You are on page 1of 26

ประเทศลาว

จากวิกพ
ิ ีเดีย สารานุกรมเสรี
"ลาว" เปลีย่ นทางมาทีน
่ ี่ สาหรับความหมายอืน
่ ดูที่ ลาว (แก้ความกากวม)

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ
ປະຊາຊົນລາວ (ลาว)

ธงชาติ ตราแผ่นดิน

คาขวัญ: ສັນຕິພາບ ເອກະລາດ ປະຊາທິປະໄຕ


ເອກະພາບ ວັດຖະນະຖາວອນ
("สันติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ
วัฒนาถาวร")

เพลงชาติ: เพลงชาติลาว[1]

MENU
0:00
เมืองหลวง เวียงจันทน์
(และเมืองใหญ่สุด) 17°58′N 102°36′E
ภาษาราชการ ภาษาลาว[1]
การปกครอง สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
- เลขาธิการพรรคฯ บุนยัง วอละจิด
- ประธานประเทศ บุนยัง วอละจิด
- นายกรัฐมนตรี ทองลุน สีสุลด

เอกราช จากฝรั่งเศส
- ประกาศ 19 กรกฎาคม พ.ศ.
2492
- สถาปนา สปป. 2 ธันวาคม พ.ศ.
ลาว 2518[1]
พื้นที่
- รวม 236,800 ตร.กม. (82)
91,429 ตร.ไมล์
- แหล่งน้า (%) 2%
ประชากร
- 2556 (ประเมิน) 6,695,166 (104)
- 2538 (สามะโน) 4,574,848
- ความหนาแน่ น 26.7 คน/ตร.กม. (177)
69.2 คน/ตร.ไมล์
จีดพ
ี ี (อานาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
- รวม 44.639
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
- ต่อหัว 6,115 ดอลลาร์สหรัฐ
จีดพ
ี ี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
- รวม 14.971
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
- ต่อหัว 2,051 ดอลลาร์สหรัฐ
HDI (2558) 0.586 (ปานกลาง) (ที่
138)
กีบ[1] 1 บาท : 248 กีบ
สกุลเงิน (พฤษภาคม 2552)
( LAK )
เขตเวลา (UTC+7)
• ฤดูรอ้ น (DST) (UTC+7)
ขับรถด้าน ขวามือ
โดเมนบนสุด .la
รหัสโทรศัพท์ 856

ลาว (ลาว: ລາວ)


หรือชือ่ อย่างเป็ นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ลาว: ສາ
ທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ສປປ.ລາວ)
เป็ นประเทศทีไ่ ม่มีทางออกสูท่ ะเลในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ มีพื้นที่
236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ
ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉี ยงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก
ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก
กัน
้ ด้วยแม่น้าโขงเป็ นบางช่วง
เนื้อหา
[ซ่อน]

 1ชือ
่ ประเทศและเชื้อชาติ
 2ภูมศิ าสตร์
o 2.1ทีต ่ ง้ ั และอาณาเขต
o 2.2ลักษณะภูมป ิ ระเทศ
o 2.3ลักษณะภูมอ ิ ากาศ
 3ประวัตศ ิ าสตร์
o 3.1ยุคอาณาจักร
o 3.2พรรคประชาชนสมัยอาณานิคม
การประกาศเอกราช และสงครามกลางเมือง
o 3.3สมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
 4การเมืองการปกครอง
o 4.1บริหาร
o 4.2นิตบ ิ ญั ญัติ
o 4.3ตุลาการ
o 4.4สถาบันการเมืองทีส ่ าคัญ
o 4.5การจัดตัง ้ และการบริหาร
o 4.6กระทรวง
 5การแบ่งเขตการปกครอง
 6เศรษฐกิจ
o 6.1การลงทุน
o 6.2ตลาดหลักทรัพย์
o 6.3โครงการความร่วมมือในภูมภ ิ าคใกล้เคียง
o 6.4การนาเข้าและการส่งออก
o 6.5การท่องเทีย ่ ว
o 6.6โครงสร้างพื้นฐาน
 7ประชากรศาสตร์
 8ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 9กองทัพ
o 9.1กองกาลังกึง ่ ทหาร
 10สือ
่ สารมวลชน
 11สังคม
o 11.1เชื้อชาติ
o 11.2ศาสนา
o 11.3ภาษา
 12อันดับในเวทีระหว่างประเทศ
 13อ้างอิง
 14ดูเพิม

 15แหล่งข้อมูลอืน

ชือ
่ ประเทศและเชื้อชาติ[แก้]
ในภาษาอังกฤษ คาว่าลาวทีห ่ มายถึงชือ
่ ประเทศลาว สะกดว่า "Laos"
ส่วนลาวทีห่ มายถึงคนลาวและภาษาลาวใช้ "Lao"
ในบางครัง้ จะเห็นมีการใช้คาว่า "Laotian"
แทนเนื่องจากป้ องกันการสับสนกับชาติลาวทีส ่ ะกดว่า Ethnic Lao
ภูมศ
ิ าสตร์[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ภูมศ
ิ าสตร์ลาว
แผนทีป
่ ระเทศลาว
ทีต
่ ง้ ั และอาณาเขต[แก้]
ประเทศลาวเป็ นประเทศในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ซึง่ ตัง้ อยูบ
่ นใ
จกลางของคาบสมุทรอินโดจีนระหว่างละติจูดที่ 14 - 23 องศาเหนือ ลองจิจูดที่
100 - 108 องศาตะวันออก มีพื้นทีโ่ ดยรวมประมาณ 236,800
ตารางกิโลเมตร แบ่งเป็ นภาคพื้นดิน 230,800 ตารางกิโลเมตร ภาคพื้นน้า
6,000 ตารางกิโลเมตร โดยลาวเป็ นประเทศทีไ่ ม่มีทางออกสูท ่ ะเล
เนื่องด้วยตลอดแนวชายแดนของประเทศลาว ซึ่งมีความยาวรวม 5,083
กิโลเมตร ล้อมรอบด้วยชายแดนของประเทศเพือ ่ นบ้าน 5 ประเทศ
เรียงตามเข็มนาฬกิ า ดังนี้

 ทิศเหนือ ติดกับประเทศจีน (423 กิโลเมตร)


 ทิศตะวันออก ติดกับประเทศเวียดนาม (2,130
กิโลเมตร)
 ทิศใต้ ติดกับประเทศไทย (1,754 กิโลเมตร)
และประเทศกัมพูชา (541 กิโลเมตร)
 ทิศตะวันตก ติดกับประเทศไทย (1,754
กิโลเมตร) และประเทศพม่า (235 กิโลเมตร)
ความยาวพื้นทีป ่ ระเทศลาวตัง้ แต่เหนือจรดใต้ยาวประมาณ 1,700
กิโลเมตร ส่วนทีก ่ ว้างทีส
่ ุดกว้าง 500 กิโลเมตร และทีแ
่ คบทีส
่ ุด 140 กิโลเมตร
เนื้อทีท
่ ง้ ั หมด 236,800 ตารางกิโลเมตร
ลักษณะภูมป
ิ ระเทศ[แก้]

