You are on page 1of 17

รายงานการศึกษา

E-Hearing ทางเลือกการสื่อสารการเมือง
ของชนชั้นกลาง

โดย

สุระชัย ชูผกา
เลขทะเบียน 5007300030

เสนอ

รศ.ดร.สุรัตน์ เมธีกุล
2

รายงานนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาวิชาการสื่อสาร


และความคิดทางการเมือง (วส.811)
ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2550

E-Hearing กับช่องทางการสื่อสารการเมืองชนชัน
้ กลาง

ความนำ า
ชนชัน
้ กลางเป็ นกลุ่มคนที่มีความรู้ ความสามารถในหลาย
ดูานเนื่ องเพราะเป็ นกลุ่มชนที่มีฐานทางชีวสังคมในตำาแหนุ งที่
เชื่อมรูอยกับชนชัน
้ อื่นๆ ในสังคม กลุาวคือเป็ นทัง้ กลุ่มคนที่มีพ้ ืน
ฐานการศึกษาที่ส้งกวุาคนทัว
่ ไปในสังคมจำานวนมากอันเป็ นแรง
สุงอันสำาคัญใหูกลุ่มคนเหลุานี้เขูาสุ้ตำาแหนุ งงานที่เป็ นขูอตุอของ
ระบบเศรษฐกิจสุวนบนและสุวนลุาง หาใชุเป็ นเพียงกรรมกรผู้ใชู
แรงงาน แตุก็ยังไมุสามารถมีฐานะอยุางมัน
่ คงกวูางขวางที่จะมี
อำานาจในดูานตุางๆ ในการชี้นำาหรือขับเคลื่อนสังคมไดูอยุางเดุน
ชัดโดยลำาพังเฉกเชุนชนชัน
้ ส้ง
ในประวัติศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
ทีผ
่ ุานมาเป็ นที่ทราบกันดีวุา ชนชัน
้ กลางมีบทบาทสำาคัญในผลัก
ดันใหูเกิดความเปลี่ยนแปลงตุอการขยับตัวทางสังคม ช่มชน
และประเทศอยุางเดุนชัด แตุกระนั น
้ ก็ตามหากไดูไตุสวนเพื่อ
3

คูนหาความหมายของชนชัน
้ กลางอยุางเป็ นสากลก็ยากที่พบ
นิยามที่กำาหนดตัวตนของชนชัน
้ กลาง ไกลไปกวุานั น
้ การจะ
กำาหนดตำาแหนุ งแหุงที่ใหูชนชัน
้ ไดูเขูามามีสุวนรุวมในการกำาหนด
ชะตากรรมของประเทศชาติอยุางมีบทบาทใหูปรากฏชัดยิ่งเป็ น
เรื่องไมุงุาย
รายงานการศึกษาชิ้นนี้จึงพยายามมุ่งศึกษาเพื่อกำาหนดวาง
ความหมายและบทบาทของชนชัน
้ กลางตุอการพัฒนาสังคม
การเมืองไทยมิใหูล่ ืนไหลไรูร้ปแบบตัวตนจนไมุสามารถพัฒนาขูอ
เสนอแนะดูาน E-Hearing เป็ นโครงรุางประการหนึ่ งที่จะชุวยฉ่ด
ดึงพลังของชนชัน
้ ออกมารุวมสรรค์สรูางสังคมไทยอยุางเป็ น
ระบบมากยิ่งขึ้น

กำาเนิ ดชนชัน
้ กลาง
ในอดีตที่ผุานมาไมุการกลุาวถึงคำาวุา ชนชัน
้ กลาง หรือ
Middle class มากุอน มีเพียงคำาวุา The gentlemen คือกลุ่ม
ส่ภาพชน และ Non gentlemen คือกลุ่มชนทัว
่ ๆ ไป
คำาวุา ชนชัน
้ กลาง หรือ Middle class มิไดูมีการกำาหนดขึ้น จน
กระทัง่ ในปี ค.ศ. 1812 มีบัญญัติศัพท์คำาวุา Middle class ลงใน
oxford Dictionary ตัง้ แตุนัน
้ เป็ นตูนมาจนถึงปั จจ่บัน โดยไดูใหู
ความหมายวุา เป็ น ชนชัน
้ ทางสังคมที่อยุ้ระหวุางชนชัน
้ ส้งและ
ชนชัน
้ ตำ่าในสังคมนั น
้ ๆ อาทิ กลุ่มพุอคูา นั กธ่รกิจ ผู้ประกอบ
วิชาชีพตุางๆ (A S Hornby: 1974 )
4

