You are on page 1of 30

ดินกรด ดินด่ าง และดินเกลือ

การแตกตัวของน้ำ
H 2O H+ +OH-

เมื่อเกิดความสมดุล
|H+| = 10-7 โมลาร์
pH = -log [10-7]
=7
ดินกรด และดินด่ าง
pH = -log [H+]
ถ้า [H+] ในสารละลาย = 10-5 โมลาร์
pH = -log [10-5] = 5 ดินกรด
ถ้า [H+] ในสารละลาย = 10-8 โมลาร์
pH = -log [10-8] = 8 ดินด่ าง
สภาพความเป็ นกรดและด่ างของดิน pH
กรดรุนแรงมากทีส่ ุ ด <3.5
กรดรุนแรงมาก 3.5-4.5
กรดจัดมาก 4.6-5.0
กรดจัด 5.1-5.5
กรดปานกลาง 5.6-6.0
กรดเล็กน้ อย 6.1-6.5
กลาง 6.6-7.3
ด่ างเล็กน้ อย 7.4-7.8
ด่ างปานกลาง
7.9-8.4
ด่ างจัด 8.5-9.0
ด่ างจัดมาก >9.0
ดินกรด หรือดินเปรี้ยว
คือ ดินทีจ่ ะปล่อย H+ เมือ่ อยู่ในน้ำ

H+
H + H+ H + H+ H +
- - - -อนุภ-าคดิ- น
อนุภาคดิน
การจำแนกสภาพความเป็ นกรดของดิน
1. สภาพกรดจริ ง (active acidity)
- คือส่ วนของ H+ ที่ถูกปล่อยออกมา
2. สภาพกรดแฝง (potential acidity)
- ส่ วนของ H+ ที่ถูกดูดซับที่ผวิ ของดิน
H
H
H H+
H
H
H
สภาพกรดแฝง สภาพกรดจริ ง
การเกิดดินกรด
1. เกิดจากการแทนที่ H+ จากกรดคาร์บอนิค แทนที่ Basic cation เช่น K+
Ca++ Mg++ และ Na+
2. เกิดจากกรดอินทรี ยต์ ่างๆ ที่ได้จากการสลายตัวของอินทรี ยส์ าร
3. เกิดจากการใส่ ปุ๋ย เช่น ปุ๋ ยยูเรี ย และปุ๋ ยแอมโมเนีย
มีการสะสม NH+4 เกิดขบวนการ Nitrification เกิด H+
4. เกิดจากฝนกรด (acid rain) ในย่านอุตสาหกรรมรมที่มีการใช้เชื้ อเพลิง
ที่มีกำมะถันสู ง
5. เกิดจากแร่ ไพไรต์ (FeS2) ที่มีอยูใ่ นวัตถุตน้ กำเนิดดิน
FeS2 + O2 + H2O + K+ KFe3(SO4)2(HO)6 + SO4-2 + H+
การเกิดดินกรด
คาร์ บอนไดออกไซด์ ละลายน้ำ จะได้ กรดคาร์ บอนิก

CO2 + H2O H2CO3


H2CO3 H+ + HCO3-
การเกิดดินกรด

H+ จะไปแทนที่ Cation เช่ น K+

H + H +
H +

KKK
+ + + H+ H+ H +
- - - - - -
อนุภาคดิน อนุภาคดิน
K+
K+ K+
ดินทีเ่ หมาะกับการปลูกพืช

ดินทีม่ คี ่ า pH เป็ นกลาง หรือกรดเล็กน้ อย (pH 6-7)


จะเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชมากทีส่ ุ ด เพราะ

- ธาตุอาหารอยู่ในรูปทีเ่ ป็ นประโยชน์
- กิจกรรมของจุลนิ ทรีย์ในดินมีมากทีส่ ุ ด
ปัญหาของสภาพ pH ไม่ เหมาะสมกับการปลูกพืช

1. ความเป็ นประโยชน์ของธาตุอาหาร
Ca Mg และ K จะมีนอ้ ยในดินที่มี pH ต่ำ
P จะอยูใ่ นรู ปที่มีประโยชน์มาในช่วง pH เป็ นกลาง
จุลธาตุ Mn Fe Zn Cu จะอยูใ่ นรู ปที่ไม่เป็ นประโยชน์ในช่วง
ที่มี pH สู ง
2. กิจกรรมของจุลินทรี ย ์
แบคทีเรี ยชอบ pH เป็ นกลาง
เชื้อราทน pH ต่ำได้ดีกว่าแบคทีเรี ย
การปรับปรุงดินกรด
หรื อการทำ pH ให้สูงขึ้นจนกลายเป็ นกลาง
1. การใช้น ้ำชะล้างดิน
เอา H+ และ Al+ Fe+ ออกไป
2. การขังน้ำ
3. การใส่ ปูน
การแก้ ไขความเป็ นกรดของดิน

