You are on page 1of 218

สถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส�ำคัญและแนวโน้ม ปี 2560

ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ค�ำน�ำ
ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้วิเคราะห์สถานการณ์สินค้าเกษตร
ที่ส�ำคัญในปี 2559 และคาดการณ์แนวโน้มปี 2560 ด้านการผลิต การตลาด การส่งออก การน�ำเข้าและราคา
ของสินค้าเกษตรที่ส�ำคัญ เพื่อน�ำไปใช้ในการก�ำหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ และมาตรการในการพัฒนา
สินค้าเกษตร
การจัดท�ำสถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส�ำคัญและแนวโน้มปี 2560 ส�ำเร็จลุล่วงได้ด้วยความอนุเคราะห์จาก
หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น กรมศุลกากร กรมการค้าภายใน กรมส่งเสริมการค้า
ระหว่างประเทศ สมาคมผู้ผลิตและส่งออกสินค้าเกษตร เกษตรกร รวมทั้งสื่อสารสนเทศต่าง ๆ หากมีข้อผิดพลาด
และค�ำแนะน�ำประการใด คณะผู้จัดท�ำยินดีน้อมรับเพื่อจะได้น�ำไปปรับปรุงแก้ไขให้ดีย่ิงขึ้นในการด�ำเนินการ
ครั้งต่อไป

ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ธันวาคม 2559
สารบัญ
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่ส�ำคัญ
กลุ่มพืชไร่
1. ข้าว........................................................................................................................................... 9
2. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์. .................................................................................................................... 25
3. มันส�ำปะหลัง............................................................................................................................ 33
กลุ่มพืชพลังงานทดแทน
4. ถั่วเหลือง................................................................................................................................... 43
5. อ้อยโรงงาน............................................................................................................................... 51
6. ปาล์มน�้ำมัน.............................................................................................................................. 59
กลุ่มพืชสวน
7. ยางพารา................................................................................................................................... 71
8. กาแฟ........................................................................................................................................ 83
9. สับปะรด................................................................................................................................... 97
10. ล�ำไย......................................................................................................................................... 107
11. ทุเรียน...................................................................................................................................... 115
12. มังคุด....................................................................................................................................... 123
13. มันฝรั่ง..................................................................................................................................... 129
14. กล้วยไม้................................................................................................................................... 137
กลุ่มปศุสัตว์และประมง
15. ไก่เนื้อ...................................................................................................................................... 147
16. ไข่ไก่......................................................................................................................................... 155
17. สุกร.......................................................................................................................................... 159
18. โคเนื้อ...................................................................................................................................... 167
19. โคนม........................................................................................................................................ 175
20. กุ้ง............................................................................................................................................ 183
21. ปลาป่น.................................................................................................................................... 195
บทความพิเศษ
1. ประกันภัยพืชผล “เครื่องมือทางการเงินในการบริหารความเสี่ยงของเกษตรกร”.................... 203
2. แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตรและกลไกการขับเคลื่อน................ 207
กลุ่มพืชไร่

1 ข้าว

2 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

3 มันสำ�ปะหลัง
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
1
ข้าว
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ผลผลิตข้าวของโลกช่วงปี 2554/55 - 2558/59 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 467.62 ล้านตันข้าวสาร
(697.20 ล้านตันข้าวเปลือก) ในปี 2554/55 เป็น 472.11 ล้านตันข้าวสาร (703.80 ล้านตันข้าวเปลือก)
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.32 ต่อปี
ในปี 2558/59 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 994.81 ล้านไร่ ผลผลิต 472.11 ล้านตันข้าวสาร (703.80
ล้านตันข้าวเปลือก) และผลผลิตต่อไร่ 707 กิโลกรัม ลดลงจากปี 2557/58 ที่มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 1,007.25 ล้านไร่
ผลผลิต 478.69 ล้านตันข้าวสาร (713.70 ล้านตันข้าวเปลือก) และผลผลิตต่อไร่ 709 กิโลกรัม หรือลดลง
ร้อยละ 1.23 ร้อยละ 1.41 และร้อยละ 0.28 ตามล�ำดับ โดยประเทศทีม่ ผี ลผลิตเพิม่ ขึน้ เช่น กัมพูชา จีน อินโดนีเซีย
และเกาหลีใต้ ส่วนประเทศที่มีผลผลิตลดลง เช่น บราซิล เมียนมาร์ อียิปต์ อินเดีย ญี่ปุ่น ปากีสถาน ฟิลิปปินส์
เวียดนาม สหรัฐอเมริกา และไทย
1.1.2 การตลาด
(1) การบริโภคข้าวโลก
ปี 2554/55 - 2558/59 เพิ่มขึ้นจาก 460.83 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2554/55 เป็น 470.37
ล้านตันข้าวสาร ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.68 ต่อปี
ในปี 2558/59 ความต้องการบริโภคมีปริมาณ 470.37 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก 478.12
ล้านตันข้าวสาร ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 1.62 โดยประเทศที่มีการบริโภคเพิ่มขึ้น เช่น เมียนมาร์ กัมพูชา
และเกาหลีใต้ ส่วนประเทศที่มีการบริโภคลดลง เช่น บราซิล จีน อียิปต์ อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ไนจีเรีย และ
สหรัฐอเมริกา
(2) การค้าข้าวโลก
ปี 2554/55 – 2558/59 เพิ่มขึ้นจาก 39.97 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2554/55 เป็น 40.07
ล้านตันข้าวสาร ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.83 ต่อปี
1) การส่งออก
ในปี 2558/59 การส่งออกข้าวโลกมีปริมาณ 40.07 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก 42.66
ล้านตันข้าวสาร ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 6.07 โดยประเทศที่ส่งออกเพิ่มขึ้น เช่น อาร์เจนตินา จีน
สหภาพยุ โรป กายอานา ปากี ส ถาน ปารากวั ย อุ รุ ก วั ย และสหรั ฐ อเมริ ก า ส่ ว นประเทศที่ ส ่ ง ออกลดลง
เช่น ออสเตรเลีย บราซิล เมียนมาร์ กัมพูชา อียิปต์ อินเดีย เวียดนาม และไทย
โดยปี 2558/59 กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาคาดว่าอินเดียจะเป็นผู้ส่งออกข้าวอันดับ 1
ของโลก โดยมีปริมาณส่งออก 10.50 ล้านตันข้าวสาร คิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 26.21 ของการส่งออก
ข้าวโลก รองลงมาได้แก่ ไทย คาดว่ามีปริมาณส่งออก 9.20 ล้านตันข้าวสาร คิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ
22.96 ของการส่งออกข้าวโลก ส่วนอันดับ 3 ได้แก่ เวียดนาม ปริมาณส่งออก 5.40 ล้านตันข้าวสาร คิดเป็น
ส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 13.48 ของการส่งออกข้าวโลก
9
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2) การน�ำเข้า
ในปี 2558/59 การน�ำเข้าข้าวโลกมีปริมาณ 40.07 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจาก 42.66
ล้านตันข้าวสาร ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 6.07 โดยคาดว่าประเทศที่น�ำเข้ามากที่สุด ได้แก่ จีน น�ำเข้า
ปริมาณ 4.60 ล้านตันข้าวสาร คิดเป็นร้อยละ 11.48 ของการน�ำเข้าข้าวโลก รองลงมาได้แก่ ไนจีเรีย ปริมาณ
2.00 ล้านตันข้าวสาร และสหภาพยุโรป ปริมาณ 1.80 ล้านตันข้าวสาร คิดเป็นร้อยละ 4.99 และร้อยละ 4.49
ของการน�ำเข้าข้าวโลก ตามล�ำดับ
(3) สต็อกปลายปีข้าวโลก
ปี 2554/55 - 2558/59 เพิ่มขึ้นจาก 106.83 ล้านตันข้าวสาร ในปี 2554/55 เป็น 116.31
ล้านตันข้าวสาร ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.78 ต่อปี
ในปี 2558/59 สต็อกข้าวโลกมีปริมาณ 116.31 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 114.57
ล้านตันข้าวสาร ในปี 2557/58 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.52 โดยประเทศที่มีสต็อกข้าวคงเหลือเพิ่มขึ้น ได้แก่
จีน อินเดีย และเกาหลีใต้ ส่วนประเทศทีม่ สี ต็อกคงเหลือลดลง ได้แก่ อินโดนีเซีย ญีป่ นุ่ ฟิลปิ ปินส์ และสหรัฐอเมริกา
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
(1) ข้าวนาปี
ปี 2554/55 - 2558/59 เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตลดลงจาก 65.30 ล้านไร่ ผลผลิต 25.87
ล้านตันข้าวเปลือก ในปี 2554/55 เหลือ 58.06 ล้านไร่ ผลผลิต 24.31 ล้านตันข้าวเปลือก ในปี 2558/59 หรือ
ลดลงร้อยละ 2.97 และร้อยละ 1.59 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากเกษตรกรที่เคยขยายเนื้อที่เพาะปลูกเพิ่มในพื้นที่
ว่างเปล่าในช่วงที่ราคาข้าวให้ผลตอบแทนสูงช่วงปี 2555 - 2556 ได้ลดพื้นที่ดังกล่าวลงในปี 2557 รวมทั้ง
ราคาข้าวมีแนวโน้มลดลงเป็นไปตามกลไกลตลาด ส่งผลให้เกษตรกรบางส่วนปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้
ผลตอบแทนดีกว่า โดยเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวัดเลย หนองบัวล�ำภู สกลนคร ขอนแก่น
กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ และบุรีรัมย์ ปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งโรงงานน�้ำตาลมีความต้องการส่งเสริมการปลูก
อ้อยโรงงานเพิ่มขึ้น และเกษตรกรเห็นว่าเป็นพืชที่ให้ผลตอบแทนดี มีแหล่งรับซื้อแน่นอน ส่วนเกษตรกรใน
ภาคใต้เปลี่ยนไปปลูกปาล์มน�้ำมัน จึงส่งผลให้ผลผลิตข้าวโดยรวมของประเทศลดลง ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น
จากไร่ละ 396 กิโลกรัม ในปี 2554/55 เป็นไร่ละ 419 กิโลกรัม ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.45 ต่อปี
เนื่องจากปริมาณน�้ำฝนมีเพียงพอและสภาพอากาศเอื้ออ�ำนวยต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว
ในปี 2558/59 มีเนือ้ ทีเ่ พาะปลูก 58.06 ล้านไร่ ผลผลิต 24.31 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิตต่อไร่
419 กิโลกรัม เทียบกับปี 2557/58 มีเนื้อที่เพาะปลูก 60.79 ล้านไร่ ผลผลิต 26.27 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิต
ต่อไร่ 432 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 4.49 ร้อยละ 7.46 และร้อยละ
3.01 ตามล�ำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกคาดว่าจะลดลงจากปี 2557/58 เนื่องจากตั้งแต่ช่วงต้นฤดูกาลเพาะปลูก
ในเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน 2558 ปริมาณน�้ำฝนน้อย การกระจายของฝนไม่สม�่ำเสมอ โดยปริมาณฝนรวม
ต�่ำกว่าค่าปกติเกือบทุกภาค แม้จะมีฝนตกมากขึ้นในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม 2558 โดยเฉพาะภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แต่ส�ำหรับภาคอื่นยังคงมีปริมาณฝนต�่ำกว่าค่าปกติ ท�ำให้เกษตรกรปลูกข้าวล่าช้า
ซึ่งมีผลให้บางพื้นที่ปลูกข้าวนาปีได้เพียงรอบเดียว โดยปลูกมากในเดือนกรกฎาคมและบางรายเลื่อนมาปลูก
10
ข้าว

ในเดือนสิงหาคม บางพื้นที่ไม่สามารถปลูกข้าวได้ต้องปล่อยพื้นที่ว่าง ประกอบกับราคาข้าวมีแนวโน้มลดลง


เกษตรกรบางส่วนในภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง จึงปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่น
หรือสินค้าเกษตรอืน่ ทีใ่ ห้ผลตอบแทนดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน และเพาะเลีย้ งกุง้ ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่ลดลง เนือ่ งจาก
ปริมาณน�้ำฝนน้อยในระยะต้นกล้าและระยะแตกกอ ส่งผลต่อการงอกของต้นกล้า และปริมาณน�้ำไม่เพียงพอ
ต่อการเจริญเติบโต นอกจากนี้บางพื้นที่ยังพบการระบาดของศัตรูพืช เช่น เพลี้ยไฟ ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิต
ทั้งประเทศลดลง
(2) ข้าวนาปรัง
ปี 2555 - 2559 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 24.65 ร้อยละ 26.29
และร้อยละ 2.18 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยปี 2555 มีเนื้อที่เพาะปลูก 18.10 ล้านไร่ ผลผลิต 12.24 ล้านตันข้าวเปลือก
และผลผลิตต่อไร่ 676 กิโลกรัม ลดลงเหลือเนื้อที่เพาะปลูก 6.06 ล้านไร่ ผลผลิต 3.78 ล้านตันข้าวเปลือก และ
ผลผลิตต่อไร่ 623 กิโลกรัม ในปี 2559 เนื่องจากตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา ปริมาณน�้ำในเขื่อนขนาดกลางและ
ขนาดใหญ่ที่ใช้การได้มีน้อยกว่าในปี 2556 ส่งผลให้เนื้อที่เพาะปลูกลดลงในทุกภาค โดยเฉพาะภาคเหนือ
ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก จากปริมาณฝนที่ตกลงมาในพื้นที่เหนือเขื่อนมีค่าน้อยกว่าค่าปกติ
จึงท�ำให้นำ�้ ไหลเข้าเขือ่ นน้อยตามไปด้วย ประกอบกับราคาข้าวมีแนวโน้มลดลง ท�ำให้เกษตรกรลดเนือ้ ทีเ่ พาะปลูกลง
โดยเกษตรกรปรับเปลีย่ นไปปลูกพืชทีใ่ ช้นำ�้ น้อยกว่า เช่น ถัว่ เขียว ถัว่ เหลือง และบางส่วนปล่อยว่าง ส�ำหรับผลผลิต
ต่อไร่ลดลง เนื่องจากเกษตรกรขยายเนื้อที่เพาะปลูกเกินกว่าแผนการจัดสรรน�้ำ ต้นข้าวจึงได้รับน�้ำไม่เพียงพอ
ต่อการเจริญเติบโต
ในปี 2559 มีเนือ้ ทีเ่ พาะปลูก 6.06 ล้านไร่ ผลผลิต 3.78 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่
623 กิโลกรัม เมือ่ เทียบกับปี 2558 มีเนือ้ ทีเ่ พาะปลูก 8.46 ล้านไร่ ผลผลิต 5.35 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิตต่อไร่
632 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 28.37 ร้อยละ 29.35 และร้อยละ 1.42
ตามล�ำดับ โดยคาดว่าเนื้อที่เพาะปลูกของทุกภาคลดลงเนื่องจากปี 2558 ฝนมาล่าช้า ปริมาณน�้ำฝนน้อยกว่า
ปี 2557 และต�่ำกว่าค่าปกติ ส่งผลให้ปริมาณน�้ำในเขื่อนขนาดกลางและขนาดใหญ่หลายแห่งในทุกภาคยังคงอยู่
ในเกณฑ์น้อยไม่เพียงพอส�ำหรับการปลูกข้าวนาปรัง เกษตรกรบางส่วนจึงปล่อยพื้นที่ว่าง และปรับเปลีย่ นไปปลูก
พืชอืน่ แทน เช่น พืชตระกูลถัว่ ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าลดลงจากปริมาณน�้ำไม่เพียงพอ ท�ำให้ต้นข้าวบางส่วน
แห้งตาย ขาดแคลนน�้ำส�ำหรับการเจริญเติบโต ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศลดลง
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2555 - 2559 ความต้องการใช้ภายในประเทศเพื่อการบริโภค ท�ำเมล็ดพันธุ์ อาหารสัตว์
และอุตสาหกรรมอื่น ๆ เพิ่มขึ้นจาก 17.54 ล้านตันข้าวเปลือก ในปี 2555 เป็น 18.61 ล้านตันข้าวเปลือก
ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.69 ต่อปี
ในปี 2559 การใช้ในประเทศมีปริมาณ 18.61 ล้านตันข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นจาก 18.54 ล้านตัน
ข้าวเปลือก ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.38 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรและความต้องการใช้
ในอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น

11
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(2) การส่งออก
ปี 2555 – 2559 ปริมาณและมูลค่าส่งออกมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 10.71 และร้อยละ 1.11 ต่อปี
ตามล�ำดับ เนือ่ งจากตลาดยังคงมีความต้องการข้าวไทยอย่างต่อเนือ่ ง โดยในปี 2557 ราคาส่งออกข้าวไทยปรับตัว
ลดลงใกล้เคียงกับประเทศคูแ่ ข่ง เช่น อินเดีย และเวียดนาม ส่งผลให้ประเทศผูน้ ำ� เข้าข้าวสัง่ ซือ้ ข้าวจากไทยเพิม่ ขึน้
ในปี 2559 คาดว่าจะสามารถส่งออกได้ 9.20 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 140,000 ล้านบาท
เมื่อเทียบกับปี 2558 ที่ส่งออกได้ 9.80 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 155,912 ล้านบาท ปริมาณและมูลค่าลดลง
ร้อยละ 6.12 และร้อยละ 10.20 ตามล�ำดับ เนื่องจากการแข่งขันการส่งออกข้าวของประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ
ในตลาดโลก เช่น อินเดีย เวียดนาม และปากีสถาน รวมทั้งประเทศผู้น�ำเข้าข้าวประสบปัญหาภาวะเศรษฐกิจท�ำให้
ก�ำลังซื้อลดลง และชะลอการสั่งซื้อข้าว
(3) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555 - 2559 ราคาที่เกษตรกรขายได้ของข้าวเปลือกหอมมะลิ ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น
15% และข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาว มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 9.31 ร้อยละ 6.01 และร้อยละ 0.50 ต่อปี
ตามล�ำดับ โดยราคาข้าวเปลือกหอมมะลิลดลงจากตันละ 15,365 บาท ในปี 2555 เหลือตันละ 10,500 บาท
ในปี 2559 ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% ลดลงจากตันละ 10,156 บาท ในปี 2555 เหลือตันละ 7,950 บาท
ในปี 2559 ส�ำหรับข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาว ราคาลดลงจากตันละ 11,925 บาท ในปี 2555 เหลือตันละ
11,530 บาท ในปี 2558 และเพิ่มเป็นตันละ 12,150 บาท ในปี 2559 เนื่องจากในช่วงปี 2555 - 2557
ราคาข้าวโดยรวมปรับตัวสูงขึน้ จากการทีร่ ฐั บาลมีโครงการรับจ�ำน�ำข้าวเปลือก แต่ตงั้ แต่ชว่ งปลายปี 2557 เป็นต้นมา
รัฐบาลไม่มีนโยบายแทรกแซงราคา ราคาข้าวจึงเป็นไปตามกลไกตลาด
ในปี 2559 คาดว่าราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ ข้าวเปลือกหอมมะลิตนั ละ 10,500 บาท ลดลง
จากตันละ 11,981 บาท ในปี 2558 หรือลดลงร้อยละ 12.36 เนื่องจากผู้ประกอบการมีสต็อกคงเหลือ และ
ความต้องการของตลาดชะลอตัวลง ส่งผลให้ราคาปรับตัวลดลง ส�ำหรับข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% ตันละ
7,950 บาท และข้าวเปลือกเหนียวเมล็ดยาวตันละ 12,150 บาท สูงขึ้นจากตันละ 7,696 บาท และตันละ
11,530 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 3.30 และร้อยละ 5.38 ตามล�ำดับ เนื่องจากความต้องการของผู้ประกอบการ
ยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง
2) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี.
ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ข้าวหอมมะลิ ชั้น 2 (ใหม่) ลดลงจากตันละ
1,079 ดอลลาร์สหรัฐฯ (33,253 บาท/ตัน) ในปี 2555 เหลือตันละ 720 ดอลลาร์สหรัฐฯ (25,200 บาท/ตัน)
ในปี 2559 และข้าวขาว 5% ลดลงจากตันละ 575 ดอลลาร์สหรัฐฯ (17,733 บาท/ตัน) ในปี 2555 เหลือตันละ
395 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,900 บาท/ตัน) ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 10.30 และร้อยละ 9.91 ต่อปี ตามล�ำดับ
ส�ำหรับข้าวเหนียวเมล็ดยาว 10% สูงขึ้นจากตันละ 815 ดอลลาร์สหรัฐฯ (25,132 บาท/ตัน) ในปี 2555 เป็น
ตันละ 935 ดอลลาร์สหรัฐฯ (27,886 บาท/ตัน) ในปี 2556 และลดลงเหลือตันละ 840 ดอลลาร์สหรัฐฯ (29,500
บาท/ตัน) ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 1.00 ต่อปี

12
ข้าว

ในปี 2559 คาดว่าราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ข้าวหอมมะลิ ชั้น 2 (ใหม่) ตันละ 720


ดอลลาร์สหรัฐฯ (25,200 บาท/ตัน) ลดลงจากตันละ 872 ดอลลาร์สหรัฐฯ (29,588 บาท/ตัน) ในปี 2558 หรือ
ลดลงร้อยละ 17.43 ส�ำหรับข้าวขาว 5% ตันละ 395 ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,900 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากตันละ 386
ดอลลาร์สหรัฐฯ (13,106 บาท/ตัน) ในปี 2558 และข้าวเหนียวเมล็ดยาว 10% ตันละ 840 ดอลลาร์สหรัฐฯ
(29,500 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากตันละ 796 ดอลลาร์สหรัฐฯ (27,061 บาท/ตัน) ในปี 2558 หรือสูงขึ้นร้อยละ 2.33
และร้อยละ 5.53 ตามล�ำดับ

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา คาดว่าปี 2559/60 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 1,014.12 ล้านไร่ ผลผลิต
483.80 ล้านตันข้าวสาร (721.30 ล้านตันข้าวเปลือก) ผลผลิตต่อไร่ 712 กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจากปี 2558/59
ที่มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 994.81 ล้านไร่ ผลผลิต 472.11 ล้านตันข้าวสาร (703.80 ล้านตันข้าวเปลือก) และ
ผลผลิตต่อไร่ 707 กิโลกรัม หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.94 ร้อยละ 2.48 และร้อยละ 0.71 ตามล�ำดับ
2.1.2 การตลาด
(1) การบริโภคข้าวโลก
ปี 2559/60 คาดว่าจะมีปริมาณ 478.38 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 470.37 ล้านตันข้าวสาร
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.70
(2) การค้าข้าวโลก
ปี 2559/60 คาดว่าจะมีปริมาณ 40.85 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 40.07 ล้านตันข้าวสาร
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.95
1) การส่งออก
ประเทศที่ ค าดว่ า ส่ ง ออกเพิ่ ม ขึ้ น เช่ น ออสเตรเลี ย เมี ย นมาร์ กั ม พู ช า จี น อี ยิ ป ต์
สหภาพยุโรป เวียดนาม สหรัฐอเมริกา และไทย ส่วนประเทศที่คาดว่าส่งออกลดลง เช่น อาร์เจนตินา บราซิล
อินเดีย ปารากวัย และอุรุกวัย
2) การน�ำเข้า
ประเทศที่คาดว่าน�ำเข้าเพิ่มขึ้น เช่น แองโกลา เบนิน จีน เฮติ อินโดนีเซีย อิรัก เคนยา
มาเลเซีย เม็กซิโก โมแซมบิค เนปาล ฟิลิปปินส์ เซเนกัล สหรัฐอาหรับเอมิเรส และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศ
ที่คาดว่าจะน�ำเข้าลดลง เช่น บราซิล ไอเวอรี่โคสต์ คิวบา อิหร่าน ไนจีเรีย และแอฟริกาใต้
(3) สต็อกปลายปีข้าวโลก
ปี 2559/60 คาดว่าจะมีปริมาณ 121.72 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 116.31 ล้านตันข้าวสาร
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.65 โดยประเทศที่มีสต็อกข้าวคงเหลือเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน อินโดนีเซีย เกาหลีใต้
และสหรัฐอเมริกา ส่วนประเทศที่มีสต็อกคงเหลือลดลง ได้แก่ อินเดีย ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์

13
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
(1) ข้าวนาปี ปี 2559/60 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ประมาณการข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน
2559 มีเนือ้ ทีเ่ พาะปลูก 58.44 ล้านไร่ ผลผลิต 25.41 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิตต่อไร่ 435 กิโลกรัม เพิม่ ขึน้ จากปี
2558/59 ที่มีเนื้อที่เพาะปลูก 58.06 ล้านไร่ ผลผลิต 24.31 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิตต่อไร่ 419 กิโลกรัม หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.64 ร้อยละ 4.50 และร้อยละ 3.82 ตามล�ำดับ โดยเนื้อที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น เนื่องจากตั้งแต่ช่วง
ปลายเดือนพฤษภาคม 2559 เป็นต้นมา มีปริมาณน�ำ้ ฝนและฝนตกกระจายในพืน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ท�ำให้เกษตรกรบางพื้นที่
ที่เคยปล่อยพืน้ ทีน่ าว่างเมือ่ ปี 2558 สามารถปลูกข้าวได้ตามปกติ ประกอบกับราคาข้าวทีเ่ กษตรกรขายได้ในช่วงต้นปี
2559 ปรับตัวสูงขึน้ จากปี 2558 จึงจูงใจให้เกษตรกรท�ำการเพาะปลูก ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิม่ ขึน้ เนื่องจาก
การคาดหมายลักษณะอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคมจะมีปริมาณฝนสูงกว่า
ค่าปกติเล็กน้อย ท�ำให้ปริมาณน�ำ้ มีเพียงพอต่อการเพาะปลูกและการเจริญเติบโตของต้นข้าว ประกอบกับมีการจัดการ
ดูแลที่เหมาะสม ส่งผลให้ในภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2559 - พฤษภาคม 2560 โดยคาดว่า
ผลผลิตจะออกสูต่ ลาดมากในเดือนพฤศจิกายน 2559 ปริมาณ 13.96 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ 54.96
ของผลผลิตข้าวนาปีทั้งหมด
(2) ข้าวนาปรัง ปี 2560 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ประมาณการข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกายน 2559
มีเนือ้ ทีเ่ พาะปลูก 9.80 ล้านไร่ ผลผลิต 6.40 ล้านตันข้าวเปลือก และผลผลิตต่อไร่ 653 กิโลกรัม เพิม่ ขึน้ จากปี 2559
ทีม่ เี นือ้ ทีเ่ พาะปลูก 6.061 ล้านไร่ ผลผลิต 3.78 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิตต่อไร่ 623 กิโลกรัม หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ
61.70 ร้อยละ 69.46 และร้อยละ 4.82 ตามล�ำดับ เนื่องจากคาดว่าจะมีปริมาณน�้ำเพียงพอต่อการเพาะปลูก และ
ไม่ประสบภัยแล้งเช่นปี 2559 ท�ำให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกจากพื้นที่นาที่เคยปล่อยว่าง ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่
คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน�้ำเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตทั้งประเทศเพิ่มขึ้น
ทั้งนี้ เกษตรกรเก็บเกี่ยวผลผลิตตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ตุลาคม 2560 โดยคาดว่าผลผลิต
จะออกสูต่ ลาดมากในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2560 ปริมาณรวม 3.674 ล้านตันข้าวเปลือก หรือคิดเป็นร้อยละ
57.42 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าจะมีความต้องการใช้ในประเทศ 18.84 ล้านตันข้าวเปลือก เพิ่มขึ้นจากปี 2559
ร้อยละ 1.24 เนื่องจากความต้องการใช้ข้าวเพื่อการบริโภค ใช้ผลิตเมล็ดพันธุ์ และใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าไทยจะส่งออกได้ประมาณ 9.00 - 9.20 ล้านตันข้าวสาร ใกล้เคียงกับปี 2559
เนื่ อ งจากปริ ม าณผลผลิ ต ข้ า วโลกเพิ่ ม ขึ้ น ประกอบกั บ ราคาข้ า วไทยยั ง คงสู ง กว่ า คู ่ แข่ ง ซึ่ ง จะกระทบต่ อ
ความสามารถในการแข่งขันของราคาข้าวในตลาด รวมทั้งปัญหาภาวะเศรษฐกิจของประเทศผู้น�ำเข้าที่มีผลต่อการ
สั่งซื้อข้าวจากไทย
14
ข้าว

(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคามีแนวโน้มลดลง เนื่องจากปริมาณผลผลิตข้าวไทยและผลผลิตข้าวโลก
เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2559 ซึ่งจะส่งผลท�ำให้การแข่งขันในตลาดโลกมีความรุนแรงขึ้น และแนวโน้มราคาข้าว
จะปรับตัวลดลง
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออกข้าวของไทย
2.3.1 นโยบายข้าว ประเทศคู่แข่งและคู่ค้าข้าวไทย มีนโยบาย/มาตรการที่อาจจะส่งผลกระทบต่อ
การส่งออกข้าวไทยได้ เช่น เวียดนาม มีการผลักดันให้ลดจ�ำนวนครั้งในการปลูกข้าวจากที่เคยปลูกปีละ 3 ครั้ง
เหลือเพียงปีละ 2 ครั้ง เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยให้เปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่ใช้น�้ำน้อยทดแทน
เพื่อสร้างรายได้ รวมทัง้ ไม่ให้ประสบปัญหาปริมาณข้าวล้นตลาด ซึง่ จะเป็นภาระในการหาตลาดส่งออกข้าวราคาต�่ำ
นอกจากนี้เวียดนามยังได้อนุมัติโครงการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมข้าว เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
ให้เกษตรกร เพื่อเพิ่มรายได้ของเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนส่งเสริมการผลิตข้าวคุณภาพสูงเพื่อตอบสนอง
ความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ อินเดีย ด�ำเนินนโยบายด้านความมั่นคงทางอาหาร โดยเน้นการ
จ�ำหน่ายข้าวในราคาถูกให้แก่ประชาชนยากจนที่มีประมาณ 2 ใน 3 ของประเทศ และได้ท�ำการวิจัยและพัฒนา
สายพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูง ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตข้าวของอินเดียเพิ่มมากขึ้นจนสามารถส่งออกได้ปีละ
ไม่ต�่ำกว่า 10 ล้านตัน ไนจีเรีย มีมาตรการกีดกันทางการค้า ห้ามผู้น�ำเข้าข้าวแลกเงินตราต่างประเทศจาก
สถาบันการเงินของไนจีเรีย นอกจากนี้ยังห้ามน�ำเข้าข้าวผ่านชายแดนทางบกอีกด้วย จึงคาดว่าการน�ำเข้าข้าวของ
ไนจีเรียจะชะลอตัวลงกว่าทุกปี ส�ำหรับอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศผู้บริโภคข้าวและ
น�ำเข้าข้าวที่ส�ำคัญ ได้ด�ำเนินนโยบายพึ่งพาตนเอง และเพิ่มความมั่นคงด้านอาหารของประเทศด้วยการปลูกข้าว
เพื่อบริโภคภายในประเทศมากขึ้น เพื่อลดการน�ำเข้าข้าวจากต่างประเทศ
2.3.2 การเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ ลักษณะสภาพอากาศทีก่ ลับเข้าสูภ่ าวะปกติ และการคาดการณ์
ว่าจะเกิดปรากฏการณ์ลานีญา ท�ำให้มีปริมาณฝนตกมากขึ้น ส่งผลให้แนวโน้มการผลิตข้าวไทยและประเทศคู่แข่ง
ทั้งอินเดีย เวียดนาม และปากีสถาน ได้ผลผลิตดี ซึ่งจะท�ำให้การแข่งขันในตลาดมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้น
2.3.3 ราคาข้าวไทย ราคาส่งออกข้าวไทย ปี 2559 (ช่วงเดือนมกราคม – ตุลาคม) ลดลงอย่างมาก
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 เนื่องจากตลาดชะลอตัว แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่งราคาข้าวไทย
ยังคงสูงกว่ามาก โดยราคาส่งออกข้าว 5% ของไทย เฉลี่ยตันละ 401 ดอลลาร์สหรัฐฯ เปรียบเทียบกับข้าว 5%
ของเวียดนาม เฉลี่ยตันละ 363 ดอลลาร์สหรัฐฯ ราคาข้าวไทยสูงกว่าตันละ 38 ดอลลาร์สหรัฐฯ ส�ำหรับข้าว 25%
ของไทย เฉลี่ยตันละ 390 ดอลลาร์สหรัฐฯ เปรียบเทียบกับข้าว 25% ของเวียดนาม อินเดีย และปากีสถาน
เฉลี่ยตันละ 343 ดอลลาร์สหรัฐฯ ตันละ 342 ดอลลาร์สหรัฐฯ และตันละ 328 ดอลลาร์สหรัฐฯ ตามล�ำดับ
จะเห็นได้ว่าราคาข้าวไทยสูงกว่าราคาข้าวทั้ง 3 ประเทศ โดยราคาสูงกว่าเวียดนามตันละ 47 ดอลลาร์สหรัฐฯ
อินเดียตันละ 48 ดอลลาร์สหรัฐฯ และปากีสถานตันละ 62 ดอลลาร์สหรัฐฯ
2.3.4 สต็อกข้าว แม้วา่ ไทยจะมีขา้ วในสต็อกเป็นจ�ำนวนมาก แต่ปจั จุบนั รัฐบาลได้บริหารจัดการสต็อกข้าว
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้มีการระบายข้าวในช่วงเวลาและปริมาณที่เหมาะสมกับภาวะตลาด อย่างไรก็ตาม
ผู้ซื้อในต่างประเทศยังมีความกังวลเกี่ยวกับปริมาณข้าวในสต็อกและการระบายสต็อกข้าวออกสู่ตลาดของไทย
ท�ำให้ผู้ซื้อขาดความมั่นใจในคุณภาพข้าวและราคาข้าวที่อาจจะปรับลดลงได้อีก
15
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2.3.5 ภาวะเศรษฐกิจโลก การที่ภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งราคาน�้ำมันดิบโลก


ลดลงอย่างมาก ส่งผลให้ประเทศในทวีปแอฟริกาทีม่ รี ายได้หลักจากการส่งออกน�ำ้ มัน และเป็นประเทศผูน้ �ำเข้าข้าว
ที่ส�ำคัญของไทย เช่น ไนจีเรีย มีกำ� ลังซือ้ ลดลง จึงชะลอการสัง่ ซือ้ ข้าวจากไทย และเปลีย่ นไปซือ้ ข้าวจากประเทศอื่น
ที่ราคาถูกกว่าแทน
2.3.6 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน การแข็งค่าของเงินบาท จะส่งผลกระทบต่อความสามารถ
ในการส่งออกข้าวของไทย เนือ่ งจากท�ำให้ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าคูแ่ ข่งมากขึน้ โดยในช่วงครึง่ ปีแรก (ช่วงเดือน
มกราคม - มิถนุ ายน 2559) อัตราแลกเปลีย่ น 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 35.20 บาท เมือ่ เทียบกับช่วงครึง่ ปีหลัง
(ช่วงเดือนกรกฎาคม - ตุลาคม 2559) อัตราแลกเปลีย่ น 1 ดอลลาร์สหรัฐ เท่ากับ 34.65 บาท หรือเพิม่ ร้อยละ 1.56

ตารางที่ 1 ผลผลิตข้าวโลก ปี 2554/55 - 2559/60


หน่วย: ล้านตันข้าวสาร
ผลต่าง
ปี ปี ปี ปี ปี 2558/59 อัตราเพิ่ม ปี 2559/60
ประเทศ (1) และ (2)
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) (ร้อยละ) (1)
(ร้อยละ)
บังคลาเทศ 33.700 33.820 34.390 34.500 34.500 0.67 34.515 0.04
บราซิล 7.888 8.037 8.300 8.465 7.210 -1.27 8.025 11.30
เมียนมาร์ 11.473 11.715 11.957 12.600 12.200 1.98 12.500 2.46
กัมพูชา 4.268 4.670 4.725 4.700 4.705 2.03 4.700 -0.11
จีน 140.700 143.000 142.530 144.560 145.770 0.82 146.500 0.50
อียิปต์ 4.250 4.675 4.750 4.530 4.000 -1.52 4.554 13.85
อินเดีย 105.310 105.241 106.646 105.482 104.320 -0.17 106.500 2.09
อินโดนีเซีย 36.500 36.550 36.300 35.560 36.200 -0.44 36.600 1.10
ญี่ปุ่น 7.792 7.907 7.931 7.849 7.670 -0.39 7.790 1.56
เกาหลีใต้ 4.224 4.006 4.230 4.241 4.327 1.06 4.200 -2.94
เนปาล 3.138 3.003 3.361 3.100 3.100 0.07 3.100 0.00
ปากีสถาน 6.160 5.536 6.798 6.900 6.700 3.96 6.900 2.99
ฟิลิปปินส์ 10.710 11.428 11.858 11.915 11.350 1.59 12.000 5.73
เวียดนาม 27.152 27.537 28.161 28.166 27.458 0.45 27.800 1.25
สหรัฐอเมริกา 5.866 6.348 6.117 7.106 6.107 1.95 7.454 22.06
ไทย 20.460 20.200 20.460 18.750 15.800 -5.74 18.600 17.72
อื่น ๆ 38.025 38.829 39.934 40.267 40.334 1.55 41.553 3.02
รวม 467.616 472.502 478.448 478.691 472.105 0.32 483.797 2.48
ที่มา: Rice, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016
16
ข้าว

ตารางที่ 2 บัญชีสมดุลข้าวโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตันข้าวสาร
ผลต่าง
ปี ปี ปี ปี ปี 2558/59 อัตราเพิ่ม ปี 2559/60
ประเทศ (1) และ (2)
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) (ร้อยละ) (1)
(ร้อยละ)
สต็อกต้นปี 100.147 106.826 113.872 114.002 114.571 3.40 116.310 1.52
ผลผลิต 467.616 472.502 478.448 478.691 472.105 0.32 483.797 2.48
น�ำเข้า 39.967 39.493 44.108 42.661 40.068 0.83 40.850 1.95
ใช้บริโภค 460.825 465.456 478.318 478.122 470.366 0.68 478.383 1.70
ส่งออก 39.967 39.493 44.108 42.661 40.068 0.83 40.850 1.95
สต็อกปลายปี 106.826 113.872 114.002 114.571 116.310 1.78 121.724 4.65
ที่มา: Rice, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 3 การบริโภคข้าวโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตันข้าวสาร
ผลต่าง
ปี ปี ปี ปี ปี 2558/59 อัตราเพิ่ม ปี 2559/60
ประเทศ (1) และ (2)
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) (ร้อยละ) (1)
(ร้อยละ)
บังคลาเทศ 34.300 34.500 34.900 35.100 35.100 0.64 35.000 -0.28
บราซิล 7.928 7.850 7.900 7.925 7.800 -0.23 7.900 1.28
เมียนมาร์ 10.200 10.400 10.450 10.500 10.700 1.06 10.900 1.87
กัมพูชา 3.400 3.550 3.650 3.615 3.700 1.89 3.725 0.68
จีน 139.600 141.000 143.000 144.500 144.000 0.87 144.000 0.00
อิยิปต์ 3.620 4.050 4.000 4.000 3.900 1.38 4.000 2.56
อินเดีย 93.334 94.972 98.727 98.244 93.512 0.38 97.000 3.73
อินโดนีเซีย 38.188 38.127 38.500 38.300 37.900 -0.11 37.700 -0.53
ญี่ปุ่น 8.376 8.351 8.380 8.600 8.500 0.59 8.500 0.00
เกาหลีใต้ 4.880 4.489 4.422 4.197 4.374 -2.82 4.484 2.51
เนปาล 3.677 3.353 3.811 3.716 3.500 0.04 3.650 4.29
ไนจีเรีย 5.600 5.300 5.500 5.400 5.200 -1.29 5.000 -3.85
ฟิลิปปินส์ 12.860 12.850 12.850 13.200 13.200 0.79 13.300 0.76
เวียดนาม 19.650 21.600 22.000 22.000 22.000 2.47 22.200 0.91
สหรัฐอเมริกา 3.492 3.779 3.977 4.301 3.529 1.52 4.222 19.64
ไทย 10.400 10.600 10.600 10.500 9.800 -1.28 10.600 8.16
อื่น ๆ 61.320 60.685 65.651 64.024 63.651 1.29 66.202 4.01
รวม 460.825 465.456 478.318 478.122 470.366 0.68 478.383 1.70
ที่มา: Rice, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016
17
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 4 ปริมาณการส่งออกข้าวโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตันข้าวสาร
ปี ปี ผลต่าง
ปี ปี ปี ปี อัตราเพิ่ม
ประเทศ 2558/59 2559/60 (1) และ (2)
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (ร้อยละ)
(2) (1) (ร้อยละ)
อาร์เจนตินา 0.608 0.526 0.494 0.310 0.560 -6.70 0.550 -1.79
ออสเตรเลีย 0.449 0.460 0.404 0.323 0.150 -22.48 0.250 66.67
บราซิล 1.105 0.830 0.852 0.895 0.700 -8.04 0.650 -7.14
เมียนมาร์ 1.357 1.163 1.688 1.735 1.200 1.55 1.500 25.00
กัมพูชา 0.900 1.075 1.000 1.150 0.900 0.68 1.000 11.11
จีน 0.267 0.447 0.393 0.262 0.275 -4.64 0.300 9.09
อิยิปต์ 0.600 0.700 0.600 0.250 0.200 -27.58 0.300 50.00
สหภาพยุโรป 0.194 0.203 0.284 0.251 0.270 9.13 0.280 3.70
กายอานา 0.265 0.346 0.446 0.520 0.540 20.09 0.540 0.00
อินเดีย 10.250 10.480 11.588 11.046 10.500 1.01 10.000 -4.76
ปากีสถาน 3.399 4.126 3.700 4.000 4.200 4.00 4.200 0.00
ปารากวัย 0.262 0.365 0.380 0.371 0.480 13.06 0.470 -2.08
อุรุกวัย 1.056 0.939 0.957 0.718 0.900 -5.71 0.840 -6.67
เวียดนาม 7.717 6.700 6.325 6.606 5.400 -7.02 5.800 7.41
สหรัฐอเมริกา 3.298 3.295 2.947 3.355 3.450 1.09 3.550 2.90
ไทย 6.945 6.722 10.969 9.779 9.200 9.83 9.500 3.26
อื่น ๆ 1.295 1.116 1.081 1.090 1.143 -2.70 1.120 -2.01
รวม 39.967 39.493 44.108 42.661 40.068 0.83 40.850 1.95
ที่มา: Rice, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

18
ข้าว

ตารางที่ 5 ส่วนแบ่งการตลาดข้าวโลก ปี 2557/58 – 2559/60


ปริมาณ: ล้านตันข้าวสาร
ส่วนแบ่งการตลาด: ร้อยละ
ปี 2557/58 ปี 2558/59 ปี 2559/60
ประเทศ
ปริมาณ ส่วนแบ่งตลาด ปริมาณ ส่วนแบ่งตลาด ปริมาณ ส่วนแบ่งตลาด
อาร์เจนตินา 0.310 0.73 0.560 1.40 0.550 1.35
ออสเตรเลีย 0.323 0.76 0.150 0.37 0.250 0.61
บราซิล 0.895 2.10 0.700 1.75 0.650 1.59
เมียนมาร์ 1.735 4.07 1.200 2.99 1.500 3.67
กัมพูชา 1.150 2.70 0.900 2.25 1.000 2.45
จีน 0.262 0.61 0.275 0.69 0.300 0.73
อิยิปต์ 0.250 0.59 0.200 0.50 0.300 0.73
สหภาพยุโรป 0.251 0.59 0.270 0.67 0.280 0.69
กาอานา 0.520 1.22 0.540 1.35 0.540 1.32
อินเดีย 11.046 25.89 10.500 26.21 10.000 24.48
ปากีสถาน 4.000 9.38 4.200 10.48 4.200 10.28
ปารากวัย 0.371 0.87 0.480 1.20 0.470 1.15
อุรุกวัย 0.718 1.68 0.900 2.25 0.840 2.06
เวียดนาม 6.606 15.48 5.400 13.48 5.800 14.20
สหรัฐอเมริกา 3.355 7.86 3.450 8.61 3.550 8.69
ไทย 9.779 22.92 9.200 22.96 9.500 23.26
อื่น ๆ 1.090 2.56 1.143 2.85 1.120 2.74
รวม 42.661 100 40.068 100 40.850 100.00
ที่มา: Rice, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

19
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 6 ปริมาณการน�ำเข้าข้าวโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตันข้าวสาร
ปี ปี ผลต่าง
ปี ปี ปี ปี อัตราเพิม่
ประเทศ 2558/59 2559/60 (1) และ (2)
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (ร้อยละ)
(2) (1) (ร้อยละ)
แองโกลา 0.360 0.430 0.500 0.450 0.450 5.04 0.475 5.56
เบนิน 0.350 0.350 0.350 0.350 0.400 2.71 0.425 6.25
บราซิล 0.732 0.712 0.586 0.363 0.750 -6.06 0.650 -13.33
คาเมรูน 0.450 0.550 0.610 0.525 0.530 2.85 0.530 0.00
จีน 2.900 3.500 4.450 5.150 4.600 13.98 5.000 8.70
ไอเวอรี่โคสต์ 1.265 0.830 0.950 1.150 1.250 3.07 1.200 -4.00
คิวบา 0.330 0.413 0.377 0.575 0.530 13.64 0.510 -3.77
สหภาพยุโรป 1.313 1.375 1.556 1.786 1.800 9.34 1.800 0.00
กานา 0.595 0.725 0.590 0.500 0.650 -1.93 0.650 0.00
เฮติ 0.372 0.416 0.387 0.447 0.470 5.54 0.490 4.26
อินโดนีเซีย 1.960 0.650 1.225 1.350 1.100 -4.16 1.250 13.64
อิหร่าน 1.500 2.220 1.400 1.300 1.100 -10.91 1.050 -4.55
อิรัก 1.478 1.294 1.080 1.009 0.900 -11.67 1.050 16.67
ญี่ปุ่น 0.650 0.690 0.669 0.688 0.700 1.46 0.700 0.00
เคนยา 0.400 0.410 0.440 0.450 0.460 3.80 0.470 2.17
มาเลเซีย 1.006 0.885 0.989 1.051 1.020 2.02 1.050 2.94
เม็กซิโก 0.680 0.749 0.685 0.719 0.700 0.17 0.750 7.14
โมแซมบิค 0.445 0.500 0.590 0.575 0.575 6.74 0.600 4.35
เนปาล 0.351 0.340 0.510 0.529 0.450 9.84 0.550 22.22
ไนจีเรีย 3.400 2.400 3.200 2.100 2.000 -11.26 1.900 -5.00
ฟิลิปปินส์ 1.500 1.000 1.800 2.000 1.000 -1.17 1.400 40.00
ซาอุดิอาระเบีย 1.193 1.326 1.459 1.600 1.550 7.37 1.550 0.00
เซเนกัล 0.918 0.902 0.960 0.990 0.985 2.37 0.990 0.51
แอฟริกาใต้ 0.870 0.990 0.910 0.912 1.000 1.98 0.925 -7.50
สหรัฐอาหรับเอมิเรส 0.520 0.540 0.560 0.580 0.600 3.64 0.610 1.67
สหรัฐอเมริกา 0.640 0.675 0.755 0.758 0.765 4.84 0.775 1.31
อื่น ๆ 13.789 14.621 16.520 14.754 13.733 0.01 13.500 -1.70
รวม 39.967 39.493 44.108 42.661 40.068 0.83 40.850 1.95
ที่มา: Rice, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

20
ข้าว

ตารางที่ 7 สต็อกปลายปีข้าวโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตันข้าวสาร
ผลต่าง
ปี ปี ปี ปี ปี 2558/59 อัตราเพิ่ม ปี 2559/60
ประเทศ (1) และ (2)
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) (ร้อยละ) (1)
(ร้อยละ)
จีน 45.023 49.832 53.102 57.436 63.735 8.73 70.935 11.30
อินเดีย 25.100 25.500 22.800 17.800 18.400 -9.34 17.900 -2.72
อินโดนีเซีย 7.403 6.476 5.501 4.111 3.511 -17.69 3.661 4.27
ญี่ปุ่น 2.735 2.857 3.007 2.821 2.611 -1.05 2.516 -3.64
เกาหลีใต้ 0.755 0.780 0.899 1.406 1.697 24.72 1.821 7.31
ฟิลิปปินส์ 1.509 1.487 1.695 2.210 1.960 9.63 1.860 -5.10
สหรัฐอเมริกา 1.303 1.156 1.025 1.552 1.475 5.58 1.897 28.61
อื่น ๆ 21.657 25.784 25.973 27.235 22.921 1.70 21.134 -7.80
รวม 106.826 113.872 114.002 114.571 116.310 1.78 121.724 4.65
ที่มา: Rice, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 8 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ของข้าวนาปี และนาปรัง ปี 2555 - 2560


ปี 2559 ปี 2560 ผลต่าง
ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 อัตราเพิม่
รายการ (ปี2554/55) (ปี2555/56) (ปี2556/57) (ปี2557/58)
(ปี2558/59)
(ร้อยละ)
(ปี2559/60)* (1) และ (2)
(2) (1) (ร้อยละ)
ข้าวนาปี
- เนือ้ ทีป่ ลูก (ล้านไร่) 65.304 64.951 62.080 60.791 58.063 -2.97 58.435 0.64
- ผลผลิต (ล้านตัน) 25.867 27.234 27.090 26.270 24.312 -1.59 25.407 4.50
- ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 396 419 436 432 419 1.45 435 3.82
ข้าวนาปรัง
- เนือ้ ทีป่ ลูก (ล้านไร่) 18.101 16.087 15.055 8.461 6.061 -24.65 9.800 61.70
- ผลผลิต (ล้านตัน) 12.235 10.766 9.672 5.347 3.777 -26.29 6.400 69.46
- ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 676 669 642 632 623 -2.18 653 4.82
ข้าวรวม
- เนือ้ ทีป่ ลูก (ล้านไร่) 83.405 81.038 77.135 69.252 64.124 -6.60 68.235 6.41
- ผลผลิต (ล้านตัน) 38.102 38.000 36.762 31.617 28.089 -7.63 31.807 13.24
- ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 457 469 477 457 438 -1.10 466 6.39
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

21
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 9 อุปสงค์และอุปทานข้าวของไทย ปี 2555 - 2560 หน่วย: ล้านตันข้าวเปลือก


ผลต่าง
ปี 2559* อัตราเพิม่ ปี 2560*
รายการ ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 (1) และ (2)
(2) (ร้อยละ) (1)
(ร้อยละ)
ผลผลิต 38.102 38.000 36.762 31.617 28.089 -7.63 31.807 13.24
ความต้องการใช้ 17.536 17.663 17.824 18.543 18.612 1.69 18.843 1.24
การส่งออก 10.203 10.018 16.620 14.842 13.939 10.71 13.636 -2.17
(6.734) (6.612) (10.969) (9.796) (9.200) (9.000 -9.200)
หมายเหตุ: * ประมาณการ ( ) หน่วยล้านตันข้าวสาร,
อัตราแปรสภาพข้าวเปลือกเป็นข้าวสาร 1: 0.66
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 10 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกข้าวของไทย ปี 2555 - 2560


ปี ปริมาณ (ล้านตันข้าวสาร) มูลค่า (ล้านบาท)
2555 6.734 142,976
2556 6.612 133,839
2557 10.969 174,851
2558 9.796 155,912
2559* 9.200 140,000
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 10.71 1.11
2560* 9.00 - 9.200 130,000 - 140,000
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 11 ราคาข้าวที่เกษตรกรขายได้ และราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ปี 2555 - 2559


ข้าวหอมมะลิ ข้าวขาว ข้าวเหนียวเมล็ดยาว
ปี เกษตรกร ส่งออก เอฟ.โอ.บี. เกษตรกร ส่งออก เอฟ.โอ.บี. เกษตรกร4/ ส่งออก เอฟ.โอ.บี.5/
1/ 2/ 3/

(บาท/ตัน) ($/ตัน) (บาท/ตัน) (บาท/ตัน) ($/ตัน) (บาท/ตัน) (บาท/ตัน) ($/ตัน) (บาท/ตัน)


2555 15,365 1,079 33,253 10,156 575 17,733 11,925 815 25,132
2556 14,859 1,151 35,012 8,763 517 15,684 12,586 935 27,886
2557 12,914 970 31,252 7,753 423 13,630 10,141 843 27,184
2558 11,981 872 29,588 7,696 386 13,106 11,530 796 27,061
25596/ 10,500 720 25,200 7,950 395 13,900 12,150 840 29,500
อัตราเพิ่ม
(ร้อยละ) -9.31 -10.30 -6.97 -6.01 -9.91 -6.45 -0.50 -1.00 2.95
หมายเหตุ: 1/ ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ข้าวหอมมะลิชั้น 2 (ใหม่) 2/
ราคาข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 15% ที่เกษตรกรขายได้
3/ 4/
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ข้าว 5% ราคาข้าวเปลือกเหนียวนาปีเมล็ดยาวที่เกษตรกรขายได้
5/ 6/
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ข้าวเหนียวเมล็ดยาว 10% ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
22
ข้าว

ตารางที่ 12 เปรียบเทียบราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ข้าวของไทยกับประเทศคู่แข่งที่ส�ำคัญ ปี 2559


หน่วย: ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน
ข้าว 5% ข้าว 25%
รายการ
ไทย เวียดนาม ไทย เวียดนาม อินเดีย ปากีสถาน
ปี 2559
มกราคม 365 365 357 349 328 306
กุมภาพันธ์ 383 355 373 341 330 310
มีนาคม 384 371 374 353 331 314
เมษายน 392 376 382 357 334 313
พฤษภาคม 423 373 407 354 350 345
มิถุนายน 441 375 422 345 359 386
กรกฎาคม 442 375 424 339 362 370
สิงหาคม 428 357 413 336 356 312
กันยายน 386 338 380 327 335 314
ตุลาคม 371 340 367 330 334 312
เฉลี่ย ม.ค. - ต.ค.59 (1) 401 363 390 343 342 328
เฉลี่ย ม.ค. - ต.ค.58 (2) 386 358 373 337 344 319
ผลต่าง (1) และ (2) 3.89 1.40 4.56 1.78 0.58 2.82
(ร้อยละ)
ที่มา: FAO rice price update, October 2016

ตารางที่ 13 ปริมาณและร้อยละการเก็บเกี่ยวข้าวนาปี ปี 2559/60 รายเดือน


ปริมาณผลผลิตและร้อยละข้าวนาปีจากการเก็บเกี่ยวรายเดือน ปี 2559/60*
รายการ รวม
ส.ค.59 ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.60 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
- รวมทัง้ ประเทศ 0.180 1.371 2.790 13.964 5.341 0.976 0.625 0.066 0.069 0.025 25.407
(ล้านตันข้าวเปลือก)
- ร้อยละ 0.71 5.40 10.98 54.96 21.02 3.84 2.46 0.26 0.27 0.10 100.00
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 14 ปริมาณและร้อยละการเก็บเกี่ยวข้าวนาปรัง ปี 2560 รายเดือน


ปริมาณผลผลิตและร้อยละข้าวนาปรังจากการเก็บเกี่ยวรายเดือน ปี 2560*
รายการ รวม
ก.พ.60 มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ค.
- รวมทัง้ ประเทศ 0.628 1.940 1.734 1.000 0.467 0.367 0.157 0.083 0.024 6.400 25.407
(ล้านตันข้าวเปลือก)
- ร้อยละ 9.81 30.32 27.10 15.62 7.29 5.74 2.45 1.30 0.37 100.00 100.00
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
23
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
2
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2554/55 - 2558/59 การผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 889.78 ล้านตัน ในปี 2554/55
เป็น 959.89 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.10 ต่อปี
ปี 2558/59 การผลิตมีปริมาณ 959.89 ล้านตัน ลดลงจาก 1,014.02 ล้านตัน ในปี 2557/58
ร้อยละ 5.34 โดยสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกผลิตได้ลดลงจาก 361.09 ล้านตัน ในปี 2557/58
เหลือ 345.49 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 4.32 นอกจากนี้ บราซิล สหภาพยุโรป ยูเครน
และอินเดีย ผลิตได้ลดลง
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2554/55 – 2558/59 ความต้องการใช้มแี นวโน้มเพิม่ ขึน้ จาก 885.04 ล้านตัน ในปี 2554/55
เป็น 958.52 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.90 ต่อปี โดยสหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้
เพิม่ ขึน้ จาก 277.96 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 298.83 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.87 ต่อปี
ปี 2558/59 ความต้องการใช้มีปริมาณ 958.52 ล้านตัน ลดลงจาก 980.76 ล้านตัน
ในปี 2557/58 ร้อยละ 2.27 โดยสหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลดลงจาก 301.79 ล้านตัน
ในปี 2557/58 เป็น 298.83 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 0.98 นอกจากนี้ สหภาพยุโรป และบราซิล
มีความต้องการใช้ลดลง
(2) การค้า
ปี 2554/55 - 2558/59 การค้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 103.71 ล้านตัน ในปี 2554/55
เป็น 143.93 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.38 ต่อปี
ปี 2558/59 การค้ามีปริมาณ 143.93 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 128.03 ล้านตัน ในปี 2557/58
ร้อยละ 12.42 โดยสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นผู้ส่งออกส�ำคัญส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 46.83 ล้านตัน ในปี 2557/58
เป็น 51.20 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.33 นอกจากนี้ประเทศผู้น�ำเข้า ได้แก่ ญี่ปุ่น เม็กซิโก
สหภาพยุโรป และอียิปต์ มีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้น
(3) ราคา
ปี 2554/55 - 2558/59 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก มีแนวโน้มลดลง
จากตันละ 8,060 บาท ในปี 2554/55 เหลือตันละ 5,313 บาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 13.32 ต่อปี
เนื่องจากสถานการณ์การผลิตโลกกลับเข้าสู่สภาวะปกติหลังจากที่ผลผลิตได้รับความเสียหายจ�ำนวนมากจาก
คลื่นความร้อนในปี 2555/56
ปี 2558/59 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก ตันละ 5,313 บาท เพิ่มขึ้น
จากตันละ 4,925 บาท ในปี 2557/58 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.88 เนื่องจากสถานการณ์การผลิตในภาพรวมของ
โลกผลิตได้ลดลง ส่งผลให้ราคาเพิ่มขึ้น
25
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2554/55 - 2558/59 เนื้อที่เพาะปลูกมีแนวโน้มลดลงจาก 7.40 ล้านไร่ ในปี 2554/55 เหลือ
7.15 ล้านไร่ ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 1.09 ต่อปี เนื่องจากราคาที่เกษตรกรขายได้ไม่จูงใจ เกษตรกรจึง
ปรับเปลีย่ นพืน้ ทีไ่ ปปลูกพืชทีใ่ ห้ผลตอบแทนดีกว่า เช่น มันส�ำปะหลัง และอ้อยโรงงาน ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก
672 กิโลกรัม ในปี 2554/55 เหลือ 644 กิโลกรัม ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 0.89 ต่อปี ส่งผลให้ผลผลิต
รวมลดลงจาก 4.97 ล้านตัน ในปี 2554/55 เหลือ 4.61 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 1.94
ตามการลดลงของเนื้อที่เพาะปลูก
ปี 2558/59 เนื้อที่เพาะปลูกมี 7.15 ล้านไร่ ลดลงจาก 7.23 ล้านไร่ ในปี 2557/58 ร้อยละ 1.11
เนื่องจากปี 2557/58 ฝนทิ้งช่วงและกระทบแล้ง เกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนไปปลูกอ้อยโรงงานและมันส�ำปะหลัง
ซึ่งเป็นพืชที่ทนแล้งและดูแลรักษาง่าย ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 654 กิโลกรัม ในปี 2557/58 เหลือ
644 กิโลกรัม ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 1.53 ส่งผลให้ผลผลิตรวมลดลงจาก 4.78 ล้านตัน ในปี 2557/58
เหลือ 4.61 ล้านตัน ในปี 2558/59
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2554/55 - 2558/59 ความต้องการใช้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 4.36 ล้านตัน ในปี 2554/55
เป็น 5.72 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.39 ต่อปี เนื่องจากความต้องการใช้เป็นวัตถุดิบ
ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์มีมากขึ้น ตามการขยายตัวของการเลี้ยงสัตว์
ปี 2558/59 ความต้องการใช้ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์มปี ริมาณ 5.72 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 5.04 ล้านตัน
ในปี 2557/58 ร้อยละ 13.49
(2) การส่งออก
ปี 2554/55 - 2558/59 การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 0.32 ล้านตัน มูลค่า 2.95
ล้านบาท ในปี 2554/55 เป็นปริมาณ 0.22 ล้านตัน มูลค่า 1.88 ล้านบาท ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ
11.44 และร้อยละ 8.74 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากปี 2556/57 มีการใช้มาตรการผลักดันการส่งออก
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส�ำหรับตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ จีน ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย
ปี 2558/59 การส่งออกมีปริมาณ 0.22 ล้านตัน มูลค่า 1.88 ล้านบาท ลดลงจาก 0.25 ล้านตัน
มูลค่า 2.22 ล้านบาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 12.00 และร้อยละ 15.32 ตามล�ำดับ เนื่องจาก
จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และมาเลเซีย มีการน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากประเทศไทยลดลง โดยมี
การน�ำเข้าจากประเทศนอกอาเซียนเพิ่มขึ้น เช่น อินเดีย สหรัฐอเมริกา และอาร์เจนตินา เป็นต้น
(3) การน�ำเข้า
ปี 2554/55 - 2558/59 ปริมาณการน�ำเข้ามีแนวโน้มลดลงจาก 0.21 ล้านตัน ในปี 2554/55
เหลือ 0.14 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 3.97 ต่อปี ส่วนมูลค่าการน�ำเข้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ
4.03 ต่อปี โดยปี 2554/55 มีมูลค่าการน�ำเข้า 0.74 ล้านบาท ลดลงเหลือ 0.57 ล้านบาท ในปี 2556/57
แต่ปี 2557/58 - 2558/59 มูลค่าการน�ำเข้ากลับเพิ่มขึ้นเป็น 0.70 ล้านบาท และ 0.69 ล้านบาท ตามล�ำดับ
เนื่องจากมีการน�ำเข้าวัตถุดิบอื่นมาทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบริหารจัดการ
ช่วงเวลาน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส�ำหรับผู้น�ำเข้าทั่วไปที่น�ำเข้าภายใต้กรอบความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน
26
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

(ASEAN Free Trade Area: AFTA) และโครงการลงทุนเกษตรแบบมีสัญญากับประเทศเพื่อนบ้าน (Contract


Farming) ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี - เจ้าพระยา - แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya
- Mekong Economic Cooperation Strategies: ACMECS)
ปี 2558/59 การน�ำเข้ามีปริมาณ 0.14 ล้านตัน มูลค่า 0.69 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ
0.15 ล้านตัน มูลค่า 0.70 ล้านบาท ในปี 2557/58 หรือลดลงร้อยละ 6.67 และร้อยละ 1.43 ตามล�ำดับ เนื่องจาก
มีการน�ำเข้าวัตถุดิบอื่นมาทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์ ประกอบกับราคา
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลง
(4) ราคา
ราคาปี 2554/55 - 2558/59 มีแนวโน้มลดลงในทุกตลาด ดังนี้
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ (ความชื้นไม่เกิน 14.5%) ลดลงจากกิโลกรัมละ 7.63 บาท
ในปี 2554/55 เหลือกิโลกรัมละ 7.73 บาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 2.17 ต่อปี
2) ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ราคาโรงงานอาหารสัตว์รับซื้อลดลงจากกิโลกรัมละ
9.66 บาท ในปี 2554/55 เหลือกิโลกรัมละ 9.02 บาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 2.35 ต่อปี และ
ราคาไซโลรับซื้อลดลงจากกิโลกรัมละ 8.58 บาท ในปี 2554/55 เหลือกิโลกรัมละ 8.28 บาท ในปี 2558/59
หรือลดลงร้อยละ 0.52 ต่อปี
3) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ลดลงจากตันละ 10,053 บาท ในปี 2554/55 เหลือตันละ
9,437 บาท ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 2.23 ต่อปี
ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปี 2558/59 ปรับตัวลดลงเกือบทุกตลาดเมื่อเทียบกับปี 2557/58
เนื่องจากราคาในตลาดโลกปรับตัวลดลง อย่างไรก็ตามราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้ในประเทศ
กลับมีแนวโน้มสูงขึ้นจากปี 2557/58 เนื่องจากผลผลิตในประเทศลดลง ขณะที่ความต้องการใช้มีเพิ่มขึ้น

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2559/60 คาดว่าเนื้อที่เพาะปลูกมี 7.03 ล้านไร่ ลดลงจาก 7.15 ล้านไร่ ในปี 2558/59
ร้อยละ 1.68 เนื่องจากฝนมาล่าช้าเกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกมันส�ำปะหลังและอ้อยโรงงาน ซึ่งทนแล้ง
และดูแลรักษาง่าย ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 644 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น 656 กิโลกรัม ในปี 2559/60
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.86 ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นจาก 4.61 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 4.62
ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.22
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2559/60 คาดว่าความต้องการใช้ขา้ วโพดเลีย้ งสัตว์มปี ริมาณ 1,021.74 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก
958.52 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 6.60 เนื่องจากสหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
เพิ่มขึ้นจาก 298.83 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 314.59 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.27
นอกจากนี้ จีน สหภาพยุโรป บราซิล เม็กซิโก และอินเดีย มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
27
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(2) การค้า
ปี 2559/60 คาดว่าปริมาณการค้าของโลกมี 139.71 ล้านตัน ลดลงจาก 143.93 ล้านตัน
ของปี 2558/59 ร้อยละ 2.93 โดยประเทศผู้ส่งออก ได้แก่ บราซิล มีการส่งออกลดลง และประเทศผู้น�ำเข้า ได้แก่
ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ มีการน�ำเข้าลดลง
(3) ราคา
ปี 2559/60 คาดว่าราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก มีแนวโน้มลดลง
จากปี 2558/59 เนื่องจากคาดการณ์ว่าผลผลิตโลกเพิ่มขึ้นในสัดส่วนที่มากกว่าความต้องการใช้ ประกอบกับภาวะ
ราคาในตลาดโลกมีแนวโน้มลดลง
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2559/60 คาดว่าเนือ้ ทีเ่ พาะปลูกมี 7.03 ล้านไร่ ลดลงจาก 7.15 ล้านไร่ ในปี 2558/59 ร้อยละ
1.68 เนื่องจากฝนมาล่าช้าเกษตรกรจึงปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกมันส�ำปะหลังและอ้อยโรงงาน ซึ่งทนแล้งและ
ดูแลรักษาง่าย ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 644 กิโลกรัม ในปี 2558/59 เป็น 656 กิโลกรัม ในปี 2559/60
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.86 ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตรวมเพิ่มขึ้นจาก 4.61 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 4.62
ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.22
2.2.2 การตลาด​
(1) ความต้องการใช้
ปี 2559/60 คาดว่าความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มีปริมาณ 5.85 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก
5.72 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 2.27 เนื่องจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ ท�ำให้
ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์เพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
ปี 2559/60 คาดว่าการส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2558/59 เนื่องจากปริมาณผลผลิต
ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ลดลงจากผลกระทบของภัยแล้ง ขณะทีค่ วามต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์มเี พิม่ ขึน้
โดยตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ คือ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม
(3) การน�ำเข้า
ปี 2559/60 คาดว่าการน�ำเข้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี 2558/59 เนื่องจากปริมาณผลผลิต
ภายในประเทศมีไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ ประกอบกับรัฐบาลมีนโยบายผลักดันการน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ภายใต้เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
(4) ราคา
ปี 2559/60 คาดว่าราคาจะมีแนวโน้มสูงกว่าปี 2558/59 เนื่องจากรัฐบาลมีมาตรการในการ
ควบคุมการน�ำเข้าข้าวสาลี เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
8 พฤศจิกายน 2559 โดยก�ำหนดให้ข้าวสาลีตามพิกัดอัตราศุลกากร ประเภทย่อย 1001.99.90 เป็นสินค้าที่ต้อง
ขออนุญาตและต้องปฏิบัติตามมาตรการจัดระเบียบในการน�ำเข้ามาในราชอาณาจักร พร้อมทั้งก�ำหนดสัดส่วน
การน�ำเข้าข้าวสาลี ต่อการรับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ ในอัตราส่วน 1 : 3 (น�ำเข้าข้าวสาลี 100 ตัน
รับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในประเทศ 300 ตัน) โดยก�ำหนดให้ผู้น�ำเข้าข้าวสาลีน�ำเข้ามาเพื่อใช้ในการผลิต
อาหารสัตว์เท่านั้น
28
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต การตลาด และการส่งออก