แม่น้าโขง ไหลผ่านหลวงพระบาง
แม่น้าโขง ไหลผ่านหลวงพระบาง
ภูมป
ิ ระเทศของลาวอาจแบ่งได้เป็ น 3 เขต คือ

1. เขตภูเขาสูง
เป็ นพื้นทีท ่ สี่ ูงกว่าระดับน้าทะเลโดยเฉลีย่ 1,500
เมตรขึน ้ ไป
พื้นทีน ่ ี้อยูใ่ นเขตภาคเหนือของประเทศ
2. เขตทีร่ าบสูง คือพื้นทีซ ่ งึ่ สูงกว่าระดับน้าทะเลเฉลีย่
1,000 เมตร
ปรากฏตัง้ แต่ทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ของทีร่ าบสู
งเมืองพวนไปจนถึงชายแดนกัมพูชา
เขตทีร่ าบสูงนี้มีทรี่ าบสูงขนาดใหญ่อยู่ 3 แห่ง
ได้แก่ ทีร่ าบสูงเมืองพวน (แขวงเชียงขวาง),
ทีร่ าบสูงนากาย (แขวงคาม่วน)
และทีร่ าบสูงบริเวณ (ภาคใต้)
3. เขตทีร่ าบลุม ่ เป็ นเขตทีร่ าบตามแนวฝั่งแม่น้าโขง
และแม่น้าต่าง ๆ
เป็ นพื้นทีท ่ ม
ี่ ีความอุดมสมบูรณ์ มากทีส ่ ุดในเขตพื้
นทีท ่ ง้ ั 3 เขต
นับเป็ นพื้นทีอ ่ ูข
่ า้ วอูน
่ ้าทีส ่ าคัญของประเทศ
แนวทีร่ าบลุม ่ เหล่านี้เริม ่ ปรากฏตัง้ แต่บริเวณตอนใ
ต้ของแม่น้างึม เรียกว่า ทีร่ าบลุม ่ เวียงจันทน์
ผ่านทีร่ าบลุม ่ สุวรรณเขต
ซึง่ อยูต ่ อนใต้เซบัง้ ไฟและเซบัง้ เหียง และทีร่ าบจา
ปาศักดิท ์ างภาคใต้ของลาว
ซึง่ ปรากฏตามแนวแม่น้าโขงเรือ ่ ยไปจนจดชายแ
ดนประเทศกัมพูชา
ทัง้ นี้ เมือ
่ นาเอาพื้นทีข
่ องเขตภูเขาสูงและเขตทีร่ าบสูงมารวมกันแล้ว
จะมากถึง 3 ใน 4 ของพื้นทีป ่ ระเทศลาวทัง้ หมด
โดยจุดทีส่ ูงทีส ่ ุดของประเทศลาวอยูท่ ีภ
่ ูเบี้ย ในแขวงเชียงขวาง วัดความสูงได้
2,817 เมตร (9,242 ฟุต)
ประเทศลาวมีแม่น้าสายสาคัญอยูห ่ ลายสาย
โดยแม่น้าซึง่ เป็ นสายหัวใจหลักของประเทศ คือ แม่น้าโขง
ซึง่ ไหลผ่านประเทศลาวเป็ นระยะทาง 1,835 กิโลเมตร
แม่น้าสายนี้เป็ นแม่น้าสาคัญทัง้ ในด้านเกษตรกรรม การประมง
การผลิตพลังงานไฟฟ้ า การคมนาคมจากลาวเหนือไปจนถึงลาวใต้
และการใช้เป็ นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศลาวกับประเทศเพือ ่ นบ้าน
นอกจากนี้ แม่น้าสายสาคัญของลาวแห่งอืน ่ ๆ ยังได้แก่

 แม่น้าอู (พงสาลี-หลวงพระบาง) ยาว 448


กิโลเมตร
 แม่น้างึม (เชียงขวาง-เวียงจันทน์) ยาว 353
กิโลเมตร
 แม่น้าเซบัง้ เหียง (สุวรรณเขต) ยาว 338
กิโลเมตร
 แม่น้าทา (หลวงน้าทา-บ่อแก้ว) ยาว
523กิโลเมตร
 แม่น้าเซกอง (สาละวัน-เซกอง-อัตตะปื อ) ยาว
320 กิโลเมตร
 แม่น้าเซบัง้ ไฟ (คาม่วน-สุวรรณเขต) ยาว 239
กิโลเมตร
 แม่น้าแบ่ง (อุดมไซ) ยาว 215 กิโลเมตร
 แม่น้าเซโดน (สาละวัน-จาปาศักดิ)์ ยาว 192
กิโลเมตร
 แม่น้าเซละนอง (สุวรรณเขต) ยาว 115 กิโลเมตร
 แม่น้ากะดิง่ (บอลิคาไซ) ยาว 103 กิโลเมตร
 แม่น้าคาน (หัวพัน-หลวงพระบาง) ยาว 90
กิโลเมตร
ลักษณะภูมอ
ิ ากาศ[แก้]
ประเทศลาวอยูใ่ นภูมอ ิ ากาศเขตร้อน มีลมมรสุมแต่ไม่มีลมพายุ
สาหรับเขตภูเขาภาคเหนือและเขตเทือกเขา อากาศมีลกั ษณะกึง่ ร้อนกึง่ หนาว
อุณหภูมส ิ ะสมเฉลีย่ ประจาปี สูงถึง 15-30 องศาเซลเซียส
และความแตกต่างของอุณหภูมริ ะหว่างกลางวันกับกลางคืนมีประมาณ 10
องศาเซลเซียส จานวนชั่วโมงทีม ่ ีแสงแดดต่อปี ประมาณ 2,300-2,400
ชั่วโมง (ประมาณ 6.3-6.5 ชั่วโมงต่อวัน)
ความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศมีประมาณร้อยละ 70-85 ปริมาณน้าฝนในฤดูฝน
(ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม) มีรอ้ ยละ 75 - 90 ส่วนในฤดูแล้ง
(ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเมษายน) ปริมาณน้าฝนมีเพียงร้อยละ 10-25
และปริมาณน้าฝนเฉลีย่ ต่อปี ของแต่เขตก็แตกต่างกันอย่างมากมาย เช่น
เขตเทือกเขาบริเวณทางใต้ได้รบ ั น้าฝนเฉลีย่ ปี ละ 300 เซนติเมตร
ขณะทีบ ่ ริเวณแขวงเชียงขวาง แขวงหลวงพระบาง แขวงไชยบุรี
ได้รบ
ั เพียงแค่ 100-150 เซนติเมตร
ส่วนแขวงเวียงจันทน์ และแขวงสุวรรณเขตในช่วง 150-200 เซนติเมตร
เช่นเดียวกับแขวงพงสาลี แขวงหลวงน้าทา และแขวงบ่อแก้ว
ประวัตศ
ิ าสตร์[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ประวัตศ
ิ าสตร์ลาว
ยุคอาณาจักร[แก้]

พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช หน้าพระธาตุหลวง นครหลวงเ


วียงจันทน์
ประวัตศิ าสตร์ยุคแรกๆ ของลาว
เชือ่ ว่าอยูภ
่ ายใต้การครอบครองของอาณาจักรน่ านเจ้ามีตานานโดยขุนบรม
และขุนลอ มีลูกสืบหลานต่อๆ กันมา
จนถึงรัชสมัยพระเจ้าฟ้ างุม ้ ผูร้ วบรวมอาณาจักรล้านช้างได้เป็ นผลสาเร็จในช่วง
สมัยพุทธศตวรรษที่ 13 และมีกษัตริย์ปกครองสืบทอดต่อกันมาหลายพระองค์
ทีส
่ าคัญ เช่น

 พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระองค์มีความสัมพันธไ
มตรีทแ ี่ นบแน่ นกับกษัตริย์ไทย
โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
 พระเจ้าสุรยิ วงศาธรรมิกราช รัชสมัยของพระองค์
นับเป็ นยุคทองของราชอาณาจักรล้านช้าง
ภายหลังเมือ ่ พระเจ้าสุรยิ วงศาธรรมิกราชเสด็จสวรรคตแล้ว
เชื้อพระวงศ์ลาวต่างก็แก่งแย่งราชสมบัตก ิ น

จนอาณาจักรล้านช้างแตกแยกเป็ น 3 ส่วนคือ อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง
อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ และอาณาจักรล้านช้างจาปาศักดิ ์
ต่างเป็ นอิสระไม่ขน ึ้ แก่กน