ในประเทศอังกฤษนั บไดูวุาเป็ นประเทศที่ชนชัน


้ กลางไดู
ปรากฏตัวออกมาอยุางชัดเจนที่ส่ด โดยเกิดชนชัน
้ อิสระและกลุ่ม
คนที่เป็ นพุอคูาไดูมีการรวมตัวกันเขูามามีบทบาทในการวิพากษ์
วิจารณ์สังคมศักดินาในอังกฤษอยุางตุอเนื่ องยาวนาน โดยในย่คที่
มีการปฏิวัติอ่สาหกรรมในศตวรรษที่ 18 ไดูนำาสุ้การเกิดขึ้นของ
ชนชัน
้ กลางอยุางชัดเจน ทัง้ นี้เพราะการปฏิวัติอ่ตสาหกรรมนำ าไป
สุร้ ะบบการแบุงงานกันทำา การประกอบการดูวยระบบสายพาน
และงานอ่ตสาหกรรมประเภทตุางๆ เกิดกลุ่มคนที่ไมุใชุกรรมกร
ทีเ่ ป็ นชนชัน
้ ลุาง และไมุใชุกลุ่มคนที่มีความมัง่ คัง่ ดังเชุนเจูาที่ดิน
ชนชัน
้ ส้งเชุนในอดีต กลุ่มนี้มีการศึกษาส้ง มีวิถีชีวิต(Lifestyle)
ทีแ
่ ตกตุาง ตลอดจนมีอิสระทางความคิดในดูานตุางๆ หลากหลาย
จนคุอยๆ กูาวเขูามามีบทบาททางการเมืองส้งขึ้นเมื่อระบบ
การเมืองมีความเปลี่ยนแปลงเปิ ดกวูางขึ้น โดยมีตัวบุงชี้ที่สำาคัญ
คือ สถานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ รายไดู และโอกาสในการขยับตัว
ทางสังคม (John Raynor:1969) ลักษณะเชุนนี้ชนชัน
้ กลางไดู
ปรากฏตัวขึ้นในสังคมอื่นๆ เมื่อระบบเศรษฐกิจและสังคมไดูกูาว
เขูาภาวะความทันสมัย (Modernization) ซึ่งรวมถึงสังคมไทย
ดูวยเชุนกัน

กำาเนิ ดชนชัน
้ กลางไทย
ชนชัน
้ กลางไทยกำาเนิ ดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จ่ลจอมเกลูาเจูาอยุ้หัวที่กำาหนดใหูมีการปฏิร้ปการปกครองดูวย
การจัดใหูมีการบริหารราชแผุนดินดูวยระบบกระทรวง ตลอดจน
5

การปรับปร่งการจัดการภาครัฐในร้ปแบบใหมุ และใหูมีการเลิก
ทาสถ้กยกเลิก มีการปฏิร้ประบบการศึกษา ซึ่งการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม การเมืองนี้ทำาใหูโอกาสในการขยับตัวทาง
สังคม(social mobilization)ของประชาชนคนไทยมีส้งขึ้น ทำาใหู
ประชาชนมีโอกาสไดูรับการศึกษาส้งขึ้น ประกอบอาชีพไดูอส
ิ ระ
มากขึ้น เกิดพุอคูา ปั ญญาชน และชนชัน
้ กลางเพิ่มมากขึ้น อันนั บ
ไดูวุาเป็ นชนชัน
้ ใหมุทางสังคมที่แตกตุางไปจากระบบศักดินาเดิม
ทัง้ นี้บทบาทของชนชัน
้ กลางไทยไดูปรากฏตัวอยุางเดุนชัด
ขึ้นในการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 ทีม
่ ีปัญญา
ชนผู้ไดูรับการศึกษาจากตะวันตก และชนชัน
้ อาชีพอิสระในสังคม
และกลุ่มทหารหนุ ่ม ซึ่งลูวนเป็ นผลพวงจากการปฏิร้ปสังคม
การเมืองกุอนหนู าเขูารุวมเป็ นกำาลังสำาคัญในการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง และเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับการกิดชนชัน

ปั ญญาชน นิ สิต นั กศึกษาที่เป็ นกำาลังสำาคัญในการประทูวงเพื่อใหู
มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในวันที่ 14 ต่ลาคม พ.ศ. 2516
(Yoshifumi;2004)
ในงานการศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการชนชัน
้ กลางของนั ก
วิชาการจำานวนมากตุางเห็นพูองตูองกันวุา การเปลี่ยนแปลง
ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจจากระบบชาตินิยม รัฐวิสาหกิจใน
ระบบของจอมพลป.พิบ้ลสงคราม มาสุ้การผลิตเพื่อตอบสนองตุอ
ระบบตลาดที่เริ่มตูนขึ้นย่คจอมพล สฤษ ธนะรัตน์ ตัง้ แตุพ.ศ.
2501 ตุอเนื่ องสุ้การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อการสุงออกในย่คตุอมา
เป็ นสุวนสำาคัญที่ทำาใหูชนชัน
้ กลางไทยกุอร้ปอยุางเป็ นกลุ่มกูอนที่
6

ชัดเจนในร้ปของนั กธ่รกิจ เจูาของกิจการขนาดกลาง และขนาด


เล็ก ผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ เป็ นนั กธ่รกิจ ล้กจูางฝุ ายจัดการ
พนั กงานบริษท
ั ซึ่งมีความรู้ มีวิถีชีวิตที่มีความเป็ นอิสระในการ
จัดการตัวเอง
วิยากร เชียงก้ล(2535) ใหูนิยามอยุางกระฉับแตุครอบคล่ม
ความหมายชนชัน
้ กลางไทยวุา คือ “ผู้ใชูแรงงานทางสมอง
ทำางาน” เชุนเดียวกับที่ อเนก เหลุาธรรมทัศน์ (2536) ระบ่วุา
ชนชัน
้ กลางไทยหมายถึง “บ่คคลที่เป็ นนั กบริหารอาชีพในภาค
เอกชนหรือผู้ประกอบวิชาชีพอิสระ...เติบโตมาพรูอมกับการแยก
ตัวจากชนชัน
้ ราชการ ดังนัน
้ ชนชัน
้ กลางไทยจึงหมายรวมถึง
ผู้คนทีป
่ ระกอบอาชีพไม่ใช่แรงงานเป็ นสำาคัญ อีกทัง้ ไม่ใช่ผู้ที่ถ้ก
ยึดโยงอย่้ในระบบราชการ แมูเป็ นขูาราชการแต่หากอย่้ใน
ตำาแหน่งที่มีความเป็ นอิสระในการจัดการตัวเองส้ง อาทิ อาจารย์
มหาวิทยาลัย แพทย์ ก็ยึดถือไดูว่าเป็ นชนชัน
้ กลาง

การขยายตัวของบทบาทชนชัน
้ กลางไทย
จากที่กลุาวมาแสดงใหูเห็นวุา ชนชัน
้ กลางไดูกุอตัวอยุาง
เดุนชัดเนื่ องเพราะผลผลิตของการขยายตัวของระบบอ่ดมศึกษา
ไทยที่เพิ่มทวีค้ณขึ้นเพื่อผลิตบ่คคลกรตอบสนองตุอทิศทางการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเป็ นสำาคัญ ดังปรากฏใน
การงานการศึกษาหลายชิ้น
Takashi (2004) พบวุา
7

• 1975-1985 ผู้จบปริญญาตรี 316 คนในท่กๆ ประชากร


100,000 คน
• 1985 -1990 ผู้จบปริญญาตรี 2000 คนในท่กๆ
ประชากร 100,000 คน

ขณะที่เอนก เหลุาธรรมทัศน์ (2538) ระบ่วุา ในชุวงปี ค.ศ.