2.3.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต และการตลาด
(1) พื้นที่ปลูกไม่เหมาะสม พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ประมาณร้อยละ 43 อยู่ในพื้นที่ป่า
และประมาณร้อยละ 26 อยู่ในเขตไม่เหมาะสมและเหมาะสมน้อย ส่งผลท�ำให้ปริมาณผลผลิตต่อไร่อยู่ในเกณฑ์ต�่ำ
ปัจจุบันภาครัฐมีนโยบายทวงคืนพื้นที่ป่า อาจส่งผลให้การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ป่ามีแนวโน้มลดลง
ดังนั้นหากไม่มีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตหรือส่งเสริมการปลูกในพื้นที่ที่เหมาะสมอื่น ๆ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
อาจมีความขาดแคลนเพิ่มขึ้น ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ของไทย
(2) ปั ญ หาภั ย ธรรมชาติ พื้ น ที่ ป ลู ก ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ม ากกว่ า ร้ อ ยละ 90 ของพื้ น ที่ ป ลู ก
ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ทงั้ ประเทศ อยูน่ อกเขตชลประทานและอาศัยน�ำ้ ฝนในการเพาะปลูกเพียงอย่างเดียว การเกิดปัญหา
ภัยแล้งและภาวะฝนทิ้งช่วง อาจส่งผลต่อปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
(3) ความต้องการใช้ของอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ปริมาณผลผลิตมากกว่าร้อยละ 90 ของผลผลิต
ทั้งหมด ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์เป็นหลัก การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของความต้องการใช้จะส่งผลต่อราคา
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภายในประเทศ
(4) การน�ำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน อาจส่งผลกระทบต่อราคาภายในประเทศโดยเฉพาะช่วงที่
ผลผลิตภายในประเทศออกสู่ตลาดมากในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม
(5) การน�ำเข้าพืชทดแทน การน�ำข้าวสาลีราคาถูกมาใช้ทดแทนข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บางส่วนใน
อุตสาหกรรมอาหารสัตว์ อาจส่งผลกระทบต่อราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรขายได้
2.3.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก ได้แก่ ปริมาณผลผลิตภายในประเทศ ความต้องการใช้ และ
ราคาผลผลิตภายในประเทศ
ตารางที่ 1 บัญชีสมดุลข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2554/55 – 2559/60
หน่วย: ล้านตัน
สต็อก ปริมาณการค้า สต็อก
ปี ผลผลิต การใช้
ต้นปี น�ำเข้า ส่งออก ปลายปี
2554/55 127.64 889.78 103.71 103.71 885.04 128.33
2554/56 128.33 869.64 100.55 100.55 864.57 133.15
2554/57 133.15 990.38 130.43 130.43 948.76 174.77
2554/58 174.77 1,014.02 128.03 128.03 980.76 208.03
2554/59 208.03 959.89 143.93 143.93 958.52 209.40
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 13.72 3.10 9.38 9.38 2.90 15.32
2559/60* 209.40 1,030.53 139.71 139.71 1,021.74 218.19
ผลต่าง 2558/59 และ
0.66 7.36 -2.93 -2.93 6.60 4.20
2559/60 (ร้อยละ)
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Grain, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016
29
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
2558/59 อัตราเพิ่ม 2559/60 ผลต่าง
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) - (1)
(1) (ร้อยละ) (2) (ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 312.79 273.19 351.27 361.09 345.49 4.89 386.75 11.94
จีน 192.78 205.61 218.49 215.65 224.63 3.60 216.00 -3.84
บราซิล 73.00 81.50 80.00 85.00 67.00 -1.29 83.50 24.63
สหภาพยุโรป 68.32 59.14 64.93 75.84 58.48 -0.62 60.28 3.07
อาร์เจนตินา 21.00 27.00 26.00 28.70 29.00 7.32 36.50 25.86
ยูเครน 22.84 20.92 30.90 28.45 23.33 3.56 27.00 15.72
อินเดีย 21.76 22.26 24.26 24.17 21.80 0.87 24.50 12.39
เม็กซิโก 18.73 21.59 22.88 25.48 25.80 8.40 24.50 -5.04
อื่น ๆ 158.57 158.42 171.65 169.64 164.36 1.41 171.50 4.34
รวม 889.78 869.64 990.38 1,014.02 959.89 3.10 1,030.53 7.36
ที่มา: Grain, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 3 ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
2558/59 อัตราเพิ่ม 2559/60 ผลต่าง
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) - (1)
(1) (ร้อยละ) (2) (ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 277.96 262.97 292.96 301.79 298.83 2.87 314.59 5.27
จีน 188.00 200.00 208.00 202.00 217.50 3.06 226.00 3.91
สหภาพยุโรป 69.69 69.85 76.80 77.88 72.71 1.96 73.80 1.50
บราซิล 51.50 52.50 55.00 57.00 55.30 2.27 58.00 4.88
เม็กซิโก 29.00 27.00 31.70 34.45 36.90 7.52 37.50 1.63
อินเดีย 17.20 17.50 19.60 22.30 22.65 8.25 23.30 2.87
ญี่ปุ่น 14.95 14.30 15.00 14.60 15.20 0.54 15.10 -0.66
อื่น ๆ 236.73 220.45 249.71 270.74 239.43 2.31 273.45 14.21
รวม 885.04 864.57 948.76 980.76 958.52 2.90 1,021.74 6.60
ที่มา: Grain, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

30
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

ตารางที่ 4 ปริมาณการส่งออกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
2558/59 อัตราเพิ่ม 2559/60 ผลต่าง
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) - (1)
(1) (ร้อยละ) (2) (ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 38.34 18.26 50.69 46.83 51.20 16.42 56.50 10.35
อาร์เจนตินา 16.50 22.79 12.85 18.45 21.67 3.39 25.50 17.67
บราซิล 12.67 26.04 22.04 21.91 35.38 20.69 21.00 -40.65
ยูเครน 15.21 12.73 20.00 19.66 16.50 6.16 18.00 9.09
รัสเซีย 2.03 1.92 4.19 3.21 4.40 22.96 4.70 6.82
อื่น ๆ 18.96 18.81 20.65 17.97 14.78 -5.30 14.01 -5.20
รวม 103.71 100.55 130.43 128.03 143.93 9.38 139.71 -2.93
ที่มา: Grain, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 5 ปริมาณการน�ำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
2558/59 อัตราเพิ่ม 2559/60 ผลต่าง
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 (2) - (1)
(1) (ร้อยละ) (2) (ร้อยละ)
ญี่ปุ่น 14.89 14.41 15.12 14.66 15.20 0.59 15.00 -1.32
เม็กซิโก 11.09 5.68 10.95 11.27 13.80 11.89 13.80 -
สหภาพยุโรป 6.11 11.36 16.01 8.65 13.40 13.84 13.50 0.75
เกาหลีใต้ 7.64 8.17 10.41 10.17 10.12 8.13 9.80 -3.16
อียิปต์ 7.15 5.06 8.73 7.84 8.60 8.41 8.75 1.74
อื่น ๆ 56.84 55.86 69.21 75.45 82.81 11.11 78.86 -4.77
รวม 103.71 100.55 130.43 128.03 143.93 9.38 139.71 -2.93
ที่มา: Grain, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 6 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อเมริกันชั้น 2 ตลาดชิคาโก ปี 2554/55 – 2558/59


ปี ราคาตลาดชิคาโก (บาท/ตัน)
2554/55 8,060
2555/56 8,933
2556/57 6,451
2557/58 4,925
2558/59 5,313
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -13.32
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
31
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 7 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2554/55 – 2559/60


ปี เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)
2554/55 7.40 4.97 672
2555/56 7.53 4.95 657
2556/57 7.43 4.88 657
2557/58 7.23 4.73 654
2558/59 7.15 4.61 644
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -1.09 -1.94 -0.89
2559/60* 7.03 4.62 656
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 8 การใช้ในประเทศ การส่งออก และการน�ำเข้าของไทย ปี 2554/55 – 2559/60


การส่งออก2/ การน�ำเข้า2/
ปี การใช้ในประเทศ1/
(ล้านตัน) ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
(ล้านตัน) (ล้านบาท) (ล้านตัน) (ล้านบาท)
2554/55 4.36 0.32 2.95 0.21 0.74
2555/56 4.67 0.04 0.39 0.10 0.41
2556/57 4.72 0.99 7.49 0.14 0.57
2557/58 5.04 0.25 2.22 0.15 0.70
2558/59 5.72 0.22 1.88 0.14 0.69
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 6.39 11.44 8.74 -3.97 4.03
2559/60* 5.85 0.40 - 0.20 -
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2/ กรมศุลกากร

ตารางที่ 9 ราคาเกษตรกรขายได้ ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ และส่งออก เอฟ.โอ.บี. ปี 2554/55 – 2558/59


ขายส่งในตลาดกรุงเทพ ส่งออก
ปี เกษตรกรขายได้ เอฟ.โอ.บี.
(บาท/กก.) โรงงานอาหารสัตว์รับซื้อ ไซโลรับซื้อ
(บาท/กก.) (บาท/กก.) (บาท/ตัน)
2554/55 7.63 9.66 8.58 10,053
2555/56 9.34 10.39 8.35 10,679
2556/57 7.01 8.70 7.57 8,941
2557/58 7.31 9.39 8.51 9,675
2558/59 7.73 9.02 8.28 9,437
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -2.17 -2.35 -0.52 -2.23
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
32
3
มันส�ำปะหลัง
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2555-2559 ผลผลิตของโลกขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.88 ต่อปี เนื่องจากประเทศผู้ผลิต
มันส�ำปะหลังได้ขยายการผลิตเพิ่มขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความมั่นคงอาหาร ความมั่นคงพลังงาน และ
ความเป็นอยู่ที่ดีของเกษตรกร ประกอบกับการส่งออกผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังขยายตัวเพิ่มขึ้น โดยพื้นที่ปลูก
มันส�ำปะหลังส่วนใหญ่อยู่ในทวีปแอฟริกา ร้อยละ 54.44 รองลงมาคือ เอเชีย ร้อยละ 34.52 ละตินอเมริกา
ร้อยละ 10.94 และโอเชียเนีย ร้อยละ 0.10 ตามล�ำดับ ทั้งนี้ในทวีปแอฟริกา มันส�ำปะหลังเป็นพืชอาหารหลัก
ที่ส�ำคัญต่อความมั่นคงด้านอาหาร และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของคนชนบท ส�ำหรับทวีปเอเชีย มีความต้องการใช้
มันส�ำปะหลังในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์ เอทานอล อาหาร และอาหารสัตว์
เป็นต้น โดยประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเอเชียใต้ มันส�ำปะหลังมีความส�ำคัญต่อความมั่นคงด้านอาหาร
ปี 2559 โลกมีผลผลิตมันส�ำปะหลัง 288.43 ล้านตัน เมือ่ เทียบกับปี 2558 ทีม่ ผี ลผลิต 281.05 ล้านตัน
พบว่า ผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.62 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออ�ำนวยท�ำให้ต้นมันส�ำปะหลังเจริญเติบโตได้ดี
และเพื่อตอบสนองต่อความต้องการใช้มันส�ำปะหลังที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยทวีปเอเชียและแอฟริกา ผลผลิต
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.31 และร้อยละ 2.35 ตามล�ำดับ ส�ำหรับทวีปโอเชียเนีย ผลผลิตใกล้เคียงเดิม ส่วนทวีปละติน
อเมริกา ผลผลิตลดลงร้อยละ 1.06 เนื่องจากบราซิลซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ลดการผลิตลงเล็กน้อย เนื่องจากราคา
มันส�ำปะหลังตกต�่ำในช่วงต้นฤดูกาลผลิต ทั้งนี้ผู้ผลิตรายใหญ่ 5 อันดับแรก คือ ไนจีเรีย ไทย อินโดนีเซีย บราซิล
และกานา ตามล�ำดับ
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ประเทศผูผ้ ลิตทีส่ ำ� คัญทัง้ ในทวีปแอฟริกา เอเชีย และละตินอเมริกา ส่วนใหญ่มคี วามต้องการใช้
มันส�ำปะหลังเพื่อบริโภคภายในประเทศเป็นหลัก โดยอยู่ในรูปหัวมันสดและในรูปผลิตภัณฑ์ ยกเว้นประเทศไทย
เวียดนาม และกัมพูชา ที่มีการใช้ในประเทศประมาณร้อยละ 25 ของผลผลิตที่ผลิตได้ ที่เหลือเป็นการส่งออก
ปี 2559 ความต้องการใช้มันส�ำปะหลังเพิ่มขึ้นจากปี 2558 โดยเฉพาะความต้องการใช้เพื่อ
แปรรูปเป็นอาหาร ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในทวีปแอฟริกา ละตินอเมริกา โดยเฉพาะประเทศบราซิล ได้มีมาตรการให้
ผสมแป้งมันส�ำปะหลังในแป้งสาลี ส�ำหรับทวีปเอเชีย โดยเฉพาะประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ มีการ
บริโภคมันส�ำปะหลังอย่างแพร่หลาย ส�ำหรับความต้องการใช้มันส�ำปะหลังเพื่อเป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล
ลดลง โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องจากราคาน�้ำมันเบนซินที่ลดลง ท�ำให้
น�้ำมันเบนซินที่ผสมเอทานอลไม่ได้เปรียบในการแข่งขัน นอกจากนี้ยังมีการแข่งขันของวัตถุดิบในการผลิต
เอทานอลที่รุนแรง เช่น ประเทศจีน ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ลดลงส่งผลให้ความต้องการใช้ส�ำปะหลังเพื่อเป็น
วัตถุดิบในการผลิตเอทานอลลดลง ส�ำหรับประเทศเวียดนาม ราคามันส�ำปะหลังที่สูงขึ้นส่งผลให้โรงงานผลิต
เอทานอลจากมันส�ำปะหลังปิดตัวลง ถึงแม้วา่ รัฐบาลจะมีขอ้ บังคับให้ผสมเอทานอลร้อยละ 5 ในน�ำ้ มันเบนซินก็ตาม

33
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ส�ำหรับประเทศไทยการใช้มันส�ำปะหลังเป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอลใกล้เคียงเดิม ส�ำหรับความต้องการใช้
มันส�ำปะหลังเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์มีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะในประเทศบราซิลที่ความต้องการใช้ลดลง
เนื่องจากมีการแข่งขันกับวัตถุดิบอาหารสัตว์อื่น ๆ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ส�ำหรับประเทศไทย ผู้ผลิตอาหารสัตว์
ยังคงมีความต้องการใช้มันส�ำปะหลังเพื่อเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์
(2) การส่งออก
ปี 2554-2558 มูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังของโลก (มันเส้น มันอัดเม็ด และ
แป้งมันส�ำปะหลัง) ขยายตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.75 ต่อปี เนือ่ งจากตลาดโลกมีความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มนั ส�ำปะหลัง
โดยเฉพาะความต้องการใช้มันเส้นและแป้งมันส�ำปะหลังของจีนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุจากผลิตภัณฑ์
มันส�ำปะหลังสามารถใช้ในอุตสาหกรรมต่อเนื่องได้หลากหลาย ประกอบกับราคาผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลัง
มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
ปี 2558 โลกมีมูลค่าการส่ง ออกผลิตภัณ ฑ์มันส�ำปะหลัง 3,637 ล้านดอลลาร์ส หรัฐ
เมื่อเทียบกับปี 2557 ที่มีมูลค่าการส่งออก 4,177 ล้านดอลลาร์สหรัฐ พบว่า มูลค่าการส่งออกลดลงร้อยละ 12.91
ทั้งนี้ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ คือ ไทย มีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ 75 รองลงมาคือ เวียดนาม และคอสตาริกา
มีส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ 19 และร้อยละ 2 ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555-2559 เนื้อที่เก็บเกี่ยวและผลผลิต ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.29 และร้อยละ 1.61 ต่อปี
ตามล�ำดับ เนื่องจากราคามันส�ำปะหลังอยูใ่ นเกณฑ์ดี ยกเว้นปี 2559 ทีร่ าคามันส�ำปะหลังปรับตัวลดลง เนือ่ งจากจีน
ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าหลักของไทยลดการน�ำเข้ามันเส้น นอกจากนี้ภาครัฐได้ด�ำเนินมาตรการและโครงการต่าง ๆ
เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลังอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูก รวมถึงเกษตรกรมีการ
ดูแลรักษาดีขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้น ส่วนผลผลิตต่อไร่ลดลงร้อยละ 0.13 ต่อปี เนื่องจากในปี 2559
เกิดภาวะภัยแล้งส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ลดลงมาก
ปี 2559 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.92 ล้านไร่ ผลผลิต 30.56 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.43 ตัน
เทียบกับเนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.96 ล้านไร่ ผลผลิต 32.36 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.61 ตัน ในปี 2558 พบว่า เนื้อที่
เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงร้อยละ 0.46 ร้อยละ 5.56 และร้อยละ 5.12 ตามล�ำดับ โดยเนื้อที่
เก็บเกี่ยวลดลง เนื่องจากเกษตรกรประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน ท�ำให้บางพื้นที่มันส�ำปะหลัง
ยืนต้นตาย และบางพื้นที่ขาดแคลนต้นพันธุ์เพื่อปลูกซ่อมจึงปลูกพืชอื่นทดแทน ส่วนผลผลิตต่อไร่ลดลง เนื่องจาก
ปัญหาภัยแล้ง รวมถึงบางพื้นที่เกิดปัญหาโคนเน่าหัวเน่า ส่งผลให้ผลผลิตลดลงด้วย
1.2.2 การตลาด
ผลผลิ ต มั น ส� ำ ปะหลั ง เข้ า สู ่ ก ระบวนการแปรรู ป ทั้ ง หมด โดยแปรรู ป เป็ น มั น เส้ น มั น อั ด เม็ ด
แป้ ง มั น ส� ำ ปะหลั ง และเอทานอล เพื่ อ ใช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ ง เช่ น อาหาร อาหารสั ต ว์
สารความหวาน ผงชูรส กระดาษ สิ่งทอ เป็นต้น โดยความต้องการใช้ภายในประเทศในแต่ละปีประมาณร้อยละ
20-25 ที่เหลือร้อยละ 75-80 เป็นการส่งออก

34
มันสำ�ปะหลัง

(1) ความต้องการใช้ในประเทศ
ปี 2555–2559 ความต้องการใช้มันส�ำปะหลังในประเทศมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปี
โดยเฉพาะความต้องการใช้เพื่อผลิตเอทานอลที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาก ส�ำหรับความต้องการใช้เพื่อผลิต
แป้งมันส�ำปะหลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนความต้องการใช้เพื่อผลิตมันเส้นเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์
มีแนวโน้มลดลง โดยลดลงมากตั้งแต่ปี 2558 เนื่องจากผู้ประกอบการอาหารสัตว์หันไปใช้กากมันส�ำปะหลังหรือ
พืชทดแทนอื่น ๆ เช่น ข้าวสาลี เนื่องจากราคาต�่ำกว่ามันเส้น
ปี 2559 คาดว่ า ความต้ อ งการใช้ มั น ส� ำ ปะหลั ง ในประเทศใกล้ เ คี ย งกั บ ปี 2558 โดย
ความต้องการใช้เพื่อผลิตแป้งมันส�ำปะหลังเพิ่มขึ้น เนื่องจากแป้งมันส�ำปะหลังใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรม
ต่อเนื่องได้หลากหลาย ส�ำหรับความต้องการใช้เพือ่ ผลิตมันเส้นใกล้เคียงกับปี 2558 โดยผูป้ ระกอบการอาหารสัตว์
มีการน�ำเข้าข้าวสาลีมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์เพิม่ มากขึน้ ส่วนความต้องการใช้เพือ่ ผลิตเอทานอลใกล้เคียงกับ
ปี 2558 ปัจจุบันมีโรงงานที่ใช้เฉพาะมันส�ำปะหลังเป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล 7 แห่ง
(2) การส่งออก
ปี 2555-2559 การส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ มั น ส� ำ ปะหลั ง ได้ แ ก่ มั น เส้ น มั น อั ด เม็ ด และ
แป้งมันส�ำปะหลัง มีปริมาณและมูลค่าการส่งออกขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.80 และร้อยละ 5.41 ต่อปี ตามล�ำดับ
โดยการส่งออกมันเส้นและแป้งมันส�ำปะหลังมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส่วนการส่งออกมันอัดเม็ดมีแนวโน้มลดลง
เนือ่ งจากอดีตไทยส่งออกมันอัดเม็ดไปสหภาพยุโรปเป็นหลัก แต่ปจั จุบนั ราคามันอัดเม็ดของไทยไม่สามารถแข่งขัน
กับธัญพืชของสหภาพยุโรปได้ ส่งผลให้การส่งออกมันอัดเม็ดลดลงมาก ผูป้ ระกอบการไทยจึงหันไปหาตลาดใหม่ ๆ
ทดแทน เช่น ญี่ปุ่น เป็นต้น
ปี 2559 คาดว่ามีปริมาณการส่งออก 10.27 ล้านตัน มูลค่า 98,830 ล้านบาท เมื่อเทียบกับ
ปี 2558 ที่มีปริมาณการส่งออก 11.13 ล้านตัน มูลค่า 114,774 ล้านบาท พบว่า ปริมาณและมูลค่าการส่งออก
ลดลงร้อยละ 7.70 และร้อยละ 13.89 ตามล�ำดับ เนือ่ งจากประเทศคูค่ า้ หลัก คือ จีน ลดการน�ำเข้ามันเส้นจากไทย
สาเหตุจากรัฐบาลจีนระบายสต็อกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ระบายสต็อกมีราคาต�่ำ ผู้ประกอบการ
แอลกอฮอล์จึงหันไปใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัตถุดิบในการผลิตมากขึ้น ส�ำหรับการส่งออกแป้งมันส�ำปะหลัง
มีการใช้ในอุตสาหกรรมที่หลากหลายมากขึ้นท�ำให้ความต้องการใช้ขยายตัว ปัจจุบันจีนยังคงเป็นประเทศผู้น�ำเข้า
ผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังรายใหญ่ที่สุดของไทย เนื่องจากมีความต้องการใช้มันเส้นเพื่อน�ำไปผลิตแอลกอฮอล์
และแป้งมันส�ำปะหลังเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งทอ
ตลาดหลักที่ส�ำคัญของผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย มันเส้น ได้แก่ จีน
มันอัดเม็ด ได้แก่ ญี่ปุ่น อเมริกา และเนเธอร์แลนด์ แป้งมันส�ำปะหลัง ได้แก่ จีน อินโดนีเซีย ไต้หวัน มาเลเซีย
และญี่ปุ่น แป้งมันส�ำปะหลังดัดแปร ได้แก่ ญี่ปุ่น จีน อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้
(3) ราคา
ปี 2555-2559 ราคามันส�ำปะหลังที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา ราคาส่งออกมันเส้น และราคา
ส่งออกแป้งมันส�ำปะหลัง ลดลงร้อยละ 4.89 ร้อยละ 2.64 และร้อยละ 2.16 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากในปี
2554-2558 ประเทศคู่ค้ามีความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังของไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคา
ที่เกษตรกรขายได้ และราคาส่งออกผลิตภัณฑ์มนั ส�ำปะหลังอยู่ในเกณฑ์ดี แต่ในปี 2559 ประเทศคู่ค้าหลัก คือ จีน
35
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ลดการน�ำเข้ามันเส้นจากไทย ส่งผลให้ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ และราคาส่งออกผลิตภัณฑ์มนั ส�ำปะหลังลดต�ำ่ ลงมาก


นอกจากนีร้ าคามันส�ำปะหลังและผลิตภัณฑ์ยงั ขึน้ อยูก่ บั ราคาสินค้าพืชทดแทน เช่น ข้าวสาลี และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
เป็นต้น ส่วนราคาส่งออกมันอัดเม็ด ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.62 ต่อปี
ปี 2559 คาดว่าราคามันส�ำปะหลังที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.60 บาท ราคาส่งออก
มันเส้นเฉลี่ยกิโลกรัมละ 6.15 บาท ราคาส่งออกมันอัดเม็ดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.70 บาท และราคาส่งออก
แป้งมันส�ำปะหลังเฉลี่ยกิโลกรัมละ 12.45 บาท เมื่อเทียบกับปี 2558 พบว่า ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก
มันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันส�ำปะหลัง ลดลงร้อยละ 24.88 ร้อยละ 15.06 ร้อยละ 5.29 และร้อยละ 12.26
ตามล�ำดับ เนื่องจากประเทศคู่ค้าหลัก คือ จีน ลดการน�ำเข้ามันเส้นจากไทย สาเหตุจากรัฐบาลจีนระบายสต็อก
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ผู้ประกอบการจึงหันไปใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อผลิตแอลกอฮอล์มากขึ้น ส่งผลให้ราคาส่งออก
มันเส้นของไทยลดต�่ำลงมาก รวมถึงราคาส่งออกแป้งมันส�ำปะหลังมีแนวโน้มลดต�่ำลงมากเช่นกัน เมื่อราคาส่งออก
ผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังลดต�่ำลงมาก จึงส่งผลกระทบท�ำให้ราคาที่เกษตรกรขายได้ลดต�่ำลงมากเช่นเดียวกัน
2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของไทย
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่ามีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.64 ล้านไร่ ผลผลิต 31.19 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.61 ตัน
เมื่อเทียบกับปี 2559 ที่มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.92 ล้านไร่ ผลผลิต 30.56 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 3.43 ตัน พบว่า
พื้นที่เก็บเกี่ยวลดลงร้อยละ 3.16 เนื่องจากเกษตรกรปรับเปลีย่ นไปปลูกพืชอืน่ ทดแทน เช่น อ้อยโรงงาน ประกอบกับ
ราคามันส�ำปะหลังปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.06 และร้อยละ
5.40 ตามล�ำดับ เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเอื้ออ�ำนวยท�ำให้ต้นมันส�ำปะหลังเจริญเติบโตดี จึงส่งผลให้ผลผลิต
โดยรวมเพิ่มขึ้นด้วย
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้ในประเทศ
ปี 2560 คาดว่าความต้องการใช้ในประเทศจะเพิ่มขึ้นจากปี 2559 โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ความต้องการใช้มนั ส�ำปะหลังเพือ่ เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตเอทานอล ส่วนความต้องการใช้เพือ่ ผลิตแป้งมันส�ำปะหลัง
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ส่วนความต้องการใช้เพื่อผลิตเป็นมันเส้นใกล้เคียงเดิม
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่ง ออกผลิตภัณ ฑ์มันส�ำปะหลังจะเพิ่มขึ้นจากปี 2559 เนื่องจาก
ประเทศคู่ค้ายังคงมีความต้องการผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลัง ทั้งในรูปของมันเส้นและแป้งมันส�ำปะหลังอย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะประเทศจีนซึ่งเป็นประเทศผู้น�ำเข้าหลักของไทย

36
มันสำ�ปะหลัง

(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคามันส�ำปะหลังที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา ราคาส่งออกมันเส้น และราคา
ส่งออกแป้งมันส�ำปะหลัง จะเพิ่มขึ้นจากปี 2559 อย่างไรก็ตามหากประเทศจีน ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าหลักของไทย
มีมาตรการระบายข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในสต็อกของรัฐบาล หรือลดการน�ำเข้ามันเส้นจากไทย รวมถึงผลผลิต
มันส�ำปะหลังของประเทศเพือ่ นบ้าน โดยเฉพาะกัมพูชา เวียดนาม และลาว มีปริมาณเพิม่ ขึน้ หรือราคาพืชทดแทน
เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปรับตัวลดลง จะส่งผลกระทบต่อราคามันส�ำปะหลังและผลิตภัณฑ์ของไทยเป็นอย่างมาก
2.2 แนวทางการบริหารจัดการมันส�ำปะหลัง ปี 2559/60
เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลัง รัฐบาลได้มีมาตรการช่วยเหลือ
เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อลดต้นทุนการผลิต สนับสนุนการแปรรูป
และให้เกษตรกรมีรายได้เพื่อใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2559 และ
4 ตุลาคม 2559 เห็นชอบแนวทางการบริหารจัดการมันส�ำปะหลัง ปี 2559/60 จ�ำนวน 6 โครงการ ดังนี้
2.2.1 โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลัง ปี 2559/60 เพื่อช่วยลดภาระดอกเบี้ย
แก่เกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลัง
2.2.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกมันส�ำปะหลังในระบบน�้ำหยด ปี 2559/60 เพื่อสนับสนุน
เงินทุนในการเพาะปลูกมันส�ำปะหลังในระบบน�้ำหยด
2.2.3 โครงการสินเชื่อเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตและการแปรรูปมันส�ำปะหลัง ปี 2559/60
เพื่ อ สนั บ สนุ น สิ น เชื่ อ แก่ เ กษตรกรและสถาบั น เกษตรกร ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและยกระดั บ มาตรฐาน
ในการผลิต รวบรวม แปรรูป และจัดเก็บมันเส้น/แป้งมันคุณภาพ
2.2.4 โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมมันส�ำปะหลังและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร ปี 2559/60
เพื่ อ สนั บ สนุ น สิ น เชื่ อ ให้ กั บ สถาบั น เกษตรกรในการรวบรวมหรื อ รั บ ซื้ อ หั ว มั น สดและมั น เส้ น จากเกษตรกร
และ/หรือแปรรูป
2.2.5 โครงการพักช�ำระหนี้ต้นเงินและลดดอกเบี้ยให้เกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลัง เพื่อบรรเทาภาระ
หนี้สินและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพของเกษตรกร
2.2.6 โครงการสินเชื่อเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายฉุกเฉินส�ำหรับเกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลัง เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย
ฉุกเฉินที่จ�ำเป็นในครัวเรือนและลดปัญหาการก่อหนี้นอกระบบ

37
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 1 เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของโลก ปี 2555-2559


อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558** 2559** (ร้อยละ)
เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) 146.94 149.62 151.41 n.a. n.a. -
ผลผลิต (ล้านตัน) 258.54 263.44 270.28 281.05 288.43 2.88
ผลผลิตต่อไร่ (กก./ไร่) 1,759 1,761 1,785 n.a. n.a. -
หมายเหตุ: ** FAO Forecast
ที่มา: Food and Agriculture Organization of The United Nations (FAO), October 2016

ตารางที่ 2 ประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญของโลก 5 อันดับแรก ปี 2555-2558


2556 2557 2558* 2559**
ประเทศ พืน้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ พืน้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิต ผลผลิต
(ล้านไร่) (ล้านตัน) (กก./ไร่) (ล้านไร่) (ล้านตัน) (กก./ไร่) (ล้านตัน) (ล้านตัน)
ไนจีเรีย 42.13 47.41 1,125 44.39 54.83 1,235 57.00 57.86
ไทย1/ 8.66 30.23 3,492 8.43 30.02 3,561 32.36 30.56
อินโดนีเซีย 6.66 23.94 3,594 6.27 23.44 3,738 22.91 26.75
บราซิล 9.54 21.48 2,253 9.80 23.24 2,372 22.78 22.41
กานา 5.47 15.99 2,923 5.56 16.52 2,974 17.21 17.96
โลก 149.62 263.44 1,761 151.41 270.28 1,785 281.05 288.43
หมายเหตุ: * FAO Estimate ** FAO Forecast
ที่มา: Food and Agriculture Organization of The United Nations (FAO), October 2016
1/
ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

38
มันสำ�ปะหลัง

ตารางที่ 3 มูลค่าส่งออกผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลังของโลก ปี 2554-2558


หน่วย: ล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเพิ่ม
ประเทศผู้ส่งออก 2555 2556 2557 2558** 2559** (ร้อยละ)
ไทย 1,900.88 2,078.41 2,456.78 2,790.43 2,729.41 10.72
เวียดนาม 938.97 1,347.78 1,093.91 1,131.46 676.15 -7.98
คอสตาริกา 64.40 60.57 65.30 70.38 71.25 3.58
กัมพูชา 5.25 11.59 14.55 24.63 40.25 62.05
สปป.ลาว 2.50 13.58 24.80 34.38 34.04 84.97
อื่น ๆ 187.04 105.14 165.47 125.26 85.89 -12.90
โลก 3,099.05 3,617.08 3,820.82 4,176.55 3,637.00 4.75
หมายเหตุ: ผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลัง คือ มันเส้น มันอัดเม็ด และแป้งมันส�ำปะหลัง
ที่มา: International Trade Centre, ตุลาคม 2559

ตารางที่ 4 เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2555-2560


อัตราเพิ่ม 2560*
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559 (ร้อยละ)
เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ล้านไร่) 8.513 8.657 8.431 8.961 8.920 1.29 8.638
ผลผลิต (ล้านตัน) 29.848 30.228 30.022 32.358 30.558 1.16 31.187
ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม) 3,506 3,492 3,561 3,611 3,426 -0.13 3,611
หมายเหตุ: * ประมาณการ ณ ตุลาคม 2559
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

39
ตารางที่ 5 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกมันส�ำปะหลังและผลิตภัณฑ์ ปี 2555-2559
ปริมาณ: ล้านตัน
มูลค่า: ล้านบาท
แป้งมันส�ำปะหลัง
มันเส้น มันอัดเม็ด รวมผลิตภัณฑ์
ปี แป้งดิบ แป้งดัดแปร
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
2555 4.612 33,239 0.084 577 2.236 30,796 0.846 18,930 7.778 83,542
2556 5.755 39,515 0.059 416 2.446 34,880 0.897 20,038 9.157 94,849
2557 6.777 48,873 0.023 157 3.012 41,053 0.947 21,633 10.759 111,716
2558 7.260 51,869 0.039 294 2.923 41,167 0.905 21,447 11.127 114,774
2559* 6.100 37,500 0.020 130 3.200 39,700 0.950 21,500 10.270 98,830
อัตราเพิม่ 8.24 5.27 -27.99 -28.31 9.36 6.97 2.44 3.28 7.80 5.41
(ร้อยละ)
หมายเหตุ: * ประมาณการ ณ ตุลาคม 2559
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 6 ราคาผลิตภัณฑ์มันส�ำปะหลัง ปี 2555-2559 หน่วย: บาท/กก.


อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* (ร้อยละ)
ราคาหัวมันสดที่เกษตรกรขายได้ 1/ 2.07 2.10 2.18 2.13 1.60 -4.89
ราคาส่งออกมันเส้น 2/ 7.20 6.90 7.19 7.24 6.15 -2.64
ราคาส่งออกมันอัดเม็ด 2/ 7.04 7.51 7.53 8.13 7.70 2.62
ราคาส่งออกแป้งมันส�ำปะหลัง 2/ 13.85 14.26 13.67 14.19 12.45 -2.16
หมายเหตุ: * ประมาณการ ณ ตุลาคม 2559
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
กรมศุลกากร

40
กลุ่มพืชพลังงานทดแทน

4 ถั่วเหลือง

5 อ้อยโรงงาน

6 ปาล์มน้ำ�มัน

41
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
4
ถั่วเหลือง
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2554/55 - 2558/59 ผลผลิตถั่วเหลืองของโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.27 ต่อปี โดยในปี 2558/59
มีผลผลิตรวม 313.20 ล้านตัน ลดลงจาก 319.78 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 2.06 ประเทศผู้ผลิตส�ำคัญ
3 ล�ำดับแรก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล และอาร์เจนตินา ปริมาณผลิตรวม 263.88 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ
83.06 ของผลผลิตโลก
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2554/55 - 2558/59 ความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อสกัดน�้ำมันเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.24
ต่อปี ในปี 2558/59 มีปริมาณ 276.18 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 263.24 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 4.92 ประเทศ
ที่มีความต้องการใช้มากที่สุด คือ จีน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา โดยทั้ง 2 ประเทศ มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับปี 2557/58 ส�ำหรับสต็อกสิ้นปี 2554/55 - 2558/59 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.79 ต่อปี อย่างไรก็ตาม
ในปี 2558/59 มีปริมาณ 77.07 ล้านตัน ลดลงจาก 78.60 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 1.95
(2) การส่งออก
ปี 2554/55 - 2558/59 การส่งออกเมล็ดถัว่ เหลืองโลกเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.98 ต่อปี ในปี 2558/59
มีการส่งออก 132.14 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 126.22 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 4.69 ประเทศส่งออกส�ำคัญ
อยู่ในทวีปอเมริกาเหนือและใต้ ได้แก่ บราซิล สหรัฐอเมริกา และอาร์เจนตินา โดยทั้ง 3 ประเทศ มีปริมาณ
ส่งออกรวม 116.99 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 88.53 ของปริมาณส่งออกโลก
(3) การน�ำเข้า
ปี 2554/55 - 2558/59 การน�ำเข้าเมล็ดถัว่ เหลืองโลกเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9.94 ต่อปี ในปี 2558/59
มีปริมาณการน�ำเข้า 132.96 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 123.87 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 7.34 โดยจีนมี
การน�ำเข้ามากทีส่ ดุ เท่ากับ 83.23 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 62.60 ของปริมาณน�ำเข้าโลก เนือ่ งจากผลิตได้ไม่เพียงพอ
กับความต้องการใช้ภายในประเทศ ส�ำหรับประเทศไทยน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองเป็นอันดับ 6 ของโลก ปี 2558/59
น�ำเข้าปริมาณ 2.90 ล้านตัน หรือร้อยละ 1.90 ของปริมาณน�ำเข้าของโลก
(4) ราคา
ปี 2554/55 - 2558/59 ราคาเมล็ ด ถั่ ว เหลื อ งในตลาดสหรั ฐ อเมริ ก ามี แ นวโน้ ม ลดลง
อย่างต่อเนือ่ ง ร้อยละ 11.02 ต่อปี แต่ในปี 2558/59 ราคา 346 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ลดลงจาก 356 ดอลลาร์สหรัฐ
ต่อตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 2.81 ส�ำหรับตลาดบราซิลราคาเมล็ดถัว่ เหลือง ปี 2554/55- 2558/59 ลดลงร้อยละ
9.99 ต่อปี แต่เมื่อเปรียบเทียบปี 2558/59 กับปี 2557/58 ราคาลดลงไม่มากนัก ร้อยละ 1.55 จาก 388
ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน เป็น 382 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ทั้งนี้ ปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกาและบราซิล
เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.95 และร้อยละ 10.96 ตามล�ำดับ

43
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555/56 - 2559/60 เนือ้ ทีเ่ พาะปลูกและผลผลิตถัว่ เหลืองมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 1.97 ต่อปี
และร้อยละ 3.42 ต่อปี ตามล�ำดับ ในปี 2559/60 มีเนื้อที่เพาะปลูก 0.212 ล้านไร่ และผลผลิต 55,979 ตัน
ลดลงจาก 0.217 ล้านไร่ และผลผลิต 56,963 ตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 2.30 และร้อยละ 1.73 ตามล�ำดับ
การลดลงของเนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตมีสาเหตุส�ำคัญ คือ ผลตอบแทนต�่ำกว่าพืชแข่งขัน และการขาดแคลน
เมล็ดพันธุ์ดี ส่วนผลผลิตต่อไร่ในปี 2555/56 - 2559/60 ลดลงร้อยละ 0.47 ต่อปี ในปี 2559/60 ผลผลิตต่อไร่
264 กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก 262 กิโลกรัม ในปี 2558/59 ร้อยละ 0.76
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2555 - 2559 ความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.03 ต่อปี โดยในปี 2559
ความต้องการใช้มีปริมาณ 2.66 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.62 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 1.53 การใช้ประโยชน์
มีหลายวัตถุประสงค์ ได้แก่ สกัดน�้ำมัน ท�ำพันธุ์ และแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร คิดเป็นร้อยละ 67.43 ร้อยละ 0.15
และร้อยละ 32.05 ของความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองทั้งหมด ตามล�ำดับ
(2) การส่งออก
การส่งออกของไทยส่วนใหญ่เป็นการส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองสายพันธุ์ธรรมชาติ (Non - GMO)
ที่ผลิตได้ภายในประเทศ โดยในช่วงปี 2555 - 2559 ปริมาณส่งออกอยู่ระหว่าง 1,918 - 11,595 ตัน โดยในปี
2559 คาดว่าส่งออก 10,000 ตัน ตลาดส่งออกส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชียและไนจีเรีย
(3) การน�ำเข้า
ไทยพึ่งพาการน�ำเข้าเมล็ดถัว่ เหลืองร้อยละ 97.87 ของความต้องการใช้ทงั้ หมด โดยปี 2555 - 2559
ปริมาณการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.65 ต่อปี โดยในปี 2559 คาดว่าน�ำเข้า 2.60 ล้านตัน แหล่งน�ำเข้าส�ำคัญ ได้แก่
บราซิล สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา และแคนาดา
(4) ราคา
ปี 2558 - 2559 ราคาเมล็ดถั่วเหลืองและน�้ำมันถั่วเหลืองภายในประเทศเคลื่อนไหวใน
ทิศทางเดียวกับราคาตลาดโลก โดยราคามีการเคลื่อนไหว ดังนี้
1) ราคาเมล็ดถั่วเหลืองเกรดคละที่เกษตรกรขายได้ ปี 2559 กิโลกรัมละ 14.47 บาท
ลดลงจากกิโลกรัมละ 15.46 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 6.40
2) ราคาน�ำเข้าเมล็ดถัว่ เหลือง ปี 2559 กิโลกรัมละ 14.43 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 15.00 บาท
ของปี 2558 ร้อยละ 3.80
3) ราคาขายส่งน�้ำมันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ ปี 2559 กิโลกรัมละ 38.98 บาท ลดลงจาก
กิโลกรัมละ 47.86 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 18.55

44
ถั่วเหลือง

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2559/60 คาดว่าผลผลิตเมล็ดถั่วเหลืองโลกมีปริมาณ 336.09 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 313.20
ล้านตัน ของปี 2558/59 ร้อยละ 7.31 เนื่องจากผลผลิตถั่วเหลืองของประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา
บราซิล และอาร์เจนตินาเพิ่มขึ้น โดยในปี 2559/60 คาดว่า สามารถผลิตถั่วเหลืองได้ 118.69 ล้านตัน 102.00
ล้านตัน และ 57.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 106.86 ล้านตัน 96.50 ล้านตัน และ 56.80 ล้านตัน ในปี 2558/59
ร้อยละ 11.07 ร้อยละ 5.70 และร้อยละ 0.35 ตามล�ำดับ
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2559/60 คาดว่าความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อสกัดน�้ำมันมีปริมาณ 288.17 ล้านตัน
เพิ่มขึ้นจาก 276.18 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 4.34 เนื่องจากความต้องการใช้น�้ำมันถั่วเหลืองเพื่อการ
อุปโภคและบริโภคของโลกยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจีนซึ่งเป็นผู้ใช้เมล็ดถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลกมี
นโยบายส่งเสริมให้สกัดน�้ำมันถั่วเหลืองใช้ภายในประเทศ เพื่อเพิ่มมูลค่าในรูปของผลผลิตน�้ำมันและน�ำกากไปใช้
ในอุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ ตอบสนองความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
(2) การส่งออก
ปี 2559/60 คาดว่าผู้ส่งออกถั่วเหลืองรายใหญ่ ได้แก่ บราซิลและสหรัฐอเมริกา สามารถ
ส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองได้เพิ่มขึ้น โดยมีปริมาณ 58.40 ล้านตัน และ 55.79 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 54.38 ล้านตัน
และ 52.69 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 7.39 และร้อยละ 5.89 ตามล�ำดับ แต่อาร์เจนตินาส่งออกถั่วเหลือง
ลดลงจาก 9.92 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 9.25 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือลดลงร้อยละ 6.75 ท�ำให้ในปี
2559/60 การส่งออกถั่วเหลืองของโลกมีปริมาณ 139.16 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 132.14 ล้านตัน ในปี 2558/58
ร้อยละ 5.31 โดยปริมาณสต็อกถั่วเหลืองโลก เพิ่มขึ้นจาก 77.07 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 81.53 ล้านตัน
ในปี 2559/60 ร้อยละ 5.79
(3) การน�ำเข้า
ปี 2559/60 คาดว่าการน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองโลกมีปริมาณ 136.21 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก
132.96 ล้านตัน ในปี 2558/58 ร้อยละ 2.44 โดยจีนน�ำเข้ามากที่สุดปริมาณ 86.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 83.23
ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 3.33 โดยในปี 2559/60 จีนน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองร้อยละ 63.14 ของปริมาณ
การน�ำเข้าโลก
(4) ราคา
ปี 2559/60 คาดว่าราคาเมล็ดถั่วเหลืองในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับ
ปี 2558/59 เนื่องจากปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองโลกเพิ่มสูงขึ้น โดยในปี 2559/60 (พฤศจิกายน 2559) ราคาเมล็ด
ถั่วเหลืองในตลาดสหรัฐอเมริกาปรับตัวเพิ่มขึ้นเป็น 348 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน จากราคาเฉลี่ย 346 ดอลลาร์สหรัฐ
ต่อตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 0.58

45
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตถั่วเหลืองยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้มีสาเหตุจากการขาดแคลน
เมล็ดพันธุ์ดี การดูแลรักษายุ่งยาก และผลตอบแทนต�่ำกว่าพืชแข่งขันอื่น ๆ เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยคาดว่า
ปี 2560/61 จะมีเนื้อที่เพาะปลูก 0.208 ล้านไร่ ผลผลิต 55,672 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 267 กิโลกรัม
2.2.2 ตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าความต้องการใช้เมล็ดถัว่ เหลืองมีปริมาณ 2.70 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 2.66 ล้านตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 1.82 โดยในปี 2560 คาดว่ามีสัดส่วนการใช้ผลผลิตภายในประเทศร้อยละ 2.05 และน�ำเข้า
ร้อยละ 97.95 ของปริมาณความต้องการใช้ทั้งหมด
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าปริมาณการส่งออกเมล็ดถัว่ เหลืองของไทยมีปริมาณ 10,000 ตัน ทรงตัวเท่ากับ
ปี 2559 โดยเป็นการส่งออกเมล็ดถั่วเหลืองสายพันธุ์ธรรมชาติ ไม่มีการดัดแปรพันธุกรรม (Non-GMO) ที่ผลิตได้
ภายในประเทศ และตลาดส่งออกส่วนใหญ่อยู่ในทวีปเอเชีย
(3) การน�ำเข้า
การน�ำเข้าเมล็ดถั่วเหลืองเพิ่มขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ คาดว่าปี 2560 การน�ำเข้า
มีปริมาณ 2.65 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.60 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 1.92
(4) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาเมล็ดถั่วเหลืองที่เกษตรกรขายได้จะปรับสูงขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2559
เนื่องจากคาดว่าราคารับซื้อถั่วเหลืองขั้นต�่ำจะก�ำหนดให้สูงขึ้น แม้ว่าแนวโน้มราคาตลาดโลกจะอ่อนตัวลงบ้าง
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตถั่วเหลือง
2.3.1 ปัจจัยภายในประเทศ
(1) นโยบายส่งเสริม/พัฒนาการผลิตถั่วเหลือง เช่น ส่งเสริมการผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี การใช้
เครื่องจักรกลทดแทนแรงงานเพื่อลดต้นทุนการผลิต การให้ความรู้ด้านการผลิตถั่วเหลืองแก่เกษตรกร รวมทั้ง
โครงการประชารัฐซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน คาดว่าจะส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิต
ถั่วเหลืองเพิ่มสูงขึ้น
(2) เกษตรกรบางส่วนหันไปปลูกพืชทดแทนชนิดอืน่ ทีใ่ ห้ผลตอบแทนสูงกว่าและดูแลรักษาง่ายกว่า
การปลูกถั่วเหลือง ส่งผลกระทบให้เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตถั่วเหลืองลดลง
2.3.2 ปัจจัยภายนอกประเทศ
(1) คาดการณ์ว่าผลผลิตของประเทศสหรัฐอเมริกาจะเพิ่มขึ้นมากเนื่องจากสภาพภูมิอากาศในปี
การผลิต 2559/60 เอื้ออ�ำนวยต่อการปลูกถั่วเหลืองของสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของ
สหรัฐอเมริกาเพิ่มสูงขึ้น

46
ถั่วเหลือง

(2) ความต้องการใช้ถั่วเหลืองเพื่อสกัดน�้ำมันของจีนผู้น�ำเข้าถั่วเหลืองรายใหญ่ของโลกเพิ่มสูงขึ้น
อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับแนวโน้มความต้องการใช้กากถั่วเหลืองเพื่อผลิตอาหารสัตว์ และใช้เมล็ดถั่วเหลืองเพื่อ
ผลิตพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ประเทศผู้ผลิตถั่วเหลืองรายใหญ่เพิ่มพื้นที่ปลูก เพื่อให้ผลผลิตเพียงพอกับ
ปริมาณความต้องการที่เพิ่มสูงขึ้น
ตารางที่ 1 สมดุลเมล็ดถั่วเหลืองโลก ปี 2554/55 - 2559/60
หน่วย: ล้านตัน
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม คาดการณ์
รายการ ยละ) 2559/60
1. ผลผลิต 240.43 268.53 282.46 319.78 313.20 7.27 336.09
2. น�ำเข้า 93.47 97.20 113.07 123.87 132.96 9.94 136.21
3. ส่งออก 92.19 100.80 112.68 126.22 132.14 9.98 139.16
4. สกัดน�้ำมัน 228.37 230.58 242.30 263.24 276.18 5.24 288.17
5. สต็อกสิ้นปี 53.91 55.18 61.90 78.60 77.07 10.79 81.53
ที่มา: Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 2 ราคาเมล็ดถั่วเหลืองตลาดโลก ปี 2554/55 - 2558/59


หน่วย: ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน
2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
รายการ ยละ) 2559/60*
1. สหรัฐอเมริกา 505 537 487 356 346 -11.02 348
2. บราซิล (เอฟ.โอ.บี.) 549 538 514 388 382 -9.99 413
3. อาร์เจนตินา (เอฟ.โอ.บี.) 533 543 517 401 375 -9.57 386
4. รอตเตอร์ดัม (ซี.ไอ.เอฟ.) 562 592 542 407 396 -10.19 403
หมายเหตุ: * ข้อมูลเดือนตุลาคม 2559
ที่มา: Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 3 เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ของไทย ปี 2555/56 – 2560/61

2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม คาดการณ์


รายการ ยละ) 2559/60
1. เนื้อที่เพาะปลูก (ล้านไร่) 0.247 0.196 0.237 0.217 0.212 -1.97 0.208
2. ผลผลิตทั้งหมด (ตัน) 63,508 52,740 51,626 56,963 55,979 -3.42 55,672
3. ผลผลิตต่อไร่ (กก.) 257 270 243 262 264 -0.47 267
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

47
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 4 สมดุลเมล็ดถั่วเหลืองของไทย ปี 2555 - 2560


หน่วย: ตัน
รวม ความต้องการใช้ภายในประเทศ รวม
ปี ผลิต น�ำเข้า ส่ ง ออก
(Supply) สกัดน�้ำมัน ท�ำพันธุ์ แปรรูปฯ (Demand)
2555 91,531 2,119,941 2,211,472 1,679,481 5,846 524,227 1,918 2,211,469
2556 64,358 1,678,678 1,743,036 1,451,700 4,418 284,929 1,989 1,743,036
2557 55,911 1,898,295 1,954,206 1,693,200 3,747 245,664 11,595 1,954,206
2558 57,690 2,557,384 2,615,074 1,646,415 4,262 955,080 9,317 2,615,074
25591/ 56,630 2,600,000 2,656,630 1,791,399 3,885 851,346 10,000 2,656,630
อัตราเพิ่ม
-10.14 8.65 8.03 2.58 -8.18 24.35 62.37 8.03
(ร้อยละ)
25602/ 55,500 2,650,000 2,705,500 1,820,000 3,830 871,670 10,000 2,705,000
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 5 ราคาถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ์ของไทย ปี 2555 - 2559


หน่วย: บาท/กิโลกรัม
อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559 (ร้อยละ)
1. ราคาเมล็ดถั่วเหลืองเกษตรกรขายได้ 15.75 18.24 18.08 15.46 14.47 -3.29
2. ราคาน�ำเข้า
- ท่าเรือเกาะสีชัง 18.86 18.60 18.44 15.00 14.43 -7.23
- ตลาดชิคาโก 16.78 15.93 14.91 12.07 12.59 -8.17
3. ราคาขายส่งน�้ำมันถั่วเหลืองบริสุทธิ์ 1/ 50.08 50.08 50.08 47.86 38.98 -5.32
หมายเหตุ: 1/ รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่รวมภาชนะบรรจุ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

48
ถั่วเหลือง

ตารางที่ 6 ความต้องการใช้เมล็ดถั่วเหลืองของไทย ปี 2555 - 2560


หน่วย: ตัน
อัตราเพิ่ม คาดการณ์
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559(ร้อยละ) 2560
ความต้องการใช้ 2,211,472 1,743,036 1,954,206 2,615,074 2,656,630 8.03 2,705,000
1. สกัดน�้ำมัน 1,679,481 1,451,700 1,693,200 1,646,415 1,791,399 2.58 1,820,000
2. แปรรูปฯ 524,227 284,929 245,664 955,080 851,346 24.35 871,670
3. ท�ำพันธุ์ 5,846 4,418 3,747 4,262 3,885 -8.18 3,830
4. ส่งออก 1,918 1,989 11,595 9,317 10,000 62.37 10,000
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

49
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
5
อ้อยโรงงาน
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2554/55–2558/59 ผลผลิตน�้ำตาลทรายดิบของโลกลดลงร้อยละ 0.92 ต่อปี จากปริมาณ
172.35 ล้านตัน ในปี 2554/55 ลดลงเหลือ 164.92 ล้านตัน ในปี 2558/59 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ
ได้แก่ บราซิล อินเดีย ไทย และจีน ผลิตได้ลดลง
ส�ำหรับปี 2558/59 ผลผลิตน�้ำตาลทรายดิบของโลกลดลงจาก 177.22 ล้านตัน ในปี 2557/58
ร้อยละ 6.94
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2554/55–2558/59 การบริโภคน�้ำตาลทรายดิบของโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.77 ต่อปี
จากปริมาณ 159.60 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มขึ้นเป็น 171.80 ล้านตัน ในปี 2558/59 เนื่องจากความต้องการ
บริโภคน�้ำตาลของประเทศในภูมิภาคเอเชียเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะประเทศอินเดีย
ส�ำหรับปี 2558/59 ปริมาณความต้องการบริโภคน�้ำตาลทรายดิบของโลกเพิ่มขึ้นจาก 170.44
ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 0.80
(2) การส่งออก
ปี 2554/55–2558/59 การส่งออกน�้ำตาลทรายดิบของโลกลดลงร้อยละ 0.16 ต่อปี
จากปริมาณ 54.99 ล้านตัน ในปี 2554/55 ลดลงเหลือ 54.87 ล้านตัน ในปี 2558/59 เนือ่ งจากประเทศออสเตรเลีย
กัวเตมาลา และเม็กซิโก ผลิตน�้ำตาลได้ลดลง
ส�ำหรับปี 2558/59 ปริมาณส่งออกน�้ำตาลทรายดิบของโลกลดลงจาก 55.03 ล้านตัน
ในปี 2557/58 ร้อยละ 0.29
(3) การน�ำเข้า
ปี 2554/55–2558/59 การน�ำเข้าน�้ำตาลทรายดิบของโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.11 ต่อปี
จากปริมาณ 48.56 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มขึ้นเป็น 54.44 ล้านตัน ในปี 2558/59 เนื่องจากต้องการเพิ่ม
ปริมาณสต็อกน�ำ้ ตาลภายในประเทศเพือ่ ลดความเสีย่ งจากความผันผวนด้านราคาของประเทศผูน้ ำ� เข้าส�ำคัญของโลก
ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป อินโดนีเซีย และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ส�ำหรับปี 2558/59 ปริมาณน�ำเข้าน�้ำตาลทรายดิบของโลกเพิ่มขึ้นจาก 50.88 ล้านตัน
ในปี 2557/58 ร้อยละ 7.00
(4) ราคา
ปี 2555–2559 ราคาน�้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์กลดลงร้อยละ 6.57 ต่อปี จากราคาเฉลี่ย
21.69 เซนต์ต่อปอนด์ หรือกิโลกรัมละ 14.74 บาท (อัตราแลกเปลี่ยน 30.84 บาท/ดอลลาร์สหรัฐฯ) ในปี 2555
ลดลงเหลือ 17.80 เซนต์ต่อปอนด์ หรือกิโลกรัมละ 13.73 บาท (อัตราแลกเปลี่ยน 35.02 บาท/ดอลลาร์สหรัฐฯ)
ในปี 2559 เนื่องจากผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้นของประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ และความผันผวนของเศรษฐกิจในตลาดโลก
51
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ส�ำหรับปี 2559 ราคาเฉลี่ยน�้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์กเคลื่อนไหวอยู่ท่ี 17.80 เซนต์


ต่อปอนด์ หรือกิโลกรัมละ 13.73 บาท (อัตราแลกเปลี่ยน 35.02 บาท/ดอลลาร์สหรัฐฯ) เพิ่มขึ้นจาก 13.14 เซนต์
ต่อปอนด์ หรือกิโลกรัมละ 9.86 บาท (อัตราแลกเปลี่ยน 34.03 บาท/ดอลลาร์สหรัฐฯ) ในปี 2558 ร้อยละ 35.46
และร้อยละ 39.25 ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิตอ้อยโรงงาน
ปี 2554/55–2558/59 เนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.75 ต่อปี ส�ำหรับผลผลิตและผลผลิต
ต่อไร่ของอ้อยโรงงานลดลงร้อยละ 0.28 และร้อยละ 2.93 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยปี 2554/55 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว
8.01 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นเป็น 8.91 ล้านไร่ ในปี 2558/59 เนื่องจากมีการส่งเสริมการปลูกอ้อยจากโรงงานน�้ำตาล
และภาครัฐ เพื่อให้เกษตรกรขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้น ส�ำหรับผลผลิต 98.40 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย
12.28 ตัน ในปี 2554/55 ลดลงเหลือ 94.14 ล้านตัน และ 10.57 ตัน ในปี 2558/59 เนื่องจากบางพื้นที่
ประสบปัญหาภัยแล้ง ฝนทิ้งช่วง และการระบาดของโรคใบขาวท�ำให้ต้นอ้อยเจริญเติบโตไม่ดี
ส�ำหรับปี 2558/59 มีเนื้อที่เก็บเกี่ยวเพิ่มขึ้นจาก 8.76 ล้านไร่ ในปี 2557/58 ร้อยละ 1.71 ส�ำหรับ
ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 106.33 ล้านตัน และ 12.15 ตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 11.46 และร้อยละ
13.00 ตามล�ำดับ
1.2.2 การผลิตน�้ำตาล
ปี 2554/55–2558/59 ผลผลิตน�้ำตาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.32 ต่อปี จากปริมาณ 10.25 ล้านตัน
ในปี 2554/55 และเพิ่มขึ้น ในปี 2556/57 และปี 2557/58 แล้วลดลงเหลือ 9.79 ล้านตัน ในปี 2558/59
ส�ำหรับปี 2558/59 ผลผลิตน�้ำตาลลดลงจาก 11.34 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 13.67
1.2.3 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555–2559 การบริโภคน�้ำตาลภายในประเทศและความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรม
เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.20 ต่อปี จาก 2.46 ล้านตัน ในปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็น 2.60 ล้านตัน ในปี 2559
ส�ำหรับปี 2559 การบริโภคน�้ำตาลภายในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 2.48 ล้านตัน ในปี 2558
ร้อยละ 4.84 เนื่องจากความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมมีเพิ่มขึ้นตามภาวะเศรษฐกิจและการขยายการลงทุน
ในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
(2) การส่งออก
ปี 2555–2559 การส่งออกน�้ำตาลของประเทศไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.39 ต่อปี จากปริมาณ
6.85 ล้านตัน ในปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็น 7.19 ล้านตัน (ตัวเลขคาดการณ์) ในปี 2559 ส�ำหรับมูลค่าลดลงร้อยละ
4.82 ต่อปี จาก 122,217 ล้านบาท ในปี 2555 ลดลงเหลือ 93,000 ล้านบาท (ตัวเลขคาดการณ์) ในปี 2559
ส�ำหรับปี 2559 ปริมาณการส่งออกลดลงจาก 7.59 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 5.27 ส�ำหรับ
มูลค่าเพิ่มขึ้นจาก 90,098 ล้านบาท ในปี 2558 ร้อยละ 3.22

52
อ้อยโรงงาน

(3) การน�ำเข้า
น�้ำตาลที่น�ำเข้าส่วนใหญ่ของประเทศไทยจะเป็นน�้ำตาลทรายชนิดพิเศษที่ไม่มีการผลิตภายใน
ประเทศและมีปริมาณน�ำเข้าไม่แน่นอน โดยปี 2555–2559 การน�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 41.28 ต่อปี จากปริมาณ
560 ตัน มูลค่า 40 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 2,500 ตัน มูลค่า 50 ล้านบาท ในปี 2559
ส�ำหรับปี 2559 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นจาก 499 ตัน มูลค่า 20 ล้านบาท
ในปี 2558 ร้อยละ 401.00 และร้อยละ 146.38 ตามล�ำดับ
(4) ราคา
1) ราคาอ้อย
ราคาอ้อยที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวในทิศทางเดียวกับราคาน�้ำตาลในตลาดโลกโดยราคา
อ้อยที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา ในช่วงปี 2554/55–2558/59 ลดลงร้อยละ 5.75 ต่อปี จาก 954 บาทต่อตัน
ในปี 2554/55 ลดลงเหลือ 737 บาทต่อตัน ในปี 2558/59 และราคาอ้อยขัน้ สุดท้าย ในช่วงปี 2554/55–2557/58
ลดลงร้อยละ 7.05 ต่อปี จาก 1,075 บาทต่อตัน ในปี 2554/55 ลดลงเหลือ 854 บาทต่อตัน ในปี 2557/58
ส�ำหรับปี 2558/59 ราคาอ้อยขั้นต้น 808 บาทต่อตัน ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส.
โดยมีอัตราขึ้น/ลงของราคาต่อความหวาน 1 ซี.ซี.เอส. เท่ากับ 48.48 บาทต่อตัน ลดลงจาก 900 บาทต่อตัน
ณ ระดับความหวานที่ 10 ซี.ซี.เอส. โดยมีอัตราขึ้น/ลงของราคาต่อความหวาน 1 ซี.ซี.เอส. เท่ากับ 54.00 บาท
ต่อตัน ในปี 2557/58 หรือราคาอ้อยขั้นต้นลดลงร้อยละ 10.22 และเกษตรกรได้รับเงินเพิ่มค่าอ้อย 160 บาท
ต่อตัน เท่ากับปี 2557/58
2) ราคาส่งออกน�้ำตาล
ปี 2555–2559 ราคาส่งออกน�้ำตาลทรายดิบลดลงร้อยละ 9.00 ต่อปี จาก 16,870 บาท
ต่อตัน ในปี 2555 ลดลงเหลือ 11,513 บาทต่อตัน ในปี 2559 ขณะที่ราคาส่งออกน�้ำตาลทรายขาว ปี 2555–2559
ลดลงร้อยละ 6.95 ต่อปี จาก 19,406 บาทต่อตัน ในปี 2555 เป็น 14,960 บาทต่อตัน ในปี 2559
ส�ำหรับปี 2559 ราคาส่งออกน�้ำตาลทรายดิบเพิ่มขึ้นจาก 11,013 บาทต่อตัน ในปี 2558
ร้อยละ 4.54 และราคาส่งออกน�้ำตาลทรายขาวเพิ่มขึ้นจาก 12,644 บาทต่อตัน ในปี 2558 ร้อยละ 18.32
2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2559/60 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ (USDA) ประมาณการผลผลิตน�้ำตาลทรายดิบของโลก
มีปริมาณ 169.33 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 164.92 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 2.67 เนื่องจากประเทศผู้ผลิต
ที่ส�ำคัญหลายประเทศ ได้แก่ บราซิล สหภาพยุโรป ไทย และจีน ผลิตน�้ำตาลได้เพิ่มขึ้น
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2559/60 คาดว่าการบริโภคน�้ำตาลของโลกมีปริมาณ 173.64 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 171.80
ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 1.07 โดยคาดว่าความต้องการบริโภคน�้ำตาลของประเทศอินเดีย จีน บราซิล
และสหรัฐอเมริกา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
53
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(2) การส่งออก
ปี 2559/60 คาดว่าการส่งออกน�้ำตาลของโลกมีปริมาณ 55.63 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 54.87
ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 1.39 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญของโลก ได้แก่ บราซิล ไทย ออสเตรเลีย
กัวเตมาลา และเม็กซิโก ผลิตน�้ำตาลได้มากขึ้นและเพียงพอต่อความต้องการใช้ในประเทศ จึงมีน�้ำตาลเหลือ
ส่งออกเพิ่มขึ้น
(3) การน�ำเข้า
ปี 2559/60 คาดว่าการน�ำเข้าน�้ำตาลของโลกมีปริมาณ 55.62 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 54.44
ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 2.17
(4) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาน�้ำตาลทรายดิบในตลาดโลกเคลื่อนไหวอยู่ในช่วง 18-19 เซนต์ต่อปอนด์
เพิ่มขึ้นจาก 14–15 เซนต์ต่อปอนด์ ในปี 2559
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิตอ้อยโรงงาน
ปี 2559/60 มีเนือ้ ทีเ่ ก็บเกีย่ ว 9.07 ล้านไร่ ผลผลิต 105.15 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 11.60 ตัน
เพิ่มขึ้นจาก 8.91 ล้านไร่ ผลผลิต 94.14 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 10.57 ตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 1.80
ร้อยละ 11.70 และร้อยละ 9.74 ตามล�ำดับ เนื่องจากโรงงานน�้ำตาลมีการส่งเสริมการปลูกอ้อย และมีนโยบาย
ภาครัฐส่งเสริมให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการปลูกพืชที่เหมาะสม เกษตรกรเลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่ดี มีการดูแลรักษา
จัดหาแหล่งน�้ำ และบ�ำรุงใส่ปุ๋ย ประกอบกับสภาพอากาศที่เอื้ออ�ำนวย ปริมาณน�้ำฝนปกติ
2.2.2 การผลิตน�้ำตาลและกากน�้ำตาล
ปี 2559/60 คาดว่าผลผลิตอ้อยโรงงานอยูท่ ี่ 105.15 ล้านตัน สามารถผลิตน�ำ้ ตาลได้ 10.94 ล้านตัน
เพิ่มขึ้นจาก 9.79 ล้านตัน ในปี 2558/59 ร้อยละ 11.75 ส่วนกากน�้ำตาล ปี 2559/60 คาดว่าจะมีปริมาณ 4.80
ล้านตัน
2.2.3 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
คณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทรายได้ก�ำหนดปริมาณน�้ำตาลส�ำหรับบริโภคภายในประเทศ
ปี 2560 คาดว่ามีจ�ำนวน 2.60 ล้านตัน เท่ากับปี 2559
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกน�้ำตาลมีปริมาณ 8.44 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 7.19 ล้านตัน ในปี
2559 ร้อยละ 17.39
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่าการน�ำเข้าน�้ำตาลจะมีปริมาณใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตน�้ำตาล
ภายในประเทศผลิตได้มากกว่าความต้องการใช้ภายในประเทศ ประกอบกับอัตราภาษีน�ำเข้าน�้ำตาลในโควตา
ภายใต้ WTO สูงถึงร้อยละ 65 และนอกโควตาร้อยละ 94 ท�ำให้การน�ำเข้าส่วนใหญ่เป็นการน�ำเข้าน�ำ้ ตาลชนิดพิเศษ

54
อ้อยโรงงาน

(4) ราคา
1) ราคาอ้อยที่เกษตรกรขายได้
ปี 2558/59 ราคาอ้อยที่เกษตรกรขายได้ 737 บาทต่อตัน ลดลงจาก 850 บาทต่อตัน
ในปี 2557/58 ร้อยละ 13.29 ส�ำหรับปี 2559/60 คาดว่าจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
2) ราคาอ้อยขั้นต้น
ราคาอ้อยขัน้ ต้นปี 2559/60 คาดว่าจะสูงกว่าปี 2558/59 ซึง่ ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการพิจารณา
ของคณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย (กอน.) เพือ่ เสนอให้คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาให้ความเห็นชอบต่อไป
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและรายได้
ภาวะเศรษฐกิจและราคาน�้ำตาลในตลาดโลก
ปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลถึงราคาอ้อยขั้นต้นและราคาอ้อยขั้นสุดท้ายของอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลทราย
ของไทย คือราคาน�้ำตาลในตลาดโลก และอัตราแลกเปลี่ยนเงินเหรียญสหรัฐกับค่าเงินบาทของไทย เนื่องจากไทย
เป็นประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากบราซิล ดังนั้นรายได้ของอุตสาหกรรมอ้อยและ
น�ำ้ ตาลทรายยังต้องพึง่ ราคาน�ำ้ ตาลของตลาดโลกเป็นหลัก เนือ่ งจากผลผลิตน�ำ้ ตาลของไทยกว่าร้อยละ 75 ส่งออก
ไปตลาดต่างประเทศ
ปัจจัยบวก ราคาน�ำ้ ตาลในตลาดโลกปรับตัวเพิม่ สูงขึน้ โดยราคาซือ้ ขายล่วงหน้าน�ำ้ ตาลทรายดิบในตลาดโลก
เคลื่อนไหวอยู่ระหว่าง 18-19 เซนต์ต่อปอนด์
ปัจจัยลบ ภาวะเศรษฐกิจโลกและประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญของไทยยังชะลอตัว

ตารางที่ 1 ผลผลิต การบริโภค ส่งออก และน�ำเข้าน�้ำตาลของโลก ปี 2554/55–2559/60


หน่วย: ล้านตันน�้ำตาลทรายดิบ
ปี ผลผลิต การบริโภค ส่งออกหน่วย : ล้านตันน�น�้ำำตาลทรายดิ
เข้า บ
2554/55 172.35 159.60 54.99 48.56
2555/56 177.96 165.66 55.69 51.88
2556/57 176.10 166.96 57.88 51.35
2557/58 177.22 170.44 55.03 50.88
2558/59 164.92 171.80 54.87 54.44
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -0.92 1.77 -0.16 2.11
2559/60 169.33 173.64 55.63 55.62
ที่มา: Sugar, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, May 2016

55
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 ราคาน�้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์ก ปี 2555–2559


ปี 2555 2556 2557 2558 2559 (ม.ค.-ต.ค.) อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
เซนต์/ปอนด์ 21.69 17.46 16.34 13.14 17.80 -6.57
บาท/กิโลกรัม 14.74 11.74 11.59 9.86 13.73 -3.12
ที่มา: ICE Contract No. 11-F.O.B. New York Board of Trade, November 2016

ตารางที่ 3 เนือ้ ทีเ่ พาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ และผลผลิตน�ำ้ ตาลของไทย ปี 2554/55–2559/60


เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ ผลผลิตน�้ำตาล
ปี (ล้านไร่) (ล้านตัน) (ตัน) (ล้านตัน)
2554/55 8.01 98.40 12.28 10.25
2555/56 8.26 100.10 12.12 10.02
2556/57 8.46 103.70 12.26 11.33
2557/58 8.76 106.33 12.15 11.34
2558/59 8.91 94.14 10.57 9.79
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2.75 -0.28 -2.93 0.32
2559/60 9.07 105.15 11.60 10.94*
หมายเหตุ: * ประมาณการโดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ผลผลิตน�้ำตาลจากส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย

ตารางที่ 4 ราคาอ้อย ปี 2553/54–2558/59


หน่วย: บาท/ตัน

2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม 2559/60


ปี ยละ)
ราคาเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา 954 917 855 850 737 -5.75 n.a.
ราคาอ้อยขั้นต้น 1,000 950 900 900 808 -4.69 n.a.
ราคาอ้อยขั้นสุดท้าย 1,075 999 958 854 - -7.05 n.a.
ที่มา: ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย

56
อ้อยโรงงาน

ตารางที่ 5 ราคาส่งออกน�้ำตาลของไทย ปี 2555–2559


หน่วย: บาท/ตัน
ปี 2555 2556 2557 2558 2559 (ม.ค.-ก.ย.) อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
น�้ำตาลทรายดิบ 16,870 13,167 13,130 11,013 11,513 -9.00
น�้ำตาลทรายขาว 19,406 15,449 15,043 12,644 14,960 -6.95
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 6 ปริมาณการบริโภคในประเทศและการส่งออกน�้ำตาลของไทย ปี 2555–2560


