You are on page 1of 73

7

❖ ในอดีต : การใส่มูลสัตว์/ ซากพืชซากสัตว์ลงไป


จะทาให้ต้นไม้ที่ปลูกเจริญงอกงามยิ่งขึ้น
❖ ความรู้ในปัจจุบันทาให้เราทราบว่ามูลสัตว์/
ซากพืชซากสัตว์ให้ธาตุอาหารแก่พืช ทาให้ดิน
โปร่ง ร่วนซุย อุ้มน้า+อาหารไว้ได้ดี
❖ มนุษย์เรียกว่า “ปุ๋ยอินทรีย์”

แต่เนื่องจากปุ๋ยอินทรีย์ต้องใช้ปริมาณ
มาก จึงมีการคิดค้นปุ๋ยชนิดใหม่ที่ให้
อาหารพืชเยอะ+ ใช้ปริมาณน้อย
“ปุ๋ยเคมี/ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์”

K Cu พืชต้องการมาก+มักมีไม่
Mo Cl เพียงพอในดิน

H B พืชต้องการในปริมาณ
Fe มาก แต่มักจะมีเพียงพอ
Mn Zn ในดิน
C ❑
N พืชต้องการปริมาณน้อย
O Ca P มักจะมีเพียงพออยู่ในดิน
S Mg แล้ว
❖ ปุ๋ยที่ได้จากการเน่าเปื่อยผุพังของซาก
สิ่งมีชีวิต มักมีชื่อตามกรรมวิธีการผลิต
❖ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยอินทรีย์
ชีวภาพ
❖ ข้อดี = ซากสิ่งมีชีวิตจะค่อยๆสลายตัว+
ปล่อยธาตุอาหารออกมาให้พืช + ทาให้ดิน
ร่วนซุย + มีธาตุอาหารครบ
❖ ข้อเสีย = มีธาตุอาหารน้อย ปริมาณและ
สัดส่วนไม่แน่นอน ต้องใช้ในปริมาณมาก
❖ ปุ๋ยที่ได้จากการผลิต/สังเคราะห์จากแร่ธาตุ
ต่างๆ มีธาตุอาหารหลักที่จาเป็นของพืช
❖ ข้อดี = มีธาตุอาหารหลักของพืชมาก+ใช้
ปรับปรุงธาตุอาหารในดินให้เพียงพอต่อ
ความต้องการของพืช
❖ ข้อเสีย = ไม่มีธาตุอาหารรอง+ ธาตุอาหาร
เสริมครบทุกธาตุ
❖ เป็นปุ๋ยที่ได้จาก
❖ เป็นสารประกอบที่มีธาตุอาหารกของ
การนาปุ๋ยเดี่ยว
พืช 1-2 ธาตุเป็นองค์ประกอบ
แต่ละชนิดมา
ผสมกัน เพื่อให้
ได้ปุ๋ยที่มีสัดส่วน
ของ N, P, K
ตามต้องการ
ยูเรีย 46-0-0 แอมโมเนียมซัลเฟต 20-0-0
16 – 16 - 8
❖ ไนโตรเจน (N) 16% แสดงในรูป N
❖ ฟอสฟอรัส (P) 16% แสดงในรูป P2O5
❖ โพแทสเซียม (K) 8% แสดงในรูป K2O
16
❖ ช่วยสร้างความเจริญเติบโตให้แก่ทุกส่วนของพืช
❖ ขาด = พืชจะเหลืองซีด โดยเริ่มจากใบล่างขึ้นไป
การเจริญเติบโตลดลง/ไม่เติบโต ผลผลิตต่า
❖ มากเกิน = เขียวเข้ม อวบอ้วน อ่อนแอ
❖ ปกติ N ในดินน้อยมาก ส่วนใหญ่อยู่ในอากาศ
(พืชส่วนใหญ่เอาไปใช้ไม่ได้) **ยกเว้นพืชตระกูล
ถั่ว** ต้องเปลี่ยนให้อยู่ในรูปสารประกอบก่อน
เช่น NH3 NO3-
❖ มี N 82% ❖ ปุ๋ยไอโซบิวทิลิดีนไดยูเรีย
❖ เก็บในถังแก๊ส เพราะเป็นแก๊ส/ ❖ ปุย๋ ยูเรียเคลือบกามะถัน
ของเหลวระเหยง่าย
❖ ต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการใส่ปุ๋ย
❖ ใช้ร่วมกับการให้น้าชลประทาน
แบบไหลไปตามผิวดินได้
❖ เมื่อสัมผัสกับความชื้นในดินก็จะเปลีย่ นเป็นแอมโมเนีย แล้วจะ
เปลี่ยนเป็นไนเตรตภายใน 7-14 วัน
❖ ข้อควรระวัง
❖ ไม่ควรให้น้ามากเกินไปขณะใส่ปุ๋ยยูเรีย
(CO(NH2)2) + H2O 2NH3 + CO2
❖ ไม่ควรใส่ในดินมี่เป็นเบสเพราะอาจเกิดการสูญเสียปุย๋ ไปกับดิน
❖ ใช้เป็นปุ๋ยทางใบกับพืชหลายชนิด เช่น ข้าว มันเทศ ไม้ผล
❖ เป็นผลึกสีขาว มีไนโตรเจนร้อยละ 33 อยู่ในรูปแอมโมเนีย(NH3) และไนเตรต
(NO3-) อย่าละครึ่ง
❖ ข้อควรระวัง ** สามารถระเบิดได้**
❖ ใช้กับหญ้า ถั่วลิสง
❖ ใส่ในน้าชลประทานพร้อมกับน้า
❖ มีผลตกค้างเป็นกรด และได้ผลน้อยที่สุดเมื่อใช้ในนาน้าขัง
แอมโมเนีย (NH3) กรดซัลฟิวริก(H2SO4) แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)