1987 หากนั บตามนิ ยามความหมายชนชัน
้ กลางที่เนู นวุาเป็ นผู้จบ
การศึกษาปริญญาตรีและมีอาชีพอิสระตลอดจนเป็ นพนั กงานฝุ าย
จัดการ และหรือรวมถึงอาจารย์มหาวิทยาลัย แพทย์ ดังที่กลุาว
มาแลูว ชนชัน
้ กลางในกร่งเทพมีประมาณ 1.8 ลูานคน ซึ่ง
สอดคลูองกับทิศทางการประมาณการของ Yoshifumi (2004) ที่
คะเนวุา ในปี ค.ศ. 1990 ประเทศไทยมีชนชัน
้ กลางอยุ้คิดเป็ น
33.4%ของกำาลังแรงงาน
การขยายตัวที่ตุอเนื่ องกวูางขวางของชนชัน
้ กลางที่มา
พรูอมกับระดับความการศึกษา และการพัฒนาเศรษฐกิจในระบบ
เสรินิยมและคุานิ ยมประชาธิปไตยนี้เอง ทำาใหูชนกลุ่มนี้ไดูกลาย
เป็ นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจตลาดเสรี และการเมือง
ประชาธิปไตยของไทยในเวลาตุอมา โดยเฉพาะอยุางยิ่งในการ
ตุอตูานอำานาจเผด็จการชุวงปี พ.ศ. 2535 หรือที่เรียกกันวุา
พฤษภาทมิฬ อันเป็ นเหต่การณ์ที่ชนชัน
้ ไดูรับการกลุาวขวัญอยุาง
กวูางขวางวุาเป็ นกำาลังสำาคัญในการแสดงความเห็นแยูงตุออำานาจ
เผด็จการทหารในการสืบทอดแนวทางการปกครองประเทศ
8

การแสดงออกทางการเมืองของชนชัน
้ ตุอเหต่การณ์พฤษภา
ทมิฬนี้ ทำาใหูเกิดความ
ตื่นตัวทางการเมืองของชนชัน
้ กลางอยุางตุอเนื่ องในระยะตุอมา
ดังที่ปรากฏในงานวิจัยเรื่องชนชัน
้ กับการเลือกตัง้ ของ พิชาย
รัตนดิลก ณ ภ้เก็ต (2541) ทีช
่ ี้ชัดวุา การเลือกตัง้ ทัว
่ ไปในปี พ.ศ.
2538 และพ.ศ. 2539 ชนชัน
้ กลางประสงค์ไปใชูสิทธิในการเลือก
ตัง้ มากกวุาชนชัน
้ อื่นๆ โดยการศึกษาคูนพบวุา กลุ่มคนที่มีรายไดู
ระดับปานกลาง มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพอยุ้ในภาค
เอกชน เป็ นกลุ่มที่ออกไปใชูสิทธิมากกวุากลุ่มคนที่มีรายไดู การ
ศึกษา ทีม
่ ีระดับมากกวุาและนู อยอยุางเดุนชัด

ปั ญหาและข้อจำากัดของชนชัน
้ กลาง
แมูวุาชนชัน
้ กลางจะถือไดูวุาเป็ นกลุ่มทางสังคมที่มีความ
สำาคัญตุอการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในทิศทาง
เสรีนิยม ประชาธิปไตย แตุทวุาบทบาทของชนชัน
้ กลางตุอการ
พัฒนาสังคมการเมือง ด้เหมือนยังคงเป็ นที่ถกเถียงกันอยุางกวูาง
9