บริโภคภายในประเทศ1/ ส่งออก2/ น�ำเข้า2/
ปี (ล้านตัน) (ล้านตัน) (ตัน)
2555 2.46 6.85 560
2556 2.46 5.99 314
2557 2.47 6.29 425
2558 2.48 7.59 499
2559* 2.60 7.19 2,500
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 1.20 3.39 41.28
2560* 2.60 8.44 2,500
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย
2/
กรมศุลกากร

57
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
6
ปาล์มน�้ำมัน
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2554/55 - 2558/59 ผลผลิตน�้ำมันปาล์มของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.19 ต่อปี
จากสถานการณ์ภยั แล้งในช่วง 1-2 ปีทผี่ า่ นมา ส่งผลให้ปี 2558/59 มีผลผลิตน�ำ้ มันปาล์ม 58.84 ล้านตัน ลดลงจาก
61.63 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 4.53 โดยในปี 2558/2559 อินโดนีเซียผลิตน�ำ้ มันปาล์มได้ 32.00 ล้านตัน
ลดลงจาก 33.00 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 3.03 ส่วนมาเลเซียสามารถผลิตน�้ำมันปาล์มได้ 17.70 ล้านตัน
ลดลงจาก 19.88 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ 10.97 ทั้งสองประเทศมีสัดส่วนการผลิตร้อยละ 84.46 ของ
ผลผลิตน�ำ้ มันปาล์มโลก ส�ำหรับไทยผลิตได้เป็นอันดับที่ 3 ของโลก และสามารถผลิตได้ 2.10 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ
1.79 ของผลผลิตน�้ำมันปาล์มโลก
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2554/55 - 2558/59 ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.04
ต่อปี โดยปี 2558/59 มีความต้องการใช้น�้ำมันปาล์ม 59.94 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 58.39 ล้านตัน ในปี 2557/58
ร้อยละ 2.65 เนื่องจากความต้องการด้านอาหารและด้านพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น โดยในปี 2558/2559 ประเทศ
ที่ใช้น�้ำมันปาล์มมากที่สุด คือ อินเดีย 9.20 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ อินโดนีเซีย 8.57 ล้านตัน สหภาพยุโรป 6.60
ล้านตัน และจีน 4.80 ล้านตัน ตามล�ำดับ
(2) การส่งออก
ปี 2554/55 - 2558/59 ปริมาณส่งออกน�้ำมันปาล์มของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.37
ต่อปี โดยปี 2558/59 มีปริมาณการส่งออก 44.83 ล้านตัน ลดลงจาก 47.46 ล้านตัน ในปี 2557/58 ร้อยละ
5.54 เนื่องจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกที่ส�ำคัญมีผลผลิตลดลง ประกอบกับ
หันมาใช้น�้ำมันปาล์มภายในประเทศเพิ่มขึ้น ประเทศผู้ส่งออกน�้ำมันปาล์มที่ส�ำคัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย 24.00
ล้านตัน และมาเลเซีย 16.60 ล้านตัน ตามล�ำดับ ทั้งสองประเทศรวมกันมีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 94.74
ของการส่งออกโลก
(3) การน�ำเข้า
ปี 2554/55 - 2558/59 การน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.85 ต่อปี
โดยปี 25587/59 น�ำเข้า 43.43 ล้านตัน ลดลงจาก 44.62 ล้านตันในปี 2557/58 ร้อยละ 2.67 เนื่องจากอินเดีย
และจีนหันมาบริโภคน�้ำมันพืชอื่นทดแทนเพิ่มมากขึ้น ประเทศผู้น�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ อินเดีย 8.74 ล้านตัน
สหภาพยุโรป 6.70 ล้านตัน และจีน 4.69 ล้านตัน ตามล�ำดับ
(4) ราคา
1) ราคาน�้ำมันปาล์มดิบตลาดมาเลเซีย ปี 2555 - 2559 มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 2.95 ต่อปี
โดยปี 2559 ราคาน�้ำมันปาล์มดิบเฉลี่ยตันละ 2,610.00 ริงกิต (23.00 บาทต่อกิโลกรัม) เพิ่มขึ้นจาก 2,219.93
ริงกิต (19.69 บาทต่อกิโลกรัม) ในปี 2558 ร้อยละ 17.57 และร้อยละ 16.81 ตามล�ำดับ
59
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2) ราคาน�้ำมันปาล์มดิบตลาดรอตเตอร์ดมั ปี 2555 - 2559 มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 9.84 ต่อปี


โดยปี 2559 ราคาน�้ำมันปาล์มดิบเฉลี่ยตันละ 700.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (24.80 บาทต่อกิโลกรัม) เพิ่มขึ้นจาก
616.09 ดอลลาร์สหรัฐฯ (21.09 บาทต่อกิโลกรัม) ในปี 2558 ร้อยละ 13.62 และร้อยละ 17.59 ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 เนื้อที่ให้ผลมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.79 ในขณะที่ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง
ร้อยละ 0.56 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยปี 2559 มีเนือ้ ทีใ่ ห้ผล 4.59 ล้านไร่ เพิม่ ขึน้ จาก 4.30 ล้านไร่ ในปี 2558 ร้อยละ
6.74 ในขณะที่มีผลผลิต 11.17 ล้านตัน ลดลงจาก 12.05 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 7.30 เนื่องจากสถานการณ์
ภัยแล้งตั้งแต่ปี 2557 ต่อเนื่องถึงปี 2558 ส่งผลท�ำให้การออกจั่นตัวเมียและการติดผลปาล์มในปี 2559 ลดลง
ส่งผลให้ในปี 2559 มีผลผลิตต่อไร่ 2,436 กิโลกรัม ลดลงจาก 2,803 กิโลกรัม ในปี 2558 ร้อยละ 13.09
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2555 - 2559 ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มดิบของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งเพื่อการบริโภค
และการผลิตไบโอดีเซล ร้อยละ 1.78 และร้อยละ 8.11 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยปี 2559 มีความต้องการใช้
น�้ำมันปาล์มดิบเพื่อการบริโภค 970,945 ตัน ลดลงจาก 1,053,329 ตันในปี 2558 ร้อยละ 7.82 และมี
ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มดิบเพื่อผลิตไบโอดีเซล 890,858 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 833,223 ตัน ในปี 2558 ร้อยละ
6.88 เนือ่ งจากความต้องการใช้นำ�้ มันดีเซลหมุนเร็วเพิม่ ขึน้ จากวันละ 58.52 ล้านลิตร ในปี 2558 เป็น 61.22 ล้านลิตร
ในปี 2559 อย่างไรก็ตามตั้งแต่กลางปี 2559 กระทรวงพลังงานได้ประกาศปรับสัดส่วนการใช้ไบโอดีเซลจ�ำนวน
3 ครั้ง ดังนี้ 1) ปรับลดจาก B7 เป็น B5 ตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคม ถึงวันที่ 24 สิงหาคม 2559 2) ลดจาก B5
เป็น B3 ตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม ถึงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 และ 3) เพิ่มจาก B3 เป็น B5 ตั้งแต่วันที่
25 พฤศจิกายน 2559 ส่งผลท�ำให้ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มเพื่อผลิตไบโอดีเซลในปี 2559 เพิ่มขึ้นไม่มากนัก
(2) การส่งออก
จากข้อมูลกรมศุลกากร พบว่า ในช่วงปี 2555 - 2559 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกน�ำ้ มันปาล์ม
และผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 33.29 และร้อยละ 31.49 ต่อปี เนื่องจากความผันผวนด้านราคา
ในประเทศ ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขัน โดยในปี 2559 มีปริมาณการส่งออกน�้ำมันปาล์มและผลิตภัณฑ์
147,952 ตัน มูลค่า 4,478 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 131,189 ตัน มูลค่า 3,904 ล้านบาท ในปี 2558 ร้อยละ 12.78
และร้อยละ 14.71 ตามล�ำดับ เนื่องจากราคาน�้ำมันปาล์มในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
ส่งผลท�ำให้ความสามารถในการส่งออกดีขึ้น
(3) การน�ำเข้า
จากข้อมูลกรมศุลกากร พบว่า ในช่วงปี 2555 - 2559 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้าน�ำ้ มันปาล์ม
และผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 3.64 และร้อยละ 4.95 ต่อปี โดยในปี 2559 มีปริมาณการน�ำเข้า
น�้ำมันปาล์มและผลิตภัณฑ์ 110,125 ตัน มูลค่า 3,827 ล้านบาท ลดลงจาก 158,008 ตัน และ 4,650 ล้านบาท
ในปี 2558 ร้อยละ 30.30 และร้อยละ 17.69 ตามล�ำดับ

60
ปาล์มน้ำ�มัน

(4) ราคา
ปี 2555 - 2559 ราคาปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์มของไทยมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นตามราคา
น�ำ้ มันปาล์มดิบในตลาดโลก ประกอบกับก�ำลังการผลิตของโรงงานสกัดน�ำ้ มันปาล์มมีมากกว่าผลผลิตทีอ่ อกสูต่ ลาด
ส่งผลให้มีการแย่งซื้อวัตถุดิบ โดยราคามีความเคลื่อนไหว ดังนี้
1) ราคาผลปาล์มสดที่เกษตรกรขายได้ ในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.23
ต่อปี โดยปี 2559 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.50 บาท เพิ่มขึ้นจาก 4.12 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 33.50
2) ราคาน�ำ้ มันปาล์มดิบขายส่ง กทม. ในช่วง 5 ปี ทีผ่ า่ นมา มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 1.85 ต่อปี
โดยปี 2559 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 32.50 บาท เพิ่มขึ้นจาก 27.33 บาทในปี 2558 ร้อยละ 18.92
3) ราคาน�้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ขายส่ง กทม. ในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.85
ต่อปี โดยปี 2559 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.20 บาท เพิ่มขึ้นจาก 31.30 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 12.46

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (USDA) คาดการณ์ว่าผลผลิตน�้ำมันปาล์มของโลก ปี 2560
มีปริมาณ 64.50 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 58.84 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 9.62 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตรายใหญ่
ได้แก่ อินโดนีเซียและมาเลเซีย มีการขยายเนื้อที่เพาะปลูกเพื่อรองรับกับความต้องการของตลาดที่ยังมีการ
ขยายตัวเพิ่มขึ้น ประกอบกับสภาพภูมิอากาศกลับเข้าสู่ภาวะปกติ และมีปริมาณน�้ำฝนเพิ่มขึ้นจากการคาดการณ์
การเกิดภาวะลานีญา
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าโลกมีความต้องการใช้น�้ำมันปาล์ม 63.00 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 59.94 ล้านตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 5.11 เนื่องจากน�้ำมันปาล์มสามารถใช้เพื่อการบริโภคและเพื่อพลังงานทดแทน และตลาด
ยังคงความต้องการเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต้องการน�้ำมันปาล์มเพื่อผลิตไบโอดีเซล โดยประเทศผู้ใช้
น�้ำมันปาล์มที่ส�ำคัญ ได้แก่ อินเดีย 10.20 ล้านตัน อินโดนีเซีย 9.10 ล้านตัน สหภาพยุโรป 6.52 ล้านตัน และ
จีน 5.05 ล้านตัน ตามล�ำดับ
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่ามีปริมาณการส่งออกน�้ำมันปาล์มของโลก 47.81 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 44.83
ล้านตันในปี 2559 ร้อยละ 6.65 เนื่องจากความต้องการใช้เพื่อการบริโภคและเพื่อพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น
โดยประเทศผูส้ ง่ ออกน�ำ้ มันปาล์มดิบทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย 26.00 ล้านตัน และมาเลเซีย 17.50 ล้านตัน ตามล�ำดับ
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่ามีปริมาณการน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มของโลก 46.34 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 43.43
ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 6.70 เนื่องจากอินเดียและจีน มีความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มเพิ่มมากขึ้น โดยประเทศ
ผู้น�ำเข้าน�้ำมันปาล์มที่ส�ำคัญ ได้แก่ อินเดีย 10.00 ล้านตัน สหภาพยุโรป 6.60 ล้านตัน และจีน 5.10 ล้านตัน
ตามล�ำดับ
61
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(4) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาน�้ำมันปาล์มในตลาดโลกมีแนวโน้มทรงตัวเมื่อเทียบกับปี 2559 โดยราคา
น�้ำมันปาล์มในตลาดมาเลเซียจะเคลื่อนไหวอยู่ในระดับเฉลี่ยตันละ 2,500.00 ริงกิต (22.50 บาทต่อกิโลกรัม)
เนื่องจากปริมาณผลผลิตน�้ำมันปาล์มดิบโลกมีปริมาณมากขึ้น ในขณะที่สต็อกน�้ำมันปาล์มดิบโลกยังคงทรงตัว
อยู่ในระดับต�่ำ โดยในปี 2560 คาดว่าจะมีสต็อกน�้ำมันปาล์มดิบ 7.22 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 7.19 ล้านตัน ในปี
2559 ร้อยละ 0.42
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่ามีเนื้อที่ให้ผล 4.92 ล้านไร่ ผลผลิต 12.10 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 2,459
กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจากเนื้อที่ให้ผล 4.59 ล้านไร่ ผลผลิต 11.17 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 2,459 กิโลกรัม ในปี
2558 ร้อยละ 7.19 ร้อยละ 8.33 และร้อยละ 0.94 ตามล�ำดับ เป็นผลจากการขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมัน
ตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์ม ปี 2551-2555 ต้นปาล์มเริ่มให้ผลแล้ว แต่ผลกระทบ
จากภัยแล้งในช่วง 1-2 ปี ที่ผ่านมายังคงส่งผลต่อการติดผลของปาล์มน�้ำมัน ท�ำให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นเล็กน้อย
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มเพื่อการบริโภค 1,050,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก
970,945 ตัน ในปี 2559 ร้อยละ 8.14 และความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มเพื่อผลิตไบโอดีเซล 1,000,000 ตัน
เพิ่มขึ้นจาก 890,585 ตัน ในปี 2559 ร้อยละ 12.29 เนื่องจากคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.)
ในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2559 มีมติเห็นชอบให้มีการใช้น�้ำมันไบโอดีเซล B10 เป็นพลังงานทางเลือกภายใน
เดือนพฤษภาคม 2560 (ในรถราชการ/ทหาร/เอกชน)
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าปริมาณการส่งออกน�้ำมันปาล์มและผลิตภัณฑ์ของไทย 150,000 ตัน มูลค่า
4,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 147,952 ตัน มูลค่า 4,478 ล้านบาท ในปี 2559 ร้อยละ 1.38 และร้อยละ 0.49
ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตามปริมาณการส่งออกจะปรับตัวเพิ่มขึ้นหรือไม่ ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของระดับราคา
ภายในประเทศกับราคาในตลาดโลก และนโยบายการส่งออกของประเทศ
(3) ราคา
จากการคาดการณ์วา่ ความต้องการใช้นำ�้ มันปาล์มดิบในโลกยังคงมีแนวโน้นเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง
เฉลี่ยร้อยละ 4.04 ต่อปี ในขณะที่สต็อกน�้ำมันปาล์มดิบโลกทรงตัวอยู่ในระดับต�่ำ คาดว่าปี 2560 ราคา
น�้ำมันปาล์มดิบจะเคลื่อนไหวตามราคาตลาดโลกอยู่ระหว่างกิโลกรัมละ 19.50 – 24.50 บาท และส่งผลให้ราคา
ผลปาล์มสดที่เกษตรกรขายได้ ในปี 2560 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.00 บาท

62
ปาล์มน้ำ�มัน

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต การส่งออก และราคา


2.3.1 ปัจจัยด้านบวก
(1) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ในคราวประชุมเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2559
ได้มีมติเห็นชอบให้มีการใช้น�้ำมันไบโอดีเซล B10 เป็นพลังงานทางเลือกภายในเดือนพฤษภาคม 2560 โดยให้
ด�ำเนินโครงการน�ำร่องการใช้น�้ำมันใบโอดีเซล B10 ในรถราชการ/ทหาร/เอกชน และให้พิจารณาด�ำเนินการเพิ่ม
สัดส่วนน�้ำมันปาล์มตามแผน AEDP 2015 ส่งผลท�ำให้ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มดิบของไทยเพิ่มขึ้น
(2) คณะกรรมการนโยบายปาล์มน�้ำมันแห่งชาติ (กนป.) ในคราวประชุมเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2559
ได้มีมติเห็นชอบกรอบยุทธศาสตร์ปฏิรูปปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์มทั้งระบบ ปี 2560 – 2579 ส่งผลให้
อุตสาหกรรมปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์มของไทยมีประสิทธิภาพและสามารถแข่งขันได้
(3) ปริมาณสต็อกน�้ำมันปาล์มดิบของไทย ณ ต้นปี 2559 คาดว่ามีประมาณ 230,000 ตัน ซึ่งเป็น
ระดับสต็อกทีเ่ หมาะสม (225,000 ตัน) ในขณะทีก่ ำ� ลังการผลิตของโรงสกัดมีมากกว่าผลผลิตทีอ่ อกสูต่ ลาด ส่งผลให้
ราคาปาล์มน�้ำมันที่เกษตรกรได้รับมีแนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับสูง
(4) ปริมาณสต็อกน�้ำมันปาล์มดิบของอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตปาล์มน�้ำมัน
รายใหญ่ของโลกมีแนวโน้มทรงตัวอยู่ในระดับต�่ำกว่า 8 ล้านตัน ในขณะที่ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มดิบของโลก
ยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้นเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 4.04 ต่อปี ส่งผลให้ราคาน�้ำมันปาล์มดิบในตลาดโลกปรับตัวเพิ่มขึ้น
(5) การตระหนักและให้ความส�ำคัญในเรื่องของการใช้พลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน
ส่งผลให้ประเทศต่าง ๆ มีการใช้/และหรือเพิ่มสัดส่วนการใช้ไบโอดีเซลผสมในน�้ำมันดีเซลหมุนเร็วเพิ่มมากขึ้น
ส่งผลท�ำให้ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มดิบในตลาดโลกเพิ่มขึ้น
(6) สหภาพยุโรปมีความต้องการใช้นำ�้ มันปาล์มเพือ่ ใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตไบโอดีเซลเพิม่ มากขึ้น
ประกอบภาคเอกชนกับไทยสนับสนุนการจัดท�ำมาตรฐานในการผลิตน�้ำมันปาล์มตาม RSPO (Roundtable on
Sustainable Palm Oil) ส่งผลท�ำให้น�้ำมันปาล์มดิบของไทยเป็นที่ต้องการของตลาดสหภาพยุโรป
2.3.2 ปัจจัยด้านลบ
(1) การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเกิดภาวะน�้ำท่วมและฝนทิ้งช่วงในแหล่งปลูก
จะส่งผลให้ผลผลิตปาล์มน�้ำมันที่จะออกสู่ตลาดมีความคลาดเคลื่อน ไม่เป็นไปตามฤดูกาลปกติ ซึ่งอาจเกิดปัญหา
การขาดแคลนหรือเกินความต้องการใช้ในบางช่วง จะส่งผลต่อความผันผวนของราคา
(2) ภาวะเศรษฐกิจโลกยังชะลอตัว ส่งผลให้ความต้องการน�ำ้ มันปาล์มดิบในตลาดโลกโดยเปรียบเทียบ
ปรับตัวเพิ่มขึ้นน้อยกว่าปริมาณผลผลิตปาล์มในตลาดโลก
(3) ปริมาณผลผลิตถั่วเหลืองของโลกมีมาก ท�ำให้ราคาน�้ำมันถั่วเหลืองอ่อนตัวลง และกระทบต่อ
ราคาน�้ำมันพืชอื่น รวมถึงราคาน�้ำมันปาล์มดิบปรับตัวลดลง ซึ่งมีผลโดยตรงต่อความสามารถในการส่งออก
น�้ำมันปาล์มดิบของไทย
(4) นโยบายการปรับลดอัตราภาษีการส่งออกน�้ำมันปาล์มดิบของอินโดนีเซียและมาเลเซีย เพื่อ
กระตุ้นการส่งออกและขยายตลาด ส่งผลให้ราคาน�้ำมันปาล์มดิบโลกมีแนวโน้มลดลงและจะส่งผลกระทบต่อ
การส่งออกน�้ำมันปาล์มดิบของไทย

63
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(5) แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 (AEDP 2015) เมือ่ เทียบกับ


แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2556-2578 (AEDP 2012) มีการลดเป้าหมายการใช้
ไบโอดีเซลในช่วงต้นแผนค่อนข้างมาก ส่งผลท�ำให้ความต้องการใช้น�้ำมันปาล์มดิบเพื่อผลิตไบโอดีเซลตั้งแต่
ปี 2563-2579 ต�่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม
(6) ค่าเงินริงกิตของมาเลเซียอ่อนตัวลงค่อนข้างมากเมื่อเทียบกับเงินค่าเงินบาท โดยในปี 2559
ค่าเงินริงกิตเฉลี่ยเท่ากับ 8.73 บาทต่อริงกิต ลดลงจาก 10.22 บาทต่อริงกิต ในปี 2555 ร้อยละ 14.56 ส่งผล
ท�ำให้ต่อความสามารถในการส่งออกน�้ำมันปาล์มและผลิตภัณฑ์ของไทย

ตารางที่ 1 บัญชีสมดุลน�้ำมันปาล์มโลก ปี 2554/55 - 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ปี ผลผลิต น�ำเข้า ส่งออก ความต้องการใช้ สต็อกคงเหลือ
2554/55 52.58 38.84 39.84 50.47 7.51
2555/56 56.38 42.13 43.15 55.42 9.28
2556/57 59.27 42.00 43.21 58.05 9.29
2557/58 61.63 44.62 47.46 58.39 9.70
2558/591/ 58.84 43.43 44.83 59.94 7.19
อัตราเพิม่ (ร้อยละ) 3.19 2.85 3.37 4.04 - 0.43
2559/602/ 64.50 46.34 47.81 63.00 7.22
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ
ที่มา: Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

64
ปาล์มน้ำ�มัน

ตารางที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน น�้ำมันปาล์ม รายประเทศ ปี 2554/55-2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/591/ อั(ร้ตอราเพิ
ยละ)
่ม ร้อยละ 2559/602/
ผลผลิต
อินโดนีเซีย 26.20 28.50 30.50 33.00 32.00 5.62 54.38 35.00
มาเลเซีย 18.20 19.32 20.16 19.80 17.70 - 0.27 30.08 20.00
ไทย 1.89 2.14 2.00 2.07 2.10 1.79 3.57 2.30
อื่น ๆ 6.29 6.42 6.61 6.68 7.04 2.69 11.96 7.20
รวม 52.58 56.38 59.27 61.63 58.84 3.19 100.00 64.50
น�ำเข้า
อินเดีย 7.47 8.36 7.82 9.26 8.74 4.25 20.12 10.00
สหภาพยุโรป 5.71 6.81 6.97 6.72 6.70 3.11 15.43 6.60
จีน 5.84 6.59 5.57 5.70 4.69 - 5.67 10.80 5.10
ปากีสถาน 2.22 2.25 2.73 2.83 3.00 8.67 6.91 3.30
อื่น ๆ 17.60 18.12 18.91 20.11 20.30 3.97 46.74 21.34
รวม 38.84 42.13 42.00 44.62 43.43 2.85 100.00 46.34
ส่งออก
อินโดนีเซีย 18.45 20.37 21.72 25.96 24.00 7.99 53.54 26.00
มาเลเซีย 17.59 18.52 17.34 17.38 16.60 - 1.78 41.20 17.50
อื่น ๆ 3.80 4.26 4.15 4.12 4.23 1.83 10.18 4.31
รวม 39.84 43.15 43.21 47.46 44.83 3.37 100.00 47.81
การบริโภค
อินเดีย 7.49 8.25 8.45 9.25 9.20 5.40 15.35 10.20
อินโดนีเซีย 7.13 8.04 8.75 7.42 8.57 2.92 14.30 9.10
สหภาพยุโรป 5.52 6.56 6.85 6.73 6.60 3.90 11.01 6.52
จีน 5.84 6.39 5.70 5.70 4.80 - 4.94 8.01 5.05
มาเลเซีย 2.15 2.45 2.87 2.94 3.12 9.71 5.21 3.17
อื่น ๆ 22.34 23.73 25.43 26.35 27.65 5.74 46.13 29.26
รวม 50.47 55.42 58.05 58.38 59.94 4.04 100.00 63.53
สต็อกคงเหลือ
อินโดนีเซีย 1.45 1.15 3.21 2.83 2.26 8.12 31.43 2.16
มาเลเซีย 2.48 1.78 2.09 2.64 1.55 - 5.31 21.56 1.68
อื่น ๆ 3.58 4.35 3.99 4.23 3.38 - 1.42 47.01 3.38
รวม 7.51 9.28 9.29 9.70 7.19 - 0.43 100.00 7.22
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ ประมาณการ
ที่มา: Oilseeds, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016
65
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 3 ราคาน�้ำมันปาล์มดิบในตลาดโลก ปี 2555 - 2560


ตลาดมาเลเซีย3/ ตลาดรอตเตอร์ดัม4/
ปี
ริงกิต/ตัน บาท/กก. ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน บาท/กก.
2555 2,907.59 29.73 996.08 31.09
2556 2,412.38 23.91 856.92 26.45
2557 2,412.91 24.37 814.78 26.57
2558 2,219.93 19.69 616.09 21.09
25591/ 2,610.00 23.00 700.00 24.80
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) - 2.95 - 6.83 - 9.84 - 6.56
25602/ 2,500.00 22.50 680.00 23.50
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/
ประมาณการ
ที่มา: 3/ BURSA MALAYSIA 4/
ตลาดรอตเตอร์ดัม

ตารางที่ 4 เนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผล ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ปาล์มน�้ำมันของไทย ปี 2555 - 2560


เนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่
ปี (ล้านไร่) (ล้านไร่) (ล้านตัน) (กก./ไร่)
2555 4.39 3.70 11.31 3,057
2556 4.49 3.77 12.43 3,297
2557 4.62 4.03 12.47 3,100
2558 4.70 4.30 12.05 2,803
25591/ n.a. 4.59 11.17 2,436
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2.36 5.97 - 0.56 - 5.96
25602/ n.a. 4.92 12.10 2,459
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/
ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

66
ตารางที่ 5 บัญชีสมดุลน�้ำมันปาล์มดิบของไทย ปี 2555 - 2560 หน่วย: ตัน

ปี สต็อกต้นปี ผลผลิต น�ำเข้า รวม ส่งออก บริโภคภายใน (6) สต็อกปลายปี รวม


(1) (2) (3) (4) (5) บริโภค ผลิตไบโอดีเซล (7) (8)
2555 297,586 1,892,552 40,056 2,230,194 307,386 932,258 626,380 364,170 2,230,194
2556 364,170 2,135,183 - 2,499,353 565,423 957,887 772,043 204,000 2,499,353
2557 204,000 2,000,610 - 2,204,609 255,252 939,369 842,398 167,591 2,204,610
2558 167,591 2,068,475 53,279 2,289,345 68,102 1,053,329 833,223 334,691 2,2890,345
25591/ 334,691 1,814,496 2,149,097 56,638 970,945 890,585 230,929 2,149,097
อัตราเพิ่ม
- 5.27 - 1.55 - - 1.61 - 42.30 1.78 8.11 - 4.07 - 1.61
(ร้อยละ)
25602/ 230,929 2,162,496 - 2,393,425 70,000 1,050,000 1,000,000 273,425 2,393,425
2/
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น ประมาณการ
ที่มา: กรมการค้าภายใน
ปาล์มน้ำ�มัน

67
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 6 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้าน�้ำมันปาล์มดิบและผลิตภัณฑ์ ปี 2555 - 2560


การส่งออก การน�ำเข้า
รายการ
ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท) ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
2555 411,926 13,959 158,458 5,884
2556 725,222 17,647 110,588 3,268
2557 355,331 11,300 127,738 4,841
2558 131,189 3,904 158,008 4,650
25591/ 147,952 4,478 110,125 3,827
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) - 31.32 - 31.49 - 3.64 - 4.95
25602/ 150,000 4,500 125,000 3,900
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/
ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 7 ราคาปาล์มน�้ำมันและน�้ำมันปาล์ม ปี 2555 - 2560


หน่วย: บาท/กิโลกรัม

25591/ อั(ร้ตอราเพิ ่ม 25602/


รายการ 2555 2556 2557 2558 ยละ)
ผลปาล์มสดทีเ่ กษตรกรขายได้ 4.77 3.62 4.35 4.12 5.50 4.23 5.00
น�้ำมันปาล์มดิบขายส่ง กทม. 30.86 25.24 28.57 27.33 32.50 1.85 31.00
น�้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ขายส่ง กทม. 35.66 28.03 32.37 31.30 35.20 0.85 33.50
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/
ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

68
กลุ่มพืชสวน
7 ยางพารา
กาแฟ 8
9 สับปะรด
ลำ�ไย 10
11 ทุเรียน
มังคุด 12
13 มันฝรั่ง
กล้วยไม้ 14
69
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off

70
7
ยางพารา
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื้อที่ปลูกยางพาราของโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มขึ้นจาก 73.97
ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 78.00 ล้านไร่ ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.23 ต่อปี ส�ำหรับผลผลิตยางพารา
ของโลกเพิ่มขึ้นจาก 11.66 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 12.43 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.29 ต่อปี
ถึงแม้ว่าราคายางพาราจะลดต�่ำลงในปี 2556 ต่อเนื่องมาจนถึง 2559 แต่เนื่องจากยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่
ให้ผลตอบแทนสูงเมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจอื่นจึงจูงใจให้มีการขยายเนื้อที่ปลูกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ
ในประเทศผู้ผลิตหลัก ส่งผลให้เนื้อที่เปิดกรีดเพิ่มมากขึ้น
ประเทศผู้ผลิตยางพารารายใหญ่ของโลก 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย
ในปี 2559 มีเนื้อที่ปลูกยางพารารวม 49.12 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 62.97 ของเนื้อที่ปลูกยางพาราของโลก และ
มีผลผลิตรวม 7.99 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 64.28 ของผลผลิตโลก โดยอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีเนื้อที่ปลูก
ยางพารามากที่สุดในโลก มีการขยายเนื้อที่ปลูกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 1.23 ต่อปี จาก 21.78 ล้านไร่
ในปี 2555 เป็น 22.74 ล้านไร่ ในปี 2559 แต่อินโดนีเซียมีผลผลิตมากเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากไทย โดย
ผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.69 ต่อปี จาก 3.01 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 3.16 ล้านตัน ในปี 2559 ส�ำหรับ
มาเลเซียมีเนื้อที่ปลูกเป็นอันดับ 4 ของโลกรองจากอินโดนีเซีย ไทย และเวียดนาม โดยมีเนื้อที่ปลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ
1.32 ต่อปี จาก 6.51 ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 6.83 ล้านไร่ ในปี 2559 ในขณะที่ผลผลิตลดลงร้อยละ 7.47 ต่อปี
จาก 0.92 ล้านตัน ในปี 2555 เหลือ 0.67 ล้านตัน ในปี 2559
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาความต้องการใช้ยางพาราของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.09 ต่อปี
จาก 11.05 ล้านตัน ในปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็น 12.48 ล้านตัน ในปี 2559 โดยความต้องการใช้ยางพาราของประเทศ
ต่าง ๆ เป็นดังนี้
1) จีน เป็นประเทศทีม่ กี ารลงทุนจากต่างประเทศสูงจึงท�ำให้มกี ารขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่าง
รวดเร็ว รวมทัง้ มีการขยายตัวของอุตสาหกรรมรถยนต์และอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง เช่น อุตสาหกรรมยางล้อ อุปกรณ์
และอะไหล่รถยนต์ ท�ำให้จีนมีความต้องการใช้ยางพาราเพื่ออุตสาหกรรมดังกล่าวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี
2555-2559 การใช้ยางของจีนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 3.89 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 4.69 ล้านตัน ในปี 2559
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.77 ต่อปี
2) กลุ ่ ม ประเทศสหภาพยุ โรป มีค วามต้องการใช้ยางพาราเพิ่มขึ้นจาก 1.08 ล้านตัน
ในปี 2555 เป็น 1.25 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.90 ต่อปี เนื่องจากความต้องการใช้ยางพารา
เพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง

71
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

3) อินเดีย มีความต้องการใช้ยางพาราเพิม่ ขึน้ จาก 0.99 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 1.02 ล้านตัน
ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.91 ต่อปี เนื่องจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรม
ต่อเนื่องภายในประเทศ
4) สหรัฐอเมริกา มีความต้องการใช้ยางพาราลดลงจาก 0.95 ล้านตัน ในปี 2555 เหลือ
0.92 ล้านตัน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 0.32 ต่อปี เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจซบเซา
5) ญี่ปุ่น มีความต้องการใช้ยางพาราในประเทศลดลงจาก 0.73 ล้านตัน ในปี 2555 เหลือ
0.66 ล้านตัน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 2.28 ต่อปี เนื่องจากญี่ปุ่นได้มีการย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศ
แหล่งวัตถุดิบ เช่น อินโดนีเซีย เพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การส่งออกยางพาราโลกเพิ่มขึ้นจาก 8.87 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 10.92
ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.58 ต่อปี โดยการส่งออกยางพาราของประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญนอกจาก
ไทยมีดังนี้
1) อินโดนีเซีย ส่งออกยางพาราอันดับ 2 ของโลกรองจากไทย ถึงแม้การส่งออกจะเพิ่มขึ้น
จาก 2.52 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 2.54 ล้านตัน ในปี 2559 แต่ในภาพรวมการส่งออกยางพาราของอินโดนีเซีย
ลดลงร้อยละ 0.17 ต่อปี โดยลดลงจาก 2.77 ล้านตัน ในปี 2556 เหลือเพียง 2.54 ล้านตัน ในปี 2559
2) เวียดนาม ส่งออกยางพาราอันดับ 3 ของโลก ส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 1.02 ล้านตัน ในปี 2555
เป็น 1.17 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.97 ต่อปี
3) มาเลเซีย ส่งออกยางพาราอันดับ 4 ของโลก มีปริมาณการส่งออกลดลงจาก 1.29 ล้านตัน
ในปี 2555 เป็น 0.99 ล้านตัน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 6.77 ต่อปี โดยปริมาณการส่งออกส่วนหนึ่งเป็น
การน�ำเข้าจากประเทศอื่น ๆ
(3) ราคา
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาราคายางพาราในตลาดโลกปรับลดลงอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากได้รับ
ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และลุกลามไปทั่วโลกรวมทั้งจีน ซึ่งเป็นผู้ใช้
ยางพารารายใหญ่ของโลก ท�ำให้การรับซื้อและการลงทุนชะลอตัว โดยราคายางพาราในตลาดต่าง ๆ เป็นดังนี้
1) ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดสิงคโปร์: SICOM
ราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ลดลงจากกิโลกรัมละ 337.50 เซนต์สหรัฐฯ ในปี 2555 เหลือ
กิโลกรัมละ 156.72 เซนต์สหรัฐฯ ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 19.09 ต่อปี และเมื่ออยู่ในรูปของเงินบาทลดลง
จากกิโลกรัมละ 103.79 บาท ในปี 2555 เหลือกิโลกรัมละ 54.23 บาท ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 16.32 ต่อปี
ราคายางแท่ง ลดลงจากกิโลกรัมละ 314.99 เซนต์สหรัฐฯ ในปี 2555 เหลือกิโลกรัมละ
131.60 เซนต์สหรัฐฯ ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 21.01 ต่อปี และเมือ่ อยูใ่ นรูปของเงินบาทลดลงจากกิโลกรัมละ
98.05 บาท ในปี 2555 เหลือกิโลกรัมละ 45.14 บาท ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 18.58 ต่อปี
2) ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดโตเกียว: TOCOM
ราคายางแผ่นรมควันชัน้ 3 เมือ่ พิจารณาในรูปของเงินเยนลดลงจากกิโลกรัมละ 264.19 เยน
ในปี 2555 เหลือกิโลกรัมละ 165.80 เยน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 11.95 ต่อปี และเมื่ออยู่ในรูปของ
72
ยางพารา

เงินบาทลดลงจากกิโลกรัมละ 102.77 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 53.24 บาท ในปี 2559 หรือลดลง
ร้อยละ 16.23 ต่อปี
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยมีเนื้อที่กรีดเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.00 ต่อปี โดยเพิ่มขึ้นจาก 15.60
ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 19.55 ล้านไร่ ในปี 2559 ในขณะที่ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 3.89 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น
4.16 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.14 ต่อปี ในขณะที่ผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 263 กิโลกรัมต่อไร่
ในปี 2555 เหลือ 224 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 4.32 ต่อปี เนื้อที่กรีดได้และผลผลิตเพิ่มขึ้น
เนื่องจากนโยบายสนับสนุนการขยายเนื้อที่ปลูกยางพาราของรัฐบาล ประกอบกับในช่วงปี 2553-2554 ราคา
ยางพาราอยู่ในระดับสูงจูงใจให้เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกโดยเฉพาะในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โดยปัจจุบันประเทศไทยมีเนื้อที่ปลูกยางพารามากเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากอินโดนีเซีย แต่ไทยเป็นประเทศ
ทีม่ ผี ลผลิตยางมากทีส่ ดุ ของโลก ส่วนผลผลิตต่อไร่ทมี่ แี นวโน้มลดลงเนือ่ งจากมีพนื้ ทีเ่ ปิดกรีดใหม่เพิม่ มากขึน้ ท�ำให้
ได้ผลผลิตต่อไร่ต�่ำ
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาต้นทุนการผลิตยางแผ่นดิบของเกษตรกรลดลงจาก 17,720.29 บาทต่อไร่
ในปี 2555 เหลือ 14,237.09 บาทต่อไร่ ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 5.78 ต่อปี ส่งผลให้ต้นทุนการผลิต
ต่อหน่วยลดลงจาก 64.20 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2555 เหลือ 62.72 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2559 หรือลดลง
ร้อยละ 0.62 ต่อปี
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
1) ความต้องการใช้ยางพาราแยกตามชนิดของยาง
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ความต้องการใช้ยางพาราของไทยเพิ่มขึ้นจาก 505,052 ตัน ในปี
2555 เป็น 610,000 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.34 ต่อปี โดยเพิ่มขึ้นเนื่องจากการขยายฐานการผลิต
ของอุตสาหกรรมจากต่างประเทศ ทั้งอุตสาหกรรมยางล้อและอุตสาหกรรมแบบจุ่ม เช่น ถุงมือยาง นอกจากนี้
ภาครัฐยังส่งเสริม/สนับสนุนให้น�ำยางพารามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น
โดยความต้องการใช้ยางพาราแยกตามชนิดได้ดังนี้
1.1) ยางแผ่นรมควันมีการใช้ในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 127,453 ตัน ในปี 2555 เป็น
157,402 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.76 ต่อปี
1.2) ยางแท่งมีการใช้ในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 164,774 ตัน ในปี 2555 เป็น 227,470 ตัน
ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.69 ต่อปี
1.3) น�้ำยางข้นมีการใช้ในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 134,394 ตัน ในปี 2555 เป็น 182,383 ตัน
ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.75 ต่อปี
1.4) ยางอื่น ๆ มีการใช้ในประเทศลดลงจาก 78,785 ตัน ในปี 2555 เหลือ 42,745 ตัน
ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 16.45 ต่อปี

73
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2) ความต้องการใช้ยางพาราแยกตามประเภทอุตสาหกรรม
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาความต้องการใช้ยางพาราของไทยแยกตามประเภทอุตสาหกรรม ดังนี้
2.1) อุตสาหกรรมยางล้อ เป็นอุตสาหกรรมที่มีความต้องการใช้ยางพารามากที่สุด มีการ
ใช้ยางพาราเพิ่มขึ้นจาก 339,612 ตัน ในปี 2555 เป็น 343,181 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.03 ต่อปี
2.2) อุตสาหกรรมถุงมือยาง มีการใช้ยางพาราสูงขึ้นจาก 66,381 ตัน ในปี 2555 เป็น
83,277 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.36 ต่อปี
2.3) อุตสาหกรรมยางยืด มีการใช้ยางพาราเพิ่มขึ้นจาก 67,078 ตัน ในปี 2555 เป็น
89,135 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.81 ต่อปี
2.4) อุตสาหกรรมยางรัดของ มีการใช้ยางพาราเพิ่มขึ้นจาก 10,032 ตัน ในปี 2555 เป็น
25,387 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.87 ต่อปี
2.5) อุตสาหกรรมอื่น ๆ มีการใช้ยางพาราเพิ่มขึ้นจาก 21,949 ตัน ในปี 2555 เป็น
69,020 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.65 ต่อปี
(2) การส่งออก
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาการส่งออกยางพาราของไทยเพิ่มขึ้นจาก 3.27 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น
3.70 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.06 ต่อปี เนื่องจากความต้องการใช้ยางพาราในอุตสาหกรรม
ยานยนต์และอุตสาหกรรมต่อเนื่องของจีนและอินเดียเพิ่มขึ้น ทั้งนี้แนวโน้มการส่งออกยางแท่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 5.98 เนื่องจากตลาดมีความต้องการใช้ยางแท่งเพิ่มขึ้น เพราะมีราคาต�่ำกว่ายางแผ่นรมควัน ส�ำหรับ
ยางคอมปาวด์ในภาพรวมมีแนวโน้มลดลงร้อยละ 4.79 ต่อปี ถึงแม้ในปี 2559 การส่งออกจะเพิ่มขึ้น โดยส่งออก
ไปจีนมากที่สุด ส�ำหรับประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญของไทย ได้แก่
1) จีน มีแนวโน้มน�ำเข้ายางพาราจากไทยเพิ่มขึ้นจาก 1.68 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 2.03
ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.36 ต่อปี
2) มาเลเซีย มีแนวโน้มน�ำเข้ายางพาราจากไทยเพิ่มขึ้นจาก 0.38 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น
0.42 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.85 ต่อปี
3) ญี่ปุ่น มีแนวโน้มน�ำเข้ายางพาราจากไทยลดลงจาก 0.29 ล้านตัน ในปี 2555 เหลือ 0.28
ล้านตัน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 2.56 ต่อปี
4) สหรัฐอเมริกา น�ำเข้ายางพาราจากไทยลดลงจากปริมาณ 0.18 ล้านตัน ในปี 2555 เหลือ
0.16 ล้านตัน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 1.70 ต่อปี
ปี 2559 ไทยส่งออกยางพารา 3.70 ล้านตัน ลดลงจาก 3.82 ล้านตัน ของปี 2556 ร้อยละ
3.14 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจของโลกอยู่ในภาวะซบเซา ประกอบกับประเทศผู้ใช้ได้หันไปน�ำเข้ายางพาราจาก
ประเทศคู่แข่งเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากราคาต�่ำกว่าของไทย นอกจากนี้ภาครัฐยังมีการส่งเสริม/สนับสนุนให้มีการใช้
ยางพาราภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น
(3) ราคา
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาราคายางพาราในประเทศปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง และลดลงอย่างมาก
ในปี 2555 ต่อเนื่องถึงปี 2559 เนื่องจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกาที่ซบเซา
74
ยางพารา

นอกจากนี้จีนซึ่งเป็นประเทศผู้ใช้ยางพารารายใหญ่ก็ประสบภาวะเศรษฐกิจซบเซาเช่นเดียวกัน รวมทั้งราคาน�้ำมัน
ในตลาดโลกปรับตัวลดลง ประกอบกับความต้องการใช้ยางพาราของประเทศผู้ใช้เพิ่มขึ้นในอัตราที่ต�่ำกว่า
การเพิ่มขึ้นของผลผลิต โดยราคายางพาราในตลาดต่าง ๆ เป็นดังนี้
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ราคายางแผ่นดิบคุณภาพ 3 ยางก้อนคละ และน�้ำยางสด ที่เกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา
ลดลงร้อยละ 18.09 ร้อยละ 18.07 และร้อยละ 17.34 ต่อปี ตามล�ำดับ
2) ราคาประมูล ณ ตลาดกลางยางพารา
ราคาประมูลยางแผ่นดิบคุณภาพ 3 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และน�้ำยางสด ณ ตลาดกลาง
ยางพาราสงขลา ลดลงร้อยละ 15.31 ร้อยละ 15.24 และร้อยละ 15.86 ต่อปี ตามล�ำดับ
3) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี.
ราคายางแผ่นรมควันชั้น 3 ยางแท่ง 20 และน�้ำยางข้น ลดลงร้อยละ 16.00 ร้อยละ 18.10
และร้อยละ 15.75 ต่อปี ตามล�ำดับ

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่ า ผลผลิ ต ยางพาราโลกมี ป ระมาณ 13.15 ล้ า นตั น เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ที่ ผ ่ า นมา
ร้อยละ 5.79 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตต่าง ๆ เช่น เวียดนาม สปป.ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ที่ขยายเนื้อที่ปลูก
ได้ทยอยเปิดกรีดยางเพิ่มมากขึ้น
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าความต้องการใช้ยางพาราของโลกจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2559 เนื่องจาก
ความต้องการใช้ยางพาราในอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมต่อเนื่องของจีนและอินเดียยังคงขยายตัว
อย่างไรก็ตามจากภาวะเศรษฐกิจของโลกทีอ่ ยูใ่ นช่วงถดถอยจะท�ำให้ความต้องการใช้ยางพาราเพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจาก
ปีที่ผ่านมา
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าปริมาณการส่งออกยางพาราในตลาดโลกจะลดลงจากปีที่ผ่านมาเล็กน้อย
เนือ่ งจากคาดว่าภาวะเศรษฐกิจโลกอยูใ่ นช่วงถดถอย ทัง้ นี้ จีนซึง่ เป็นผูใ้ ช้ยางพารารายใหญ่ของโลกมีการใช้ผลผลิต
ภายในประเทศแทนการน�ำเข้า
(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคายางพาราในตลาดโลกจะโน้มลดลงจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตโลก
เพิ่มขึ้น นอกจากนี้คาดการณ์ว่าภาวะเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ซึ่งเป็นผู้บริโภคสินค้าโภคภัณฑ์
รายใหญ่ของโลกยังชะลอตัวประกอบกับเศรษฐกิจจีนซึ่งเป็นผู้ใช้ยางพารารายใหญ่ของโลกชะลอตัวเช่นเดียวกัน

75
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าจะมีเนื้อที่กรีดได้ประมาณ 20.61 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นจาก 19.55 ล้านไร่ ของปี 2559
ร้อยละ 5.42 และปี 2560 คาดว่าผลผลิตมีประมาณ 4.84 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.16 ล้านตัน ของปี 2559 ร้อยละ
16.35 เนื่องจากเนื้อที่กรีดได้เพิ่มมากขึ้น ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่ ในปี 2560 คาดว่าเพิ่มขึ้นเป็น 235 กิโลกรัมต่อไร่
จาก 224 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.91 เนื่องจากปริมาณน�้ำฝนในช่วงปลายปี 2559
มีมากกว่าปีที่ผ่านมา ท�ำให้ต้นยางมีความสมบูรณ์ท�ำให้มีปริมาณน�้ำยางเพิ่มมากขึ้น
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าการใช้ยางพาราจะเพิ่มขึ้นเป็น 0.62 ล้านตัน เนื่องจากยังมีความต้องการใช้
ยางพาราในอุตสาหกรรมยานยนต์รวมทั้งนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ยางพาราภายใน
ประเทศให้มากขึ้น
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกยางพาราของไทยจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีที่ผ่านมา จากการ
เพิ่มขึ้นของผลผลิต
(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคายางพาราในประเทศจะโน้มลดลงจากปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นไปตามทิศทาง
ของราคาในตลาดโลก
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต และการส่งออก
2.3.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
(1) เนื้อที่กรีดได้เพิ่มขึ้นจะส่งผลให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น
(2) สภาพภูมิอากาศเอื้ออ�ำนวยต่อการเจริญเติบโตของยางพารา
(3) การดูแลรักษาของเกษตรกร
2.3.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก
(1) ภาวะวิกฤติเศรษฐกิจของโลกคาดว่าจะอยู่ในช่วงชะลอตัว โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา
สหภาพยุโรป และจีน ซึ่งเป็นประเทศผู้ใช้ยางพารารายใหญ่ของโลก
(2) อัตราแลกเปลี่ยนและราคาน�้ำมันในตลาดโลกผันผวน ส่งผลกระทบต่อราคา
(3) ผลผลิตยางพาราของโลกปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะประเทศ สปป.ลาว เวียดนาม กัมพูชา
เมียนมาร์ ซึ่งปัจจุบันได้มีการเปิดกรีดหน้ายางเพิ่มขึ้น
(4) ราคายางพาราของไทยอยู่ในระดับสูง ท�ำให้ผู้ซื้อหันไปซื้อจากประเทศคู่แข่ง เช่น อินโดนีเซีย
มาเลเซีย และเวียดนาม
(5) ราคายางสังเคราะห์ต�่ำกว่าราคายางธรรมชาติ ท�ำให้ผู้ใช้หันไปใช้ยางสังเคราะห์แทนเพื่อลด
ต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางแบบจุ่ม เช่น ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย เป็นต้น

76
ยางพารา

ตารางที่ 1 การผลิตยางพาราโลก ปี 2555 - 2559


เนื้อที่ปลูก (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน)
ปี
ไทย** อินโดนีเซีย มาเลเซีย อื่น ๆ รวม ไทย** อินโดนีเซีย มาเลเซีย อื่น ๆ รวม
2555 15.60 21.78 6.51 30.08 73.97 3.89 3.01 0.92 3.84 11.66
2556 16.49 21.82 6.51 31.56 76.38 4.29 3.24 0.83 3.92 12.28
2557 18.22 22.45 6.54 30.77 77.98 4.34 3.15 0.67 3.98 12.14
2558 18.81 22.63 6.74 29.42 77.60 4.20 3.15 0.72 4.21 12.28
2559* 19.55 22.74 6.83 28.88 78.00 4.16 3.16 0.67 4.44 12.43
อัตราเพิ่ม
6.00 1.23 1.32 -1.42 1.23 1.14 0.69 -7.47 3.68 1.29
(ร้อยละ)
หมายเหตุ: * ประมาณการ
** ข้อมูลศูนย์สารสนเทศ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ที่มา: IRSG Vol.70 No. 1-3 July - September 2016

ตารางที่ 2 ผลผลิต ปริมาณการใช้ยาง และการส่งออกของโลก ปี 2555 - 2559


หน่วย: ล้านตัน
ปี ผลผลิต ปริมาณการใช้ ส่งออก
2555 11.66 11.05 8.87
2556 12.28 11.43 9.89
2557 12.14 12.18 9.85
2558 12.28 12.15 10.21
2559* 12.43 12.48 10.92
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 1.29 3.09 4.58
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: IRSG Vol. 70 No. 1 - 3 July - September 2016

ตารางที่ 3 ความต้องการใช้ยางพาราของประเทศผู้ใช้ที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559


หน่วย: ล้านตัน
ปี โลก จีน EU อินเดีย อเมริกา ญี่ปุ่น
2555 11.05 3.89 1.08 0.99 0.95 0.73
2556 11.43 4.27 1.06 0.96 0.91 0.71
2557 12.18 4.80 1.14 1.01 0.93 0.71
2558 12.15 4.68 1.16 0.99 0.94 0.69
2559* 12.48 4.69 1.25 1.02 0.92 0.66
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 3.09 4.77 3.90 0.91 -0.32 -2.28
ที่มา: IRSG Vol. 70 No. 1 - 3 July - September 2016
77
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 4 การส่งออกยางพาราของประเทศผู้ส่งออกที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559


หน่วย: ล้านตัน
ปี โลก ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม
2555 8.87 3.17 2.52 1.29 1.02
2556 9.89 3.75 2.77 1.33 1.08
2557 9.85 3.73 2.66 1.19 1.07
2558 10.21 3.78 2.68 1.12 1.10
2559* 10.92 3.70 2.54 0.99 1.17
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 4.58 3.22 -0.17 -6.77 2.97
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: IRSG Vol. 70 No. 1 - 3 July - September 2016

ตารางที่ 5 ราคายางพาราในตลาดสิงคโปร์และตลาดโตเกียว ปี 2555 - 2559


ตลาดสิงคโปร์ (SICOM) ตลาดโตเกียว (TOCOM)
ปี ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ยางแท่ง 20 ยางแผ่นรมควันชั้น 3
Cent US/กก. บาท/กก. Cent US/กก. บาท/กก. เยน/กก. บาท/กก.
2555 337.50 103.79 314.99 98.05 264.19 102.77
2556 279.17 85.33 251.32 77.12 263.40 82.45
2557 195.13 62.60 170.84 55.38 204.15 62.04
2558 155.65 52.64 136.13 46.56 187.39 52.28
2559* 156.72 54.23 131.60 45.14 165.80 53.24
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -19.09 -16.32 -21.01 -18.58 -11.95 -16.23
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 6 พื้นที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ยางพาราของไทย ปี 2555 - 2559


ปี เนื้อที่กรีดได้ (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิต/ไร่ (กก.)
2555 15.60 3.89 263
2556 16.49 4.29 265
2557 18.22 4.34 251
2558 18.81 4.20 235
2559* 19.55 4.16 224
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 6.00 1.14 -4.32
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

78
ยางพารา

ตารางที่ 7 ต้นทุนการผลิตยางแผ่นดิบของเกษตรกร ปี 2555 - 2559


ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ ต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนต่อหน่วย
ปี (บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/กก.)
2555 13,044.35 4,675.94 17,720.29 64.20
2556 13,321.17 4,490.61 17,811.78 65.24
2557 11,633.29 4,389.01 16,022.30 63.08
2558 10,900.42 4,316.51 15,216.93 64.21
2559* 9,929.19 4,307.90 14,237.09 62.72
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -7.19 -2.01 -5.78 -0.62
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 8 ความต้องการใช้ยางพาราในประเทศแยกตามชนิดของยาง ปี 2555 - 2559


หน่วย: ตัน
ปี ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง น�้ำยางข้น อื่น ๆ รวม
2555 127,453 164,774 134,394 78,785 505,052
2556 146,301 169,184 130,394 74,749 520,628
2557 171,466 189,232 119,762 60,543 541,003
2558 184,460 223,924 179,540 42,079 600,491
2559* 157,402 227,470 182,383 42,745 610,000
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 6.76 9.69 9.75 -16.45 5.34
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กองการยาง กรมวิชาการเกษตร

ตารางที่ 9 การใช้ยางพาราในประเทศแยกตามประเภทอุตสาหกรรม ปี 2555 - 2559


หน่วย: ตัน
ปี ยางล้อ ถุงมือยาง ยางยืด ยางรัดของ อื่น ๆ รวม
2555 339,612 66,381 67,078 10,032 21,949 505,052
2556 343,984 69,645 66,603 14,815 25,581 520,628
2557 352,862 58,865 79,168 15,353 34,755 541,003
2558 337,831 81,979 87,746 24,991 67,944 600,491
2559* 343,181 83,277 89,135 25,387 69,020 610,000
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 0.03 6.36 8.81 26.87 38.65 5.34
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กองการยาง กรมวิชาการเกษตร

79
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 10 การส่งออกยางพาราของไทยแยกตามชนิดยาง ปี 2555 - 2559


หน่วย: ล้านตัน
ยางแผ่นรม ยาง
ปี ยางแท่ง น�้ำยางข้น อื่น ๆ รวม
ควัน คอมปาวด์
2555 0.66 1.29 0.57 0.65 0.10 3.27
2556 0.81 1.47 0.62 0.81 0.11 3.82
2557 0.72 1.51 0.63 0.80 0.10 3.76
2558 0.66 1.82 0.65 0.44 0.09 3.66
2559* 0.73 1.55 0.63 0.69 0.10 3.70
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -0.03 5.98 2.51 -4.79 -1.99 2.06
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 11 การส่งออกยางพาราของไทยไปยังประเทศคู่ค้าที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559


หน่วย: ล้านตัน
ปี จีน มาเลเซีย ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา อื่น ๆ รวม
2555 1.68 0.38 0.29 0.18 0.74 3.27
2556 2.14 0.46 0.29 0.15 0.78 3.82
2557 2.12 0.40 0.26 0.15 0.83 3.76
2558 2.04 0.41 0.24 0.16 0.81 3.66
2559* 2.03 0.42 0.28 0.16 0.81 3.70
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 3.36 0.85 -2.56 -1.70 2.21 2.06
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

80
ยางพารา

ตารางที่ 12 ราคายางพาราทีเ่ กษตรกรขายได้ ณ ไร่นา และราคาประมูล ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา


ปี 2555 - 2559
หน่วย: บาท/กิโลกรัม
ราคาประมูล
ราคาเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา
ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา
ปี
ยางแผ่นดิบ ยางก้อน ยางแผ่นดิบ ยางแผ่น
น�้ำยางสด น�้ำยางสด
คุณภาพ 3 คละ คุณภาพ 3 รมควันชัน้ 3
2555 89.98 45.76 86.43 90.57 96.86 90.08
2556 74.76 36.32 70.80 75.45 80.17 73.74
2557 55.48 27.61 52.75 55.94 60.41 55.28
2558 44.17 21.62 40.50 45.76 51.39 45.05
2559* 43.16 21.90 44.10 50.68 52.93 48.59
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -18.09 -18.07 -17.34 -15.31 -15.24 -15.86
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย

ตารางที่ 13 ราคายางพาราส่งออก เอฟ.โอ.บี. ปี 2555 - 2559


หน่วย: บาท/กิโลกรัม
ปี ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ยางแท่ง 20 น�้ำยางข้น
2555 106.13 99.86 68.67
2556 85.88 77.56 56.24
2557 63.88 56.38 45.07
2558 54.16 47.56 35.68
2559* 55.89 46.99 36.59
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -16.00 -18.10 -15.75
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย

81
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
8
กาแฟ
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตกาแฟโลกเพิ่มขึ้นจาก 8.71 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 9.20 ล้านตัน
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.88 ต่อปี เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออ�ำนวย ประเทศที่ผลิตกาแฟมากที่สุด
ได้แก่ บราซิล รองลงมาคือ เวียดนาม และโคลัมเบีย
(1) บราซิล เป็นผู้ผลิตกาแฟอันดับ 1 ของโลก และเป็นผูผ้ ลิตกาแฟพันธุอ์ ะราบิการายใหญ่อันดับ 1
ของโลก หรือร้อยละ 32.17 ของผลผลิตโลก ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตกาแฟของบราซิลลดลงจาก 2.95 ล้านตัน
ในปี 2554/55 และเพิ่มขึ้นเป็น 3.46 ล้านตัน ในปี 2555/56 แต่ลดลงเหลือ 2.96 ล้านตัน ในปี 2558/59 ท�ำให้
ในภาพรวมลดลงร้อยละ 0.53 ต่อปี โดยแยกเป็นกาแฟอะราบิกาเพิ่มขึ้นจาก 2.08 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น
2.53 ล้านตัน ในปี 2555/56 และลดลงเหลือ 2.17 ล้านตัน ในปี 2558/59 ท�ำให้ในภาพรวมลดลงร้อยละ 0.37
และกาแฟโรบัสตาลดลงจาก 0.87 ล้านตัน ในปี 2554/55 เหลือ 0.80 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ
0.75 เนื่องจากสภาพอากาศแห้งแล้ง ท�ำให้ออกดอกติดผลลดลง
(2) เวียดนาม เป็นผู้ผลิตกาแฟอันดับ 2 ของโลก รองจากบราซิล หรือร้อยละ 19.13 ของผลผลิต
โลก และเป็นผู้ผลิตกาแฟพันธุ์โรบัสตารายใหญ่อันดับ 1 ของโลก ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตกาแฟของเวียดนาม
เพิ่มขึ้นจาก 1.56 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 1.76 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.76 ต่อปี
โดยกาแฟโรบัสตาเพิ่มขึ้นจาก 1.51 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 1.69 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 2.54
(3) โคลัมเบีย เป็นผู้ผลิตกาแฟอันดับ 3 ของโลก หรือร้อยละ 8.91 ของผลผลิตโลก ในช่วง 5 ปี
ที่ผ่านมา ผลผลิตกาแฟอะราบิกาของโคลัมเบียเพิ่มขึ้นจาก 0.46 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 0.82 ล้านตัน
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.53 ต่อปี
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโลกเพิ่มขึ้นจาก 8.50 ล้านตัน ในปี
2554/55 เป็น 8.95 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.32 ต่อปี เนื่องจากการบริโภคโดยรวมของ
โลกขยายตัว ประเทศที่มีความต้องการใช้เมล็ดกาแฟมากที่สุด ได้แก่ ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป (EU-27)
มีความต้องการลดลงจาก 2.72 ล้านตัน ในปี 2554/55 เหลือ 2.59 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ
0.86 ต่อปี สหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นจาก 1.38 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 1.49 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.76 ต่อปี และบราซิลเพิ่มขึ้นจาก 1.20 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 1.23 ล้านตัน ในปี 2558/59
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.66 ต่อปี
(2) การส่งออก
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การส่งออกเมล็ดกาแฟและกาแฟส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้นจาก 7.08 ล้านตัน
ในปี 2554/55 เป็น 7.95 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.53 ต่อปี ประเทศผู้ส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่
83
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

บราซิลส่งออก 1.79 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มเป็น 2.16 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.65
ต่อปี เวียดนามส่งออก 1.47 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มเป็น 1.68 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ
1.31 ต่อปี และโคลัมเบียส่งออก 0.44 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มขึ้นเป็น 0.73 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.57
1) เมล็ดกาแฟ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การส่งออกเมล็ดกาแฟเพิ่มขึ้นจาก 6.09 ล้านตัน ในปี
2554/55 เป็น 6.77 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.38 ต่อปี โดยประเทศบราซิลมีการส่งออก
มากที่สุด โดยในปี 2554/55 ส่งออกปริมาณ 1.59 ล้านตัน ลดเหลือ 0.98 ล้านตัน ในปี 2557/58 และเพิ่มขึ้น
เป็น 1.96 ล้านตัน ท�ำให้ในภาพรวมลดลงร้อยละ 0.90 ต่อปี รองลงมาได้แก่ เวียดนามส่งออก 1.44 ล้านตัน
ในปี 2554/55 เป็น 1.64 ล้านตัน ในปี 2556/57 ลดลงเหลือ 1.19 ล้านตัน ในปี 2557/58 และเพิ่มขึ้นเป็น
1.56 ล้านตัน ในปี 2558/59 ท�ำให้ในภาพรวมลดลงร้อยละ 0.24 ต่อปี และโคลัมเบียส่งออก 0.40 ล้านตัน
ในปี 2554/55 เป็น 0.68 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.23 ต่อปี
2) กาแฟส�ำเร็จรูป ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การส่งออกกาแฟส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้นจาก 0.85 ล้านตัน
ในปี 2554/55 เป็น 0.96 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.23 ต่อปี โดยมีประเทศบราซิลส่งออก
มากที่สุดจาก 0.19 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 0.20 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.03 ต่อปี
รองลงมาได้แก่ มาเลเซียส่งออก 0.12 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 0.17 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10.13 ต่อปี และอินโดนีเซียส่งออก 0.15 ล้านตัน ในปี 2554/55 เหลือ 0.12 ล้านตัน ในปี 2558/59
หรือลดลงถึงร้อยละ 5.19 ต่อปี
(3) การน�ำเข้า
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การน�ำเข้าเมล็ดกาแฟและกาแฟส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้นจาก 6.70 ล้านตัน ในปี
2554/55 เป็น 7.26 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.78 ต่อปี ประเทศผู้น�ำเข้ากาแฟที่ส�ำคัญ ได้แก่
กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป มีการน�ำเข้า 2.64 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มขึ้นเป็น 2.70 ล้านตัน ในปี 2558/59
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.49 ต่อปี รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกาน�ำเข้า 1.43 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มขึ้นเป็น
1.50 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.10 ต่อปี ญี่ปุ่นน�ำเข้า 0.40 ล้านตัน ในปี 2554/55 เพิ่มเป็น
0.50 ล้านตันในปี 2558/59 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.14 ต่อปี และฟิลิปปินส์น�ำเข้า 0.20 ล้านตัน ในปี 2554/55
เพิ่มขึ้นเป็น 0.30 ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.45 ต่อปี เนื่องจากความต้องการบริโภคของประเทศ
เหล่านั้นเพิ่มขึ้น
1) เมล็ดกาแฟ การน�ำเข้าเพิ่มขึ้นจาก 5.90 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 6.29 ล้านตัน
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.42 ต่อปี โดยกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปน�ำเข้ามากที่สุดจาก 2.64 ล้านตัน
ในปี 2554/55 เป็น 2.70 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.49 ต่อปี รองลงมาคือ สหรัฐอเมริกา
จาก 1.42 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 1.47 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.77 ต่อปี
2) กาแฟส�ำเร็จรูป การน�ำเข้าเพิ่มขึ้นจาก 0.67 ล้านตัน ในปี 2554/55 เป็น 0.83 ล้านตัน
ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.52 ต่อปี โดยประเทศฟิลิปปินส์น�ำเข้ามากที่สุดจาก 0.17 ล้านตัน
ในปี 2554/55 เป็น 0.27 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.74 ต่อปี รองลงมาคือ รัสเซีย จาก
0.12 ล้านตัน ในปี 2554/55 เหลือ 0.11 ล้านตัน ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 3.68 ต่อปี
84
กาแฟ

(4) ราคา
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ราคาเมล็ดกาแฟโรบัสตาตลาดนิวยอร์ก ลดลงจากกิโลกรัมละ 75.61
บาท ในปี 2555 เหลือกิโลกรัมละ 66.43 บาท ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 2.79 ต่อปี และราคากาแฟ
อะราบิกาตลาดนิวยอร์ก ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 130.43 บาท ในปี 2555 เหลือกิโลกรัมละ 121.64 บาท
ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 0.84 ต่อปี ส�ำหรับราคาเมล็ดกาแฟโรบัสตาตลาดลอนดอน เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ
63.03 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 63.88 บาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.58 ต่อปี
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เนื้อที่ให้ผลลดลงจาก 306,112 ไร่ ในปี 2554/55 เหลือ 254,947 ไร่ ในปี
2558/59 หรือลดลงร้อยละ 5.23 ต่อปี และผลผลิตลดลงจาก 41,461 ตัน ในปี 2554/55 เหลือ 30,579 ตัน
ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 9.28 ต่อปี เนื่องจากเกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา ปาล์มน�้ำมัน และ
ไม้ผล เช่น ทุเรียน ซึ่งให้ผลตอบแทนสูงกว่า ส่วนผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลงจาก 135 กิโลกรัม ในปี 2554/55
เหลือเพียง 120 กิโลกรัม ในปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 4.18 ต่อปี เนื่องจากสภาพภูมิอากาศไม่เอื้ออ�ำนวย
ประกอบกับต้นกาแฟมีอายุมากและมีสภาพเสื่อมโทรม
ต้นทุนการผลิตกาแฟในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจาก 6,236.53 บาทต่อไร่ ในปี 2555 เป็น
6,547.51 บาทต่อไร่ ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.84 ต่อปี และต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก
46.20 บาท ในปี 2555 เป็น 54.56 บาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.24 ต่อปี เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ
ต้นทุนผันแปร เช่น ค่าแรงงาน ค่าปุ๋ย และค่ายาปราบศัตรูพืช ประกอบกับผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลง ส่งผลให้ต้นทุน
ต่อกิโลกรัมเพิ่มขึ้น
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโรงงานแปรรูปเพิ่มขึ้นจาก 67,620 ตัน
ในปี 2555 เป็น 85,000 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.09 ต่อปี ทั้งนี้เนื่องจากกระแสความนิยมดื่มกาแฟ
คั่วบดและกาแฟส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้น ประกอบกับมีการผลิตกาแฟส�ำเร็จรูปเพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา การส่งออกเมล็ดกาแฟของไทยมีปริมาณลดลงจาก 2,085 ตัน มูลค่า
194 ล้านบาท ในปี 2555 เหลือปริมาณ 600 ตัน และมูลค่า 135 ล้านบาท ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 17.79
และ 2.25 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากความต้องการบริโภคภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้การส่งออกลดลง
ส�ำหรับการส่งออกกาแฟส�ำเร็จรูปมีปริมาณเพิ่มขึ้นจาก 7,260 ตัน มูลค่า 1,130 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น
8,900 ตัน และมูลค่า 1,330 ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 21.25 และ 16.50 ต่อปี ตามล�ำดับ
(3) การน�ำเข้า
ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ ่ า นมา การน� ำ เข้ า เมล็ ด กาแฟเพิ่ ม ขึ้ น จากปริ ม าณ 29,061 ตั น มู ล ค่ า
2,166 ล้านบาท ในปี 2555 เป็นปริมาณ 54,000 ตัน และมูลค่า 3,900 ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้น

85
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ร้อยละ 19.13 และ 18.42 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากผลผลิตในประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการของโรงงาน


แปรรูป ส�ำหรับกาแฟส�ำเร็จรูปมีการน�ำเข้าลดลงจากปริมาณ 6,531 ตัน มูลค่า 1,972 ล้านบาท ในปี 2555 เหลือ
ปริมาณ 6,000 ตัน มูลค่า 1,700 ล้านบาท ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 0.88 และ 2.57 ต่อปี ตามล�ำดับ
(4) ราคา
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ราคาเมล็ดกาแฟโรบัสตาที่เกษตรกรขายได้ ลดลงจากกิโลกรัมละ
69.09 บาท ในปี 2555 เหลือกิโลกรัมละ 62.38 บาท ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 2.42 ต่อปี เนื่องจากเป็น
ไปตามทิศทางราคาของตลาดโลก

