควรก็ได(เชนวางเงินหรือหาประกัน)
ใหนํามาตรา ๒๖๑
ใหนามาตรา ๒๖ มาตรา ๒๖๒ มาตรา ๒๖๓ ๒๖ มาตรา ๒๖๗
มาตรา ๒๖๘ และมาตรา ๒๖๙ แหงประมวลกฎหมายวิ ฎ ธี
พิจารณาความแพงมาใชบังคับแกกรณีตามวรรคหนึ่งโดย
อนุโลม(คลา ยฉุกเฉินฝฝายเดียี วไม
ไ ตอ งฟงอีีกฝฝาย๗
มาตรา 24
• เมือ่ รับฟองแลวใหกําหนดวันพิจารณาโดยเร็ว(ไมเกิน 30วัน
ตามขอ กําหนด ขอ 9)
• ใหศาลหมายเรยกมาไกลเกลย
ใ  ี ไ  ี่ ใหการใ  สบพยานในวนเดยวกน
ื ใ ั ี ั
• จาเลยใหการเปนหนงสอกอนสบพยานได
จําเลยใหการเปนหนังสือกอนสืบพยานได
มาตรา 25
• ในวันนัดพิจารณา มาพรอมใหไกลเกลี่ย
• ผูไกลเกลี่ยไดแกเจาพนักงานคดี ผูประนีประนอม บุคคลที่
คูความตกลง
• วธการเปนไปตามขอกาหนด(ขอ15)
วิธีการเปนไปตามขอกําหนด(ขอ15)
• เลื่อนได 3 ครั้งครั้งละ 7 วันเวนแตพฤฤติการณพิเศษ(ข
(ขอกําหนด
ขอ 16)
มาตรา 27
• โจทกไมมาโดยไมไดรบั อนุญาตเลื่อนคดี ไมวาจําเลยจะมาหรือ
ไ ใ หจําหนา ยคดีี เวน แตค วรตัดสินฝายเดียี วให
ไม ใ โ ดยให
ใ ถือวา
โจทกขาดนัดพิจารณา
โจทกขาดนดพจารณา
• จําเลยไมมาถือวาขาดนัดยืน่ คําใหการถายื่นแลวถือวาขาดนัด
พิจารณา
• คูค วามไมมานัดใดถือวาขาดนัดพิจารณาทันทีไมวานัดแรก
หรือื ไม
ไ 
• วันนัดพิจารณาสําคัญกวาแพงทั่วไปเพราะทําไดหลาย
อยา ง ไกล
ไ เ กลีย่ี สอบคําํ ให
ใ ก าร แจง ประเด็
ป ็นลําํ ดับั การ
สืบพยาน
สบพยาน
• วันนัดพิจารณาทุุกนัดไมมาขาดนัดพิจารณาทันที ตางกับวิ
แพงที่ขาดนัดสืบนัดแรกที่มกี ารสืบพยานจริง
• แมโจทกขาดนัดจําเลยประสงคจะดําเนินคดีตอ ไปก็เปน
ดุลพินิ ิจตา งจากวิแิ พง 202 ทีตี่ อ งดําํ เนินิ คดีตี อ ไป
• มาตรา ๒๘ ถาคู ถาคความฝ
วามฝายใดไมมาศาลในวนนดอนทมใช
ายใดไมมาศาลในวันนัดอื่นทีม่ ใิ ช
วันนัดพิจารณาตามมาตรา ๒๔ ใหถอวาคู
วนนดพจารณาตามมาตรา ใหถอื วาคความฝ
วามฝายนน
ายนั้น
สละสิทธิการดําเนินกระบวนพิจารณาของตนในนัดนั้น
และทราบกระบวนพิจารณาที่ศาลไดดําเนินไปในนัดนัน้
ดว ยแลว
• เชน นัดั พรอ ม นััดสืืบพยาน
• มาตรา ๒๙ ผูผถกร
ูกรองเปนผู
องเปนผรบภาระพสู
ับภาระพิสจน
จนประเดนพพาทท
ประเด็นพิพาทที่
เกี่ยวกับการผลิตการประกอบ การออกแบบ สวนผสมสินคา การ
ใหบริการ การดําเนินการที่รูเห็นเฉพาะผูประกอบธุรกิจวาตนเอง
ไ  ิ
ไมผด
• มาตรา ๓๐ คดเดยวกน
คดีเดียวกัน ซ้ซาํา ฟฟองทเดม
องที่เดิม ไมตองสบพยาน
ไมตอ งสืบพยาน ใหม
ใหม ใช
ใช
วินิจฉัยเดิมได คดีกอ นและหลังเปนคดีผูบริโภค
• คดีกอ นถึงที่สุด
• จําเลยทั้งสองคดีเปนผูประกอบธุรกิจเดียวกัน
• คดีเี ปนประเด็
ป น็ เดียี วกันั
(สรปว
(สรุ ปวาหากคดเดมฟองจายเทาไร
าหากคดีเดิมฟองจายเทาไร คดี คดใหมกรณเดยวกนตองจาย
ใหมกรณีเดียวกันตองจาย
เทากัน สะดวกกับประชาชนกรณีผจู าํ หนายที่เจตนาไมดี ฉอโกง
เรา จะไดคนื แนๆ แบบไมเสียเวลา)
• มาตรา ๓๑ ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งใหสืบพยาน ใหศาลสอบถาม
คูความฝายที่จะตองนําพยานเขาสืบวาประสงคจะอางอิง
พยานหลกฐานใดแลวบนทกไวหรอสงใหคู
ั ใ  ั ึ ไ  ื สั่ ใ  ความจดทาบญชระบุ
ั ํ ั ี
พยานยืน่ ตอศาลภายในระยะเวลาตามที่เห็นสมควรก็ได

• มาตรา ๓๒ กอนการสืบพยาน ใหศาลแจงประเด็นขอพิพาทให


คูความทราบและจะกําํ หนดให
ใ คูความฝายใดนํ
ฝ ใ าํ พยานมาสืืบกอน

หรือหลังก็ได
มาตรา ๓๓ เพื่อประโยชนแหงความยุตธิ รรมในอันที่จะใหได
ความแจงชัดในขอเท็จจริงแหงคดี ใหศาลมีอํานาจเรียก
พยานหลกฐานมาสบไดเองตามทเหนสมควร
ั สื ไ  ี่ ็ ส ใในการนใหศาลม
ี้ใ ศ ี
อํานาจสั่งใหเจาพนักงานคดีตรวจสอบและรวบรวม
พยานหลักฐานที่จําเปนแลวรายงานใหศาลทราบ รวมทั้งมี
อํานาจเรียกสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค
หนวยงาน หรื
หนวยงาน หรอบุ
อบคคลทีคคลทเกยวของมาใหขอมู
่เกี่ยวของมาใหขอมลหรื
ลหรอใหจดสง
อใหจัดสง
พยานหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณาได
พยานหลักฐานที่ไดมาตามวรรคหนึ่งตองใหคูความทุกฝายทราบ
และไม
ไ ต ัดสิิทธิคิ ูความในอั
ใ นั ทีี่จะโต
โ แ ยงพยานหลัักฐานดังั กลาว
• มาตรา ๓๔ ในการสบพยานไมวาจะเปนพยานทคู
ในการสืบพยานไมวาจะเปนพยานทีค่ ค วาม
ฝายใดอางหรือที่ศาลเรียกมาเองใหศาลเปนผูซักถามพยาน
คูความหรือทนายความจะซักถามพยานไดตอ เมือ่ ไดรบั
อนุญาตจากศาล
ใหศาลมีอํานาจซักถามพยานเกี่ยวกับขอเท็จจริงใดๆ ทีท่
ใหศาลมอานาจซกถามพยานเกยวกบขอเทจจรงใดๆ
เกี่ยวเนื่องกับคดีแมจะไมมคี ค วามฝ
เกยวเนองกบคดแมจะไมมคู วามฝายใดยกขนอางกตาม
ายใดยกขึ้นอางก็ตาม
มาตรา 35
• การพิจารณาสืบพยานใหทําติดตอกันไปไมเลื่อนคดี
• เวนแตมีเหตุจําเปนมิอาจกาวลวงได
• ศาลเลื่อนไดครั้งละไมเกิน 15 วน
ศาลเลอนไดครงละไมเกน วัน
• เลื่อนไดไมเกิน 3 ครั้งๆๆละไมเกิน 7วันเวนแตพฤฤติการณพิเศษที่เลื่อน
ไดตามที่ศาลเห็นสมควร (ขอกําหนดขอ 16)
• ใช
ใ เ ฉพาะสืบื พยานไม
ไ ใ ชก ับการดําํ เนิินกระบวนพิจิ ารณาอยางอื่ืนเชน
กรณีนัดพิจารณาหรือนัดพรอม
มาตรา 36
• ศาลอาจเรียกผูท รงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญมาใหความเห็น
• คูค วามอาจนําฝายตนมาโตแยงหรือใหความเห็นเพิ่มเติม
• ผูทีศ่ าลเรียี กมีสี ิทธิไดค าปวยการ พาหนะ คาเชา ทีีพ่ ัก
• มาใหความเหนศาลอาจจะอนุ
ใ  ็ ญาตหรอไมอนุ
ื ไ  ญาตใหซกถามกได
ใ  ั ไ็ 
• ใหทําเปนหนังสือไมตอ งมาศาลก็ได(อนโลม
ใหทาเปนหนงสอไมตองมาศาลกได(อนุ โลม ปป.วพวิพ ,130130
มาตรา37
มาตรา37
• เมือ่ เสร็จการพิจารณาใหมีคาํ พิพากษาหรือคําสั่งโดยเร็ว
• สืบพยานเพิ่มเติมได หรือเรียกมาสืบใหมได
มาตรา 38
• คําพิพากษาคําสั่งตองมี
1 ขอเท็จจริงที่ฟงโดยสรุป
2 คําวินจิ ฉัยในประเด็นแหงคดี
3 เหตุผลแหงคํ  าํ วินิ จิ ฉััย
• ทางนาสบไมตองมกได
ทางนําสืบไมตองมีก็ได
• ไมรวมคําสัง่ จําหนายคดี ทิ้งฟอง ถอนฟอง
มาตรา 39
มาตรา ๓๙ คาเสียหายนอยไป ดุลยพินิจศาลขอใหจายเพิม่ ได
1ตองคดีผบู ริโภคหรือฟองแทน
2ตองปรากฏแกศาลวา
2ตองปรากฏแกศาลวา
- คาเสียหายไมถูกตอง ศาลวินิจฉัยใหมใหถูกตอง
- วิธีการบังคับไมเพียงพอ กําหนดเพิม่ เติม เชนสรางที่จอดรถไมพอให
จา ยคาเสียี หาย เทา คา เชาจอด
3 ใหชาระดอกเบยสู
ใหชําระดอกเบี้ยสงกว งกวาทขอมาแตไมเกนรอยละ
าทีข่ อมาแตไมเกินรอยละ 15 ตามปวแพงม
ตามปวิแพงม
142 (1)ถึง(๖)
มาตรา 40
ตองเปนความเสียหายรางกาย สุุขภาพ อนามัย
พนวิสยั ที่หยั่งรูขณะมีคําพิพากษา
ตัดสินแลว สงวนสิทธิ แกไขคําพิพากษาไดโดยศาลตองระบุไวใน
คําพิพากษา
คาพพากษา
ภาย ใน ๑๐ ป นับแตวันพิพากษา
แกไขหลายครั้งก็ได โดยใหอีกฝายคานกอน
หากเปนคําพิพากษาศาลสูงศาลตนก็นาจะแกไขไดเนือ่ งจากเปน
ชั้นบังคับคดีมาตรา 302
ชนบงคบคดมาตรา
มาตรา 41
• เปลี
เปลยนสนคาใหใหม
่ยนสินคาใหใหม
• ความชํารุดบกพรองตอง ไมอาจแกไขใหใชงานปกติ แมแกไขแลว
นําไปใชอาจเกิดอันตราย
• ศาลตองคํํานึึงถึึง เปลี
ป ีย่ นได
ไ  พฤติกิ ารณผ ปู ระกอบธุรกิจิ
ความสจริ
ความสุ จรตของผู
ตของผบรโภค ริโภค
หากผูบริโภคไดรบั ประโยชนใหจายคาใชหรือคาเสียหายตามสมควร
ตกลงยกเวนความรับผิดไมไดขดั ตอความสงบ
• มาตรา ๔๒ หากเจตนาเอาเปรียบไมเปนธรรม จงใจหรือ
ประมาทเลินเลอรายแรง ฝาฝนความรบผดชอบในธุ
ประมาทเลนเลอรายแรง ฝาฝนความรับผิดชอบในธรกิ รกจอนยอม
จอันยอม
เปนที่ไววางใจ
• ศาลมีมาตรการลงโทษจายคาเสียหายเพิ่มได ตามสมควร ไดไม
เกินิ ๒ เทาของคาเสี
  ยี หายจริงิ ตามทีศ่ี าลกําํ หนด หากไมเกิ
ไ  นิ
๕๐,๐๐๐, ให คิดได ๕ เทา
• สั่งไดเฉพาะผูประกอบธุรกิจสั่งผูบริโภคไมได
• ศาลสัง่ ไดเองโดยผูบริโภคไมตองขอ
• หากผูเ สีียหายหลายรายควรดูในภาพรวม
• มาตรา ๔๓ ผูแทนนิติบคุ คล ถูกจับกุม กักขังได กรณีไมปฏิบตั ิ
ตาม..(กึงึ่ กม.อาญา?)