ขวางวุา สิง่ ใดเป็ นปั จจัยสำาคัญที่จะสุงผลตุอความตุอเนื่ องในการ


ลงหลักปั กฐานที่มัน
่ ในทางสังคมการเมืองใหูกับชนชัน
้ กลางไดู
สถาปนาทิศทางเพื่อคำ้ายันใหูระบอบประชาธิปไตยไดูขับเคลื่อนไป
ในทิศทางที่ยัง่ ยืน
นั กวิชาการที่ใหูความสำาคัญกับชนชัน
้ กลาง อยุางอเนก
เหลุาธรรมทัศน์ ที่ระบ่ไวูวุาในหนั งสือ สองนั กคราประชาธิปไตย
(2538) ที่ชี้ชัดถึงสถานและบทบาทของชนชัน
้ กลางตุอกรเมือง
ไทยวุา คนชนบทเป็ นผู้ตัง้ รัฐบาลผุานระบบการเลือกตัง้ แตุคน
ชัน
้ กลางในเมืองเป็ นผู้ลูมรัฐบาล แตุอเนกเองก็ยังไมุมัน
่ ใจใน
พลังของคนกลุ่มนี้เทุาใดนั กในแงุของความตุอเนื่ องยังยืนในการ
เป็ นพลังขับเคลื่อนประชาธิปไตย โดยอเนก ระบ่วุา “เมื่อพฤษภา
ทมิฬปิ ดฉากลง ปี กนั กธ่รกิจ และวิชาชีพอิสระก็คุอยๆ หมด
บทบาทลง แตุยังคงเป็ นผู้ผลิตประชามติ สุวนปี กนั กปฏิร้ปก็
เปลีย
่ นประเด็นไปเลุนเรื่องสิ่งแวดลูอม...ชนชัน
้ กลางปั จจ่บัน ถ้ก
นั กการตลาดมองวุาเป็ นผู้มีกำาลังซื้อส้ง
ม่มมองเชุนนี้สอดคลูองกับขูอสังเกตของวิทยากร เชียงก้ล
(2535) ที่วุา ทีผ
่ ุานมาชนชัน
้ กลางมีบทบาทในการพัฒนา
เศรษฐกิจส้งมาก แตุบทบาททางการเมืองของพวกเขายังมี
ลักษณะกระจัดกระจายไมุเดุนชัด ชนชัน
้ กลางสุวนใหญุยังไมุไดู
กระโดดเขูาไปมีบทบาททางการเมืองโดยเปิ ดเผย เพราะสภาพ
ความจริงของการเมืองไทยยังไมุบรรล่กว่ฒิภาวะมากนั กคนนิ ยม
เลุนการเมืองกันอยุางซุอนเรูนมากกวุาเลุนการเมืองโดยเปิ ดเผย
10

จากลักษณะดังกลุาวแสดงใหูเห็นถึงขูอจำากัดในพลังของ
ชนชัน
้ กลางที่ยังไมุสามารถหาความชัดเจนไดูวุาจะเป็ นแรงขับ
เคลื่อนระบบการเมืองในระบอบประชาธิปไตยไดูมากนู อยเพียง
ใด เทียบไมุไดูกับการเป็ นพลังขับเคลื่อนในระบบเศรษฐกิจ
ชนชัน
้ กลางนั บเป็ นแรงหรือปี กพย่งอันสำาคัญทีท
่ ำาใหูเศรษฐกิจ
ตลาดเสรีเดินหนู าไปไดูอยุางกูาวหนู าตุอเนื่ อง ซึ่งเป็ นเพราะพวก
เขาเหลุานั น
้ มีที่ทางในระบบเศรษฐกิจอยุางชัดเจน และมีโอกาส
ในการขยับพลังของตนในระบบเศรษฐกิจเสรีไดูอยุางสอดคลูอง
กับความรู้ ความคิดและพลังสรูางสรรค์ทางชนชัน
้ ที่แสวงหาผล
ประโยชน์ และกำาหนดชะตาความอยุ้รอดในวิถีการดำารงชีวิตของ
ตน
แตุกลุาวสำาหรับทีท
่ างในทางการเมืองของชนชัน
้ กลาง ยัง
นับไดูวุาชนชัน
้ กลางขาดพื้นที่ตุอการจัดวางพลังของตนในกูาว
เขูาไปเป็ นแรงขับหรือปี กพย่งในระบบการเมือง หากมีเพียงการ
แสดงอารมณ์ความรู้สึก หรือความคิดทางการเมืองผุาน
สื่อมวลชน สื่อบ่คคล ตามวาระโอกาสสุวนบ่คคลเทุานั น
้ เป็ น
สำาคัญ การมุ่งหวังใหูชนชัน
้ เป็ นข่มพลังคำ้ายันระบอบ
ประชาธิปไตย จึงแทบจะเป็ นไปไมุไดูหากขาดซึ่งการถากถางทาง
เพื่อใหูพลังของชนชัน
้ กลางไดูเขูาไปมีสุวนรุวมในทางการเมือง
อยุางตุอเนื่ องยัง่ ยืน