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
จากข้อมูลของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (USDA) ณ เดือนมิถุนายน 2559 ได้คาดคะเนการผลิตและ
การตลาดกาแฟ ปี 2559/60 ดังนี้
2.1.1 การผลิต
ผลผลิตกาแฟโลกปี 2559/60 คาดว่าจะมี 9.34 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 9.20 ล้านตัน ของปี 2558/59
ร้อยละ 1.52 เนื่องจากสภาพอากาศที่เอื้ออ�ำนวย โดยมีประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ คือ บราซิล ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก
2.96 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 3.36 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 13.51 ส่วนประเทศเวียดนาม
ผลผลิตลดลงจาก 1.76 ล้านตัน ในปี 2558/59 เหลือ 1.64 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือลดลงร้อยละ 6.82 และ
ประเทศโคลัมเบีย ผลผลิตลดลงจาก 0.82 ล้านตัน ในปี 2558/59 เหลือ 0.80 ล้านตัน ในปี 2559/60 หรือ
ลดลงร้อยละ 2.44
ผลผลิตกาแฟพันธุ์อะราบิกาของโลก ปี 2559/60 คาดว่าจะมี 5.64 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 5.18
ล้านตัน ของปี 2558/59 ร้อยละ 8.88 โดยบราซิลซึง่ เป็นผูผ้ ลิตกาแฟอะราบิการายใหญ่ผลผลิตเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 21.20
ผลผลิตกาแฟพันธุ์โรบัสตาของโลก คาดว่าจะมี 3.70 ล้านตัน ลดลงจาก 4.02 ล้านตัน ของปี
2558/59 ร้อยละ 7.96 โดยเวียดนามเป็นผู้ผลิตกาแฟโรบัสตารายใหญ่ผลผลิตลดลงร้อยละ 7.10
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโลก ปี 2559/60 คาดว่าจะมี 9.05 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 8.95
ล้านตัน ของปี 2558/59 ร้อยละ 1.12 เนื่องจากมีความต้องการบริโภคเพิ่มขึ้นทั้งในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป
สหรัฐอเมริกา และบราซิล
(2) การส่งออก
การส่งออกกาแฟโลก ปี 2559/60 คาดว่าจะมี 7.74 ล้านตัน ลดลงจาก 7.95 ล้านตัน ในปี
2558/59 ร้อยละ 2.64 ต่อปี ประเทศที่ส่งออกเพิ่มขึ้นมากที่สุดได้แก่ บราซิล โดยคาดว่าจะส่งออกในปี 2559/60
ปริมาณ 2.11 ล้านตัน ลดลงจาก 2.16 ล้านตัน ของปี 2558/59 หรือลดลงร้อยละ 2.31 รองลงมาได้แก่ เวียดนาม
โดยคาดว่าจะส่งออกในปี 2559/60 ปริมาณ 1.63 ล้านตัน ลดลงจาก 1.68 ล้านตัน ของปี 2558/59 ร้อยละ
2.98 และโคลัมเบีย คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 0.73 ล้านตัน ในปี 2558/59 เป็น 0.74 ล้านตัน ในปี 2559/60
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.37
86
กาแฟ

(3) การน�ำเข้า
การน�ำเข้าเมล็ดกาแฟโลก ปี 2559/60 คาดว่าจะมี 7.22 ล้านตัน ลดลงจาก 7.26 ล้านตัน
ในปี 2558/59 ร้อยละ 0.55 ต่อปี ประเทศที่น�ำเข้ามากที่สุด ได้แก่ กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป 2.67 ล้านตัน
ลดลงจากปี 2558/59 ร้อยละ 1.11 และสหรัฐอเมริกา 1.50 ล้านตัน ทรงตัวเท่าปี 2558/59
(4) ราคา
ราคาเมล็ดกาแฟตลาดโลก คาดว่าจะลดลงจากปีท่ีผ่านมา เนื่องจากผลผลิตโลกที่เพิ่มขึ้น
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
คาดว่าผลผลิตจะลดลง เนื่องสภาพอากาศแปรปรวน ฝนตกในช่วงที่ติดผล และสภาพอากาศ
แล้งยาวนานตั้งแต่ปี 2558 ถึงต้นปี 2559 ท�ำให้มีปริมาณน�้ำฝนไม่เพียงพอ ต้นกาแฟไม่สมบูรณ์ การออกดอก
ติดผลน้อยกว่าปีที่ผ่านมา
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
คาดว่ามีความต้องการใช้ 90,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 85,000 ตัน ในปี 2559 ร้อยละ 5.88
เนื่องจากความต้องการของโรงงานแปรรูปเพิ่มขึ้น ทั้งเพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการส่งออก
(2) การส่งออก
คาดว่าการส่งออกเมล็ดกาแฟจะใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตมีแนวโน้มลดลง
และความต้องการของโรงงานแปรรูปที่ต้องการน�ำเมล็ดกาแฟเพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่ายังมีอยู่
อย่างต่อเนื่อง จะท�ำให้การส่งออกเมล็ดกาแฟมีไม่มากนัก
(3) การน�ำเข้า
คาดว่าจะมีการน�ำเข้าเมล็ดกาแฟเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา จากความต้องการบริโภคภายใน
ประเทศและน�ำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อส่งออก
(4) ราคา
ในปี 2560 คาดว่าราคาที่เกษตรกรขายได้จะใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นไปตามทิศทางของ
ตลาดโลก
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต และการส่งออก
2.3.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
(1) ราคากาแฟในช่วงหลายปีที่ผ่านมาค่อนข้างต�่ำ เนื่องจากต้นยางพารา ปาล์มน�้ำมัน และไม้ผล
เช่น ทุเรียน ที่เกษตรกรปลูกไว้เริ่มให้ผลผลิต จึงโค่นต้นกาแฟที่ไม่สมบูรณ์และอายุมากออก ผลผลิตจึงมีแนวโน้ม
ลดลง
(2) สภาพอากาศแปรปรวน ฝนตกในช่วงติดผล และสภาพอากาศแล้งยาวนานในช่วงต้นกาแฟ
ออกดอก ท�ำให้ติดผลน้อย
(3) สภาพดินเสื่อมและเป็นกรดจากการใช้ปุ๋ยเคมีในปริมาณมากมาเป็นเวลานาน ส่งผลกระทบต่อ
ต้นกาแฟ
87
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2.3.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก
ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโรงงานแปรรูปในประเทศมีแนวโน้มสูงขึน้ จากกระแสความต้องการ
บริโภคในประเทศ ในขณะที่ผลผลิตในประเทศมีน้อย ท�ำให้การส่งออกเมล็ดกาแฟมีปริมาณค่อนข้างคงที่
แต่การส่งออกกาแฟส�ำเร็จรูปมีทิศทางเพิ่มขึ้น
ตารางที่ 1 ผลผลิตกาแฟของโลก ปี 2554/55 – 2559/2560
หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ
ยละ)
่ม 2559/60*
1. บราซิล 2.95 3.46 3.43 3.26 2.96 -0.53 3.36
2. เวียดนาม 1.56 1.59 1.79 1.64 1.76 2.76 1.64
3. โคลัมเบีย 0.46 0.60 0.72 0.80 0.82 15.53 0.80
4. อินโดนีเซีย 0.50 0.63 0.57 0.63 0.71 7.26 0.60
5. เอธิโอเปีย 0.38 0.39 0.38 0.39 0.39 0.52 0.39
6. ฮอนดูรัส 0.34 0.28 0.26 0.31 0.34 1.02 0.37
7. อินเดีย 0.31 0.32 0.30 0.33 0.32 0.95 0.31
8. ยูกันดา 0.18 0.22 0.23 0.21 0.27 7.94 0.22
9. เปรู 0.31 0.26 0.26 0.17 0.21 -11.34 0.23
10. กัวเตมาลา 0.26 0.24 0.21 0.19 0.20 -7.30 0.20
อื่น ๆ 1.46 1.41 1.32 1.27 1.22 -4.47 1.22
รวม 8.71 9.40 9.47 9.20 9.20 0.88 9.34
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

ตารางที่ 2 ผลผลิตกาแฟพันธุ์อะราบิกาของโลก ปี 2554/55 – 2559/60 หน่วย: ล้านตัน


ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. บราซิล 2.08 2.53 2.51 2.24 2.17 -0.37 2.63
2. โคลัมเบีย 0.46 0.60 0.72 0.80 0.82 15.53 0.80
3. เอธิโอเปีย 0.38 0.39 0.38 0.39 0.39 0.52 0.39
4. ฮอนดูรัส 0.34 0.28 0.26 0.31 0.34 1.02 0.37
5. เปรู 0.31 0.26 0.26 0.17 0.21 -11.34 0.23
6. กัวเตมาลา 0.26 0.24 0.21 0.19 0.20 -7.30 0.20
7. เม็กซิโก 0.25 0.27 0.23 0.18 0.14 -14.49 0.13
8. นิคารากัว 0.13 0.12 0.12 0.13 0.12 -0.80 0.13
9. อินเดีย 0.10 0.10 0.10 0.10 0.09 -2.09 0.09
10. คอสตาริกา 0.11 0.10 0.09 0.08 0.08 -8.24 0.08
อื่น ๆ 0.65 0.66 0.66 0.61 0.62 -1.84 0.59
รวม 5.07 5.55 5.54 5.20 5.18 -0.22 5.64
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016
88
กาแฟ

ตารางที่ 3 ผลผลิตกาแฟพันธุ์โรบัสตาของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. เวียดนาม 1.51 1.54 1.72 1.58 1.69 2.54 1.57
2. บราซิล 0.87 0.93 0.92 1.02 0.80 -0.75 0.73
3. อินโดนีเซีย 0.42 0.53 0.47 0.55 0.62 8.50 0.52
4. อินเดีย 0.21 0.22 0.20 0.23 0.23 2.29 0.23
5. ยูกันดา 0.13 0.17 0.18 0.17 0.22 11.10 0.18
6. ไอเวอรี่ โคท 0.10 0.11 0.10 0.08 0.10 -3.13 0.10
7. มาเลเซีย 0.09 0.08 0.09 0.09 0.09 1.18 0.09
8. ไทย 0.06 0.06 0.06 0.06 0.06 0 0.06
9. แทนซาเนีย 0.01 0.03 0.02 0.03 0.04 31.95 0.03
10. คาเมรูน 0.04 0.03 0.02 0.03 0.03 -5.59 0.03
อื่น ๆ 0.20 0.14 0.15 0.16 0.14 -6.89 0.16
รวม 3.64 3.84 3.93 4.00 4.02 2.72 3.70
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

ตารางที่ 4 ความต้องการใช้กาแฟของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. EU 2.72 2.60 2.49 2.63 2.59 -0.86 2.63
2. USA 1.38 1.38 1.43 1.41 1.49 1.76 1.51
3. บราซิล 1.20 1.21 1.21 1.23 1.23 0.66 1.23
4. ญี่ปุ่น 0.42 0.45 0.47 0.47 0.50 4.00 0.50
5. ฟิลิปปินส์ 0.22 0.26 0.22 0.26 0.33 8.45 0.29
6. รัสเซีย 0.23 0.25 0.25 0.24 0.27 2.84 0.26
7. แคนาดา 0.25 0.25 0.28 0.27 0.25 0.77 0.26
8. เอธิโอเปีย 0.18 0.19 0.19 0.18 0.18 -0.54 0.18
9. จีน 0.06 0.10 0.13 0.15 0.17 28.25 0.18
10. อินโดนีเซีย 0.14 0.16 0.17 0.18 0.17 5.19 0.19
อื่น ๆ 1.70 1.67 1.73 1.74 1.77 1.46 1.82
รวม 8.50 8.52 8.57 8.76 8.95 1.32 9.05
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

89
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 5 ปริมาณการส่งออกเมล็ดกาแฟและกาแฟส�ำเร็จรูปของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. บราซิล 1.79 1.84 2.05 2.19 2.16 5.65 2.11
2. เวียดนาม 1.47 1.48 1.70 1.29 1.68 1.31 1.63
3. โคลัมเบีย 0.44 0.53 0.66 0.75 0.73 14.57 0.74
4. อินโดนีเซีย 0.45 0.54 0.47 0.52 0.60 5.52 0.48
5. อินเดีย 0.31 0.29 0.30 0.29 0.32 0.64 0.31
6. ฮอนดูรัส 0.32 0.27 0.24 0.29 0.31 0.08 0.34
7. ยูกันดา 0.18 0.21 0.22 0.20 0.24 5.41 0.24
8. เอธิโอเปีย 0.19 0.21 0.20 0.21 0.21 2.02 0.21
9. เปรู 0.31 0.25 0.25 0.17 0.20 -11.86 0.22
10. กัวเตมาลา 0.23 0.23 0.19 0.18 0.18 -7.09 0.18
อื่น ๆ 1.39 1.44 1.33 1.31 1.32 -1.88 1.28
รวม 7.08 7.29 7.59 7.42 7.95 2.53 7.74
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

ตารางที่ 6 ปริมาณการส่งออกเมล็ดกาแฟของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. บราซิล 1.59 1.63 1.84 0.98 1.96 -0.90 1.92
2. เวียดนาม 1.44 1.43 1.64 1.19 1.56 -0.24 1.51
3. โคลัมเบีย 0.40 0.49 0.62 0.70 0.68 15.23 0.69
4. อินโดนีเซีย 0.30 0.41 0.36 0.41 0.48 9.86 0.37
5. ฮอนดูรัส 0.32 0.27 0.24 0.29 0.31 0.08 0.34
6. ยูกันดา 0.18 0.21 0.22 0.20 0.24 5.41 0.24
7. อินเดีย 0.22 0.21 0.20 0.20 0.23 0.40 0.22
8. เอธิโอเปีย 0.19 0.21 0.20 0.21 0.21 2.02 0.21
9. เปรู 0.31 0.25 0.25 0.17 0.20 -11.86 0.22
10. กัวเตมาลา 0.23 0.23 0.19 0.18 0.18 -7.09 0.18
อื่น ๆ 0.91 0.88 0.70 0.70 0.72 -6.84 0.69
รวม 6.09 6.22 6.46 5.23 6.77 2.16 6.59
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

90
กาแฟ

ตารางที่ 7 ปริมาณการส่งออกกาแฟส�ำเร็จรูปของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. บราซิล 0.19 0.21 0.21 0.21 0.20 1.03 0.19
2. มาเลเซีย 0.12 0.13 0.13 0.17 0.17 10.13 0.18
3. อินโดนีเซีย 0.15 0.12 0.11 0.11 0.12 -5.19 0.11
4. อินเดีย 0.09 0.09 0.10 0.09 0.09 0 0.09
5. ไทย 0.07 0.10 0.13 0.12 0.09 7.09 0.09
6. เวียดนาม 0.03 0.05 0.05 0.08 0.09 30.57 0.09
7. โคลัมเบีย 0.04 0.04 0.04 0.04 0.05 4.56 0.05
8. เอลกวาดอร์ 0.06 0.06 0.05 0.05 0.04 -9.46 0.03
9. เม็กซิโก 0.05 0.05 0.06 0.05 0.04 -4.36 0.04
10. EU 0.01 0.02 0.03 0.01 0.03 16.23 0.02
อื่น ๆ 0.04 0.04 0.03 0.05 0.04 2.26 0.06
รวม 0.85 0.91 0.94 0.98 0.96 3.23 0.95
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

ตารางที่ 8 ปริมาณการน�ำเข้าเมล็ดกาแฟและกาแฟส�ำเร็จรูปของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. EU 2.64 2.70 2.68 2.71 2.70 0.49 2.67
2. USA 1.43 1.42 1.49 1.44 1.50 1.10 1.50
3. ญี่ปุ่น 0.40 0.50 0.47 0.48 0.50 4.14 0.50
4. ฟิลิปปินส์ 0.20 0.23 0.19 0.23 0.30 8.45 0.26
5. รัสเซีย 0.23 0.25 0.25 0.24 0.27 2.84 0.26
6. แคนาดา 0.25 0.25 0.28 0.27 0.25 0.77 0.26
7. จีน 0.07 0.10 0.11 0.12 0.16 20.15 0.17
8. สวิตเซอร์แลนด์ 0.13 0.14 0.14 0.15 0.15 3.62 0.15
9. เกาหลี 0.11 0.11 0.13 0.14 0.14 7.50 0.15
10. แอลจีเรีย 0.14 0.12 0.14 0.13 0.13 -0.68 0.14
อื่น ๆ 1.10 1.16 1.15 1.18 1.16 1.06 1.16
รวม 6.70 6.98 7.03 7.09 7.26 1.78 7.22
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

91
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 9 ปริมาณการส่งออกเมล็ดกาแฟและกาแฟส�ำเร็จรูปของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. EU 2.64 2.70 2.68 2.71 2.70 0.49 2.67
2. สหรัฐอเมริกา 1.42 1.40 1.47 1.41 1.47 0.77 1.47
3. ญี่ปุ่น 0.36 0.45 0.41 0.43 0.45 4.09 0.44
4. แคนาดา 0.13 0.14 0.15 0.15 0.16 4.96 0.16
5. สวิตเซอร์แลนด์ 0.13 0.14 0.14 0.15 0.15 3.62 0.15
6. รัสเซีย 0.10 0.12 0.14 0.13 0.14 7.82 0.14
7. แอลจีเรีย 0.13 0.11 0.14 0.13 0.13 1.68 0.14
8. เกาหลีใต้ 0.10 0.10 0.12 0.13 0.13 8.19 0.14
9. มาเลเซีย 0.07 0.08 0.08 0.11 0.11 13.00 0.13
10. เม็กซิโก 0.07 0.05 0.08 0.09 0.09 11.52 0.10
อื่น ๆ 0.75 0.82 0.75 0.75 0.76 -0.63 0.72
รวม 5.90 6.11 6.16 6.19 6.29 1.42 6.26
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

ตารางที่ 10 ปริมาณการน�ำเข้ากาแฟส�ำเร็จรูปของโลก ปี 2554/55 – 2559/60


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2554/55 2555/56 2556/57 2557/58 2558/59 อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2559/60*
1. ฟิลิปปินส์ 0.17 0.20 0.18 0.22 0.27 10.74 0.24
2. รัสเซีย 0.12 0.11 0.10 0.09 0.11 -3.68 0.11
3. จีน 0.02 0.04 0.05 0.06 0.09 40.69 0.09
4. แคนาดา 0.07 0.07 0.08 0.08 0.07 1.34 0.07
5. ญีป่ นุ่ 0.04 0.05 0.05 0.05 0.05 4.56 0.05
6. อินโดนีเซีย 0.03 0.04 0.03 0.04 0.04 5.92 0.04
7. สหรัฐอเมริกา 0.01 0.02 0.02 0.03 0.03 29.73 0.03
8. ยูเครน 0.06 0.05 0.04 0.03 0.02 -23.72 0.02
9. อาร์เจนตินา 0.01 0.02 0.02 0.02 0.02 14.87 0.02
10. ออสเตรเลีย 0.02 0.02 0.02 0.02 0.02 0 0.02
อื่น ๆ 0.12 0.12 0.14 0.11 0.11 -2.58 0.12
รวม 0.67 0.74 0.73 0.75 0.83 4.52 0.81
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: United States Department of Agriculture, June 2016

92
กาแฟ

ตารางที่ 11 เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ กาแฟของไทย ปี 2554/55 – 2559/60


ปี เนื้อที่ให้ผล (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กก.)
2554/55 306,112 41,461 135
2555/56 298,337 37,569 126
2556/57 260,968 37,950 145
2557/58 251,433 26,089 104
2558/59 254,947 30,579 120
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -5.23 -9.28 -4.18
2559/60* 256,302 28,592 112
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 12 ต้นทุนการผลิตเมล็ดกาแฟของไทย ปี 2555-2559


ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ ต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนต่อหน่วย
ปี
(บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/กก.)
2555 4,754.51 1,482.02 6,236.53 46.20
2556 4,832.23 1,565.99 6,398.22 50.78
2557 5,323.06 1,579.20 6,902.26 47.60
2558 4,699.15 1,610.97 6,310.12 60.67
2559* 4,941.01 1,606.50 6,547.51 54.56
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 0.49 1.91 0.84 5.24
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

93
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 13 ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโรงงานแปรรูปในประเทศ ปี 2555 - 2560


หน่วย: ตัน
ปี ความต้องการใช้เมล็ดกาแฟของโรงงาน
2555 67,620
2556 70,000
2557 75,000
2558 80,000
2559 85,000
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 6.09
2560* 90,000
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 14 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกเมล็ดกาแฟและกาแฟส�ำเร็จรูป ปี 2555 - 2560


ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
เมล็ดกาแฟ กาแฟส�ำเร็จรูป
ปี
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
2555 2,085 194 7,260 1,130
2556 368 76 1,621 303
2557 567 111 6,316 860
2558 627 125 7,595 1,007
2559* 600 135 8,900 1,330
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -17.79 -2.25 21.25 16.50
2560* 620 150 10,000 1,650
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

94
กาแฟ

ตารางที่ 15 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้าเมล็ดกาแฟและกาแฟส�ำเร็จรูป ปี 2555 - 2559


ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
เมล็ดกาแฟ กาแฟส�ำเร็จรูป
ปี
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
2555 29,061 2,166 6,531 1,972
2556 34,907 2,417 6,427 2,041
2557 47,413 3,411 7,015 2,124
2558 58,191 4,042 6,972 2,116
2559* 54,000 3,900 6,000 1,700
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 19.13 18.42 -0.88 -2.57
2560* 58,000 4,200 6,400 1,800
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 16 ราคาเมล็ดกาแฟดิบ ปี 2555 - 2559


หน่วย: บาท/กก.
ปี ราคาที่เกษตรกร ราคากาแฟโรบัสตา ราคากาแฟอะราบิ ราคากาแฟโรบัสตา
ขายได้1/ (นิวยอร์ก)2/ กา (นิวยอร์ก)3/ (ลอนดอน)4/
2555 69.09 75.61 130.43 63.03
2556 71.16 68.17 96.69 57.14
2557 64.94 75.42 145.08 64.73
2558 68.30 66.56 120.89 58.96
2559 62.38 66.43 121.64 63.88
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -2.42 -2.79 0.84 0.58
2560* 64 67 123 65
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/, 3/
International Coffee Organization, October 2016
4/
Robusta Coffee Futures/Global Derivatives, October 2016

95
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
9
สับปะรด
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2555 – 2559 ผลผลิตลดลงร้อยละ 3.91 ต่อปี คือ ลดลงจาก 24.16 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น
21.00 ล้านตัน ในปี 2559 ซึ่งในปี 2559 ผลผลิตสับปะรดลดลงจาก 22.00 ล้านตัน ของปี 2558 ร้อยละ 4.54
เนื่องจากประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย ได้รับผลกระทบจากปัญหาภัยธรรมชาติ
1.1.2 การตลาด
(1) การส่งออก
1) สับปะรดกระป๋อง ปี 2555 - 2559 ปริมาณการส่งออกสับปะรดกระป๋องเพิ่มขึ้นร้อยละ
0.30 ต่อปี โดยไทยเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก ซึ่งในปี 2559 ไทยส่งออกปริมาณ 497 พันตัน หรือร้อยละ
43.60 ของปริมาณการส่งออกทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย ส่งออกปริมาณ 340 และ 160
พันตัน หรือร้อยละ 29.82 และร้อยละ 14.04 ของปริมาณการส่งออกทั้งหมด ตามล�ำดับ ส�ำหรับมูลค่า
การส่งออกสับปะรดกระป๋องเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.13 ต่อปี คือ เพิม่ ขึน้ จาก 1,075 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (33,569 ล้านบาท)
ในปี 2555 เป็น 1,286 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (45,517 ล้านบาท) ในปี 2559 โดยในปี 2559 ไทยส่งออกมูลค่า
581 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (20,564 ล้านบาท) หรือร้อยละ 45.18 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด รองลงมาได้แก่
ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย มีมูลค่าการส่งออก 334 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (11,822 ล้านบาท) และ 180
ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (6,371 ล้านบาท) หรือร้อยละ 25.97 และร้อยละ 14.00 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด
ตามล�ำดับ
2) น�้ำสับปะรด ปี 2555 - 2559 ปริมาณการส่งออกน�้ำสับปะรดลดลงร้อยละ 7.27 ต่อปี คือ
ลดลงจาก 431 พันตัน ในปี 2555 เป็น 311 พันตัน ในปี 2559 โดยไทยเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ ซึ่งในปี 2559
ไทยส่งออกปริมาณ 82 พันตัน หรือร้อยละ 26.37 ของปริมาณการส่งออกทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ฟิลิปปินส์ และ
เนเธอร์แลนด์ ส่งออก 80 และ 57 พันตัน หรือร้อยละ 25.72 และร้อยละ 18.33 ของปริมาณการส่งออกทั้งหมด
ตามล�ำดับ ส�ำหรับมูลค่าการส่งออกน�้ำสับปะรดเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.84 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้นจาก 472 ล้านดอลลาร์
สหรัฐฯ (14,739 ล้านบาท) ในปี 2555 เป็น 513 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (18,157 ล้านบาท) ในปี 2559 โดยในปี
2559 ไทยส่งออกมูลค่า 167 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (5,911 ล้านบาท) หรือร้อยละ 32.55 ของมูลค่าการส่งออก
ทั้งหมด รองลงมาได้แก่ เนเธอร์แลนด์ และคอสตาริกา มีมูลค่าการส่งออก 128 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (4,530
ล้านบาท) และ 74 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (2,619 ล้านบาท) หรือร้อยละ 24.95 และร้อยละ 14.42 ของมูลค่า
การส่งออกทั้งหมด ตามล�ำดับ
(2) การน�ำเข้า
1) สับปะรดกระป๋อง ปี 2555 - 2559 ปริมาณการน�ำเข้าสับปะรดกระป๋องลดลงร้อยละ 2.57
ต่อปี คือ ลดลงจาก 997 พันตัน ในปี 2555 เป็น 922 พันตัน ในปี 2559 โดยสหรัฐอเมริกาเป็นผู้น�ำเข้ารายใหญ่
ของโลก ซึง่ ในปี 2559 สหรัฐอเมริกาน�ำเข้าปริมาณ 345 พันตัน หรือร้อยละ 37.42 ของปริมาณการน�ำเข้าทั้งหมด
รองลงมาได้แก่ เยอรมนี และรัสเซีย น�ำเข้าปริมาณ 80 และ 49 พันตัน หรือร้อยละ 8.68 และร้อยละ 5.31
ของปริมาณการน�ำเข้าทั้งหมด ตามล�ำดับ ส�ำหรับมูลค่าการน�ำเข้าสับปะรดกระป๋องเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.07 ต่อปี
97
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

คือ เพิ่มขึ้นจาก 1,092 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (34,100 ล้านบาท) ในปี 2555 เป็น 1,126 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
(39,854 ล้านบาท) ในปี 2559 โดยในปี 2559 สหรัฐอเมริกาน�ำเข้ามูลค่า 400 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (14,158
ล้านบาท) หรือร้อยละ 35.52 ของมูลค่าการน�ำเข้าทั้งหมด รองลงมาได้แก่ เยอรมนี และสเปน มูลค่า 100
ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (3,539 ล้านบาท) และ 64 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (2,265 ล้านบาท) หรือร้อยละ 8.88 และ
ร้อยละ 5.68 ของมูลค่าการน�ำเข้าทั้งหมด ตามล�ำดับ
2) น�้ำสับปะรด ปี 2555 - 2559 ปริมาณการน�ำเข้าน�้ำสับปะรดเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.003 ต่อปี
คือ เพิ่มขึ้นจาก 300 พันตัน ในปี 2555 เป็น 305 พันตัน ในปี 2559 โดยสหรัฐอเมริกาเป็นผู้น�ำเข้ารายใหญ่
ซึ่งในปี 2559 สหรัฐอเมริกาน�ำเข้าปริมาณ 95 พันตัน หรือร้อยละ 31.15 ของปริมาณการน�ำเข้าทั้งหมด รองลงมา
ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ และสเปน น�ำเข้าปริมาณ 71 และ 23 พันตัน หรือร้อยละ 23.28 และร้อยละ 7.54 ของ
ปริมาณการน�ำเข้าทั้งหมด ตามล�ำดับ ส�ำหรับมูลค่าการน�ำเข้าน�้ำสับปะรดเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.99 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้น
จาก 420 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (13,115 ล้านบาท) ในปี 2555 เป็น 485 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (17,166 ล้านบาท)
ในปี 2559 โดยในปี 2559 เนเธอร์แลนด์น�ำเข้ามูลค่า 166 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (5,875 ล้านบาท) หรือร้อยละ
34.23 ของมูลค่าการน�ำเข้าทั้งหมด รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา และสเปน มูลค่า 85 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
(3,009 ล้านบาท) และ 58 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (2,053 ล้านบาท) หรือร้อยละ 17.53 และร้อยละ 11.96 ของ
มูลค่าการน�ำเข้าทั้งหมด ตามล�ำดับ
(3) ราคา
1) ราคาส่งออก
- สับปะรดกระป๋อง ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกสับปะรดกระป๋องเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.83
ต่อปี คือ เพิ่มขึ้นจากตันละ 941 ดอลลาร์สหรัฐฯ (29,385 บาท) ในปี 2555 เป็น ตันละ 1,130 ดอลลาร์สหรัฐฯ
(39,995 บาท) ในปี 2559 โดยในปี 2559 ราคาส่งออกสับปะรดกระป๋องของเนเธอร์แลนด์มีราคาสูงที่สุดตันละ
1,750 ดอลลาร์สหรัฐฯ (61,940 บาท) รองลงมาได้แก่ เยอรมนี และไทย ราคาส่งออกตันละ 1,520 ดอลลาร์
สหรัฐฯ (53,799 บาท) และ 1,170 ดอลลาร์สหรัฐฯ (41,411 บาท) ตามล�ำดับ
- น�้ำสับปะรด ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกน�้ำสับปะรดเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.97 ต่อปี คือ
เพิ่มขึ้นจากตันละ 1,090 ดอลลาร์สหรัฐฯ (34,037 บาท) ในปี 2555 เป็นตันละ 1,430 ดอลลาร์สหรัฐฯ (50,614
บาท) ในปี 2559 โดยในปี 2559 ราคาส่งออกน�้ำสับปะรดของเนเธอร์แลนด์มีราคาสูงที่สุดตันละ 2,230 ดอลลาร์
สหรัฐฯ (78,929 บาท) รองลงมาได้แก่ อินโดนีเซีย และไทย ราคาส่งออกตันละ 2,130ดอลลาร์สหรัฐฯ (75,390
บาท) และ 2,040 ดอลลาร์สหรัฐฯ (72,204 บาท) ตามล�ำดับ
2) ราคาน�ำเข้า
- สับปะรดกระป๋อง ปี 2555 - 2559 ราคาน�ำเข้าสับปะรดกระป๋องเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ
3.72 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้นจากตันละ 1,095 ดอลลาร์สหรัฐฯ (34,194 บาท) ในปี 2555 เป็นตันละ 1,220 ดอลลาร์
สหรัฐฯ (43,181 บาท) ในปี 2559 โดยในปี 2559 ราคาน�ำเข้าสับปะรดกระป๋องของสเปน มีราคาสูงที่สุดตันละ
1,500 ดอลลาร์สหรัฐฯ (53,091 บาท) รองลงมาได้แก่ เนเธอร์แลนด์ และเยอรมนี ราคาส่งออกตันละ 1,350
ดอลลาร์สหรัฐฯ (47,782 บาท) และ 1,240 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43,889 บาท) ตามล�ำดับ
- น�้ำสับปะรด ปี 2555 - 2559 ราคาน�ำเข้าน�้ำสับปะรดเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 6.01 ต่อปี
คือ เพิ่มขึ้นจากตันละ 1,400 ดอลลาร์สหรัฐฯ (43,718 บาท) ในปี 2555 เป็นตันละ 1,590 ดอลลาร์สหรัฐฯ
(56,277 บาท) ในปี 2559 โดยในปี 2559 ราคาน� ำ เข้ า น�้ ำ สั บ ปะรดของสเปนมี ร าคาสู ง ที่ สุ ด ตั น ละ
98
สับปะรด

2,460 ดอลลาร์สหรัฐฯ (87,070 บาท) รองลงมาได้แก่ เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี ราคาน�ำเข้าตันละ 2,330 ดอลลาร์
สหรัฐฯ (82,468บาท) และ 2,300 ดอลลาร์สหรัฐฯ (81,407 บาท) ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 เนื้อที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตลดลงร้อยละ 7.24 และร้อยละ 6.85 ต่อปี คือลดลง
จาก 620 พันไร่ และ 1.79 ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 465 พันไร่ และ 1.79 ล้านไร่ ในปี 2559 ตามล�ำดับ ในขณะ
ที่ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.48 ต่อปี จาก 3.87 ตัน ในปี 2555 เป็น 4.09 ตัน ปี 2559 โดยในปี 2559
มีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 465 พันไร่ ผลผลิต 1.79 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 4.09 ตัน ซึ่งเนื้อที่เก็บเกี่ยวและผลผลิต
ต่อไร่ เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 4.03 และร้อยละ 1.24 ตามล�ำดับ เนื่องจากราคาสับปะรดโรงงานที่เกษตรกร
ขายได้สูงขึ้นตั้งแต่ปี 2557 ถึงปี 2558 อย่างต่อเนื่อง จูงใจให้เกษตรกรขยายการปลูกสับปะรดในพื้นที่ว่าง
ปลูกแซมในสวนยางพาราทีป่ ลูกใหม่ และปลูกแทนพืชไร่ เช่น มันส�ำปะหลัง อ้อยโรงงาน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่
ปลายปี 2558 ถึงกลางปี 2559 มีสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้งยาวนาน ท�ำให้สับปะรดเจริญเติบโตไม่เต็มที่
ผลสับปะรดมีขนาดเล็กแคระแกรน รวมทั้งการบังคับการออกดอกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม 2559
เพือ่ จะให้ผลผลิตออกในช่วงปลายปีทำ� ได้ไม่เต็มที่ ท�ำให้ภาพรวมผลผลิตรวมทัง้ ประเทศลดลงจากปีทแี่ ล้ว ร้อยละ 2.19
1.2.2 การตลาด
(1) การบริโภค
ผลผลิตประมาณร้อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมดจะบริโภคในประเทศในรูปผลสด ส�ำหรับ
ผลิตภัณฑ์สับปะรดแปรรูปจะส่งออกเกือบทั้งหมด
(2) การส่งออก
1) สับปะรดกระป๋อง ปี 2555 - 2559 ปริมาณส่งออกลดลงร้อยละ 5.26 ต่อปี คือ ลดลงจาก
0.57 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 0.47 ล้านตัน ในปี 2559 โดยในปี 2559 ปริมาณส่งออกลดลงจาก 0.48 ล้านตัน
ของปี 2558 ร้อยละ 2.08 ส�ำหรับมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.89 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้นจาก 16,532 ล้านบาท
ในปี 2555 เป็น 19,800 ล้านบาท ในปี 2559 โดยในปี 2559 มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 18,675 ล้านบาท
ในปี 2558 ร้อยละ 6.02
2) น�้ำสับปะรด ปี 2555 - 2559 ปริมาณส่งออกลดลงร้อยละ 14.45 ต่อปี คือ ลดลงจาก 0.14
ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 0.08 ล้านตัน ในปี 2559 โดยในปี 2559 ปริมาณการส่งออกลดลงจาก 0.09 ล้านตัน
ของปี 2558 ร้อยละ 11.11 ส�ำหรับมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.17 ต่อปี คือ ลดลงจาก 5,574 ล้านบาท
ในปี 2555 เป็น 6,600 ล้านบาท ในปี 2559 โดยในปี 2559 มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 5,373 ล้านบาท
ของปี 2558 ร้อยละ 22.84
(3) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
- สับปะรดโรงงาน ปี 2555 - 2559 ราคาสับปะรดโรงงานที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ
36.48 ต่อปี คือ เพิม่ ขึน้ จากกิโลกรัมละ 3.30 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 10.37 บาท ในปี 2559 โดยในปี 2559
ราคาสับปะรดโรงงานที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 10.29 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 0.78 เนื่องจาก
พื้นที่ปลูกสับปะรดส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากปัญหาภัยแล้ง ส่งผลให้มีผลผลิตสับปะรดออกสู่ตลาดน้อย
99
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

- สับปะรดบริโภคสด ปี 2555 - 2559 ราคาสับปะรดบริโภคสดที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้น


ร้อยละ 20.71 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 6.70 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 13.19 บาท ในปี 2559
โดยในปี 2559 ราคาที่เกษตรกรขายเพิ่มขึ้นจากจากกิโลกรัมละ 12.57 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 4.93
2) ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ ปี 2555 – 2559 ราคาขายส่งสับปะรดบริโภคสด (ศรีราชา
เบอร์ 1) เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.86 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 12.50 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 22.23
บาท ในปี 2559 โดยในปี 2559 ราคาสับปะรดบริโภคสดขายส่งตลาดกรุงเทพฯ เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 17.23
บาท ของปี 2558 ร้อยละ 29.02
3) ราคาส่งออก
- สับปะรดกระป๋อง ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.33 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้น
จากกิโลกรัมละ 28.75 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 41.00 บาท ในปี 2559 ซึ่งราคาส่งออกในปี 2559
เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 39.15 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 4.73
- น�้ำสับปะรด ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.37 ต่อปี คือ เพิ่มขึ้นจาก
กิโลกรัมละ 32.87 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 70.00 บาท ในปี 2559 ซึ่งราคาส่งออกในปี 2559 เพิ่มขึ้น
จากกิโลกรัมละ 62.69 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 11.66

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าผลผลิตสับปะรดของโลกจะมีแนวโน้มใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากคาดว่า
ประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ ได้แก่ ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย ยังประสบกับปัญหาภัยธรรมชาติ
2.1.2 การตลาด
คาดว่าก�ำลังซื้อของประเทศผู้น�ำเข้าที่ส�ำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป จะมีแนวโน้ม
ทรงตัว เนือ่ งจากมาจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว โดยจะส่งผลให้การส่งออกสับปะรดของโลก ในภาพรวมจะทรงตัว
ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
ราคา
คาดว่าราคาส่งออกสับปะรดกระป๋องและน�้ำสับปะรด จะมีแนวโน้มทรงตัวหรือใกล้เคียงกับ
ปีที่ผ่านมา เนื่องจากก�ำลังซื้อของผู้บริโภคในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปมีแนวโน้มลดลง ในขณะที่ก�ำลังซื้อของ
ผู้บริโภคในประเทศสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มทรงตัว
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าจะมีเนื้อที่เก็บเกี่ยว 0.475 พันไร่ ผลผลิต 1.95 ล้านตัน และผลผลิตต่อไร่ 4.10 ตัน
เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 2.15 ร้อยละ 8.94 และร้อยละ 0.24 ตามล�ำดับ เนื่องจากราคาที่เกษตรกรขายได้
อยู่ในเกณฑ์ดี ท�ำให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนจากพื้นที่ที่เคยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันส�ำปะหลัง และพื้นที่รกร้าง
มาปลูกสับปะรด ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเกษตรกรมีการบ�ำรุงรักษาต้นสับปะรดที่ดี ส่งผลให้ผลผลิต
รวมทั้งประเทศเพิ่มขึ้น

100
สับปะรด

2.2.2 การตลาด
(1) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ เนื่องจากราคาส่งออกจะทรงตัวหรือใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
ซึ่งจะส่งผลให้ราคาที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
2) ราคาส่งออก คาดว่าราคาส่งออกสับปะรดกระป๋อง และน�้ำสับปะรดของไทย จะทรงตัว
หรือใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
(2) การส่งออก
เนื่องจากตลาดส่งออกที่ส�ำคัญของไทย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ยังมีภาวะ
เศรษฐกิจที่ชะลอตัว ประกอบกับผลผลิตที่จะออกสู่ตลาดมีปริมาณไม่มาก คาดว่าการส่งออกสับปะรดกระป๋อง
และน�้ำสับปะรด จะมีแนวโน้มทรงตัวใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและการส่งออก
2.3.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต
ในปี 2560 คาดว่าสภาพอากาศจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับปีที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อการบังคับ
ต้นสับปะรดเพื่อให้ติดผล ดังนั้น คาดว่าผลผลิตสับปะรดในภาพรวมจะมีแนวโน้มใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
2.3.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก
เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปที่เป็นประเทศคู่ค้ายังไม่ฟื้นตัว ท�ำให้
ผู้บริโภคปรับเปลี่ยนการบริโภคลดลง ส่งผลให้ก�ำลังซื้อในภาพรวมอ่อนตัวลดลง ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจ
ของประเทศสหรัฐอเมริกาปรับตัวดีขึ้น แต่ก�ำลังซื้อมีแนวโน้มทรงตัว อย่างไรก็ตาม การที่ค่าเงินบาทอ่อนค่าลง
จะเป็นปัจจัยสนับสนุนที่ท�ำให้ประเทศคู่ค้าเห็นว่าราคาผลิตภัณฑ์สับปะรดของไทยลดลง ซึ่งจะมีผลท�ำให้
การส่งออกผลิตภัณฑ์สับปะรดของไทย มีแนวโน้มทรงตัวหรือใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
ตารางที่ 1 ผลผลิตสับปะรดของประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559
หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 1/
2558 1/
2559 1/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
ไทย 2.40 2.07 1.922/ 1.832/ 1.792/ -6.85
คอสตาริกา 2.62 2.68 2.55 2.50 2.30 -3.25
บราซิล 2.55 2.48 2.40 2.00 1.90 -7.72
ฟิลิปปินส์ 2.40 2.46 2.513/ 2.583/ 2.60 2.10
อินโดนีเซีย 1.78 1.84 1.65 1.56 1.60 -3.71
อื่น ๆ 12.41 13.25 12.13 11.47 10.81 -4.12
รวม 24.16 24.78 23.00 22.00 21.00 -3.91
หมายเหตุ: 1/ ประมาณการ
2/
ข้อมูลส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
3/
Philippine Statistics Authority
ที่มา: Food and Agricultural Organization of The United Nations (FAO), November 2016 (ปี 2555 – 2556)
101
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสับปะรดกระป๋องของประเทศผู้ส่งออกที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559


ปริมาณ: พันตัน มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
อัตราเพิ่ม
2555 2556 2557 2558 2559*
ประเทศ (ร้อยละ)
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
ไทย 586 543 565 502 528 505 491 564 497 581 -4.59 2.55
ฟิลิปปินส์ 272 220 211 176 215 182 324 337 340 334 9.15 16.00
อินโดนีเซีย 162 148 154 135 171 166 172 192 160 180 0.86 7.72
เนเธอร์แลนด์ 28 45 27 43 25 41 19 33 24 42 -6.38 -3.95
เยอรมนี 18 26 18 25 18 26 17 23 16 25 -2.88 -1.61
จีน 25 23 24 21 13 13 20 20 22 24 -4.29 0.36
อื่น ๆ 52 70 53 74 50 71 47 68 81 100 7.96 6.49
รวม 1,143 1,075 1,052 976 1,020 1,004 1,090 1,237 1,140 1,286 0.30 6.13
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016

ตารางที่ 3 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกน�้ำสับปะรดของประเทศผู้ส่งออกที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559


ปริมาณ: พันตัน มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
อัตราเพิ่ม
2555 2556 2557 2558 2559*
ประเทศ (ร้อยละ)
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
ไทย 136 175 137 146 103 130 85 157 82 167 -13.84 -0.21
เนเธอร์แลนด์ 61 100 65 87 71 102 68 127 57 128 -0.90 9.11
ฟิลิปปินส์ 129 66 115 63 126 73 87 60 80 52 -11.61 -5.12
คอสตาริกา 36 38 42 38 31 32 58 67 35 74 2.70 20.93
อินโดนีเซีย 21 29 20 23 21 27 20 39 16 35 -5.29 9.46
อื่น ๆ 48 64 33 45 41 53 54 96 40 57 1.29 5.40
รวม 431 472 412 402 393 417 372 546 311 513 -7.27 4.84
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016

102
สับปะรด

ตารางที่ 4 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้าสับปะรดกระป๋องของประเทศผู้น�ำเข้าที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559


ปริมาณ: พันตัน มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
อัตราเพิ่ม
2555 2556 2557 2558 2559*
ประเทศ (ร้อยละ)
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
สหรัฐอเมริกา 330 316 340 319 314 308 334 387 345 400 0.71 6.87
เยอรมนี 98 107 106 108 84 94 87 103 80 100 -5.86 -1.81
สเปน 49 68 49 66 46 67 47 65 43 64 -2.98 -1.36
รัสเซีย 55 49 73 63 62 56 48 42 49 44 -6.30 -6.02
เนเธอร์แลนด์ 47 59 31 37 42 47 36 48 42 56 -0.75 1.57
อื่น ๆ 418 493 414 479 395 481 361 477 363 462 -4.10 -1.33
รวม 997 1,092 1,013 1,072 943 1,053 913 1,122 922 1,126 -2.57 1.07
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016

ตารางที่ 5 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้าน�้ำสับปะรดของประเทศผู้น�ำเข้าที่ส�ำคัญ ปี 2555 - 2559


ปริมาณ: พันตัน มูลค่า: ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ
อัตราเพิ่ม
2555 2556 2557 2558 2559*
ประเทศ (ร้อยละ)
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
สหรัฐอเมริกา 80 56 76 46 72 44 80 66 95 85 4.03 12.70
เนเธอร์แลนด์ 55 78 73 88 89 111 81 154 71 166 6.34 23.00
สเปน 27 43 30 40 33 44 27 48 23 58 -4.17 8.12
อิตาลี 23 34 17 21 15 20 17 31 14 33 -9.45 3.35
ฝรั่งเศส 14 22 13 18 15 20 15 24 14 29 1.44 8.76
อื่น ๆ 101 187 101 156 99 161 80 172 88 114 -4.96 -8.54
รวม 300 420 310 369 323 400 300 495 305 485 0.003 5.99
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016

103
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 6 ราคาส่งออกสับปะรดกระป๋องของประเทศผู้ส่งออกที่ส�ำคัญ ปี 2555 – 2559


หน่วย: ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
ไทย 930 890 960 1,150 1,170 7.42
ฟิลิปปินส์ 810 830 850 1,040 990 6.47
อินโดนีเซีย 910 870 970 1,120 1,120 6.91
เนเธอร์แลนด์ 1,614 1,576 1,668 1,784 1,750 2.90
เยอรมนี 1,496 1,433 1,423 1,367 1,520 -0.15
จีน 910 870 1,030 1,010 1,070 4.85
เฉลี่ย 941 928 984 1,134 1,130 5.83
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016

ตารางที่ 7 ราคาส่งออกน�้ำสับปะรดของประเทศผู้ส่งออกที่ส�ำคัญ ปี 2555 – 2559


หน่วย: ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
ไทย 1,290 1,070 1,270 1,840 2,040 15.70
เนเธอร์แลนด์ 1,632 1,326 1,422 1,865 2,230 10.14
ฟิลิปปินส์ 510 550 580 690 650 7.38
คอสตราริกา 1,050 900 1,040 1,160 2,100 17.82
อินโดนีเซีย 1,360 1,150 1,310 1,930 2,130 15.20
เฉลี่ย 1,090 977 1,061 1,468 1,430 9.97
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016

ตารางที่ 8 ราคาน�ำเข้าสับปะรดกระป๋องของประเทศผู้น�ำเข้าที่ส�ำคัญ ปี 2555 – 2559


หน่วย: ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 960 940 980 1,160 1,160 6.06
เยอรมนี 1,094 1,018 1,118 1,188 1,240 4.13
รัสเซีย 890 860 900 880 900 0.45
สเปน 1,399 1,329 1,446 1,392 1,500 1.87
เนเธอร์แลนด์ 1,243 1,203 1,141 1,340 1,350 2.77
เฉลี่ย 1,095 1,059 1,116 1,229 1,220 3.72
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016
104
สับปะรด

ตารางที่ 9 ราคาน�ำเข้าน�้ำสับปะรด ของประเทศผู้น�ำเข้าที่ส�ำคัญ ปี 2555 – 2559


หน่วย: ดอลลาร์สหรัฐฯ/ตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 685 611 629 814 900 8.68
เนเธอร์แลนด์ 1,426 1,202 1,251 1,892 2,330 15.44
สเปน 1,553 1,327 1,354 1,823 2,460 13.17
อิตาลี 1,500 1,253 1,317 1,842 2,300 13.20
ฝรั่งเศส 1,567 1,391 1,693 1,599 2,140 7.92
เฉลี่ย 1,400 1,189 1,239 1,652 1,590 6.01
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Global Trade Information Services, November 2016

ตารางที่ 10 เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ สับปะรดของไทย ปี 2555 - 2560


ปี เนื้อที่เก็บเกี่ยว (พันไร่) ผลผลิต (ล้านตัน) ผลผลิตต่อไร่ (ตัน)
2555 620 2.40 3.87
2556 533 2.07 3.88
2557 452 1.92 4.24
2558 447 1.83 4.09
2559 464 1.79 3.86
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -7.24 -6.85 0.48
2560* 475 1.95 4.10
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 11 ปริมาณ มูลค่า และราคาส่งออกสับปะรดกระป๋องของไทย ปี 2555 - 2560


ปี ปริมาณ (ล้านตัน) มูลค่า (ล้านบาท) ราคา (บาท/กิโลกรัม)
2555 0.57 16,532 28.75
2556 0.56 15,112 27.21
2557 0.52 16,052 30.96
2558 0.48 18,675 39.15
2559* 0.47 19,800 41.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -5.26 5.89 11.33
2560* 0.45 21,000
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
105
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 12 ปริมาณ มูลค่า และราคาส่งออกน�้ำสับปะรดของไทย ปี 2555 – 2560


ปี ปริมาณ (ล้านตัน) มูลค่า (ล้านบาท) ราคา (บาท/กิโลกรัม)
2555 0.14 5,574 32.87
2556 0.14 4,551 32.11
2557 0.11 4,264 40.78
2558 0.09 5,373 62.69
2559* 0.08 6,600 70.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -14.45 5.17 24.37
2560* 0.07 6,700
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 13 ราคาที่เกษตรกรขายได้ และราคาขายส่งสับปะรดบริโภคสด ณ ตลาดกรุงเทพฯ


ปี 2555 - 2560
หน่วย: บาท/กิโลกรัม
ราคาที่เกษตรกรขายได้1/ ราคาขายส่ง2/
ปี
สับปะรดโรงงาน สับปะรดบริโภคสด สับปะรดบริโภคสด
2555 3.30 6.70 12.50
2556 4.53 7.42 12.50
2557 7.15 9.01 14.80
2558 10.29 12.57 17.23
2559* 10.37 13.19 22.23
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 36.48 20.71 15.86
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
กรมการค้าภายใน

106
10
ล�ำไย
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 การผลิต
ปี 2555-2559 เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจาก 1,041,525 ไร่ ในปี 2555 เป็น 1,052,256 ไร่ ในปี 2559 หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.42 ต่อปี เนื่องจากราคาล�ำไยที่เกษตรกรขายได้อยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งเป็นผลมาจากการที่ภาครัฐ
ให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาราคาล�ำไยตกต�่ำในแต่ละปี ได้แก่ การกระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิต
การส่งเสริมการแปรรูป และการส่งเสริมการตลาด ประกอบกับความต้องการบริโภคล�ำไยจากต่างประเทศ ได้แก่
สาธารณรัฐประชาชนจีน เวียดนาม มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ท�ำให้เกษตรกรลงทุนขยายเนื้อที่ปลูกล�ำไยเพิ่มขึ้น ขณะที่
ผลผลิต และผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่มแี นวโน้มลดลงจาก 877,176 ตัน และ 842 กิโลกรัม ในปี 2555 เป็น 755,651 ตัน
และ 718 กิโลกรัม ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 2.74 และร้อยละ 3.15 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากในปี 2559
ประสบปัญหาภัยแล้ง ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่ลดลง ซึ่งท�ำให้ผลผลิตในภาพรวมลดลง
ปี 2559 มีเนื้อที่ให้ผล 1,052,256 ไร่ ลดลงจาก 1,060,391 ไร่ ในปี 2558 ร้อยละ 0.77 ส่วนผลผลิต
เป็น 755,651 ตัน ลดลงจาก 872,122 ตัน ในปี 2558 ร้อยละ 13.35 ขณะที่ผลผลิตต่อไร่เป็น 718 กิโลกรัม
ลดลงจาก 822 กิโลกรัม ในปี 2558 ร้อยละ 12.65
1.2 การตลาด
(1) การบริโภคภายในประเทศ
ผลผลิตล�ำไยส่วนใหญ่ที่บริโภคในประเทศจะอยู่ในรูปล�ำไยสด ส�ำหรับผลิตภัณฑ์แปรรูป ได้แก่ ล�ำไย
อบแห้ง ล�ำไยกระป๋อง และล�ำไยแช่แข็ง มีการบริโภคในประเทศไม่มาก โดยปี 2555-2559 ปริมาณความต้องการ
บริโภคล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มลดลงจาก 40,000 ตัน ในปี 2555 เป็น 25,000 ตัน ในปี 2559 หรือ
ลดลงร้อยละ 6.50 ต่อปี เนื่องจากมีการผลักดันส่งออกมากขึ้นและผลผลิตลดลง โดยในปี 2559 มีการบริโภค
ล�ำไยภายในประเทศประมาณ 25,000 ตัน ลดลงจาก 30,000 ตัน ในปี 2558 ร้อยละ 16.67
(2) การส่งออก
ไทยเป็นผู้ส่งออกล�ำไยรายใหญ่ของโลก โดยส่วนใหญ่ส่งออกในรูปล�ำไยสด และล�ำไยอบแห้ง ซึ่ง
ตลาดหลักล�ำไยสดของไทยได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน เวียดนาม อินโดนีเซีย และฮ่องกง ส่วนตลาดหลักล�ำไย
อบแห้งของไทยได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน เวียดนาม และฮ่องกง ทั้งนี้ในช่วงปี 2555-2559 ปริมาณ
การส่งออกล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์ลดลงจาก 596,419 ตัน (906,990 ตันสด) ในปี 2555 เป็น 539,095 ตัน
(866,201 ตันสด) ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 2.22 ต่อปี เนื่องจากมีผลผลิตเพื่อส่งออกลดลง ขณะที่มูลค่า
การส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 12,843 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 17,296 ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ
8.09 ต่อปี
ปี 2559 มีการส่งออกล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์ปริมาณ 539,095 ตัน ลดลงจากปริมาณ 553,265 ตัน
ในปี 2558 หรือลดลงร้อยละ 2.56 ส�ำหรับมูลค่าการส่งออกเป็น 17,296 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก 15,813 ล้านบาท
ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.38 เนื่องจากผลผลิตลดลง ส�ำหรับการส่งออกแยกตามผลิตภัณฑ์ได้ดังนี้

107
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1) ล�ำไยสด ปริมาณการส่งออกลดลงจาก 455,663 ตัน ในปี 2555 เป็น 391,500 ตัน ในปี 2559
หรือลดลงร้อยละ 2.58 ต่อปี ขณะที่มูลค่าเพิ่มขึ้นจาก 8,454 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 9,000 ล้านบาท ในปี
2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.66 ต่อปี
2) ล�ำไยอบแห้ง ปริมาณการส่งออกลดลงร้อยละ 1.26 ต่อปี โดยในปี 2559 มีปริมาณการส่งออก
136,500 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 110,729 ตัน ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.27 ขณะที่มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น
จาก 3,783 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 7,650 ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.61 ต่อปี
3) ล�ำไยกระป๋อง ปริมาณการส่งออกลดลงจาก 11,472 ตัน ในปี 2555 เป็น 11,050 ตัน ในปี
2559 หรือลดลงร้อยละ 1.50 ต่อปี ขณะที่มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 602 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 640
ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.19 ต่อปี
4) ล�ำไยแช่แข็ง ปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 29 ตัน ในปี 2555 เป็น 45 ตัน ในปี 2559 หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.10 ต่อปี ขณะที่ปี 2559 มีมูลค่าการส่งออก 6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 3 ล้านบาท ในปี 2558
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 100
(3) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555-2559 ราคาล�ำไยสดทั้งช่อเกรด AA และเกรด A เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 28.21 บาท
และ 24.24 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 38.00 บาท และ 33.00 บาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.82
และร้อยละ 7.47 ต่อปี ตามล�ำดับ
ปี 2555-2559 ราคาล�ำไยอบแห้งเกรด AA เกรด A และเกรด B เพิม่ ขึน้ จากกิโลกรัมละ 66.09 บาท
37.02 บาท และ 22.98 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 118.00 บาท 67.00 บาท และ 42.00 บาท ในปี
2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.90 ร้อยละ 15.43 และร้อยละ 16.46 ต่อปี ตามล�ำดับ
ปี 2559 ราคาล�ำไยสดทั้งช่อเกรด AA และเกรด A กิโลกรัมละ 38.00 บาท และ 33.00 บาท
เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 34.54 บาท และ 28.57 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 10.02 และร้อยละ 15.51 ตามล�ำดับ
ปี 2559 ราคาล�ำไยอบแห้งเกรด AA เกรด A และเกรด B กิโลกรัมละ 118.00 บาท 67.00 บาท
และ 42.00 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 90.09 บาท 50.78 บาท และ 30.00 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 30.98
ร้อยละ 31.94 และร้อยละ 40.00 ตามล�ำดับ
2) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี.
ปี 2555-2559 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ล�ำไยสด ล�ำไยอบแห้ง ล�ำไยกระป๋อง เพิม่ ขึน้ จากกิโลกรัมละ
18.55 บาท 29.27 บาท และ 52.48 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 23.00 บาท 56.00 บาท และ 58.00 บาท
ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.39 ร้อยละ 20.11 และร้อยละ 2.77 ต่อปี ตามล�ำดับ ขณะที่ราคาส่งออก
เอฟ.โอ.บี. ล�ำไยแช่แข็งลดลงจากกิโลกรัมละ 137.93 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 133.00 บาท ในปี 2559
หรือลดลงร้อยละ 8.18 ต่อปี
ปี 2559 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ล�ำไยสด ล�ำไยอบแห้ง ล�ำไยกระป๋อง และล�ำไยแช่แข็งกิโลกรัมละ
23.00 บาท 56.00 บาท 58.00 บาท และ 133.00 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.62 บาท 49.00 บาท
55.48 บาท และ 75.00 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 1.68 ร้อยละ 14.29 ร้อยละ 4.54 และร้อยละ 77.33 ตามล�ำดับ
108
ลำ�ไย

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 การผลิต
คาดว่ามีเนื้อที่ให้ผล 1,050,313 ไร่ ลดลงจาก 1,052,256 ไร่ ในปี 2559 ร้อยละ 0.18 เนื่องจากเนื้อที่
ให้ผลเสียหายจากปัญหาภัยแล้งในปี 2559 ขณะที่ปี 2560 มีผลผลิต 875,000 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 833 กิโลกรัม
เพิ่มขึ้นจากผลผลิต 755,651 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 718 กิโลกรัม ในปี 2559 ร้อยละ 15.79 และ 16.02
ตามล�ำดับ เนื่องจากปัญหาภัยแล้งในปี 2560 เริ่มลดน้อยลง มีปริมาณฝนเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้
ผลผลิตเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น
2.2 การตลาด
(1) การบริโภคภายในประเทศ
คาดว่าความต้องการบริโภคล�ำไยภายในประเทศประมาณ 30,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 25,000 ตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 20.00 เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่คาดว่าจะมีเพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
คาดว่าจะมีการส่งออกล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์ประมาณ 541,315 ตัน (844,128 ตันสด) เพิ่มขึ้นจาก
ปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.41 เนื่องจากผลผลิตที่เพิ่มขึ้น และสาธารณรัฐประชาชนจีน อินโดนีเซีย และฮ่องกง ซึ่งเป็น
ตลาดส่งออกล�ำไยที่ส�ำคัญของไทยยังมีความต้องการบริโภคล�ำไยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความต้องการ
ล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์จากกลุ่มประเทศอาเซียน โดยเฉพาะเวียดนามมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม ภาครัฐควร
ส่งเสริมและสนับสนุนการขยายการส่งออกในตลาดใหม่ ได้แก่ กลุ่มประเทศตะวันออกกลาง อินเดีย สหภาพยุโรป
สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย เป็นต้น เพือ่ ลดการพึง่ พิงจากตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึง่ เป็นตลาดหลักของไทย
(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาล�ำไยสดทั้งช่อ ล�ำไยอบแห้ง ที่เกษตรกรขายได้จะมีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก
ปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและการส่งออก
2.3.1 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
(1) สภาวะโลกร้อน
สภาวะโลกร้อนหรือปรากฏการณ์กา๊ ซเรือนกระจกส่งผลให้สภาพภูมอิ ากาศเกิดการเปลี่ยนแปลง
และธรรมชาติเกิดความแปรปรวน ท�ำให้เกิดภัยธรรมชาติอย่างรุนแรง เช่น อุทกภัยและภัยแล้ง ส่งผลให้พื้นที่ปลูก
และผลผลิตทางการเกษตรในภาคเหนือเกิดความเสียหาย รวมทั้งส่งผลต่อการติดดอกออกผล ท�ำให้ผลผลิตออก
ล่าช้าและไม่ได้คุณภาพ ดังนั้น ปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งจึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
ล�ำไยของไทย ทั้งนี้คาดว่าในปี 2560 ภาวะภัยแล้งจะลดน้อยลง ปริมาณฝนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตล�ำไย
เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2559

109
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(2) ราคาผลผลิตล�ำไย
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555-2559) ราคาผลผลิตล�ำไยของไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจาก
ล�ำไยของไทยเป็นที่ต้องการของตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน อินโดนีเซีย ฮ่องกง
และเวียดนาม จึงจูงใจให้เกษตรกรลงทุนขยายเนือ้ ทีป่ ลูกล�ำไย และดูแลรักษาต้นล�ำไย ท�ำให้เนือ้ ทีป่ ลูกและผลผลิต
เพิ่มขึ้น
2.3.2 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออก
(1) ความต้องการบริโภคของตลาดต่างประเทศ
ล�ำไยส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 90 ของผลผลิตทั้งหมดจะส่งออกไปตลาดต่างประเทศในรูปของ
ล�ำไยสดและล�ำไยอบแห้ง โดยตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน เวียดนาม อินโดนีเซีย และ
ฮ่องกง เป็นต้น ทั้งนี้ ล�ำไยสดและล�ำไยอบแห้งของไทยเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคในต่างประเทศ เนื่องจากล�ำไย
ไทยมีรสชาติและคุณภาพดี ดังนั้น ความต้องการบริโภคล�ำไยของตลาดต่างประเทศจึงเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้
การส่งออกล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์ของไทยเพิ่มสูงขึ้น
(2) มาตรการการน�ำเข้าสินค้าเกษตรและการด�ำเนินการของหน่วยงานภาครัฐของสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน
สาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นประเทศผู้น�ำเข้าล�ำไยรายใหญ่ของไทย ดังนั้น การก�ำหนด
มาตรการต่าง ๆ ในการน�ำเข้าของสาธารณรัฐประชาชนจีนจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ส่งออกและการส่งออก
ล�ำไยของไทย เช่น การก�ำหนดราคาประเมินซึ่งใช้เป็นฐานในการค�ำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) ให้สูงขึ้น และการ
ก�ำหนดให้ต้องมีการตรวจสอบรับรองโรงคัดบรรจุจากเจ้าหน้าที่ของจีนก่อนการส่งออกไปจีน รวมถึงภาครัฐจีน
ได้ขยายการก่อสร้างด่านน�ำเข้าผลไม้ ณ มณฑลกวางสี ซึง่ เป็นมณฑลทีน่ ำ� เข้าผลไม้มากเป็นอันดับหนึง่ ของประเทศ
ในปี 2558 เพิม่ เติม จ�ำนวน 3 ด่าน ท�ำให้ปจั จุบนั มณฑลกวางสีมดี า่ นน�ำเข้าผลไม้ รวมทัง้ สิน้ 6 ด่าน ประกอบด้วย
ด่านชายแดน 3 แห่ง ได้แก่ ด่านผิงเสี่ยง ด่านหลงปาง และด่านตงซิ่ง ด่านชายฝั่งทะเล 2 แห่ง ได้แก่ ด่านท่าเรือ
ฝ่างเฉิง และด่านท่าเรือคลังสินค้าทัณฑ์บนฉินโจว และด่านท่าอากาศยาน 1 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานกุ้ยหลิน
ซึ่งเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการขนส่งผลไม้ของประเทศอาเซียนเข้าสู่ตลาดกวางสี และตลาดภายในประเทศ
ได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม การบังคับใช้มาตรการน�ำเข้าต่าง ๆ เหล่านี้ อาจมีผลท�ำให้การส่งออก
ล�ำไยของไทยไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย
(3) มาตรการการน�ำเข้าสินค้าเกษตรของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
สาธารณรัฐอินโดนีเซียเป็นประเทศผู้น�ำเข้าล�ำไยของไทยรองจากจีน ดังนั้น การก�ำหนด
มาตรการต่าง ๆ ในการน�ำเข้าของอินโดนีเซียจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ส่งออกและการส่งออกล�ำไยของไทย
เช่น มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชที่ควบคุมให้ผลไม้น�ำเข้าต้องมีมาตรฐานความปลอดภัย ไม่มีการ
ปนเปื้อนของสารเคมี และสารชีวภาพที่เกินกว่าระดับสูงสุดที่ก�ำหนด รวมทั้งการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการที่ใช้
ตรวจสอบระบบความปลอดภัยทางด้านอาหารเพื่อการส่งออก ต้องได้รับการรับรองจากหน่วยงานรัฐบาล ซึ่งการ
บังคับใช้มาตรการเหล่านี้ อาจมีผลท�ำให้การส่งออกล�ำไยของไทยไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย

110
ลำ�ไย

(4) ค่าเงินบาทและค่าระวางเรือขนส่ง
ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าลงตั้งแต่ปี 2558 จนถึงปี 2559 ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกล�ำไยสดและ
ผลิตภัณฑ์ของไทยในรูปของเงินบาทเพิ่มขึ้น ท�ำให้ผู้ประกอบการส่งออกมีรายได้เพิ่มขึ้น ประกอบกับค่าระวางเรือ
ขนส่งสินค้าที่ลดลงมาก เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจโลกรวมถึงสภาวะเศรษฐกิจของประเทศจีนที่ยังชะลอตัว
ส่งผลให้ปริมาณความต้องการขนส่งสินค้าทางเรือลดลงมาก ในขณะที่ปริมาณเรือขนส่งมีมากกว่าความต้องการ
ขนส่งสินค้าทางเรือ ทั้งนี้ ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้อาจส่งผลให้ปริมาณการส่งออกล�ำไยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเมื่อ
พิจารณาในเรือ่ งค่าระวางเรือขนส่งส�ำหรับตูค้ อนเทนเนอร์ปรับอุณหภูมิ (ห้องเย็น) ขนาด 40 ฟุต จากไทยไปฮ่องกง
และจากไทยไปเซี่ยงไฮ้ พบว่า ปี 2558 มีราคาประมาณ 1,200 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตู้ (41,292 บาทต่อตู้) และ
1,400 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตู้ (48,174 บาทต่อตู้) ณ อัตราแลกเปลี่ยน 34.41 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ส�ำหรับ
ปี 2559 ค่าระวางเรือขนส่งจากไทยไปฮ่องกง และจากไทยไปเซีย่ งไฮ้ ซึง่ มีราคาลดลงเป็น 100 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตู้
(3,523 บาทต่อตู้) และ 300 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตู้ (10,569 บาทต่อตู้) ณ อัตราแลกเปลี่ยน 35.23 บาทต่อดอลลาร์
สหรัฐ ซึง่ ค่าระวางเรือขนส่งลดลงเทีย่ วละ 37,769 บาทต่อตู้ และ 37,605 บาทต่อตู้ ตามล�ำดับ ดังนัน้ ค่าเงินบาท
ที่อ่อนค่าลงและค่าระวางเรือขนส่งที่ลดลงจึงส่งผลดีต่อการส่งออกล�ำไยของไทย
(5) สภาวะเศรษฐกิจจีนและสหภาพยุโรปชะลอตัว ในขณะทีส่ ภาวะเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาขยายตัว
การส่งออกล�ำไยของไทยส่วนใหญ่ร้อยละ 95 อยู่ในรูปของล�ำไยสดและล�ำไยอบแห้ง ตลาด
ส่งออกล�ำไยสดหลัก ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน อินโดนีเซีย ฮ่องกง และเวียดนาม ซึง่ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38
ร้อยละ 14 ร้อยละ 8 และร้อยละ 35 ของการส่งออกล�ำไยสดของไทยในปี 2558 ตามล�ำดับ ส่วนตลาดส่งออก
ล�ำไยอบแห้งหลัก ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน และเวียดนาม ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 12 และร้อยละ 74
ของการส่งออกล�ำไยอบแห้งของไทยในปี 2558 ตามล�ำดับ ดังนั้น หากสาธารณรัฐประชาชนจีนประสบปัญหา
เศรษฐกิจชะลอตัว จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการส่งออกล�ำไยสดและล�ำไยอบแห้งของไทย แต่อาจจะส่งผล
กระทบต่อการส่งออกไม่มาก เนื่องจากล�ำไยยังเป็นที่ต้องการบริโภคของตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน ในขณะที่
ปัญหาเศรษฐกิจสหภาพยุโรปชะลอตัวจะส่งผลกระทบต่อการส่งออกล�ำไยกระป๋องและล�ำไยแช่แข็งของไทย
ซึ่งตลาดส่งออกล�ำไยกระป๋องคือ ฝรั่งเศส และอิตาลี และตลาดส่งออกล�ำไยแช่แข็งของไทยคือ ฝรั่งเศส โดยอาจ
ส่งผลกระทบให้ปริมาณและมูลค่าการส่งออกลดลง ส�ำหรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา จะส่งผลกระทบ
ต่อการส่งออกล�ำไยกระป๋องและล�ำไยแช่แข็งของไทย โดยปริมาณและมูลค่าการส่งออกอาจมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย

111
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 1 เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ล�ำไย ปี 2555-2559 และประมาณการปี 2560


ปี เนื้อที่ให้ผล (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม/ไร่)
2555 1,041,525 877,176 842
2556 1,038,108 854,616 823
2557 1,052,058 994,904 946
2558 1,060,391 872,122 822
2559 1,052,256 755,651 718
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 0.42 -2.74 -3.15
2560* 1,050,313 875,000 833
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 การบริโภคภายในประเทศและการส่งออกล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์ ปี 2555-2559


และประมาณการปี 2560
ปริมาณการบริโภค การส่งออก
ปี
ภายในประเทศ (ตัน) ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
2555 40,000 596,419 12,843
2556 45,000 565,961 13,172
2557 50,000 565,559 14,052
2558 30,000 553,265 15,813
2559* 25,000 539,095 17,296
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -12.59 -2.22 8.09
2560* 30,000 541,315 17,559
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

112
ตารางที่ 3 เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ล�ำไย ปี 2555-2559 และประมาณการปี 2560
ล�ำไยสด ล�ำไยอบแห้ง ล�ำไยกระป๋อง ล�ำไยแช่แข็ง
ปี ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
(ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท)
2555 455,663 8,454 129,255 3,783 11,472 602 29 4
2556 413,400 8,503 140,232 4,026 12,274 633 55 9
2557 357,207 7,934 196,666 5,510 11,641 601 45 7
2558 431,121 9,753 110,729 5,426 11,374 631 40 3
2559* 391,500 9,000 136,500 7,650 11,050 640 45 6
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -2.58 2.66 -1.26 18.61 -1.50 1.19 6.10 -1.32
2560* 404,000 9,300 126,000 7,600 11,260 650 55 9
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ลำ�ไย

113
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 4 ราคาล�ำไยสดและล�ำไยอบแห้งทีเ่ กษตรกรขายได้ ปี 2555-2559 และประมาณการปี 2560


ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.)
ปี ล�ำไยสดทั้งช่อ ล�ำไยอบแห้ง
เกรด AA เกรด A เกรด AA เกรด A เกรด B
2555 28.21 24.24 66.09 37.02 22.98
2556 29.53 25.77 65.68 39.60 21.83
2557 29.59 25.37 76.40 38.85 22.61
2558 34.54 28.57 90.09 50.78 30.00
2559* 38.00 33.00 118.00 67.00 42.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 7.82 7.47 15.90 15.43 16.46
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 5 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ล�ำไยสดและผลิตภัณฑ์ ปี 2555-2559 และประมาณการปี 2560


ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. (บาท/กก.)
ปี
ล�ำไยสด ล�ำไยอบแห้ง ล�ำไยกระป๋อง ล�ำไยแช่แข็ง
2555 18.55 29.27 52.48 137.93
2556 20.57 28.71 51.57 163.64
2557 22.21 28.02 51.63 155.56
2558 22.62 49.00 55.48 75.00
2559* 23.00 56.00 58.00 133.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 5.39 20.11 2.77 -8.18
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกรมศุลกากร

114
11
ทุเรียน
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 เนื้อที่ให้ผลลดลงจาก 581,684 ไร่ ในปี 2555 เหลือ 578,861 ไร่ ในปี 2559 หรือ
ลดลงร้อยละ 0.17 ต่อปี ขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นจาก 524,469 ตัน และ 902 กิโลกรัมต่อไร่
ในปี 2555 เป็น 561,803 ตัน และ 971 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.95 และร้อยละ 2.12
ต่อปี ตามล�ำดับ
ปี 2559 เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจาก 573,293 ไร่ ในปี 2558 ร้อยละ 0.97 เนื่องจากในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา
ราคาที่เกษตรกรขายได้อยู่ในเกณฑ์ดี บางพื้นที่มีการขยายเนื้อที่ปลูกเพิ่มขึ้น และปลูกแทนพืชชนิดอื่น ขณะที่
ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ลดลงจาก 601,884 ตัน และ 1,050 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2558 หรือลดลงร้อยละ 6.66
และร้อยละ 7.56 ตามล�ำดับ เนื่องจากสภาพภูมิอากาศแปรปรวน กระทบแล้ง อากาศร้อนไม่เอื้ออ�ำนวยต่อการ
ติดดอกออกผล
1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 ความต้องการบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 152,524 ตัน ในปี 2555 เป็น
160,444 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.60 ต่อปี ซึ่งการบริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปผลสด
ปี 2559 การบริโภคภายในประเทศลดลงจาก 213,362 ตัน ในปี 2558 ร้อยละ 24.80 เนื่องจาก
ผลลิตลดลง ส่งผลให้ทุเรียนมีราคาแพงกว่าปีท่ีผ่านมา ขณะที่ตลาดต่างประเทศยังมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะตลาดจีน
(2) การส่งออก
ไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและผู้ส่ง ออกทุเรียนรายใหญ่ของโลก ซึ่งตลาดหลักส�ำคัญของไทยคือ
สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยส่งออกในรูปทุเรียนสดประมาณร้อยละ 90 ของการส่งออกทัง้ หมด ในปี 2555 - 2559
การส่งออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑ์ของไทยเพิ่มขึ้นจาก 365,912 ตัน (คิดเป็นทุเรียนสด 371,946 ตัน) มูลค่า
7,167.28 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 394,795 ตัน (คิดเป็นทุเรียนสด 401,359 ตัน) มูลค่า 18,398.00 ล้านบาท
ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.53 และร้อยละ 28.23 ต่อปี ตามล�ำดับ แบ่งเป็น
1) ทุเรียนสด เพิ่มขึ้นจาก 351,124 ตัน มูลค่า 6,195.22 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 374,430 ตัน
มูลค่า 16,100.00 ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.05 และร้อยละ 28.40 ต่อปี ตามล�ำดับ
2) ทุเรียนกวน เพิ่มขึ้นจาก 501 ตัน มูลค่า 44.14 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 620 ตัน มูลค่า 78.00
ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.50 และร้อยละ 24.59 ต่อปี ตามล�ำดับ
3) ทุเรียนแช่แข็ง เพิ่มขึ้นจาก 13,895 ตัน มูลค่า 734.37 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 19,360 ตัน
มูลค่า 1,910.00 ล้านบาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 12.17 และร้อยละ 31.10 ต่อปี ตามล�ำดับ
4) ทุเรียนอบแห้ง ลดลงจาก 392 ตัน ในปี 2555 เป็น 385 ตัน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 1.85
ขณะที่มูลค่าเพิ่มขึ้นจาก 193.54 ล้านบาท ในปี 2555 เป็นมูลค่า 310.00 ล้านบาท ในปี 2559 และร้อยละ
10.28 ต่อปี ตามล�ำดับ
115
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ปี 2559 การส่งออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑ์เพิม่ ขึน้ จาก 381,470 ตัน (คิดเป็นทุเรียนสด 388,522 ตัน)


มูลค่า 15,563.24 ล้านบาท ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.49 และร้อยละ 18.21 ตามล�ำดับ เนื่องจาก
ความต้องการในตลาดต่างประเทศเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลให้ราคาส่งออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑ์อยูใ่ นระดับสูง
จูงใจให้ผู้ประกอบการส่งออกทุเรียนสด ทุเรียนแช่แข็งแบบแกะเปลือก และแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์มากขึ้น
(3) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555 - 2559 ราคาทุเรียนพันธุ์หมอนทองเกรดคละที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ
31.92 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 63.00 บาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 16.28 ต่อปี ส�ำหรับราคา
ทุเรียนพันธุ์ชะนีเกรดคละเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 19.80 บาทในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 42.00 บาท ในปี 2560
หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.91 ต่อปี
ปี 2559 ราคาทุเรียนพันธุ์หมอนทองเกรดคละและทุเรียนพันธุ์ชะนีเกรดคละที่เกษตรกรขายได้
เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 46.96 บาท และกิโลกรัมละ 31.11 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 34.16 และร้อยละ 35.00
ตามล�ำดับ
2) ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ
ปี 2555 - 2559 ราคาขายส่งทุเรียนพันธุ์หมอนทองและพันธุ์ชะนีเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 43.98
และกิโลกรัมละ 29.00 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 90.00 และกิโลกรัมละ 70.00 บาท ในปี 2559 หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.84 และร้อยละ 23.10 ต่อปี ตามล�ำดับ
ปี 2559 ราคาขายส่งทุเรียนพันธุห์ มอนทอง และทุเรียนชะนี เพิม่ ขึน้ จากกิโลกรัมละ 67.89 บาท
และกิโลกรัมละ 47.50 บาท ในปี 2558 หรือคิดเป็นร้อยละ 36.99 และร้อยละ 47.37 ตามล�ำดับ
3) ราคาส่งออก
ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกทุเรียนสด ทุเรียนแช่แข็ง และทุเรียนกวนเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ
17.64 บาท กิโลกรัมละ 52.85 บาท และกิโลกรัมละ 88.16 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 43.00 บาท
กิโลกรัมละ 98.65 บาท และกิโลกรัมละ 125.80 บาท ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.07 ร้อยละ 16.99
และร้อยละ 6.95 ต่อปี ตามล�ำดับ
ปี 2559 ราคาส่งออกทุเรียนสด ทุเรียนแช่แข็ง และทุเรียนกวน เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ
36.98 บาท กิโลกรัมละ 87.65 บาท และกิโลกรัมละ 119.53 บาท ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ16.28 ร้อยละ
12.55 และร้อยละ 5.25 ต่อปี ตามล�ำดับ

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าจะมีเนื้อที่ให้ผล 595,896 ไร่ ผลผลิต 652,000 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 1,094 กิโลกรัม
เพิ่มขึ้นจาก 578,861 ไร่ ผลผลิต 561,803 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 971 กิโลกรัม ในปี 2559 ร้อยละ 2.94 ร้อยละ
16.05 และร้อยละ 12.72 ตามล�ำดับ เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว เนื่องจากการขยายเนื้อที่ปลูกใหม่ปี 2555
เริ่มให้ผลผลิต ประกอบกับในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมาราคาที่เกษตรกรขายได้อยู่ในเกณฑ์ดี จึงจูงใจให้เกษตรกร

116
ทุเรียน

ดูแลรักษาสวนทุเรียนเป็นอย่างดี ส�ำหรับผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น หากสภาพภูมิอากาศ ในปี 2560 เอื้ออ�ำนวย


ต่อการออกดอกและติดผล
2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าความต้องการบริโภคทุเรียนสดและผลิตภัณฑ์ภายในประเทศมีปริมาณ 219,300 ตัน
เพิ่มขึ้นจาก 160,444 ตัน ในปี 2559 ร้อยละ 36.68 เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 7.80 โดยมี
ปริมาณ 425,600 ตัน (คิดเป็นตันสด 432,700 ตัน) แยกเป็น ทุเรียนสด 403,000 ตัน ทุเรียนแช่แข็ง 21,500 ตัน
ทุเรียนกวน 700 ตัน และทุเรียนอบแห้ง 400 ตัน เนื่องจากตลาดต่างประเทศมีความต้องการทุเรียนสดและ
ผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(3) ราคา
ปี 2559 คาดว่าราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ และราคาส่งออกจะใกล้เคียง
กับปีที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่ความต้องการทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ
ยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและการส่งออก
(1) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
1) เกษตรกรมีแนวโน้มปลูกทุเรียนมากขึ้น เนื่องจากในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมาราคาทุเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี
และปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกยางพารา และผลไม้ชนิดอื่น ๆ มาปลูกทุเรียน และการปลูกแซมในสวนกาแฟ
โดยเกษตรกรดูแลเอาใจใส่บ�ำรุงรักษาสวนผลไม้มากขึ้น เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพมาตรฐานการส่งออก
2) ปั ญ หาโรครากเน่ า โคนเน่ า (ไฟทอปเธอร่ า ) ซึ่ ง เกิ ด จากเชื้ อ ราในทุ เรี ย น และปั ญ หาโรค
หนอนเจาะทุเรียน ท�ำให้ผลผลิตไม่ได้คุณภาพมาตรฐานตามความต้องการของตลาด
3) จากภาวะโลกร้อนและปรากฏการณ์เอลนีโญ ท�ำให้สภาพอากาศแปรปรวน และเกิดความแห้งแล้ง
จึงส่งกระทบต่อการติดดอกออกผลของทุเรียนในปี 2559 ท�ำให้ผลผลิตลดลงจากปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ในปี
2560 หากสภาพภูมิอากาศเหมาะสม คาดว่าจะส่งผลให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
(2) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก
1) ตลาดทุ เรี ย นมี แ นวโน้ ม ความต้ อ งการปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ โดย
ทุเรียนสดคุณภาพดีจะส่งออกไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นตลาดหลักของการส่งออกทุเรียนสด โดย
สามารถส่งออกได้ทั้งทางเรือ และทางบกตามเส้นทาง R9 R3 และ R12 ส�ำหรับทุเรียนเกรดรองส่งออกไปยัง
มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ส่วนทุเรียนเกรดคละและตกเกรดส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้านผ่านการค้าชายแดน
รวมทั้งทุเรียนแช่แข็งแบบแกะเปลือกส่งออกไปประเทศแถบยุโรป เช่น เยอรมนี และแคนาดา โดยในปี 2559
ในพื้นที่แหล่งผลิตได้มีโรงคัดบรรจุผลไม้ (ล้ง) มาตั้งจุดรับซื้อผลไม้ โดยเฉพาะทุเรียนและมังคุดเป็นจ�ำนวนมาก
ส่วนใหญ่มาเช่าพื้นที่ด�ำเนินการส่งออกเป็นรายปี และรับจ้างบรรจุภัณฑ์ (Packaging) ผลไม้เพื่อการส่งออก

117
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2) กฎระเบียบการน�ำเข้าผลไม้
2.1) มณฑลกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ก่อสร้างด่านน�ำเข้าผลไม้เพิ่มอีก 3 ด่าน เพื่อ
อ�ำนวยความสะดวกในการน�ำเข้าผลไม้ของประเทศอาเซียน โดยปัจจุบันมณฑลกวางสีมีด่านน�ำเข้าและส่งออก
ผลไม้ 3 ด่าน ได้แก่ (1) ด่านผิงเสี่ยง (2) ด่านท่าเรือฟางแง และ (3) ด่านท่าอากาศยานกุ้ยหลิน โดยผลไม้ที่
น�ำเข้าทั้ง 3 ด่าน มีปริมาณ 5.425 แสนตัน คิดเป็นมูลค่า 312 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งมณฑลกวางสีเป็นช่องทาง
การน�ำเข้าผลไม้ของอาเซียนทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ แต่ยงั ไม่สามารถรองรับปริมาณความต้องการของผลไม้ทเี่ พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว
ได้ ภาครัฐของสาธารณรัฐประชาชนจีนจึงได้ขยายการก่อสร้างด่านน�ำเข้าผลไม้ ณ มณฑลกวางสีเพิ่มอีก 3 ด่าน
ได้แก่ (1) ด่านหลงปาง (2) ด่านตงวิ่ง (3) ด่านท่าเรือคลังสินค้าทัณฑ์บนฉินโจว จึงท�ำให้ปัจจุบันมณฑลกวางสี
มีด่านน�ำเข้าผลไม้รวมทั้งสิ้น 6 ด่าน
2.2) อินโดนีเซีย ซึง่ เป็นประเทศผูน้ ำ� เข้าทุเรียนสดทีส่ ำ� คัญของไทยในตลาดอาเซียน โดยในช่วงปี
2555 - 2556 อินโดนีเซียได้มีการก�ำหนดด่านน�ำเข้า 4 แห่ง (ท่าเรือ 3 แห่ง สนามบิน 1 แห่ง) และจ�ำกัดปริมาณ
การน�ำเข้าสินค้าพืชสวน ซึ่งส่งผลกระทบต่อการส่งออกสินค้าพืชสวนของไทย และในปี 2559 อินโดนีเซียได้
ปรับปรุงกฎระเบียบน�ำเข้าใหม่ มีการยกเลิกโควตาและอนุญาตให้น�ำเข้าได้ไม่จ�ำกัดปริมาณ โดยเฉพาะสินค้าล�ำไย
และทุเรียน แต่มีเงื่อนไขให้ผู้น�ำเข้าที่ขออนุญาตน�ำเข้าต้องแจ้งความประสงค์ขอน�ำเข้าสินค้าในช่วง 6 เดือนกับ
กระทรวงการค้า และต้องน�ำเข้าสินค้านั้น ๆ ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 80 ของปริมาณที่แจ้งความประสงค์น�ำเข้า ซึ่งหาก
ไม่สามารถปฏิบัติได้จะถูกเพิกถอนใบอนุญาตน�ำเข้าเป็นระยะเวลา 2 ปี นอกจากนี้ ผู้ประกอบการน�ำเข้าต้องยื่น
รายละเอียดเกี่ยวกับแหล่งผลิตที่ได้รับการรับรอง GAP และโรงคัดบรรจุที่ได้รับการรับรอง GMP เป็นต้น และ
ในปี 2560 อินโดนีเซียได้ประกาศกฎกระทรวง ซึ่งได้บังคับใช้ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 โดยก�ำหนดชนิด
พืช ผัก ผลไม้ น�ำเข้าอินโดนีเซียที่จะต้องได้รับการตรวจสอบจ�ำนวน 103 ชนิด เป็นผลไม้จ�ำนวน 43 ชนิด ก�ำหนด
ให้มีการตรวจสอบสารปนเปื้อน 2 ประเภท คือ การปนเปื้อนสารเคมี และการปนเปื้อนทางชีวภาพ โดยประเทศ
ผู้ส่งออก พืช ผัก ผลไม้ จะต้องปฏิบัติตามข้อก�ำหนด คือได้รับการรับรองตามที่ก�ำหนดใน Mutual Recognition
Arrangement – MRA จากกระทรวงเกษตรอินโดนีเซีย และมีการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการที่ใช้ตรวจสอบ
ความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อการส่งออก ซึ่งต้องได้รับการรับรองจากหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ หลังจากการก�ำหนด
ด่านน�ำเข้าของอินโดนีเซีย และมีการปรับปรุงกฎระเบียบในการน�ำเข้าใหม่ ท�ำให้การส่งออกทุเรียนของไทยไป
อินโดนีเซียลดลงมากกว่าร้อยละ 50 ประกอบกับปี 2558-2559 ผลผลิตทุเรียนของไทยออกสู่ตลาดลดลง
3) ปี 2559 ต้นทุนค่าขนส่งทางเรือมีแนวโน้มลดลงจากปี 2558 อย่างมาก แม้ว่าค่าเงินบาทจะ
อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา จากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังชะลอตัว ส่งผลกระทบกับภาคการส่งออก
ของไทยขยายตัวติดลบ ปริมาณความต้องการขนส่งสินค้าลดลง ขณะที่ปริมาณของเรือมีมากกว่าความต้องการ
ของสินค้าที่ขนส่ง จึงส่งผลให้อัตราค่าขนส่ง (freight) ปรับตัวลดลง ซึ่งส่งผลดีต่อต้นทุนการส่งออกผลไม้ของไทย
เข้าสู่ตลาดจีน โดยค่าระวางเรือในปี 2559 ปรับลดลงจากปีที่ผ่านมาค่อนข้างมาก โดยในช่วงฤดูกาลที่ผลผลิต
ทุเรียนออกสู่ตลาดมากค่าระวางเรือจากไทยไปฮ่องกง และจากไทยไปเซี่ยงไฮ้มีอัตรา 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ และ
300 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตู้คอนเทนเนอร์ (ปรับอุณหภูมิ) ขนาด 40 ฟุต ตามล�ำดับ (มีค่าระวางตู้ละ 3,523 บาท
และ 10,569 บาท ณ อัตราแลกเปลี่ยนช่วงเดือนเมษายน – กันยายน 2559 เฉลี่ย 35.23 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ)
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2558 ที่มีค่าระวางเรือต่อตู้คอนเทนเนอร์ (ปรับอุณหภูมิ) ขนาด 40 ฟุต สูงสุด
ประมาณ 1,200 ดอลลาร์สหรัฐฯ และ 1,400 ดอลลาร์สหรัฐฯ ตามล�ำดับ (คิดเป็นเงินบาท มีคา่ ระวางตูล้ ะ 41,292 บาท
118
ทุเรียน

และ 48,174 บาท ณ อัตราแลกเปลี่ยนช่วงเดือนเมษายน – กันยายน 2558 เฉลี่ย 34.41 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ)


หรือลดลงตู้ละ 37,769 บาท และ 37,605 บาท ตามล�ำดับ
4) ภาวะเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าของไทยมีแนวโน้มเติบโตขึ้น
อย่างมั่นคงและต่อเนื่องในช่วงไตรมาส 1-3 ซึ่งเป็นผลมาจากการค้าต่างประเทศมีแนวโน้มฟื้นตัว การน�ำเข้า
ส่งออกมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และการบริโภคมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จึงเป็นโอกาสในส่งออกผลไม้
ของไทย ซึ่งการส่งออกทุเรียนไปจีนยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา แม้ว่าผลผลิตจะลดลงแต่ความต้องการ
ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ตารางที่ 1 เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ทุเรียน ปี 2555 - 2560


ปี เนื้อที่ให้ผล (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)
2555 581,684 524,469 902
2556 577,235 569,313 986
2557 570,602 631,775 1,107
2558 573,293 601,884 1,050
2559* 578,861 561,803 971
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) - 0.17 1.95 2.12
2560* 595,896 652,000 1,094
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 การบริโภคภายในประเทศและการส่งออกทุเรียนสดและผลิตภัณฑ์ ปี 2555 - 2560


การบริโภค การส่งออก
ในรูปผลสด
ปี ภายในประเทศ ปริมาณ มูลค่า
(ตัน) (ตัน) (ล้านบาท)
2555 152,524 365,912 (คิดเป็นทุเรียนสด 371,945 ตัน) 7,167.28
2556 182,564 381,414 (คิดเป็นทุเรียนสด 386,749 ตัน) 8,528.99
2557 238,771 387,554 (คิดเป็นทุเรียนสด 393,004 ตัน) 13,842.63
2558 213,362 381,470 (คิดเป็นทุเรียนสด 388,522 ตัน) 15,563.24
2559* 160,444 394,795 (คิดเป็นทุเรียนสด 401,359 ตัน) 18,398.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2.60 1.53 28.23
2560* 219,300 425,600 (คิดเป็นทุเรียนสด 432,700 ตัน) 19,353.00
หมายเหตุ: * ประมาณการ
อัตราแปลง: ทุเรียนสด 10 กก. = ทุเรียนอบแห้ง 1 กก.
ทุเรียนสด 6 กก. = ทุเรียนกวน 1 กก.
ที่มา: จากการค�ำนวณ, กรมศุลกากร

119
120
ตารางที่ 3 เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ทุเรียน ปี 2555 - 2560
ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
ทุเรียนสด ทุเรียนกวน ทุเรียนแช่แข็ง ทุเรียนอบแห้ง รวม
ปี
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
2555 351,124 6,195.22 501 44.14 13,895 734.38 392 193.54 365,912 7,167.28
2556 367,057 7,344.69 230 28.55 13,662 876.55 465 279.20 381,414 8,528.99
2557 369,602 12,345.70 455 58.08 17,142 1,313.33 353 217.52 387,552 13,842.63
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560

2558 358,192 13,246.39 690 82.42 22,187 1,944.77 401 289.65 381,470 15,563.24
2559* 374,430 16,100.00 620 78.00 19,360 1,910.00 385 310.00 394,795 18,398.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 1.05 28.40 16.50 24.59 12.17 31.10 - 1.85 10.28 1.53 28.23
2560* 403,000 16,900.00 700 85.00 21,500 2,150.00 400 218.00 425,600 19,353.00
หมายเหตุ: * ประมาณการ
อัตราแปลง: ทุเรียนสด 10 กก. = ทุเรียนอบแห้ง 1 กก.
ทุเรียนสด 6 กก. = ทุเรียนกวน 1 กก.
ที่มา: จากการค�ำนวณ, กรมศุลกากร
ทุเรียน

ตารางที่ 4 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาขายส่งและราคาส่งออกทุเรียน ปี 2555 - 2559


หน่วย: บาท/กิโลกรัม
ราคาที่เกษตรกร ราคาขายส่ง ราคาส่งออก3/
ปี ขายได้1/ ตลาดกรุงเทพฯ2/
หมอนทอง ชะนี หมอนทอง ชะนี ทุเรียนสด ทุเรียนแช่แข็ง ทุเรียนกวน
2555 31.92 19.80 43.98 29.00 17.64 52.85 88.16
2556 40.45 15.14 54.98 30.01 20.01 64.16 124.31
2557 34.29 23.76 47.83 32.50 33.65 65.99 127.53
2558 46.96 31.11 67.89 47.50 36.98 87.65 119.53
2559* 63.00 42.00 90.00 70.00 43.00 98.65 125.80
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 16.28 24.91 17.84 23.10 27.07 16.99 6.95
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
กรมการค้าภายใน
3/
จากการค�ำนวณ

121
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
12
มังคุด
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 เนื้อที่ให้ผลเพิ่มขึ้นจาก 406,954 ไร่ ในปี 2555 เป็น 413,620 ไร่ ในปี 2559 หรือ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.46 ขณะที่ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ ลดลงจาก 210,481 ตัน และ 517 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2555
เป็น 188,356 ตัน และ 455 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 5.41 และร้อยละ 5.86 ต่อปี ตามล�ำดับ
ปี 2559 เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ ลดลงจาก 415,020 ไร่ 199,911 ตัน และ 482 กิโลกรัม
ต่อไร่ ในปี 2558 คิดเป็นร้อยละ 0.34 ร้อยละ 5.78 และร้อยละ 5.54 ตามล�ำดับ เนื้อที่ให้ผลลดลง เนื่องจาก
เกษตรกรโค่นต้นมังคุดทีแ่ ซมในสวนทุเรียนออก เนือ่ งจากผลผลิตทุเรียนมีราคาทีส่ งู กว่า รวมทัง้ มังคุดให้ผลผลิตน้อย
จากสภาพภูมิอากาศแปรปรวน กระทบแล้ง อากาศร้อนส่งผลให้มังคุดติดผลน้อยกว่าปีที่ผ่านมา
1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 ความต้องการบริโภคภายในประเทศลดลงจาก 61,083 ตัน ในปี 2555 เหลือ
59,586 ตัน ในปี 2559 หรือลดลงร้อยละ 10.81 ต่อปี ซึ่งการบริโภคส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปผลสด
ปี 2559 การบริโภคภายในประเทศเพิ่มขึ้นจาก 21,222 ตัน ในปี 2558 ประมาณ 3 เท่า (ร้อยละ
180.78) เนื่องจากมีผลผลิตเกรดส่งออกลดลง ท�ำให้ต้องขายผลผลิตภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น
(2) การส่งออก
ไทยเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกมังคุดรายใหญ่ของโลก ตลาดหลักของไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนจีน
และเวี ย ดนาม โดยในปี 2555-2559 การส่ ง ออกมั ง คุ ด สดและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ล ดลงจาก 149,398 ตั น
ในปี 2555 เป็นปริมาณ 128,770 ตัน ในปี 2559 ลดลงร้อยละ 4.75 ขณะที่มูลค่าเพิ่มขึ้นจาก 2,919.34
ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 3,732.00 ล้านบาท ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.16 ต่อปี ตามล�ำดับ ดังนี้
1) มังคุดสด ปริมาณลดลงจาก 148,844 ตัน ในปี 2555 เป็น 128,400 ตัน ในปี 2559 ลดลง
ร้อยละ 4.72 ขณะที่มูลค่าเพิ่มขึ้นจาก 2,874.33 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 3,700.00 ล้านบาท ในปี 2559
เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.37 โดยตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ เวียดนาม สาธารณรัฐประชาชนจีน และฮ่องกง
2) มังคุดแช่แข็ง ลดลงจาก 554 ตัน มูลค่า 44.98 ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 370 ตัน มูลค่า 32.00
ล้านบาท ในปี 2559 ลดลงร้อยละ 14.89 และร้อยละ 14.27 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยตลาดส่งออกหลัก ได้แก่
สาธารณรัฐเกาหลี ไต้หวัน และญี่ปุ่น
ปี 2559 การส่งออกมังคุดสดและผลิตภัณฑ์ลดลงจาก 178,689 ตัน มูลค่า 4,349.75 ล้านบาท ใน
ปี 2558 ร้อยละ 27.93 และร้อยละ 14.20 ตามล�ำดับ เนื่องจากผลผลิตมีปริมาณลดลง ประกอบกับผลผลิต
บางส่วนไม่ได้คุณภาพตามที่ตลาดต้องการ ท�ำให้ปริมาณและมูลค่าการส่งออกลดลง ปัจจุบันไทยมีการส่งออก
มังคุดไปเวียดนามมากกว่าร้อยละ 50 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด เพื่อส่งต่อไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน
เนื่องจากมีพรมแดนติดกันและได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าชายแดน ที่เหลือส่งออกไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน
โดยตรง และบางส่วนส่งออกไปยังญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลีใต้

123
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(3) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555 - 2559 ราคามังคุดเกรดคละที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 17.04 บาท
ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 36.00 บาท ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.46 ต่อปี
ปี 2559 ราคามังคุดเกรดคละที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 34.84 บาท ในปี 2558
ร้อยละ 3.33
2) ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ
ปี 2555 - 2559 ราคาขายส่งมังคุดผิวมันเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.52 บาท ในปี 2555 เป็น
กิโลกรัมละ 47.90 บาท ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.41 ต่อปี
ปี 2559 ราคาขายส่งมังคุดผิวมันในตลาดกรุงเทพฯ เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 35.73 บาท
ในปี 2558 ร้อยละ 34.06
3) ราคาส่งออก
ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกมังคุดสดและมังคุดแช่แข็งเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 19.31 บาท และ
81.21 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 28.80 บาท และ 86.50 บาท ในปี 2559 เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.59 และ
ร้อยละ 0.72 ต่อปี ตามล�ำดับ
ปี 2559 ราคาส่งออกมังคุดสดและมังคุดแช่แข็งเพิม่ ขึน้ จากกิโลกรัมละ 24.28 บาท และ 62.65 บาท
ในปี 2558 ร้อยละ 18.62 และร้อยละ 38.07 ตามล�ำดับ
2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่ามีเนื้อที่ให้ผล 412,220 ไร่ ลดลงจาก 413,620 ไร่ ในปี 2559 ร้อยละ 0.34 ขณะที่
คาดว่ามีผลผลิต 247,000 ตัน และผลผลิตต่อไร่ 599 กิโลกรัม เพิม่ ขึน้ จาก 188,328 ตัน และ 455 กิโลกรัมต่อไร่
ในปี 2559 ร้อยละ 31.13 และร้อยละ 31.65 ตามล�ำดับ โดยเนื้อที่ให้ผลลดลง เนื่องจากเกษตรกรบางส่วน
โค่นต้นมังคุดที่แซมในสวนทุเรียนออก ส่วนผลผลิตต่อไร่คาดว่าเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีฝนตกลงมาอย่างต่อเนื่องท�ำให้
มังคุดได้รับน�้ำเต็มที่ มีความสมบูรณ์พร้อมออกดอก ประกอบกับผลผลิตมังคุดในปี 2559 ออกผลน้อย ท�ำให้
ต้นมังคุดมีระยะเวลาพักต้นสะสมอาหารมากขึ้น
2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าความต้องการบริโภคมังคุดสดและผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ มีประมาณ 56,600 ตัน
ลดลงจาก 59,586 ตัน ในปี 2559 ร้อยละ 5.01 เนื่องจากตลาดต่างประเทศมีความต้องการเพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกมังคุดสดและผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 47.86 โดยมี
ปริมาณ 190,400 ตัน แยกเป็น มังคุดสด 190,000 ตัน และมังคุดแช่แข็ง 400 ตัน เนื่องจากตลาดต่างประเทศ
มีความต้องการมังคุดสดและผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับนโยบายของภาครัฐในการด�ำเนิน
มาตรการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการบริโภคผลไม้ในตลาดต่างประเทศ
124
มังคุด

(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ และราคาส่งออกจะใกล้เคียง
กับปีที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ตลาดสอดคล้องกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและการส่งออก
(1) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
จากปรากฏการณ์เอลนีโญปี 2559 ท�ำให้มสี ภาพอากาศทีร่ อ้ นจัดและแล้งนาน ท�ำให้มงั คุดออกสูต่ ลาด
หลายรุ่น และผลผลิตออกสู่ตลาดล่าช้ากว่าปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ ยังส่งผลให้มังคุดมีขนาดเล็ก ผลไม่สมบูรณ์
ไม่ได้คุณภาพตามที่ตลาดต้องการ ส�ำหรับในปี 2560 คาดว่า สภาพภูมิอากาศจะเหมาะสมต่อการออกดอกและ
ติดผลท�ำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากปี 2559
(2) ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก
1) ความต้องการในตลาดต่างประเทศยังคงมีอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะตลาดสาธารณรัฐประชาชนจีน
ซึ่งเป็นตลาดหลักส�ำหรับมังคุดสดของไทย โดยปี 2559 มูลค่าการส่งออกยังคงเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา โดยสามารถ
ส่งออกได้ทั้งทางเรือและทางบกตามเส้นทางสาย R9 R3 และ R12 นอกจากนี้ ส่วนแบ่งการตลาดของมังคุดได้
ถูกกระจายไปยัง ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ซึ่งเป็นการส่งออกมังคุดเกรดพรีเมียม และตลาดเวียดนาม
2) กฎระเบียบการน�ำเข้าผลไม้ มณฑลกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ก่อสร้างด่านน�ำเข้า
ผลไม้เพิ่มอีก 3 ด่าน เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการน�ำเข้าผลไม้ของประเทศอาเซียน โดยปัจจุบันมณฑลกวางสี
มีดา่ นน�ำเข้าและส่งออกผลไม้ 3 ด่าน ได้แก่ (1) ด่านผิงเสีย่ ง (2) ด่านท่าเรือฟางแง และ (3) ด่านท่าอากาศยานกุย้ หลิน
โดยผลไม้ที่น�ำเข้าทั้ง 3 ด่าน มีปริมาณ 5.425 แสนตัน คิดเป็นมูลค่า 312 ล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งมณฑลกวางสีเป็น
ช่องทางการน�ำเข้าผลไม้ของอาเซียนที่ใหญ่ท่ีสุด แต่ยังไม่สามารถรองรับปริมาณความต้องการของผลไม้ที่เพิ่มขึ้น
อย่างรวดเร็วได้ ภาครัฐของสาธารณรัฐประชาชนจีนจึงได้ขยายการก่อสร้างด่านน�ำเข้าผลไม้ ณ มณฑลกวางสีเพิม่ อีก
3 ด่าน ได้แก่ (1) ด่านหลงปาง (2) ด่านตงวิ่ง (3) ด่านท่าเรือคลังสินค้าทัณฑ์บนฉินโจว จึงท�ำให้ปัจจุบัน
มณฑลกวางสีมีด่านน�ำเข้าผลไม้รวมทั้งสิ้น 6 ด่าน
3) ปี 2559 ต้นทุนค่าขนส่งทางเรือมีแนวโน้มลดลงจากปี 2558 อย่างมาก แม้ว่าค่าเงินบาทจะ
อ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา จากสภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังชะลอตัว ส่งผลกระทบกับภาคการส่งออก
ของไทยขยายตัวติดลบ ปริมาณความต้องการขนส่งสินค้าลดลง ขณะทีป่ ริมาณของเรือมีมากกว่าความต้องการของ
สินค้าทีข่ นส่ง จึงส่งผลให้อตั ราค่าขนส่ง (freight) ปรับตัวลดลง ซึง่ ส่งผลดีตอ่ ต้นทุนการส่งออกผลไม้ของไทยเข้าสู่
ตลาดจีน โดยค่าระวางเรือในปี 2559 ปรับลดลงจากปีทผี่ า่ นมาค่อนข้างมาก ในช่วงฤดูกาลทีผ่ ลผลิตทุเรียนออกสู่
ตลาดมาก ค่าระวางเรือจากไทยไปฮ่องกง และจากไทยไปเซี่ยงไฮ้มีอัตรา 100 ดอลลาร์สหรัฐฯ และ 300 ดอลลาร์
สหรัฐฯ ต่อตู้คอนเทนเนอร์ (ปรับอุณหภูมิ) ขนาด 40 ฟุต ตามล�ำดับ (มีค่าระวางตู้ละ 3,523 บาท และ 10,569
บาท ณ อัตราแลกเปลีย่ นช่วงเดือนเมษายน – กันยายน 2559 เฉลีย่ 35.23 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ) เมือ่ เทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปี 2558 ที่มีค่าระวางเรือต่อตู้คอนเทนเนอร์ (ปรับอุณหภูมิ) ขนาด 40 ฟุต สูงสุดประมาณ 1,200
ดอลลาร์สหรัฐฯ และ 1,400 ดอลลาร์สหรัฐฯ ตามล�ำดับ (คิดเป็นเงินบาท มีค่าระวางตู้ละ 41,292 บาท และ
48,174 บาท ณ อัตราแลกเปลี่ยนช่วงเดือนเมษายน – กันยายน 2558 เฉลี่ย 34.41 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ)
หรือลดลงตู้ละ 37,769 บาท และ 37,605 บาท ตามล�ำดับ 125
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

4) ภาวะเศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าของไทยมีแนวโน้มเติบโตขึ้น
อย่างมั่นคงและต่อเนื่องในช่วงไตรมาส 1-3 ซึ่งเป็นผลมาจากการค้าต่างประเทศมีแนวโน้มฟื้นตัว การน�ำเข้า
ส่งออกมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง และการบริโภคมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จึงเป็นโอกาสในส่งออกผลไม้
ของไทย

ตารางที่ 1 เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่มังคุด ปี 2555 - 2560


ปี เนื้อที่ให้ผล (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)
2555 406,954 210,481 517
2556 409,462 279,263 682
2557 412,605 289,359 701
2558 415,020 199,911 482
2559* 413,620 188,356 455
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 0.46 -5.41 -5.86
2560* 412,220 247,000 599
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 การบริโภคภายในประเทศและการส่งออกมังคุดสดและผลิตภัณฑ์ ปี 2555 - 2560


การบริโภคภายในประเทศ การส่งออก
ปี
(ตันสด) ปริมาณ (ตัน) มูลค่า (ล้านบาท)
2555 61,083 149,398 2,919.31
2556 63,398 215,865 4,296.50
2557 93,521 195,838 4,835.37
2558 21,222 178,689 4,349.75
2559* 59,586 128,770 3,732.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -10.81 -4.75 5.16
2560* 56,600 190,400 5,437.00
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: จากการค�ำนวณ, กรมศุลกากร

126
มังคุด

ตารางที่ 3 การส่งออกมังคุดแยกเป็นรายผลิตภัณฑ์ ปี 2555 - 2560


ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
มังคุดสด มังคุดแช่แข็ง รวม
ปี
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
2555 148,844 2,874.33 554 44.98 149,398 2,919.31
2556 215,182 4,251.37 683 45.13 215,865 4,296.50
2557 195,108 4,780.71 729 54.66 195,838 4,835.37
2558 178,384 4,330.65 305 19.10 178,689 4,349.75
2559* 128,400 3,700.00 370 32.00 128,770 3,732.00
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -4.72 5.37 -14.89 -14.27 -4.75 5.16
2560* 190,000 5,400.00 400 37.00 190,400 5,437.00
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: จากการค�ำนวณ, กรมศุลกากร

ตารางที่ 4 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาขายส่งและราคาส่งออกมังคุด ปี 2555 - 2559


หน่วย: บาท/กิโลกรัม
ราคาที่เกษตรกร ราคาขายส่ง ราคาส่งออก3/
ปี ขายได้1/ ตลาดกรุงเทพฯ2/
เกรดคละ มังคุดผิวมัน มังคุดสด มังคุดแช่แข็ง
2555 17.04 30.52 19.31 81.21
2556 18.90 25.00 19.76 66.10
2557 20.18 24.58 24.50 74.93
2558 34.84 35.73 24.28 62.65
2559* 36.00 47.90 28.80 86.50
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 23.46 13.41 10.59 0.72
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
กรมการค้าภายใน
3/
จากการค�ำนวณ

127
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
13
มันฝรั่ง
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 พื้นที่เพาะปลูกมันฝรั่งของโลกมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยลดลงจาก
120.40 ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 120.05 ล้านไร่ ในปี 2559 หรือลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.05 ต่อปี แต่ผลผลิต
มันฝรั่งของโลกเพิ่มขึ้นจาก 369.09 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 379.88 ล้านตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นในอัตรา
เฉลี่ยร้อยละ 0.68 ต่อปี เนื่องจากประชากรโลกนิยมบริโภคมันฝรั่งเป็นอาหารในชีวิตประจ�ำวันและบริโภคเป็น
ขนมขบเคี้ยวมากขึ้น
จีนเป็นประเทศที่มีการผลิตมันฝรั่งมากที่สุดในโลก โดยปี 2559 ผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 25.19 ของ
ผลผลิตมันฝรั่งโลก พื้นที่เพาะปลูกที่ส�ำคัญอยู่ในมณฑลกานซู่ มณฑลกุ้ยโจว มณฑลซานตง มณฑลอันฮุย มณฑล
เจ้อเจียง และมณฑลฟูเจี้ยน แต่ที่มีการเพาะปลูกในเชิงพาณิชย์อยู่ที่มณฑลฟูเจี้ยน ในช่วงที่ผ่านมา จีนมีการขยาย
พื้นที่เพาะปลูกมันฝรั่งเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากรัฐบาลให้เงินสนับสนุนเกษตรกรและบริษัทเอกชนที่ลงทุน
ด้านการเพาะปลูกมันฝรั่ง โดยเฉพาะมันฝรั่งสายพันธุ์ที่มีคุณภาพตามที่กระทรวงเกษตรก�ำหนด โดยช่วงปี
2555-2559 พืน้ ทีป่ ลูกเพาะมันฝรัง่ ของจีนมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราเฉลีย่ ร้อยละ 0.33 ต่อปี โดยเพิม่ ขึน้ จาก 34.57
ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 35.14 ล้านไร่ ในปี 2559 และผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.57 ต่อปี
โดยเพิ่มขึ้นจาก 92.76 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 95.70 ล้านตัน ในปี 2559
อินเดียมีการผลิตมันฝรั่งมากเป็นอันดับสองของโลกรองจากจีน โดยช่วงปี 2555 - 2559 พื้นที่
เพาะปลูกมันฝรั่งของอินเดียมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.96 ต่อปี โดยเพิ่มขึ้นจาก 11.92 ล้านไร่
ในปี 2555 เป็น 12.51 ล้านไร่ ในปี 2559 และผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.83 ต่อปี โดย
เพิ่มขึ้นจาก 41.48 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 45.54 ล้านตัน ในปี 2559
รัสเซียมีการผลิตมันฝรั่งมากเป็นอันดับสามของโลก แต่พื้นที่เพาะปลูกมีแนวโน้มลดลงในอัตรา
เฉลี่ยร้อยละ 0.71 ต่อปี โดยลดลงจาก 13.73 ล้านไร่ ในปี 2555 เป็น 13.16 ล้านไร่ ในปี 2559 แต่ผลผลิต
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.05 ต่อปี โดยเพิ่มขึ้นจาก 29.53 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 30.85 ล้านตัน
ในปี 2559 ส�ำหรับยูเครนและสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ผลิตมันฝรั่งอันดับสี่และห้าของโลก โดยพื้นที่เพาะปลูก
มันฝรั่งของยูเครนมีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.16 ต่อปี โดยลดลงจาก 9.03 ล้านไร่ ในปี 2555
เป็น 8.57 ล้านไร่ ในปี 2559 แต่ผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.31 ต่อปี ในขณะที่พื้นที่
เพาะปลูกมันฝรั่งของสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มลดลงอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.14 ต่อปี โดยลดลงจาก 2.86 ล้านไร่
ในปี 2555 เป็น 2.68 ล้านไร่ ในปี 2559 และผลผลิตมีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.72 ต่อปี โดยลดลง
จาก 20.99 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 20.03 ล้านตัน ในปี 2559
1.1.2 การตลาด
(1) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 ปริมาณการส่งออกมันฝรัง่ ของโลกมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอัตราเฉลีย่ ร้อยละ 0.25
ต่อปี โดยเพิ่มขึ้นจาก 11.32 ล้านตัน ในปี 2555 เป็น 11.97 ล้านตัน ในปี 2559 โดยมีฝรั่งเศสเป็นผู้ส่งออก
129
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

รายใหญ่อันดับหนึ่งของโลก ซึ่งมีแนวโน้มการส่งออกลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.26 ต่อปี รองลงมาได้แก่


เนเธอร์แลนด์ มีแนวโน้มการส่งออกลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.20 ต่อปี ส�ำหรับเยอรมนีและเบลเยียม ซึ่งเป็น
ผู้ส่งออกรายใหญ่อันดับสามและอันดับสี่ของโลก มีแนวโน้มการส่งออกลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 4.95 และ
ร้อยละ 0.10 ต่อปี ตามล�ำดับ
(2) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 ปริมาณการน�ำเข้ามันฝรั่งของโลกมีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 3.09
ต่อปี โดยมีเนเธอร์แลนด์เป็นผูน้ ำ� เข้ารายใหญ่อนั ดับหนึง่ ของโลก ซึง่ มีแนวโน้มการน�ำเข้าลดลงในอัตราเฉลีย่ ร้อยละ
3.83 ต่อปี รองลงมาได้แก่ เบลเยียม มีแนวโน้มน�ำเข้าลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.64 ต่อปี ส�ำหรับสเปนและ
อิตาลี ซึง่ เป็นผูน้ ำ� เข้ารายใหญ่อนั ดับสามและอันดับสีข่ องโลก มีแนวโน้มการน�ำเข้าลดลงในอัตราเฉลีย่ ร้อยละ 1.02
และร้อยละ 0.92 ต่อปี ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 พื้นที่เพาะปลูกมันฝรั่งรวมลดลงจาก 58,134 ไร่ ในปี 2555 เป็น 39,887 ไร่
ในปี 2559 หรือลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 6.52 ต่อปี และผลผลิตลดลงจาก 139,160 ตัน ในปี 2555 เป็น
119,778 ตัน ในปี 2559 หรือลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.21 ต่อปี โดยแยกเป็นพื้นที่เพาะปลูกมันฝรั่งพันธุ์
บริโภคลดลงจาก 5,338 ไร่ ในปี 2555 เป็น 5,110 ไร่ ในปี 2559 หรือลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.48 ต่อปี
แต่ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 13,116 ตัน ในปี 2555 เป็น 13,790 ตัน ในปี 2559 หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ
2.53 ต่อปี ส�ำหรับพื้นที่เพาะปลูกมันฝรั่งพันธุ์โรงงานลดลงจาก 52,796 ไร่ ในปี 2555 เป็น 34,777 ไร่ ในปี 2559
หรือลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 7.25 ต่อปี และผลผลิตลดลงจาก 126,044 ตัน ในปี 2555 เป็น 105,988 ตัน
ในปี 2559 หรือลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.64 ต่อปี
แหล่งเพาะปลูกมันฝรั่งที่ส�ำคัญ 5 อันดับแรกอยู่ในเขตภาคเหนือตอนบน ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่
ตาก เชียงราย ล�ำพูน และพะเยา เนื่องจากมีพื้นที่เพาะปลูกมากและมีสภาพภูมิอากาศหนาวเย็น ซึ่งเหมาะส�ำหรับ
การเพาะปลูกมันฝรั่ง นอกจากนี้ยังมีการเพาะปลูกมันฝรั่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดสกลนคร
นครพนม และเลย ซึ่งมีการน�ำมันฝรั่งพันธุ์โรงงานและพันธุ์บริโภคไปส่งเสริมให้เกษตรกรท�ำการเพาะปลูก
ปี 2555 - 2559 ต้นทุนการผลิตต่อไร่ของมันฝรั่งพันธุ์โรงงาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย
ร้อยละ 0.16 ต่อปี ขณะที่ต้นทุนต่อกิโลกรัมลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 5.53 ต่อปี หรือจากกิโลกรัมละ 8.13 บาท
ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 6.34 บาท ในปี 2559 ส�ำหรับต้นทุนการผลิตต่อไร่ของมันฝรั่งพันธุ์บริโภค มีแนวโน้ม
ลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.06 ต่อปี หรือจากไร่ละ 22,718.11 บาท ในปี 2555 เป็นไร่ละ 22,378.10 บาท
ในปี 2559 และต้นทุนต่อกิโลกรัมลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 3.76 ต่อปี หรือจากกิโลกรัมละ 9.24 บาท ในปี 2555
เป็นกิโลกรัมละ 8.29 บาท ในปี 2559
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2555 - 2559 ความต้องการใช้มันฝรั่งรวมในประเทศมีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ
0.47 ต่อปี เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวเมื่อเทียบกับช่วงที่ผ่านมา
130
มันฝรั่ง

(2) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 มันฝรั่งสดหรือแช่เย็นและผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง มีปริมาณและมูลค่าการส่งออก
เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 36.68 และร้อยละ 27.23 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยเพิ่มขึ้นจาก 1,190 ตัน และ 163.46
ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 3,993 ตัน และ 417.74 ล้านบาท ในปี 2559 ประเทศส่งออกหลักของไทย ได้แก่
ลาว ฟิลิปปินส์ และกัมพูชา
ส�ำหรับประเทศในกลุม่ อาเซียน ได้แก่ เมียนมาร์ ลาว และกัมพูชา มีอตั ราการขยายการส่งออก
มันฝรั่งทอดกรอบเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่า เนื่องจากมีการเปิดการค้าเสรี
(3) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 มันฝรั่งสดหรือแช่เย็นและผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง มีปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้า
เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.24 และร้อยละ 0.89 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยเพิ่มขึ้นจาก 107,451 ตัน และ 3,741.05
ล้านบาท ในปี 2555 เป็น 115,654 ตัน และ 4,066.92 ล้านบาท ในปี 2559 เนื่องจากผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง
บางชนิดยังไม่สามารถผลิตได้ในประเทศ เช่น เฟรนด์ฟรายและแป้งมันฝรั่ง จึงจ�ำเป็นต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ
ประเทศน�ำเข้าหลักของไทย ได้แก่ สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ แคนาดา และสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน
(4) ราคา
ปี 2555 - 2559 ราคามันฝรั่งพันธุ์โรงงานที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.25
ต่อปี โดยเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 11.48 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 12.43 บาท ในปี 2559 ส่วนราคา
มันฝรั่งพันธุ์บริโภคที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 23.28 ต่อปี โดยเพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ
8.03 บาท ในปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 15.20 บาท ในปี 2559
2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของไทย
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าจะมีพื้นที่เพาะปลูก 39,042 ไร่ ลดลงจากปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 2.12 เนื่องจาก
ความต้องการใช้มันฝรั่งลดลงตามภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ท�ำให้เกษตรกรลดพื้นที่เพาะปลูกลง และมีผลผลิต
122,257 ตัน เพิม่ ขึน้ จาก ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 2.07 เนือ่ งจากภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกันถ่ายทอดเทคโนโลยี
การผลิตมันฝรั่งคุณภาพ เพื่อท�ำให้เปอร์เซ็นต์แป้งมันฝรั่งเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งจัดเจ้าหน้าที่ให้ค�ำแนะน�ำด้านการผลิต
และการดูแลรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้แก่เกษตรกร
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าความต้องการใช้มันฝรั่งพันธุ์โรงงานยังค่อนข้างทรงตัวเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
เนื่องจากสถานการณ์เศรษฐกิจยังไม่ฟื้นตัวมากนัก
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่ า ปริ ม าณการส่ ง ออกยั ง ไม่ ข ยายตั ว มากนั ก เนื่ อ งจากการผลิ ต มั น ฝรั่ ง
มุ่งตอบสนองตลาดภายในประเทศเป็นหลัก ส่วนผลผลิตที่เหลือมีส่งออกไปจ�ำหน่ายต่างประเทศไม่มากนัก ส่วน
มันฝรั่งพันธุ์บริโภคจะจ�ำหน่ายในประเทศเป็นหลัก ส�ำหรับการส่งออกไปขายต่างประเทศมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
131
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคามันฝรั่งพันธุ์โรงงานฤดูแล้งที่เกษตรกรขายได้กิโลกรัมละ 12 - 13 บาท
ส่วนมันฝรั่งพันธุ์โรงงานฤดูฝนราคากิโลกรัมละ 14 - 15 บาท ซึ่งคาดว่าราคาจะใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา ส�ำหรับ
ราคามันฝรั่งพันธุ์บริโภคคาดว่าจะใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมาเช่นกัน เนื่องจากสหกรณ์ผู้ปลูกมันฝรั่งได้มีการควบคุม
การน�ำเข้าหัวพันธุ์มันฝรั่งในปริมาณที่ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
2.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและนโยบายภาครัฐที่มีต่อการพัฒนามันฝรั่ง
2.2.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
(1) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้สนับสนุนงบประมาณให้กรมวิชาการเกษตร ด�ำเนินการผลิต
หัวพันธุ์มันฝรั่งหลัก (G0) ปีละ 500,000 หัว เพื่อน�ำไปขยายการผลิตเป็นหัวพันธุ์ขยาย (G1) ปีละ 50 - 60 ตัน
และให้ภาคเอกชนรับไปด�ำเนินการขยายการผลิตหัวพันธุ์รับรอง (G2) ต่อไป ซึ่งขณะนี้ก�ำลังอยู่ระหว่างการขยาย
การผลิตหัวพันธุ์เพื่อทดแทนการน�ำเข้า ส่งผลให้เกษตรกรสามารถซื้อหัวพันธุ์ในราคาที่ถูกกว่าการน�ำเข้าจาก
ต่างประเทศ สามารถลดต้นทุนการผลิตให้แก่เกษตรกรได้
(2) การขยายการผลิตหัวมันฝรั่งสดเพื่อแปรรูป อยู่ระหว่างด�ำเนินการทดลองผลิตหัวมันฝรั่งสด
เพื่อใช้ในประเทศให้เพียงพอในฤดูฝน ซึ่งมีข้อจ�ำกัดในการผลิตหัวมันฝรั่งสดส่งเข้าโรงงานแปรรูป เนื่องจาก
การปลูกมันฝรั่งในฤดูฝนมีความเสี่ยง มักพบปัญหาโรคใบไหม้และไส้เดือนฝอยในบางพื้นที่ ท�ำให้ผลผลิต
มีไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ จึงมีความจ�ำเป็นต้องเปิดตลาดให้น�ำเข้าหัวมันฝรั่งสดเพื่อแปรรูป ระหว่างปี
2558 - 2560 อัตราภาษีในโควตาร้อยละ 27 และอัตราภาษีนอกโควตาร้อยละ 125 ส�ำหรับปี 2558 เห็นชอบ
ให้มีการเปิดตลาดน�ำเข้าหัวมันฝรั่งสดเพื่อแปรรูปในโควตา ปริมาณ 45,000 ตัน ปี 2559 ปริมาณ 48,000 ตัน
และปี 2560 ปริมาณ 52,000 ตัน
(3) การทดสอบมันฝรั่งสายพันธุ์ใหม่ ๆ เพื่อให้ได้พันธุ์ที่มีคุณภาพทดแทนการน�ำเข้ายังท�ำได้จ�ำกัด
โดยกรมวิชาการเกษตรมีการน�ำเข้าพันธุ์ใหม่จากศูนย์วิจัยมันฝรั่งนานาชาติ (International- Potato Center:
CIP) ถ้าได้ผลการทดลองที่ดีจะสามารถขยายผลผลิตและพันธุ์ใหม่ทดแทนการน�ำเข้าได้
2.2.2 นโยบายภาครัฐที่มีต่อการพัฒนามันฝรั่ง
(1) ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร
กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมพัฒนาที่ดิน ส�ำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และบริษัท
เอกชน เพื่อจัดท�ำโครงการส่งเสริมการปลูกมันฝรั่งพันธุ์โรงงานในปี 2557 - 2560 โดยใช้งบประมาณปกติของ
แต่ละหน่วยงานส่งเสริมการปลูกมันฝรั่งพันธุ์โรงงานในพื้นที่ภาคเหนือ 7 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ล�ำพูน
พะเยา ตาก แม่ฮ่องสอน และล�ำปาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 จังหวัด ได้แก่ สกลนคร และนครพนม
(2) ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการจัดท�ำยุทธศาสตร์สินค้า
มันฝรั่งและเขตพื้นที่เพาะปลูกมันฝรั่งที่มีศักยภาพ ซึ่งอยู่ระหว่างการด�ำเนินการของคณะอนุกรรมการบริหาร
การผลิตกลุ่มสินค้าพืชหัว และคณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ เพื่อน�ำมาใช้เป็น
แนวทางปฏิบัติต่อไป
(3) หน่ ว ยงานภาครั ฐ และภาคเอกชนบู ร ณาการร่ ว มกั น เพื่ อ ขยายการผลิ ต หั ว พั น ธุ ์ มั น ฝรั่ ง
ทดแทนการน�ำเข้า โดยมอบหมายให้กรมส่งเสริมการเกษตรน�ำหัวพันธุ์มันฝรั่งหลักไปผลิตหัวพันธุ์ขยายให้แก่
เกษตรกร เพื่อให้ได้รับพันธุ์ที่มีคุณภาพและผลผลิตต่อไร่สูง รวมทั้งให้บริษัทเอกชนรับเทคโนโลยีการผลิตจาก
กรมวิชาการเกษตรไปท�ำการผลิตหัวพันธุ์มันฝรั่งต่อไป
132
มันฝรั่ง

(4) หน่วยงานภาครัฐร่วมกับบริษัทมันฝรั่งทอดกรอบ จัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยี (field day)


ครั้งที่ 1 ช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2560 เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีด้านมันฝรั่งและการปรับใช้
เทคโนโลยีการเพาะปลูกและดูแลรักษามันฝรั่งที่ได้จากงานวิจัยร่วมกันระหว่างกรมวิชาการเกษตรและบริษัทฯ
สู่เกษตรกรและผู้ที่สนใจทั่วไป
ตารางที่ 1 การผลิตมันฝรั่งโลก ปี 2555 - 2559
พื้นที่ปลูก (ล้านไร่) ผลผลิต (ล้านตัน)
ปี
จีน อินเดีย รัสเซีย ยูเครน อเมริกา โลก จีน อินเดีย รัสเซีย ยูเครน อเมริกา โลก
2555 34.57 11.92 13.73 9.03 2.86 120.40 92.76 41.48 29.53 23.25 20.99 369.09
2556 35.09 12.45 13.05 8.71 2.66 119.99 95.94 45.34 30.20 22.26 19.72 374.81
2557 35.28 12.65 13.13 8.39 2.66 120.03 96.09 46.40 31.50 23.69 20.06 385.07
2558* 35.08 12.44 13.23 8.61 2.70 120.09 95.38 45.10 30.72 23.17 20.14 378.80
2559* 35.14 12.51 13.16 8.57 2.68 120.05 95.70 45.54 30.85 23.15 20.03 379.88
อัตราเพิ่ม 0.33 0.96 -0.71 -1.16 -1.14 -0.05 0.57 1.83 1.05 0.31 -0.72 0.68
(ร้อยละ)
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: Food and Agricultural Organization of The United Nations (FAO), November 2016

ตารางที่ 2 ปริมาณการส่งออกมันฝรั่งของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
ฝรั่งเศส 1.98 1.92 1.90 1.96 1.93 -0.26
เนเธอร์แลนด์ 1.85 2.06 2.09 1.82 1.95 -0.20
เยอรมนี 1.97 2.23 1.65 1.66 1.77 -4.95
เบลเยียม 0.92 0.99 1.04 0.90 0.96 -0.10
อียิปต์ 0.26 0.43 0.68 0.60 0.59 21.80
อื่น ๆ 4.34 5.00 4.79 4.65 4.76 1.14
รวม 11.32 12.63 12.15 11.59 11.97 0.25
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: International Trade Centre, November 2016

ตารางที่ 3 ปริมาณการน�ำเข้ามันฝรั่งของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
เนเธอร์แลนด์ 2.09 1.74 1.67 1.74 1.72 -3.83
เบลเยียม 1.67 1.67 1.59 1.56 1.59 -1.64
สเปน 0.70 0.67 0.62 0.68 0.66 -1.02
อิตาลี 0.67 0.70 0.63 0.66 0.66 -0.92
รัสเซีย 0.46 0.45 0.69 0.55 0.57 6.57
อื่น ๆ 6.83 15.84 7.11 6.96 8.78 -3.15
รวม 12.42 21.07 12.31 12.15 13.98 -3.09
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: International Trade Centre, November 2016
133
134
ตารางที่ 4 พื้นที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่มันฝรั่งของไทย ปี 2555 – 2559
หน่วย: ล้านตัน
มันฝรั่งรวม มันฝรั่งพันธุ์บริโภค มันฝรั่งพันธุ์โรงงาน
ปี พื้นที่ ผลผลิต/ไร่ พื้นที่ ผลผลิต/ไร่ พื้นที่ ผลผลิต/ไร่
ผลผลิต ผลผลิต ผลผลิต
เพาะปลูก (กก.) เพาะปลูก (กก.) เพาะปลูก (กก.)
(ตัน) (ตัน) (ตัน)
(ไร่) ปลูก (ไร่) ปลูก (ไร่) ปลูก
2555 58,134 139,160 2,394 5,338 13,116 2,457 52,796 126,044 2,387
2556 45,227 105,160 2,325 4,040 9,064 2,244 41,187 96,096 2,333
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560

2557 39,284 99,715 2,538 4,025 9,790 2,432 35,259 89,295 2,550
2558 48,944 125,663 2,567 4,202 10,522 2,504 44,742 115,141 2,573
2559 39,887 119,778 3,003 5,110 13,790 2,699 34,777 105,988 3,048
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -6.52 -1.21 5.68 -0.48 2.53 3.02 -7.25 -1.64 6.04
2560* 39,042 122,257 3,131 5,151 15,479 3,005 33,891 106,778 3,151
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
มันฝรั่ง

ตารางที่ 5 บัญชีสมดุลสินค้ามันฝรั่ง ปี 2555 - 2559


ปริมาณ: ตัน
อุปทาน อุปสงค์
ปี
ผลผลิต น�ำเข้า รวม ส่งออก บริโภคในประเทศ1/ รวม
2555 139,160 107,451 246,611 1,190 245,421 246,611
2556 105,160 119,965 225,125 1,403 223,722 225,125
2557 99,715 116,471 216,186 2,099 214,087 216,186
2558 125,663 117,079 242,792 2,835 239,907 242,742
2559* 119,778 115,654 235,432 3,993 231,439 235,432
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -1.21 1.24 -0.17 36.68 -0.47 -0.17
หมายเหตุ: * ประมาณการ 1/ จากการค�ำนวณ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 6 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกมันฝรั่งสดหรือแช่เย็นและผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง ปี 2555 – 2559


มันฝรั่งสด หรือแช่เย็น ผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง รวม
ปี ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
(ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท)
2555 85 2.97 1,105 160.49 1,190 163.46
2556 65 2.10 1,338 202.17 1,403 204.26
2557 165 3.36 1,934 282.83 2,099 286.19
2558 101 2.80 2,733 344.73 2,835 347.53
2559* 290 6.23 3,703 411.51 3,993 417.74
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 33.58 19.35 36.79 27.34 36.68 27.23
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

135
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 7 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ามันฝรั่งสดหรือแช่เย็นและผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง ปี 2555 - 2559


มันฝรั่งสด หรือแช่เย็น ผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง รวม
ปี ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
(ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท) (ตัน) (ล้านบาท)
2555 42,748 717.29 64,703 3,023.76 107,451 3,741.05
2556 58,834 884.36 61,131 3,075.13 119,965 3,959.48
2557 53,137 783.55 63,334 3,080.87 116,471 3,864.42
2558 37,206 283.15 79,873 3,378.77 117,079 3,661.92
2559* 40,914 551.45 74,740 3,515.47 115,654 4,066.92
อัตราเพิ่ม
-5.31 -15.34 5.72 4.03 1.24 0.89
(ร้อยละ)
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

ตารางที่ 8 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2555 - 2559


ราคาที่เกษตรกรขายได้
 
ปี มันฝรั่งพันธุ์โรงงาน มันฝรั่งพันธุ์บริโภค
  (บาท/กิโลกรัม) (บาท/กิโลกรัม)
2555 11.48 8.03
2556 11.31 6.83
2557 12.25 12.85
2558 12.05 15.45
2559* 12.43 15.20
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2.25 23.28
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

136
14
กล้วยไม้
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การตลาด
(1) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 การส่งออกกล้วยไม้ตัดดอกของโลก ปริมาณมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย
ร้อยละ 0.71 แต่มูลค่ามีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 3.38 ต่อปี ตามล�ำดับ ประเทศที่มีมูลค่าการส่งออก
กล้วยไม้ตัดดอกมากที่สุดในปี 2559 ได้แก่ เนเธอร์แลนด์ รองลงมาได้แก่ ไทย ไต้หวัน และนิวซีแลนด์ ตามล�ำดับ
(2) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 การน�ำเข้ากล้วยไม้ตัดดอกของโลก ปริมาณมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย
ร้อยละ 12.87 ต่อปี แต่มูลค่ามีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 2.31 ต่อปี ประเทศที่มีมูลค่าการน�ำเข้ากล้วยไม้
ตัดดอกมากที่สุดในปี 2559 ได้แก่ ญี่ปุ่น รองลงมาได้แก่ อิตาลี สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 พื้นที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่กล้วยไม้ตัดดอกเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย
ร้อยละ 3.22 ร้อยละ 4.79 และร้อยละ 1.52 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยเพิ่มขึ้นจาก 17,906 ไร่ ปริมาณ 37,542 ตัน
และปริมาณ 2,097 กิโลกรัมต่อไร่ ในปี 2555 เป็น 20,703 ไร่ ปริมาณ 46,375 ตัน และปริมาณ 2,240 กิโลกรัม
ต่อไร่ ในปี 2559 ตามล�ำดับ
แหล่งปลูกที่ส�ำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ นครปฐม สมุทรสาคร กาญจนบุรี นนทบุรี และราชบุรี
เนื่องจากมีสภาพภูมิอากาศและแหล่งน�้ำที่เหมาะสมต่อการปลูกกล้วยไม้ มีระยะทางใกล้กับตลาดขายส่งที่
กรุงเทพฯ รวมทั้งมีความสะดวกในการขนส่งไปจ�ำหน่ายยังตลาดต่างประเทศ
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2555 - 2559 ความต้องการใช้กล้วยไม้ตัดดอกภายในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา
เฉลี่ยร้อยละ 5.02 ต่อปี โดยเพิม่ ขึน้ จาก 16,601 ตัน ในปี 2555 เป็น 21,134 ตัน ในปี 2559 ซึง่ ความต้องการใช้
ภายในประเทศมีสัดส่วนประมาณร้อยละ 49 ของผลผลิตทั้งหมด ส่วนที่เหลืออีกประมาณร้อยละ 51 ส่งออกไป
จ�ำหน่ายยังตลาดต่างประเทศ
(2) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ตัดดอก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ย
ร้อยละ 4.71 และร้อยละ 1.67 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 2,094.69 ล้านบาท ในปี 2555
เป็น 2,234.89 ล้านบาท ในปี 2559 ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และจีน
ประเทศกลุ่มอาเซียนมีอัตราขยายการส่งออกเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่า เนื่องจากมีการเปิด
การค้าเสรีมากขึ้น จึงท�ำให้มีการส่งออกกล้วยไม้ก�ำและกล้วยไม้ตัดดอกไปขายยังประเทศเพื่อนบ้านทั้งเมียนมาร์

137
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย ส่วนประเทศญี่ปุ่นมีอัตราขยายการส่งออกลดลงทั้งปริมาณและมูลค่า เนื่องจากภาวะ


เศรษฐกิจโลกอยู่ในช่วงชะลอตัว ท�ำให้ความต้องการกล้วยไม้ของประเทศญี่ปุ่นมีแนวโน้มลดลง
ประเทศไทยเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกดอกกล้วยไม้เขตร้อนอันดับ 1 ของโลก หากพิจารณา
สัดส่วนการส่งออกกล้วยไม้ พบว่า ประมาณร้อยละ 80 เป็นกล้วยไม้ตดั ดอก โดยมีกล้วยไม้สกุลหวาย (Dendrobium)
มากที่สุด รองลงมาเป็นกล้วยไม้สกุลอะแรนด้า อะแรคนิส ออนซิเดียม และแวนด้า ส�ำหรับการส่งออกกล้วยไม้
กระถางส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ฟาแลนนอปซิส (Phalaenopsis) ซิมบิเดียม (Cymbidium) แวนด้า และอะแรนด้า
ตลาดกล้วยไม้ตัดดอกของไทยที่ส่งออกไปยังตลาดต่าง ๆ แบ่งตามความนิยมของแต่ละตลาด
ได้แก่ ตลาดเอเชีย เช่น ญี่ปุ่น ต้องการกล้วยไม้ตัดดอกสีอ่อน สีชมพู ช่อยาว ตลาดจีนและอินเดียต้องการกล้วยไม้
สีม่วงแดงเข้ม ขาว ชมพู และสีอื่น ๆ ตลาดยุโรป เช่น อิตาลี เนเธอร์แลนด์ ต้องการกล้วยไม้สีม่วงแดงเข้ม สีชมพู
และสีขาว ช่อยาว สหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียต้องการกล้วยไม้สีม่วงแดงเข้ม สีชมพู และสีขาว ส�ำหรับประเทศ
คู่แข่งกล้วยไม้ของไทย ได้แก่ มาเลเซีย และสิงคโปร์
(3) การน�ำเข้า
ปี 2555 – 2559 ปริมาณการน�ำเข้ากล้วยไม้ตัดดอกของประเทศไทย มีแนวโน้มลดลงในอัตรา
เฉลี่ยร้อยละ 2.33 แต่มูลค่าเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 3.34 ต่อปี ตามล�ำดับ ส�ำหรับแหล่งที่ประเทศไทยมี
การน�ำเข้ากล้วยไม้ตัดดอกมาก ได้แก่ ไต้หวัน เวียดนาม เนเธอร์แลนด์ และนิวซีแลนด์
(4) ราคา
ปี 2555 - 2559 ราคากล้วยไม้ตัดดอก (ขนาดก้านช่อยาว 55 - 60 เซนติเมตร) ที่เกษตรกร
ขายได้มีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 4.25 ต่อปี โดยลดลงจากช่อละ 5.10 บาท หรือกิโลกรัมละ 168.30
บาท ในปี 2555 เป็นช่อละ 2.76 บาท หรือกิโลกรัมละ 91.08 บาท ในปี 2559

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของไทย
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าพื้นที่ปลูกจะมีแนวโน้มลดลงในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.36 โดยลดลงจาก 20,703 ไร่
ในปี 2559 เป็น 20,629 ไร่ ในปี 2560 เนื่องจากที่ดินมีราคาสูงขึ้น ท�ำให้การขยายพื้นที่เพาะปลูกท�ำได้ค่อนข้าง
จ�ำกัด แต่คาดว่าผลผลิตจะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 1.64 โดยเพิ่มขึ้นจาก 46,375 ตัน ในปี 2559
เป็น 47,137 ตัน ในปี 2560 เนื่องจากยังไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะภัยแล้งเหมือนปีที่ผ่านมา รวมทั้งเกษตรกร
มีการจัดการสวนกล้วยไม้ที่เหมาะสม ท�ำให้ไม่มีโรคและแมลงศัตรูพืชรบกวนมากนัก
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการใช้
ปี 2560 คาดว่าความต้องการใช้กล้วยไม้ตัดดอกภายในประเทศจะทรงตัวอยู่ในระดับเดิม
ประมาณ 24,000 - 25,000 ตัน หรือประมาณร้อยละ 50 ของผลผลิตทั้งหมด