• มาตรา ๔๔ หากเปนนตบุ
หากเปนนิติบคคคล คล ให
ใหยดทรพย
ยึดทรัพย ผผูถือหุ
อหนได?
ได? ยกเวน
ยกเวน
ตองพิสูจนตนเองวาไมเกีย่ ว
หมวด ๓
อุทธรณ

มาตรา ๔๕ ให
ใ จ ัดตัง้ แผนกคดีผี ูบริิโภคขึึ้นในศาลอุ
ใ ทธรณและ
ศาลอทธรณ
ศาลอุ ทธรณภาค
ภาค โดยให
โดยใหมอานาจพจารณาพพากษาคดทอุ
มีอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีที่อททธรณธรณ
คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นตนในคดีผูบริโภค
การอุ
การอทธรณ
ทธรณ
• มาตรา ๔๖ การอุทธรณคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นตนในคดี
ผูบ รโภค
ิโ ใใหอุทธรณไปยงศาลอุ
ไป ั ทธรณแผนกคดี
 ผี บู รโภคหรื
ิโ ือศาล
อุทธรณภาคแผนกคดีผบู ริโภคภายในกําหนดหนึ่งเดือนนับแตวันที่ได
อานคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น

มาตรา ๔๗ ในคดีผูบริโภคที่ราคาทรัพยสินหรือจํานวนทุนทรัพยที่
พิพาทกันในชั้นอุทธรณไมเกินหาหมื่นบาทหรือไมเกินจํานวนที่กาํ หนด
ในพระราชกฤษฎีกา หามมใหคู
ในพระราชกฤษฎกา หามมิใหคค วามอทธรณ
วามอุทธรณในปญหาขอเทจจรง
ในปญหาขอเท็จจริง

มาตรา ๔๘ ในกรณี
ใ ีที่ผอู ุทธรณเห็็นวาคดีตี องหามอุทธรณตามมาตรา ๔๗ ผู
อุทธรณอาจยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองเพื่อขออนุญาตอุทธรณตอศาลอุทธรณแผนก
คดีผบริรโภคหรอศาลอุ
คดผู โภคหรือศาลอทธรณ ทธรณภาคแผนกคดผู
ภาคแผนกคดีผบรโภคไปพรอมกบอุ
ริโภคไปพรอมกับอทธรณ
ทธรณกได
ก็ได ใน
กรณีเชนวานี้ เมื่อศาลชั้นตนตรวจอุทธรณแลวเห็นวาเปนอุทธรณที่ตองหาม ก็ให
สงอทธรณ
สงอุ ทธรณและคาขอดงกลาวไปยงศาลอุ
และคําขอดังกลาวไปยังศาลอทธรณ ทธรณแผนกคดผู
แผนกคดีผบ รโภคหรอศาลอุ
ริโภคหรือศาลอทธรณ
ทธรณ
ภาคแผนกคดีผูบริโภคเพื่อพิจารณา แตถาศาลชั้นตนเห็นวาอุทธรณดังกลาวไม
ตองหามก็ใหมีคําสั่งรับอุุทธรณนั้นไวดําเนินการตอไป
ในกรณีที่ศาลชั้นตนสั่งไมรับอุทธรณเพราะเหตุตองหามอุทธรณตามมาตรา ๔๗ ผู
อุทธรณอ าจยื่ืนคําขอโดยทํ
โ าเปปนคํารองเพืื่อขออนุญาตอุทธรณตอศาลอุทธรณแผนก
คดีผูบริโภคหรือศาลอุทธรณภาคแผนกคดีผูบริโภคภายในกําหนดสิบหาวันนับแต
วันที่ศาลชั้นตนมีคําสั่งก็ได ถถาคู
วนทศาลชนตนมคาสงกได าคความยื
วามยนคาขอดงกลาวแลว
่นคําขอดังกลาวแลว จะอุ
จ อทธรณ
ทธรณคาสงไมรบ
คําสั่งไมรับ
อุทธรณไมได
หลักเกณฑและวิธีการยื่นคําขอและการพิจารณาคําขอของศาลอุทธรณแผนกคดี
ผููบริโภคหรือศาลอุทุ ธรณภาคแผนกคดีผูบริโภคตามวรรคหนึ่งและวรรคสองให
เปนไปตามขอกําหนดของประธานศาลฎีกา
• ผูอนุญาตเปนผูพ ิพากษาศาลอุทธรณ

มาตรา ๔๙ การพจารณาพพากษาคดผู
การพิจารณาพิพากษาคดีผบ รโภคในศาลอุ
ริโภคในศาลอทธรณ
ทธรณแผนกคด
แผนกคดี
ผูบ ริโภคหรือศาลอุทธรณภาคแผนกคดีผบู ริโภคตองดําเนินการใหเสร็จ
สินิ้ โดยเร็
โ ็ว ทั้งนีี้ ตามขอกําหนดของประธานศาลฎี
ป ีกา

ภายใตบังคับมาตรา ๕๒ คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุทธรณแผนกคดี
ผูบ ริิโภคและศาลอุทธรณภาคแผนกคดีีผบู ริิโภคให
ใ เ ปนทีส่ี ุด
• มาตรา ๕๐ ใหนําบทบัญญัติในหมวด ๒ วิธีพิจารณาคดี
ผูบริโภคในศาลชัน้ ตนมาใชบังคับแกการอุทธรณและการ
พิิจารณาพิิพากษาชีข้ี าดตัดั สิินคดีีของศาลอุทธรณแผนก
คดีผบ รโภคและศาลอุ
คดผู ริโภคและศาลอทธรณ
ทธรณภาคแผนกคดผู
ภาคแผนกคดีผบ รโภคโดย
ริโภคโดย
อนุโุ ลม
ฎีฎกา
กา
มาตรา ๕๑ คดีที่ศาลอุุทธรณแผนกคดีผบู ริโภคหรือศาลอุุทธรณภาค
แผนกคดีผบู ริโภคมีคําพิพากษาหรือคําสั่งแลว คูความอาจยืน่ คํารองตอ
ศาลฎีกาเพื่อขอใหพิจารณาอนญาตให
ศาลฎกาเพอขอใหพจารณาอนุ ญาตใหฎกาในปญหาขอเทจจรงในคดทม
ฎีกาในปญหาขอเท็จจริงในคดีที่มี
ทุนทรัพยที่พพิ าทในชั้นฎีกาเกินสองแสนบาทหรือในปญหาขอกฎหมาย
ภายในกํ
ใ าํ หนดหนึ่ึงเดือื นนบแตวนที
ั  ั ไี่ ดอ านคํ
 าํ พพากษาหรื
ิ ือคํําสงของ
ั่
ศาลอุทธรณแผนกคดีผบู ริโภคหรือศาลอุทธรณภาคแผนกคดีผบู ริโภค

การยื่นคํารองตามวรรคหนึ่ง ใหคูความยื่นฎฎีกาไปพรอมกับคํารองนั้น
ดวย โดยยื่นตอศาลชั้นตนที่มีคําพิพากษาหรือคําสั่งในคดีนั้น แลวใหศาล
ชั้นตนรีบสงคํารองพรอมฎีกาดังกลาวไปยังศาลฎีกาเพือ่ พิจารณาโดยเร็ว
ชนตนรบสงคารองพรอมฎกาดงกลาวไปยงศาลฎกาเพอพจารณาโดยเรว
• ทั้งขอเท็จจริงและขอกฎหมายตองขออนุญาตศาลฎีกา
• ขอเท็จ็ จริงไมเกินสองแสนไมอาจขออนุญาตศาลฎีกาได
• มาตรา ๕๒ ศาลฎกาอาจพจารณาอนุ
ศาลฎีกาอาจพิจารณาอนญาตให ญาตใหฎกาตามมาตรา
ฎีกาตามมาตรา ๕๑
ไดเมือ่ เห็นวาปญหาตามฎีกานัน้ เปน
1ปญหาซึ่งเกี่ยวพันกับประโยชนสาธารณะ
2 อื เปน ปญหาสําคัญอืนื่ ทีศี่ าลฎีกี าควรวินิจฉัย
2หรื
-ศธขดคาพพากศาลหรอคาสงถงทสุ
ศธขัดคําพิพากศาลหรือคําสั่งถึงที่สดของศาลอื
ดของศาลอน่น
-ศธวินจิ ฉัยขอกฎหมายสํ
ฎ าคัญขัดกันหรือขัดกับแนวบรรทัดฐาน ฐ
กับคําพิพากษาศาลฎีกา
-ขอ กฎหมายสําคัญที่ียังไม
ไ มีแนวศาลฎีกี า
• มาตรา ๕๓ หลักเกณฑและวิธกี ารในการยื่นคํารองตามมาตรา ๕๑ การ
พจารณาคํ
ิ าํ รอ งการตรวจรบฎี
ั ีกา การแกฎ ีกา ตลอดจนการพจารณาและ

วินิจฉัยของศาลฎีกาตามมาตรา ๕๒ ใหเปนไปตามขอกําหนดของ
ประธานศาลฎีกา
• มาตรา ๕๔ ในคดีที่ไดรับอนุญาตใหฎีกาเฉพาะปญหาขอ
กฎหมาย หากศาลฎีกาเห็นวาคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาล
อุทธรณหรอศาลอุ
 ื ศ ทธรณภาคไมถู  ไ  กตองไมวาทงหมดหรอ
 ไ   ั้ ื
บางสวนศาลฎีฎกาจะมีคําวินจิ ฉัยแตเฉพาะในปญหาขอกฎหมาย ฎ
และยกคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณ
ภาคหรือศาลชัน้ ตน แลว มีคําสั่งใหศ าลอุทธรณหรือศาลอุทธรณ
ภาคหรือศาลชั้นตนแลวแตกรณี ทาคาพพากษาหรอคาสงใหม
ภาคหรอศาลชนตนแลวแตกรณ ทําคําพิพากษาหรือคําสั่งใหม
ภายใตกรอบคําวินจิ ฉัยของศาลฎีกาก็ได

มาตรา ๕๕ ใหใ น ําบทบััญญัตั ิในหมวด ๒ วิธิ ีพิจารณาคดีี


ผูผบรโภคในศาลชนตนมาใชบงคบแกการพจารณาพพากษาชขาด
ริโภคในศาลชั้นตนมาใชบังคับแกการพิจารณาพิพากษาชี้ขาด
ตัดสินคดีของศาลฎีกาโดยอนุโลม
การยอนสํานวน
การยอนสานวน
• คดีที่ไดรับอนุญาตใหฎีกาเฉพาะปญหาขอกฎหมาย
• หากศาลฎีกี าเห็็นวาคํําพิพิ ากษาหรือื คํําสัง่ั ของศาลอุทธรณห รืือศาลอุทธรณภาคไม
ไ 
ถูกตองไมวาทั้งหมดหรือบางสวน
• ศาลฎีกาจะ
มีคําวินิจฉัยแตเฉพาะในปญหาขอกฎหมาย
มคาวนจฉยแตเฉพาะในปญหาขอกฎหมาย
ยกคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคหรือ ศาล ชั้นตน
มีคําสั่งใหศาลอุทธรณหรือศาลอุทธรณภาคหรือศาลชั้นตนแลวแตกรณี ทําคํา
พิพากษาหรือคําสั่งใหมภายใตกรอบคําวินิจฉัยของศาลฎีกา
พพากษาหรอคาสงใหมภายใตกรอบคาวนจฉยของศาลฎกา
วิธีการชั่วคราวกอนพิพากษา
มาตรา ๕๖ กอนยื่นฟองคดีผบู ริโภค หากมีเหตุเุ ชนเดียวกับกรณีที่จะทํา
ใหโจทกมีสทิ ธิย่นื คําขอใหศาลมีคําสั่งจัดใหมวี ิธคี มุ ครองชั่วคราวกอน
พิพากษาตามมาตรา ๒๕๔ ((๒)) แหงประมวลกฎหมายวิ ฎ ธพี จิ ารณาความ
แพง หรือมีความจําเปนตองขอใหศาลมีคําสั่งหามชัว่ คราวมิใหจําเลย
กระทําการหรืองดเวนกระทําการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อคุมุ ครอง
ประโยชนของผูบริโภคเปนสวนรวม ผูท ี่จะเปนโจทกอาจยื่นคําขอฝาย
เดียวโดยทําเปนคํารองเพื่อขอใชวธิ ีการชัว่ คราวดังกลาวกอนฟองได
เดยวโดยทาเปนคารองเพอขอใชวธการชวคราวดงกลาวกอนฟองได
คํคาขอตามวรรคหนงตองบรรยายถงขอเทจจรงทแสดงวามเหตุ
าขอตามวรรคหนึ่งตองบรรยายถึงขอเท็จจริงที่แสดงวามีเหตทีทจจะฟอง
่ ะฟอง
ผูประกอบธุรกิจเปนจําเลยและมีเหตุเพียงพอทีจ่ ะทําใหเชื่อวาสมควรที่
ศาลจะมีคําสั่งอนญาตตามคํ
ศาลจะมคาสงอนุ ญาตตามคาขอนนาขอนั้น รวมทงจะตองมบนทกถอยคายนยน
รวมทั้งจะตองมีบันทึกถอยคํายืนยัน
ขอเท็จจริงของผูรูเห็นเหตุแหงการขอนั้นเพื่อสนับสนุนขออางดังกลาว
• มาตรา ๕๗ ในการพิจารณาคําขอตามมาตรา ๕๖ ใหศาลมีคําสั่งอนุญาตตามคําขอ
หากพิจารณาแลวเห็นวา
หากพจารณาแลวเหนวา
(๑) คําขอที่ยื่นและในโอกาสที่ยื่นคําขอนั้นมีเหตุสมควร และมีเหตุเพียงพอที่ศาลจะ
มีคําสั่งอนุุญาตตามคําขอนั้นได และ
(๒) สภาพแหงความเสียหายของผูขอไมสามารถทีจ่ ะไดรบั ชดใชเปนเงินหรือ
ทดแทนดวยสิ่งอื่นใดได หรือผูที่จะถูกฟองเปนจําเลยไมอยูในฐานะทีจ่ ะชดใชหรือ
ทดแทนความเสียี หายแกผขู อหรือื กรณีีเปปนการยากทีจ่ี ะบังคับคดีีเอาแกผทู ีจ่ ะถูก
ฟองเปนจําเลยนั้นไดภายหลัง หรือจะเกิดความเสียหายตอผูบริโภคเปนสวนรวม
ั  ไ ี ใ
อนยากตอการแกไขเยยวยาในภายหลง ั
ทั้งนี้ โดยใหคํานึงถึงความเสียหายวาจะเกิดขึ้นแกฝายใดฝายหนึ่งมากกวากัน
เพียงใดเปนสําคัญ
เพยงใดเปนสาคญ
ถาศาลมีคําสั่งใหยกคําขอนั้น คําสั่งเชนวานี้ใหเปนที่สดุ