E-Hearing ทางเลือกแห่งช่องทางสื่อสารการเมืองของชนชัน

กลาง
11

พัฒนาการทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยไทยที่ผุาน
มา กลุ่มทหาร
นั กการเมือง และนั กธ่รกิจขนาดใหญุที่แอบอิงกับกลุ่มการเมือง
ด้จะเป็ นตัวแสดงสำาคัญในการขับเคลื่อนทิศทาง ทัง้ หนู าฉากและ
หลังฉาก คนกลุ่มอื่นๆ มีโอกาสเพียงตัวประกอบในการใหูฉันทา
มติรับรองการใชูอำานาจของตัวแสดงบนเวทีเหลุานั น
้ แมูแตุ
ชนชัน
้ กลางผู้มีความรู้ ความสามารถในทางเศรษฐกิจ สังคม ก็ยัง
ถ้กขีดวงไวูแตุเพียงการมีสุวนรุวมตามวาระและโอกาสที่ถ้กสรูาง
กำาหนดขึ้นไวู อาทิเวที การเลือกตัง้ การเปิ ดใหูแสดงความคิด
เห็นผุานสื่อมวลชน แมูวุาในอดีตไดูแสดงพลังมหาศาลในการขับ
เคลื่อนการเมืองไทยมาบูางแลูวก็ตาม
ชุองทางในการสื่อสารเพื่อสืบสานการมีสุวนรุวมของกลุ่มคน
ทีม
่ ีพลังสรูางสรรค์อยุางชนชัน
้ กลางนั บวุามีความสำาคัญอยุางยิ่ง
ตุอพัฒนาการทางการเมืองไทย เฉกเชุนที่ Lucian W Pye นั ก
วิชาการทางดูานพัฒนาการทางการเมืองไดูชี้ไวูวุา “การสรูางชาติ
ใหูเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันทางการเมืองของรัฐชาติใหม่สำาคัญอย่้
ทีก
่ ารสรูางการสื่อสารภายในชาติ โดยตูองมีการสถาปนาช่อง
ทางการสื่อสารระหว่างทุกภาคส่วนที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหูทุกคน
เขูาใกลูและรับรู้ขูอม้ลข่าวสารกัน เรียนรู้กัน ดังนัน
้ จึงตูองมีการ
พัฒนาสื่อมวลชน หรือองค์กรที่สามารถรวบรวมความคิดเห็นใน
ทางการเมือง และความคิดเห็นสาธารณะของประชาชนแต่ละ
คน” (Lucian W Pye: 1963 pp10-11)
12

อยุางไรก็ตาม การสรูางชุองทางเหมือนเป็ นสิ่งที่ไมุยากแตุ


การทอดสะพานใหูชนชัน

กลางไดูกูาวเดินขูามจากสังคมเศรษฐกิจที่ใกลูชิดกับผลประโยชน์
ของตนสุ้สังคมการเมืองที่ยึดโยงกับผลประโยชน์สาธารณะทีอ
่ อก
หุางความเห็นแกุตนของชนชัน
้ กลางนั บเป็ นสิ่งที่สำาคัญมากกวุา
เพราะดังที่ไดูกลุาวมาแลูววุาชนชัน
้ กลางยืนอยุ้บนพื้นฐานความ
คิดและการเคลื่อนตัวที่เป็ นอิสระ ชุองทางที่เปิ ดกวูางสำาหรับ
ชนชัน
้ กลางไดูเขูามาทำาการสื่อสารอยุางมีปฏิสัมพันธ์ใหูเกิดการ
พัฒนาการทางการเมืองจึงพึงพาดวางอยุางเชื่อมโยงตุอวิถีชีวิต
และผลประโยชน์ที่ใกลูตัวของชนชัน
้ กลางเป็ นสำาคัญ
E-Hearing นับวุาเป็ นทางเลือกหนึ่ ง ทีเ่ ปิ ดชุองทางสื่อสาร
ทางการเมืองที่มีความเป็ นไป
ไดูกับชนชัน
้ กลาง กลุาวคือ ภาครัฐที่เริ่มจากสุวนราชการ
ปกครองทูองถิ่น หรือภาคหนุ วยราชการที่ดำาเนิ นกิจการใกลูชิด
กับประชาชนพึงกำาหนดชุองทางการสื่อสารเพื่อรับฟั งความคิด
เห็นของประชาชนตุอการดำาเนิ นโครงการ กิจกรรมการพัฒนา
และแกูปัญหาช่มชน โดยเนู นใหูมีระเบียบราชการวุาดูวยการจัด
ทำาระบบอีเลคโทรนิ คเพื่อการติดตุอสื่อสารในการแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น ขูอเสนอ ขูอคัดคูาน ฯลฯ ระหวุางประชาชนที่มี
ความพรูอมในการเชื่อมตุอผุานระบบเว๊ปไซด์ อีเมล sms ผุาน
ระบบสมาชิกที่อยุบ
้ นขอบเขตทางสำามะโนประชากรเป็ นสำาคัญ
ขณะเดียวกันในระบบนี้ตูองมีการกำาหนดระบบสารสนเทศ
เพื่อการจัดระบบการรวบรวมขูอม้ล ความคิดเห็น และการ
13