กระบวนการฮาเบอร์
(Haber Process)
สารละลายโอเลียม
❖ ปุ๋ยไนโตรเจนที่ใสลงในดินไร่ จะถูกพืชนาไปใช้ร้อยละ 35-60 ที่เหลืออาจถูกเปลี่ยนไปอยู่
ในรูปของสารอินทรีย์/ ดินดูดยึดไว้/ น้าชะละลายลงไปในดิน/ เปลี่ยนไปเป็นแก๊ส
❖ หลีกเลี่ยงใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในรูปของไนเตรตลงในดินทรายเพราะปุ๋ยจะถูกน้าชะลงไปได้ง่าย
❖ หลีกเลี่ยงในดินน้าขังเพราะจะเกิดการสูญเสียในรูปของแก๊ส
❖ หลีกเลี่ยงการใส่ปุ๋ยในรูปของแอมโมเนียมในดินด่าง(เบส)เพราะเบสทาปฏิกิริยากับ
แอมโมเนียมได้แก๊สแอมโมเนีย
NH4+ + OH- NH3 + H2O
ต่อไปนี้ข้อใดที่ไม่นามาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยยูเรียและปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต
ก. กามะถัน ข. อากาศ ค. มีเทน ง. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์

จงพิจารณาว่าข้อความที่เกี่ยวข้องกับการผลิตปุ๋ยไนโตรเจนข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. สารตั้งต้นในการผลิตปุ๋ยยูเรียคือ อากาศและแก๊สธรรมชาติ
ข. สารตั้งต้นที่ใช้ผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต คืออากาศแก๊สธรรมชาติ และกามะถัน
ค. ถ้านา H2S2O7,H2OและNH3มาทาปฏิกิริยากันจะได้ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต
ง. ปุ๋ยยูเรียและปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ถ้าใช้ในปริมาณมากจะทาให้ดินมีสมบัติเป็นกรด
ปุ๋ยใดให้ร้อยละโดยมวลของไนโตรเจนมากที่สุด
ก.ปุ๋ยยูเรีย ข.ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ค.ปุ๋ยโซเดียมไนเตรต ง. ปุ๋ยแอมโมเนียมฟอสเฟต
ในการผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (NH4)2SO4 และยูเรีย CO(NH2)2มีสารเคมีที่เกี่ยวข้องใน
กระบวนการผลิตอยู่หลายชนิด จงพิจารณาว่าสารชนิดใดต่อไปนี้เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก
ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สมีเทนกับแก๊สออกซิเจน
ก. CO และ CO2 ข. NH3 และ H2 ค. H2 และ CO ง. H2 และ CO2