• มาตรา ๕๘ ใหศาลแจงคําสั่งอนุญาตตามมาตรา ๕๗ ใหผูที่จะถูกฟองเปนจําเลย


ทราบโดยไมชกั ชา
ทราบโดยไมชกชา
คําสั่งศาลตามวรรคหนึ่งนั้นใหมีผลบังคับแกผูที่จะถูกฟองเปนจําเลยไดทันที

มาตรา ๕๙ ในกรณี
ใ ีทศี่ าลมีคี าํ สัง่ อนุญาตตามมาตรา ๕๗
ใหศาลพิเคราะหถึงความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นแกผท จะ
ใหศาลพเคราะหถงความเสยหายทอาจจะเกดขนแกผู ี่จะ
ถูกฟองเปนจําเลย และอาจสัง่ ใหผูขอตามมาตรา ๕๖
วางเงินิ หรืือหาประกั
ป ันมาให ใ ตามจํํานวนภายในระยะเวลา

และกําหนดเงื่อนไขอยางใดตามทีศ่ าลเห็นสมควรสําหรับ
ความเสียหายที่อาจเกิดขึน้ ดังกลาวก็ได
• มาตรา ๖๐ ผูทีจ่ ะถูกฟองเปปนจําํ เลยอาจยืน่ื คําํ ขอให
ใ ศาลยกเลิกิ หรือื
เปลี่ยนแปลงคําสั่งอนุญาตตามมาตรา ๕๗ ได ถาศาลมีคําสั่งยกเลิกหรือ
เปลี
ป ีย่ นแปลงคํ
ป าสัง่ เดิมดังกลา ว คําสั่งเชนวานีี้ใหเ ปนทีส่ี ุด
ในกรณีตามวรรคหนึง่ ผูท่ีจะถูกฟองเปนจําเลยอาจมีคําขอใหศาลมีคําสั่ง
ใหผูขอตามมาตรา ๕๖ ชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนได โดยขอรวมไป
กับคําขอใหยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงคําสั่งนั้น หรือยื่นคําขอตอศาลภายใน
สามสิบวันนับแตวนั ที่ศาลมีคําสั่งยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงคําสั่งเดิม
ดังกลาวและเมื่อศาลทําการไตสวนแลวเห็นวาคําสั่งเดิมที่ถกู ยกเลิกหรือ
เปลี่ยนแปลงนั้นเปนการสั่งโดยความผิดหรือความเลินเลอของผููขอ ทํา
ใหศาลมีความเห็นหลงไปวามีเหตุทจี่ ะฟองผูทจี่ ะถูกฟองเปนจําเลยนั้น
หรือมีเหตุุเพียงพอทีจ่ ะสั่งอนุุญาตตามมาตรา ๕๗ ใหศาลมีคําสั่งใหผขู อ
ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูท่จี ะถูกฟองเปนจําเลยไดตามจํานวนที่
ศาลเห็นสมควร และถาผููขอไมปฏิฏบัติตามคําสั่งศาล ศาลมีอาํ นาจบังคับผูู
ขอเสมือนหนึ่งวาเปนลูกหนี้ตามคําพิพากษา

มาตรา ๖๑ ในกรณีที่ผขู อตามมาตรา ๕๖ มิไดฟองคดีเกี่ยวกับคํา
ขอที่ศาลมีคําสั่งอนญาตตามมาตรา
ขอทศาลมคาสงอนุ ญาตตามมาตรา ๕๗ ภายในสบหาวนนบแต
ภายในสิบหาวันนับแต
วันที่ศาลมีคําสั่งหรือภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนด ใหถือวา
คําสัง่ นัน้ เปปนอันยกเลิกเมือ่ื ครบกําหนดดังกลา ว
ในกรณีตามวรรคหนึง่ ผูที่จะถูกฟองเปนจําเลยอาจยืน่ คําขอตอ
ศาลภายในสามสิบวันนับแตวันที่ถือวาคําสั่งนัน้ เปนอันยกเลิก
ศาลภายในสามสบวนนบแตวนทถอวาคาสงนนเปนอนยกเลก
ขอใหศาลมีคําสั่งใหผูขอตามมาตรา ๕๖ ชดใชคาสินไหมทดแทน
แกตนได
 ไ  และให ใ ศ าลมีคี าสงให
ํ ั่ ใ ผ ูขอชดใช
ใ คาสิ
 นิ ไไหมทดแทน
ใหแกผูที่จะถูกฟองเปนจําเลยไดตามจํานวนที่ศาลเห็นสมควร
และถาผูขอไมปฏิบตั ติ ามคําสั่งศาล ศาลมีอํานาจบังคับผูขอ
ู ต้ ามคําพิพากษา
เสมือนหนึง่ วาเปนลกหนี
• มาตรา ๖๒ ในกรณีที่ผขู อตามมาตรา ๕๖ ฟองคดีเกี่ยวกับคําขอที่
ศาลมีคําสั่งอนญาตตามมาตรา
ศาลมคาสงอนุ ญาตตามมาตรา ๕๗ ภายในสบหาวนนบแตวนท
ภายในสิบหาวันนับแตวันที่
ศาลมีคําสั่งหรือภายในระยะเวลาที่ศาลกําหนดใหคําสั่งอนุญาต
นันั้ หรือื คําํ สัง่ั อนุญาตทีศี่ าลมีคี าํ สัง่ั เปลี
ป ีย่ นแปลงตามมาตรา
ป ๖๐
วรรคหนึ่ง มีผลใชบังคับตอไป เวนแตศาลจะมีคําสั่งตามคําขอ
ของจําเลยใหยกเลิกหรือเปลีย่ นแปลงเปนอยางอืน่ และใหนํา
มาตรา ๒๖๐ มาตรา ๒๖๑ และมาตรา ๒๖๓ แหงประมวล แหงประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับโดยอนุโลม
• มาตรา ๖๓ ในระหวางการพิจารณา ถามีความจําเปนตองกําหนด
มาตรการหรือวิธกี ารใดๆ เพื่อบรรเทาความเสียหายหรือปองกันเหตุทีจ่ ะ
กอใหเกิดความเสียหายแกคคู วามหรือผููบริโภคเปนสวนรวมเปนการ
ชั่วคราวกอนการพิพากษาคดี เมื่อศาลเห็นสมควรหรือคูค วามมีคาํ ขอ
หรือปรากฏจากรายงานของเจาพนักงานคดี ให
หรอปรากฏจากรายงานของเจาพนกงานคด ใหศาลมอานาจกาหนด
ศาลมีอาํ นาจกําหนด
มาตรการหรือวิธกี ารนั้นไดเทาทีจ่ าํ เปนและพอสมควรแกกรณีเพื่อ
ป โ แ หง ความยุตธิ รรม ทััง้ นีี้ ตามหลักั เกณฑและวิธิ ีการทีก่ี ําหนด
ประโยชน
โดยขอกําหนดของประธานศาลฎีกา

เพื่อประโยชนในการดําเนินการตามวรรคหนึ่ง ใหศาลมีอํานาจออกคําสั่ง
ใหบคุ คลที่เกี่ยวของแจงขอมูลหรือออกหมายเรียกบุคคลนั้นมาไตสวน
เกี่ยวกับความเสียหาย เหตที
เกยวกบความเสยหาย เหตุทจะกอใหเกดความเสยหายรวมทงกจการและ
่จะกอใหเกิดความเสียหายรวมทั้งกิจการและ
ทรัพยสินของจําเลยไดตามที่เห็นสมควร
หมวด ๖
การบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง
มาตรา ๖๔ ในการบังคับคดี หากการออกคําบังคับไปยังลูกหนี้
ตามคําพิพากษากอนมีการออกหมายบังคับคดีจะทําใหเจาหนี้
ตามคําพิพากษาไดรับความเสียหายและหากเนิน่ ชาไปจะไมอาจ
ตามคาพพากษาไดรบความเสยหายและหากเนนชาไปจะไมอาจ
บังคับคดีได เจาหนี้ตามคําพิพากษาอาจมีคําขอฝายเดียวตอศาล
เพื่อใหออกหมายบังคับคดีไปทันทีโดยไมจําตองออกคําบังคับ
กอ นก็ไ็ ด
• มาตรา ๖๕ ภายหลงทไดมคาพพากษาถงทสุ
ภายหลังทีไ่ ดมคี ําพิพากษาถึงที่สดในคดี
ดในคด
ผููบริโภคแลว หากความปรากฏแก ฏ ศาลวามีขอ ขัดของทํา
ใหไมอาจดําเนินการบังคับคดีตามคําพิพากษาไดหรือมี
ความจําเปนตองกําหนดวิธีการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อ
บังั คับั ใใหเปนไป
ไปตามคํําพิิพากษา ใใหศาลมีอี ํานาจออก
คําสั่งเพื่อแกไขขอขัดของดังกลาวตามความจําเปนและ
คาสงเพอแกไขขอขดของดงกลาวตามความจาเปนและ
สมควรแกกรณีเพื่อประโยชนแหงความยุุติธรรม
บทเฉพาะกาล