ประกันความโปรุงใสในการนำ าความคิดเห็นขูอเสนอแนะสุ้การ
ปฏิบัติของหนุ วยงานที่เกี่ยวขูอง เชุนเดียวกับที่ระบบเว๊ปไซด์
ตุางๆ ไดูเปิ ดพื้นที่รวบรวมความคิด ขูอเสนอแนะในดูานตุางๆ
ตลอดจนระบบการโหวตแสดงความนิ ยมผุานโทรศัพท์มือถือ
หรือ เว๊ปไซด์ตุางๆ ทีป
่ ระสบความสำาเร็จเป็ นอยุางดีในระบบ
เอกชน โดยระบบนี้สุวนภาคสาธารณะสามารถเริ่มตูนจากระบบ
เชื่อมตุอสรูางฐานสมาชิกระหวุางสำานั กงานเขต องค์กรปกครอง
ทูองถิ่น กุอนขยายตัวสุ้สุวนกลางและระดับชาติ
ขูอเสนอดังกลุาว เชื่อมัน
่ ไดูวุาเป็ นการจัดวางชุองทางที่สอด
รับกับวิถีและคุานิยมของชนชัน
้ กลางที่มีภาคสุวนชีวิตอยุ้ใน
สังคมทันสมัย เนู นการสื่อสารที่ฉับไวโดยไมุเป็ นภาระรับผิดชอบ
ตุอตนเองและคนรอบขูางมากนั ก ชุองทางเชุนนี้จะเป็ นสุวนเกื้อ
หน่นใหูเกิดการรุวมกันเรียนรู้ชีวิตในภาคสุวนสาธารณะ (Public
life) ทีจ
่ ะเป็ นการเปิ ดปริมณฑลใหูชนชัน
้ กลางไดูกูาวออกมาจาก
พื้นที่ผลประโยชน์ และความสนใจสุวนตน จนนำ าไปสุ้ปฏิบัติการ
ทางการสื่อสารทางการเมืองระหวุางชนชัน
้ กลางผู้มีความคิด
สรูางสรรค์และพลังแหุงความเชื่อมัน ์ รี
่ ในหลักเหต่ผลและศักดิศ
แหุงความเทุาเทียมกันระหวุางผู้ปกครองและผู้อน่ญาตใหู
ปกครอง
ลักษณะเชุนนี้เองที่สามารถสรูางสรรค์พ้ ืนที่สาธารณะ
(public sphere) ในแนวทาง ของ Jurgen Habermas นั ก
วิชาการชาวเยอรมัน ที่เชื่อวุาจะเป็ นวุามีชุองทางติดตุอสื่อสารที่
เปิ ดกวูางระหวุางประชาชนและรัฐ จะนำ ามาซึ่งการไหลเวียนของ
14

