You are on page 1of 3

ชื่อ............................................

เอกสารหมายเลข ๓ นามสกุล...................................
กาพย์เห่ชมเครือ่ งคาวหวาน : คุณค่าอาหารไทย ชั้น ม. ๑/…..... เลขที่...............

ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนเลือกชื่ออาหารที่กำหนดให้สอดคล้องกับความเปรียบในคำประพันธ์ต่อไปนี้

ก. มะม่วงอกร่อง ข. ล่าเตียง ค. ผลเกด ง. พล่าเนื้อ จ. ช่อม่วง


ฉ. จ่ามงกุฎ ช. ทุเรียน ซ. ลำเจียก ฌ. เงาะ ญ. มะปราง

.......... ๑. นึกถึงสไปสีม่วงดอกพุดตานของน้อง .......... ๒. นึกถึงเตียงนอนน้อง อยากไปนอนแนบข้าง


.......... ๓. นึกถึงสะอิ้งสีทองของน้อง .......... ๔. นึกถึงตอนนอนเคียงอกแนบอกของน้อง
.......... ๕. นึกถึงครั้งอยู่แนบชิดติดเนื้อนาง .......... ๖. นึกถึงผิวสีทองนวลของน้อง
.......... ๗. นึกถึงนางรจนาจากเรื่องสังข์ทอง .......... ๘. นึกถึงยามอ่อนล้า พอได้หอมแก้มน้องก็มีแรง
.......... ๙. นึกถึงยามน้องสางผม .......... ๑๐. นึกถึงน้องที่เปรียบดังดอกไม้กลิ่นหอมยวนใจ

ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนจับคู่อาหารกับลักษณะหรือวิธที ำที่ปรากฏในเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

ก. ฝอยทอง ข. น้อยหน่า ค. มัสมั่น ง. เงาะ จ. ลุดตี่


ฉ. พลับจีน ช. หมูแนม ซ. รังไร ฌ. ข้าวหุงเครือ่ งเทศ ญ. ตับเหล็กลวก

.......... ๑. อาหารที่หอมกลิน่ ยี่หร่า ได้รสชาติเครือ่ งเทศร้อนแรง


.......... ๒. ผลไม้ทภี่ ายนอกไม่สวยงาม แต่ภายในหวานอร่อย
.......... ๓. ผลไม้ที่แกะเอาเมล็ดออกอย่างเบามือ เมื่อปอกต้องประหลาดใจ
.......... ๔. ของหวานทำจากไข่ ลักษณะเป็นเส้น
.......... ๕. อาหารลักษณะเป็นห่อ รับประทานคูก่ ับพริกสดและใบทองหลาง
.......... ๖. ข้าวที่หุงแบบต่างชาติ ใส่เครื่องเทศและลูกเอ็น
.......... ๗. ของหวานแบบแขก ลักษณะเป็นแป้งราดน้ำแกง
.......... ๘. ลักษณะเป็นเส้นโรยด้วยแป้ง คล้ายรังนก
.......... ๙. อาหารประเภทลวก โรยด้วยพริกไทย รับประทานคู่กับพริกน้ำส้ม
.......... ๑๐. ผลไม้ที่จัดแต่งให้สวยงาม ด้วยการทำเป็นรอยหยัก คล้ายการแกะสลัก

ตอนที่ ๓ ให้นกั เรียนยกตัวอย่างคำประพันธ์ที่มีความโดดเด่นทางด้านวรรณศิลป์ในประเด็นต่อไปนี้