มาตรา ๖๖ บรรดาคดีผี ูบริิโภคซึ่ึงคา งพิจิ ารณาอยูในศาลกอ น
วันที่พระราชบัญญัตนิ ี้ใชบังคับใหศาลนัน้ มีอาํ นาจพิจารณา
วนทพระราชบญญตนใชบงคบใหศาลนนมอานาจพจารณา
พิพากษาตอไป และใหบังคับตามกฎหมายซึ่งใชอยูกอนวันที่
พระราชบัญญัตนิ ้ใี ชบังคับจนกวาคดีนนั้ จะถึงที่สุด
• ราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๕/ตอนที่ ๓๘ ก/หนา ๓๒/๒๕
กุกมภาพั
มภาพนธนธ ๒๕๕๑ ใชบงคบวนท
ใชบังคับวันที่
ขขอทเกยวกบหมอ
อทีเ่ กี่ยวกับหมอ
1.กฎหมายฉบับนี้จะสงผลใหคดีฟองรองมีปริมาณมากขึ้น เพราะผูบริโภคหรือคนไขฟองงายขึ้น
คาธรรมเนียมก็ไมตองเสีย มีมเจาหนาทอานวยความสะดวกเขยนคาฟองใหดวยซา
คาธรรมเนยมกไมตองเสย เจาหนาที่อํานวยความสะดวกเขียนคําฟองใหดวยซ้ํา
2.เปนการพลิกโฉมของการฟองรองอยางสิ้นเชิง ซึง่ แตเดิมเวลามีกรณีคนไขฟองหมอ คนไขตอง
พยายามพิสูจนใหไดวาหมอผิดอยางไร ซึ่งยากมากๆที่คนไขจะชนะ แต พรบ.ฉบับนี้ กําหนดให
หมอตอ งเปปนฝายพิิสูจนใ หศาลฟฟงวาตนเองถูกตองอยางไร
ไ ซึึง่ ในกรณี
ใ ีนี้ หมอทีี่ไมร ูกฎหมายจะ
เสียเปรียบมาก
3.คารักษาพยาบาลในอนาคตนาจะตองสงขึ
3.คารกษาพยาบาลในอนาคตนาจะตองสู งขน้น เพราะคงตองมการตรวจ
เพราะคงตองมีการตรวจ ทาประวต
ทําประวัติ ถายรงส
ถายรังสี กอน
กอน
รักษา มีการจัดทําระบบการเก็บขอมูลคนไขใหเปนระบบ ซึ่งสิ่งตางๆเหลานี้ คือ "ตนทุน" ซึ่งใน
ที่สุดแลว ก็คงตองสงผลใหราคาคาทําฟนสูงขึ้นในอนาคตเปนแน
4.4 การทใหอายุ
ี่ใ  ความยาวนานถงึ 10 ปป กอาจทาใหเราตองเกบรกษาขอมู
็ ํใ   ็ ั  ลการรกษาั จนกระทงอาจ ั่
ตองมีการรับประกันงานที่เราทําใหคนไขในอนาคตก็เปนได
5. ตอไปคนไขจะผาฟนคุุดที่คลินิกทั่วๆไปที ๆ ่เปนหมอทั่วไปคงลําบาก เพราะหมอคงเลือกทําการ
รักษาแตในกรณีท่ไี มมีความเสี่ยง ในกรณีที่ยาก คนไขอาจตองทําการรักษาในโรงพยาบาลใหญๆที่
มีหมอเฉพาะทาง ซึ่งแนนอนวาคาใชจายตองสูงขึ้นแน
6.6 ความสมพนธระหวางคนไขกบหมอนาจะเปลยนไป
ความสัมพันธระหวางคนไขกับหมอนาจะเปลี่ยนไป จากเดมสงคมไทยทมความเคารพในตว
จากเดิมสังคมไทยที่มีความเคารพในตัว
หมอระดับหนึ่ง ก็ตองอยูบนพืน้ ฐานของการหวาดระแวง ความเอื้ออาทรก็คงลดนอยลง จนใน
ที่สุดการใหการรักษาก็จะเปนแคสินคา ชนิดหนึ่ง ที่ผูบริโภคพรอมที่จะฟองรองเมื่อไมพอใจ ดัง
ตัวั อยา งในประเทศอเมริ
ใ ป กิ า
มาตรการสําหรับหมอในการปองกันผลกระทบตอ พรบ
ฉบั
ฉบบน
บนี้
1รักษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพใหเครงครัด
2  
2.อยาสรางความคาดหวงสู ั งใหคนไข
ใ  ไ 
3.อยาโฆษณาสถานพยาบาล คุณวุฒิ เพื่อชักชวนใหคนไขมารับบริการ
(เชนทําฟน โดยทันตแพทยผ ูเชี่ยวชาญ คําวา ผูเชี่ยวชาญ เราหมายถึง
ทพ. ทีไ่ ดอนุุมตั ิบตั รและวุุฒิบตั ร เทานั้นนะครับ
Post grad,ป.โท เราไมนับนะครับ
4.4 พยายามแจงขอมู
พยายามแจงขอมลการรั ลการรกษา
กษา ทางเลื
ทางเลอกใหคนไขตดสนใจเอง
อกใหคนไขตดั สินใจเอง วาจะ วาจะ
รักษา หรือ ไมรักษาก็ได
5. ตอ งแจง อาการไม
ไ พ ึงประสงค
ป ท อี่ าจจะเกิดิ ขึึน้ ได
ไ ใ หผ ปู ว ยรับั ทราบ ให
ใ 
ผูปวยลงลายมือชือ่ ยินยอมรักษาดวยนะ
6.ตองมีการตรวจ วินิจฉัย วางแผนการรักษาใหสมบูรณ มีการเก็บบันทึก
เปนลายลักษณอกั ษรชัดเจน อยางนอย 10 ป
คดีตัวอยาง
คดตวอยาง
• ศาสตราภิชาน ดร.เจิมศักดิ์ ปนทอง อดีตสมาชิกวุฒิสภา กลายเปน
ตัวอยางผบรโภคทมประสบการณฟองรองคด
ตวอยางผู ริโภคทีม่ ีประสบการณฟอ งรองคดี พพ.ร.บ.วธพจารณา
ร บ วิธีพจิ ารณา
ผูบริโภค
• และสามารถฟองรองชนะคดีเรียกรองคาชดใชเปน "รายแรก" ของ
เมืองไทย
• ภายหลังกฎหมายฉบับนี้มีผลบังคับใชเมื่อ 23 ส.ค.2551 ในกรณีรองสิทธิ์
ผูบ ริิโภคกับั บริษิ ัท ทา อากาศยานไทย
ไ จําํ กัดั (มหาชน) หรือื (ทอท.)และ
สายการบิน "นกแอร" บกพรองในหนาทีก่ ารใหบริการ "ไมใช"
เครื่องตรวจสแกนระเบิดวัตถุโลหะแกผูโดยสาร
• ถาใครซื้อรถแลวขับไมได ซื้อบานแลวไมไดบาน ก็ยนื่ ฟองไดที่ศาลแถว
บา นตวเอง
ั ไมต
ไ  อ งมาฟฟองทีก่ี รุงเทพฯ คดีแี บบนี้ีมีเยอะ ชาวบา นมกท
ั อ
ไมอยากเปนความ ตอไปนี้มาที่ศาล ทุกอยางฟรี
สภาทนายความ เผย ไดใหความชวยเหลือในการยื่นฟอง ซานติ กา ผับ คดี
แพง ตอ สํํานัักคดีผี บู ริโิ ภคแลว รวม 7 สําํ นวน รวมทุน ทรัพั ยท ัง้ สินิ้
105,,705,
105 705,005 บาท
• ความคืบหนาการใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกผูเสียหาย กรณีไฟไหม ซานติกา ผับ เมื่อคืน
วันที่ 1 ม.ค. 2552 ที่ สภาทนายความ วันนี้ (6 มี.ค.) นายเสงีย่ ม บุญจันทร เลขาธิการและรอง
โฆษกสภาทนายความ กลาววา หลังจากตรวจสอบขอเท็จจริงจากผูเสียหายเขารองขอความ
ชวยเหลือตอสภาทนายความแลว สภาทนายความได
ชวยเหลอตอสภาทนายความแลว สภาทนายความไดใหความชวยเหลอในการยนฟองคดแพงตอ
ใหความชวยเหลือในการยื่นฟองคดีแพงตอ
สํานักคดีผูบริโภคแลวรวม 7 สํานวน รวมทุนทรัพยทั้งสิ้น 105,705,005 บาท ประกอบดวย
• สํานวนที่ 1 นายอภิศักดิ์ เมฆทิพย เปนโจทกยื่นฟอง บริษัทไวท แอนด บราเธอรส (2003)จํากัด
กับพวกรวม 33 คนเปนจําเลยตอศาลแพง เรื่องละเมิดเรียกคาเสียหาย กรณีมีการเสียชีวิต จํานวน
ทุนทรัพย 19,880,000 บาท ศาลรับฟองเปนคดีหมายเลขดําที่ ผบ.754/2552 ,
• คดที ี่ 2 นางประสงค
ป  ทากนหา
ํ ั ,นายจุนอชโร
ิ ิโ ซูซูกิ เปนโจทกยนฟอง
ป โ  ื่ ฟ บจก.ไวทฯ ไ  กบพวกรวม
ั 33
คน เปนจําเลยเรือ่ งละเมิดเรียกคาเสียหายกรณีเสียชีวิต จํานวนทุนทรัพย 20,900,000 บาท ศาล
รับฟองเปนคดีหมายเลขดําที่ ผบ.755/2552 ,
• คดีที่ 3 นายอวยชัย และนางธัญญารัตน หรือเนตรดาว อมรรัตนโชติ เปนโจทกยื่นฟอง บจก.ไวท
ฯ กับพวกรวม 33 คน เปนจําเลยเรื่องละเมิดเรียกคาเสียหายกรณีเสียชีวิต จํานวนทุนทรัพย
28,700,000 บาท ศาลรับั ฟองเปปนคดีีหมายเลขดํําทีี่ ผบ.756/2552 ซึงึ่ สําํ นวนคดีีที่ 1-3 ศาลแพง
นัดสืบพยานโจทกในวันที่ 30 มี.ค.นี้ เวลา 09.00 น.
• สวนคดีที่ 4 นางวันเพ็ญ พัฒนผล เปนโจทกยื่นฟอง บจก.ไวทฯ กับพวกรวม 33
คน เปนจาเลยเรองละเมดเรยกคาเสยหายกรณบาดเจบ
ป ํ ื่ ิ ี  ี ี ็ จานวนทุ
ํ นทรพยั  7,695,622
7 695 622
บาท ศาลรับฟองเปนคดีหมายเลขดําที่ ผบ.818/2552 ,
• คดที ี่ 5 นางชลอ นวมเจรญ
 ิ เปนโจทกยนฟอง
ป โ  ื่ ฟ บจก.ไวทฯ ไ  กบพวกรวม
ั 33 คน เปน
ป
จําเลยเรื่องละเมิดเรียกคาเสียหายกรณีเสียชีวิต จํานวนทุนทรัพย 10,740,000 บาท
ศาลรับฟองเปนคดีหมายเลขดําที่ ผบ.819/2552
ศาลรบฟองเปนคดหมายเลขดาท ผบ 819/2552 ,
• คดีที่ 6 นายศักดิ์ ปญญาทิพย เปนโจทกยื่นฟอง บจก.ไวทฯ กับพวกรวม 33 คน
เปนจําเลยเรื่องละเมิดเรียกคาเสียหายกรณีเสียชีวิต จํจานวนทุ
เปนจาเลยเรองละเมดเรยกคาเสยหายกรณเสยชวต านวนทนทรั
นทรพย
พย 8,900,000
8 900 000
บาท ศาลรับฟองเปนคดีหมายเลขดําที่ ผบ.820/2552
• และสานวนท
และสํานวนที่ 7 นางฉววรรณ
นางฉวีวรรณ วงษทว
วงษทวี โจทกยนฟอง
โจทกยื่นฟอง บจก.ไวทฯ
บจก ไวทฯ กบพวกรวม
กับพวกรวม 33
คน เปนจําเลยเรื่องละเมิดเรียกคาเสียหายกรณีเสียชีวิต จํานวนทุนทรัพย 8,889,383
บาท ซงศาลรบฟองเปนคดหมายเลขดาท
ซึ่งศาลรับฟองเปนคดีหมายเลขดําที่ ผบ.821/2552
• ในสวนคดีที่ 4 และ5 ศาลแพงนัดไกลเกลี่ยคูความในวันที่ 30 มี.ค. 52 เวลา 09.00 น.
ขณะที่คดีที่ 6 และ 7 ศาลนดไกลเกลยในวนเดยวกนเวลา
ขณะทคดท ศาลนัดไกลเกลี่ยในวันเดียวกันเวลา 13.30 น.
• 2.คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1577/2548
• คดีกอ นคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคโดยพนักงานอัยการในฐานะ
เจาหนาที่คม ครองผู
เจาหนาทคุ ครองผบรโภคเปนโจทกฟองคดแทนโจทกคดนในกรณท
ริโภคเปนโจทกฟองคดีแทนโจทกคดีนี้ในกรณีที่
โจทกคดีนี้ทาํ สัญญาจะซื้อจะขายทีด่ ินพรอมอาคารจากจําเลย โดยชําระ
เงินิ จองและผอนชําระราคาไปแล
ไป ว ขอให
ใ จาํ เลยชําระเงิินพรอมดอกเบีีย้
แกโจทก การที่โจทกฟองคดีนี้ขอใหจําเลยคืนเงินพรอมดอกเบี้ยทีโ่ จทก
ไดชําระไปตามสัญญาจะซื้อจะขายทีด่ ินพรอมอาคารรายเดียวกันอีก จึง
เปนการยื่นคําฟองเรื่องเดียวกันเปนฟองซอนกับคดีกอนตองหามตาม ปป.
เปนการยนคาฟองเรองเดยวกนเปนฟองซอนกบคดกอนตองหามตาม
วิ.พ. มาตรา 173 วรรคสอง (1) แมตอมาโจทกในคดีกอ นจะขอแกไขคํา
ฟองโดยขอตัดรายชื่อโจทกคดีนี้จากคําฟอง กไมทาใหฟองโจทกคดนซง
ฟองโดยขอตดรายชอโจทกคดนจากคาฟอง ก็ไมทําใหฟองโจทกคดีนี้ซึ่ง
ไมชอบดวยกฎหมายมาแตตนกลับเปนฟองที่ชอบดวยกฎหมาย
• ดูฉบับยอ ฎีกาอื่นที่เกี่ยวของแยกตามกฎหมายและมาตรา
ป วิ พ ม.
ป.ว.พ. ม 173
• 5.คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 549/2546
• ตามบันทึกเพิ่มเติมแนบทายสัญญาจะซื้อขายที่ดินและโรงเรือนมีขอ ตกลงใหจําเลย
ผูจะขายตองกอสรางบานใหแลวเสร็จเรียบรอยภายใน 6 เดือน และโจทกผูจะซื้อ
ตอ งชํําระเงินิ คางวดทีีค่ าง 6 งวด ภายในระยะเวลาเดี
ใ ยี วกััน หากฝฝายใดผิ
ใ ิดเงือ่ื นไข