ขูอม้ลขุาวสาร (flow of communication) ทีเ่ กี่ยวขูองกับเรื่อง


ราวสาธารณะอันสามารถสืบสานเครือขุาย (network) ที่มี
ประสิทธิภาพมากกวุาการรุวมกันในเชิงสถาบัน หรือเชิงสถานที่
ทัง้ นี้เพราะการติดตุอสื่อสาร ยุอมนำ าไปสุ้การรับรู้และเรียนรู้อันสุง
ผลสำาคัญในการกระตู่นใหูประชาชนหันมาใหูความสำาคัญ และ
สนใจเรื่องสาธารณะ ซึ่งเป็ นสุวนสำาคัญที่ทำาใหูประชาชนไดูกูาว
เขูามาเป็ นพลเมือง (citizen) ผู้มีความสนใจและมุ่งมัน
่ ในการ
เขูาไปมีสุวนรุวมในเรื่องของการใชูชีวิตสาธารณะ (public life)
ไมุใชุดำารงชีวิตอยุ้แบบผู้ถ้กกระทำาจากภายนอก หรือใชูชีวิตไปใน
ฐานะผู้บริโภค (consumer) ที่ดำารงอยุ้แตุเพียงวิถีชีวิตสุวนตัว
(private life) เทุานั น
้ (Stones, 1998, p. 207-208) ซึ่ง
ปฏิบัติการทางการสื่อสาร (communicative action)ดูวย
ชุองทาง E-Hearing ทีว
่ ุานี้จะ เป็ นสิ่งที่ท่กคนที่มีความรู้ ความ
สามารถและพลังสรูางสรรค์มีโอกาสอันเทุาเทียมกันในการสื่อสาร
มีการยอมรับนั บถือซึ่งกันและกัน มีการเขูาถึงอยุางเทุาเทียมกัน
ในทางสาธารณะ ในการสื่อสารนั น
้ ๆ ตูองมีเหต่ผลขูอม้ลรองรับ
และการสื่อสารนั น
้ ๆ ตูองไมุถ้กจำากัดหรือปิ ดกัน
้ โดยอำานาจทาง
เศรษฐกิจหรือการเมือง ปลอดจากครอบงำาจากรัฐ และระบบ
ตลาด
เชุนนี้เองทีH
่ arbermas ไดูเคยระบ่ไวูวุาเป็ นอีกปฏิบัติการ
อันสำาคัญตุอการเปิ ดที่ทางแหุงการพัฒนาการทางการเมือง ที่
เป็ นพื้นที่ของคนหลากหลาย มีการติดตุอกันสมำ่าเสมอ ผู้เขูารุวม
เขูารุวมในฐานะที่เป็ นพลเมืองมากกวุาผู้บริโภคโดยมีจิตสำานึ ก
15

สาธารณะรุวมกัน มีการพ้ดค่ยเรื่องสาธารณะ (public dialogue)


อันเป็ นชุองทางที่มน่ษย์สามารถรับรู้โลก รับรู้สังคมผุานภาษาที่
ท่กคนรู้สึกเป็ นสมบัติรุวมกัน (Curran, James:1999)

หนั งสืออ้างอิง

วิทยากร เชียงก้ล. ประชาธิปไตยเพื่อประชาชนไทย. 2535


กร่งเทพฯ สำานั กพิมพ์ผลึก.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภ้เก็ต. ชนชัน
้ กับการเลือกตัง้ : ความรุ่งเรือง
และตกตำ่าของสามพรรค
การเมืองในกร่งเทพฯ. ศ้นย์วิจัยและผลิตตำารา
มหาวิทยาลัยเกริก 2541
สำานั กพิมพ์วิภาษา
อเนก เหลุาธรรมทัศน์ . ม็อบมือถือ: ชนชัน
้ กลางและนั กธ่รกิจกับ
การพัฒนาประชาธิปไตย. 2536
กร่งเทพฯ สำานั กพิมพ์มติชน.
อเนก เหลุาธรรมทัศน์ . สองนั กคราประชาธิปไตย. 2538
กร่งเทพฯ สำานั กพิมพ์มติชน.
16

A S Hornby. Oxford Advanced Learniner’s Dictionary of


Current English. 3 edtion.
rd

1974. The English Language Book Society and


Oxford University Press
Curran, James. (1999). “Rethinking the media as a
public sphere.”. In Peter Dahlgren and Colin Sparks
(Eds.), Communication and citizenship : Journalism
and the public sphere in the new media. London :
Routledge.
Pye W Lucian Communication and Political Development
1963 Princeton University
Press. New Jersey USA.
Raynor, John. The Middle Class. 1969. Longman Group
Limited. London.
Stones, Rob. (Ed.). (1998). Jurgen Hambermas: Key
sociological thinkers. London: Macmillan Press.
Takashi, Shiraishi. The Third Wave: Southeast Asia and
Middle Class Formation in the
Making of a Region. Middle Class in East Asian
Studies. 2004 Kyoto University.
Yoshifumi, Tamada. Democracy and The Middle Class in
Thailand. Middle Class in East
Asian Studies. 2004 Kyoto University.
17

You might also like