และเพือ ์ อ
่ ชิงความเป็ นใหญ่ตา่ งก็ขอสวามิภกั ดิต ่ อาณาจักรเพือ
่ นบ้าน เช่น ไทย
พม่า เพือ ่ ขอกาลังมาสยบอาณาจักรลาวด้วยกันในลักษณะนี้
ในทีส่ ุดอาณาจักรลาวทัง้ 3
แห่งนี้จะตกเป็ นประเทศราชของอาณาจักรสยาม ในปี พ.ศ. 2321
สยามได้ปกครองดินแดนลาวทัง้ สามส่วนในฐานะประเทศราชรวม 114
ปี ในระยะเวลาดังกล่าวอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ได้ลม ่ สลายลงในปี พ.ศ.
2371 เนื่องจากในปี พ.ศ.
2369 เจ้าอนุวงศ์ กษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ได้พยายามทาสงค
รามเพือ ่ ตัง้ ตนเป็ นอิสระจากสยาม
ทว่าหลังการปราบปรามของกองทัพไทยอย่างหนัก
พระองค์เห็นว่าจะทาการไม่สาเร็จจึงตัดสินพระทัยหลบหนี ไปพึง่ จักรวรรดิเวีย
ดนามจนถึง พ.ศ.
2371 พระองค์จงึ ได้กลับมายังกรุงเวียงจันทน์พร้อมกับขบวนราชทูตเวียดนา
ม เพือ่ ขอสวามิภกั ดิส์ ยามอีกครัง้
แต่พอสบโอกาสพระองค์จงึ นาทหารของตนฆ่าทหารไทยทีร่ กั ษาเมืองจนเกือบ
หมดและยึดกรุงเวียงจันทน์คน ื
กองทัพสยามรวบรวมกาลังพลและยกทัพมาปราบปรามเจ้าอนุวงศ์อีกครัง้ จนรา
บคาบ
จนเจ้าอนุวงศ์ตอ ้ งหลบหนีไปยังเวียดนามและในคราวนี้เองทีพ ่ ระองค์ทรงถูกเจ้
าเมืองพวนจับกุมตัวและส่งลงมากรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยูห่ วั ทรงพระพิโรธเจ้าอนุวงศ์มากจึงทรงให้คม ุ ขังเจ้าอนุวงศ์ประจานกลาง
พระนครจนสิน ้ พระชนม์
ส่วนกรุงเวียงจันทน์ก็มีพระบรมราชโองการให้เผาทาลายจนไม่เหลือสภาพควา
มเป็ นเมือง
และตัง้ ศูนย์กลางการปกครองฝ่ ายไทยเพือ ่ ดูแลอาณาเขตของอาณาจักรเวียงจั
นทน์ทีเ่ มืองหนองคายแทน
พรรคประชาชนสมัยอาณานิคม การประกาศเอกราช
และสงครามกลางเมือง[แก้]
ในปี พ.ศ.
2436 สยามได้เกิดข้อขัดแย้งกับฝรั่งเศสในเรือ
่ งอานาจเหนือดินแดนฝั่งซ้ายข
องแม่น้าโขงจนเกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 จากการใช้เล่ห์เหลีย่ มของโอกุสต์
ปาวีกงสุลฝรั่งเศส
โดยการใช้เรือรบมาปิ ดอ่าวไทยเพือ ่ บังคับให้ยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้าโขง
รวมทัง้ ดินแดนอืน ่ ๆ
ดินแดนลาวเกือบทัง้ หมดก็เปลีย่ นไปตกอยูภ ่ ายใต้อท
ิ ธิพลของประเทศฝรั่งเศสใ
้ และถูกรวมเป็ นส่วนหนึ่งของอินโดจีนฝรั่งเศส ต่อมาภายหลังดินแดนลา
นปี นัน
วส่วนอืน่ ทีอ
่ ยูฝ
่ ่ งั ขวาของแม่น้าโขงก็ตกเป็ นของฝรั่งเศสอีกในปี พ.ศ. 2450
ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่
2 กองทัพญีป ่ ุ่ นได้รุกเข้ามาในลาวและดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสอืน ่ ๆ
เมือ่ ญีป ่ ุ่ นใกล้แพ้สงคราม ขบวนการลาวอิสระซึง่ เคลือ ่ นไหวทางการเมืองเพือ ่ กู้
เอกราชลาวในเวลานัน ้ ประกาศเอกราชให้ประเทศลาวเป็ นประเทศ ราชอาณาจั
กรลาว หลังญีป ่ ุ่ นแพ้สงคราม
ฝรั่งเศสก็กลับเข้ามามีอานาจในอินโดจีนอีกครัง้ หนึ่ง
แต่เนื่องจากการที่ เวียดมินห์ปลดปล่อยเวียดนามได้
จึงเป็ นการสั่นคลอนอานาจฝรั่งเศสจนยอมให้ลาวประกาศเอกราชบางส่วนในปี
พ.ศ. 2492 และได้เอกราชสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2496
ภายหลังฝรั่งเศสรบแพ้เวียดนามทีเ่ ดียนเบียนฟู
ผูท
้ มี่ ีบทบาทในการประกาศเอกราชคือ เจ้าสุวรรณภูมา เจ้าเพชรราช และ เจ้า
สุภานุวงศ์ โดยมี เจ้ามหาชีวต ิ ศรีสว่างวงศ์ ดารงตาแหน่ งเป็ นเจ้ามหาชีวต
ิ (พร
ะมหากษัตริย์) จากอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบางเดิม และได้รวมทัง้ 3
อาณาจักรคือ ล้านช้างหลวงพระบาง ล้านช้างเวียงจันทน์ และ
ล้านช้างจาปาศักดิ ์ เข้าด้วยกันเป็ นราชอาณาจักรลาว
พ.ศ.
2502 เจ้ามหาชีวต ิ ศรีสว่างวงศ์เสด็จสวรรคต เจ้าสว่างวัฒนาจึงขึน้ ครองราชย์เ
ป็ นเจ้ามหาชีวติ แทน เหตุการณ์ ในลาวยุง่ ยากมาก เจ้าสุภานุวงศ์ 1
ในคณะลาวอิสระประกาศตนว่าเป็ นพวกฝ่ ายซ้ายนิยมคอมมิวนิสต์ และเป็ นหัว
หน้าขบวนการประเทศลาว ได้ออกไปเคลือ ่ นไหวทางการเมืองในป่ า
เนื่องจากถูกฝ่ ายขวาในลาวคุกคามอย่างหนัก ถึงปี พ.ศ.
2504 ร้อยเอกกองแลทาการรัฐประหารรัฐบาลเจ้าสุวรรณภูมา
แต่ถูกกองทัพฝ่ ายขวาและฝ่ ายซ้ายรุมจนพ่ายแพ้
กองแลต้องลี้ภยั ไปสหรัฐจนถึงปัจจุบน ั
เหตุการณ์ ทางการเมืองในระยะเวลาไม่นานหลังจากนัน ้ บังคับให้ลาวต้อง
กลายเป็ นสมรภูมลิ บ ั ของสงครามเวียดนาม และเป็ นปัจจัยก่อให้เกิดการรัฐประ
หารและสงครามกลางเมืองทีย่ ืดเยื้อ ภายใต้การแทรกแซงของชาติตา่ งๆ
ทัง้ ฝ่ ายคอมมิวนิสต์และฝ่ ายโลกเสรี จนกระทั่งในปี พ.ศ.
2518 พรรคประชาชนปฏิวตั ลิ าว ซึ่งได้รบ ั การสนับสนุ นจากสหภาพโซเวียตแ
ละเวียดนามเหนือ โดยการนาของเจ้าสุภานุวงศ์ ก็ยด ึ อานาจรัฐจากรัฐบาลประ
ชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุขของ เจ้าสุวรรณภูมา พระเชษฐา
ซึง่ ได้รบ ั การสนับสนุ นจากรัฐบาลฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาสาเร็จ
และได้เรียกร้องให้เจ้ามหาชีวติ ศรีสว่างวัฒนาทรงยินยอมสละราชสมบัติ
เจ้ามหาชีวต
ิ ศรีสว่างวัฒนาจึงทรงยินยอมสละราชสมบัติ
คณะปฏิวตั ลิ าวจึงประกาศสถาปนาประเทศลาวเป็ น
"สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว" อย่างเป็ นทางการในวันที่ 2
ธันวาคม พ.ศ.
2518 โดยยังคงแต่ตง้ ั ให้อดีตเจ้ามหาชีวติ เป็ นทีป
่ รึกษาของรัฐบาลระบอบใหม่
.
สมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว[แก้]
ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2518
กองประชุมผูแ ้ ทนทั่วประเทศทีน
่ ครหลวงเวียงจันทน์ มีผแู้ ทนเข้าร่วม 264 คน
พิจารณารับรองประกาศยุบรัฐบาลชั่วคราวแห่งชาติ และพิจารณาเรือ ่ งต่างๆ
กองประชุมมีมติเอาธงดวงเดือนเป็ นธงชาติลาว
เอาเนื้อร้องเพลงชาติใหม่ เอาภาษาลาวเป็ นภาษาทางการ ยกเลิกระบอบราชาธิ
ปไตยและสถาปนาเป็ นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แต่งตัง้ เจ้าสุภา
นุวงศ์เป็ นประธานประเทศ, ท่านไกสอน
พมวิหาน เป็ นนายกรัฐมนตรี, เจ้าศรีสว่างวัฒนา เป็ นทีป่ รึกษาสูงสุดของประธ
านประเทศ, เจ้าสุวรรณภูมา เป็ นทีป ่ รึกษาสูงสุดของรัฐบาล และมีมติอืน ่ ๆ
ในวันที่ 2 ธันวาคมพ.ศ. 2518 และปิ ดกองประชุมด้วยผลสาเร็จ
แต่ภายหลังพรรคประชาชนปฏิวตั ลิ าวก็ได้กุมตัวอดีตเจ้ามหาชีวต ิ ,พระมเหสีแ
ละอดีตพระบรมวงศานุวงศ์ราชวงศ์ลา้ นช้าง ไปคุมขังในค่ายกักกัน
เนื่องจากความขัดแย้งทางการเมือง
และต่อมาทุกพระองค์ตา่ งสิน ้ พระชนม์ดว้ ยโรคมาลาเรีย
และยังมีการจับกุมนักการเมือง ข้าราชการในระบอบเก่า
รวมทัง้ ประชาชนลาวจานวนมากเข้าค่ายกักกัน
ส่วนใหญ่เสียชีวต ิ ด้วยโรคขาดสารอาหารและถูกยิงทิง้
ในช่วงแรกของการปกครองโดยรัฐบาล สปป.ลาว
มีการควบคุมวัฒนธรรมและพระพุทธศาสนาอย่างเข้มงวด
มีการทาลายหนังสือทีข ่ ดั แย้งกับความเชือ
่ ใหม่
มีการประหารผูท ้ ค
ี่ ด
ิ ล้มระบอบใหม่
และควบคุมชีวต ิ ประชาชนในประเทศลาวอย่างเข้มงวด
แต่หลังจากนัน ้ สภาพการปกครองและการบริหารด้านเศรษฐกิจของลาวเริม ่ ผ่อ
นคลายมากขึน ้ ในระยะหลังของทศวรรษ 2530
เนื่องจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเมือ ่ เจ้าสุภานุวงศ์สละตาแหน่ ง
จากประธาน
เนื่องจากปัญหาสุขภาพและปัญหาทางการเมืองกับกลุม ่ นิยมเวียดนาม
ผูด
้ ารงตาแหน่ งประธานประเทศต่อจากเจ้าสุภานุวงศ์คอ ื ไกสอน
พมวิหาน ซึ่งเป็ นลูกครึง่ ลาว-เวียดนาม
และเมือ ่ ไกสอนถึงแก่กรรมกะทันหัน หนูฮกั
พูมสะหวัน ซึ่งเป็ นชาวลาวเชื้อสายเวียดนาม
ก็ได้ดารงตาแหน่ งประธานประเทศต่อมา
ยุคนี้ลาวและไทยเปิ ด สะพานมิตรภาพ ไทย - ลาว ในปี พ.ศ. 2538
ต่อมาหนูฮกั สละตาแหน่ ง คาไต
สีพน
ั ดอนรับดารงตาแหน่ งประธานประเทศต่อ จนถึงปี พ.ศ. 2549
คาไตลงจากตาแหน่ ง จูมมะลี
ไซยะสอน จึงเป็ นผูท้ รี่ บั ตาแหน่ งประธานประเทศลาว
และยังถือตาแหน่ งผูบ ้ ญ ั ชาการทหารสูงสุดอีกด้วย
การเมืองการปกครอง[แก้]

งานเฉลิมฉลองวันสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ครบรอบ
30 ปี วันที่ 2 ธันวาคมพ.ศ. 2548
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวมีระบบการปกครองแบบสังคมนิ
ยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้คาว่า ระบอบประชาธิปไตยประชาชน)
โดยมีพรรคประชาชนปฏิวตั ลิ าวเป็ นองค์กรชี้นาประเทศ
ซึง่ พรรคนี้เริม
่ มีอานาจสูงสุดตัง้ แต่ลาวเริม
่ ปกครองในระบอบสังคมนิยมเมือ
่ วัน
ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ประธานประเทศ(ประธานาธิบดี)
ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวคนปัจจุบน ั
ซึง่ มีวาระการดารงตาแหน่ ง 5 ปี คือ บุนยัง
วอละจิด (ดารงตาแหน่ งเลขาธิการใหญ่คณะบริหารงานศูนย์กลางพรรคประชา
ชนปฏิวตั ลิ าวอีกตาแหน่ งหนึ่ง) ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบน ั คือนายทองลุน
สีสุลดิ
บริหาร[แก้]
ดูบทความหลักที:่ สภารัฐมนตรี
นิตบ
ิ ญ
ั ญัต[ิ แก้]
ดูบทความหลักที:่ สภาแห่งชาติลาว และ พรรคประชาชนปฏิวตั ลิ าว
ตุลาการ[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ศาลประชาชนสูงสุดแห่งชาติลาว
สถาบันการเมืองทีส
่ าคัญ[แก้]

1. แนวลาวสร้างชาติ
2. องค์กรจัดตัง้
เช่น สหพันธ์วยั หนุ่มลาว (สหพันธ์เยาวชน) สหพั
นธ์แม่หญิงลาว (สมาคมสตรี) กรรมบาลลาว (สห
พันธ์กรรมกร)
ซึง่ ได้รบ
ั การสนับสนุ นโดยพรรคประชาชนปฏิวตั ิ
ลาว
การจัดตัง้ และการบริหาร[แก้]

 หลายหมูบ ่ า้ นรวมกันเป็ น เมือง (ก่อนหน้านี้จดั ให้


หลายหมูบ ่ า้ นรวมกันเป็ น ตาแสง มีตาแสงเป็ นผูป ้
กครอง หลายตาแสงรวมกันจึงเรียกว่า เมือง)
 หลายเมืองรวมกันเป็ น แขวง
 "คณะกรรมการปกครองหมูบ ่ า้ น"
มี นายบ้าน เป็ นหัวหน้า เป็ นผูบ ้ ริหารของหมูบ
่ า้ น
 "คณะกรรมการปกครองเมือง"
มี เจ้าเมือง เป็ นหัวหน้า เป็ นผูบ ้ ริหารเมือง
 "คณะกรรมการปกครองแขวง"
มี เจ้าแขวง เป็ นหัวหน้า เป็ นผูบ ้ ริหารแขวง
 "คณะกรรมการปกครองนครหลวง"
มี เจ้าครองนครหลวง เป็ นหัวหน้า
เป็ นผูบ
้ ริหารนครหลวง
กระทรวง[แก้]
ดูบทความหลักที:่ กระทรวงในประเทศลาว
ประเทศลาวมีทง้ ั หมด 18 กระทรวง และ 4 องค์กรเทียบเท่า ได้แก่

ชือ
่ ภาษาอัง
กระทรวง ชือ
่ ภาษาลาว
กฤษ

ຫ້ ອງວ່ າການປະທານປະເທ Presidenti


1 ห้องว่าการประธานประเทศ
ດ al Office
Governm
2 ห้องว่าการรัฐบาล ຫ້ ອງວ່ າການລັດຖະບານ ent's
Office

Ministry
of
3 กระทรวงกสิกรรมและป่ าไม้ ກະຊວງກະສິກາແລະປ່າໄມ້ Agricultur
al and
Forestry

Ministry
of
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬ ກະຊວງສຶກສາທິການ ແລະ
4 Education
า ກິລາ and
Sports

Ministry
ກະຊວງພະລັງງານແລະບ່ ແ
5 กระทรวงพลังงานและบ่อแร่ of Energy
ຮ່ and Mine

Ministry
6 กระทรวงการเงิน ກະຊວງການເງິນ of
Finance

Ministry
of
7 กระทรวงการต่างประเทศ ກະຊວງການຕ່ າງປະເທດ Foreign
Affairs

Ministry
กระทรวงอุตสาหกรรมและก ກະຊວງອຸດສະຫະກາແລະກ of
8
ารค้า ານຄ້ າ Industry
and
Commerc
e

Ministry
ກະຊວງຖະແຫລງຂ່ າວ of
กระทรวงแถลงข่าว Informatio
9
วัฒนธรรม และท่องเทีย่ ว ວັດທະນະທາ ແລະ n, Culture
ທ່ ອງທ່ ຽວ and
Tourism

1 Ministry
0
กระทรวงยุตธิ รรม ກະຊວງຍຸຕິທາ of Justice

Ministry
of Labour
1 กระทรวงแรงงานและสวัสดิ ກະຊວງແຮງງານແລະສະຫ
and
1 การสังคม ວັດດີການສັງຄົມ Social
Welfare