ใหถือวาเปนฝายผิดสัญญา ตอมาจําเลยกอสรางบานใหโจทกเสร็จไมทันภายใน
กําหนดดังกลาวสวนโจทกชําระเงินทั้ง 6 งวด ใหจาเลยแลวจาเลยจงผดสญญาและ
กาหนดดงกลาวสวนโจทกชาระเงนทง ใหจําเลยแลวจําเลยจึงผิดสัญญาและ
โจทกยอมบอกเลิกสัญญาได
• พฤตการณทโจทกไมถอเอากรณทจาเลยสรางบานไมเสรจตามขอตกลงเปน
พฤติการณที่โจทกไมถอื เอากรณีที่จําเลยสรางบานไมเสร็จตามขอตกลงเปน
สาระสําคัญในการบอกเลิกสัญญา แสดงวาโจทกประสงครับโอนกรรมสิทธิ์บาน
และที่ดินตามสัญญาจะซื้อขายตอไป เพยงแตขอใหจาเลยแกไขสวนทชารุ
และทดนตามสญญาจะซอขายตอไป เพียงแตขอใหจําเลยแกไขสวนที่ชํารดด
บกพรองในการกอสรางบานที่เห็นประจักษเทานั้น ซึ่งเปนเรื่องปกติธรรมดาของผู
จะซื้อบานอยููอาศัย จึงเปนหนาที่ของจําเลยตองดําเนินการใหโจทกกอนการโอน
กรรมสิทธิ์ เมื่อจําเลยยังไมปฏิบัติการชําระหนี้ของตนใหครบถวน จําเลยจึงไมอยู
ในฐานะที่จะเรียกใหโจทกมารับโอนกรรมสิทธิ์บานและที่ดิน ทั้งภายหลังจําเลย
กลับนําบานและทีด่ี ินดังกลาวไปขายแก
ไ บุคคลอืน่ื อีกี จําเลยจึึงเปนฝฝายผิดสัญญา
โจทกบอกเลิกสัญญาได จําเลยจึงตองคืนเงินคางวดที่โจทกชําระไปพรอมดอกเบี้ย
โ 
แกโจทก
• ดูฉบับยอ ฎีกาอื่นที่เกี่ยวของแยกตามกฎหมายและมาตรา
• 9.คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 2729/2545
• โจทก
โ เสนอขายทีีด่ ินในโครงการโดยมี
ใ โ โ ีแผนผัังประกอบการขายด
ป ว ย จํําเลยเขา ทํํา
สัญญาจะซื้อจะขายเพราะเชื่อวาโจทกจะสรางสาธารณูปโภคอันไดแกสะพาน
ตลาดระบบประปา ป ป ไฟฟาและโรงเรี โ ียนอนุบาล แตต อมาโจทก
โ ไ ปยื ป น่ื คําํ ขออนุญาต
ทําการคาที่ดินระบุวาขายราคาตารางวาละ 300 บาท ไมมีการจัดทําสาธารณูปโภค
อยา งอืืน่ เวน แตทําถนนลูกรัังเทานััน้ การกระทําของโจทก
โ เปนการปฏิ ป ิเสธการชําระ
หนี้ตามสัญญาจะซื้อจะขาย จําเลยจึงไมมีหนาที่ตองชําระหนี้แกโจทก ถือวาโจทก
เปปนฝายผิิดสัญญาจําเลยยอมมีีสิทธิิบอกเลิิกสัญญาได ไ  การทีี่จําเลยขอเงิินคาทีีด่ ินคืืน
จากโจทกเมื่อโจทกปฏิเสธวาไมมหี นาที่ที่จะตองสรางสาธารณูปโภคเปนการบอก
เลิกสัญญาจะซืื้อจะขายที่ดินแลว สัญญาจะซือ้ื จะขายทีด่ ินจึึงเปนอันเลิกกัน โโจทก
และจําเลยตองกลับคืนสูฐานะเดิม โจทกตองคืนเงินคาที่ดินซึ่งไดรับจากจําเลยตาม
สัญญาจะซือื้ จะขายแกจําเลยโดยจําเลยตอ งจดทะเบียนโอนที่ดินตามสัญญาจะซือื้
จะขายคืนแกโจทก
• ดูฉบับยอ ฎีกาอื่นที่เกี่ยวของแยกตามกฎหมายและมาตรา

ป.พ.พ. ม. 387, 391


• 33.คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3463/2537
• แจงแกไขขอมลจ
แจงแกไขขอมู ลจ. ไดนาทดนมาแบงแยกจดสรรขายใหแกประชาชนทวไปโดยไดกนเนอทดนบางสวนทาเปนถนน
ไดนําที่ดินมาแบงแยกจัดสรรขายใหแกประชาชนทั่วไปโดยไดกันเนื้อที่ดินบางสวนทําเปนถนน
เพื่อใหบุคคลที่อยูในหมูบานจัดสรรใชเปนทางสัญจรจากหมูบานไปสูถนนสาธารณะ ตอมาที่ดินที่เปนทางบางสวน
จ. ไดรงั วัดแบงแยกแลวจดทะเบียนยกใหเปนทางสาธารณประโยชนคงเหลือเฉพาะที่ดินที่เปนทางพิพาทซึ่ง จ. ไดให
โจทกเชาปลููกสรางอาคารและโจทกไดรับอนุุญาตใหปลููกสรางอาคารได ดังนี้ แมที่ดินที่โจทกจะปลููกสรางอาคาร
ดังกลาว จ. จะมิไดยกใหเปนสาธารณะ แตเมื่อที่ดงั กลาวเปนสวนหนึ่งของที่ดินที่มีสภาพเปนสาธารณูปโภค ซึง่ จ.ผู
จัดสรรที่ดินไดจัดใหมีขึ้นในที่ดินที่ไดรับอนุญาตจัดสรรจึงตองดวยบทบัญญัติของประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่286
ขอ 30ที่บัญญ
ญญัติ ใหถือวาตกอยูใู นภารจํายอมเพื่อประโยชนแกที่ดินที่จัดสรรและใหเปนหนาที่ของผูจู ัดสรรที่ดินหรือ
ผูรับโอนกรรมสิทธิ์คนตอไปที่จะบํารุงรักษากิจการดังกลาวใหคงสภาพดังเชนที่ไดจัดทําขึ้นโดยตลอดไปและจะ
กระทําการใด ๆ อันเปนเหตุใหประโยชนแหงภารจํายอมลดไปหรือเสื่อมความสะดวกไมได ดังนั้น จ. จะนําไปใหผู
หนึ่งผูใดเชาเพื่อปลูกสรางอาคารอันเปนการกระทําที่เปนเหตุใหประโยชนแหงภารจํายอมลดไปหรือเสื่อมความ
สะดวกไม ไ ไดจําเลยที่ 1 และที่ 2 ซึงึ่ เปน เจาพนักงานทอ งถิน่ ก็ไ็ มมีอํานาจออกใบอนุญาตใหมีการสรางอาคารในทีด่ ิน
นั้น จําเลยที่ 1 และที่ 2ยอมมีสทิ ธิตามกฎหมายที่จะเพิกถอนใบอนุญาตกอสรางที่ออกใหแกโจทก ทั้งจําเลยที่ 3 ถึงที่
11 ซึง่ เปนคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณเมือ่ ไดพจิ ารณาถึงขอเท็จจริงดังกลาวแลวก็ยอมมีอํานาจใหยกอุทธรณของ
โ ไดเชน กันั คํําวิินิจฉัยั ของจําํ เลยที่ี 3 ถึงึ ทีี่ 11จึงึ ชอบดวยกฎหมายแลว การดําํ เนิินกระบวนพิิจารณาในศาลนั
โจทก ใ ้ั น
ประเด็นแหงคดียอมเกิดจากคําฟองและคําใหการ เมื่อจําเลยไดใหการตอสูถงึ สภาพของที่ดนิ ที่โจทกกอสรางอาคาร
วาเปนภารจํายอมที่ผูจัดสรรที่ดินจัดใหมีขึ้น ประเด็นแหงคดีจึงมีวาที่ดินดังกลาวตกอยูในภารจํายอมหรือไมรวมอยู
ดวย หาใชประเดนมเพยงเทาทจาเลยท
ใ ป ็ ี ี  ี่ ํ ี่ 3 ถงึ 11ซงเปนคณะกรรมการพจารณาอุ
11 ึ่ ป ิ ทธรณวนจฉยเทานนไม
 ิ ิ ั  ั้ ไ  และขอ
วินิจฉัยของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณดงั กลาวก็ไมผูกมัดใหศาลตองถือตามแตอยางใด
• ดูฉบับยอ ฎีกาอื่นที่เกีย่ วของแยกตามกฎหมายและมาตรา
ป.พ.พ. ม. 1390 ป.วิ.พ. ม. 142 ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 ขอ 30แหลงที่มา
• 28.คําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7053/2540
• ผูผบริรโภคไดตกลงจะซอทดนตามฟองโดยมการวางเงนมดจา
โภคไดตกลงจะซื้อที่ดินตามฟองโดยมีการวางเงินมัดจํา ซึซงกรณดงกลาวไมจาตองม
ง่ กรณีดังกลาวไมจําตองมี
หลักฐานเปนหนังสือก็ฟองรองบังคับคดีกันไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา
456 วรรคสอง จึงมิใชกรณีที่กฎหมายบังคับใหมีพยานเอกสารมาแสดง ดังนัน้ โจทกยอมมีสทิ ธิ
นําสืบพยานบุคคลเพิ่มเติมขอความในเอกสารได หรือศาลมีอํานาจรับฟงพยานบุคคลของโจทก
ได
• จาเลยไดตกลงจะสรางเขอนกนดนรมคลองใหแกผู
ํ ไ ส  ื่ ั้ ิ ิ ใ   บ รโภคแตแลวกไมสรางใหโดยคดคาสราง
โิ   ไ็ ส  ใ โ ิ  ส 
เขื่อนตารางวาละ 1,500 บาท รวมเปนเงิน 150,000 บาท ดังนี้ จําเลยจึงตองคืนเงิน 150,000 บาท
ใหแกผูบริโภค
• ผูแทนของจําเลยไดทําบันทึกตอคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคคือโจทกวา จําเลยยอมรับจะ
ซอมแซมบานสวนที่ชํารุดบกพรองใหแกผูบริโภคซึง่ เปนผูรองเรียน ถาผูบริโภคไมติดใจ
ฟองรอ งทางแพงและทางอาญาตอจาเลยนน
  ํ ั้ เปนเพยงหนงสอบนทกถ
ป ี ั ื ั ึ อ ยคาหรอคาให
ํ ื ํ ใ การของ
จําเลยในฐานะผูถูกรองเรียนตอพนักงานเจาหนาที่ของคณะกรรมการคุมครองผูบ ริโภค ซึง่ เปน
องคกรปกครองทีจ่ ัดตัง้ ขึน้ มาเพื่อคุุมครองผููบริโภค อันเปนกรณีที่จําเลยใหถอยคําไปตามหนาที่ที่
ถูกรองเรียน และมิใชกระทําตอเจาหนี้หรือผูแทนเจาหนีท้ ง้ั ยังเปนการยอมรับจะชําระหนีค้ ือ
ซอมแซมบานสวนที่ชํารุดบกพรองโดยมีเงื่อนไขวาผูบริโภคตองไมติดใจฟองรองทางแพงและ
ทางอาญาตอจําเลย ดงนกรณถอไมไดวาจาเลยมเจตนาจะชาระหนแกเจาหนอกดวย
ทางอาญาตอจาเลย ดังนี้กรณีถือไมไดวาจําเลยมีเจตนาจะชําระหนี้แกเจาหนีอ้ ีกดวย จงไมเปนการ
จึงไมเปนการ
รับสภาพหนี้ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 172 ซึง่ ใชบงั คับขณะยอมรับจะชําระ
หนี(้ มาตรา 193/14(1) ทีแ่ กไขใหม)
• ฟองโจทกในสวนที่ใหจาํ เลยชําระหนี้ เปนการฟองรองทีโ่ จทกอางอิงสิทธิเรียกรองของผูบ ริโภค
เมื่อผูบริโภคตรวจพบความชํารุดบกพรองของบานทีจ่ ําเลยกอสรางตัง้ แตวนั ที่ 3 กุมภาพันธ 2533
• 34.คํ
34.คาพพากษาศาลฎกาท
าพิพากษาศาลฎีกาที่ 3644/2536
• การจัดสรรทีด่ ินที่มีขึ้นภายหลังจากประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 286 ใช
บังคับ ถนนซงเปนสาธารณู
บงคบ ถนนซึ่งเปนสาธารณปโภคที
ปโภคทผู่ผจ ดดสรรทดนไดจดใหมขนจะตกอยู
ั สรรที่ดนิ ไดจัดใหมีขึ้นจะตกอย
ในภารจํายอมก็ตอเมื่อแผนผังและโครงการจัดสรรที่ดนิ นั้นไดรับ
อนุนญญาตแลว
ตแลว ดัดงนนการยนคาขอรวมและแบงแยกโฉนดทดนทเปนถนน
งนั้นก รยื่นคํ ข รวมแล แบงแยกโฉนดทีด่ ินที่เปนถนน
ซึ่งเจาพนักงานไดทาํ การรังวัดและแบงแยกทีด่ นิ เสร็จสิ้นกอนที่จะยื่นคํา
ขออนุญาตและได ไ ร ับอนุญาตให
ใ จดสรรทดน
ั ี่ ิ จงยงไมตกอยู
ึ ัไ  ใ นภารจาํ
ยอม
• ดูฉบับยอ ฎีกาอื่นที่เกี่ยวของแยกตามกฎหมายและมาตรา
ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 286 ขอ 30, ขอ 32แหลงทีม่ า
คดผู
คดีผบรโภค
ริโภค
• คดีที่คณะกรรมการคุมครองผูบริโภคหรือสมาคมที่รับรองฟอง
• คดีท่ีผบู ริโภคฟองผูป ระกอบธุรกิจ ไมกอสราง ไมโอนกรรมสิทธิ์ ไม
จัดทําสาธารณปโภค
จดทาสาธารณู ปโภค
• คดีที่ผบู ริโภคฟองผูป ระกอบธุรกิจซื้อขายรถยนต
• คดีที่ผบู ริโภคฟองผูป ระกอบธุรกิจใหบริการทองเที่ยว
• คดีที ีผ่ บู ริิโภคฟฟองผูป ระกอบธุรกิิจโโรงพยาบาลสถานบริิการ
• คดทผู
คดีที่ผบ รโภคฟองผู
ริโภคฟองผประกอบธรกิ
ระกอบธุรกจธนาคารพาณชย
จธนาคารพาณิชย
คดผู
คดีผบรโภค
ริโภค
• คดีที่ผปู ระกอบธุรกิจธนาคารพาณิชยฟองบังคับลูกคา
• คดีที ีผ่ ปู ระกอบกิจิ การโทรคมนาคมฟ
โ ฟองบังั คับั สัญ
ั ญาโทรศั
โ พั ท
อินเตอรเน็ต
• คดีที่ผปู ระกอบกิจการสาธารณูปโภค ไฟฟา ประปา
• คดีที ีผ่ ปู ระกอบกจการให
ิ ใ เชาซื
 อื้ ฟองบงคบ
ั ั
• คดีที่ผปู ระกอบธุุรกิจบัตรเครดิตฟอง
• คดีที่ฟอ งระหวางผูป ระกอบธุรกิจรับประกันภัยและผูเอาประกันภัย
• คดีท่ีผเู สียหายจากสินคา ไม
ไ ปลอดภัยฟองผูประกอบการ
ขอกําหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการดําเนิน
ขอกาหนดของประธานศาลฎกาวาดวยการดาเนน
กระบวนพิจารณาและการปฏิบัติหนาที่ของเจา
กระบวนพจารณาและการปฏบตหนาทของเจา
พนกงานคดในคดผู
พนักงานคดีในคดีผบ รโภค
ริโภค พ.
พ.ศ. ๒๕๕๑
ปรชญา
ปรัชญา อยู
อยประเสรฐ
ระเสริฐ
สํานักระงับขอพิพาท
12 พฤษภาคม 2552
• อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ มาตรา ๖ มาตรา ๑๖ มาตรา ๒๕ มาตรา
๔๘ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๓ ๕ และมาตรา ๖๓ ๖ แหงพระราชบญญตวธพจารณาคด
แหงพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี
ผูบริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑ ประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญศาล
ฎีกาออกขอกําหนดไว ดงตอไปน
ฎกาออกขอกาหนดไว ดังตอไปนี้
ขอ ๑ ขอกําหนดนี้เรียกวา “ขอกําหนดของประธานศาลฎีกาวาดวยการดําเนิน
กระบวนพิจารณาและการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานคดีในคดีผบ ริรโภค
กระบวนพจารณาและการปฏบตหนาทของเจาพนกงานคดในคดผู โภค พพ.ศ.