ปูนซึ่งหมายถึงออกไซด์ หรือไฮดรอกไซด์ และ


คาร์ บอเนตของ Ca และ Mg เช่ น
-ปูนสุ ก CaO, ปูนขาว Ca(OH)2
- หินปูน CaCO3
- หินโดโลไมท์ CaMg(CO3)2
การแก้ ไขความเป็ นกรดของดิน

H Ca
ดิน H + CaCO3 ดิน Ca + CO2 + H2O

Ca ดิน Ca
ดิน + H2O + Ca++ + OH-
Ca H
ดินด่ าง
มีเบสิ คแคทไอออนที่แลกเปลี่ยนได้สูง

เช่น Na Ca Mg K
Na ดิน Na
ดิน + H2O + Na+ + OH-
Na H
ดินด่ าง
คือ ดินทีจ่ ะปล่อย OH- เมือ่ อยู่ในน้ำ

OH-
Na+ Na+ Na+ Na+ Na+ H+
อนุภาคดิน -อนุภ-าคดิ- น
- - -
สาเหตุทดี่ นิ มีเบสิ คแคทไอออนสู ง
- เกิดจากวัตถุตน้ กำเนิดที่เป็ นด่าง
- เกิดจากสภาวะแห้งแล้ง
- เกิดจากระดับน้ำใต้ดินสูง จะมีพวก CaCO3 ละลายอยู่

CaCO3 + H2O Ca+2 + OH- +HCO-3


ในประเทศไทยมีดินด่างประมาณ 8 แสนไร่
การแก้ปัญหา
เลือกพืชปลูกที่เหมาะสม
1. เลือกพืชที่ชอบสภาพที่มีปูนมาก
- ข้าวโพด ถัว่ ลิสง ขนุน มะพร้าว ข้าว
2. ฉีดจุลธาตุทางใบ
3. ใส่ อินทรี ยวัตถุ
ดินเกลือ
คือดินซึ่งมีเกลือละลายง่าย หรื อโซเดียมแลกเปลี่ยนได้
ปริ มาณมาก แยกได้ 3 ชนิด
1. ดินเค็ม (saline soil) มีเกลือที่ละลายได้มาก
2. ดินโซดิก (sodic soil) มีโซเดียมแลกเปลี่ยนได้สูง
3. ดินเค็มโซดิก (soline sodic soil) มีท้ งั เกลือและ
โซเดียมสูง
การจำแนกประเภทของดินเกลือ

ประเภท ค่าการนำไฟฟ้ า (dS/m) SAR

ดินธรรมดา <4.0 < 13


ดินเค็ม >4.0 < 13
ดินโซดิก <4.0 > 13
ดินเค็มโซดิก >4.0 > 13
การจำแนกประเภทของดินเกลือ
SAR (sodium absorption ratio)

Na+
SAR =
(Ca++ + Mg++)1/2
สาเหตุการเกิดดินเค็ม

ได้รับเกลือ 4 แหล่ง เช่น NaCl KCl


- จากทะเล
- จากการสลายตัวของหิ น (rock salt)
- จากน้ำใต้ดิน
- จากการทำชลประทาน
การวัดความเค็ม
- วัดค่าการนำไฟฟ้ า (Electrical conductivity)
ตารางระดับความเค็มของดิน
EC (dS/m) ระดับความเค็ม อิทธิพลต่อพืช

0 - <4 ไม่เค็ม ไม่กระทบต่อพืช


4-8 เค็มปานกลาง กระทบต่อพืชบางชนิด
>8 เค็มมาก พืชทนเค็มถึงปลูกได้
วิธีปรับปรุงดินเค็มหรือใช้ ประโยชน์ จากดินเค็ม
1. ชะล้างด้วยน้ำที่คุณภาพดี
2. ปรับปรุ งดินให้ระบายน้ำดี
3. ใช้พืชทนเค็ม (หน้า 204)
4. ปลูกพืชบำรุ งดินเพื่อเพิม่ อินทรี ยวัตถุ
ดินเค็มโซดิก
-ได้รับเกลือจากแหล่งต่างๆ รวมทั้งเกลือที่มี Na อยูด่ ว้ ย
- ในสภาพที่แห้งแล้ง น้ำน้อยความเข้มข้นของเกลือสูง เกลือที่ละลาย
ยาก (CaSO4 และ MgCO3) ตกตะกอน ในสารละลายมี Na อยูม่ าก จึง
แลกเปลี่ยนกับ Ca Mg ในผิวอนุภาคดิน

Ca Na
ดิน ดิน Na
+ 4Na + + Ca++ + Mg++
Na
Mg Na
ดินโซดิก

ถ้าไปลดความเค็มโดยไปชะล้างพวก Ca Mg จะออกไป
จากดิน แต่ Na ยังอยูจ่ ะกลายเป็ นดินโซดิก
วิธีปรับปรุงดินโซดิก
1. การแทนที่ Na ด้วย Ca
ใช้ CaSO4
2. ชะเกลือโซเดียมออกไป
3. ปรับปรุ งสมบัติทางกายภาพของดิน
ใช้อินทรี ยวัตถุ ใช้ยปิ ซัม

You might also like