Ministry
1
2
กระทรวงป้ องกันประเทศ ກະຊວງປ້ອງກັນປະເທດ of
Defence

Ministry
of
1 กระทรวงแผนการและการลง ກະຊວງແຜນການແລະກາ Planning
3 ทุน ນລົງທຶນ and
Investme
nt

1 Ministry
4
กระทรวงสาธารณสุข ກະຊວງສາທາລະນະສຸກ of Health
Ministry
1 ກະຊວງປ້ອງກັນຄວາມສະຫ
กระทรวงป้ องกันความสงบ of Public
5 ງົບ Security

Ministry
of Public
1 กระทรวงโยธาธิการและขนส่ ກະຊວງໂຍທາທິການແລະຂົ
Work and
6 ง ນສ່ົ ງ Transport
ation

Ministry
1
7
กระทรวงภายใน ກະຊວງພາຍໃນ of Home
Affaire

Ministry
of
1 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเท ກະຊວງວິທະຍາສາດແລະເຕັ Science
8 คโนโลยี ກໂນໂລຊີ and
Technolo
gy

Ministry
of Natural
1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชา ກະຊວງຊັບພະຍາກອນທາມ Resource
9 ติและสิง่ แวดล้อม ະຊາດ ແລະ ສ່ິ ງແວດລ້ ອມ and
Environm
ent

Ministry
2 กระทรวงไปรษณีย์ ກະຊວງໄປສະນີ, ໂທລະຄົມ of Post,
่ สาร ແລະ ການສ່ ສານ
0 โทรคมนาคม และการสือ Telecom
and
Communi
cation

Governm
ent
2
1
องค์การตรวจตรารัฐบาล ອົງການກວດກາລັດຖະບານ Inspectio
n
Authority

2 Bank of
2
ธนาคารแห่ง สปป.ลาว ທະນາຄານແຫ່ ງ ສປປ.ລາວ Lao PDR

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ดูบทความหลักที:่ เขตการปกครองของประเทศลาว
ประเทศลาวแบ่งเป็ น 17 แขวง และ 1 นครหลวง
(ได้แก่ นครหลวงเวียงจันทน์ )
แขวงแต่ละแขวงจะแบ่งเป็ นเมือง ซึง่ จะมีหนึ่งเมืองเป็ นเมืองหลวงของแขวงเรี
ยกว่า เมืองเอก[2]
ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549
ได้มีการยุบเขตพิเศษไชยสมบูรณ์ อย่างเป็ นทางการตามดารัสนายกรัฐมนตรี
(คาสั่งนายกรัฐมนตรี) เลขที่ 10/ນຍ. ลงวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2549
โดยเมืองท่าโทมถูกรวมกับแขวงเชียงขวาง และเมืองไชยสมบูรณ์ ถูกรวมกับแ
ขวงเวียงจันทน์
ต่อมาในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2556
ทางการลาวได้จดั ตัง้ แขวงใหม่ในบริเวณทีเ่ คยเป็ นเขตพิเศษไชยสมบูรณ์ เดิมกั
บ 2 หมูบ ่ า้ นจากเมืองวังเวียงในแขวงเวียงจันทน์ โดยใช้ชือ
่ ว่า
"แขวงไชยสมบูรณ์ " แบ่งเขตปกครองย่อยออกเป็ น 5 เมือง ได้แก่ เมืองอะนุวง
(เดิมชือ
่ เมืองไชยสมบูรณ์ ) เมืองห่ม เมืองท่าทูม เมืองล่องสาน
และเมืองล่องแจ้ง[3][4]
พื้นที่
ปร
เมือ (ตารา
ชือ
่ ไทย ชือ
่ ลาว ะชา
งเอก งกิโลเ
กร
มตร)

1. แขวงคา ແຂວງຄາ ท่าแข 358, เขตการปกครองระดับบ


16,315
ม่วน ມ່ ວນ ก 800 นสุดของประเทศลาว

2. แขวงจา ແຂວງຈາ 575,


ปากเซ 15,415
ปาศักดิ ์ ປາສັກ 600

3. แขวงเชี ແຂວງຊຽ โพนส 229,


15,880
ยงขวาง ງຂວາງ ะหวัน 521

4. แขวงไช ແຂວງໄຊ ไชยบุ 382,


16,389
ยบุรี ຍະບູ ລີ รี 200

5. แขวงไช ແຂວງໄຊ อะนุว 82,0


8,300
ยสมบูรณ์ ສົມບູ ນ ง 00

6. แขวงเซ ແຂວງເຊ 83,6


เซกอง 7,665
กอง ກອງ 00

7. แขวงบอ ແຂວງບລິ ปากซั 214,


14,863
ลิคาไซ ຄາໄຊ น 900

8. แขวงบ่อ ແຂວງບ່ ห้วยท 149,


6,196
แก้ว ແກ້ ວ ราย 700
9. แขวงพง ແຂວງຜ້ົ ງ พงสา 199,
16,270
สาลี ສາລີ ลี 900

10. แขวงเ ແຂວງວຽ โพนโ 373,


15,927
วียงจันทน์ ງຈັນ ฮง 700

11. แขวงส ແຂວງສາ สาละวั 336,


10,691
าละวัน ລະວັນ น 600

ແຂວງສະ ไกสอ
12. แขวงสุ น 721,
วรรณเขต ຫວັນນະເ
21,774
พมวิห 500
ຂດ าน

13. แขวง ແຂວງຫຼວ หลวง 150,


9,325
หลวงน้าทา ງນ້ າທາ น้าทา 100

14. แขวง หลวง


ແຂວງຫຼວ 408,
หลวงพระบ พระบ 16,875
ງພະບາງ าง 800
าง

15. แขวง ແຂວງຫົວ ซาเห 322,


16,500
หัวพัน ພັນ นือ 200

16. แขวงอั ແຂວງອັດ อัตตะ 114,


10,320
ตตะปื อ ຕະປ ปื อ 300

17. แขวงอุ ແຂວງອຸດົ เมืองไ 275,


15,370
ดมไซ ມໄຊ ซ 300
18. นครห ນະຄອນຫຼ
เวียงจั 726,
ลวงเวียงจัน ວງວຽງຈັ 3,920
นทน์ 000
ทน์ ນ

เศรษฐกิจ[แก้]