ข้อใดเป็นปุ๋ยวิทยาศาสตร์
ก.ฮิวมัส ข.ปุ๋ยคอก ค.ปุ๋ยยูเรีย ง. ปุ๋ยพืชสด

การใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์มากเกินไปจะทาให้ดินเสียหรือเรียกว่าดินเปรี้ยว ปุ๋ยประเภทนี้คือข้อใด
ก.ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต ข.ปุ๋ยโพแทส
ค.ปุ๋ยยูเรีย ง. ปุ๋ยแอมโมเนีย
ในอากาศมีแก๊สอะไรมากที่สุด
ก. N2 ข. O2 ค. CO ง. CO2

ข้อใดไม่ใช่สมบัติของปุ๋ยเคมี
ก.ใช้ปรับปรุงธาตุอาหารในดินได้โดยตรง ข.ผสมสูตรปุ๋ยตามความต้องการได้
ค.ช่วยทาให้ดินร่วนซุย ง. มีธาตุอาหารไม่ครบทุกธาตุ

ธาตุอาหารชนิดใดที่ไม่ใช่ธาตุอาหารหลักของพืช
ก.กามะถัน ข.ไนโตรเจน ค.โพแทสเซียม ง. ฟอสฟอรัส
ถ้าต้องการผลิตแอมโมเนีย ควรผสมแก๊สไนโตรเจนและแก๊สไฮโดรเจนด้วยอัตราส่วนเท่าใด
โดยปริมาตร
ก. 1:2 ข. 1:3 ค. 2:1 ง. 3:1
ก. ปุ๋ ุุ ยคอก
ข. ปุ๋ ยหมัก
เมื่อนาซัลเฟอร์เหลวมาผสมกั
ค. ปุ๋ บยพื
ุ แก๊ชสสดออกซิเจนจะเกิดแก๊สอะไรขึ้น
ก. H2SO3 ข. SOง.2 ปุ๋ ยเคมี ค. SO3 ง. H2SO4

ปุ๋ยชนิดใด เร่งการเจริญเติบโตของพืชได้เร็วที่สุด
ก.ปุ๋ยคอก ข.ปุ๋ยหมัก ค.ปุ๋ยพืชสด ง. ปุ๋ยเคมี
31
❖ ฟอสฟอรั สเป็น
ส่วนประกอบของ RNA
DNA ของพืช
❖ เจริญเติบโตและความ
ฟอสฟอรั สช่ วยเร่ ง การ

แข็งแรงของพืช ทั้งส่วน
ราก ลาต้น ใบ และการ
ออกดอกออกผล
ฟอสฟอรัสในดินเกิดจากการ
สลายตัวของแร่บางชนิด+การ
สลายตัวของอินทรียวัตถุในดิน
ในรูปของฟอสเฟต(ละลายน้า
ยาก พืชจึงเอามาใช้ได้น้อย)
❖ ปุ๋ยฟอสเฟตเป็นปุ๋ยเคมีที่ให้
ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของ
สารประกอบฟอสเฟต
❖ การผลิตปุ๋ยฟอสเฟตใน
ปัจจุบันใช้หินฟอสเฟต
(CaF2•3Ca3(PO4)2)
❖ หินฟอสเฟตมี P2O5 อยู่ 20-40% จึงมีการนาหินฟอสเฟต
ที่บดละเอียดใส่ลงในดินเพื่อใช้เป็นปุ๋ยโดยตรง
❖ ปัญหาที่พบคือหินฟอสเฟตละลายน้าได้น้อยมาก พืชจึงนา
ฟอสฟอรัสไปใช้ได้ไม่เกินร้อยละ 5 ของ P2O5 ที่มีอยู่ จึง
ต้องใช้หินฟอสเฟตจานวนมาก ไม่คุ้มค่าจึงมีการนาหิน
ฟอสเฟตมาทาเป็นปุ๋ยฟอสเฟต
Ca(PO3)2
Ca(PO3)2
จะได้
CaSO4
กาจัด HF
กาจัด HF
ปุ๋ยฟอสเฟตละลายน้าได้ง่าย ถ้าใส่ลงใน
ในดินกรด pH  6.5
ดินจะทาปฏิกิริยากับดินเกิดเป็น
สารประกอบฟอสเฟตที่ละลายน้าได้ยาก
ทาให้พืชใช้ประโยชน์ได้น้อยลง
(เกิดการตรึงฟอสฟอรัสขึ้น)
**จึงควรหยอดปุ๋ยเป็นจุด หรือเป็นแถบยาวๆใกล้
กับราก เพื่อลดผิวสัมผัส+โอกาสที่ปุ๋ยจะทา ในดินเบส pH  7.4
ปฏิกิริยากับดิน

