You are on page 1of 3

หน่ วยฯ ที่ 4 สารในชีวิตประจำวัน จำนวน 30 ข้อ

จงกา  ทับตัวอักษร ตรงกับตัวเลือกที่ต้องการลงในกระดาษคำตอบ


1. สารในข้อใดเมื่อใส่ ลงไปในน้ำแล้วจะ 7. สารในข้อใดเมื่อทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส
ละลายเป็ นเนื้อเดียวกับน้ำ แล้วทำให้กระดาษลิตมัสเปลี่ยนจากสี น ้ำเงิน
ก. ดิน ข. น้ำมันพืช เป็ นสี แดง
ค. ขี้เถ้า ง. น้ำตาลทราย ก. น้ำสบู่ ข. น้ำมะนาว
2. การจำแนกสารในข้อใด มีสารทั้ง 3 สถานะ ค. น้ำผงซักฟอก ง. น้ำปูนใส
ก. ชอล์ก น้ำเกลือ ไอน้ำ 8. ในชนบทที่ตอ้ งใช้น ้ำจากแม่น ้ำลำคลอง
ข. น้ำมันพืช น้ำตาลทราย น้ำเชื่อม จะใช้สิ่งใดเพื่อทำให้สารแขวนลอย
ค. น้ำเกลือ ยางลบ น้ำแข็ง ตกตะกอน
ง. ก้อนหิน ทราย น้ำปลา ก. สารส้ม
3. สารในข้อใดที่ระเหิดได้ ข. ก้อนหิน
ก. ยาหม่อง ข. ลูกเหม็น ค. กิ่งไม้แห้ง
ค. ชอล์ก ง. เทียนไข ง. ใบของพืชบางชนิด
4. การแยกน้ำทะเลโดยวิธีระเหยแห้ง สุ ดท้าย 9. ข้อใดควรแยกสารโดยการร่ อน
แล้วจะได้สิ่งใด ก. แยกเกลือออกจากน้ำเกลือ
ก. น้ำตาล ข. แป้ ง ข. แยกผงถ่านออกจากน้ำ
ค. เกลือ ง. ทราย ค. ทำให้เศษดินโคลนนอนก้น
5. ผ้าขาวบาง เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้แยกสาร ง. แยกเม็ดทรายที่มีขนาดต่างกัน
โดยวิธีใด 10.
ก. การระเหย ข. การกลัน่ กระดาษ  เผาไหม้  A
ค. การกรอง ง. การร่ อน อยากทราบว่า สาร A ที่เกิดขึ้นคืออะไร
6. สารในข้อใดไม่ละลายน้ำ ก. ถ่าน ข. ขี้เถ้า
ก. เกลือ ข. น้ำมันพืช ค. เศษผง ง. ควัน
ค. น้ำตาล ง. ผงซักฟอก

11. น้ำยาล้างห้องน้ำมีสมบัติตามข้อใด 17. สิ่ งแรกที่ควรทำก่อนใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสารพิษ


ก. เป็ นกรด คือข้อใด
ข. เป็ นด่าง ก. อ่านฉลากข้างผลิตภัณฑ์
ค. เป็ นกลาง ข. เขย่าขวดก่อนใช้
11
ง. มีฤทธิ์ผสมผสานกัน ค. ทดลองดมกลิ่น
12. สัญลักษณ์ไวไฟส่ วนใหญ่จะพบในฉลาก ง. นำไปผสมน้ำ
ของสารข้อใด 18. สารชนิดใดที่ใช้ปรุ งแต่งอาหาร แต่ไม่มี
ก. อาหารกระป๋ อง คุณค่าทางอาหาร
ข. สารกำจัดมดและแมลง ก. น้ำปลา ข. น้ำตาล
ค. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ปรุ งแต่งอาหาร ค. สี ผสมอาหาร ง. เกลือ
ง. ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดร่ างกาย 19. สารข้อใดไม่ใช่สารทำความสะอาดร่ างกาย
13. สารในข้อใดที่พฒั นามาจากสบู่ ก. ยาสี ฟัน ข. สบู่
ก. แชมพู ข. ผงซักฟอก ค. ผงซักฟอก ง. แชมพู
ค. ยากันยุง ง. น้ำยาล้างห้องน้ำ 20. การฉี ดพ่นยาปราบศัตรู พืชควรปฏิบตั ิตาม
14. กระป๋ องสารกำจัดแมลงที่ใช้หมดแล้ว ข้อใด
ควรกำจัดอย่างไร ก. ควรฉี ดพ่นซ้ำหลายๆ ครั้ง
ก. ทิ้งลงน้ำ ข. ควรฉี ดในปริ มาณมาก
ข. เผาไฟ ค. ควรฉี ดในเวลาเช้าตรู่
ค. ฝังดิน ง. ผูฉ้ ี ดพ่นควรยืนเหนือลม
ง. ทุบให้แบนแล้วทิ้งปนกับขยะอื่นๆ 21. น้ำตาล  น้ำ  น้ำเชื่อม
15. เราจะพบข้อมูลทางโภชนาการในผลิตภัณฑ์
ข้อใด อยากทราบว่าสิ่ งใดคือตัวทำละลาย
ก. โฟมล้างหน้า ข. ครี มอาบน้ำ ก. น้ำ ข. น้ำตาล
ค. โยเกิร์ต ง. ลิปสติก ค. น้ำเชื่อม ง. น้ำและน้ำตาล
16. เราอาจตรวจพบสารใดตกค้างอยูต่ ามพืชผัก 22. ข้อใดไม่ ใช่ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
ก. สารทำความสะอาด ก. แก้วแตก
ข. สารปรุ งแต่งอาหาร ข. การปั้ นดินน้ำมันเป็ นรู ปต่างๆ
ค. สารกำจัดแมลงในบ้าน ค. น้ำเปลี่ยนสถานะเป็ นน้ำแข็ง
ง. สารปราบศัตรู พืช ง. ตะปูที่ทิ้งไว้เกิดสนิม
23. ข้อใดเป็ นลักษณะสำคัญของการ 28. น้ำแข็งแห้ง ที่ใช้ทำควันสี ขาวบนพื้นเวที
เปลี่ยนแปลงทางเคมี การแสดง คือสารในข้อใด
ก. สามารถเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้ ก. ออกซิ เจน
ข. องค์ประกอบไม่เปลี่ยนแปลง ข. แอลกอฮอล์
ค. สมบัติของสารยังคงเดิม ค. คาร์บอนมอนอกไซด์
ง. เกิดสารใหม่ ง. คาร์บอนไดออกไซด์
24. ข้อใดเป็ นการเกิดปฏิกิริยาเคมี 29. การละลายในข้อใดจะได้สารเนื้อผสม
ก. การเผาไหม้ของเทียนไข ก. น้ำตาล + น้ำ
12
ข. การละลายเกลือในน้ำ ข. เกลือ + น้ำ
ค. การระเหิดของการบูร ค. ทราย + น้ำ
ง. การที่น ้ำเปลี่ยนเป็ นไอน้ำ ง. น้ำโซดา + อากาศบริ สุทธิ์
25. ข้อใดเป็ นการคายความร้อน 30. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดไม่เกิดสารใหม่
ก. น้ำแข็ง  น้ำ ก. น้ำเดือดกลายเป็ นไอ
ข. ไอน้ำ  หยดน้ำ ข. น้ำตาลละลายในน้ำ
ค. น้ำ  ไอน้ำ ค. การเผาน้ำตาลทราย
ง. ลูกเหม็น  ไอ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
26. การใส่ เกลือป่ นลงในน้ำ จะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างไร
ก. เกิดการละลาย
ข. เกิดการเผาไหม้
ค. เกิดปฏิกิริยาเคมี
ง. เกิดการเปลี่ยนสถานะ
27. ข้อใดไม่ ถูกต้ องเกี่ยวกับการเปลี่ยนสถานะ
ก. ของแข็งเปลี่ยนเป็ นของเหลว เรี ยกว่า
การหลอมเหลว
ข. ของเหลวเปลี่ยนเป็ นก๊าซ เรี ยกว่า
การระเหิด
ค. ก๊าซเปลี่ยนเป็ นของเหลว เรี ยกว่า
การควบแน่น
ง. การระเหยทัว่ ทุกส่ วนของของเหลว
เรี ยกว่า การเดือด

13

You might also like