ด่านพรมแดนช่องเม็ก แขวงจาปาศักดิ ์
ภาวะเศรษฐกิจของประเทศลาวมีพฒ ั นาการทีด่ ต
ี ามลาดับ โดยในช่วง 20
ปี นับตัง้ แต่ปรับเปลีย่ นระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมสูร่ ะบบเศรษฐกิจเสรีการ
ตลาดเมือ ่ ปี 2529
ประเทศลาวมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องในอัตราเฉลีย่ ร้อยละ 6.2
ต่อปี ประชากรมีรายได้เพิม ้ จากประมาณ 200 ดอลลาร์สหรัฐเมือ
่ ขึน ่ ปี 2529
เป็ น 491 ดอลลาร์สหรัฐในปี 2548
ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวในอัตราไม่ต่ากว่า ร้อยละ 10 ต่อปี
โดยอุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้ าเป็ นสาขาหลักทีส ่ ร้างรายได้ให้แก่ประเทศ
อย่างไรก็ดี ลาวยังคงประสบปัญหาทีต ่ อ
้ งเร่งแก้ไข ทีส
่ าคัญได้แก่
ปัญหาราคาน้ามัน ทีเ่ พิม ้ ปัญหาการขาดดุลการค้าในอัตราสูง
่ สูงขึน
ค่าเงินกีบไม่มีเสถียรภาพ การจัดเก็บรายได้ต่ากว่าเป้ าหมาย
และปัญหาการฉ้อราษฎร์บงั หลวง
ทรัพยากรสาคัญของลาว ได้แก่ ไม้ ดีบุก ยิปซัม ตะกั่ว หินเกลือ เหล็ก
ถ่านหินลิกไนต์ สังกะสี ทองคา อัญมณี หินอ่อน น้ามัน
และแหล่งน้าผลิตไฟฟ้ า
การลงทุน[แก้]
การลงทุน
รัฐบาลอาเปะได้ปรับปรุงกฎระเบียบเพือ่ สร้างบรรยากาศให้เอื้ออานวยต่อการล
้ อาทิ มาตรการด้านภาษี อนุญาตให้นครหลวงเวียงจันทน์
งทุนมากยิง่ ขึน
แขวงจาปาศักดิ ์ และแขวงหลวงพระบาง
มีอานาจอนุมตั โิ ครงการลงทุนทีม่ ีมูลค่าไม่เกิน 2 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ส่วนแขวงอืน ่ ๆ สามารถอนุมตั โิ ครงการลงทุนทีม ่ ีมูลค่าลงทุนไม่เกิน 1
ล้านดอลลาร์สหรัฐ
ทาให้การลงทุนจากต่างประเทศในลาวมีแนวโน้มเพิม ้ อย่างต่อเนื่อง
่ ขึน
โดยในปี 2546 มีมูลค่า 465 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปี 2547 มีมูลค่า 533
ล้านดอลลาร์สหรัฐ และปี 2548 มีมูลค่า 1.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
นักลงทุนทีส
่ าคัญ ได้แก่ ไทย เวียดนาม ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย จีน ฯลฯ
ตลาดหลักทรัพย์[แก้]
[5]ลาวกาหนดให้วน
ั ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2553(10-10-10)
เป็ นวันเปิ ดดาเนินการของตลาดหลักทรัพย์ลาว โดยมีทป
ี่ รึกษาทางการเงินจาก
ประเทศไทย และได้ชว่ ยเหลือ5บริษท ั จากประเทศเกาหลี
เปิ ดทาการจริงในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2554
จะมีบริษท ั แรกเข้าจดทะเบียนประมาณ 5 บริษท ั
โครงการความร่วมมือในภูมภ
ิ าคใกล้เคียง[แก้]

อาเซียน ลาวเข้าเป็ นสมาชิกอาเซียนเมือ


 ่ เดือนกรก
ฎาคม 2540 ได้เป็ นประธาน
คณะกรรมการประจาอาเซียนเมือ ่ กรกฎาคม
2547
 ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-
เจ้าพระยา-แม่โขง (Ayeyawady-Chao
Phraya-Mekong Economic Cooperation
Strategy - ACMECS)
 ความร่วมมือในกรอบสามเหลีย ่ มมรกต
การนาเข้าและการส่งออก[แก้]
สินค้าส่งออกทีส
่ าคัญของลาวได้แก่ เสื้อผ้าสาเร็จรูป ไม้ซุง ไม้แปรรูป
ผลิตภัณฑ์ไม้ สินแร่ เศษโลหะ ถ่านหิน หนังดิบ และหนังฟอก ข้าวโพด
ใบยาสูบ กาแฟ
โดยส่งออกไปยังประเทศไทยเวียดนาม ฝรั่งเศส ญีป ่ ุ่ น สหราชอาณาจักร สหรัฐ
อเมริกา เนเธอร์แลนด์ และเยอรมนี ส่วนการนาเข้าสินค้า
ประเทศลาวได้นาเข้าสินค้าจากไทย จีน เวียดนาม สิงคโปร์ ญีป ่ ุ่ น ออสเตรเลีย
เยอรมนี โดยสินค้าทีส ่ าคัญได้แก่ รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ
เครือ
่ งจักรกล เครือ
่ งใช้ไฟฟ้ าทีใ่ ห้ความร้อน อาหาร ผ้าผืน สารเคมี
และเครือ ่ งอุปโภคบริโภค
การท่องเทีย่ ว[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]

แม่น้าเป็ นเส้นทางการขนส่งทีส
่ าคัญในประเทศลาว
ดูบทความหลักที:่ การขนส่งในประเทศลาว
ท่ากาศยานหลักของประเทศ
คือ ท่าอากาศยานนานาชาติวตั ไตของเวียงจันทน์ และท่าอากาศยานนานาชาติ
หลวงพระบาง ส่วนท่าอากาศยานนานาชาติปากเซมีเทีย่ วบินระหว่างประเทศ
จานวนน้อย สายการบินประจาชาติ คือ การบินลาว สายการบินอืน ่ ๆ
ไดแก่ บางกอกแอร์เวย์ เวียดนามแอร์ไลน์ แอร์เอเชีย การบินไทย และไชนาอี
สเทิร์นแอร์ไลน์
ประเทศลาวมีทางรถไฟระยะสัน ้
ซึง่ เชือ
่ มต่อเวียงจันทน์ กบ ั ประเทศไทยด้วยสะพานมิตรภาพไทย-ลาว 1
(หนองคาย-
เวียงจันทน์ ) ถนนสายหลักในประเทศลาวมีการเชือ ่ มต่อไปยังเมืองสาคัญต่าง ๆ
โดยเฉพาะทางหลวงหมายเลข 13 ซึง่ ได้รบ ั การปรับปรุงในไม่กปี่ ี ทีผ
่ า่ นมา
แต่หมูบ ่ า้ นทีอ
่ ยูห
่ า่ งไกลจากถนนสายหลักยังเดินทางด้วยถนนลูกรัง
ซึง่ ไม่สามารถเข้าถึงได้ตลอดทัง้ ปี
ประชากรศาสตร์[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ประชากรศาสตร์ลาว