๑. การเล่นสัมผัสใน ทั้งสัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
๒. การเล่นคำ
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
๓. การใช้ความเปรียบ (อุปมา)
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
๔. การใช้ความเปรียบ (อุปลักษณ์)
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
๕. การใช้อติพจน์
................................................................... ...................................................................
................................................................... ...................................................................
ตอนที่ ๔ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
๑. ข้อใดเป็นจุดประสงค์ของการแต่งกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ก. เพื่อความเพลิดเพลินระหว่างเดินทาง ข. เพื่อเป็นบทขับร้องในประเพณีแข่งเรือ
ค. เพื่อรวบรวมรายชื่ออาหารที่เป็นที่นิยมของราชสำนัก ง. เพื่อเป็นบทเห่เรือในการเสด็จประพาสส่วนพระองค์
๒. สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินีผู้ทรงปรุงอาหารมีความเกี่ยวข้องกับรัชกาลที่ ๒ อย่างไร
ก. เป็นพระเจ้าพี่นางเธอ ข. เป็นพระราชมารดา
ค. เป็นพระเจ้าน้องยาเธอ ง. เป็นพระอัครมเหสี
๓. กวีได้นำอาหารคาวหวานหรือผลไม้ใด มาเปรียบเทียบกับความงามของนาง
ก. เงาะ ข. ทุเรียน ค. มัศกอด ง. ก้อยกุ้ง
๔. อาหารหวานชนิดใดทีน่ ิยมใช้ในงานมงคลและสื่อความหมายถึงความสำเร็จและมีเกียรติยศสูงสุด
ก. ทองหยิบ ข. บัวลอย ค. จ่ามงกุฎ ง. ขนมเทียน
๕. อาหารในข้อใด ใช้กุ้งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ
ก. แสร้งว่า ข. ยำใหญ่ ค. หรุ่ม ง. ตับเหล็ก
๖. ข้อใดจัดเป็นอาหารคาวทั้งหมด
ก. ไตปลา มัศกอด ลุดตี่ ข. หรุ่ม รังไร น้ำยา
ค. รังนก ล่าเตียง แสร้งว่า ง. ลำเจียก ข้าวหุงเครือ่ งเทศ ช่อม่วง
๗. ข้อใดเป็นอาหารหวานทั้งหมด
ก. ล่าเตียง รังนก แสร้งว่า หรุ่ม ข. ผลชิด ลูกตาล ลูกจาก ผลเกด
ค. ลำเจียก ลุดตี่ ขนมจีบ รังไร ง. ซ่าหริ่ม รังนก ช่อม่วง จ่ามงกุฎ
๘. คำประพันธ์ในข้อใดกล่าวถึงอาหารทีม่ ีกรรมวิธแี ตกต่างจากข้ออื่นอย่างชัดเจน
ก. มัสมัน่ แกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง
ข. ความรักยักเปลี่ยนท่า ทำน้ำยาอย่างแกงขม
ค. ช้าช้าพล่าเนื้อสด ฟุ้งปรากฏรสหื่นหอม
ง. เทโพพื้นเนื้อท้อง เป็นมันย่องล่องลอยมัน
๙. อาหารในข้อใดที่จัดว่าทำได้ง่ายที่สุด แต่ต้องอาศัยฝีมือจึงจะอร่อย
ก. ตับเหล็กลวกหล่อนต้ม เจือน้ำส้มโรยพริกไทย
โอชาจะหาไหน ไม่มีเทียบเปรียบมือนาง
ข. หมากปรางนางปอกแล้ว ใส่โถแก้วแพร้วพรายแสง
ยามชื่นรืน่ โรยแรง ปรางอิ่มอาบซาบนาสา
ค. น้อยหน่านำเมล็ดออก ปล้อนเปลือกปอกเป็นอัศจรรย์
มือใครไหนจักทัน เทียบเทียมที่ฝีมอื นาง
ง. ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใส่ลูกเอ็น
ใครหุงปรุงไม่เป็น เช่นเชิงมิตรประดิษฐ์ทำ
๑๐. คำในข้อใดเป็นชื่อเรียกเครื่องเทศ
ก. เป็นมันย่องล่องลอยมัน ข. หอมยี่หร่ารสร้อนแรง
ค. ของสรรค์เสวยรมย์ ง. พิศห่อเห็นรางชาง
๑๑. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานสะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาของคนสมัยก่อนในเรื่องใด
ก. ฝีมือในการจัดอาหาร ข. ฝีมือในการปรุงอาหาร
ค. ฝีมือในการจัดโต๊ะเสวย ง. ฝีมือในการจัดอาหารคาวหวาน
๑๒. ข้อใดแสดงให้เห็นความพิถีพิถันในการทำอาหารไทยได้เด่นชัดที่สุด
ก. ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใส่ลูกเอ็น
ข. ซ่าหริ่มลิ้มหวานล้ำ แทรกใส่น้ำกะทิเจือ
ค. พลับจีนจักด้วยมีด ทำประณีตน้ำตาลกวน
ง. ไตปลาเสแสร้งว่า ดุจวาจากระบิดกระบวน
๑๓. “เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า รุ่มรุม่ เร้าคือไฟฟอน” บทประพันธ์นี้มีความดีเด่นอย่างไร
ก. การใช้คำง่าย ข. มีการใช้สัทพจน์ ค. มีการเล่นสัมผัสใน ง. มีการใช้อุปมา
๑๔. ชื่ออาหารในข้อใดไม่บอกประเภทของอาหาร
ก. เหลือรู้หมูป่าต้ม แกงคั่วส้มใส่ระกำ
ข. ก้อยกุ้งปรุงประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย
ค. เห็นหรุม่ รุมทรวงเศร้า รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน
ง. หมูแนมแหลมเลิศรส พร้อมพริกสดใบทองหลาง
๑๕. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานสะท้อนให้เห็นลักษณะอาหารไทยอย่างไร
ก. เห็นว่าอาหารไทยมีมากมายหลายชนิด ข. เห็นว่าอาหารไทยรับอิทธิพลจากชาติอื่นทั้งสิ้น
ค. เห็นว่าอาหารไทยสงวนไว้ให้คนในวังทำเท่านั้น ง. เห็นว่าอาหารไทยมาจากวัตถุดิบของคนไทยเอง

You might also like