๒๕๕๑”
ขอ ๒ ขอกาหนดนใหใชบงคบตงแตวนทพระราชบญญตวธพจารณาคดผู
ขอ ขอกําหนดนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันที่พร ราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผบ ริรโภค
โภค
พ.ศ. ๒๕๕๑ มีผลใชบังคับเปนตนไป
ขอ ๓ ในขอกาหนดน
ใ  ํ ี้
“ศาลอุทธรณ” หมายความวา ศาลอุทธรณแผนกคดีผูบริโภคหรือศาลอุทธรณภาค
แผนกคดผูี บรโภค
ิโ แลวแตกรณ
  ี
ขอ ๔ ใหสํานักงานศาลยุติธรรมออกประกาศกําหนดแบบพิมพที่จําเปนแก
การดํําเนินิ กระบวนพิจิ ารณาคดีีผบู ริโิ ภค
ขอ ๕ ใหประธานศาลฎีการักษาการตามขอกําหนดนี้
หมวด ๑
การฟองคดี

• ขอ ๖ ในกรณี
ใ ที โี่ จทกย ืน่ คําํ ฟองเปปนหนังั สืือ หากคําํ ฟองนั้ันไม
ไ ถ ูกตอ ง
หรือขาดสาระสําคัญในเรื่องใด เจาพนักงานคดีอาจใหคําแนะนําแกโจทก
เพื่อจัดทําคําฟองใหถูกตองครบถวน
ในกรณีทโี่ จทกประสงคจะฟองดวยวาจา ใหเจาพนักงานคดี
ดําเนินการเพื่อใหมีการจดบันทึกรายละเอียดแหงคําฟองลงในแบบพิมพ
คําฟองแลวใหโจทกลงลายมือชื่อไวเปนสําคัญเพื่อประโยชนในการ
คาฟองแลวใหโจทกลงลายมอชอไวเปนสาคญเพอประโยชนในการ
ดําเนินคดี ใหโจทกเสนอพยานหลักฐานทีเ่ กี่ยวของเทาทีจ่ ะทําไดมา
พรอ มกับั คํําฟอง
• ขขออ ๗ การใหคาแนะนาและการใหความชวยเหลอตามขอ
การใหคําแน นําแล การใหความชวยเหลือตามขอ ๖ ให ให
เจาพนักงานคดีพิจารณาชวยเหลือตามสมควรแกกรณี และให
รวมถึงการตรวจสอบสถานการเปนนิติบคุ คลหรือภูมลิ ําเนาของ
คูคความเพอประโยชนในการจดทาคาฟอง
วามเพือ่ ประโยชนในการจัดทําคําฟอง แตทงนตองไมม
แตทั้งนีต้ องไมมี
ลักษณะเปนการกําหนดรูปคดีทํานองเดียวกับการปฏิบตั ิหนาที่
ของทนายความ

ขอ ๘ ในคําฟอง นอกจากภููมลิ ําเนาของคูคู วามแลว ใหระบุุ
สถานที่ที่สามารถติดตอไดโดยสะดวก และหมายเลขโทรศัพท
ของคความเท
ของคู วามเทาททราบไวดวย
าที่ทราบไวดวย
หมวด ๒
การนัดพิจารณา
การนดพจารณา
• ขอ ๙ ใหศาลกําหนดวันนัดพิจารณาโดยเร็ว แตตองไมเกินสามสิบวันนับแตวันที่
ศาลมีคี ําสัง่ั รับั คําฟอง

ขอ ๑๐ การสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองใหแกจําเลย ศาลอาจมีคําสั่งใหสงโดย
ทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับหรือโดยทางเจาพนักงานศาล ก็ได ในกรณีที่สง
โดยทางเจาพนักงานศาล ศาลจะมีคําสั่งใหปดหมายเรียกและสําเนาคําฟอง ทั้งนี้
ศาลอาจยนหรือขยายระยะเวลาใหมีผลใชไดกอนหรือหลังครบกําหนดสิบหาวัน
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๗๙ ดวยก็ไดในกรณีที่สงไมได
และตองมีการสงใหม ศาลอาจมีคําสั่งใหเลื่อนวันนัดพิจารณาออกไปไดแตตองไม
เกินสามสิบวันนับแตวันที่มีคําสั่งดังกลาว

ขอ ๑๑ การสงหมายเรียกและสําเนาคําฟองนั้น ใหสงคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ
และผลแหงการที่ไมมาศาลในวันนัดพิจารณาใหจําเลยทราบดวย ตามแบบที
และผลแหงการทไมมาศาลในวนนดพจารณาใหจาเลยทราบดวย ตามแบบท่
สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนด
• ขขออ ๑๒ การสงคาคู
การสงคําคความหรอเอกสารอยางอนทมใชหมายเรยกและสาเนาคาฟอง
วามหรือเอกสารอยางอื่นที่มิใชหมายเรียกและสําเนาคําฟอง
หรือการแจงวันนัด คําสั่งศาล หรือขอความอยางอื่นไปยังคูความหรือบุคคลอื่นใด
ใหดําเนินการโดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ เว
ใหดาเนนการโดยทางไปรษณยลงทะเบยนตอบรบ เวนแตกรณจาเปนเรงดวนและ
นแตกรณีจําเปนเรงดวนและ
เปนการแจงไปเพื่อทราบจะแจงขอความทางโทรศัพทก็ไดโดยเจาหนาที่
ผูผดําาเนนการตองบนทกเรองทไดแจง
เนินการตองบันทึกเรื่องที่ไดแจง วนเวลาทดาเนนการ
วันเวลาที่ดําเนินการ รวมทงชอผู
รวมทั้งชื่อผรับบไวให
ไวให
ปรากฏในรายงานเจาหนาที่ การสงหรือแจงโดยทางโทรสาร จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส หรื
อเลกทรอนกส หรอสอเทคโนโลยสารสนเทศอยางอน
อสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอยางอื่น หากศาลใดมี
หากศาลใดมความพรอมกให
ความพรอมก็ให
ดําเนินการได ทั้งนี้ ใหเปนไปตามประกาศสํานักงานศาลยุติธรรมวาดวยเรื่อง
หลักเกณฑและวิธีการสงคําคความหรื
หลกเกณฑและวธการสงคาคู วามหรอเอกสารทางไปรษณย
อเอกสารทางไปรษณีย โทรสาร หรอ หรือ
จดหมายอิเล็กทรอนิกส
ขอ ๑๘
ขอ ๘ เพอประโยชนในการกาหนดประเดนขอพพาทและสบพยาน
เพื่อประโยชนในการกําหนดประเด็นขอพิพาทและสืบพยาน ศาลอาจ
มอบหมายใหเจาพนักงานคดีอื่นที่มิใชผไู กลเกลี่ยสอบถามขอเท็จจริงเบื้องตนจาก
คูคความ แลวจดทารายงานสรุ
แลวจัดทํารายงานสรปข
ปขอเทจจรงและประเดนขอพพาทเสนอตอศาล
อเท็จจริงแล ปร เด็นขอพิพาทเสนอตอศาล
โดยเร็ว
ขอเทจจรงตามวรรคหนงตองมใชขอเทจจรงทไดมาจากการไกลเกลย
 ็ ิ ึ่  ิใ   ็ ิ ไี่  ไ  ี่

หมวด ๓
การดํ
การดาเนนคดในวนนดพจารณา
าเนินคดีในวันนัดพิจารณา
• ขอ ๑๓ ในกรณีที่คูความฝายใดไมมาศาลในวันนัดพิจารณา ใหเจาหนาที่ศาล
รายงานใหศาลทราบเพอดาเนนกระบวนพจารณาตอไปตามมาตรา
ใ  ื่ ํ ิ ิ  ไป ๒๗

ขอ ๑๔๔ ในวนนดพจารณาเมอคู
ใ ั ั ิ ื่ ค วามมาพรอมกน ั ใหเจาพนกงานคดเปนผู
ใ   ั ี ป ไกล
เกลี่ยใหคูความไดเจรจาตกลงกัน เวนแตศาลเห็นสมควรจะแตงตั้งใหผู
ประนีประนอมประจําศาลทําหนาที่ไกลเกลี่ยแทนก็ได
ประนประนอมประจาศาลทาหนาทไกลเกลยแทนกได
ถาคูความมีความประสงครวมกันทีจ่ ะใหบคุ คลใดเปนผูไกลเกลี่ย ใหแจงตอเจา
พนักงานคดีพรอมสถานที่ติดตอและหมายเลขโทรศัพทของบคคลนั ุ ้น ศาลอาจ
มอบหมายใหเจาพนักงานคดีติดตอไปยังบุคคลดังกลาวเพื่อใหมาทําหนาที่เปนผู
ไกลเกลี่ย หากไมสามารถดําเนินการไดหรือบุคคลนั้นไมยอมรับเปนผูไกลเกลี่ยหรือ
การกระทําเชนนั้นจะทําใหคดีเนิ่นชาเสียหาย ใหเจาพนักงานคดีหรือผู
ประนีประนอมประจําศาลดําเนินการไกลเกลี่ยตอไป

ขอ ๑๕ ในการไกลเกลี่ย ใหผูทําหนาที่ไกลเกลี่ยพยายามชวยเหลือใหคูความบรรลุ
ถึงึ ขอ ตกลงรวมกันั และให
ใ น ําระเบีียบหรือื ขอ กํําหนดวาดวยการไกล
ไ เ กลีย่ี ขอพิิพาท
มาใชบังคับโดยอนุโลม
• ขขออ ๑๖ ในกรณทคู
ในกรณีที่คค วามตกลงกนได
วามตกลงกันได ซงจะตองมการถอนฟอง
ซึง่ จะตองมีการถอนฟอง
หรือทําสัญญาประนีประนอมยอมความกัน ใหผูทําหนาที่ไกล
เกลี่ยแน นําแล ชวยเหลือคความในการจั
เกลยแนะนาและชวยเหลอคู วามในการจดทาคารอง
ดทําคํารอง คํคาแถลง
าแถลง
หรือสัญญาประนีประนอมยอมความที่จําเปนแลวทํารายงาน
เสนอตอ ศาลเพืือ่ มีคี ําพิพากษาหรืือคําสั่งโดยเร็
โ ็ว แตถ ายังไไม
สามารถตกลงกันไดและผูทู ําหนาที่ไกลเกลี่ยเห็นควรเลื่อนการ
นัดพิจารณา ก็ใหทํารายงานเสนอตอศาลเพื่อขออนุญาตเลื่อน
การนัดพิจารณาออกไป กรณเชนวาน
การนดพจารณาออกไป กรณีเชนวานี้ ใหศาลมอานาจสงเลอน
ใหศาลมีอํานาจสัง่ เลื่อน
การนัดพิจารณาไดไมเกินสามครั้งครั้งละไมเกินเจ็ดวัน เวนแตใน
กรณีที ีม่ ีพฤติิการณพิ เิ ศษ ศาลอาจมีคี าสงเลอนการนดพิ
ํ ั่ ื่ ั จิ ารณา
ออกไปไดตามที่เห็นสมควร โดยตองระบุพฤติการณพิเศษ
ดังกลาวไว
• ขอ ๑๗ หากคูค วามไมสามารถตกลงกันไดและคูค วามฝายใดประสงคจะ
ยืนื่ คําํ ใใหก ารหรืือบัญ
ั ชีีระบุพยาน ศาลอาจมอบหมายให
ใ เ จา พนักั งานคดีี
ชวยเหลือคูค วามในการจัดทําคําใหการหรือบัญชีระบุพยานดังกลาวให
เรียบรอยแลวรีบทํารายงานเสนอตอศาลเพื่อออกนั่งพิจารณาในวันนั้น
หรือวันนัดพิจารณาอื่นตามทีศ่ าลเห็นสมควร
หรอวนนดพจารณาอนตามทศาลเหนสมควร
การใหความชวยเหลือตามวรรคหนึ่ง ใหนําความในขอ ๗ มาใช
บังคับโดยอนโลม
บงคบโดยอนุ โลม