ดินที่มีค่า pH 6.5-7 ดินจะตรึงฟอสฟอรัสได้น้อย และเป็นช่วง pH ที่เหมาะสมต่อการใส่ปุ๋ยฟอสเฟต


46
❖ ปุ๋ยโพแทสคือปุ๋ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียม
เป็นองค์ประกอบ(นิยมบอกความเข้มข้น
เป็นร้อยละโดยมวลของโพแทสเซียม
ออกไซด์)
❖ แหล่งปุ๋ยโพแทสได้จากขี้เถ้า เตาถ่าน การ
เผาใบไม้กิ่งไม้
❖ ส่วนใหญ่ธาตุโพแทสเซียมในดินเกิดจาก
การสลายหิน+แร่ในดิน
❖ พืชจะใช้ธาตุโพแทสเซียมในรูป K+ เท่านั้น
❖ ดินเหนียวมี K+ มากกว่าดินชนิดอื่น
พบร่วมกับ เกิดเป็นแร่

• •
(KCl)

(K2SO4)

(KNO3)

(KSO4+MgSO4)
(KCl)

❖ พืชที่ทนพิษคลอรีนได้ เช่น มะเขือเทศ


ผักกาดหัว
❖ พืชที่ไม่ทนทานต่อพิษของคลอรีน เช่น
ยาสูบ
***พืชที่ไม่ทนทานต่อพิษของคลอรีนไม่ควรใช้
(K2SO4)

***เกษตรกรนิยมใช้
ร่วมกันกับปุ๋ย
โพแทสเซียมคลอไรด์
(KNO3)

***ไม่เหมาะจะใช้ในไร่นา เพราะ แพง!!


(KSO4+MgSO4)
ใช้หลักการละลายของ KCl ที่สูงขึ้นมากเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
แร่ซิลไวไนต์/ KCl•NaCl

ได้ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ แยกผลึก KCl ออก แล้วอบให้แห้ง


บดให้ละเอียด

ทาสารละลายให้
มีความเข้มข้น
มากขึ้นโดย
เติมน้าเกลืออิ่มตัว/ NaCl ระเหยน้าออกจน
กรองแยกโคลน
อิ่มตัวลงไป แล้วปล่อยให้ KCl ตกผลึก
และตะกอนออก
ละลายน้าที่อุณหภูมิ 90 C สารละลายเย็นตัวลง
แยก NaCl นาสารละลายที่
ทิ้งน้าทะเลให้ตากแดด อาศัย
NaCl จะตกผลึก เหลือมาระเหย
ความร้อนจากแสงอาทิตย์
ออกมาก่อน น้าออก
ระเหยน้าออกไป

ได้ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์
แร่แลงบีไนต์/ ใช้หลักการละลายของ KCl ที่สูงขึ้นมากเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
K2SO4•2MgSO4)