ด•พ•ก

เมืองใหญ่ทสี่ ุดในลาว
http://www.geonames.org/LA/largest-cities
ที่ เมือง แขวง
1 เวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์
2 ปากเซ จาปาศักดิ ์
3 ไกสอน พมวิหาน สุวรรณเขต
4 หลวงพระบาง หลวงพระบาง
5 ซาเหนือ หัวพัน
เวียงจันทน์ 6 โพนสะหวัน เชียงขวาง
7 ท่าแขก คาม่วน
8 เมืองไซ อุดมไซ
ปากเซ 9 วังเวียง เวียงจันทน์
10 ปากซัน บอลิคาไซ

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
กองทัพ[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
ดูบทความหลักที:่ กองทัพประชาชนลาว
กองกาลังกึง่ ทหาร[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สือ
่ สารมวลชน[แก้]

ตราของสถานีโทรภาพแห่งชาติลาว
สือ
่ ในประเทศลาวล้วนอยูใ่ นความดูแลของรัฐโดยตรง
รัฐบาลลาวมีสานักข่าวสารประเทศลาว (ขปล.)
เป็ นสานักข่าวแห่งชาติทเี่ ผยแพร่ขา่ วของรัฐ
ส่วนหนังสือพิมพ์ภาษาลาวทีส ่ าคัญในประเทศได้แก่
หนังสือพิมพ์ประชาชนซึง่ เป็ นกระบอกเสียงของพรรคประชาชนปฏิวตั ลิ าว
และหนังสือพิมพ์เวียงจันทน์ใหม่
นอกจากนี้ยงั มีหนังสือพิมพ์ภาษาต่างประเทศอีก 2 ฉบับ คือ
หนังสือพิมพ์เวียงจันทน์ไทมส์ (Vientiane Times)
ซึง่ เป็ นหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษ และหนังสือพิมพ์ "เลอเรนอวาเตอร์" (Le
Rénovateur) ซึ่งเป็ นหนังสือพิมพ์ภาษาฝรั่งเศส
ในประเทศลาวยังไม่มีสถานีโทรทัศน์ อย่างเป็ นทางการ
โดยปัจจุบน ั นี้มีสถานีโทรทัศน์ทก
ี่ าลังทดลองออกอากาศ
คือ สถานีโทรทัศน์แห่งประเทศลาว(ທຊລ.) ซีง่ เป็ นสถานีโทรทัศน์ของรัฐ
ออกอากาศผ่านเครือข่ายสถานีในประเทศ
มีสถานีสง่ ต่อในประเทศไทยในชุมชนลาว
และออกอากาศทางดาวเทียมไทยคม5
นอกจากนี้ยงั มีลาวสตาร์แชนแนล ทีอ ่ อกอากาศผ่านดาวเทียมจากประเทศไทย
ด้านการใช้อนิ เทอร์เน็ต ตามหัวเมืองใหญ่และนครหลวงมีการเปิ ดให้บริก
ารอินเทอร์เน็ตคาเฟโดยทั่วไป
และได้รบั ความนิยมอย่างยิง่ ในหมูเ่ ยาวชนรุน
่ ใหม่ อย่างไรก็ตาม
รัฐบาลลาวก็ได้มีการตรวจพิจารณาเนื้อหาและการเข้าถึงข้อมูลอินเทอร์เน็ตอย่
างเข้มงวด เนื่องจากเป็ นประเทศทีป
่ กครองโดยรัฐบาลคอมมิวนิสต์
สังคม[แก้]
เชื้อชาติ[แก้]
ประเทศลาวเป็ นประเทศทีม ่ ีความหลากหลายทางชาติพน ั ธุ์
แต่กลุม
่ ชาติพน ั ธุ์ลาวเป็ นประชากรกลุม่ ใหญ่ ส่วนทีเ่ หลือเป็ นพวกไทขาว ไทดา
และกลุม ่ ทีอ
่ าศัยอยูใ่ นบริเวณภูเขา ได้แก่ ม้ง เย้า และข่า
ศาสนา[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ศาสนาในประเทศลาว
ศาสนาในประเทศลาว
ศาสนา ร้อยละ
พุทธ   66%
ผี   30.7%
คริสต์   1.5%
อืน
่ ๆ   1.8%
จากการสารวจในปี พ.ศ. 2553[6] ประเทศลาวมีผนู้ บ
ั ถือศาสนา 7.2
ล้านคน
โดยแบ่งได้ดงั นี้ ศาสนาพุทธ 66% ศาสนาผี 30.7% ศาสนาคริสต์ 1.5%
และศาสนาอืน่ ๆ 1.8%
ภาษา[แก้]
ภาษาประจาชาติ คือ ภาษาลาว
อันดับในเวทีระหว่างประเทศ[แก้]

อันดับ
องค์กร หัวข้อสารวจ
ที่

Heritage Foundation/ 150


ดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ
The Wall Street จาก
(Index of Economic Freedom)
Journal 178 [7]

องค์กรสือ
่ ไร้พรมแดน ดัชนีเสรีภาพสือ
่ ทั่วโลก 171
(Reporters Without (Worldwide Press Freedom จาก
Borders) Index) 180 [8]

องค์กรความโปร่งใสนานา
ดัชนีความตระหนักในการทุจริตคอร์ร ั 145
ชาติ
ปชั่น จาก
(Transparency
(Corruption Perceptions Index) 175 [9]
International)

139
United Nations
ดัชนีการพัฒนามนุษย์ จาก
Development
(Human Development Index) 187 [1
Programme 0]

อ้างอิง[แก้]

1. ↑ กระโดดขึน้ ไป:1.0 1.1 1.2 1.3 รัฐธรรมนูญแห่งสาธาร


ณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หมวดที่ 10
ภาษา อักษร เครือ ่ งหมายชาติ ธงชาติ เพลงชาติ
วันชาติ สกุลเงิน และนครหลวง
2. กระโดดขึน ้ ↑ "Nsc Lao Pdr". Nsc.gov.la.
สืบค้นเมือ ่ 21 January 2012.
3. กระโดดขึน ้ ↑ http://www.vientianetimes.org
.la/FreeContent/FreeConten_Xaysombo
un.htm
4. กระโดดขึน้ ↑ http://www.manager.co.th/Ind
oChina/ViewNews.aspx?NewsID=95700
00001654
5. กระโดดขึน ้ ↑ ตลาดหลักทรัพย์ลาว
6. กระโดดขึน ้ ↑ [1] Religion in Vietnam
7. กระโดดขึน ้ ↑ http://www.heritage.org/index
/country/laos
8. กระโดดขึน ้ ↑ https://index.rsf.org/#!/
9. กระโดดขึน ้ ↑ http://www.transparency.org/
cpi2014/results
10. กระโดดขึน ้ ↑ https://en.wikipedia.org/wik
i/List_of_countries_by_Human_Develop
ment_Index
ดูเพิม
่ [แก้]

 การคมนาคมในประเทศลาว
 เวียงจันทน์
แหล่งข้อมูลอืน
่ [แก้]
บทความ

You might also like