ขอ ๑๘ เพื่อประโยชนในการกําหนดประเด็นขอพิพาทและสืบพยาน
ศาลอาจมอบหมายใหเจาพนักงานคดีอื่นทีม่ ใิ ชผไ กล
ศาลอาจมอบหมายใหเจาพนกงานคดอนทมใชผู กลเกลยสอบถาม
เกลี่ยสอบถาม
ขอเท็จจริงเบื้องตนจากคูค วาม แลวจัดทํารายงานสรุปขอเท็จจริงและ
ประเด็นขอพิพาทเสนอตอศาลโดยเร็วขอเท็จจริงตามวรรคหนึ่งตองมิใช
ประเดนขอพพาทเสนอตอศาลโดยเรวขอเทจจรงตามวรรคหนงตองมใช
ขอเท็จจริงที่ไดมาจากการไกลเกลี่ย
หมวด ๔
การสืบพยานหลักฐาน
• ขอ ๑๙ กอนการสืบพยานใหศาลแจงประเด็นขอพิพาท ภาระการพิสูจนในแตละประเด็นและ
ลําดับกอนหลังในการนําพยานหลักฐานของคูความแตละฝายเขาสืบ ใหคูความทุกฝายทราบ

ขอ ๒๐ ในกรณีที่ศาลเห็นวามีความจําเปนเพื่อใหไดความแจงชัดในขอเท็จจริงแหงคดี ศาลอาจ
มอบหมายใหเจาพนักงานคดีดําเนินการเพื่อใหมีการตรวจสอบพยานหลักฐานอันเปนประเด็น
มอบหมายใหเจาพนกงานคดดาเนนการเพอใหมการตรวจสอบพยานหลกฐานอนเปนประเดน
แหงคดี การตรวจสอบกระบวนการผลิตสินคาหรือบริการ การตรวจพิสูจนสินคาหรือความ
เสียหายอันเกิดจากการบริโภคสินคาหรือบริการ หรือตรวจสอบรายละเอียดเกี่ยวกับทรัพยสิน
หนีสี้ ิน ทุนจดทะเบียี น รายได
ไ  รายชือ่ื หุนสว น ผูถือหุน หรืือกรรมการของผูประกอบธุรกิจิ หรือื
เรียกใหหนวยงานหรือบุคคลใดมาใหขอมูลหรือจัดสงพยานหลักฐาน หรือตรวจสอบขอเท็จจริง
อื่นใดเพื่อประโยชนแกการพิจารณาพิพากษาคดี
ในการปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่ง เจาพนักงานคดีอาจประสานงานไปยังหนวยงาน
ที่เกี่ยวของเพื่อขอใหตรวจพิสูจนหรือขอขอมูลที่จําเปน หรือมีหนังสือเรียกบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
มาใหขอมลหรื
มาใหขอมู ลหรอจดสงเอกสารมาเพอประกอบการดาเนนการ
อจัดสงเอกสารมาเพื่อประกอบการดําเนินการ แลวจดทารายงานเสนอตอศาล
แลวจัดทํารายงานเสนอตอศาล โดย
อาจระบุถึงพยานหลักฐานที่ศาลสมควรเรียกมาสืบเพิ่มเติมตามมาตรา ๓๓ หรือผูทรงคุณวุฒิ
หรือผูเชีย่ วชาญที่ศาลสมควรรับฟงความเห็นเพือ่ ประกอบการพิจารณาพิพากษาตามมาตรา ๓๖

• ขอ ๒๑ พยานหลักั ฐานหรืือความเห็็นของผูทรงคุณวุฒิหรือื ผูเชีี่ยวชาญ
ตามรายงานของเจาพนักงานคดีตามขอ ๒๐ ใหศาลแจงใหคคู วามทราบ
กอ นการสืืบพยานนั้นตามสมควร เพือื่ ให
ใ ค คู วามมีโี อกาสโต
โ แ ยง
พยานหลักฐานดังกลาวหรือเรียกผูทรงคุณวุฒหิ รือผูเชี่ยวชาญฝายตนมา
ใหความเห็นโตแยงหรือื เพิม่ เติมได


ขอ ๒๒ ศาลอาจใชขอมูลที่ไดจากรายงานของเจาพนักงานคดีเปน
แนวทางในการซักถามพยานก็ได
แนวทางในการซกถามพยานกได

• ขอ ๒๓ ในกรณีทมี่ ีการบันทึกคําพยานโดยใชวธิ ีการบันทึกลงในวัสดุุ ซึ่ง
สามารถถายทอดเปนภาพหรือเสียงหรือโดยใชวิธีการอื่นใด ซึ่งคูค วาม
และพยานสามารถตรวจสอบถึงความถกต
และพยานสามารถตรวจสอบถงความถู กตองของบนทกการเบกความ
องของบันทึกการเบิกความ
นั้นได ตามทีบ่ ัญญัติไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง
มาตรา ๑๒๑๒ วรรคสอง ศาลอาจมอบหมายใหเจาพนกงานคดตรวจสอบ
ศาลอาจมอบหมายใหเจาพนักงานคดีตรวจสอบ
ความถูกตองสมบูรณของขอความทีบ่ ันทึกตลอดจนการจัดทําสําเนา
ขอ ความดังกลาวเปนลายลักษณอักษร
หรือสิ่งบันทึกอยางอื่น

ขอ ๒๔ ศาลอาจมอบหมายใหเจาพนกงานคดชวยตรวจสอบและดู
ขอ ศาลอาจมอบหมายใหเจาพนักงานคดีชวยตรวจสอบแล ดแลให แลให
คูค วามดําเนินคดีไปตามขั้นตอนของกฎหมาย หากพบวามีขอ บกพรอง
ใหรายงานตอศาลพรอมดวยแนวทางแกไขโดยเร็ว เพือ่ื ใหศาลพิจารณา
สั่งการตามที่เห็นสมควร
หมวด ๕
วิธีการชั่วคราวกอนพิพากษา

• ขอ ๒๕ กอนที  ศี่ าลจะมีคี ําสััง่ เกียี่ วกัับวิิธีการชั่ัวคราวกอนยื


 นื่
ฟองคดี ศาลอาจมอบหมายใหเจาพนักงานคดีตรวจสอบ
ขอเท็จจริงเพือ่ ประโยชนแ กการวินิจฉัยตามมาตรา ๕๗ และทํา
ความเห็นเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวที่เหมาะสม รวมทงเงอนไขและ
ความเหนเกยวกบวธการชวคราวทเหมาะสม รวมทั้งเงื่อนไขและ
ระยะเวลาของการใชวิธีการดังกลาว
ความเห็นของเจาพนักงานคดีตามวรรคหนึ่ง ศาลม
ความเหนของเจาพนกงานคดตามวรรคหนง ศาลมี
อํานาจที่จะฟงผูที่จะถูกฟองเปนจําเลยถึงขอเท็จจริงที่เกี่ยวของ
กอ นมีคี ําสังั่ ในเรื
ใ ือ่ งนันั้ ก็ไ็ ด
• ขอ ๒๖ ในการใชวิธีการชั่วคราวตามมาตรา ๖๓ นอกจากมาตรการหรือวิธีการตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงแลว ศาลอาจมีคําสั่งใหผูประกอบธุรกิจ
กระทําํ การหรืือหามกระทํําการอยางหนึึง่ อยา งใด
ใ เชน
(๑) ใหประกาศหรือกระทําการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อใหผูบริโภคทราบถึงขอมูล
เกี่ยวกับสินคาหรือบริการโดยถกต
เกยวกบสนคาหรอบรการโดยถู กตองครบถวน
องครบถวน
(๒) หามกระทําการอยางหนึ่งอยางใดที่อาจทําใหผูบริโภคหลงผิดเกี่ยวกับสินคา
หรือบริการ
หรอบรการ
(๓) ใหจําหนายสินคาหรือบริการภายใตเงื่อนไขอยางหนึ่งอยางใดตามที่ศาล
เห็นสมควร
(๔) หามหรือใหกระทําการอยางหนึ่งอยางใดทํานองเดียวกับ (๑) (๒) หรือ (๓)
การกําหนดมาตรการหรือวิธีการตามวรรคหนึ่ง ใหศาลพิจารณาสั่งเทาที่
จําเปปนและไม
ไ เ กินสมควรแกกรณีี โดยคํ
โ านึึงถึงึ ผลกระทบทางเศรษฐกิจและ
ประโยชนในการคุมครองผูบริโภคโดยรวมประกอบกัน

ขอ ๒๗ ในกรณีที่มกี ารอุทธรณคําสั่งศาลเกี่ยวกับวิธีการคุมครองชั่วคราว
กอนพพากษา
 ิ การดาเนนการใด
ํ ิ ใ ๆ ระหวางศาลชนตนและศาลอุ
 ั้  ทธรณ ศาลอาจ
ดําเนินการ
ทางโทรสารหรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศอื่นใดก็ได โดยคํ
ทางโทรสารหรอสอเทคโนโลยสารสนเทศอนใดกได โดยคานงถงความจาเปน
านึงถึงความจําเปน
เรงดวนและความเหมาะสมตามสภาพแหงเนื้อหาของเรื่อง ทั้งนี้ ตามวิธีการที่
ประธานศาลอุทธรณกําหนด
หมวด ๖
คําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดตัดสินคดี
• ขอ ๒๘ เพื่อประโยชนในการทําคําพิพากษาหรือคําสั่งชี้ขาดตัดสินคดี
ตามมาตรา ๓๙ ถงมาตรา
ถึงมาตรา ๔๔ หากศาลเหนสมควร
หากศาลเห็นสมควร ศาลอาจมอบหมาย
ใหเจาพนักงานคดีตรวจสอบขอเท็จจริงและทําความเห็นเพื่อ
ประกอบการทําคําพิพากษาหรือคําสั่งตามบทบัญญัติดังกลาวก็ได
ประกอบการทาคาพพากษาหรอคาสงตามบทบญญตดงกลาวกได
ขอเท็จจริงหรือความเห็นของเจาพนักงานคดีตามวรรคหนึง่ ตอง
ใหคค วามทุ
ใหคู วามทกฝ
กฝายทราบและไมตดสทธคู
ายทราบและไมตดั สิทธิคว ามในอั
ามในอนทจะโตแยงคดคาน
นที่จะโตแยงคัดคาน
• ขอ ๒๙ ในกรณีที่ศาลมีคําสั่งตามมาตรา ๔๓ ศาลอาจกําหนดเวลาใหผูประกอบ
ธุรกิจยื่นคําแถลงถึงผลการปฏิบัติตามคําสั่งดังกลาวใหศาลทราบ เมือ่ ไดรับแจงผล
แลวศาลอาจมอบหมายใหเจาพนักงานคดีประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ
หรือื มีหี นัังสืือเรีียกบุคคลใดบุ
ใ คคลหนึึง่ มาให ใ ขอมูลหรืือสงเอกสาร เพืื่อตรวจสอบ
การปฏิบัติตามคําสั่งศาลดังกลาวแลวรายงานใหศาลทราบโดยเร็ว
หากปรากฏวาผประกอบธุ
หากปรากฏวาผู ระกอบธรกิ
รกจไมแจงผลตามวรรคหนงหรอไมไดปฏบต
จไมแจงผลตามวรรคหนึ่งหรือไมไดปฏิบัติ
ตามคําสั่งศาลโดยถูกตองครบถวน และศาลไดมีคําสั่งใหบุคคลหนึ่งบุคคลใด
นอกจากเจาพนักงานคดีดําเนินการแทนตามมาตรา ๔๓ วรรคสอง ใหเจาพนกงาน
นอกจากเจาพนกงานคดดาเนนการแทนตามมาตรา ใหเจาพนักงาน
คดีมีหนาที่ประสานงานเพื่อใหบุคคลนั้นสามารถดําเนินการใหเปนไปตามคําสั่ง
ศาล ในกรณีที่มีคาใชจายอันเกิดจากการนั้น ใหบุคคลดังกลาวแถลงตอศาลพรอม
ดวยพยานหลักฐานเพื่อใหศาลกําหนดจํานวนคาใชจายที่ผูประกอบธุรกิจตองรับ
ผิด กรณีเชนวานี้ศาลอาจมีคําสั่งใหเจาพนักงานคดีดําเนินการตรวจสอบเกี่ยวกับ
คาใช
ใ จายดัังกลา ว และหากศาลมีคี ําสัง่ั ประการใดแล
ป ใ วให
ใ บังคับั คดีไี ปตามนั
ป น้ั และให
ใ 
เจาพนักงานคดีใหความชวยเหลือแกผูนั้นตามสมควรในการบังคับคดีแกผูประกอบ
ธุธรกิ
รกจเพอใหรบผดในคาใชจายตามคาสงศาลดงกลาว
จเพื่อใหรับผิดในคาใชจายตามคําสั่งศาลดังกลาว
ในการกําหนดจํานวนเงินตามวรรคสอง ศาลตองใหโอกาสผูประกอบธุรกิจมี
โอกาสในการโตแยงคัดคาน
โอกาสในการโตแยงคดคาน
หมวด ๗
อุอทธรณ
ทธรณ