ได้ K2SO4 ตกผลึกออกมา


บดให้ละเอียด
50 C

เติม KCl เข้มข้นลงไป เพื่อแยก Mg ให้เกิดเป็น MgCl2

ละลายน้าที่อุณหภูมิ 50 C
NaCl ละลายน้าได้น้อยกว่า นาสารละลายที่เหลือมาระเหยให้แห้ง
นาKCl กับ NaNO3 มาทาปฏิกิริยากัน
KNO3 จึงสามารถกรองแยก จะได้ผลึกของ KNO3
NaCl ออกไปได้
** ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรตเป็นปุ๋ยผสม เพราะมีธาตุอาหารหลักทั้ง K และ N**
61
❖ นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
❖ นาแม่ปุ๋ยและส่วนผสมต่างๆมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน/ นาแม่ปุ๋ยที่เม็ดขนาดใกล้เคียง
กันมาผสมสูตรที่ต้องการ
❖ ข้อดี : มีค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงงานต่อต้นทุนการผลิตต่า +ได้สูตรปุ๋ยที่
หลากหลายตรงตามความต้องการของตลาด
❖ ข้อเสีย
❖ ปุ๋ยแต่ละเม็ดอาจมีธาตุอาหารที่แตกต่างกัน
❖ อาจจะมีการแยกจากกันในระหว่างบรรจุกระสอบ+ขนส่ง โดยเฉพาะเมื่อแม่
ปุ๋ยแต่ละชนิดมีขนาด ความหนาแน่นต่างกันมากๆ
❖ ไม่เหมาะกับการผสมปุ๋ยปริมาณน้อยๆ
❖ ยากต่อการกาหนดสูตรปุ๋ยที่แน่นอน
❖ ไม่เหมาะกับแม่ปุ๋ยที่ทาปฏิกิริยากันทาให้จานวนแม่ปุ๋ยที่สามารถผสมกันได้มี
จานวนจากัด
แม่ปุ๋ยที่เหมาะสาหรับใช้ทาเป็นปุ๋ยผสม ควรมีปริมมาณของธาตุมาก + ราคาไม่แพง
❖ นาวัตถุดิบที่ใช้ในการทาแม่ปุ๋ยมาผสม+ทาปฏิกิริยากันโดย
ผ่านกรรมวิธีทางเคมี
❖ ข้อดี : มีธาตุอาหารหลักอย่างน้อย 2 ธาตุขึ้นไป + มีความ
สม่าเสมอของธาตุอาหารในเนื้อปุ๋ยมากกว่าปุ๋ยเชิงผสม
❖ ข้อเสีย
❖ ราคาแพง
❖ ส่งผลต่อระบบนิเวศ ทาให้สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้าตาย
เพราะปริมาณออกซิเจนในน้าลดลง
❖ ทาให้สาหร่ายเจริญเติบโตในน้ามากเกินไป
❖ สตรีมีครรภ์ได้รับสารไนเตรตที่ปนเปื้อนในแหล่งน้า
จานวนมาก ก็จะทาให้ทารกที่เกิดมามีตัวสีฟ้า
เนื่องจากขาดฮีโมโกลบินที่ขนส่งออกซิเจน ***ทา
ให้เสียชีวิตได้***
Eutrophication
❖ ทาให้สาหร่ายเจริญเติบโตในน้า
มากเกินไป
❖ อาจทาให้เกิดการปนเปื้อน/
สะสมของโลหะหนักในดิน
เนื่องจากมียูเรเนียมในแร่
ฟอสเฟตที่นามาผลิตปุ๋ย เช่นการ
ปนเปื้อนของแคดเมียมในดินจาก
การใช้ปุ๋ยในประเทศนิวซีแลนด์
ปุ๋ยฟอสเฟตให้ธาตุอาหารใดแก่พืช
ก. ไนโตรเจน ข. ฟอสฟอรัส ค. โพแทสเซียม ง. ฟอสเฟต

ข้อใดต่อไปนี้จาเป็นต่อการผลิตปุ๋ยฟอสเฟต
ก. หินฟอสเฟต ข. กรดซัลฟิวริกเข้มข้น ค. ก๊าซแอมโมเนีย ง. ข้อ ก และ ข

ผลพลอยได้ที่เกิดจากกระบวนการผลิตปุ๋ยฟอสเฟตคืออะไร
ก.ยาฆ่าแมลง ข.ไนโตรเจนเหลว ค. น้าแข็งแห้ง ง. ก๊าซคลอรีน
ปุ๋ยยูเรียให้ธาตุอาหารใดแก่พืช
ก. P ข. N ค. K ง. O

โรงงานผลิตปุ๋ยยูเรียควรตั้งอยู่ใกล้กับโรงงานในข้อใดต่อไปนี้
ก. โรงกลั่นน้ามัน ข. โรงงานทอผ้า
ค. โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า ง. โรงงานแยกก๊าซธรรมชาติ

ถ้า H2SO4 ราคาลดลงกว่าปัจจุบัน 50% ราคาปุ๋ยชนิดใดจะมีต้นทุนการผลิตลดลง


ก.ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยยูเรีย ข.ปุ๋ยยูเรีย ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
ค. ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุ๋ยโพแทส ง. ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
ในการผลิตปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟตจากหินฟอสเฟตจะมีสารพิษใดเกิดขึ้น
ก. P2O5 ข. HF ค. SO2 ง. CO

ข้อใดต่อไปนี้เป็นปุ๋ยผสม
ก. ปุ๋ยยูเรีย ข.ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์
ค. ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต ง. ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต

ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ผลกระทบที่เกิดจากการใช้ปุ๋ยเคมีมากเกินไป
ก.เกิด Eutrophication ข. เกิดการปนเปื้อนแคดเมียมในดิน
ค. เกิดการปนเปื้อนไนเตรตในน้า ง. เกิดการปนเปื้อนไนโตรเจนในอากาศ

You might also like