138
กล้วยไม้

(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าปริมาณและมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ตดั ดอกยังค่อนข้างทรงตัวจากปีทผี่ า่ นมา
เนื่องจากเศรษฐกิจโลกยังไม่ฟื้นตัวมากนัก
ความต้องการของตลาดต่างประเทศยังอยู่ที่ตลาดเดิม ประกอบกับตลาดในภูมิภาคอาเซียน
ยังขยายตัวไม่มากนัก โดยคาดว่าจะสามารถส่งออกได้ประมาณ 23,000 - 24,000 ตัน ซึ่งใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
(3) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาที่เกษตรกรขายได้ยังค่อนข้างทรงตัว เนื่องจากปริมาณการผลิตใกล้เคียง
จากปีที่ผ่านมา ประกอบกับตลาดส่งออกกล้วยไม้ที่ส�ำคัญของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และยุโรป ยังไม่
ขยายตัวมากนัก
2.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตและการส่งออก
2.2.1 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิต
(1) แหล่งเพาะปลูกกล้วยไม้ส่วนใหญ่จะอยู่ในเขตปริมณฑล ซึ่งที่ดินบริเวณดังกล่าวมีราคาแพง
ท�ำให้การขยายพื้นที่เพาะปลูกท�ำได้ค่อนข้างจ�ำกัด
(2) การเพาะปลูกกล้วยไม้ต้องใช้เงินลงทุนสูง อีกทั้งเกษตรกรจะต้องมีความรู้และความช�ำนาญ
ในการเพาะปลูกเป็นอย่างมาก
(3) ปัจจัยการผลิตต่าง ๆ เช่น ปุ๋ยเคมี สารก�ำจัดศัตรูพืช ฯลฯ มีราคาแพง ท�ำให้ต้นทุนการผลิต
ของเกษตรกรเพิ่มสูงขึ้น
(4) เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้ยังเข้าร่วมการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) ค่อนข้าง
น้อย ท�ำให้การผลิตกล้วยไม้มีข้อจ�ำกัดในด้านคุณภาพการส่งออก
(5) ขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากแรงงานต่างด้าวจะเข้ามาท�ำงานในสวนกล้วยไม้เป็นครั้งคราว
จากนั้นจะมีการเคลื่อนย้ายไปท�ำงานในแหล่งอื่น ๆ
2.2.2 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการส่งออก
(1) ประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป เช่น อิตาลี อังกฤษ ฯลฯ มีมาตรการกีดกันการน�ำเข้ากล้วยไม้
โดยวางมาตรการเข้มงวดในการตรวจเพลี้ยไฟ ท�ำให้ผู้ส่งออกจะต้องรมดอกกล้วยไม้เพื่อฆ่าเพลี้ยไฟด้วยสารเมทิล
โบรไมด์ (Methyl Bromide) หากเจ้าหน้าที่ด่านตรวจพืชตรวจพบเพลี้ยไฟจะเผาท�ำลายดอกกล้วยไม้ที่จะน�ำเข้า
ชุดนั้นทิ้ง ซึ่งผู้ส่งออกไทยมีต้นทุนค่าใช้จ่ายมากขึ้น ท�ำให้การขยายตลาดส่งออกในช่วงที่ผ่านมาท�ำได้ไม่มากนัก
(2) ภาวะเศรษฐกิจโลกอยู่ในช่วงชะลอตัว ส่งผลให้การส่งออกกล้วยไม้ยังไม่ขยายตัวมากนัก
(3) ผู้น�ำเข้าในตลาดกล้วยไม้ใหม่ ๆ เช่น อินเดีย ตะวันออกกลาง และรัสเซีย ฯลฯ ยังไม่สามารถ
เชื่อมโยงกับผู้ส่งออกของประเทศไทยได้ ส่งผลให้การส่งออกกล้วยไม้ไปตลาดดังกล่าวท�ำได้ค่อนข้างจ�ำกัด

139
140
ตารางที่ 1 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ตัดดอกของโลก ปี 2555 - 2559
ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
อัตราเพิ่ม
2555 2556 2557 2558 2559*
ประเทศ (ร้อยละ)
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
เนเธอร์แลนด์ 5,954 3,420 10,303 2,871 5,368 2,729 4,642 2,459 5,992 2,622 -7.55 -6.63
ไทย 20,945 2,109 22,605 2,041 23,471 1,975 24,649 2,081 25,244 2,235 4.71 1.36
ไต้หวัน 1,953 770 1,852 606 1,968 697 1,932 711 1,927 686 0.15 -0.72
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560

นิวซีแลนด์ 984 460 1,092 434 817 349 753 356 840 370 -6.65 -6.16
มาเลเซีย 2,536 153 1,681 115 1,489 114 1,187 105 1,376 110 -14.53 -7.28
อื่น ๆ 416 1,092 741 979 1,088 1,144 688 848 819 963 13.65 -3.87
รวมของโลก 32,788 8,004 38,274 7,046 34,201 7,008 33,851 6,560 36,128 6,986 0.71 -3.38
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: International Trade Centre, November 2016
ตารางที่ 2 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ากล้วยไม้ตัดดอกของโลก ปี 2555 - 2559
ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
อัตราเพิ่ม
2555 2556 2557 2558 2559*
ประเทศ (ร้อยละ)
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
ญี่ปุ่น 6,220 2,518 6,106 1,979 5,883 1,996 5,989 1,995 5,981 1,992 -0.97 -4.50
อิตาลี 2,159 809 2,287 716 2,418 819 2,348 731 2,357 754 2.04 -1.91
สหรัฐอเมริกา 1,056 705 920 638 1,128 642 1,416 710 1,230 485 7.64 -6.21
สหราชอาณาจักร 1,946 958 5,445 299 2,037 392 15,271 615 9,336 675 51.70 0.21
จีน 5,325 327 5,972 381 6,279 426 6,597 477 6,377 443 4.71 8.68
อื่น ๆ 7,644 3,516 10,838 3,563 15,455 4,088 11,845 3,094 12,727 4,349 11.72 2.88
รวมของโลก 24,350 8,833 31,568 7,576 33,200 8,363 43,466 7,622 38,007 7,835 12.87 -2.31
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: International Trade Centre, November 2016
กล้วยไม้

141
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 3 พื้นที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่กล้วยไม้ตัดดอกของไทย ปี 2555 - 2560


ปี  พื้นที่ปลูก (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กิโลกรัม)
2555 17,906 37,542 2,097
2556 21,703 47,812 2,203
2557 21,846 49,805 2,280
2558 22,285 50,030 2,245
2559 20,703 46,375 2,240
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 3.22 4.79 1.52
2560* 20,629 47,137 2,285
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 4 บัญชีสมดุลของสินค้ากล้วยไม้ ปี 2555 - 2559


หน่วย: ตัน
อุปทาน อุปสงค์
ปี
ผลผลิต น�ำเข้า รวม ส่งออก บริโภคในประเทศ1/ รวม
2555 37,542 2.81 37,545 20,944 16,601 37,545
2556 47,812 4.48 47,816 22,604 25,212 47,816
2557 49,805 1.99 49,807 23,471 26,336 49,807
2558 50,030 2.37 50,032 24,649 25,383 50,032
2559* 46,375 3.17 46,378 25,244 21,134 46,378
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 4.79 -3.88 4.79 4.71 5.02 4.79
หมายเหตุ: * ประมาณการ 1/ จากการค�ำนวณ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 5 การส่งออกและการน�ำเข้ากล้วยไม้ตัดดอก ปี 2555 - 2559


การส่งออกกล้วยไม้ตัดดอก การน�ำเข้ากล้วยไม้ตัดดอก
ปี มูลค่า มูลค่า
ปริมาณ (ตัน) ปริมาณ (ตัน)
(ล้านบาท) (ล้านบาท)
2555 20,944 2,094.69 2.81 0.79
2556 22,604 2,008.15 4.48 2.85
2557 23,471 1,954.34 1.99 1.03
2558 24,649 2,081.86 2.78 0.93
2559* 25,244 2,234.89 3.17 1.63
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 4.71 1.67 -2.33 3.34
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

142
ตารางที่ 6 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกกล้วยไม้ตัดดอกของไทยไปยังประเทศต่าง ๆ ปี 2555 - 2559
ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
ประเทศ/ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
กลุ่มประเทศ ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
ญี่ปุ่น 4,230 779.78 4,233 677.14 4,006 594.34 4,142 636.81 4,119 632.14 -0.74 -4.70
สหรัฐอเมริกา 2,391 408.31 2,440 383.66 2,431 383.48 2,421 428.33 2,428 405.94 0.23 0.99
สหภาพยุโรป (EU) 1,956 214.71 2,122 251.76 2,038 259.68 2,058 250.96 2,065 253.74 0.78 3.36
จีน 5,848 126.51 6,402 128.33 6,958 135.51 7,083 159.15 6,909 145.89 4.44 5.13
กลุ่มอาเซียน 1,699 96.18 2,118 88.13 2,690 87.81 3,597 117.58 3,029 102.76 18.37 4.30
อื่น ๆ 4,820 469.20 5,289 479.13 5,348 493.52 5,348 489.03 6,694 694.42 6.91 8.38
รวม 20,944 2,094.69 22,604 2,008.15 23,471 1,954.34 24,649 2,081.86 25,244 2,234.89 4.71 1.67
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง

ตารางที่ 7 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ากล้วยไม้ตัดดอกของไทยจากประเทศต่าง ๆ ปี 2555 - 2559


ปริมาณ: ตัน มูลค่า: ล้านบาท
2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
ประเทศ
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
ไต้หวัน 0.29 0.05 0.91 0.14 0.11 0.04 0.04 0.01 0.48 0.24 -29.85 -24.80
เวียดนาม 0.00 0.00 0.43 0.19 0.42 0.50 0.58 0.59 0.09 0.50 - -
เนเธอร์แลนด์ 1.25 0.17 0.89 0.18 1.02 0.08 1.18 0.05 1.07 0.09 -0.21 -23.41
นิวซีแลนด์ 1.25 0.56 2.16 2.28 0.44 0.41 0.51 0.22 0.82 0.69 -20.46 -17.50
อื่น ๆ 0.02 0.01 0.09 0.06 0.00 0.00 0.47 0.06 0.71 0.11 - -
กล้วยไม้

รวม 2.81 0.79 4.48 2.85 1.99 1.03 2.78 0.93 3.17 1.63 -2.33 3.34
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง กรมศุลกากร

143
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 8 ราคาที่เกษตรกรขายได้ และราคาส่งออกกล้วยไม้ตัดดอก ปี 2555 - 2559


ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี (ขนาดก้านช่อยาว 55 - 60 ซม.)
บาท/ช่อ บาท/กิโลกรัม
2555 5.10 168.30
2556 3.40 112.20
2557 2.91 96.03
2558 2.94 97.02
2559* 2.76 91.08
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) -4.25 -4.25
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ดอกกล้วยไม้ 33 ช่อ เท่ากับ 1 กิโลกรัม
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

144
กลุ่มปศุสัตว์และประมง
15 ไก่เนื้อ
ไข่ไก่ 16
17 สุกร
โคเนื้อ 18
19 โคนม
กุ้ง 20
21 ปลาป่น

145
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
15
ไก่เนื้อ
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 การผลิตเนื้อไก่ของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.97 ต่อปี โดยรัสเซีย
มีอัตราการขยายตัวสูงที่สุด คือ ร้อยละ 7.70 ซึ่งเป็นผลจากมาตรการสนับสนุนการเลี้ยงไก่ของภาครัฐ ปี 2559
การผลิตเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 89.55 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 88.69 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 0.96
โดยสหรัฐอเมริกายังคงเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด มีปริมาณการผลิต 18.28 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ บราซิล 13.61
ล้านตัน จีน 12.70 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 11.07 ล้านตัน
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 การบริโภคเนื้อไก่ของโลก มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.86 ต่อปี โดย
ในปี 2559 การบริโภคเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 87.38 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 86.96 ล้านตันของปี 2558 ร้อยละ
0.48 ซึ่งสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศที่มีการบริโภคเนื้อไก่มากที่สุด คือ 15.23 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน 12.99
ล้านตัน และสหภาพยุโรป 10.38 ล้านตัน
(2) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 การส่งออกเนื้อไก่ของโลกขยายตัวเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.34 ต่อปี โดย
ในปี 2559 การส่งออกเนือ้ ไก่ของโลกมีปริมาณ 10.79 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จาก 10.25 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 5.26
ผลจากการระบาดของโรคไข้หวัดนกตั้งแต่ปี 2547 ท�ำให้บราซิลซึ่งเป็นประเทศปลอดไข้หวัดนกก้าวขึ้นมาเป็น
ผูส้ ง่ ออกอันดับ 1 ของโลกแทนสหรัฐอเมริกา โดยในปี 2559 บราซิลสามารถส่งออกเนือ้ ไก่ได้ปริมาณ 4.11 ล้านตัน
รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 2.98 ล้านตัน สหภาพยุโรป 1.25 ล้านตัน และไทย 0.67 ล้านตัน โดยไทย
ได้ก้าวมาเป็นประเทศผู้ส่งออกเนื้อไก่อันดับที่ 4 ของโลกตั้งแต่ปี 2551 เป็นต้นมา
(3) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 การน�ำเข้าเนื้อไก่ของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.75 ต่อปี โดย
ในปี 2559 การน�ำเข้าเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 8.91 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 8.63 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 3.25
โดยญี่ปุ่นเป็นประเทศที่น�ำเข้าเนื้อไก่มากเป็นอันดับ 1 ของโลก คือ 0.96 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย
0.85 ล้านตัน เม็กซิโก 0.82 ล้านตัน สหภาพยุโรป 0.75 ล้านตัน อิรัก 0.67 ล้านตัน และแอฟริกาใต้ 0.52 ล้านตัน
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 การผลิตไก่เนือ้ ของไทยเพิม่ ขึน้ ในอัตราร้อยละ 7.85 ต่อปี โดยในปี 2559 มีการผลิต
ไก่เนื้อ 1,397.47 ล้านตัว หรือ 1.92 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,338.94 ล้านตัว หรือ 1.85 ล้านตันในปี 2558
ร้อยละ 4.37 เนื่องจากการผลิตไก่เนื้อของไทยมีการจัดการฟาร์มที่ได้มาตรฐาน และมีระบบการผลิตที่ปลอดภัย
จึงท�ำให้ปริมาณการผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองต่อความต้องการบริโภคและการส่งออกที่เพิ่มขึ้น
147
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 การบริโภคเนื้อไก่ของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.80 ต่อปี โดยในปี 2559
มีปริมาณการบริโภคเนื้อไก่ 1.26 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.23 ล้านตัน ในปี 2558 ร้อยละ 2.42 โดยปริมาณ
การบริโภคมีสัดส่วนร้อยละ 65.66 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด
(2) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 ปริมาณการส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา
ร้อยละ 6.37 ต่อปี โดยในปี 2559 ไทยส่งออกเนือ้ ไก่รวมปริมาณ 660,000 ตัน มูลค่า 86,500 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก
ปริมาณ 621,774 ตัน มูลค่า 81,175 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 6.15 และร้อยละ 6.56 ตามล�ำดับ ตลาด
ส่งออกที่ส�ำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 53.91) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 31.61) กลุ่มประเทศในอาเซียน (ร้อยละ
8.11) และประเทศอื่น ๆ (ร้อยละ 6.37)
ด้านการส่งออกไก่สดแช่แข็ง ในปี 2559 ส่งออกปริมาณ 200,000 ตัน มูลค่า 16,500 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 175,758 ตัน มูลค่า 14,320 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 13.79 และร้อยละ 15.22
ตามล�ำดับ เนือ่ งจากความต้องการบริโภคของประเทศคูค่ า้ ทีข่ ยายตัวเพิม่ ขึน้ โดยตลาดส่งออกไก่สดแช่แข็งทีส่ ำ� คัญ
ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 58.24) กลุ่มประเทศในอาเซียน (ร้อยละ 30.75 ซึ่งส่วนใหญ่ส่งไปยังประเทศ สปป.ลาว
และสิงคโปร์) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 6.57) และประเทศอื่น ๆ (ร้อยละ 4.44)
ด้านการส่งออกเนื้อไก่แปรรูป ส่งออกปริมาณ 460,000 ตัน มูลค่า 70,000 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
จากปริมาณ 446,016 ตัน มูลค่า 66,855 ล้านบาท ในปี 2558 ร้อยละ 3.14 และร้อยละ 4.70 ตามล�ำดับ ตลาด
ส่งออกไก่แปรรูปที่ส�ำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น (ร้อยละ 48.68) สหภาพยุโรป (ร้อยละ 40.33) กลุ่มประเทศในอาเซียน
(ร้อยละ 3.55) และประเทศอื่น ๆ (ร้อยละ 7.44)
(3) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555 - 2559 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 2.85 ต่อปี
โดยในปี 2559 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 38.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.61 บาท
ในปี 2558 ร้อยละ 4.06 เนื่องจากมีปริมาณไก่เนื้อออกสู่ตลาดมากขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
2) ราคาส่งออก
ปี 2559 ราคาส่งออกไก่สดแช่แข็งเฉลีย่ กิโลกรัมละ 82.50 บาท ปรับตัวสูงขึน้ จากกิโลกรัมละ
81.48 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 1.26 ส่วนราคาส่งออกเนื้อไก่แปรรูปในปี 2559 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 152.17 บาท
ปรับตัวสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 149.89 บาท ในปี 2558 ร้อยละ 1.52

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าการผลิตเนื้อไก่ของโลกจะมีปริมาณ 90.45 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 89.55 ล้านตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 1.01 การผลิตเนื้อไก่ของโลกขยายตัวตามความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
148
ไก่เนื้อ

ส่งผลให้ประเทศผูผ้ ลิตทีส่ ำ� คัญทัง้ สหรัฐอเมริกา บราซิล สหภาพยุโรป และอินเดียขยายการผลิตเพิม่ ขึน้ ในขณะที่


การผลิตไก่เนื้อของจีนคาดว่าจะลดลง เนื่องจากจีนยังประสบปัญหาการระบาดของโรคไข้หวัดนก
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าการบริโภคเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 88.41 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 87.38 ล้านตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 1.18 ผู้บริโภครายใหญ่ที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา คาดว่าจะมีการบริโภคปริมาณ 15.66 ล้านตัน
รองลงมาได้แก่ จีน 11.71 ล้านตัน และสหภาพยุโรป 10.79 ล้านตัน
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 11.37 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 10.79 ล้านตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 5.36 ผู้ผลิตรายเดิม (บราซิล สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป) ยังคงเป็นผู้ครองตลาด ในขณะที่
ผู้ผลิตรายเล็กมีส่วนแบ่งตลาดเพิ่มขึ้น และบราซิลยังคงเป็นประเทศที่ส่งออกเนื้อไก่มากที่สุด คือ 4.39 ล้านตัน
เพิ่มขึ้นจาก 4.11 ล้านตัน ในปี 2559 ร้อยละ 6.69 รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และไทย
ตามล�ำดับ โดยไทยยังคงเป็นผู้ส่งออกอันดับ 4 ของโลก
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่าการน�ำเข้าเนื้อไก่ของโลกมีปริมาณ 9.30 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 8.91 ล้านตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 4.20 ประเทศผู้น�ำเข้าเนื้อไก่ 5 อันดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น เม็กซิโก ซาอุดิอาระเบีย สหภาพยุโรป
และอิรัก โดยในปี 2560 คาดว่าประเทศดังกล่าวจะมีปริมาณการน�ำเข้าเนื้อไก่ 0.92 0.85 0.84 0.76 และ 0.70
ล้านตัน ตามล�ำดับ
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าการผลิตไก่เนือ้ ของไทยยังคงขยายตัวเพิม่ ขึน้ ตามจ�ำนวนประชากร และความต้องการ
บริโภคที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยคาดว่าไทยจะผลิตไก่เนื้อปริมาณ
1,414.53 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 1,397.47 ล้านตัว ในปี 2559 ร้อยละ 1.22
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าการบริโภคเนื้อไก่ของไทยมีปริมาณ 1.29 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 1.26 ล้านตัน
ในปี 2559 ร้อยละ 2.84 เนื่องจากเนื้อไก่ยังเป็นอาหารที่จ�ำเป็นเพื่อการบริโภค และมีราคาถูกกว่าเนื้อสัตว์
ชนิดอื่น ๆ โดยการบริโภคในประเทศคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 64.52 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด
(2) การส่งออก
การส่งออกเนือ้ ไก่ของไทยในปี 2560 คาดว่าจะขยายตัวเพิม่ ขึน้ สอดรับกับปริมาณความต้องการ
บริโภคของตลาด ทั้งตลาดญี่ปุ่นและสหภาพยุโรป ซึ่งถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย นอกจากนี้ เกาหลีใต้
อนุญาตให้ไทยส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็งไปได้ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 หลังจากที่ระงับการส่งออกตั้งแต่
ไทยมีการระบาดของโรคไข้หวัดนกในปี 2547 จึงคาดว่าไทยจะสามารถส่งออกไก่สดไปยังเกาหลีใต้ได้ตั้งแต่
ไตรมาสที่ 1 ของปี 2560 ซึ่งเป็นผลจากมาตรการควบคุมป้องกัน เฝ้าระวังโรคระบาดสัตว์ที่เข้มงวด และ
การรักษามาตรฐานการผลิตและคุณภาพสินค้า จนเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคและประเทศคู่ค้า ท�ำให้ไทยสามารถ
ขยายการส่งออกเนื้อไก่ได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง 149
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ในปี 2560 คาดว่าการส่งออกเนื้อไก่รวมมีปริมาณ 710,000 ตัน มูลค่า 93,000 ล้านบาท


เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 660,000 ตัน มูลค่า 86,500 ล้านบาท ในปี 2559 ร้อยละ 7.58 และร้อยละ 7.51 ตามล�ำดับ
โดยแยกเป็นการส่งออกไก่สดแช่แข็งปริมาณ 230,000 ตัน มูลค่า 19,250 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ
200,000 ตัน มูลค่า 16,500 ล้านบาท ในปี 2559 ร้อยละ 15.00 และร้อยละ 16.67 ตามล�ำดับ และเป็น
การส่งออกเนื้อไก่แปรรูปปริมาณ 480,000 ตัน มูลค่า 73,750 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 460,000 ตัน มูลค่า
70,000 ล้านบาท ในปี 2559 ร้อยละ 4.35 และร้อยละ 5.36 ตามล�ำดับ
(3) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2560 คาดว่าราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้จะสูงขึ้นเล็กน้อยจากปี 2559 เนื่องจาก
มีการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
2) ราคาส่งออก
ปี 2560 คาดว่าราคาส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูปจะสูงขึ้นเล็กน้อย
จากปี 2559
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อปริมาณการผลิตหรือการส่งออกของไทย
2.3.1 ปัจจัยด้านบวก
(1) การเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนประชากรโลกท�ำให้ความต้องการบริโภคอาหารจากเนื้อสัตว์โดยเฉพาะ
เนื้อไก่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเนื้อไก่เป็นอาหารโปรตีนที่มีไขมันต�่ำ นอกจากนี้ เศรษฐกิจของโลกที่ชะลอตัวลง
ส่งผลให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคเนื้อไก่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีราคาถูกเมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ประเภทอื่น ๆ
(2) จากการที่ เ กาหลี ใ ต้ ไ ด้ อ นุ ญ าตให้ ไ ทยส่ ง ออกไก่ ส ดแช่ เ ย็ น แช่ แข็ ง ได้ อี ก ครั้ ง ตั้ ง แต่ วั น ที่
9 พฤศจิกายน 2559 เนื่องจากสินค้าอาหารจากไทยมีภาพลักษณ์ที่ดีทั้งในด้านคุณภาพและราคา รวมทั้งไทยมี
ระยะทางทีใ่ กล้กว่าประเทศคูแ่ ข่งอย่างสหรัฐอเมริกา และบราซิล ประกอบกับแรงงานไทยมีฝมี อื และประณีต ท�ำให้
ผลิตภัณฑ์ไก่สดของไทยสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดีกว่าคู่แข่ง นอกจากนี้ การที่เกาหลีใต้
ประสบปัญหาการระบาดของโรคไข้หวัดนกในขณะนี้ ถือเป็นโอกาสให้ไทยสามารถขยายการส่งออกเนื้อไก่ไปยัง
เกาหลีใต้ได้เพิ่มขึ้น
(3) การด�ำเนินการเรื่อง Compartment และ Traceability สามารถสร้างความเชื่อมั่นในคุณภาพ
การผลิตเนื้อไก่ของไทยให้ประเทศคู่ค้ายอมรับ ซึ่งเป็นผลจากมาตรการควบคุมป้องกัน และเฝ้าระวังโรคระบาด
สัตว์ที่เข้มงวด ท�ำให้ไทยไม่มีรายงานการพบโรคไข้หวัดนกในประเทศไทยเป็นเวลากว่า 8 ปี นับจากวันที่ท�ำลาย
สัตว์ปีกตัวสุดท้าย เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2551 ในขณะที่ประเทศคู่แข่งต่าง ๆ มีการระบาดของโรคไข้หวัดนก
อาทิ ประเทศสหรัฐอเมริกา และจีน จึงเป็นโอกาสทีท่ ำ� ให้ไทยมีสว่ นแบ่งการตลาดส่งออกเนือ้ ไก่ไปยังตลาดโลกเพิม่ ขึน้
2.3.2 ปัจจัยด้านลบ
(1) ประเทศไทยต้องพึ่งพาปัจจัยการผลิต และเทคโนโลยีจากต่างประเทศ โดยเฉพาะพันธุ์ไก่เนื้อ
เมื่อเกิดสถานการณ์โรคระบาดในประเทศที่เป็นแหล่งผลิตพันธุ์ที่ส�ำคัญ จึงท�ำให้เกิดความเสี่ยงในอุตสาหกรรม
การผลิตไก่เนื้อของไทย โดยหากเกิดโรคระบาดเป็นระยะเวลานาน อาจท�ำให้ไทยขาดแคลนพ่อแม่พันธุ์ในการผลิต
ไก่ได้ในอนาคต

150
ไก่เนื้อ

(2) ต้นทุนการผลิตไก่เนือ้ ของไทยโดยเปรียบเทียบสูงกว่าประเทศคูแ่ ข่ง อาทิ บราซิล สหรัฐอเมริกา


และจีน
(3) ประเทศต่าง ๆ มีการน�ำมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Measures: NTMs)
มาใช้มากขึ้น โดยน�ำประเด็นทางสังคมต่าง ๆ มาก�ำหนดเป็นมาตรฐานทางการค้าระหว่างประเทศ เช่น มาตรฐาน
แรงงาน มาตรฐานสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ซึ่งประเทศคู่ค้าอาจน�ำประเด็นดังกล่าวมาใช้กีดกันการค้าระหว่างกัน
หากไทยไม่ได้มีการเตรียมการป้องกันและแก้ไขอย่างจริงจัง ก็อาจส่งผลกระทบต่อการส่งออกเนื้อไก่ของไทยได้

ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่ส�ำคัญ
หน่วย: พันตัน
อัตราเพิ่ม
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 25591/ 25602/
(ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 16,621 16,976 17,306 17,971 18,283 2.51 18,690
บราซิล 12,645 12,308 12,692 13,146 13,605 2.15 14,080
จีน 13,700 13,350 13,000 13,400 12,700 -1.47 11,500
สหภาพยุโรป 9,660 10,050 10,450 10,810 11,070 3.51 11,300
อินเดีย 3,160 3,450 3,725 3,900 4,200 7.16 4,500
รัสเซีย 2,830 3,010 3,260 3,600 3,750 7.70 3,770
ไทย 1,550 1,500 1,570 1,700 1,780 4.10 1,890
ประเทศอื่น ๆ 23,101 23,755 24,552 24,167 24,160 1.07 24,718
รวมทั้งหมด 83,267 84,399 86,555 88,694 89,548 1.97 90,448
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

ตารางที่ 2 ปริมาณการบริโภคเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่ส�ำคัญ
หน่วย: พันตัน
อัตราเพิ่ม
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 25591/ 25602/
(ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 13,346 13,691 14,043 15,094 15,233 3.69 15,661
จีน 13,543 13,174 12,830 13,267 12,985 -0.77 11,705
สหภาพยุโรป 9,293 9,638 10,029 10,361 10,375 2.97 10,785
ประเทศอื่น ๆ 45,442 46,380 48,043 48,234 48,783 1.83 50,259
รวมทั้งหมด 81,624 82,883 84,945 86,956 87,376 1.86 88,410
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

151
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 3 ปริมาณการส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่ส�ำคัญ
หน่วย: พันตัน
อัตราเพิ่ม
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 25591/ 25602/
(ร้อยละ)
บราซิล 3,508 3,482 3,558 3,841 4,110 4.24 4,385
สหรัฐอเมริกา 3,299 3,332 3,310 2,867 2,978 -3.49 3,128
สหภาพยุโรป 1,094 1,083 1,133 1,177 1,250 3.56 1,275
ไทย 538 504 546 622 670 6.71 710
จีน 411 420 430 401 395 -1.25 345
ตุรกี 284 337 378 321 280 -0.77 320
ประเทศอื่น ๆ 954 1,116 1,122 1,025 1,110 2.20 1,209
รวมทั้งหมด 10,088 10,274 10,477 10,254 10,793 1.34 11,372
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

ตารางที่ 4 ปริมาณการน�ำเข้าเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของประเทศที่ส�ำคัญ
หน่วย: พันตัน
25591/ อั(ร้ตอราเพิ ่ม 25602/
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 ยละ)
ญี่ปุ่น 877 854 888 936 955 2.66 920
เม็กซิโก 616 682 722 790 820 7.46 850
ซาอุดิอาระเบีย 750 838 762 863 850 2.84 840
สหภาพยุโรป 727 671 712 728 750 1.45 760
อิรัก 610 673 698 625 670 1.14 695
แอฟริกาใต้ 371 355 369 436 520 9.21 560
จีน 254 244 260 268 410 11.09 550
ฮ่องกง 300 272 299 312 325 3.02 335
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 223 217 225 277 305 9.09 330
ฟิลิปปินส์ 150 148 199 205 260 15.33 280
ประเทศอื่น ๆ 3,668 3,738 3,768 3,186 3,041 -5.21 3,176
รวมทั้งหมด 8,546 8,692 8,902 8,626 8,906 0.75 9,296
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

152
ไก่เนื้อ

ตารางที่ 5 การผลิต การบริโภค และส่งออกเนื้อไก่และผลิตภัณฑ์ของไทย


ผลผลิต3/ ผลผลิต บริโภค ส่งออก (ตัน)
ปี (ล้านตัว) (ตัน) (ตัน) ไก่สด ไก่แปรรูป รวม
2555 1,055.13 1,446,352 908,251 92,858 445,243 538,101
2556 1,103.32 1,512,418 1,008,012 91,242 413,164 504,406
2557 1,209.52 1,657,994 1,112,435 146,543 399,016 545,559
2558 1,338.94 1,847,742 1,225,968 175,758 446,016 621,774
25591/ 1,397.47 1,915,623 1,255,623 200,000 460,000 660,000
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 7.85 7.92 8.80 24.48 1.43 6.37
2560 2/
1,414.53 2,001,282 1,291,282 230,000 480,000 710,000
หมายเหตุ: ข้อมูลเบื้องต้น คาดคะเน
1/ 2/

3/
ตั้งแต่ 2560 ปรับน�้ำหนักไก่เฉลี่ยที่ใช้ในการค�ำนวณเพิ่มขึ้นจาก 2.18 เป็น 2.25 กก./ตัว
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กรมศุลกากร

ตารางที่ 6 ปริมาณส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูป
25591/ อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 25602/
ยละ)
ไก่สดแช่แข็ง ปริมาณ (ตัน) 92,858 91,242 146,543 175,758 200,000 24.48 230,000
มูลค่า (ล้านบาท) 5,880 6,330 12,648 14,320 16,500 33.38 19,250
เนื้อไก่แปรรูป ปริมาณ (ตัน) 445,243 413,164 399,016 446,016 460,000 1.43 480,000
มูลค่า (ล้านบาท) 61,968 60,476 61,315 66,855 70,000 3.50 73,750
รวมทั้งหมด ปริมาณ (ตัน) 538,101 504,406 545,559 621,774 660,000 6.37 710,000
มูลค่า (ล้านบาท) 67,848 66,805 73,963 81,175 86,500 7.04 93,000
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 7 ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออกไก่สดแช่แข็งและเนื้อไก่แปรรูป


25591/ อั(ร้ตอราเพิ ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 25602/
ยละ)
ราคาไก่เนือ้ ทีเ่ กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 42.03 43.25 42.34 39.61 38.00 -2.85 38.50
ราคาส่งออก              
ไก่สดแช่แข็ง (บาท/กก.) 63.32 69.37 86.31 81.48 82.50  7.14 83.70
เนื้อไก่แปรรูป (บาท/กก.) 139.18 146.37 153.67 149.89 152.17 2.04  153.65
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

153
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
16
ไข่ ไก่
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 การผลิตไข่ไก่ของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.98 ต่อปี ตามความต้องการ
บริโภคที่เพิ่มขึ้น โดยในปี 2559 มีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 14,915.82 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 13,724.42 ล้านฟอง
ของปี 2558 ร้อยละ 8.68 เนื่องจากเกษตรกรมีการจัดการเลี้ยงไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 การบริโภคไข่ไก่เฉลี่ยทั้งประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.13 ต่อปี โดย
ในปี 2559 มีปริมาณการบริโภคไข่ไก่ 14,823.24 ล้านฟอง เพิม่ ขึน้ จาก 13,534.98 ล้านฟอง ของปี 2558 ร้อยละ
9.52 เนื่องจากไข่ไก่มีราคาถูกเมื่อเทียบกับอาหารโปรตีนชนิดอื่น และสามารถปรุงอาหารได้ง่าย ประกอบกับ
ภาครัฐและภาคเอกชนมีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่เพื่อกระตุ้นการบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น
(2) การส่งออก
การส่งออกไข่ไก่แบ่งออกเป็น การส่งออกไข่ไก่สด และผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่
1) การส่งออกไข่ไก่สด
ปี 2555 - 2559 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกไข่ไก่สดมีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 8.59
ต่อปี และร้อยละ 1.84 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยในปี 2559 การส่งออกไข่ไก่สดมีปริมาณ 92.58 ล้านฟอง มูลค่า
319.42 ล้านบาท ลดลงจากปริมาณ 189.45 ล้านฟอง มูลค่า 587.70 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 51.13
และร้อยละ 45.65 ตามล�ำดับ เนื่องจากระดับราคาไข่ไก่ในประเทศอยู่ในระดับสูง และไม่มีกิจกรรมการส่งออก
เพื่อระบายผลผลิต ตลาดส่งออกที่ส�ำคัญ คือ ฮ่องกง ซึ่งมีสัดส่วนการส่งออกประมาณร้อยละ 98 ของปริมาณ
การส่งออกไข่ไก่สดทั้งหมด
2) การส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่
ปี 2555 - 2559 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในอัตรา
ร้อยละ 6.82 ต่อปี และร้อยละ 11.94 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยในปี 2559 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ
4,356.92 ตัน มูลค่า 425.41 ล้านบาท ปริมาณลดลงจาก 4,564.13 ตัน ของปี 2558 ร้อยละ 4.54 แต่มลู ค่าเพิม่ ขึ้น
จาก 411.28 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 3.44 ผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกมากที่สุด คือ ไข่เหลวรวม ตลาดส่งออก
ที่ส�ำคัญ คือ ญี่ปุ่น ซึ่งมีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 56.76 ของปริมาณการส่งออกไข่เหลวรวมทั้งหมด
(3) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ
8.71 ต่อปี และร้อยละ 10.35 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยในปี 2559 มีการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ปริมาณ 2,614.19 ตัน
มูลค่า 717.71 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นจาก 2,453.31 ตัน ของปี 2558 ร้อยละ 6.56 แต่มูลค่าลดลงจาก 739.98
ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 3.01 โดยผลิตภัณฑ์ทนี่ ำ� เข้าจะใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพื่อใช้
ในประเทศและส่งออก ผลิตภัณฑ์ที่น�ำเข้ามากที่สุด คือไข่ขาวผง โดยน�ำเข้าจากประเทศอิตาลีมากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ 30.03 ของปริมาณน�ำเข้าไข่ขาวผงทั้งหมด รองลงมาได้แก่ ฝรั่งเศส และอินเดีย
155
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(4) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555 - 2559 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.90 ต่อปี
โดยในปี 2559 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยฟองละ 3.00 บาท เพิ่มขึ้นจากฟองละ 2.69 บาท ของปี 2558
ร้อยละ 11.52 เนื่องจากราคาไข่ไก่ปรับตัวตามต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการชะลอการน�ำเข้า
พ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่จากประเทศที่มีการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนกในปี 2558 ส่งผลให้ราคาลูกไก่ไข่และไก่ไข่สาว
ปรับตัวสูงขึ้น
2) ราคาส่งออก
ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตรา
ร้อยละ 7.39 ต่อปี และร้อยละ 4.79 ต่อปีตามล�ำดับ โดยในปี 2559 ราคาส่งออกไข่ไก่สดเฉลี่ยฟองละ 3.45 บาท
เพิม่ ขึน้ จากฟองละ 3.10 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 11.21 และราคาส่งออกผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่เฉลีย่ ตันละ 97,641
บาท เพิ่มขึ้นจากตันละ 90,112 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 8.36
3) ราคาน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 ราคาน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 1.51
ต่อปี โดยในปี 2559 ราคาน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ เฉลี่ยตันละ 274,543 บาท ลดลงจากตันละ 301,624 บาท
ของปี 2558 ร้อยละ 8.98
2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าจะมีปริมาณการผลิตไข่ไก่ 15,189.49 ล้านฟอง เพิ่มขึ้นจาก 14,915.82 ล้านฟอง
ในปี 2559 ร้อยละ 1.83 เนื่องจากมีการขยายการผลิตตามความต้องการบริโภคที่เพิ่มขึ้นตามจ�ำนวนประชากร
ประกอบกับเกษตรกรมีการจัดการฟาร์มไก่ไข่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ท�ำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าปริมาณการบริโภคไข่ไก่จะเพิ่มขึ้นจากปี 2559 เนื่องจากภาครัฐและภาคเอกชนมี
การรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ โดยการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของไข่ไก่และปริมาณการบริโภค
ไข่ไก่ที่เหมาะกับทุกเพศทุกวัยอย่างต่อเนื่อง
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกไข่ไก่สดและผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะทรงตัวหรือเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย เมือ่ เทียบกับ
ปี 2559 เนื่องจากต้องรักษาระดับราคาไข่ไก่ในประเทศ และรักษาตลาดส่งออก
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่าการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จะทรงตัวหรือเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากโรงงานแปรรูป
ไข่ไก่ภายในประเทศยังไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ประเภทต่าง ๆ ได้อย่างเพียงพอและอุตสาหกรรมแปรรูป
อาหารเพื่อการส่งออกบางประเภทยังต้องใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่จากกลุ่มประเทศ ที่สหภาพยุโรปให้การรับรอง
ให้ใช้เป็นส่วนประกอบได้
156
ไข่ไก่

(4) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศจะใกล้เคียงกับปี 2559 เนื่องจากมีการ
จัดท�ำแผนการน�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ที่เหมาะสม เพื่อรักษาเสถียรภาพราคาไข่ไก่ในประเทศ รวมทั้งมีการรณรงค์
ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่ ท�ำให้ความต้องการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้น
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการตลาด
(1) สภาพอากาศทีแ่ ปรปรวน มีผลต่อสุขภาพของไก่ไข่ อาจท�ำให้มภี มู คิ มุ้ กันลดลง และเป็นโรคได้งา่ ยขึน้
ส่งผลให้อัตราการให้ไข่ลดลงได้
(2) หน่วยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนได้มีการรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคไข่ไก่อย่างต่อเนื่อง โดยมี
การจัดกิจกรรมที่ส�ำคัญ ได้แก่ การจัดงานวันไข่โลก เพื่อประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ของไข่ไก่และรณรงค์ส่งเสริม
การบริโภคไข่ไก่ให้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้บริโภคหันมาบริโภคไข่ไก่มากขึ้น อย่างไรก็ตาม เกษตรกรควรมี
การจัดการฟาร์มทีด่ ี รวมทัง้ มีการวางแผนการผลิต เพือ่ ลดต้นทุนการผลิต และแก้ไขปัญหาผลผลิตเกินความต้องการ
บริโภค

ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคไข่ไก่ของไทย ปี 2555 - 2560


อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* 2560**
(ร้อยละ)
ปริมาณการผลิต1/ 11,914.66 12,033.33 12,520.42 13,724.42 14,915.82 5.98 15,189.49
(ล้านฟอง)
ปริมาณการส่งออก2/ 149.72 177.91 143.59 189.45 92.57 -8.59 n.a.
(ล้านฟอง)
ปริมาณการบริโภค3/ 11,764.94 11,855.42 11,376.83 13,534.98 14,823.24 6.13 n.a.
(ล้านฟอง)
อัตราการบริโภค 183 183 190 206 n.a. - n.a.
(ฟอง/คน/ปี)
หมายเหตุ: * ข้อมูลเบื้องต้น
** ข้อมูลคาดคะเน
ที่มา: , ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
1/ 3/
2/
กรมศุลกากร

157
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 การส่งออกไข่ไก่ และผลิตภัณฑ์ ปี 2555 - 2560


อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559*
(ร้อยละ)
ไข่ไก่สด
ปริมาณ (ล้านฟอง) 149.72 177.91 143.59 189.45 92.58 -8.59
มูลค่า (ล้านบาท) 395.41 461.73 445.62 587.70 319.42 -1.84
ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่
ปริมาณ (ตัน) 3,358.49 3,971.14 4,077.74 4,564.13 4,356.92 6.82
มูลค่า (ล้านบาท) 273.36 322.39 364.80 411.28 425.41 11.94
หมายเหตุ: * คาดคะเน
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 3 การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์ไข่ไก่ ปี 2555 - 2559


อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559*
(ร้อยละ)
ผลิตภัณฑ์ไข่ไก่
ปริมาณ (ตัน) 1,942.90 1,927.25 1,831.80 2,453.31 2,614.19 8.71
มูลค่า (ล้านบาท) 519.09 528.54 565.08 739.98 717.71 10.35
หมายเหตุ: * คาดคะเน
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 4 ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก และราคาน�ำเข้า ปี 2555 - 2559


อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559*
(ร้อยละ)
ราคาที่เกษตรกรขายได้ 2.56 3.06 3.09 2.69 3.00 1.90
(บาท/ฟอง) 1/

ราคาส่งออก2/ (เอฟ.โอ.บี.)
ไข่ไก่สด (บาท/ฟอง) 2.64 2.60 3.10 3.10 3.45 7.39
ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ 81,394 81,183 89,461 90,112 97,641 4.79
(บาท/ตัน)
ราคาน�ำเข้า2/ (ซี.ไอ.เอฟ.)
ผลิตภัณฑ์จากไข่ไก่ 267,173 274,246 308,483 301,624 274,543 1.51
(บาท/ตัน)
หมายเหตุ: * คาดคะเน
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
กรมศุลกากร
158
17
สุกร
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 การผลิตเนื้อสุกรของประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.48 ต่อปี ในปี 2559
การผลิตเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 108.20 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ซึ่งมีปริมาณ 111.38 ล้านตัน ร้อยละ
2.86 ประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่ผลิตเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ ได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา
บราซิล รัสเซีย เวียดนาม และแคนาดา ผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.26 ร้อยละ 1.67 ร้อยละ 5.43 ร้อยละ 5.93 ร้อยละ
2.02 และร้อยละ 4.00 ตามล�ำดับ ส่วนจีนผลิตลดลงร้อยละ 8.03
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.44
ต่อปี ในปี 2559 การบริโภคเนื้อสุกรของโลกมีปริมาณรวม 108.00 ล้านตัน ลดลงจากปี 2558 ซึ่งมีปริมาณ
109.91 ล้านตัน ร้อยละ 1.74 ประเทศต่าง ๆ มีการบริโภคเพิ่มขึ้น โดยสหรัฐอเมริกา รัสเซีย ญี่ปุ่น และเวียดนาม
มีการบริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.01 ร้อยละ 4.77 ร้อยละ 0.86 และร้อยละ 2.04 ตามล�ำดับ ส่วนจีน สหภาพยุโรป
และบราซิล มีการบริโภคลดลงร้อยละ 2.87 ร้อยละ 4.07 และร้อยละ 2.83 ตามล�ำดับ
(2) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 การส่งออกเนื้อสุกรของประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.60 ต่อปี
ในปี 2559 การส่งออกเนื้อสุกรมีปริมาณรวม 8.54 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ซึ่งมีปริมาณ 7.22 ล้านตัน
ร้อยละ 18.28 ประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่ส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล และ
เม็กซิโก มีการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 38.13 ร้อยละ 3.70 ร้อยละ 8.96 ร้อยละ 43.54 และร้อยละ 9.38
ตามล�ำดับ เนื่องจากความต้องการในตลาดโลกเพิ่มขึ้น และสหรัฐอเมริกาส่งออกได้เพิ่มขึ้นจากการที่สามารถ
แข่งขันด้านราคากับประเทศคู่แข่ง ส�ำหรับประเทศที่ส่งออกลดลง ได้แก่ จีน ชิลี และออสเตรเลีย ส่งออกลดลง
ร้อยละ 22.08 ร้อยละ 1.69 และร้อยละ 2.78 ตามล�ำดับ
(3) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 การน�ำเข้าเนื้อสุกรของประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.10 ต่อปี
ในปี 2559 การน�ำเข้าเนื้อสุกรของประเทศผู้น�ำเข้าเนื้อสุกรที่ส�ำคัญมีปริมาณรวม 8.31 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี
2558 ซึ่งมีปริมาณ 6.71 ล้านตัน ร้อยละ 23.85 ประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่น�ำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ จีน น�ำเข้า
เพิ่มขึ้นถึง 1.33 เท่า เนื่องจากมีปริมาณการผลิตลดลง ส่วนญี่ปุ่น เม็กซิโก เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา และฮ่องกง
มีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.94 ร้อยละ 4.49 ร้อยละ 1.84 ร้อยละ 2.17 และร้อยละ 22.17 ตามล�ำดับ ส�ำหรับ
ออสเตรเลียน�ำเข้าลดลงร้อยละ 2.27

159
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 การผลิตสุกรของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.98 ต่อปี ในปี 2559 มีปริมาณ
การผลิตสุกร 14.54 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 13.65 ล้านตัว ของปี 2558 ร้อยละ 6.52 เนื่องจากราคาสุกรมีชีวิต
ปรับตัวสูงขึ้น จูงใจให้มีการขยายปริมาณการผลิต ถึงแม้จะมีปัญหาเรื่องโรคในสุกรเพิ่มขึ้น แต่เกษตรกรส่วนใหญ่
สามารถปรับปรุงด้านการจัดการฟาร์มและควบคุมโรคได้ดีขึ้น ส่งผลให้ผู้เลี้ยงสุกรที่มีศักยภาพขยายการผลิต
เพิ่มขึ้น
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรของไทย เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.92 ต่อปี
สุกรทีผ่ ลิตได้ใช้บริโภคภายในประเทศเป็นหลักประมาณร้อยละ 95 ของปริมาณการผลิตทัง้ หมด ปี 2559 มีปริมาณ
การบริโภคสุกร 12.96 ล้านตัว หรือ 0.971 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 4.18
(2) การส่งออก
การส่งออกสุกรมีปริมาณเพียงร้อยละ 10 ของปริมาณการผลิตทั้งหมด เนื่องจากข้อจ�ำกัดจาก
โรคปากและเท้าเปื่อย โดยเป็นการส่งออกเนื้อสุกรและเนื้อสุกรแปรรูปร้อยละ 1 - 2 และสุกรมีชีวิตร้อยละ 8 - 9
เนื้อสุกรส่งออกไปยัง สปป.ลาว รัสเซีย และฮ่องกง ส่วนเนื้อสุกรแปรรูปส่งออกไปยังญี่ปุ่นและฮ่องกง ส�ำหรับสุกร
มีชีวิตส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ สปป.ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ และเวียดนาม ปี 2555-2559 ปริมาณ
การส่งออกเนื้อสุกรช�ำแหละ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 9.03 ต่อปี ในปี 2559 ส่งออกเนื้อสุกรช�ำแหละปริมาณ
3,500 ตัน มูลค่า 180 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นจากปีท่ีผ่านมา ซึ่งส่งออกปริมาณ 3,189 ตัน ร้อยละ 9.75
แต่มูลค่าลดลงจาก 193.99 ล้านบาท ของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 7.21 ปี 2555-2559 ปริมาณการส่งออกเนื้อสุกร
แปรรูป ลดลงในอัตราร้อยละ 1.86 ต่อปี ส่วนในปี 2559 ส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปปริมาณ 10,500 ตัน มูลค่า
2,200 ล้านบาท ลดลงจากปี 2558 ซึ่งส่งออก 13,889 ตัน มูลค่า 2,551.71 ล้านบาท ร้อยละ 24.40 และร้อยละ
13.78 ตามล�ำดับ ส�ำหรับสุกรมีชีวิตส่งออกปริมาณ 1,262,000 ตัว มูลค่า 5,700 ล้านบาท เป็นสุกรพันธุ์ 154,000
ตัว มูลค่า 800.00 ล้านบาท ลดลงจากปี 2558 ซึ่งส่งออก 312,200 ตัว มูลค่า 1,427.49 ล้านบาท ร้อยละ 50.67
และร้อยละ 43.96 ตามล�ำดับ และเป็นสุกรมีชีวิตอื่น ๆ ปริมาณ 1,108,000 ตัว มูลค่า 4,900 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
จากปี 2558 ซึ่งส่งออก 560,350 ตัว มูลค่า 2,538.73 ล้านบาท ร้อยละ 97.73 และร้อยละ 93.00 ตามล�ำดับ
(3) การน�ำเข้า
ส่วนใหญ่เป็นการน�ำเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกรแช่เย็นแช่แข็ง (หนัง ตับ และเครื่องใน
อื่น ๆ) และผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร ปี 2555- 2559 ปริมาณการน�ำเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ
37.09 ต่อปี ในปี 2559 น�ำเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ปริมาณ 40,000 ตัน มูลค่า 900.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก
ปี 2558 ซึ่งน�ำเข้าปริมาณ 36,758 ตัน มูลค่า 803.42 ล้านบาท ร้อยละ 8.82 และร้อยละ 12.02 ตามล�ำดับ
โดยส่วนใหญ่น�ำเข้าตับจาก เยอรมนี บราซิล เกาหลีใต้ และเดนมาร์ก และส่วนอื่น ๆ จากเยอรมนี อิตาลี
เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ปี 2555 - 2559 ปริมาณการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 15.07

160
สุกร

ต่อปี ในปี 2559 น�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรปริมาณ 1,400 ตัน มูลค่า 130.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2558
ซึ่งน�ำเข้า 1,046 บาท มูลค่า 125.50 ล้านบาท ร้อยละ 33.84 และร้อยละ 3.59 ตามล�ำดับ
(4) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555 - 2559 ราคาที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นในอัตราร้อยละ 3.53 ต่อปี ราคาสุกร
ที่เกษตรกรขายได้ปี 2559 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 67.00 บาท สูงขึ้นจากเฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.08 บาท ของปี 2558
ร้อยละ 1.39 เนื่องจากในช่วงต้นปี 2559 เกิดสถานการณ์ภัยแล้งที่รุนแรงตั้งแต่มกราคม-กรกฎาคม ท�ำให้หลาย
พื้นที่ประสบกับภาวะขาดแคลนน�้ำ สุกรเติบโตช้ากว่าปกติ ต้นทุนการผลิตจึงสูงขึ้น ส่งผลให้ราคาสุกรมีชีวิต
ที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวสูงขึ้นตามไปด้วย และในช่วงปลายปี 2559 สถานการณ์ได้คลี่คลายกลับสู่ภาวะปกติ
และความต้องการบริโภคยังคงมีอย่างต่อเนื่อง
2) ราคาส่งออก
ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกเนื้อสุกรช�ำแหละลดลงในอัตราร้อยละ 3.77 ต่อปี โดย
ในปี 2559 ราคาส่งออกเนื้อสุกรช�ำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.00 บาท ลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 16.16
ส่วนราคาเนื้อสุกรแปรรูป ปี 2555-2559 ลดลงในอัตราร้อยละ 1.87 ต่อปี โดยปี 2559 ราคาส่งออกเนื้อสุกร
แปรรูป เฉลี่ยกิโลกรัมละ 200.00 บาท สูงขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 8.86
3) ราคาน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 ราคาน�ำเข้าส่วนอืน่ ๆ ทีบ่ ริโภคได้ของสุกรรวมสูงขึน้ ในอัตราร้อยละ 13.15
ต่อปี โดยในปี 2559 ราคาน�ำเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.00 สูงขึ้นจากปี 2558
ร้อยละ 83.33 ส่วนราคาน�ำเข้าตับ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.37 สูงขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 16.06

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าการผลิตเนื้อสุกรจะมีปริมาณรวม 111.01 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ
2.60 โดยคาดว่าประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญหลายประเทศ ได้แก่ จีน สหรัฐอเมริกา บราซิล รัสเซีย และเวียดนาม
จะผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.66 ร้อยละ 3.82 ร้อยละ 3.10 ร้อยละ 4.69 และร้อยละ 1.98 ตามล�ำดับ จีนมีผลผลิต
เพิ่มขึ้น เนื่องจาก 2 ปีที่ผ่านมามีผลผลิตลดลง ท�ำให้ราคาสุกรปรับตัวสูงขึ้น ส่วนบราซิลเศรษฐกิจฟื้นตัว และ
มีความต้องการจากตลาดต่างประเทศ ท�ำให้ขยายการผลิตเพิ่มขึ้น ส�ำหรับรัสเซียยังคงขยายการผลิตเพิ่มขึ้น
โดยมีการปรับปรุงประสิทธิภาพโดยรวมของอุตสาหกรรมสุกร แม้จะมีปัญหาโรคอหิวาต์สุกรแอฟริกันก็ตาม
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าความต้องการบริโภคเนื้อสุกรจะมีปริมาณรวม 110.69 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก
ปี 2559 ร้อยละ 2.49 โดยคาดว่าจีน สหรัฐอเมริกา รัสเซีย บราซิล เวียดนาม และเม็กซิโก บริโภคเพิ่มขึ้นร้อยละ
0.11 ร้อยละ 3.80 ร้อยละ 3.80 ร้อยละ 2.67 ร้อยละ 2.00 และร้อยละ 3.44 ตามล�ำดับ เนื่องจากผลผลิต
ภายในประเทศเพิ่มขึ้น ส่วนญี่ปุ่น การบริโภคลดลงร้อยละ 0.19 ส�ำหรับสหภาพยุโรปการบริโภคทรงตัว
161
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกเนื้อสุกรของโลกจะมีปริมาณรวม 8.63 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559
ร้อยละ 1.07 โดยคาดว่าสหรัฐอเมริกา บราซิล และเม็กซิโก จะส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.95 ร้อยละ 4.44 และ
ร้อยละ 7.14 ตามล�ำดับ โดยที่สหรัฐอเมริกามีผลผลิตเพิ่มขึ้น แต่ราคาลดลง และค่าเงินมีแนวโน้มอ่อนตัวลง
ซึ่งเป็นปัจจัยที่ท�ำให้ความต้องการของตลาดต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ส่วนสหภาพยุโรป จีน ออสเตรเลีย และเวียดนาม
การส่งออกจะทรงตัว แต่แคนาดาและชิลีจะส่งออกลดลงร้อยละ 3.70 และร้อยละ 2.86 ตามล�ำดับ
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่าการน�ำเข้ามีปริมาณรวม 8.31 ล้านตัน ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 0.08 โดย
คาดว่าเม็กซิโก เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา และฟิลิปปินส์ น�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.44 ร้อยละ 3.28 ร้อยละ 1.74
และร้อยละ 13.64 ตามล�ำดับ จีนและญี่ปุ่น การน�ำเข้าทรงตัว ส่วนฮ่องกงและออสเตรเลีย น�ำเข้าลดลงร้อยละ
2.06 และร้อยละ 2.33 ตามล�ำดับ
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าการผลิตสุกรมีปริมาณ 14.920 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 14.543 ล้านตัว ของปี 2559
ร้อยละ 2.59 เนื่องจากตลาดภายในประเทศยังคงมีความต้องการบริโภคอย่างต่อเนื่อง และผู้ผลิตรายกลาง
และรายใหญ่มีการบริหารจัดการที่ดีสามารถจัดการฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพและป้องกันโรคได้ดี ท�ำให้อัตรา
การรอดของสุกรเพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าการบริโภคสุกรจะเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับปี 2559 เนื่องจากปริมาณการผลิต
เพิ่มขึ้น โดยคาดว่าจะมีปริมาณการบริโภคสุกร 13.22 ล้านตัว หรือ 0.99 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 2.06
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกเนือ้ สุกรช�ำแหละและเนือ้ สุกรแปรรูปใกล้เคียงกับปี 2559 เนือ่ งจาก
ยังคงมีความต้องการจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับสุกรมีชีวิตที่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน
โดยเฉพาะสปป.ลาว คาดว่าจะลดลงจากปี 2559 แม้ว่าความต้องการสุกรขุนของ สปป.ลาวและจีนยังคงมีต่อเนื่อง
แต่เนื่องจากจีนมีความเข้มงวดในการน�ำเข้าท�ำให้การส่งออกไปจีนโดยผ่าน สปป.ลาว มีปัญหาหยุดชะงัก
ในบางช่วงเวลา จึงส่งผลให้การส่งออกสุกรมีชีวิตชะลอตัวลง
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่าการน�ำเข้าส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องในอื่น ๆ) และ
การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรจะใกล้เคียงกับปี 2559
(4) ราคา
ปี 2560 คาดว่าราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้โดยเฉลี่ยจะใกล้เคียงกับปี 2559 หรือลดลง
เล็กน้อยเนื่องจากปริมาณการผลิตยังคงเพิ่มขึ้น ส่วนราคาส่งออกเนื้อสุกรช�ำแหละและเนื้อสุกรแปรรูปคาดว่า
จะใกล้เคียงกับปี 2559
162
สุกร

2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตหรือการส่งออก
2.3.1 โรคระบาด เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณการผลิตสุกร โดยเฉพาะโรคทางระบบ
สืบพันธุ์และระบบทางเดินหายใจ (PRRS) และโรคท้องร่วงติดต่อ (PED) ที่ท�ำให้ผลผลิตสุกรเกิดความเสียหาย
แม้วา่ จะมีการจัดการฟาร์มทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ แต่กย็ งั มีโอกาสเกิดโรคดังกล่าวอยู่ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั สภาพอากาศ
หากมีความแปรปรวนจะท�ำให้สุกรมีภูมิต้านทานต�่ำ ส่งผลให้การผลิตลดลงและต้นทุนการผลิตสูงขึ้น
2.3.2 ภาวะเศรษฐกิจ เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณการบริโภคและการส่งออกสุกร
ซึ่งคาดว่าปี 2560 เศรษฐกิจไทยจะมีการขยายตัวที่ชะลอลงตามการส่งออกสินค้า เนื่องจากเศรษฐกิจไทยจะ
เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกซึ่งมีภาวะชะลอตัว ท�ำให้การส่งออกของไทย รวมทั้งสินค้าเกษตรชะลอตัว ซึ่งจะส่งผล
กระทบต่อก�ำลังซื้อของผู้บริโภคในประเทศด้วย
2.3.3 ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตสุกร
- ภัยแล้ง ในช่วงต้นปี 2559 ได้ประสบภาวะภัยแล้ง โดยเกิดภัยแล้งเป็นเวลานานกว่าปกติ
เกษตรกรต้องซื้อน�้ำสะอาดมาใช้ในฟาร์มโดยเฉพาะน�้ำส�ำหรับให้สุกรกิน จึงต้องรับภาระต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น
โดยเฉพาะในเดือนเมษายนและพฤษภาคม ซึ่งเป็นช่วงที่แล้งจัดต้องซื้อน�้ำมาใช้ในฟาร์มมากกว่าทุกปี

ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตเนื้อสุกรของประเทศที่ส�ำคัญ ปี 2555-2560


อัตราเพิ่ม
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 25591/
25602/
(ร้อหน่
ยละ)วย: พันตันน�้ำหนักซาก
จีน 53,427 54,930 56,710 56,375 51,850 -0.34 53,750
สหภาพยุโรป* 22,526 22,359 22,540 23,290 23,350 1.13 23,350
สหรัฐอเมริกา 10,554 10,525 10,368 11,121 11,307 1.95 11,739
บราซิล 3,330 3,335 3,400 3,519 3,710 2.74 3,825
รัสเซีย 2,175 2,400 2,510 2,615 2,770 5.86 2,900
เวียดนาม 2,307 2,349 2,425 2,475 2,525 2.36 2,575
แคนาดา 1,844 1,822 1,805 1,899 1,975 1.80 1,980
ฟิลิปปินส์ 1,310 1,340 1,353 1,370 1,440 2.14 1,500
อื่น ๆ 9,400 9,768 9,455 8,712 9,274 -1.40 9,392
รวม 106,873 108,828 110,566 111,376 108,201 0.48 111,011
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
* สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

163
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 ปริมาณการบริโภคเนื้อสุกรของประเทศที่ส�ำคัญ ปี 2555-2560


หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
ประเทศ 2555 2556 2557 อัตราเพิ่ม 25602/
2558 25591/
(ร้อยละ)
จีน 53,922 55,456 57,195 55,668 54,070 0.09 55,870
สหภาพยุโรป* 20,382 20,147 20,390 20,913 20,062 0.06 20,062
สหรัฐอเมริกา 8,441 8,665 8,545 9,341 9,452 3.06 9,811
รัสเซีย 3,239 3,267 3,024 3,016 3,160 -1.29 3,280
บราซิล 2,670 2,751 2,845 2,893 2,811 1.54 2,886
ญี่ปุ่น 2,557 2,549 2,543 2,568 2,590 0.33 2,585
เวียดนาม 2,279 2,333 2,408 2,456 2,506 2.44 2,556
เม็กซิโก 1,850 1,956 1,991 2,176 2,270 5.29 2,348
อื่น ๆ 11,050 11,308 10,9585 10,874 11,080 -0.34 11,292
รวม 106,390 108,432 109,896 109,905 108,001 0.44 110,690
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
* สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

ตารางที่ 3 ปริมาณส่งออกเนื้อสุกรของประเทศที่ส�ำคัญ ปี 2555-2560


หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 25591/ อัตราเพิ่ม 25602/
(ร้อยละ)
สหภาพยุโรป* 2,165 2,227 2,164 2,389 3,300 9.56 3,300
สหรัฐอเมริกา 2,440 2,262 2,309 2,272 2,356 -0.65 2,449
แคนาดา 1,243 1,246 1,218 1,239 1,350 1.61 1,300
บราซิล 661 585 556 627 900 7.11 940
จีน 235 244 276 231 180 -5.71 180
ชิลี 180 164 163 178 175 0.26 170
เม็กซิโก 95 111 117 128 140 9.62 150
ออสเตรเลีย 36 36 37 36 35 -0.56 35
เวียดนาม 32 22 21 21 21 -8.51 21
อื่น ๆ 176 111 101 100 81 -15.27 84
รวม 7,263 7,008 6,962 7,224 8,538 3.60 8,629
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
* สมาชิกทั้งหมด 28 ประเทศ
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

164
สุกร

ตารางที่ 4 ปริมาณน�ำเข้าเนื้อสุกรของประเทศที่ส�ำคัญ ปี 2555-2560


หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 25591/ อัตราเพิ่ม 25602/
(ร้อยละ)
จีน 730 770 761 1,029 2,400 30.61 2,300
ญี่ปุ่น 1,259 1,223 1,332 1,270 1,320 1.33 1,320
เม็กซิโก 706 783 818 981 1,025 10.20 1,050
เกาหลีใต้ 502 388 480 599 610 8.59 630
สหรัฐอเมริกา 364 399 459 506 517 9.85 526
ฮ่องกง 414 399 347 397 485 3.16 475
ออสเตรเลีย 194 183 191 220 215 3.97 210
ฟิลิปปินส์ 138 172 199 175 220 9.97 250
อื่น ๆ 2,551 2,278 1,746 1,529 1,522 -13.34 1,546
รวม 6,858 6,595 6,333 6,706 8,314 4.10 8,307
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

ตารางที่ 5 ปริมาณการผลิต การส่งออก และการบริโภคสุกร ปี 2555-2560

รายการ 2555 2556 2557 2559* อั(ร้ตอราเพิ


2558 ยละ)
่ม 2560**

ปริมาณการผลิต (ล้านตัว) 12.829 13.072 12.823 13.649 14.543 2.98 14.920


1/

(ล้านตัน) 0.962 0.980 0.962 1.024 1.091 4.18 1.119


ปริมาณส่งออก2/ (ตัน) 14,416 15,957 17,227 16,700 14,000 -0.13 n.a.
ปริมาณการบริโภค3/ (ล้านตัน) 0.921 0.945 0.907 0.932 0.971 0.92 0.991
หมายเหตุ: * ข้อมูลเบื้องต้น ** คาดคะเน
ที่มา: 1/, 3/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
กรมศุลกากร

165
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 6 การส่งออกเนื้อสุกรช�ำแหละ เนื้อสุกรแปรรูป และสุกรมีชีวิต ปี 2555-2560


รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* อั(ร้ตอราเพิ
ยละ)
่ม
เนื้อสุกรช�ำแหละ ปริมาณ (ตัน) 2,070 3,840 2,635 3,189 3,500 9.03
มูลค่า: ล้านบาท 130.06 226.07 152.49 193.99 180.00 5.09
เนื้อสุกรแปรรูป ปริมาณ (ตัน) 12,346 12,117 14,592 13,889 10,500 -1.86
มูลค่า: ล้านบาท 2,592.97 2,437.61 2,657.87 2,551.71 2,200.00 -2.79
สุกรพันธุ์ ปริมาณ (ตัว) 35,782** 17,988 25,168 312,200 154,000 78.12
มูลค่า: ล้านบาท 67.98* 66.34 141.91 1,427.49 800.00 123.27
สุกรมีชีวิตอื่น ๆ ปริมาณ (ตัว) 533,593 243,261 388,846 560,350 1,108,000 25.81
มูลค่า: ล้านบาท 2,018.79 925.68 1,765.06 2,538.73 4,900.00 32.08
หมายเหตุ: * ประมาณการ
** ปรับข้อมูลส่งออกที่ผิดปกติ เดือนมกราคม 2555
ที่มา: กรมศุลกากร
ตารางที่ 7 การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร และส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร (หนัง ตับ และเครื่องใน
อื่น ๆ) ปี 2555-2559
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม
(ร้อยละ)
ผลิตภัณฑ์เนื้อสุกร
ปริมาณ (ตัน) 793 801 1,014 1,046 1,400 15.07
มูลค่า (ล้านบาท) 55.90 65.20 81.26 125.50 130.00 26.40
ส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกร
ปริมาณ (ตัน) 14,140 12,548 26,956 36,758 40,000 37.09
มูลค่า (ล้านบาท) 161.76 161.90 574.59 803.42 900.00 65.44
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร
ตารางที่ 8 ราคาที่เกษตรกรขายได้ ราคาส่งออก และราคาน�ำเข้า ปี 2555-2559
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม
(ร้อยละ)
ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 56.65 65.35 75.08 66.08 67.00 3.53
ราคาส่งออก (บาท/กก.)
เนื้อสุกรช�ำแหละ 62.83 58.87 57.88 60.83 51.00 -3.77
เนื้อสุกรแปรรูป 210.02 201.17 182.14 183.72 200.00 -1.87
ราคาน�ำเข้า (บาท/กก.)
ส่วนอื่น ๆ ที่บริโภคได้ของสุกรรวม 11.44 12.90 21.32 12.00 22.00 13.15
ตับ 19.76 24.32 27.94 21.86 25.37 4.01
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กรมศุลกากร
166
18
โคเนื้อ
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 การผลิตเนื้อโคของประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.13 ต่อปี ในปี 2559
มีปริมาณการผลิต 60.49 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ที่มีปริมาณการผลิต 60.02 ล้านตัน ร้อยละ 0.77 ผู้ผลิต
รายใหญ่มีการผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน และอินเดีย โดยผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.29 ร้อยละ
2.07 ร้อยละ 2.99 และร้อยละ 3.66 ตามล�ำดับ ส่วนบราซิลมีผลผลิตลดลงร้อยละ 1.50
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 ปริมาณความต้องการบริโภคเนื้อโคในประเทศต่าง ๆ ลดลงในอัตราร้อยละ
0.35 ต่อปี ประเทศที่มีการบริโภคมากที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา รองลงมาได้แก่ สหภาพยุโรป และจีน การบริโภค
เนื้อโคในปี 2559 มีปริมาณ 57.73 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ที่มีการบริโภคปริมาณ 58.16 ล้านตัน
ร้อยละ 0.75
(2) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 การส่งออกเนื้อโคเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.49 ต่อปี บราซิลและอินเดีย
มีการส่งออกมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา ในปี 2559 มีการส่งออกเนื้อโค 9.44
ล้านตัน ลดลงจากปี 2558 ที่มีการส่งออก 9.54 ล้านตัน ร้อยละ 1.03 เนื่องจากออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
มีการส่งออกลดลงร้อยละ 25.30 และร้อยละ 9.23 ตามล�ำดับ ส่วนบราซิล อินเดีย และสหรัฐอเมริกา มีการส่งออก
เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.50 ร้อยละ 2.44 และร้อยละ 8.95 ตามล�ำดับ
(3) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 การน�ำเข้าเนื้อโคเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.96 ต่อปี ในปี 2559 มีการน�ำเข้า
เนื้อโค 7.67 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ที่มีการน�ำเข้า 7.65 ล้านตัน ร้อยละ 0.25 เนื่องจากจีน ญี่ปุ่น และ
เกาหลีใต้ มีการน�ำเข้าเพิม่ ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 24.43 ร้อยละ 11.32 และร้อยละ 23.19 ตามล�ำดับ ส่วนสหรัฐอเมริกา
และรัสเซีย มีการน�ำเข้าลดลงร้อยละ 10.40 และร้อยละ 5.80 ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 การผลิตโคเนื้อของไทยลดลงในอัตราร้อยละ 0.76 ต่อปี ส�ำหรับปี 2559
มีปริมาณการผลิตโคเนื้อ 1.013 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ซึ่งมีปริมาณการผลิต 0.991 ล้านตัว ร้อยละ 2.22
เนื่องจากราคาโคเนื้อที่สูงขึ้นในปี 2557-2558 ประกอบกับมีความต้องการจากตลาดทั้งในประเทศและประเทศ
เพือ่ นบ้าน ส่งผลให้เกษตรกรหันมาเลีย้ งโคเนือ้ กันมากขึน้ อีกทัง้ รัฐบาลยังมีโครงการส่งเสริมให้ชาวนาทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ที่
ที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าวเปลี่ยนอาชีพมาเลี้ยงโคเนื้ออีกด้วย