• ขอ ๓๐ ในกรณีที่มีการยื่นคําขอโดยทําเปนคํารองเพื่อขออนุญาตอุทธรณในปญหา
ขอเท็จจริงตามมาตรา ๔๘ ใหศาลชั้นตนมีอํานาจตรวจคําขอและอุุทธรณ และมี
คําสั่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา ๑๘ หากผูรองไมปฏิบัติ
ตามคําสั่ง ใหศาลชั้นตนรีบสงคําขอและอุทธรณไปยังศาลอุทธรณเพื่อพิจารณาสั่ง
โ ็วตอไป
โดยเร็
ในกรณีมีการขออนุญาตขยายระยะเวลาอุทธรณหรือระยะเวลายื่นคําขอ
อนญาตอทธรณ
อนุ ญาตอุทธรณ หากศาลชนตนเหนสมควรอนุ
หากศาลชั้นตนเห็นสมควรอนญาตให
ญาตใหขยาย
ขยาย ให
ใหศาลชนตนสงตามท
ศาลชั้นตนสั่งตามที่
เห็นสมควร หากจะไมอนุญาตใหศาลชั้นตนดําเนินการตามวรรคหนึ่ง

ขอ ๓๑ เมื่อศาลชั้นตนไดรับคําขอตามขอ ๓๐ แลวใหรีบสงสําเนาคําขอพรอม
อุอทธรณ
ทธรณใหคู
ใหคความอกฝายทราบและสงคาขอดงกลาวพรอมอุ
วามอีกฝายทราบและสงคําขอดังกลาวพรอมอทธรณ
ทธรณและสานวนคด
และสํานวนคดี
ไปยังศาลอุทธรณเพื่อพิจารณาสั่งโดยเร็ว โดยไมจําตองรอคําคัดคานของคูความ
ฝายอื่น

• ขอ ๓๒ การพิจารณาคําขอเพื่อขออนุญาตอุทธรณตามขอ ๓๑ ศาลอุทธรณมี
ดุุลพินิจที่จะพิจารณาอนุุญาตใหอุทธรณไดเมือ่ เห็นวาเปนกรณีที่จะ
กระทบกระเทือนตอความยุติธรรมหรือประโยชนของผูบริโภคเปนสวนรวม

ขอ ๓๓ เมื่อศาลอุทธรณเห็นสมควรอนุญาตใหอุทธรณ ใหมีคําสั่งรับอุทธรณไว
พิจารณาและใหศาลชั้นตนอานคําสั่งดังกลาวใหคความฟง
พจารณาและใหศาลชนตนอานคาสงดงกลาวใหคู วามฟง จาเลยอุ
จําเลยอทธรณ
ทธรณอาจยนคา
อาจยื่นคํา
แกอุทธรณตอศาลชั้นตนไดภายในกําหนดสิบหาวันนับแตวันฟงคําสั่ง และภายใน
กําหนดเจ็ดวันนับแตวันที่จําเลยอทธรณ
กาหนดเจดวนนบแตวนทจาเลยอุ ทธรณยนคาแกอุ
ยื่นคําแกอททธรณ
ธรณ หรอนบแตระยะเวลาท
หรือนับแตระยะเวลาที่
กําหนดไวสําหรับการยื่นคําแกอุทธรณไดสิ้นสุดลง ใหศาลชั้นตนสงคําแกอุทธรณ
ไปยังศาลอทธรณ
ไปยงศาลอุ ทธรณหรอแจงใหทราบวาไมมคาแกอุ
หรือแจงใหทราบวาไมมคี ําแกอทธรณ
ทธรณ เมืเมอศาลอุ
่อศาลอทธรณ
ทธรณไดรบคา
ไดรับคํา
แกอุทธรณหรือแจงความเชนวาแลว ใหนําคดีลงสารบบความโดยพลัน
ในกรณีที่ศาลอทธรณ
ในกรณทศาลอุ ทธรณไมอนุ
ไมอนญาตให
ญาตใหอุอทธรณ
ทธรณ ใหมคาสงยกคาขอและสงไมรบ
ใหมีคําสั่งยกคําขอและสั่งไมรับ
อุทธรณแลวสงสํานวนความคืนศาลชั้นตนเพื่อแจงใหคูความทราบโดยเร็ว
• ขอ ๓๔ กรณีที่ศาลอุทธรณพจิ ารณาเพื่อมีคําสั่งตามขอ ๓๓ หากคดีมี
การอุทธรณป ญหาขออื่นนอกจากขอที่ผรู องไดย่ืนคําขออนุญาตอุทธรณ
รวมอยููดว ย ไมวาศาลชั้นตนจะไดมคี ําสั่งรับอุทุ ธรณเชนวานี้ไวพจิ ารณา
แลวหรือไมก็ตาม ใหศาลอุทธรณพจิ ารณาสั่งดวยวาจะรับอุทธรณขออืน่
ดังกลาวไวพิจารณาหรือไม
ดงกลาวไวพจารณาหรอไม
กรณีที่ศาลอุทธรณมคี ําสั่งใหรับอุทธรณปญหาขออื่นตามวรรค
หนึงึ่ ให
ใ น ําความในข
ใ อ ๓๓ วรรคหนึงึ่ มาใช ใ บ ังคับั โดยอนุ
โ โลมแกอ ทุ ธรณ
ขออื่นที่ศาลอุทธรณสั่งรับไวพจิ ารณาดวย

ขอ ๓๕ คดทศาลชนตนสงรบอุ
ขอ คดีที่ศาลชั้นตนสั่งรับอทธรณ
ทธรณไวพจารณา
ไวพิจารณา หากศาลอทธรณ
หากศาลอุทธรณเหน เห็น
วาเปนอุทธรณทตี่ อ งหามตามมาตรา ๔๗ ใหศาลอุทธรณพจิ ารณาวามี
เหตุสมควรอนุญาตให ใ อ ทุ ธรณห รืือไม
ไ  หากอนุญาตก็ร็ ับวิินิจฉััยใให หาก
ไมอนุญาตก็ใหยกอุทธรณนั้นเสียโดยไมตองวินิจฉัยในประเด็นแหง
อุทธรณ
• ขอ ๓๖ หากคคู วามประสงคจะขอแถลงการณดว ยวาจาตอศาลอทธรณ ุ ใหขอ
มาในตอนทายคําฟองอุทธรณหรือคําแกอุทธรณ โดยระบุประเด็นและเหตุผล
ความจําเปนของการแถลงการณดว ยวาจานั้น เมอศาลอุ
ความจาเปนของการแถลงการณดวยวาจานน เมื่อศาลอทธรณ
ทธรณอนุ อนญาตให
ญาตใหมมี
การแถลงการณดว ยวาจา ใหกําหนดจํานวนระยะเวลาที่จะอนุญาตใหแตละ
ฝายแถลงการณด ว ยวาจากับั แจง วันั เวลานัดั ให
ใ ค คู วามทุกฝายทราบ
ในการแถลงการณดว ยวาจา คูค วามไมอาจเสนอพยานหลักฐานเพิม่ เติม
ประกอบคําแถลงการณดว ยวาจาได

ขอ ๓๗ ใหศาลอุทธรณพิจารณาพิพากษาคดีใหแลวเสร็จโดยเร็ว หากพน
กําํ หนดหนึึง่ ปนับแตว ันทีน่ี ําคดีลี งสารบบความ ก็ใ็ หบ ันทึกึ เหตุแหง พฤติกิ ารณ
พิเศษที่ลาชาไวในสํานวน
หมวด ๘
ฎีฎกา
กา

• ขอ ๓๘ การขอใหศาลฎีกาพิจารณาอนุญาตใหฎีกาตามมาตรา ๕๑ ใหทําเปน


คํารองยื่นตอศาลชั้นตนโดยแสดงถึง
คารองยนตอศาลชนตนโดยแสดงถง
(๑) ปญหาที่ขออนุญาตฎีกาโดยชัดแจงและกะทัดรัด
(๒) ความเกยวพนกบประโยชนสาธารณะหรอความสาคญของปญหาททาใหศาล
ความเกี่ยวพันกับประโยชนสาธารณะหรือความสําคัญของปญหาที่ทําใหศาล
ฎีกาควรอนุญาตใหฎีกา
ใหศาลชั้นตนตรวจคํารองและฎีกาของผรอง
ใหศาลชนตนตรวจคารองและฎกาของผู อง โดยนาความในขอ
โดยนําความในขอ ๓๐ มาใชบงคบ
มาใชบังคับ
โดยอนุโลม

ขอ ๓๙ เมื่อศาลชั้นตนไดรับคํารองตามขอ ๓๘ แลว ใหรีบสงสําเนาคํารองให
คูคความอกฝายทราบและสงคารองดงกลาวพรอมฎกาและสานวนความไปยงศาล
วามอีกฝายทราบและสงคํารองดังกลาวพรอมฎีกาและสํานวนความไปยังศาล
ฎีกาเพื่อพิจารณาสั่งโดยเร็ว โดยไมจําตองรอคําคัดคานของคูความฝายอื่น

• ขอ ๔๐ การพิจารณาคํารองขอใหพิจารณาอนุญาตฎีกาตามขอ ๓๘ ศาลฎีกามี
ดุลพินิจที่จะพิจารณาอนุญาตใหฎีกา เมื่อเห็นวาปญหาตามฎีกานั้นเปนปญหาซึ่ง
เกี่ยวพันกับประโยชนสาธารณะหรือเปนปญหาสําคัญอื่นที่ศาลฎีกาเห็นสมควร
เกยวพนกบประโยชนสาธารณะหรอเปนปญหาสาคญอนทศาลฎกาเหนสมควร
วินิจฉัย
ปญหาสําคัญตามวรรคหนึ่ง เช
ปญหาสาคญตามวรรคหนง เชนน
(๑) เมื่อคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุทธรณขัดกับคําพิพากษาหรือคําสั่งอัน
ถึงึ ทีส่ี ดุ ของศาลอืนื่
(๒) เมือ่ คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุทธรณไดวินิจฉัยขอกฎหมายที่สําคัญ
ขัดกัน หรือขัดกับแนวบรรทัดฐานของคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลฎีกา
(๓) คําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลอุุทธรณไดวินิจฉัยขอกฎหมายที
ฎ ่สําคัญซึ่งยังไม
มีแนวคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลฎีกามากอน

• ขอ ๔๑ เมือ่ ศาลฎีฎกาเห็นสสมควรอนญาตให ญ
ุ ฎีกา ใหมคี ําสัสง่ รับ
ฎีกาไวพิจารณาและใหศาลชัน้ ตนอานคําสั่งดังกลาวใหคูความฟง
จําเลยฎีกาอาจยืน่ คําแกฎีกาตอศาลชั้นตนไดภายในกําหนดสิบหา
วันนับแตวันฟงคําสัง่ และภายในกาหนดเจดวนนบแตวนท
วนนบแตวนฟงคาสง และภายในกําหนดเจ็ดวันนับแตวันที่
จําเลยฎีกายื่นคําแกฎีกา หรือนับแตระยะเวลาที่กําหนดไวสําหรับ
การยื่นคําแกฎีกาไดสนิ้ สุดลง ใหศาลชั้นตนสงคําแกฎีกาไปยัง
ศาลฎีกี าหรืือแจง ใใหทราบวาไไมมคี ําแกฎีกา เมือ่ื ศาลฎีกี าได
ไ ร ับคําํ
แกฎีกาหรือแจงความเชนวาแลว ใหนาคดลงสารบบความโดย
แกฎกาหรอแจงความเชนวาแลว ใหนําคดีลงสารบบความโดย
พลัน
ในกรณีท่ีศาลฎีกาไมอนุญาตใหฎีกา ใหมคี าํ สั่งยกคํารอง
และสั่งไมรับฎีกาแลวสงสํานวนความคืนศาลชั้นตนเพือ่ แจงให
และสงไมรบฎกาแลวสงสานวนความคนศาลชนตนเพอแจงให
คูค วามทราบโดยเร็ว
หมวด ๙
การบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง

• ขอ ๔๒ ในการใช
ใ ใ อํานาจตามมาตรา ๖๔ และมาตรา ๖๕ หรือื ปรากฏว ป า
มีขอขัดของในการบังคับตามคําพิพากษาหรือคําสั่ง ศาลอาจมอบหมาย
ใหเจาพนักงานคดีตรวจสอบและรายงานขอเท็จจริงเกี่ยวกับกรณี
ดังกลาวรวมทั้งแนวทางแกไขหรือความจําเปนที่จะตองกําหนดวิธีการใด
เพื่อบังคับใหเปนไปตามคําพิพากษา
รายงานขอเท็จจริงของเจาพนักงานคดีตามวรรคหนึ่ง ศาลมี
รายงานขอเทจจรงของเจาพนกงานคดตามวรรคหนง ศาลมอานาจทจะ
อํานาจที่จะ
ฟงคูค วามอีกฝายหนึ่งหรือคูค วามอืน่ ๆ กอนที่จะออกคําสั่งในเรื่องนั้นก็
ไ 
ได

You might also like