167
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2555 - 2559 ความต้องการบริโภคเนื้อโคของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราเพียงร้อยละ 0.09 ต่อปี
ส�ำหรับปี 2559 คาดว่าจะมีปริมาณการบริโภคโคเนื้อ 1.259 ล้านตัว หรือคิดเป็นเนื้อโค 211.51 พันตัน
ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 0.08 ตามความต้องการของตลาดภายในประเทศที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยตลาด
ยังคงนิยมบริโภคเนื้อโคแบบชาบูหรือปิ้งย่าง
(2) การส่งออก
ปี 2555 - 2559 การส่งออกโคมีชีวิตของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 10.80 ต่อปี โดย
ส่วนใหญ่ส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ มาเลเซีย และสปป.ลาว (ส่งต่อไปยังจีน) ปี 2559 การส่งออก
โคมีชีวิตมีปริมาณ 251,960 ตัว มูลค่า 1,040.00 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ซึ่งส่งออกปริมาณ 204,857 ตัว
มูลค่า 1,755.25 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.99 แต่มูลค่าลดลงร้อยละ 40.75 ยังคงมีความต้องการ
โคเนื้อจากประเทศเพือ่ นบ้านเพิม่ ขึน้ เช่น สปป.ลาว เวียดนาม มาเลเซีย เป็นต้น แต่การเข้มงวดของด่านชายแดนจีน
ส่งผลให้การส่งออกโคมีชีวิตชะลอตัวลง
ปี 2555 - 2559 ปริมาณการส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ของไทยลดลงร้อยละ 58.53 ต่อปี
ปี 2559 การส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์มีปริมาณ 207 ตัน มูลค่า 36.00 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ซึ่งส่งออก
ปริมาณ 2,462.82 ตัน มูลค่า 253.23 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 91.60 และร้อยละ 85.78 ตามล�ำดับ เนื่องจาก
ประเทศเพื่อนบ้านหันไปน�ำเข้าเนื้อโคจากออสเตรเลีย จึงให้การส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ลดลง
(3) การน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 การน�ำเข้าโคมีชีวิตของไทยเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.09 ต่อปี ปี 2559
การน�ำเข้าโคมีชีวิตมีปริมาณ 94,000 ตัว มูลค่า 1,470.00 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ซึ่งน�ำเข้าปริมาณ
130,260 ตัว มูลค่า 1,857.44 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 27.84 และร้อยละ 20.86 ตามล�ำดับ โคมีชีวิตส่วนใหญ่
น�ำเข้าจากเมียนมาร์ โดยส่วนใหญ่น�ำเข้าเพื่อมาเลี้ยงขุนก่อนที่จะส่งออกต่อไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งในช่วง
ปี 2559 การส่งออกไปยังจีนมีการชะลอตัวเนื่องจากจีนเข้มงวดในเรื่องด่านชายแดนและสารเร่งเนื้อแดง
ปี 2555 - 2559 ปริมาณการน�ำเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ของไทยลดลงในอัตราร้อยละ 5.18
ต่อปี โดยส่วนใหญ่เป็นการน�ำเข้าเนื้อโคจากประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย ส่วนผลิตภัณฑ์น�ำเข้า
จากประเทศอินเดีย นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย ปี 2559 การน�ำเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์มีปริมาณ 11,040 ตัน
มูลค่า 2,316.00 ล้านบาท เทียบกับปี 2558 ซึ่งน�ำเข้าปริมาณ 10,314.90 ตัน มูลค่า 2,206.63 ล้านบาท เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 7.03 และร้อยละ 4.96 ตามล�ำดับ เนื่องจากยังคงมีความต้องการเนื้อโคคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
(4) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้
ปี 2555 - 2559 ราคาโคมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้สูงขึ้นในอัตราร้อยละ 16.80 ต่อปี ส�ำหรับ
ปี 2559 โคมีชวี ติ ทีเ่ กษตรกรขายได้มรี าคาเฉลีย่ กิโลกรัมละ 103.00 บาท ลดลงจากปี 2558 ซึง่ มีราคากิโลกรัมละ
104.79 บาท ร้อยละ 1.71 แม้ว่าผลผลิตยังไม่เพียงพอกับความต้องการบริโภค แต่การส่งออกโคมีชีวิต
ไปยังประเทศเพื่อนบ้านเพื่อส่งต่อไปยังจีนประสบปัญหา ความเข้มงวดของด่านชายแดนจีนและการตรวจเจอ
168
โคเนื้อ

สารเร่งเนื้อแดงในโคมีชีวิต จึงส่งผลให้ในบางช่วงการส่งออกโคมีชีวิตต้องหยุดชะงักชั่วคราวหรือชะลอตัวลง
จึงส่งผลกระทบท�ำให้ราคาโคเนื้อภายในประเทศลดลง
2) ราคาส่งออก
ปี 2555 - 2559 ราคาส่งออกโคมีชีวิตลดลงในอัตราร้อยละ 10.27 ต่อปี ในปี 2559 ราคา
ส่งออกโคมีชีวิตลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 51.83 ส่วนราคาส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์สูงขึ้นในอัตราร้อยละ
13.59 ต่อปี ในปี 2559 ราคาส่งออกเนื้อโคและผลิตภัณฑ์สูงขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 69.14
3) ราคาน�ำเข้า
ปี 2555 - 2559 ราคาน�ำเข้าโคมีชีวิตสูงขึ้นในอัตราร้อยละ 48.12 ต่อปี ในปี 2559 ราคา
น�ำเข้าโคมีชีวิตสูงขึ้นจากปี 2558 ร้อยละ 9.67 ส่วนราคาน�ำเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์สูงขึ้นในอัตราร้อยละ 13.77
ต่อปี โดยเนื้อโคที่น�ำเข้าจะเป็นเนื้อโคคุณภาพ ซึ่งผลิตในประเทศได้ไม่เพียงพอกับความต้องการเพื่อรองรับ
ผู้บริโภคในตลาดบน ในปี 2559 ราคาน�ำเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ลดลงจากปี 2558 ร้อยละ 1.94

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าการผลิตเนื้อโคจะมีปริมาณ 61.32 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 1.38
ผู้ผลิตรายใหญ่ท่ีมีการผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา บราซิล จีน และอินเดีย ซึ่งผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.68
ร้อยละ 2.00 ร้อยละ 0.72 และร้อยละ 2.35 ตามล�ำดับ ส่วนสหภาพยุโรปการผลิตทรงตัว การผลิตของโลก
ขยายตัวจากการผลิตเพิม่ ขึน้ ในสหรัฐอเมริกา และอเมริกาใต้ โดยเฉพาะบราซิลมีผลผลิตเพิม่ ขึน้ จากความต้องการ
ในตลาดส่งออกที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการขยายเข้าสู่ตลาดของจีน ซาอุดิอาระเบีย และสหรัฐอเมริกา
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
ปี 2560 คาดว่าจะมีการบริโภคเนื้อโค 59.40 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 2.90 โดย
ประเทศที่มีการบริโภคมากที่สุดยังคงเป็นสหรัฐอเมริกา 11.85 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน 7.89 ล้านตัน และ
สหภาพยุโรป 7.88 ล้านตัน
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าจะมีการส่งออกเนื้อโค 9.70 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 2.72 บราซิล
เป็นผู้ส่งออกมากที่สุด ปริมาณ 2.18 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ อินเดีย 1.93 ล้านตัน และออสเตรเลีย 1.33 ล้านตัน
จีนยังคงเป็นตลาดที่มีการเติบโตสูง โดยมีการเปิดตลาดให้แก่อาร์เจนตินา และบราซิล ซึ่งส่งผลให้บราซิลเป็น
ผู้ส่งออกอันดับหนึ่ง
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่าจะมีการน�ำเข้าเนื้อโคของโลก 7.76 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 1.27
เนื่องจากประเทศผู้น�ำเข้าหลัก เช่น จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ มีการน�ำเข้าเนื้อโคเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.15 ร้อยละ
2.10 และร้ อ ยละ 1.96 ตามล� ำ ดั บ เกาหลี ใ ต้ มี ค วามต้ อ งการน� ำ เข้ า เพิ่ ม ขึ้ น จากปริ ม าณการผลิ ต ที่ ล ดลง

169
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

การเปลี่ยนแปลงของประชากรและนโยบายในประเทศ ส่วนสหรัฐอเมริกามีการน�ำเข้าลดลงร้อยละ 11.24


เนือ่ งจากมีผลผลิตเพิม่ ขึน้ ขณะทีร่ สั เซียและอียปิ ต์มกี ารน�ำเข้าในระดับเดิม เนือ่ งจากภาวะเศรษฐกิจทีย่ งั คงซบเซา
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่ามีปริมาณการผลิต 1.038 ล้านตัว หรือ 174.36 พันตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2559
ร้อยละ 2.43 เนื่องจากมีการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อจากภาครัฐ ที่ช่วยเพิ่มศักยภาพการผลิตโคเนื้อ และเกษตรกร
ยังมีการเก็บรักษาแมพันธุโคไว รวมทั้งหาซื้อแมโคเขามาเลี้ยงเพื่อขยายพันธุตอ สงผลใหปริมาณการผลิตโคเนื้อ
มีแนวโนมเพิ่มขึ้น
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค
โคที่ผลิตได้จะใช้บริโภคในประเทศเกือบทั้งหมด และมีบางส่วนที่ได้จากการน�ำเข้ามาโดย
ถูกต้องตามกฎหมาย และการลักลอบน�ำเข้าทั้งในรูปของโคมีชีวิตและเนื้อโคช�ำแหละ ปี 2560 คาดว่าการบริโภค
จะเพิ่มขึ้นตามความต้องการบริโภคเนื้อโคแบบปิ้งย่างที่เพิ่มขึ้นและการเพิ่มขึ้นของจ�ำนวนประชากร
(2) การส่งออก
ปี 2560 คาดว่าการส่งออกโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ จะลดลงจากปี 2559 เนื่องจาก
ด่านชายแดนจีนมีความเข้มงวดมากขึ้น จึงส่งผลให้การส่งออกโคมีชีวิตชะลอตัวลง
(3) การน�ำเข้า
ปี 2560 คาดว่าการน�ำเข้าโคมีชีวิตจะลดลงจากปี 2559 เนื่องจากปัญหาในการส่งออกที่
ชะลอตัว ส่งผลให้มีการน�ำเข้าโคเนื้อจากเมียนมาร์ลดลง ส่วนการน�ำเข้าเนื้อโคและผลิตภัณฑ์คาดว่าจะใกล้เคียง
กับปี 2559
(4) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2560 คาดว่าราคาจะลดลงจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณ
การผลิตเพิ่มขึ้น และการส่งออกที่ยังคงชะลอตัว
2) ราคาส่งออก และราคาน�ำเข้า ปี 2560 คาดว่าราคาส่งออกโคมีชีวิตจะลดลง ราคาส่งออก
เนื้อโคและผลิตภัณฑ์จะใกล้เคียงกับปี 2559 ส่วนราคาน�ำเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ คาดว่าจะใกล้เคียง
กับปี 2559
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าของไทย
2.3.1 การผลิต
ปัจจุบันการผลิตโคเนื้อของไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากราคาที่จูงใจให้เกษตรกรหันมาเลี้ยงโคเนื้อ
เพิ่มขึ้น อีกทั้งรัฐบาลยังมีการส่งเสริมให้ชาวนาที่อยู่ในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าวเปลี่ยนมาเลี้ยงโคเนื้อ
หรือปลูกหญ้าเนเปียร์ ซึ่งด�ำเนินการโดยกรมปศุสัตว์ กรณีเลี้ยงโคเนื้อ ส่งเสริมการเลี้ยงรายละ 5 ตัว เป้าหมาย
4,000 ครัวเรือน รวม 120,000 ตัว ในระยะเวลา 6 ปี นอกจากนี้กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตร
เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ หรือกองทุน FTA ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ยังได้อนุมัติ

170
โคเนื้อ

โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตเนื้อโคขุนคุณภาพสูง ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ (สหกรณ์โคเนื้อมหาวิทยาลัย


เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน จ�ำกัด) โดยกองทุนฯ สนับสนุนเงินจ�ำนวน 36,820,000 บาท ระยะเวลา
โครงการ 19 ปี 6 เดือน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโคเนื้อเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของ
กรมส่งเสริมสหกรณ์ (สหกรณ์โคขุนในเขตปฏิรูปที่ดินปางศิลาทอง จ�ำกัด) ระยะเวลาโครงการ 10 ปี 6 เดือน โดย
กองทุนฯ สนับสนุนเงิน จ�ำนวน 24,680,640 บาท ซึง่ จะสามารถเพิม่ ผลผลิตโคเนือ้ เพือ่ รองรับความต้องการบริโภค
ทั้งในประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน เช่น สปป.ลาว เวียดนาม จีน เป็นต้น ได้
2.3.2 การน�ำเข้าและส่งออก
ไทยมีศักยภาพในการผลิตโคเนื้อและเนื้อโคคุณภาพดีและเป็นที่ต้องการของประเทศเพื่อนบ้าน
ส�ำหรับนักท่องเทีย่ วและผูม้ รี ายได้สงู ซึง่ ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการบริโภค แม้วา่ ในช่วงปี 2558-2559 ผลผลิต
จะเริ่มเพิ่มขึ้น แต่การเพิ่มผลผลิตโคเนื้อนั้นท�ำได้ค่อนข้างยากและต้องอาศัยระยะเวลา การน�ำเข้าโคเนื้อส่วนใหญ่
เกือบร้อยละ 95 น�ำเข้าจากเมียนมาร์ เพื่อน�ำมาบริโภคในประเทศและมีบางส่วนน�ำเข้ามาและส่งออกไปทันที
แต่อกี ส่วนหนึง่ น�ำเข้ามาเลีย้ งขุนระยะสัน้ 2-3 เดือน ก่อนส่งออกไปยัง สปป.ลาว และส่งต่อไปยังจีน ซึง่ ตลาดจีนนัน้
เป็นการส่งออกที่ไม่ปรากฏในสถิติการส่งออก เนื่องจากไทยยังไม่ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย โดยในช่วงปี 2559
ด่านชายแดนจีนได้มีการเข้มงวดเป็นอย่างมากและมีการตรวจพบสารเร่งเนื้อแดงในโคมีชีวิตที่ส่งไปยังจีน จึง
ส่งผลให้การส่งออกโคมีชีวิตชะลอตัวลง ดังนั้นรัฐบาลควรมีการเจรจากับรัฐบาลท้องถิ่นของจีน (มณฑลยูนนาน)
และเกษตรกรควรงดการใช้สารเร่งเนื้อแดงผสมในอาหารให้โคมีชีวิตกิน เพื่อรักษาตลาดจีนและช่วยให้การส่งออก
มีเสถียรภาพ อีกทั้งช่วยสร้างความมั่นคงในอาชีพของเกษตรกรผู้เลี้ยงโคเนื้อได้อีกด้วย

ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตเนื้อโคของโลก ปี 2555 - 2560


หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
อัตราเพิ่ม
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* 2560**
(ร้อยละ)
สหรัฐอเมริกา 11,848 11,751 11,075 10,817 11,389 -1.61 11,808
บราซิล 9,307 9,675 9,723 9,425 9,284 -0.31 9,470
สหภาพยุโรป 7,708 7,388 7,443 7,691 7,850 0.77 7,850
จีน 6,623 6,730 6,890 6,700 6,900 0.78 6,950
อินเดีย 3,491 3,800 4,100 4,100 4,250 4.81 4,350
อื่น ๆ 20,736 21,441 21,862 21,289 20,813 0.00 20,890
รวม 59,713 60,785 61,093 60,022 60,486 0.13 61,318
หมายเหตุ: * ประมาณการ ** คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

171
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 ปริมาณการบริโภคเนื้อโคของโลก ปี 2555 - 2560


หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560**
สหรัฐอเมริกา 11,739 11,608 11,241 11,276 11,664 -0.42 11,845
จีน 6,667 7,112 7,277 7,339 7,673 3.17 7,890
สหภาพยุโรป 7,760 7,520 7,514 7,751 7,890 0.64 7,875
บราซิล 7,845 7,885 7,896 7,781 7,499 -1.03 7,585
อาร์เจนติน่า 2,458 2,664 2,503 2,534 1,390 -11.22 2,465
อื่น ๆ 21,803 22,333 22,593 21,483 21,612 -0.56 21,741
รวม 58,272 59,122 59,024 58,164 57,728 -0.35 59,401
หมายเหตุ: * ประมาณการ ** คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016
ตารางที่ 3 ปริมาณการส่งออกเนื้อโคของโลก ปี 2555 - 2560
หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560**
บราซิล 1,524 1,849 1,909 1,705 1,850 3.11 1,950
อินเดีย 1,411 1,765 2,082 1,806 1,850 5.81 1,925
ออสเตรเลีย 1,407 1,593 1,851 1,854 1,385 1.21 1,325
สหรัฐอเมริกา 1,112 1,174 1,167 1,028 1,120 -1.18 1,193
นิวซีแลนด์ 517 529 579 639 580 4.28 550
อื่น ๆ 2,160 2,212 2,404 2,505 2,654 5.51 2,753
รวม 8,131 9,122 9,992 9,537 9,439 3.49 9,696
หมายเหตุ: * ประมาณการ ** คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016

ตารางที่ 4 ปริมาณการน�ำเข้าเนื้อโคของโลก ปี 2555 - 2560


หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560**
สหรัฐอเมริกา 1,007 1,020 1,337 1,529 1,370 10.74 1,216
จีน 86 412 417 663 825 64.84 950
ญี่ปุ่น 737 760 739 707 715 -1.32 730
รัสเซีย 1,027 1,023 929 621 585 -15.00 585
เกาหลีใต้ 370 375 392 414 510 7.69 520
อื่น ๆ 3,488 3,858 4,067 3,713 3,661 0.59 3,762
รวม 6,715 7,448 7,881 7,647 7,666 2.96 7,763
หมายเหตุ: * ประมาณการ ** คาดคะเน
ที่มา: Livestock and Poultry, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, October 2016
172
โคเนื้อ

ตารางที่ 5 ปริมาณการผลิต การส่งออก การน�ำเข้า และการบริโภคเนื้อโคและผลิตภัณฑ์ของไทย


ปี 2555 - 2560 หน่วย: พันตันน�้ำหนักซาก
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* อั(ร้ตอราเพิ ่ม
ยละ) 2560**
การผลิต1/ (ล้านตัว) 1.026 0.995 0.975 0.991 1.013 -0.76 1.038
(พันตันน�้ำหนักซาก) 147.81 143.29 140.36 165.50 170.23 3.94 174.36
ส่งออก (พันตัน)
2/
7.658 11.966 7.338 2.462 0.15 -61.12 n.a.
น�ำเข้า (พันตัน)
2/
10.818 18.288 14.411 10.314 7.67 -11.84 n.a.
การบริโภค1/ (ล้านตัว) 1.254 1.257 1.257 1.258 1.259 0.09 1.260
(พันตันน�้ำหนักซาก) 180.580 181.008 181.008 211.344 211.512 4.82 211.680
หมายเหตุ: * ประมาณการ ** คาดคะเน *** ตั้งแต่ปี 2558 ปรับน�้ำหนักโคเนื้อเฉลี่ยจาก 300 กก./ตัว เป็น 350 กก./ตัว
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
กรมศุลกากร

ตารางที่ 6 การส่งออก การน�ำเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ของไทย ปี 2555 - 2560


อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* (ร้อยละ)
การส่งออก
โคมีชีวิต
ปริมาณ (ตัว) 143,001 228,068 244,457 204,857 251,960 10.80
มูลค่า (ล้านบาท) 1,153.07 1,513.80 1,765.78 1,755.25 1,040.00 -0.58
เนื้อโคและผลิตภัณฑ์
ปริมาณ (ตัน) 7,658.65 11,966.37 7,338.85 2,462.82 207.00 -58.53
มูลค่า (ล้านบาท) 778.33 1,007.62 806.34 253.23 36.00 -52.90
การนำ�เข้า
โคมีชีวิต
ปริมาณ (ตัว) 74,601 204,882 126,790 130,260 94,000 0.09
มูลค่า (ล้านบาท) 317.18 777.82 1,788.45 1,857.44 1,470.00 48.25
เนื้อโคและผลิตภัณฑ์
ปริมาณ (ตัน) 10,818.95 18,288.00 14,411.57 10,314.90 11,040 -5.18
มูลค่า (ล้านบาท) 1,611.05 2,137.29 2,340.29 2,206.63 2,316.00 7.87
หมายเหตุ: * - การส่งออกโคมีชีวิตไม่รวมตัวเลขที่ผิดปกติในเดือน มิ.ย. 55 จากการส่งออกโคเนื้อไปเยอรมนี 234,733 ตัว
มูลค่า 407,428บาท เฉลี่ยตัวละ 1.74 บาท
- การส่งออกโคมีชีวิต ปี 2559 ไปยัง สปป.ลาว มีตัวเลขมูลค่าส่งออกผิดปกติ ซึ่งท�ำให้ราคาโคเนื้อที่ส่งออก
ต�่ำกว่าปกติ โดยมีราคาเฉลี่ยตัวละ 4,292 บาท
- การน�ำเข้าโคมีชีวิตไม่รวมตัวเลขที่ผิดปกติในเดือน พ.ค. 56 จากการน�ำเข้าโคเนื้อจากเมียนมาร์ 74,362 ตัว
มูลค่า 59,048,000 บาท เฉลี่ยตัวละ 795.40 บาท และเดือน มิ.ย. 56 จากการน�ำเข้าโคเนื้อจากเมียนมาร์
24,510 ตัว มูลค่า 38,440,000 บาท เฉลี่ยตัวละ 1,568.34 บาท
** ข้อมูลประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร
173
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 7 ราคาโคเนื้อที่เกษตรกรขายได้ และราคาส่งออก-น�ำเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์


ของไทย ปี 2555 - 2560
อัตราเพิ่ม
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559*
(ร้อยละ)
ราคาที่เกษตรกรขายได้1/ (บาท/กก.) 57.81 70.39 94.22 104.79 103.00 16.80
ราคาส่งออก2/
โคมีชีวิต (บาท/ตัว) 8,063.37 6,637.48 7,223.28 8,568.18 4,127.64 -10.27
เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 101.63 84.20 109.88 102.82 173.91 13.59
ราคาน�ำเข้า2/
โคมีชีวิต (บาท/ตัว) 4,251.69 3,796.43 14,105.56 14,259.47 15,638.30 48.12
เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (บาท/กก.) 148.91 116.87 162.39 213.93 209.78 13.77
หมายเหตุ: การส่งออกโคมีชีวิต ปี 2559 ไปยัง สปป.ลาว มีตัวเลขมูลค่าส่งออกผิดปกติ ซึ่งท�ำให้ราคาโคเนื้อที่ส่งออก
ต�่ำกว่าปกติ โดยมีราคาเฉลี่ย ตัวละ 4,292 บาท
ที่มา: 1/ ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
จากการค�ำนวณข้อมูลในตารางที่ 6

174
19
โคนม
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 จ�ำนวนโคนมในประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญของโลก มีอัตราเพิ่มร้อยละ 1.60 ต่อปี
โดยในปี 2559 มีจ�ำนวนโคนมรวม 141.71 ล้านตัว เพิ่มขึ้นจาก 139.58 ล้านตัว ของปี 2558 ร้อยละ 1.53
ประเทศที่มีการเลี้ยงโคนมมากที่สุด คือ ประเทศอินเดีย มีจ�ำนวนโคนมรวม 54.50 ล้านตัว รองลงมาได้แก่
สหภาพยุโรป 23.62 ล้านตัว และบราซิล 17.68 ล้านตัว
ปี 2555 - 2559 ผลผลิตน�้ำนมดิบในประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ มีอัตราเพิ่มร้อยละ 2.12 ต่อปี โดย
ผลผลิตน�้ำนมดิบในปี 2559 มีปริมาณรวม 499.81 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 493.69 ล้านตัน ของปี 2558 ร้อยละ
1.24 ประเทศที่มีผลผลิตน�้ำนมดิบมากที่สุด คือ สหภาพยุโรป มีผลผลิตน�้ำนมดิบรวม 151.60 ล้านตัน รองลงมา
ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 96.34 ล้านตัน และอินเดีย 68.00 ล้านตัน
ปี 2555 - 2559 ปริมาณการผลิตนมผงขาดมันเนยในประเทศผู้ผลิตที่ส�ำคัญ มีอัตราเพิ่มร้อยละ
4.92 ต่อปี โดยในปี 2559 มีปริมาณรวม 4.79 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.71 ล้านตัน ของปี 2558 ร้อยละ
1.70 ประเทศที่ผลิตนมผงขาดมันเนยมากที่สุด คือ สหภาพยุโรป มีปริมาณรวม 1.80 ล้านตัน รองลงมา
ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 1.05 ล้านตัน และอินเดีย 0.54 ล้านตัน
1.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค ปี 2555 - 2559 ความต้องการบริโภคน�้ำนมของประเทศต่าง ๆ
โดยรวมมีอัตราเพิ่มร้อยละ 1.60 ต่อปี ในปี 2559 มีความต้องการบริโภค 182.29 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 180.14
ล้านตัน ของปี 2558 ร้อยละ 1.19 อินเดียเป็นประเทศที่บริโภคน�้ำนมสูงที่สุด คือ 62.75 ล้านตัน รองลงมาได้แก่
สหภาพยุโรป 34.00 ล้านตัน และสหรัฐอเมริกา 26.52 ล้านตัน
ความต้องการบริโภคนมผงขาดมันเนยในช่วงปี 2555 - 2559 มีอัตราเพิ่มร้อยละ 2.67 ต่อปี
ในปี 2559 มีการบริโภครวม 3.78 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2558 เล็กน้อย ประเทศที่มีการบริโภคสูงสุด คือ
สหภาพยุโรป มีปริมาณการบริโภค 0.90 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ อินเดีย 0.54 ล้านตัน และสหรัฐอเมริกา
0.51 ล้านตัน
(2) การส่งออก นมผงขาดมันเนยเป็นผลิตภัณฑ์นมส่งออกที่ส�ำคัญ ในช่วงปี 2555 - 2559
การส่งออกนมผงขาดมันเนยของประเทศที่ส�ำคัญมีอัตราเพิ่มร้อยละ 4.79 ต่อปี ในปี 2559 มีการส่งออกรวม
1.99 ล้านตัน ลดลงจาก 2.06 ล้านตัน ของปี 2558 ร้อยละ 3.40 ประเทศที่ส่งออกนมผงขาดมันเนยมากที่สุด
คือ สหภาพยุโรป ส่งออกปริมาณ 0.65 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ สหรัฐอเมริกา 0.54 ล้านตัน และนิวซีแลนด์
0.42 ล้านตัน
(3) การน�ำเข้า ในช่วงปี 2555 - 2559 การน�ำเข้านมผงขาดมันเนยของประเทศที่ส�ำคัญ มีอัตรา
เพิ่มร้อยละ 2.12 ต่อปี โดยในปี 2559 มีปริมาณน�ำเข้ารวม 1.17 ล้านตัน ลดลงจาก 1.18 ล้านตัน ของปี 2558
ร้อยละ 0.85 ประเทศที่น�ำเข้ามากที่สุด คือ ประเทศเม็กซิโก น�ำเข้าปริมาณ 0.27 ล้านตัน รองลงมาได้แก่ จีน
และอินโดนีเซีย 0.21 ล้านตัน
175
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ปี 2555 - 2559 จ�ำนวนโคนมทั้งหมดมีอัตราเพิ่มร้อยละ 1.79 ต่อปี โดยในปี 2559 (ณ วันที่
1 มกราคม) มีจ�ำนวน 616,420 ตัว เพิ่มขึ้นจากปี 2558 ซึ่งมีจ�ำนวน 608,367 ตัว ร้อยละ 1.32 และจ�ำนวน
แม่โครีดนมมีอัตราเพิ่มร้อยละ 0.38 ต่อปี โดยในปี 2559 มีแม่โครีดนม 236,200 ตัว เพิ่มขึ้นจาก 232,115 ตัว
ของปี 2558 ร้อยละ 1.76 ส่วนผลผลิตน�้ำนมดิบในช่วงปี 2555-2559 มีอัตราเพิ่มร้อยละ 1.58 ต่อปี โดยปี 2559
มีผลผลิต 1,111,247 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,084,162 ตัน ของปี 2558 ร้อยละ 2.50 เนื่องจากลูกโคนมเกิดใหม่
ในรอบปี และจ�ำนวนแม่โครีดนมเฉลี่ยในรอบปีมีจ�ำนวนเพิ่มขึ้นจากแม่โคสาวที่เข้ามาทดแทน รวมถึงการก�ำหนด
มาตรฐานการรับซื้อน�้ำนมโค ปี 2558 มีการปรับเพิ่มราคารับซื้อน�้ำนมดิบหน้าโรงงานตามคุณภาพน�้ำนมโค
จึงจูงใจให้เกษตรกรมีการพัฒนาการเลี้ยงโคนมโดยการบริหารจัดการฟาร์มที่เป็นระบบตามมาตรฐานฟาร์มที่ดี
และมีประสิทธิภาพในการเลี้ยง ท�ำให้มีอัตราการให้น�้ำนมสูงขึ้นและน�้ำนมดิบมีคุณภาพดีขึ้น
1.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค ปี 2555 - 2559 ความต้องการบริโภคนมพร้อมดื่มมีอัตราเพิ่ม
ร้อยละ 1.67 ต่อปี โดยในปี 2559 มีปริมาณการบริโภค 1,077,910 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,046,216 ตัน ของปี 2558
ร้อยละ 3.03
(2) การส่งออกผลิตภัณฑ์นม ไทยมีการส่งออกผลิตภัณฑ์นมหลายชนิด แต่ส่วนใหญ่ได้จาก
การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์นมเพื่อมาใช้ผลิตผลิตภัณฑ์นมประเภทอื่น ๆ แล้วส่งออก สินค้าส่งออกส่วนมากมีสภาพ
เป็นครีมหรือนมผงในรูปของเหลวหรือข้นเติมน�้ำตาล เนยที่ได้จากนม นมผงขาดมันเนย นมข้นหวาน นมเปรี้ยว
โยเกิร์ต เป็นต้น และเป็นการส่งออกไปยังประเทศใกล้เคียง เช่น กัมพูชา สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ สปป.ลาว และ
เมียนมาร์ โดยในปี 2559 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์นมทั้งหมด 163,804 ตัน มูลค่า 6,995 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก
ปี 2558 ที่ส่งออก 149,754 ตัน มูลค่า 6,591 ล้านบาท ร้อยละ 9.38 และร้อยละ 6.14 ตามล�ำดับ
(3) การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์นม ไทยน�ำเข้านมและผลิตภัณฑ์นมต่าง ๆ ในแต่ละปีเป็นจ�ำนวนมาก
นมผงขาดมันเนยเป็นผลิตภัณฑ์นมน�ำเข้าที่ส�ำคัญ และยังคงมีสัดส่วนการน�ำเข้าสูงกว่าผลิตภัณฑ์นมน�ำเข้าอื่น ๆ
เพราะสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น ผลิตนมพร้อมดื่ม นมข้น ขนมปัง ไอศกรีม โยเกิร์ต
นมข้นหวาน ลูกกวาด และช็อกโกแลต เป็นต้น ในปี 2559 มีการน�ำเข้าผลิตภัณฑ์นมทั้งหมด 231,002 ตัน มูลค่า
16,473 ล้านบาท เป็นนมผงขาดมันเนย 54,693 ตัน มูลค่า 4,009 ล้านบาท โดยน�ำเข้าผลิตภัณฑ์นมทั้งหมด
เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2558 ซึ่งน�ำเข้า 243,344 ตัน มูลค่า 19,814 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 5.07 และร้อยละ
16.86 ตามล�ำดับ เนือ่ งจากปริมาณน�ำ้ นมดิบในประเทศมีจำ� นวนเพียงพอ ท�ำให้ปริมาณการน�ำเข้าลดลง ด้านมูลค่า
น�ำเข้าที่ลดลงมากกว่าปริมาณเนื่องจากราคานมและผลิตภัณฑ์นมในตลาดโลกปรับตัวลดลงด้วย
(4) ราคา ในปี 2559 ราคาน�้ำนมดิบที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.01 บาท เพิ่มขึ้นจาก
17.74 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 1.52 เนื่องจากเกษตรกรมีการปรับปรุงคุณภาพน�้ำนมดิบให้ดีขึ้น เป็นผลจาก
การก�ำหนดมาตรฐานการรับซื้อน�้ำนมโค ปี 2558 มีการปรับเพิ่มราคารับซื้อน�้ำนมดิบหน้าโรงงานตามคุณภาพ
น�้ำนมโค

176
โคนม

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าจ�ำนวนโคนมและผลผลิตน�้ำนมของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากการขยายตัว
ตามธรรมชาติ การผลิตนมของสหภาพยุโรปเป็นอิสระจากข้อจ�ำกัดของโควตา และผลผลิตน�้ำนมของไอร์แลนด์
เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา ประกอบกับแรงจูงใจจากราคานมและผลิตภัณฑ์นม
ทีเ่ ริม่ ปรับตัวสูงขึน้ แม้วา่ การผลิตนมในประเทศออสเตรเลียจะมีแนวโน้มลดลง เนือ่ งจากสภาพอากาศทีไ่ ม่เอือ้ อ�ำนวย
และผลตอบแทนที่ลดลงในปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นผลจากราคานมที่ลดลงและค่าใช้จ่ายด้านอาหารที่เพิ่มขึ้น
2.1.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค ปี 2560 คาดว่าการบริโภคน�้ำนมและผลิตภัณฑ์นมของโลกจะเพิ่มขึ้น
เล็กน้อย เนื่องจากความต้องการน�ำเข้ามีแนวโน้มที่ดีขึ้น
(2) การส่งออก ปี 2560 คาดว่าการส่งออกนมผงขาดมันเนยของโลกจะใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา
หรือลดลงเล็กน้อย เนื่องจากสหภาพยุโรปซึ่งเป็นผู้ส่งออกหลักมีการส่งออกลดลงต่อเนื่อง ผลจากการที่รัสเซียยัง
ไม่อนุญาตให้มีการน�ำเข้าอาหารจากสหภาพยุโรป และการส่งออกของสหรัฐอเมริกาก็ลดลงเช่นเดียวกัน เพราะ
ต้องเผชิญกับการแข่งขันอย่างรุนแรงในตลาดเอเชีย
(3) การน�ำเข้า ปี 2560 คาดว่าการน�ำเข้านมผงขาดมันเนยของโลกจะใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมาหรือ
เพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากประเทศผู้น�ำเข้าหลักเริ่มมีการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปีที่ผ่านมา ได้แก่ ประเทศเม็กซิโก
จีน และฟิลิปปินส์
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าจ�ำนวนโคนมและผลผลิตน�ำ้ นมดิบมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ จากการขยายตัวตามธรรมชาติ
ของฝูงโค อีกทั้งการเลี้ยงโคนมในปัจจุบันมีการบริหารจัดการฟาร์มที่เป็นระบบตามมาตรฐานฟาร์มที่ดีและ
มีประสิทธิภาพในการเลี้ยงมากขึ้น ส่งผลให้น�้ำนมดิบมีปริมาณเพิ่มขึ้นและมีคุณภาพดีขึ้น ประกอบกับมีการ
ประกาศใช้มาตรฐานการรับซื้อน�้ำนมโค ณ ศูนย์รวบรวมน�้ำนมดิบ ควบคู่กับประกาศราคากลางรับซื้อน�้ำนมโค
ณ ศูนย์รวบรวมน�้ำนมดิบ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นมา ก็เป็นอีกแรงจูงใจหนึ่ง โดย
ในปี 2560 คาดว่ามีจ�ำนวนโคนมทั้งหมด (ณ วันที่ 1 มกราคม) 626,216 ตัว เพิ่มขึ้นจาก 616,420 ตัว ของปี
2559 ร้อยละ 1.57 และมีจ�ำนวนแม่โครีดนม 241,824 ตัว เพิ่มขึ้นจาก 236,200 ตัว ของปี 2559 ร้อยละ 2.38
ส่วนผลผลิตน�้ำนมดิบในปี 2560 คาดว่ามีปริมาณ 1,126,513 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,111,247 ตัน ของปี 2559
ร้อยละ 1.37
2.2.2 การตลาด
(1) ความต้องการบริโภค ปี 2560 คาดว่าความต้องการบริโภคนมพร้อมดื่มจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
เนื่องจากตลาดนมโรงเรียนซึ่งเป็นตลาดหลักมีปริมาณคงที่ และการบริโภคนมในตลาดนมพาณิชย์เพิ่มขึ้น
เพียงเล็กน้อย โดยในปี 2560 คาดว่ามีปริมาณการบริโภค 1,087,085 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,077,910 ตัน
ของปี 2559 ร้อยละ 0.85
177
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(2) การส่งออก-การน�ำเข้า ปี 2560 คาดว่าการส่งออก - น�ำเข้าจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจาก


ผู้ประกอบการในตลาดนมพาณิชย์มีการขยายการผลิตเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับปริมาณผลผลิตน�้ำนมดิบที่มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
(3) ราคา ปี 2560 คาดว่าราคาน�้ำนมดิบที่เกษตรกรขายได้จะเพิ่มขึ้นจากปี 2559 เนื่องจากมีการ
ประกาศใช้มาตรฐานการรับซื้อน�้ำนมโค ณ ศูนย์รวบรวมน�้ำนมดิบ ควบคู่กับประกาศราคากลางรับซื้อน�้ำนมโค
ณ ศูนย์รวบรวมน�้ำนมดิบ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นมา ซึ่งเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกร
มีการปรับปรุงคุณภาพน�้ำนมดิบให้ดีขึ้น
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต
2.3.1 ภาวะภัยแล้ง และการขาดแคลนน�้ำเพื่อการเกษตร มีผลกระทบท�ำให้ผลผลิตพืชอาหารสัตว์ได้รับ
ความเสียหายและอาจเกิดการขาดแคลน ซึ่งจะส่งผลให้ราคาอาหารสัตว์ปรับตัวสูงขึ้น อีกทั้งคุณภาพอาหารหยาบ
ที่ได้ยังไม่เหมาะสมส�ำหรับการเลี้ยงโคนม เกษตรกรอาจต้องมีการปรับสูตรอาหารเพื่อรักษาระดับผลผลิต ซึ่งจะ
ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตน�้ำนมโคของเกษตรกรเพิ่มขึ้น
2.3.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ท�ำให้มชี ว่ งอากาศเย็นยาวนานในปี 2559 ส่งผลให้ผลผลิตน�ำ้ นมดิบ
ของเกษตรกรเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก จึงมีการคาดการณ์ว่าในปี 2560 ผลผลิตน�้ำนมดิบจะเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน
ส่งผลให้ในปัจจุบันเกิดปัญหาน�้ำนมดิบไม่มีแหล่งรับซื้อ เนื่องจากตลาดนมโรงเรียนมีปริมาณจ�ำกัด ในขณะที่
ปริมาณน�้ำนมดิบเพิ่มขึ้น ท�ำให้ภาระไปตกหนักอยู่ที่ผู้ประกอบการนมพาณิชย์ที่ต้องช่วยรับซื้อ จึงควรก�ำหนด
แนวทางและมาตรการแก้ไขปัญหาผลผลิตน�้ำนมดิบของเกษตรกรที่เพิ่มขึ้น
2.3.3 ปัญหาด้านโรคต่าง ๆ เช่น ปัญหาเต้านมอักเสบ ท�ำให้คุณภาพน�้ำนมดิบต�่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
ซึ่งจะส่งผลต่อราคาน�้ำนมดิบที่เกษตรกรได้รับ และโรคปากและเท้าเปื่อยซึ่งยังพบการระบาดอยู่เป็นระยะ ๆ
แม้จะมีมาตรการเพื่อควบคุมและป้องกัน แต่ก็ยังไม่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดโรคในฟาร์มเกษตรกรได้ทั้งหมด
2.3.4 การประกาศใช้มาตรฐานการรับซือ้ น�ำ้ นมโค ณ ศูนย์รวบรวมน�ำ้ นมดิบ ควบคูก่ บั ประกาศราคากลาง
รับซื้อน�้ำนมโค ณ ศูนย์รวบรวมน�้ำนมดิบ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นมา และราคา
รับซื้อน�้ำนมดิบที่ปรับเพิ่มขึ้นตามคุณภาพน�้ำนมดิบ จูงใจให้เกษตรกรมีการปรับปรุงการบริหารจัดการฟาร์ม
เพื่อเพิ่มคุณภาพของน�้ำนมให้ดีขึ้น
ตารางที่ 1 จ�ำนวนโคนมในประเทศที่ส�ำคัญของโลก ปี 2555 - 2559
หน่วย: ล้านตัว
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 1/
2559 2/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
อินเดีย 46.40 48.25 50.50 52.50 54.50 4.15
สหภาพยุโรป 23.05 23.19 23.47 23.56 23.62 0.65
บราซิล 16.46 16.60 16.83 17.33 17.68 1.88
สหรัฐอเมริกา 9.24 9.22 9.26 9.32 9.32 0.28
จีน 8.00 8.35 8.40 8.40 8.50 1.28
รัสเซีย 8.60 8.25 8.05 7.75 7.55 -3.18
อื่น ๆ 21.31 21.18 21.10 20.72 20.54 -0.95
รวม 133.06 135.04 137.61 139.58 141.71 1.60
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Dairy, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, July 2016
178
โคนม

ตารางที่ 2 ปริมาณผลผลิตน�้ำนมดิบในประเทศที่ส�ำคัญของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัว
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 1/
25592/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
สหภาพยุโรป 139.00 140.10 146.50 149.60 151.60 2.42
สหรัฐอเมริกา 91.01 91.28 93.49 94.62 96.34 1.51
อินเดีย 55.50 57.50 60.50 64.00 68.00 5.27
จีน 32.60 34.30 37.25 37.55 38.00 4.05
รัสเซีย 31.83 30.53 30.50 30.55 30.09 -1.11
บราซิล 23.01 24.26 25.49 26.30 27.10 4.16
อื่น ๆ 89.90 88.65 90.60 91.07 88.68 -0.004
รวม 462.85 466.62 484.33 493.69 499.81 2.12
หมายเหตุ: ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
1/

ที่มา: Dairy, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, July 2016
ตารางที่ 3 ปริมาณการผลิตนมผงขาดมันเนยในประเทศที่ส�ำคัญของโลก ปี 2555 – 2559
หน่วย: ล้านตัว
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 1/
25592/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
สหภาพยุโรป 1.270 1.250 1.550 1.710 1.800 10.64
สหรัฐอเมริกา 0.973 0.956 1.047 1.029 1.045 2.19
อินเดีย 0.450 0.490 0.520 0.540 0.540 4.73
นิวซีแลนด์ 0.404 0.404 0.415 0.390 0.380 -1.57
ออสเตรเลีย 0.235 0.215 0.205 0.266 0.260 4.24
บราซิล 0.141 0.151 0.154 0.157 0.160 2.96
อื่น ๆ 0.586 0.585 0.621 0.620 0.601 1.09
รวม 4.059 4.051 4.512 4.712 4.786 4.92
หมายเหตุ: ข้อมูลเบื้องต้น คาดคะเน
1/ 2/

ที่มา: Dairy, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, July 2016
ตารางที่ 4 ปริมาณการบริโภคน�้ำนมในประเทศที่ส�ำคัญของโลก ปี 2555 – 2559
หน่วย: ล้านตัว
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 1/
25592/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
อินเดีย 52.00 54.40 57.00 59.75 62.75 4.81
สหภาพยุโรป 33.80 33.80 34.07 34.00 34.00 0.18
สหรัฐอเมริกา 27.74 27.33 27.06 26.79 26.52 -1.09
จีน 13.52 14.35 15.15 15.36 15.57 3.57
บราซิล 8.56 9.04 9.66 9.90 10.10 4.31
รัสเซีย 11.00 10.15 9.86 9.50 9.19 -4.17
อื่น ๆ 24.97 24.45 24.69 24.84 24.16 -0.50
รวม 171.59 173.52 177.49 180.14 182.29 1.60
หมายเหตุ: ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
1/

ที่มา: Dairy, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, July 2016 179
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 5 ปริมาณการบริโภคนมผงขาดมันเนยในประเทศที่ส�ำคัญของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 25581/
25592/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
สหภาพยุโรป 0.802 0.848 0.889 0.982 0.900 3.85
อินเดีย 0.425 0.400 0.446 0.492 0.539 7.06
สหรัฐอเมริกา 0.523 0.424 0.458 0.487 0.505 0.69
เม็กซิโก 0.291 0.253 0.258 0.314 0.320 4.14
จีน 0.225 0.289 0.300 0.244 0.250 0.42
อินโดนีเซีย 0.205 0.222 0.215 0.204 0.205 -0.84
อื่น ๆ 0.978 1.052 1.038 1.055 1.062 1.69
รวม 3.449 3.488 3.604 3.778 3.781 2.67
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Dairy, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, July 2016

ตารางที่ 6 ปริมาณการส่งออกนมผงขาดมันเนยในประเทศที่ส�ำคัญของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559
1/ 2/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
สหภาพยุโรป 0.520 0.407 0.646 0.686 0.650 10.17
สหรัฐอเมริกา 0.444 0.555 0.544 0.560 0.544 4.24
นิวซีแลนด์ 0.390 0.392 0.383 0.411 0.415 1.73
ออสเตรเลีย 0.168 0.119 0.164 0.201 0.190 8.01
เบลารุส 0.076 0.096 0.092 0.111 0.105 8.24
ยูเครน 0.026 0.012 0.028 0.030 0.030 12.78
อื่น ๆ 0.078 0.178 0.109 0.060 0.054 -16.66
รวม 1.702 1.759 1.966 2.059 1.988 4.79
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Dairy, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, July 2016

180
โคนม

ตารางที่ 7 ปริมาณการน�ำเข้านมผงขาดมันเนยในประเทศที่ส�ำคัญของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 1/
2559 2/
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
เม็กซิโก 0.236 0.198 0.203 0.259 0.265 5.13
จีน 0.168 0.235 0.253 0.200 0.210 2.89
อินโดนีเซีย 0.205 0.225 0.215 0.205 0.205 -0.93
อัลจีเรีย 0.112 0.120 0.168 0.140 0.135 5.42
รัสเซีย 0.096 0.131 0.103 0.110 0.110 0.98
ฟิลิปปินส์ 0.106 0.113 0.095 0.100 0.110 -0.48
อื่น ๆ 0.148 0.126 0.141 0.166 0.138 1.37
รวม 1.071 1.148 1.178 1.180 1.173 2.12
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: Dairy, World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, July 2016

ตารางที่ 8 จ�ำนวนโคนมและผลผลิตน�้ำนมดิบของไทย ปี 2555 – 2560


หน่วย: ล้านตัน
รายการ 2555 2556 2557 2558 25591/ อัตราเพิ่ม 25602/
(ร้อยละ)
โคนมทั้งหมด ณ 1 ม.ค. (ตัว) 573,048 589,779 605,017 608,367 616,420 1.79 626,216
แม่โครีดนม ณ 1 ม.ค. (ตัว) 229,041 237,730 230,064 232,115 236,200 0.38 241,824
ผลผลิตน�้ำนมดิบ (ตัน) 1,022,190 1,095,314 1,067,338 1,084,162 1,111,247 1.58 1,126,513
การบริโภคนมพร้อมดื่ม (ตัน) 990,836 1,047,550 1,025,181 1,046,216 1,077,910 1.67 1,087,085
หมายเหตุ: 1/ ข้อมูลเบื้องต้น 2/ คาดคะเน
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 9 ต้นทุนการผลิตน�้ำนมดิบ และราคา ปี 2555 – 2559


ราคา ราคา อัตราการให้นม
ต้นทุนน�้ำนมดิบ ราคาอาหารข้น
ปี เกษตรกรขายได้ หน้าโรงงาน ของแม่โค
(บาท/กก.) (บาท/กก.)
(บาท/กก.) (บาท/กก.) (กก./ตัว/วัน)
2555 14.47 16.61 18.00 9.81 12.23
2556 15.34 16.92 18.00 10.00 12.62
25571/ 15.62 16.91 18.00/19.00 10.36 12.71
2558 14.17 17.74 19.00 11.42 12.80
25592/ 14.66 18.01 19.00 11.62 12.89
หมายเหตุ: 1/ มีการปรับราคากลางรับซื้อน�้ำนมหน้าโรงงานระหว่างปี 2/ ประมาณการ
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
181
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 10 ปริมาณและมูลค่านมและผลิตภัณฑ์นมส่งออกของไทย ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
นมผงขาดมันเนย นมและผลิตภัณฑ์นม รวม
ปี
ตัน พันบาท ตัน พันบาท ตัน พันบาท
2555 914 108,762 96,668 4,654,752 97,582 4,763,514
2556 695 113,385 116,893 5,429,212 117,588 5,542,597
2557 791 116,927 130,689 5,740,105 131,480 5,857,032
2558 1,884 134,451 147,870 6,456,358 149,754 6,590,809
25591/ 8,756 441,212 155,048 6,554,020 163,804 6,995,232
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 73.61 34.60 12.52 8.96 13.63 9.88
หมายเหตุ: 1/ ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

ตารางที่ 11 ปริมาณและมูลค่านมและผลิตภัณฑ์นมน�ำเข้าของไทย ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
นมผงขาดมันเนย นมและผลิตภัณฑ์นม รวม
ปี
ตัน พันบาท ตัน พันบาท ตัน พันบาท
2555 62,708 6,140,731 163,804 12,689,459 226,512 18,830,190
2556 59,819 7,552,436 128,615 12,256,964 188,434 19,809,400
2557 62,526 8,815,525 150,845 17,121,088 213,371 25,936,613
2558 82,449 7,023,487 160,895 12,790,870 243,344 19,814,357
25591/ 54,693 4,008,916 176,309 12,463,868 231,002 16,472,784
อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 0.48 -8.84 3.78 0.07 2.99 -2.64
หมายเหตุ: 1/ ประมาณการ
ที่มา: กรมศุลกากร

182
20
กุ้ง
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) ผลผลิตกุ้งทะเลจากการเพาะเลี้ยงของโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ในอัตราร้อยละ 2.58 ต่อปี โดยผลผลิตส่วนใหญ่มาจากประเทศในแถบเอเชีย ส�ำหรับปี 2559 ประมาณการว่า
จะมีปริมาณผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยงของโลกรวม 2.11 ล้านตัน ลดลงจาก 2.14 ล้านตัน ของปีที่ผ่านมา
ร้อยละ 1.40 เนื่องจากประเทศผู้ผลิตหลัก ได้แก่ อินเดียประสบปัญหาจากโรคไมโครสปอริเดียน ส่วนเวียดนาม
และจีนยังประสบปัญหาโรคตายด่วน ขณะที่ประเทศอินโดนีเซียและไทยมีผลผลิตเพิ่มขึ้น แม้ไทยยังประสบปัญหา
โรคตายด่วนแต่มีการจัดการระบบการเลี้ยงได้ดีขึ้น
1.1.2 การตลาด
(1) การส่งออก
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) ปริมาณการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ในตลาดโลก
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่าในอัตราร้อยละ 1.00 และร้อยละ 3.61 ต่อปี ตามล�ำดับ ส�ำหรับปี 2559
การส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ในตลาดโลกมีปริมาณทั้งสิ้น 2.32 ล้านตัน มูลค่า 17,438.39 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2558 ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.00 และร้อยละ 3.61 ตามล�ำดับ เนื่องจาก
แนวโน้มผูบ้ ริโภคในตลาดหลักยังมีความต้องการอย่างต่อเนือ่ ง โดยประเทศผูส้ ง่ ออกกุง้ ปริมาณมากเป็นอันดับหนึง่
ของโลก คือ เอกวาดอร์ รองลงมาได้แก่ อินเดีย และไทย อย่างไรก็ตาม อินเดียและไทยยังคงเผชิญกับปัญหาเรื่อง
โรค ท�ำให้แนวโน้มของปริมาณการส่งออกกุ้งในตลาดโลกลดลงอย่างต่อเนื่อง ในอัตราร้อยละ 8.62 ต่อปี และ
ร้อยละ 10.68 ต่อปี ตามล�ำดับ ขณะที่เอกวาดอร์ไม่ได้มีปัญหาด้านโรคท�ำให้มีความสามารถในการแข่งขัน
มากขึ้นจะเห็นได้จากแนวโน้มปริมาณการส่งออกกุ้งในตลาดโลกเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 7.80 ต่อปี อย่างไรก็ตาม
ในปี 2559 ไทยมีส่วนแบ่งตลาดดีขึ้นจากปีที่ผ่านมา โดยอยู่ที่อันดับ 3 ของโลก รองจากเอกวาดอร์ และอินเดีย
(2) การน�ำเข้า
กลุ่มประเทศและประเทศที่น�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ที่ส�ำคัญของโลก ได้แก่
1) สหรัฐอเมริกา การน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์กุ้งของสหรัฐอเมริกาในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา
(2555 - 2559) มีแนวโน้มการน�ำเข้าเพิ่มขึ้นทั้งปริมาณและมูลค่าในอัตราร้อยละ 5.30 และร้อยละ 6.05 ต่อปี
ตามล�ำดับ เนื่องจากเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาเริ่มฟื้นตัวดีขึ้น ท�ำให้มีก�ำลังซื้อมากขึ้น ในปี 2559 มีการน�ำเข้ากุ้ง
และผลิตภัณฑ์ปริมาณ 645 พันตัน มูลค่า 5,911.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มจากปริมาณ 587 พันตัน มูลค่า
5,454.71 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ของปี 2558 ร้อยละ 9.88 และร้อยละ 8.37 ตามล�ำดับ โดยในปี 2559 สหรัฐอเมริกา
มีการน�ำเข้ากุ้งมากขึ้นเนื่องจากมีการเลือกตั้งประธานาธิบดีและมีการหาเสียงตลอดทั้งปี ท�ำให้มีความต้องการใช้
กุ้งในการจัดงานต่าง ๆ มากขึ้น โดยน�ำเข้าจากอินเดียมากเป็นอันดับหนึ่งมีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 22.32 ของ
ปริมาณการน�ำเข้ากุ้งทั้งหมดของสหรัฐฯ รองลงมาได้แก่ อินโดนีเซียมีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 18.45 และไทย
มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 14.57

183
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

2) สหภาพยุโรป ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) การน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ ของ


สหภาพยุโรป 28 ประเทศ (ไม่นับรวมการค้าระหว่างกันในสหภาพยุโรป) ปริมาณและมูลค่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นใน
อัตราร้อยละ 2.17 ต่อปี และร้อยละ 3.58 ต่อปี ตามล�ำดับ เนื่องจากความต้องการบริโภคกุ้งยังมีต่อเนื่อง
แม้สภาพเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปยังไม่ฟื้นตัวดี ในปี 2559 การน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของสหภาพยุโรป
มีปริมาณ 591 พันตัน มูลค่า 4,686.89 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจาก 563 พันตัน มูลค่า 4,560.94 ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ ของปี 2558 ร้อยละ 4.97 และร้อยละ 2.76 ตามล�ำดับ โดยน�ำเข้าจากเอกวาดอร์มากที่สุดคิดเป็น
ร้อยละ 16.58 ของปริมาณน�ำเข้าทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อินเดีย ร้อยละ 13.36 เวียดนามและกรีนแลนด์เท่ากัน
ร้อยละ 9.13 ส�ำหรับไทยมีส่วนแบ่งตลาดในสหภาพยุโรปเพียงร้อยละ 1.35
3) ญี่ปุ่น ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) ปริมาณการน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของญี่ปุ่น
มีแนวโน้มลดลงทั้งปริมาณและมูลค่าในอัตราร้อยละ 6.28 และร้อยละ 7.07 ต่อปี ตามล�ำดับ ส�ำหรับ ปี 2559
แม้เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคงชะลอตัว แต่มีการน�ำเข้าสินค้ากุ้งเพิ่มขึ้น โดยน�ำเข้าปริมาณ 224 พันตัน มูลค่า 2,346.95
ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 214 พันตัน มูลค่า 2,273.47 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ของปี 2558 ร้อยละ
4.67 และร้อยละ 3.23 ตามล�ำดับ โดยยังคงน�ำเข้าจากเวียดนามมากเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 21.87
ของปริมาณการน�ำเข้ากุ้งทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อินเดีย ไทย และอินโดนีเซีย โดยมีสัดส่วนของปริมาณ
การน�ำเข้าคิดเป็นร้อยละ 18.30 ร้อยละ 16.07 และร้อยละ 13.39 ตามล�ำดับ
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
ผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยงของไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) มีแนวโน้มลดลง
ร้อยละ 10.74 ต่อปี ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ผลผลิตกุ้งของไทยประสบปัญหาโรคกุ้งตายด่วนหรือ EMS ท�ำให้
ผลผลิตกุ้งลดลงจากภาวะปกติอย่างมาก ภาครัฐโดยกรมประมงร่วมกับภาคเอกชนสามารถแก้ไขปัญหาและ
ควบคุมการระบาดของโรค EMS ได้ดีขึ้น และสถานการณ์การเลี้ยงค่อย ๆ ฟื้นตัว ปี 2559 มีปริมาณผลผลิตกุ้ง
300,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 260,000 ตัน ในปี 2558 ร้อยละ 15.38 และมีเกษตรกรบางส่วนปรับตัวในการเลี้ยง
ได้ดีขึ้นโดยมีการน�ำเทคนิคการเลี้ยงใหม่ ๆ มาปรับใช้ท�ำให้ผลผลกุ้งโดยรวมเพิ่มขึ้น ส�ำหรับภาพรวมของ
ประเทศไทยมีสัดส่วนการเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมร้อยละ 96 และสัดส่วน การเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำร้อยละ 4 ของผลผลิต
กุ้งทะเลจากการเพาะเลี้ยงทั้งหมด
1.2.2 การตลาด
(1) การบริโภค
จากการที่ผลผลิตกุ้งไทยลดลงอย่างมากนับจากปี 2556 และต่อเนื่องมาถึงปี 2559 ในขณะที่
ความต้องการกุ้งเป็นวัตถุดิบเพื่อแปรรูปส่งออกสูงขึ้น ท�ำให้ราคากุ้งทุกขนาดยังอยู่ในระดับสูง ขณะที่เศรษฐกิจ
ภายในประเทศยังซบเซา ท�ำให้ความต้องการบริโภคกุ้งยังอยู่ในระดับเดิมคือ ร้อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมด และ
ร้อยละ 90 ใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปสินค้ากุ้งเพื่อการส่งออก
(2) การส่งออก
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) แนวโน้มการส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทยลดลงทั้ง
ปริมาณและมูลค่าในอัตราร้อยละ 10.68 และร้อยละ 7.00 ต่อปี ตามล�ำดับ โดยเป็นการส่งออกกุ้งแช่เย็นแช่แข็ง
184
กุ้ง

และผลิตภัณฑ์กุ้งแปรรูปประเภทต่าง ๆ ปี 2559 การส่งออกกุ้งและผลิตภัณฑ์ของไทยมีปริมาณ 221 พันตัน


มูลค่า 73,115.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 170 พันตัน มูลค่า 57,106.54 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 30.00
และร้อยละ 28.03 ตามล�ำดับ เป็นการส่งออกกุ้งแช่เย็นแช่แข็งปริมาณ 135 พันตัน มูลค่า 40,307.07 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจาก 83 พันตัน มูลค่า 24,062.19 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 62.65 และร้อยละ 67.51 ตามล�ำดับ
ส�ำหรับการส่งออกกุ้งแปรรูปในปี 2559 มีปริมาณ 86 พันตัน ลดลงจาก 87 พันตัน ของปี 2558 ร้อยละ 1.15
แต่มีมูลค่า 32,808.26 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 32,044.35 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 2.38 การที่มูลค่า
การส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากคู่แข่งมีผลผลิตลดลงจากปัญหาเรื่องโรคท�ำให้ราคาส่งออกของไทยปรับตัวสูงขึ้น โดย
ตลาดส่งออกหลักของไทย คือ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม และสหภาพยุโรป ขณะนี้ผู้ส่งออกพยายามแสวงหา
ช่องทางการจ�ำหน่ายในตลาดใหม่ ๆ เช่น ประเทศในแถบตะวันออกกลาง และตลาดอาเซียน โดยเวียดนามมี
การน�ำเข้ากุ้งจากไทยมากขึ้นถึง 29,445 ตัน มูลค่า 7,897.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 6,558 ตัน มูลค่า 1,969
ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 348.99 และร้อยละ 301.01 ตามล�ำดับ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปอาหาร
เพื่อการส่งออกให้ได้ตามเป้าหมาย ตามที่ก�ำหนดไว้ในแผนพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเพื่อการส่งออกของ
เวียดนาม เนือ่ งจากผลผลิตกุง้ ของเวียดนามลดลงจากปัญหาการระบาดของโรคตายด่วน (EMS) และปัญหาภัยแล้ง
รุนแรงในบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำโขงซึ่งเป็นแหล่งเลี้ยงส�ำคัญ
(3) การน�ำเข้า
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ากุ้งของไทยมีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 0.80 ต่อปี ร้อยละ 9.50 ต่อปี ในปี 2559 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์
มีปริมาณ 25 พันตัน ลดลงจาก 26 พันตัน ของปี 2558 ร้อยละ 3.85 แต่มีมูลค่าการน�ำเข้า 3,185.75 ล้านบาท
เพิ่มขึ้นจากมูลค่า 3,172.91 ล้านบาท ของปี 2558 ร้อยละ 0.40 โดยน�ำเข้ามาในรูปกุ้งแช่เย็นแช่แข็งและ
กุ้งแปรรูป คิดเป็นร้อยละ 97.62 และร้อยละ 2.38 ตามล�ำดับ ส่วนใหญ่น�ำเข้ากุ้งแช่เย็น แช่แข็งมาเป็นวัตถุดิบ
เพื่อแปรรูปส่งออก
(4) ราคา
1) ราคาที่เกษตรกรขายได้ ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) ราคากุ้งขาวแวนนาไม
ที่เกษตรกรขายได้ (ขนาด 70 ตัวต่อกิโลกรัม) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.15 ต่อปี ปี 2559 มีราคาเฉลี่ย
กิโลกรัมละ 180 บาท เพิ่มจากจากกิโลกรัมละ 179 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 0.56 และราคาเฉลี่ยของกุ้ง
ทุกขนาดเมื่อเทียบกับปี 2558 เพิ่มขึ้นทั้งหมด
2) ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) ราคาส่งออก กุ้งแช่เย็น
แช่แข็งและกุ้งแปรรูปในรูปเงินบาทมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 6.41 และร้อยละ 5.25 ต่อปี ตามล�ำดับ
ส่วนในรูปเงินเหรียญสหรัฐฯ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 2.65 และร้อยละ 1.52 ต่อปี ตามล�ำดับ ปี 2559
เมื่อเทียบกับปี 2558 ราคาส่งออกกุ้งแช่เย็นแช่แข็งในรูปเงินบาทลดลงร้อยละ 23.42 แต่ราคาส่งออกกุ้งแปรรูป
เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.57 ส่วนราคาส่งออกกุ้งแช่เย็นแช่แข็งในรูปเงินเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 25.56 แต่ราคา
ส่งออกกุ้งแปรรูปเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.68 ซึ่งเป็นไปตามราคาในตลาดโลก
3) ราคาน�ำเข้า ซี.ไอ.เอฟ. ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (2555 - 2559) ส่วนใหญ่ไทยน�ำเข้ากุ้งในรูป
กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง โดยราคาน�ำเข้ากุ้งแช่เย็นแช่แข็งในรูปเงินบาทมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 8.15 ต่อปี
185
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ส่วนราคาในรูปเงินเหรียญสหรัฐฯ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.33 ต่อปี ส�ำหรับปี 2559 เมื่อเทียบกับ


ปี 2558 ราคาน�ำเข้ากุ้งแช่เย็นแช่แข็งในรูปเงินบาทลดลงร้อยละ 0.15 ส่วนราคาน�ำเข้ากุ้งแช่เย็นแช่แข็งในรูป
เงินเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 2.98

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
2.1.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าปริมาณผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยงของโลกโดยรวมจะลดลงเมื่อเทียบกับปี 2559
จากการที่ประเทศผู้เลี้ยงหลักต่าง ๆ เช่น อินเดีย จีน เวียดนาม ยังคงประสบปัญหาการระบาดของโรคในช่วง
ปลายปี 2558 และคาดว่าจะเผชิญกับโรคต่อเนื่องในปี 2560 ส่วนประเทศในแถบอเมริกากลาง-ใต้มีผลผลิตกุ้ง
เพิ่มขึ้นเนื่องจากไม่ประสบปัญหาด้านโรค ขณะที่ไทยมีการปรับตัวและบริหารจัดการการเลี้ยงได้ดีขึ้นคาดว่า
ผลผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
2.1.2 การตลาด
ปี 2560 คาดว่าภาวะเศรษฐกิจโลกจะยังคงชะลอตัวต่อไป แม้ความต้องการบริโภคกุ้งจะมีอยู่
อย่างต่อเนื่อง แต่ผู้บริโภคต้องการสินค้ากุ้งที่มีราคาไม่สูงมากนัก ท�ำให้ผู้ค้าอาจจะไม่สามารถปรับราคาให้สูงขึ้น
เพือ่ รักษาตลาดของผูบ้ ริโภคหลักไว้ ภาวะการค้าสินค้ากุง้ ของโลกในปี 2560 คาดว่าจะไม่ขยายตัวจนกว่าเศรษฐกิจ
ของประเทศผู้น�ำเข้าหลักจะคืนสู่ภาวะปกติ
2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 คาดว่าผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยงของไทยจะมีปริมาณ 340,000 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ
13.33 เมื่อเทียบกับปี 2559 โดยภาครัฐได้พยายามแก้ไขปัญหาเรื่องโรคกุ้งมาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการพัฒนา
สายพันธุ์และการฝึกอบรมเพื่อให้ความรู้แก่เกษตรกรอย่างทั่วถึงมากขึ้น เช่น เทคนิคการเลี้ยงใหม่ ๆ การส่งเสริม
การปรับปรุงฟาร์มให้มีบ่อพักน�้ำและน�ำน�้ำหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ นอกจากนี้ยังมีการตรวจ คัดกรองโรคให้กับ
โรงเพาะฟักและเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยง เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกรในการกลับมา ท�ำการเลี้ยงกุ้ง
ตามปกติต่อไป
2.2.2 การตลาด
(1) การบริโภค คาดว่าความต้องการบริโภคในประเทศจะมีปริมาณใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา และ
จากการที่ภาครัฐใช้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยวิธีต่าง ๆ เพื่อเพิ่มอ�ำนาจซื้อให้แก่ประชาชน จึงคาดว่า
ความต้องการบริโภคกุ้งและผลิตภัณฑ์จะยังคงมีอย่างต่อเนื่อง
(2) การส่งออก การส่งออกกุ้งของไทยคาดว่าจะเพิ่มขึ้น จากการที่ประเทศคู่แข่งผลิตได้ลดลงจาก
ปัญหาโรคระบาด ท�ำให้ประเทศผูน้ ำ� เข้าหันมาน�ำเข้ากุง้ จากไทยเหมือนเดิม แต่ไทยยังคงต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ
ที่เป็นข้อกีดกันทางการค้าของประเทศผู้น�ำเข้า เกี่ยวกับมาตรฐานสินค้า การใช้แรงงานผิดกฎหมาย รวมทั้งปัญหา
ภาวะเศรษฐกิจของประเทศผู้น�ำเข้าส�ำคัญ เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น เป็นต้น
(3) การน�ำเข้า ส�ำหรับการน�ำเข้าปี 2560 คาดว่าไทยจะน�ำเข้ากุ้งในปริมาณที่ลดลง เมื่อเทียบกับ
ปีที่ผ่านมา เนื่องจากสถานการณ์การผลิตกุ้งของไทยเริ่มฟื้นตัวดีขึ้น
186
กุ้ง

(4) ราคา ราคากุ้งที่เกษตรกรขายได้ในปี 2560 คาดว่าจะปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสถานการณ์


ผลผลิตกุ้งของโลกที่ลดลง ท�ำให้ประเทศผู้น�ำเข้าหันมาน�ำเข้ากุ้งจากไทย ส่งผลให้ราคาในประเทศปรับตัวสูงขึ้นด้วย
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิต การตลาด และการส่งออก
2.3.1 การผลิต
การเพาะเลี้ยงยังคงมีปัญหาจากโรคตายด่วนในบางพื้นที่ แต่เกษตรกรเริ่มมีการปรับตัวและมีการ
จัดการฟาร์มเลี้ยงได้ดีขึ้น ท�ำให้สถานการณ์การผลิตกุ้งเริ่มฟื้นตัว และมีปริมาณผลผลิตกุ้งเพิ่มขึ้น เกษตรกรมั่นใจ
ในการลงกุ้งมากขึ้น อย่างไรก็ตาม เกษตรกรควรมีการปรับตัวเพื่อให้การเลี้ยงมีความยั่งยืน โดยการน�ำเทคนิควิธี
การเลี้ยงใหม่ ๆ มาใช้ในฟาร์ม เช่น การเลี้ยงแบบน�้ำโปร่ง การเลี้ยงแบบอิงระบบน�้ำหมุนเวียนธรรมชาติ โดยการ
ปรับปรุงฟาร์มเลี้ยงให้มีบ่อพักน�้ำ การน�ำน�้ำกลับมาใช้เพื่อให้การผลิตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2.3.2 การตลาด
การส่งออกกุ้งของไทยต้องเผชิญกับปัญหากีดกันทางการค้าทั้งในเรื่องที่ไทยถูกตัดสิทธิพิเศษทาง
ภาษีศุลกากร (GSP) และปัญหาการท�ำประมงที่ผิดกฎหมายขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU Fishing)
จากกลุ่มสหภาพยุโรป ท�ำให้การส่งออกของไทยลดลง หากไทยไม่สามารถแก้ปัญหาได้อาจท�ำให้ไทยสูญเสียตลาด
ในภูมิภาคนี้ให้กับคู่แข่งอื่น นอกจากนี้การส่งออกไปตลาดหลักอย่างสหรัฐอเมริกาอาจมีความท้าทายมากขึ้น
เนื่องจากประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนใหม่มีนโยบายกีดกันการค้าที่ชัดเจน ซึ่งอาจมีการออกมาตรการกีดกันทาง
การค้าที่เข้มงวดมากขึ้น เช่น การทุ่มตลาด (Anti – Dumping: AD) การน�ำกฎหมายเกี่ยวกับการค้าระหว่าง
ประเทศเพื่อขจัดการท�ำประมงที่ผิดกฎหมาย (Presidential Task Force on Combating IUU Fishing)
มาใช้เร็วขึน้ ซึง่ กฎหมายและมาตรการดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการเลีย้ งและการส่งออกกุง้ ของไทย
ทั้งระบบ เนื่องจากสหรัฐฯ ถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย
การเตรียมความพร้อมของไทย ควรเร่งปรับโครงสร้างการผลิตกุ้งทั้งระบบ โดยการปรับโครงสร้าง
การผลิตของเกษตรกรในเรื่องการบริหารจัดการฟาร์ม ให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ และสนับสนุนแหล่งเงิน
ทุนให้เกษตรกรมีสภาพคล่องสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบฟาร์มให้ได้มาตรฐานได้มากขึ้น เพื่อให้เกิดการเลี้ยงที่
ยั่งยืนและสามารถแข่งขันได้ในทุกตลาด
ตารางที่ 1 ผลผลิตกุ้งจากการเพาะเลี้ยงของโลก ปี 2555 – 2560
หน่วย: พันตัน
ประเทศ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม 2560*
(ร้อยละ)
อินเดีย 190 270 420 380 350 16.92 285
จีน 450 300 400 350 330 -4.55 280
ไทย 540 250 230 260 300 -10.74 340
อินโดนีเซีย 105 180 200 220 245 20.87 245
เวียดนาม 170 240 300 210 200 1.93 180
อเมริกากลาง-ใต้ 432 432 520 540 545 7.12 540
ประเทศอื่น ๆ 137 143 152 185 145 3.78 135
รวม 2,024 1,815 2,222 2,145 2,115 2.58 2,005
หมายเหตุ: * ประมาณการโดย ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ที่มา: สมาคมกุ้งไทย 187
188
ตารางที่ 2 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกผลิตภัณฑ์กุ้งในตลาดโลกแยกตามประเทศผู้ส่งออกปี 2555 – 2560
ปริมาณ: พันตัน
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ
2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560*
ประเทศ
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
อินเดีย 280 1,742.42 253 2,569.56 345 3,721.51 383 3,193.38 350 2,911.90 -8.62 -8.81 285 2,350
เอกวาดอร์ 210 1,288.54 226 1,821.05 301 2,599.46 346 2,315.89 373 2,522.19 7.80 8.91 380 2,560
ไทย 349 3,104.32 211 2,256.23 165 1,995.43 170 1,679.48 221 2,090.32 -10.68 -10.29 265 2,540
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560

จีน 274 2,253.41 270 2,538.72 233 2,555.18 192 1,920.55 182 1,937.22 -5.21 0.87 170 1,770
อินโดนีเซีย 148 1,235.39 152 1,582.11 181 2,039.30 181 1,574.48 200 1,679.13 10.52 6.65 200 1,670
ประเทศอื่น ๆ 894 5,498.12 1,100 6,138.74 1,014 6,911.05 1,025 6,147.12 994 6,297.63 1.42 2.77 900 5,610
รวม 2,155 15,122.20 2,212 16,906.41 2,239 19,821.93 2,297 16,830.90 2,320 17,438.39 1.00 3.61 2,200 16,500
หมายเหตุ: * ประมาณการ
กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาด�ำ กุ้งก้ามกราม และกุ้งอื่น ๆ ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ 160529 ตามรหัส
HS.2012 (ปี 2012-2016)
ที่มา: Global Trade Information Services, October 2016
ตารางที่ 3 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของสหรัฐอเมริกา ปี 2555 – 2560
ปริมาณ: พันตัน
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ
2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560*
ประเทศ
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
อินเดีย 66 575.02 94 1,043.53 109 1,384.02 135 1,280.64 144 1,364.03 21.19 21.32 140 1,280
อินโดนีเซีย 74 658.82 81 909.27 103 1,318.70 114 1,101.30 119 1,110.46 13.79 13.15 125 1,150
ไทย 136 1,203.40 84 906.49 65 816.49 74 755.37 94 896.59 -8.29 -7.42 113 1,100
เวียดนาม 41 448.08 60 729.08 74 1,004.32 61 663.73 70 755.53 11.47 9.98 78 820
เอกวาดอร์ 81 559.90 74 654.86 92 901.35 86 635.04 80 627.84 1.26 2.00 85 630
เม็กซิโก 26 256.15 18 263.97 20 303.18 28 320.38 40 437.17 13.92 13.46 47 500
จีน 36 228.51 32 238.63 33 271.48 29 189.47 43 277.39 2.60 1.58 40 250
มาเลเซีย 23 171.00 10 79.52 18 178.48 8 75.44 2 11.90 -40.00 -41.63 4 25
ประเทศอื่น ๆ 52 364.09 56 487.27 55 528.00 52 433.34 53 430.39 -0.36 2.20 58 545
รวม 535 4,464.97 509 5,312.62 569 6,706.02 587 5,454.71 645 5,911.30 5.30 6.05 690 6,300
หมายเหตุ: * ประมาณการ
กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาด�ำ กุ้งน�้ำเย็น และกุ้งอื่น ๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกรามที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ
160529 ในระดับ 11 หลัก(Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012-2016)
ที่มา: Global Trade Information Services, October 2016
กุ้ง

189
190
ตารางที่ 4 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของสหภาพยุโรปปี 2555 – 2560 ปริมาณ: พันตัน
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ
2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560*
ประเทศ
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
เอกวาดอร์ 88 549.75 81 625.66 91 798.80 93 638.98 98 705.00 3.60 5.32 100 700
อินเดีย 58 413.63 64 510.24 93 768.49 79 636.26 80 614.42 8.91 10.65 75 590
เวียดนาม 32 271.71 34 320.38 44 488.13 48 481.63 54 542.39 14.93 19.60 60 600
บังคลาเทศ 37 322.17 37 358.80 35 418.97 30 342.70 29 344.45 -6.73 0.88 29 345
แคนาดา 28 230.17 35 267.85 35 188.46 33 334.89 31 288.05 1.46 6.95 32 300
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560

กรีนแลนด์ 40 132.23 39 136.01 54 248.74 46 219.92 54 258.14 7.95 19.94 55 260


อินโดนีเซีย 10 93.85 11 122.45 15 187.94 12 124.87 14 152.26 7.89 10.38 15 160
จีน 35 197.76 36 194.98 28 176.30 28 163.09 25 140.20 -8.83 -8.30 24 120
ไทย 51 468.36 29 332.87 17 237.81 8 105.81 8 99.20 -39.30 -34.62 9 110
ประเทศอื่น ๆ 166 1,357.60 165 1,454.95 171 1,997.89 186 1,512.79 198 1,542.78 4.84 2.99 211 1,635
รวม 545 4,037.23 534 4,324.19 583 5,511.53 563 4,560.94 591 4,686.89 2.17 3.58 610 4,820
หมายเหตุ: * ประมาณการ
กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาด�ำ กุ้งน�้ำเย็น และกุ้งอื่น ๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกรามที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ
160529 ในระดับ 11 หลัก (Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012– 2016)
ที่มา: Global Trade Information Services, October 2016
ตารางที่ 5 ปริมาณและมูลค่าการน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของญี่ปุ่นปี 2555 – 2560 ปริมาณ: พันตัน
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ
2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ) 2560*
ประเทศ
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
เวียดนาม 51 572.76 53 640.76 51 691.89 51 569.00 49 544.31 -1.18 -2.18 46 510
ไทย 80 808.92 58 619.93 37 447.89 36 378.13 36 385.87 -18.73 -17.92 42 430
อินเดีย 28 262.87 32 340.18 31 362.35 31 302.48 41 385.74 7.58 6.71 39 400
อินโดนีเซีย 38 436.11 39 471.78 32 419.21 32 366.50 30 331.03 -6.49 -7.72 33 350
จีน 25 249.50 24 232.68 19 198.44 15 134.18 15 132.18 -13.86 -16.65 14 120
ประเทศอื่น ๆ 58 641.96 56 645.93 53 632.84 49 523.18 53 567.81 -3.09 -4.46 56 590
รวม 280 2,972.12 262 2,951.26 223 2,752.62 214 2,273.47 224 2,346.95 -6.28 -7.07 230 2,400
หมายเหตุ: * ประมาณการ
กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาด�ำ กุ้งน�้ำเย็น และกุ้งอื่น ๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกรามที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ
160529 ในระดับ 11 หลัก (Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012 – 2016)
ที่มา: Global Trade Information Services, October 2016
กุ้ง

191
192
ตารางที่ 6 ปริมาณและมูลค่าการส่งออกและการน�ำเข้ากุ้งและผลิตภัณฑ์ของประเทศไทยปี 2555 – 2560 ปริมาณ: พันตัน
มูลค่า: ล้านบาท
2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม 2560*
รายการ (ร้อยละ)
ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า ปริมาณ มูลค่า
ส่งออก 349 95,751.30 211 68,790.56 165 64,342.93 170 57,106.54 221 73,115.33 -10.68 -7.00 265 87,600
กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง 184 45,605.48 97 29,470.56 80 29,185.35 83 24,062.19 135 40,307.07 -7.46 -4.40 162 48,200
กุ้งแปรรูป 165 50,145.82 113 39,320.00 85 35,157.58 87 32,044.35 86 32,808.26 -14.48 -9.99 103 39,400
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560

นำ�เข้า 25 2,036.28 24 3,134.33 24 3,749.15 26 3,172.91 25 3,185.75 0.80 9.50 26 3,190


กุ้งแช่เย็นแช่แข็ง 18 1,944.67 21 3,093.19 20 3,689.66 20 3,114.50 20 3,109.74 1.63 9.92 20 3,100
กุ้งแปรรูป 7 91.61 3 41.14 4 59.49 6 58.41 5 76.01
0.20 -0.23 6 90
หมายเหตุ: * ประมาณการโดยส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กุ้ง หมายถึง กุ้งขาวแวนนาไม กุ้งกุลาด�ำ กุ้งน�้ำเย็น และกุ้งอื่น ๆ ไม่รวมกุ้งก้ามกรามที่อยู่ภายใต้พิกัดศุลกากร 030616 030617 030626 030627 160521 และ
160529 ในระดับ 11 หลัก (Digit) ตามรหัส HS.2012 (ปี 2012– 2016)
ที่มา: กรมศุลกากร
กุ้ง

ตารางที่ 7 ราคากุ้งขาวแวนนาไมเฉลี่ย ปี 2555 – 2560


ราคาที่เกษตรกรขายได้1/ ราคาตลาดกลาง2/
ปี กุ้งขาว ขนาด 70 ตัว/กก. กุ้งขาว ขนาด 70 ตัว/กก.
(บาท/กก.) (บาท/กก.)
2555 127 129
2556 198 205
2557 223 211
2558 179 160
2559* 180 169
อัตราเพิ่ม(ร้อยละ) 6.15 2.97
2560* 182 175
หมายเหตุ: * ประมาณการ
1/
ราคาที่เกษตรกรขายได้ จากศูนย์สารสนเทศการเกษตร ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
2/
ราคาตลาดกลาง จากตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร
ที่มา: ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

193
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off
21
ปลาป่น
1. สถานการณ์ ปี 2559
1.1 ของโลก
1.1.1 การผลิต
ผลผลิตปลาป่นของโลกในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 - 2559) มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ
1.06 ต่อปี เนื่องจากประเทศเปรูซึ่งเป็นผู้ผลิตปลาป่นรายใหญ่ของโลกประสบปัญหาสภาพชีวมวลในท้องทะเล
อยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรม ท�ำให้จับปลาได้ปริมาณลดลง และประเทศไทยซึ่งเคยเป็นผู้ผลิตอันดับ 2 ของโลก
มีปริมาณการผลิตปลาป่นลดลงมาโดยตลอดเช่นกัน เนื่องจากทรัพยากรสัตว์น�้ำตามธรรมชาติลดลง ประกอบกับ
ในปี 2558 โรงงานปลาป่นประสบปัญหาการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งที่มาของปลาเป็ดซึ่งเป็นวัตถุดิบอย่าง
เข้มงวด จากปัญหาการท�ำประมงที่ผิดกฎหมายขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU fishing: Illegal
Unreported and Unregulated fishing) อย่างไรก็ตาม ประเทศผูผ้ ลิตหลักของโลกได้มกี ารผลิตปลาป่นทีค่ ำ� นึงถึง
ความยั่งยืนของอุตสาหกรรมปลาป่นและสิ่งแวดล้อม โดยมีการบริหารจัดการที่รักษาความสมดุลระหว่างปริมาณ
การจับสัตว์น�้ำและการฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น�้ำไปด้วยพร้อมกัน เช่น เปรูมีการก�ำหนดเวลาและโควตาของปริมาณ
การจับปลา เพือ่ ให้มรี ะยะเวลาการฟืน้ ฟูทรัพยากรสัตว์นำ�้ ทีเ่ ป็นวัตถุดบิ เพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืน ไทยมีการประกาศปิด
อ่าวไทย 3 เดือน ในช่วงกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม และปิดอ่าวทางฝั่งอันดามันประจ�ำปี
ในเดือนมิถนุ ายนถึงกรกฎาคมของทุกปี เพือ่ การฟืน้ ฟูทรัพยากรสัตว์นำ�้ เป็นต้น ส�ำหรับปี 2559 ผลผลิตปลาป่นโลก
มีปริมาณ 4.15 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 4.14 ล้านตันของปีที่ผ่านมา ร้อยละ 0.24 ประเทศผู้ผลิตปลาป่นที่ส�ำคัญ
ของโลก ได้แก่ เปรู ชิลี จีน ไทย และสหรัฐอเมริกา
1.1.2 การตลาด
(1) การบริโภค
การใช้ปลาป่นของโลกในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 - 2559) มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ
0.11 ต่อปี เนื่องจากจีนซึ่งเป็นประเทศหลักที่ใช้ปลาป่นปริมาณมากถึงครึ่งหนึ่งของผลผลิตโลกมีการใช้ปลาป่น
ลดลง โดยมีการปรับเปลี่ยนไปใช้กากถั่วเหลืองแทนการใช้ปลาป่นในบางส่วนของอาหารสัตว์ เนื่องจากราคา
กากถั่วเหลืองมีแนวโน้มลดลง ส�ำหรับปี 2559 คาดว่าจะมีการใช้ปลาป่นในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ส�ำเร็จรูป
ของโลกปริมาณทั้งสิ้น 4.55 ล้านตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.66 จากปีที่ผ่านมา
(2) การส่งออก
ปริมาณการส่งออกปลาป่นของโลกในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 - 2559) มีแนวโน้มลดลง
ในอัตราร้อยละ 2.50 ต่อปี ประเทศผู้ส่งออกส�ำคัญ คือ เปรู ชิลี และเดนมาร์ก ประเทศเหล่านี้สามารถผลิต
ปลาป่นคุณภาพดี ซึ่งมีโปรตีนสูงมากกว่าร้อยละ 60 เนื่องจากใช้ปลาแองโชวี่ (Anchovy) ที่สดและมีคุณภาพดี
เป็นวัตถุดิบ และมีผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมปลาป่น คือ น�้ำมันปลา (Fish oil) ในสัดส่วนประมาณร้อยละ 15
ของผลผลิตจากอุตสาหกรรมปลาป่น ซึ่งสามารถน�ำไปแปรรูปเป็นอาหารเพื่อสุขภาพส�ำหรับมนุษย์และใช้ผสมใน
สูตรอาหารสัตว์ส�ำเร็จรูป

195
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

(3) การน�ำเข้า
ปริมาณการน�ำเข้าปลาป่นของโลกในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555-2559) มีแนวโน้มลดลง
ในอัตราร้อยละ 0.51 ต่อปี เนื่องจากประเทศจีนซึ่งเป็นผู้น�ำเข้าปลาป่นมากที่สุด มีการลดปริมาณการน�ำเข้า
ปลาป่นลง โดยจีนปรับเปลี่ยนไปใช้กากถั่วเหลืองซึ่งมีราคาถูกลงแทนการน�ำเข้าปลาป่นในบางส่วนที่สามารถ
ทดแทนได้
(4) ราคา
ราคาปลาป่นของโลกอ้างอิงราคาซื้อขายปลาป่นของเปรูซึ่งเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกอันดับหนึ่ง
ของโลก ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 - 2559) ราคาส่งออก (เอฟ.โอ.บี.) ปลาป่นคุณภาพโปรตีนร้อยละ 60
ขึ้นไป มีแนวโน้มสูงขึ้นในอัตราร้อยละ 4.64 ต่อปี ส�ำหรับปี 2559 ราคาปลาป่น เอฟ.โอ.บี.เปรู เฉลี่ยกิโลกรัมละ
46.83 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 51.31 บาท ของปี 2558 ร้อยละ 8.73 เนื่องจากจีนซึ่งเป็นตลาดหลักที่มี
การใช้ปลาป่นมากที่สุดได้ลดการสั่งซื้อเพราะจีนมีภาวะเศรษฐกิจไม่ดีเช่นที่ผ่านมา จึงลดปริมาณการน�ำเข้า
ปลาป่นลง ท�ำให้ปลาป่นมีเหลืออยู่ในตลาดโลกปริมาณมาก ส่งผลให้ราคาปลาป่นลดลง
1.2 ของไทย
1.2.1 การผลิต
อุตสาหกรรมปลาป่นของไทยในปัจจุบันมีการพัฒนามากขึ้น โดยเฉพาะในด้านการผลิตที่ได้
มาตรฐานสากล ท�ำให้คุณภาพปลาป่นเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ ในปี 2559 ประเทศไทยมีโรงงานผลิตปลาป่น 86 แห่งกระจายอยู่ใน 18 จังหวัดที่ภาคใต้และ
ภาคตะวันออก และได้รับการรับรองมาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practices) แล้วจ�ำนวน 72 โรงงาน
โรงงานที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั้ง GMP และ HACCP (Hazard Analysis Critical Control Point) จ�ำนวน
58 โรงงาน โรงงานผลิตปลาป่นของไทยสามารถผลิตปลาป่นที่มีคุณภาพโปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 คิดเป็นร้อยละ
25 ของผลผลิตปลาป่นทั้งหมด และร้อยละ 75 เป็นผลผลิตปลาป่นคุณภาพโปรตีนต�่ำกว่าร้อยละ 60 ส�ำหรับ
ปริมาณผลผลิตในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 - 2559 ) มีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 8.50 ต่อปี เนื่องจาก
วัตถุดิบที่ใช้ผลิตปลาป่นมีปริมาณลดลงจากที่จ�ำนวนปลาเป็ดที่จับได้ลดลง เพราะสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน
ส่งผลต่อการท�ำประมงและทรัพยากรธรรมชาติลดลง ประกอบกับตั้งแต่ปี 2558 รัฐบาลเร่งด�ำเนินการแก้ไขปัญหา
การท�ำประมงผิดกฎหมาย (IUU fishing) ท�ำให้เรือประมงบางส่วนไม่สามารถออกท�ำการประมงได้ รวมถึงเรื่อง
เรือและเครื่องมือการท�ำประมง และเรื่องการปฏิบัติแรงงานประมงอย่างไม่เป็นธรรม ส่งผลให้ปริมาณปลาเป็ด
ลดลงมาก ท�ำให้ผปู้ ระกอบการปลาป่นบางรายเลิกกิจการไป อีกทัง้ มีการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งทีม่ าของวัตถุดบิ
อย่างเข้มงวด ส่งผลให้ผลผลิตปลาป่นไทยลดลงมาก นอกจากนี้ประเทศจีนซึ่งเป็นประเทศน�ำเข้าปลาป่นหลัก
ของไทยมีค�ำสั่งซื้อลดลง เพราะส่วนใหญ่ปลาป่นในประเทศไม่ได้การรับรองจาก IFFO (International Fishmeal
and Fish Oil Organization) รวมถึงผู้น�ำเข้าสินค้าประมงในต่างประเทศต้องการข้อมูลประกอบการซื้อสินค้า
ปลาป่นและผลิตภัณฑ์สัตว์น�้ำเพาะเลี้ยงเพื่อการส่งออก เช่น กุ้งทะเล ปลาชนิดต่าง ๆ ที่มีปลาป่นผสมในสูตร
อาหารสัตว์ ท�ำให้อุตสาหกรรมปลาป่นต้องเข้มงวดในการรับซื้อวัตถุดิบปลาเป็ดและปรับสัดส่วนการใช้วัตถุดิบ
ในกระบวนการผลิต โดยใช้เศษเหลือจากอุตสาหกรรมปลาทูน่ากระป๋องเพิ่มขึ้น ซึ่งการผลิตปลาป่นในปัจจุบัน

196
ปลาป่น

ใช้เศษปลาที่ได้จากอุตสาหกรรมแปรรูปสัตว์น�้ำ เช่น โรงงานซูริมิ โรงงานผลิตทูน่า กระป๋อง โรงงานผลิต


ลูกชิ้นปลา ฯลฯ มาใช้เป็นวัตถุดิบมากถึงร้อยละ 61 ใช้ปลาเป็ดร้อยละ 28 และปลาอื่น ๆ ร้อยละ 11 ส�ำหรับ
ปี 2559 คาดว่าผลผลิตปลาป่นของไทยจะมีปริมาณ 0.360 ล้านตัน ลดลงจากปี 2558 ที่ผลิตได้ 0.381 ล้านตัน
ร้อยละ 5.51
1.2.2 การตลาด
(1) การบริโภค
การใช้ปลาป่นเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ส�ำเร็จรูปในประเทศที่ผ่านมา ส่วนใหญ่
ใช้ปลาป่นเป็นวัตถุดิบในสูตรอาหารส�ำหรับสัตว์น�้ำ แนวโน้มการใช้ปลาป่นส�ำหรับอาหารสัตว์ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา
(ปี 2555-2559) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.67 ต่อปี จากที่การเพาะเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมประสบปัญหา
โรคตายด่วน (Early Mortality Syndrome: EMS) ตั้งแต่ปลายปี 2555 ท�ำให้เกษตรกรลดปริมาณการเลี้ยง
ลงในระยะหนึง่ แต่ตอ่ มาเกษตรกรบางส่วนได้ปรับการเลีย้ งใหม่ ประกอบกับภาครัฐมีการช่วยเหลือโดยกรมประมง
ด�ำเนินการจัดท�ำธนาคารพ่อแม่พันธุ์กุ้งทะเล (Marine Shrimp Broodstock Bank) น�ำเข้าพ่อแม่พันธุ์เพื่อผลิต
ลูกพันธุ์กุ้งทะเลคุณภาพให้แก่เกษตรกรทั่วประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพระบบคัดกรอง ป้องกันเฝ้าระวังโรคกุ้งทะเล
รวมทั้งเพิ่มก�ำลังการผลิตหัวเชื้อจุลินทรีย์ ปม.1 ให้เกษตรกรทั่วประเทศ เกษตรกรจึงปรับตัวได้และมีการเลี้ยงกุ้ง
กันมากขึ้น ท�ำให้ความต้องการใช้ปลาป่นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และคาดว่าความต้องการใช้ปลาป่นในปี 2559
มีปริมาณ 0.734 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.703 ล้านตันของปี 2558 ร้อยละ 4.41
(2) การส่งออก
ปี 2559 ไทยส่งออกปลาป่นลดลง โดยส่งออกปลาป่นคุณภาพโปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 และ
คุณภาพโปรตีนต�่ำกว่าร้อยละ 60 รวมปริมาณทั้งสิ้น 0.140 ล้านตัน ลดลงจากปริมาณ 0.156 ล้านตัน ของปี
2558 ร้อยละ 10.26 โดยมีตลาดส่งออกหลัก คือ จีน เวียดนาม และญี่ปุ่น เนื่องจากอุตสาหกรรมปลาป่น
ของไทยขาดแคลนวัตถุดิบ ประกอบกับปลาป่นภายในประเทศส่วนใหญ่ไม่ได้รับใบรับรองจาก IFFO หากจะได้
ใบรับรองนี้จะต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก ปัจจุบันโรงงานผลิตปลาป่นในประเทศไทยที่มีการรับรองจาก IFFO มีอยู่
เพียง 2 โรงเท่านั้น ส�ำหรับแนวโน้มการส่งออกปลาป่นของไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 - 2559) เพิ่มขึ้น
ในอัตราร้อยละ 22.55 ต่อปี เนื่องจากปลาป่นไทยมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของตลาดต่างประเทศมากขึ้น เพื่อ
ทดแทนสัตว์น�้ำตามธรรมชาติที่มีแนวโน้มลดลง รวมถึงมีความต้องการใช้เป็นวัตถุดิบให้แก่อุตสาหกรรมแปรรูป
อาหารเพื่อบริโภคในประเทศและเพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้น
(3) การน�ำเข้า
ปลาป่นเป็นสินค้าควบคุมการน�ำเข้าตาม พ.ร.บ. การส่งออกไปนอกและการน�ำเข้ามาใน
ราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522 และประกาศกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วยการน�ำเข้าสินค้าเข้ามาในราชอาณาจักร
(ฉบับที่ 72) พ.ศ. 2533 ให้การน�ำเข้าปลาป่นเฉพาะชนิดคุณภาพโปรตีนต�่ำกว่าร้อยละ 60 เป็นสินค้าที่ต้อง
ขออนุญาตในการน�ำเข้าจากกรมการค้าต่างประเทศ ปัจจุบันการก�ำหนดนโยบายและมาตรการน�ำเข้าปลาป่น
อยูภ่ ายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการนโยบายอาหาร ซึง่ มีรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงพาณิชย์เป็นประธาน โดย
ความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ซึ่งจะพิจารณาก�ำหนดนโยบายการน�ำเข้าทุก ๆ 3 ปี โดยระหว่างปี 2558 - 2560
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามมติคณะกรรมการนโยบายอาหารก�ำหนดให้น�ำเข้าปลาป่นได้ในปริมาณไม่จ�ำกัด
197
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

แต่การน�ำเข้าปลาป่นคุณภาพโปรตีนต�ำ่ กว่าร้อยละ 60 ต้องขออนุญาตน�ำเข้าจากกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวง


พาณิชย์ ส�ำหรับอากรขาเข้าปลาป่นตามความตกลงการค้าเสรีกรอบต่าง ๆ ที่มีผลบังคับใช้แล้ว ได้รับการยกเว้น
การเก็บอากรทุกระดับโปรตีนของทุกกรอบความตกลงยกเว้นการน�ำเข้าทั่วไป (MFN Applied Rate) ปลาป่น
คุณภาพโปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 เก็บอากรขาเข้าร้อยละ 15 ปลาป่นคุณภาพโปรตีนต�่ำกว่าร้อยละ 60 เก็บอากร
ขาเข้าร้อยละ 6
ปัจจุบนั การน�ำเข้าปลาป่นมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ โดยในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา (ปี 2555 - 2559) ปริมาณ
การน�ำเข้าเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 65.29 ต่อปี เนื่องจากอุตสาหกรรมผลิตอาหารสัตว์ส�ำเร็จรูปต้องการปลาป่น
คุณภาพสูงในสูตรอาหารสัตว์น�้ำและโรงงานอาหารสัตว์ใหญ่ในประเทศไม่ซื้อปลาป่นในประเทศเพราะไม่มี
มาตรฐานการรับรองจาก IFFO จึงต้องพึ่งพาปลาป่นจากต่างประเทศ ประกอบกับตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา
ปริมาณวัตถุดิบปลาเป็ดจากท่าเทียบเรือภาคใต้มีแนวโน้มลดลงเป็นผลมาจากทรัพยากรสัตว์น�้ำลดลง และจาก
มาตรการแก้ไขปัญหาประมง IUU คาดว่าปี 2559 จะมีการน�ำเข้าปลาป่นปริมาณ 0.076 ล้านตัน เพิ่มขึ้นถึง
ร้อยละ 145.16 จากปีที่ผ่าน โดยแหล่งน�ำเข้าปลาป่นหลักของไทย คือ สหภาพเมียนมาร์ และเวียดนาม
(4) ราคา
ราคาปลาป่นในประเทศก�ำหนดโดยใช้ราคาอ้างอิงตลาดต่างประเทศ คือ ตลาดเปรู ตามชั้น
คุณภาพ เป็นค่าร้อยละของคุณภาพโปรตีนในปลาป่น โดยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 – 2559 ) ราคาส่งออก
(เอฟ.โอ.บี.) เปรู มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.64 ต่อปี เนื่องจากปริมาณการผลิตปลาป่นมีแนวโน้มลดลง
ส�ำหรับการค้าปลาป่นในประเทศจะมีการแบ่งชั้นคุณภาพตามกลิ่นและความสดของปลาป่น โดยบริษัทผู้ผลิต
อาหารสัตว์รายใหญ่ของประเทศ ปัจจุบันผู้ผลิตปลาป่นใช้ปลาเป็ดเป็นวัตถุดิบน้อยลง อย่างมากจากเงื่อนไขต่าง ๆ
ที่ผู้ซื้อปลาป่นก�ำหนดและการที่ปริมาณสัตว์น�้ำลดลง ส�ำหรับราคาปลาเป็ด ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (ปี 2555 – 2559)
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 4.98 ต่อปี ราคาขายส่งปลาป่นคุณภาพโปรตีนต�่ำกว่าร้อยละ 60 เบอร์ 2
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 3.49 ต่อปี และราคาปลาป่นคุณภาพโปรตีนสูงกว่าร้อยละ 60 เบอร์ 1
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในอัตราร้อยละ 5.37 ต่อปี

2. แนวโน้ม ปี 2560
2.1 ของโลก
ปี 2560 คาดว่าผลผลิตปลาป่นของโลกจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2559 เป็นผลจากปริมาณปลา
ที่ใช้เป็นวัตถุดิบที่จับได้มีจ�ำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจากปรากฏการณ์เอลนีโญที่เกิดขึ้นเมื่อปีที่ผ่านมาได้หมดอิทธิพลลง
ประกอบกับเปรูมีนโยบายอนุรักษ์สัตว์น�้ำเพื่อการท�ำประมงที่ยั่งยืน ได้มีก�ำหนดช่วงเวลาและโควตาปริมาณ
การจับสัตว์นำ�้ ในแต่ละปี ท�ำให้หว่ งโซ่ชวี ติ ของสัตว์นำ�้ ได้มโี อกาสฟืน้ ตัวเพิม่ ขึน้ ประกอบกับเวียดนามมีอตุ สาหกรรม
การเลี้ยงปลาบาซาหรือปลาดอลลี่เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งเป็นปลาเบญจพรรณและเลี้ยงโตเร็วมีการเลี้ยงด้วยต้นทุน
ที่ต�่ำรวมทั้งมีใบรับรองจาก IFFO สามารถส่งขายจีนได้ท�ำให้จีนมีปริมาณผลผลิตปลาป่นเพิ่มขึ้นมาก
ส�ำหรับราคาปลาป่นในตลาดโลก คาดว่าจะลดลงจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณผลผลิตปลาป่นโลก
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

198
ปลาป่น

2.2 ของไทย
2.2.1 การผลิต
ปี 2560 สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทยประมาณการว่าผลผลิตปลาป่นของไทยจะมีปริมาณลดลง
เมือ่ เทียบกับปีทผี่ า่ นมา เนือ่ งจากข้อจ�ำกัดด้านวัตถุดบิ และการตรวจสอบย้อนกลับแหล่งทีม่ าของวัตถุดบิ โดยเฉพาะ
การขายผลผลิตปลาป่นให้กับโรงงานอาหารสัตว์รายใหญ่จะต้องมีใบรับรองจาก IFFO
2.2.2 การตลาด
ปี 2560 คาดว่าราคาปลาป่นในประเทศจะมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากปริมาณการผลิตของโลก
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาลดลง
2.3 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการผลิตหรือการส่งออก
2.3.1 สภาพอากาศแปรปรวน จากการเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญที่ผ่านมาเมื่อปี 2558 และปี 2559
ได้หมดอิทธิพลลง ท�ำให้ปริมาณสัตว์น�้ำในมหาสมุทรฟื้นตัวและเจริญเติบโตเป็นจ�ำนวนมากขึ้น ส่งผลให้ปลา
ที่จับได้มีปริมาณเพิ่มขึ้น ท�ำให้วัตถุดิบปลาเป็ดซึ่งใช้ในการผลิตปลาป่นมีปริมาณเพิ่มขึ้น
2.3.2 ประเด็นเรื่องการท�ำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม (IUU fishing) และ
เรื่องการปฏิบัติต่อแรงงานประมงไม่เป็นธรรมที่สหภาพยุโรปก�ำลังติดตามผลการด�ำเนินการของไทยอย่างใกล้ชิด
และข้อก�ำหนดต่าง ๆ จากประเทศคู่ค้าโดยเฉพาะปลาป่นจะต้องมีใบรับรองจาก IFFO

ตารางที่ 1 ผลผลิต การค้าและการใช้ปลาป่นของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
อัตราเพิ่ม การเปลี่ยนแปลง
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559 (ร้อยละ) 2559/2558
(ร้อยละ)
สต็อกต้นปี 0.36 0.54 0.27 0.16 0.25 -17.68 56.25
ผลผลิต 4.47 3.97 4.20 4.14 4.15 -1.06 0.24
น�ำเข้า 2.46 2.74 2.49 2.48 2.52 -0.51 1.61
ใช้ในประเทศ 4.51 4.65 4.64 4.52 4.55 -0.11 0.66
ส่งออก 2.24 2.34 2.16 2.01 2.13 -2.50 5.97
สต็อกปลายปี 0.54 0.27 0.16 0.25 0.24 -15.62 -4.00
ที่มา: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

199
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ตารางที่ 2 ประเทศผู้ผลิตปลาป่นที่ส�ำคัญ 5 อันดับแรกของโลก ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
อัตราเพิ่ม การเปลี่ยนแปลง
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* (ร้อยละ) 2559/2558
(ร้อยละ)
เปรู 1.150 0.590 0.720 0.750 0.750 -5.96 0
ไทย** 0.492 0.496 0.478 0.381 0.360 -8.50 -5.51
จีน 0.387 0.408 0.440 0.400 0.400 0.46 0
สหรัฐอเมริกา 0.335 0.340 0.345 0.345 0.345 0.74 0
ชิลี 0.316 0.384 0.450 0.450 0.430 8.06 -4.44
อื่น ๆ 1.790 1.752 1.767 1.814 1.865 1.18 2.81
รวม 4.47 3.97 4.20 4.14 4.15 -1.06 0.24
หมายเหตุ: * ประมาณการ ** สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
ที่มา: World Markets and Trade. USDA Foreign Agricultural Service, November 2016

ตารางที่ 3 ปริมาณการผลิต การใช้ การน�ำเข้าและส่งออกปลาป่นของไทย ปี 2555 – 2559


หน่วย: ล้านตัน
อัตราเพิ่ม การเปลี่ยนแปลง
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559 (ร้อยละ) 2559/2558
(ร้อยละ)
ผลผลิต1/ 0.492 0.496 0.478 0.381 0.360 -8.50 -5.51
ความต้องการใช้ 1/
0.614 0.579 0.646 0.703 0.734 5.67 4.41
น�ำเข้า* 0.014 0.006 0.020 0.031 0.076* 65.29 145.16
ส่งออก* 0.058 0.119 0.172 0.156 0.140* 22.55 -10.26
หมายเหตุ: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย
1/

* ไม่รวมสัตว์น�้ำอื่น ๆ ป่น เช่น เปลือกกุ้งป่น ตับหมึกป่น ฯลฯ กรมศุลกากร (ปี 2559 ประมาณการ)
ที่มา: สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทยและกรมศุลกากร

ตารางที่ 4 ราคาเฉลี่ย ปลาเป็ดและปลาป่นในประเทศ ณ ระดับตลาดต่าง ๆ และราคาปลาป่น


ตลาดต่างประเทศ ปี 2555 – 2559
หน่วย: บาท/กก.
รายการ 2555 2556 2557 2558 2559* อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)
ราคาปลาเป็ดดี (สด) 7.38 7.90 7.90 8.97 8.83 4.98
ขายส่งโปรตีนต�่ำกว่า 60%
เบอร์ 2 30.64 26.93 29.26 36.94 31.06 3.49
ขายส่งโปรตีนสูงกว่า 60%
เบอร์ 1 33.13 32.93 33.55 41.10 38.52 5.37
เอฟ.โอ.บี. เปรู 40.53 43.52 50.04 51.31 46.83 4.64
หมายเหตุ: * ประมาณการ
ที่มา: กรมการค้าภายใน
200
บทความพิเศษ
1
ประกันภัยพืชผล
“เครื่องมือทางการเงิน
ในการบริหารความเสี่ยง
ของเกษตรกร”

2
แผนยุทธศาสตร์
การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ
ด้านการเกษตร
และกลไกการขับเคลื่อน

201
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

202
ประกันภัยพืชผล
“เครื่องมือทางการเงินในการบริหารความเสี่ยงของเกษตรกร”
ภาคการเกษตรมีบทบาทส�ำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ เป็นแหล่งผลิตที่ส�ำคัญที่เชื่อมโยงกับ
ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ แต่ปัจจุบันกลับพบว่าเกษตรกรในฐานะเป็นผู้ผลิตยังคงประสบปัญหากับ
ความไม่แน่นอนของผลผลิตและรายได้จากสภาพภูมอิ ากาศและภัยธรรมชาติ รวมทัง้ ความผันแปรด้านราคา ส่งผล
กระทบต่อรายได้ของเกษตรกรโดยตรง ก่อให้เกิดภาระหนี้สินอันเนื่องมาจากเงินลงทุนของเกษตรกรที่สูญหายไป
สถานการณ์ดังกล่าวท�ำให้ภาครัฐเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการให้ความช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่
เกษตรกรที่ประสบภัยธรรมชาติ เช่น อุทกภัย ฝนทิ้งช่วง ภัยแล้ง วาตภัย ภัยหนาว ศัตรูพืช อัคคีภัย และพายุ
ลูกเห็บ เป็นต้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มรุนแรงและผันผวนมากขึ้นในแต่ละปี จากรายงานของกรมส่งเสริม
การเกษตรพบว่าในปี พ.ศ. 2548 -2557 มีพื้นที่ปลูกข้าวนาปีที่ได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติ ภัยโรคและ
แมลงศัตรูพืชเฉลี่ยรวม 6.02 ล้านไร่ คิดเป็นอัตราความเสียหายเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 10.19 ของพื้นที่ที่ได้รับ
ความเสียหายทั้งหมด แต่ละปีต้องใช้งบประมาณให้ความช่วยเหลือเยียวยาเป็นจ�ำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตาม
เกษตรกรจะได้รับเงินชดเชยเพียงบางส่วนที่ไม่เพียงพอกับต้นทุนที่เกษตรกรเสียหายไป นอกจากนี้การด�ำเนินงาน
ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เกษตรกรยั ง ประสบกั บ ปั ญ หาความล่ า ช้ า ไม่ ค ล่ อ งตั ว ของกลไกภาครั ฐ ในการขออนุ มั ติ
งบประมาณในแต่ละครั้ง และมีขั้นตอนการรับความช่วยเหลือยุ่งยากซับซ้อน ท�ำให้เกษตรกรผู้ประสบภัยได้รับ
ความช่วยเหลือล่าช้าไม่ทันการณ์ ประกอบกับความไม่แน่นอนของภัยพิบัติและขอบเขตความเสียหายที่เกิดขึ้น
ท�ำให้รัฐบาลไม่สามารถวางแผนงบประมาณล่วงหน้าได้
จากปั ญ หาดั ง กล่ า ว ภาครั ฐ จึ ง ได้ ท� ำ การศึ ก ษาเพื่ อ หาแนวทางการให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ บรรเทา
ความเดือดร้อนของเกษตรกรที่ประสบภัยธรรมชาติผ่านระบบประกันภัยพืชผล ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยบริหาร
ความเสี่ยงทางการเงินให้กับเกษตรกรผู้เอาประกันภัย สามารถ่ายโอนความเสี่ยงไปยังผู้รับประกันภัย โดยที่
เกษตรกรผู้เอาประกันจ่ายค่าเบี้ยประกันให้กับผู้รับประกันภัยตามสัญญา เพื่อที่จะได้รับการคุ้มครองทางการเงิน
หรือค่าสินไหมเมื่อได้รับความเสียหายจากภัยธรรมชาติโดยอาศัยหลักประกันภัย คือ (1) โอนความเสี่ยงภัย
ด้านการเงินของเกษตรกรไปยังองค์กรผู้รับประกันภัย เกษตรกรจ่ายค่าเบี้ยประกันเพื่อจะได้รับค่าชดเชย
ความเสี ย หายตามวงเงิ น คุ ้ ม ครองเมื่ อ เกิ ด ภั ย ธรรมชาติ และ (2) ผู ้ ท� ำ ประกั น ร่ ว มกั น เฉลี่ ย ความเสี่ ย งภั ย
ตามหลักการของเกษตรกรจ�ำนวนมาก (Law of Large Number) เพื่อชดเชยความเสียหายให้กับเกษตรกร
ผู้ประสบภัย สร้างความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ช่วยบรรเทาภาระหนี้สินให้กับเกษตรกร
ผู้ประสบภัยพิบัติ รวมถึงเกษตรกรร่วมกันคุ้มครองผลประโยชน์ตนเองผ่านการจ่ายเบี้ยประกัน ถึงแม้ว่า
การประกันภัยพืชผลจะท�ำให้เกษตรกรมีภาระค่าใช้จ่ายเป็นค่าเบี้ยประกันตามอัตราที่ก�ำหนด และภาครัฐต้องใช้
งบประมาณอุดหนุนค่าเบี้ยประกันบางส่วน ทั้งนี้เพื่อจูงใจให้เกษตรกรมีความตระหนักและให้ความส�ำคัญในการ
ใช้ระบบประกันภัยพืชผลเป็นกลไกหนึ่งในการบริหารความเสี่ยง

203
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ที่ผ่านมาภาครัฐศึกษาและทดลองใช้ระบบประกันภัยพืชผลเป็นเครื่องมือบริหารความเสี่ยงให้กับ
เกษตรกรมานานร่วม 40 ปี ได้แก่ (1) โครงการประกันฝ้ายในปี 2521-2523 และปี 2525-2527 (2) โครงการ
ประกันภัยข้าวโพด ข้าวฟ่าง และถั่วเหลือง ในปี 2531-2534 โครงการจัดตั้งกองทุนประกันภัยทางการเกษตร
ในปี 2544 โดยให้ความคุ้มครองข้าวนาปี ข้าวนาปรัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (4) โครงการน�ำร่องประกันภัย
พืชผลโดยใช้ดัชนีสภาพภูมิอากาศ (Weather Index) ในปี 2549 โดยทดลองท�ำประกันภัยข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (5)
การศึกษาความเป็นไปได้ในการประกันข้าว ในปี 2549 โดยใช้ดัชนีภูมิอากาศ และเริ่มทดลองจริงในปี 2556 และ
(6) โครงการประกันภัยข้าวนาปี ในปี 2554–ปัจจุบัน
ล่าสุดเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีผลผลิต
2559/60 ซึ่งก�ำหนดอัตราค่าเบี้ยประกันภัย 100 บาทต่อไร่ (ไม่รวมค่าอากรแสตมป์และภาษี) รัฐบาลอุดหนุน
ค่าเบี้ยประกันภัย 60 บาทต่อไร่ เกษตรกรช�ำระหนี้ประกันภัย 40 บาทต่อไร่ ทั้งนี้หากเกษตรกรที่เป็นลูกค้า ธ.ก.ส.
ที่ขอสินเชื่อใช้ในการเพาะปลูกข้าวนาปี ธ.ก.ส. จะอุดหนุนเบี้ยประกันภัยแทนเกษตรกรตามสัดส่วนของวงเงินกู้
ส่วนเกินวงเงินกูห้ ากเกษตรต้องการทีจ่ ะท�ำประกันภัยเพิม่ ก็สามารถท�ำประกันสมทบได้ตามความสมัครใจ ส�ำหรับ
พื้นที่เป้าหมายการเอาประกันภัยจ�ำนวน 30 ล้านไร่ ทั่วประเทศ วงเงิน 3,217.13 ล้านไร่ ควบคุมภัยธรรมชาติ
7 ประเภท ได้แก่ (1) น�้ำท่วมหรือฝนตกหนัก (2) ภัยแล้ง (3) ฝนแล้งหรือฝนทิ้งช่วง (4) ลมพายุหรือพายุไต้ฝุ่น
(5) ภัยอากาศหนาวหรือน�้ำค้างแข็ง (6) ลูกเห็บ และ (7) ไฟไหม้และศัตรูพืชหรือโรคระบาด ซึ่งผู้ประสบภัย
จะได้รับความคุ้มครอง 6 ภัยแรก ในอัตรา 1,111 บาทต่อไร่ และส�ำหรับภัยศัตรูพืชหรือโรคระบาด เท่ากับ 555
บาทต่อไร่
ดังนั้นการประกันภัยพืชผลจึงนับเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ช่วยบริหารความเสี่ยงให้กับเกษตรกร ภาครัฐจึงให้
ความส�ำคัญในการสนับสนุนให้การประกันภัยพืชผลเป็นเครื่องมือบริหารความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติส�ำหรับ
เกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าที่ผ่านมาได้มีการศึกษาและทดลองโครงการประกันภัยพืชผล
มานานกว่า 40 ปี ก็ตาม แต่การใช้ระบบประกันภัยพืชผลในการบริหารจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรยังไม่
แพร่หลายและอยู่ในวงจ�ำกัดจากสาเหตุต่าง ๆ คือ (1) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการประกันภัยพืชผลยังมีจ�ำนวน
ไม่มากพอที่จะท�ำให้เกิดความคุ้มครองทางธุรกิจท�ำให้เบี้ยประกันสูง (2) เกษตรส่วนใหญ่ขาดความรู้เกี่ยวกับ
ประโยชน์ของการประกันภัย (3) เกษตรกรตัดสินใจเลือกเข้าร่วมโครงการเฉพาะที่มีความชัดเจนว่าจะได้รับ
ความเสียหายจากภัยธรรมชาติ ดังนั้นสัดส่วนของผู้รับสินไหมทดแทนต่อจ�ำนวนผู้เอาประกันทั้งหมดก็จะสูง ท�ำให้
บริษัทประกันภัยต้องก�ำหนดอัตราเบี้ยประกันสูงหรือไม่รับประกัน (4) การจ่ายเงินสินไหมทดแทนเป็นการใช้
ดุลพินิจจากการส�ำรวจรายแปลงท�ำให้เกิดความขัดแย้ง และ (5) เกษตรกรขาดความเชื่อมั่นต่อบริษัทประกันภัย
สภาพปัญหาการท�ำประกันภัยพืชผลข้างต้น หากพิจารณาถึงประโยชน์ของการท�ำประกันภัยพืชผลนั้น
มีอยู่มากมาย อาทิ (1) ช่วยให้เกิดการออมขึน้ ทัง้ นีเ้ พราะเงินส่วนหนึง่ ผูเ้ อาประกันต้องเก็บไว้ชำ� ระค่าเบีย้ ประกันภัย
ตามก�ำหนดเวลาท�ำให้ผู้เอาประกันภัยสามารถมีเงินก้อนเก็บไว้ใช้ในอนาคตเมื่อเกิดความเสียหายขึ้น (2) ช่วยให้
เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพ ในกรณีที่เกิดความเสียหายจากภัยพิบัติ เงินสินไหมทดแทนจะช่วย
ในด้านการเงิน (3) ช่วยเพิ่มความมั่นคงในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เพราะได้โอนความเสี่ยงภัยไปให้บริษัท
ประกันภัย (4) ช่วยในการขยายเครดิต ท�ำให้การให้กู้ยืมมีความเชื่อมั่นในการให้สินเชื่อ เพราะช่วยลดความเสี่ยง
จากหนี้สูญ และ (5) ช่วยระดมทุนในการพัฒนาประเทศ เป็นต้น

204
จากการศึกษาการประกันภัยพืชผลดังกล่าวข้างต้น เพื่อที่จะผลักดันให้การประกันภัยพืชผลเป็น
เครื่องมือทางการเงินที่ช่วยบริหารความเสี่ยงภัยธรรมชาติของเกษตรกรที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. ภาครัฐควรมีการประชาสัมพันธ์ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องว่าการประกันภัยเป็นมาตรการการกระจาย
ความเสี่ยงระหว่างสมาชิก เพื่อที่จะท�ำให้เกษตรกรมีโอกาสเข้าร่วมโครงการกันอย่างถ้วนหน้า
2. ควรส่งเสริมให้มีการจัดท�ำ Zoning และส่งเสริมการเพาะปลูกพืชชนิดเดียวกันในเขตเดียวกัน เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตร และสะดวกแก่การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรด้วยมาตรการต่าง ๆ รวมทั้งการ
อุดหนุนเบี้ยประกัน
3. ภาคเกษตรกร ภาคเอกชน และภาครัฐ ต้องร่วมมือกัน โดยภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนให้มีนโยบายประกัน
ภัยพืชผลอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้ประกันภัยพืชผลในประเทศไทยมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ภาคเอกชน
ควรเร่งสร้างหลักประกันความน่าเชื่อถือในการด�ำเนินงาน โดยตัวแทนควรชี้แจงรูปแบบกรมธรรม์และเงื่อนไข
ความคุ้มครองแก่เกษตรกรให้ชัดเจน รวมทั้งการจ่ายเงินค่าสินไหมทดแทนให้กับเกษตรกรที่ประสบภัยธรรมชาติ
ทัง้ นีต้ อ้ งอาศัยความสะดวกและรวดเร็วเพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ และสร้างแรงจูงใจให้แก่เกษตรกรท�ำประกันภัยต่อไป
4. ควรมี ก ารพั ฒ นากฎและระเบี ย บเกี่ ย วกั บ การประกั น ภั ย พื ช ผล เพื่ อ ควบคุ ม ก� ำ กั บ ดู แ ลสร้ า ง
ความเป็นธรรมให้กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
5. การประกันภัยพืชผลส�ำเร็จได้ ส่วนหนึ่งมาจากการที่เกษตรกรเข้าร่วมโครงการจ�ำนวนมาก จึงควร
รณรงค์ให้เกษตรกรเข้ามามีส่วนร่วมในการท�ำประกันภัย โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรรุ่นใหม่และเกษตรกรที่มี
ความสามารถจ่ายเบี้ยประกัน เพื่อเพิ่มจ�ำนวนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ อันจะมีผลต่อค่าเฉลี่ยของเบี้ยประกัน
มี แ นวโน้ ม ลดลงในอนาคตหรื อ อาจมี ก ารพั ฒ นารู ป แบบประกั น ภั ย พื ช ผลแบบรวมกลุ ่ ม เพื่ อ เฉลี่ ย การจ่ า ย
ค่าเบี้ยประกันให้ถูกลง เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการคุ้มครองผลประโยชน์ด้วยตนเอง
6. การสร้างแรงจูงใจโดยรัฐสนับสนุนอัตราดอกเบี้ยบางส่วน อาจเพิ่มสิทธิประโยชน์อื่น ๆ ให้แก่เกษตรกร
เช่น อัตราดอกเบี้ยเงินกู้แก่เกษตรกรผู้ท�ำประกันภัย เป็นต้น
7. การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา เพื่อให้มีการพัฒนาฐานข้อมูลที่จ�ำเป็นในการออกแบบผลิตภัณฑ์
ประกันภัยให้ขยายความคุ้มครองครอบคลุมไปถึงพืชเศรษฐกิจประเภทอื่น ๆ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามารถ
ตอบสนองความต้องการและการแก้ไขปัญหาของเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

205
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

206
แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร
และกลไกการขับเคลื่อน
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีการคาดการณ์ว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต โดยสาเหตุ
ส่วนหนึง่ เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมทีม่ นุษย์เป็นผูก้ ระท�ำเป็นส่วนใหญ่ การคาดการณ์ดงั กล่าว
ยั ง ระบุ อี ก ว่ า ระดั บ ความรุ น แรงของการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศจะขึ้ น อยู ่ กั บ ระดั บ ของการปล่ อ ย
ก๊าซเรือนกระจก สภาพเศรษฐกิจ และสังคมในอนาคต (IPCC, 2013) ภาคเกษตรถือว่ามีความอ่อนไหวมากที่สุด
ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเมื่อเที่ยบกับภาคเศรษฐกิจอื่น ๆ เนื่องจากการเพาะปลูกพืช ปศุสัตว์ และการท�ำ
ประมงต้องพึ่งพาสภาพอากาศเป็นอย่างมาก (IPCC, 2014) ทั้งนี้ ภาคเกษตรของประเทศไทยมีความส�ำคัญ
อย่างมากในมิติทั้งเศรษฐกิจและสังคมเนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ของประเทศไทยอยู่ในภาคเกษตร
ประเทศไทยได้ให้ความส�ำคัญอย่างมากกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โดยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ได้อธิบายสถานการณ์และแนวโน้มที่ส�ำคัญ ซึ่งมีผลกระทบต่อ
การพัฒนาประเทศไว้วา่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัยธรรมชาติจะมีความรุนแรงและผันผวนมากยิ่งขึ้น
โดยจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการผลิตในภาคเกษตรและความมั่นคงทั้งด้านน�้ำและอาหาร นอกจากนี้ ข้อตกลง
ระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะมีความเข้มข้นมากยิ่งขึ้น จึงท�ำให้ประเทศไทยต้อง
ด�ำเนินมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกอย่างจริงจัง โดยประเทศไทยได้แสดงเจตจ�ำนงลดก๊าซเรือนกระจกให้ต�่ำกว่า
ระดับการปล่อยตามปกติ ร้อยละ 7-20 ภายในปี 2563 ขณะที่ข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) ซึ่งประเทศไทย
ได้ให้สัตยาบันเข้าร่วมเป็นภาคีความตกลงดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว และข้อตกลงดังกล่าวได้มีผลบังคับใช้แล้ว
เมือ่ วันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 จึงส่งผลให้ประเทศต้องมีสว่ นร่วมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างต่อเนื่อง
โดยประเทศไทยได้กำ� หนดเป้าหมายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 20-25 ภายในปี 2573
อีกทั้งยังจะต้องทบทวนเพื่อเพิ่มระดับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในทุก ๆ 5 ปี ดังนั้น บริบทนี้ทั้ง
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและพันธะผูกพันของประเทศในการด�ำเนินการที่เกี่ยวกับการลด
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงมีนัยส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
ขณะที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560-2564) ได้ให้ความส�ำคัญกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างยิ่ง โดยอธิบายบริบทการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยคุกคามทางธรรมชาติที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น อาทิ ปัญหาภัยแล้ง น�้ำท่วม
โรคพืช แมลงศัตรูพชื และความแปรปรวนของฤดูกาล จะท�ำให้ผลผลิตทางการเกษตรลดลงและมีความเสีย่ งมากขึ้น
ต่อความสูญเสียจากภัยคุกคามทางธรรมชาติ โดยจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการพัฒนาภาคเกษตร นอกจากนี้
ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางการเกษตรและธรรมชาติยังเป็นอีกหนึ่งภัยคุกคามต่อการพัฒนา
การเกษตรอีกด้วย ดังนั้น เพื่อท�ำให้ภาคเกษตรเผชิญกับความท้าทายข้างต้นได้ดีขึ้นยุทธศาสตร์การพัฒนา
การเกษตรฉบับนี้จึงได้ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาที่มุ่งส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างมี

207
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ประสิทธิภาพและเสริมสร้างความสามารถในการปรับตัวและการสร้างภูมิคุ้มกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ พร้อมกันนี้ยังมุ่งเน้นพัฒนาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อบรรเทาผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยคุกคามทางธรรมชาติอีกด้วย
เพื่อให้การด�ำเนินงานที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในภาคเกษตรมีความชัดเจนมากขึ้นและ
สามารถส่งเสริมแนวทางการพัฒนาที่อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนพัฒนา
การเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรจึงได้จัดท�ำ
(ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ปี 2560-2564 เพื่อใช้เป็นกรอบการด�ำเนินงาน
ของภาคเกษตรในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นอกจากนี้ การด�ำเนินงานดังกล่าว
ยั งมี ค วามเชื่ อมโยงสอดรับ (Horizontal Links) กับแผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
พ.ศ. 2558-2593 ซึ่งเป็นกรอบการด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับชาติใน
ระยะยาว และยั ง เชื่ อ มโยงกั บ เป้ า หมายและกรอบการด� ำ เนิ น งานในระยะสั้ น ที่ ไ ด้ ก� ำ หนดไว้ ใ นเจตจ� ำ นง
“การมีส่วนร่วมของประเทศ” (Nationally Determined Contribution: NDC) ซึ่งใช้เป็นแนวทางและเป้าหมาย
ในการด� ำ เนิ น งานด้ านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของประเทศ และแผนการปรับตัว แห่งชาติ (National
Adaptation Plan: NAP)

208
แผนด้านการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ แผนพัฒนาประเทศ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถานการณ์และแนวโน้มที่ส�ำคัญ: แรงขับที่ 1


ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) • การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัยธรรมชาติ
แผนแม่บทรองรับการเปลี่ยนแปลง จะมีความรุนแรงและผันผวนมากยิง่ ขึน้
ภูมิอากาศ ปี 2558-93 • ข้อตกลงระหว่างประเทศเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลง
สภาพภูมอิ ากาศจะมีความเข้มข้นมากยิง่ ขึน้
การมีส่วนร่วมของประเทศ สถานการณ์และแนวโน้มที่ส�ำคัญ:
(Nationally Determined การพัฒนาการเกษตรในช่วง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัยคุกคาม
Contribution: NDC) ทางธรรมชาติทที่ วีความรุนแรงมากขึน้ จะท�ำให้
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ผลผลิตทางการเกษตรลดลงและมีความเปราะบาง
• แผนปฏิบัติการ (Action Plan)

มากขึน้ ต่อความสูญเสียจากภัยคุกคามทางธรรมชาติ
• การวิเคราะห์ผลกระทบแบบห่วงโซ่

การเชื่อมโยงแนวนอน (Horizontal Link)


กรอบการด�ำเนินงานของภาคเกษตรใน
• การจัดล�ำดับความส�ำคัญแบบหลายเกณฑ์

แผนการปรับตัวแห่งชาติ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลง ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง


(National Adaptation Plan: NAP) ภูมิอากาศด้านการเกษตร ปี 2560-2564 สภาพภูมิอากาศ

• การรวบรวมแนวทางการปรับตัวและลดก๊าซเรือนกระจก
• แนวทางการปรับตัวและลดก๊าซเรือนกระจกที่ส�ำคัญ (Priorities)

แรงขับที่ 2
• การประเมินความต้องการเทคโนโลยีและการเสริมสร้างศักยภาพ

แผนภาพที่ 1 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตรกับแผนพัฒนาประเทศ
และแผนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และกลไกการขับเคลื่อน

209
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ดังนั้น จะเห็นได้ว่า (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ปี 2560-2564


จึ งเป็ น กรอบการด� ำ เนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ช่ว ยเป็นแรงผลักดันให้แ ผนพัฒนาทั้ง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 บรรลุเป้าประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น และยังช่วยให้การด�ำเนินงานด้านการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นนั้นเอง ทั้งนี้ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ปี 2560-2564 มุ่งเน้นให้ภาคเกษตรไทยมีภูมิคุ้มกันและมีส่วนร่วม
ในการบรรเทาปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศตามแนวทางการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน โดยมีการด�ำเนินงานทีม่ งุ่ หวัง
เพื่อ 1) สร้างความตระหนักรู้ถึงผลกระทบและถ่ายทอดข้อมูล องค์ความรู้ ตลอดจนเทคโนโลยีให้กับภาคี
การพัฒนาในทุกระดับ เพื่อสร้างความพร้อมในการด�ำเนินมาตรการตามนโยบายและแผนด้านการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ 2) พัฒนาฐานข้อมูล องค์ความรู้ และเทคโนโลยี โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อสนับสนุน
การปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 3) มีสว่ นร่วมในการบรรเทาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระดับที่
สอดคล้องกับบริบทของภาคเกษตร และพัฒนาให้เกิดการเติบโตแบบปล่อยคาร์บอนต�่ำอย่างยั่งยืน และ
4) ผลักดันให้เกิดการบูรณาการแนวทางและมาตรการในการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ
ทั้งนี้ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ปี 2560-2564 ประกอบไปด้วย
ยุทธศาสตร์ 4 ด้านด้วยกัน ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรวบรวม พัฒนา และสร้างฐานข้อมูล องค์ความรู้ และเทคโนโลยี เพื่อสร้าง
ความตระหนักรู้ในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพื่อเน้นให้มีการสร้างและพัฒนาฐานข้อมูล
องค์ความรู้ เทคโนโลยี และความตระหนักรู้ในการรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มความสามารถในการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศให้แก่
เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อเน้นเสริมสร้างประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรทาง
การเกษตรและการปรับตัวของเกษตรกรภายใต้บริบทการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบัน
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การมีสว่ นร่วมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและพัฒนาให้เกิดการเติบโตแบบปล่อย
คาร์บอนต�่ำอย่างยั่งยืน เพื่อเน้นให้เกิดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคเกษตร
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างขีดความสามารถในการบริหารจัดการเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศด้านการเกษตร เพื่อให้มีการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศด้านการเกษตร
ที่บรรลุตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น

210
เพื่อให้บรรลุความมุ่งหวังทั้ง 4 ข้อข้างต้น (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร
ปี 2560-2564 จ�ำเป็นจะต้องมีกลไกการขับเคลือ่ นเพือ่ ให้การด�ำเนินงานตามยุทธศาสตร์ทงั้ 4 สามารถด�ำเนินการ
ไปได้อย่างสมบูรณ์ กลไกที่สามารถช่วยเหลือการด�ำเนินงานดังกล่าวแยกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน ได้แก่
ส่วนที่ 1 แรงขับเคลื่อนที่ช่วยให้โครงการต่าง ๆ ภายใต้ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ด้านการเกษตร ปี 2560-2564 ได้รับความส�ำคัญมากขึ้นในการจัดสรรงบประมาณ ทั้งนี้ จ�ำเป็นจะต้องจัดท�ำ
แผนปฏิบัติการว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศด้านการเกษตร ปี 2560-64 ผ่านกระบวนการก�ำหนดโครงการ
โดยอาศัยเครื่องมือวิเคราะห์ผลกระทบแบบห่วงโซ่ (Climate Change Impact Chain Analysis) ซึ่งจะท�ำให้มี
โครงการที่สามารถบรรเทาผลกระทบต่าง ๆ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างรอบด้าน พร้อมกันนี้
จะต้องจัดล�ำดับความส�ำคัญต่าง ๆ โดยใช้หลักเกณฑ์จัดล�ำดับความส�ำคัญที่มองครอบหลายมิติ (Multi-criteria
Analysis) อาทิ มิติความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยอาศัย
เครื่องมือ Climate Change Benefit Analysis (CCBA)
ส่วนที่ 2 แรงขับเคลื่อนที่ช่วยให้โครงการต่าง ๆ ภายใต้ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ด้านการเกษตร ปี 2560-2564 ได้รับการสนับสนุนจากกลไกให้ความช่วยเหลือภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติ
ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change)
อาทิ กองทุน Green Climate Fund (GCF) และกลไกการถ่ายทอดเทคโนโลยีผ่าน Climate Technology
Centre and Network (CTCN) ทั้งนี้ แรงขับนี้จ�ำเป็นที่จะต้องจัดท�ำการรวบรวมแนวทางการปรับตัวและลด
ก๊าซเรือนกระจก (Climate Action Stock-take) และการก�ำหนดแนวทางปรับตัวและลดก๊าซเรือนกระจกทีส่ ำ� คัญ
ของภาคเกษตร (Climate Action Priorities) ซึ่งจะต้องน�ำไปบรรจุในรายงานการมีส่วนร่วมของประเทศ
(Nationally Determined Contribution: NDC) และแผนการปรับตัวแห่งชาติ (National Adaptation Plan:
NAP) พร้อมกันนีย้ งั จะต้องด�ำเนินการประเมินความต้องการเทคโนโลยีและการเสริมสร้างศักยภาพของภาคเกษตร
เพื่อเสนอขอความช่วยเหลือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการเสริมสร้างศักยภาพดังกล่าวจากประเทศที่มี
ความพร้อมที่จะช่วยเหลือซึ่งอยู่ในกรอบการด�ำเนินงานที่ข้อตกลงปารีส (Paris Agreement) ได้ก�ำหนดไว้

211
212
บรรณานุกรม
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. การเกิดภัยธรรมชาติปี 2548-2557. กรุงเทพฯ. กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์.
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. 2558. ธ.ก.ส. จัดเสวนาประกันภัยพืชผลการเกษตรหนุน
เกษตรกรมีภูมิคุ้มกัน ลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ. กรุงเทพฯ. ส�ำนักสื่อสารการตลาดและ
ประชาสัมพันธ์.
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. 2559. คลังมอบหมาย ธ.ก.ส. เดินหน้าประกันภัยข้าวนาปี
จับมือสมาคมประกันวินาศภัยคุ้มครองพื้นที่ 30 ไร่. กรุงเทพฯ. ส�ำนักสื่อสารการตลาดและ
ประชาสัมพันธ์.
วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล และวีณา ฉายศิลปรุ่งเรือง. 2544. รูปแบบการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย.
กรุงเทพฯ. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 41(3), 1-48.
สภาปฏิรูปแห่งชาติ. 2558. วาระปฏิรูปพิเศษ 12: แนวทางการปฏิรูปการประกันภัยพืชผล. กรุงเทพฯ.
ส�ำนักวิชาการ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2551. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการประกันภัยพืชผลของเกษตรกร.
กรุงเทพฯ. ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
สุภัทร ค�ำมุงคุณ. 2559. การปฏิรูปด้านการบริหารความเสี่ยงของเกษตรกร: การประกันภัยพืชผล.
กรุงเทพฯ. ส�ำนักวิชาการ ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
อเนก หิรัญรักษ์, อุปถัมภ์ สายแสงจันทร์, วีณา ฉายศิลปรุ่งเรือง, และปิยวดี โขวิฑูรกิจ. 2541. การประกันภัย
พืชผลทางการเกษตรของประเทศไทย. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 38(2), 287-315.
IPCC (2013). Summary for Policymakers. In: Climate Change 2013: The Physical Science Basis.
Contribution of Working Group I to the Fifth Assessment Report of the Intergovernmental
Panel on Climate Change [Stocker, T.F., D. Qin, G.-K. Plattner, M. Tignor, S.K. Allen,
J. Boschung, A. Nauels, Y. Xia, V. Bex and P.M. Midgley (eds.)]. Cambridge University Press,
Cambridge, United Kingdom and New York, NY, USA.
IPCC (2014). Summary for policymakers. In: Climate Change 2014: Impacts, Adaptation,
and Vulnerability. Part A: Global and Sectoral Aspects. Contribution of Working Group II
to the Fifth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change
[Field, C.B., V.R. Barros, D.J. Dokken, K.J. Mach, M.D. Mastrandrea, T.E. Bilir,
M. Chatterjee, K.L. Ebi, Y.O. Estrada, R.C. Genova, B. Girma, E.S. Kissel, A.N. Levy,
S. MacCracken, P.R. Mastrandrea, and L.L.White (eds.)]. Cambridge University Press,
Cambridge, United Kingdom and New York, NY, USA, pp. 1-32.

213
สถานการณ์สินค้าเกษตรที่สำ�คัญและแนวโน้ม ปี 2560
สำ�นักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำ�นักงานเศรษฐกิจการเกษตร

บรรณาธิการ
ที่ปรึกษา
นางสาวราตรี เม่นประเสริฐ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
นางผกาพรรณ ศรลัมพ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจทรัพยากรธรรมชาติทางการเกษตร
นางประนาถ พิพิธกุล ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเศรษฐกิจการแปรรูปสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร
นายชัยภัทร์ รัชคุปต์ รักษาการผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจการผลิตและการตลาด
นางสาวศิริพร วงศ์เลิศประยูร ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง
นางสาวกัญญารัตน์ ว่องวิทย์เดชา ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชอาหารและพลังงานทดแทน
นางสาวสิริลักษณ์ พัฒนพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจธัญพืชและพืชไร่
นางสายรัก ไชยลังกา ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจทรัพยากรการเกษตร
นายพงศ์ไท ไทโยธิน ผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชสวน
นางอัญชนา แก้วเฉย รักษาการผู้อ�ำนวยการส่วนวิจัยเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนเกษตร

คณะผู้จัดท�ำ
ข้าว ยางพารา สุกร/โคเนื้อ
นางสาวปองวดี จรังรัตน์ นางสาวเพ็ญศรี สาวัตถี นางสาวอัจฉรา ไอยรากาญจนกุล
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นายทินกร เพชรสูงเนิน โคนม
นางจิตรา เดชโคบุตร กาแฟ นางสาวศุภลักษณ์ ถาวระ
ถั่วเหลือง นางสาวณัฐวณี ยมโชติ กุ้ง
นางสาวบุษยา ปิ่นสุวรรณ สับปะรด นางสาวรักชนก ทุยเวียง
มันส�ำปะหลัง นายประเสริฐศักดิ์ แสงสัทธา ปลาป่น
นางสาวมณทิรา พรหมพิทยายุทธ ล�ำไย นางรัชดา ทั่งทอง
อ้อยโรงงาน นายณภัทร อรุณรัตน์ ประกันภัยพืชผล “เครื่องมือทาง
นายชวนเพิ่ม สังข์สิงห์ ทุเรียน/มังคุด การเงินในการบริหารความเสี่ยง
ปาล์มน�้ำมัน นางสาวสิริกร คูณขุนทด ของเกษตรกร”
นายกฤช เอี่ยมฐานนท์ มันฝรั่ง/กล้วยไม้ นายศิลปพร ชื่นสุรัตน์
นางสาวอภิญญา วงษ์สมัย นายบุญเสริม สุขภิญโญ แผนยุทธศาสตร์การเปลี่ยนแปลง
นางสาวศิริวรรณ ประเศรษฐานนท์ นายธนากร แก้วจรูญ ภูมิอากาศด้านการเกษตร
ไก่เนื้อ/ไข่ไก่ และกลไกการขับเคลื่อน
นางมุทิตา รุธิรโก นายอัครพล ฮวบเจริญ

214
จัดท�ำโดย
ส�ำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ส�ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โทรศัพท์/โทรสาร
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจธัญพืชและพืชไร่นา โทรศัพท์ 0-2579-7554 โทรสาร 0-2940-6349
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชอาหารและพลังงานทดแทน โทรศัพท์ 0-2579-0611 โทรสาร 0-2940-7403
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจพืชสวน โทรศัพท์ 0-2579-0612 โทรสาร 0-2561-4736
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง โทรศัพท์ 0-2579-3536 โทรสาร 0-2579-0910
E-mail: baer@oae.go.th
www.oae.go.th

215
�ี่สำ คัญ
ต ร ท
ics


om


้ เ ก
con

์ณสินคี 2560
lE
ura

า ร ้มป
ult


าถ น แนวโน
ric
Ag

ส ละ
of


ice
Off

You might also like