You are on page 1of 1

บาลีว ันละคา (11) บ ังสุกล

ี งว่า บัง-สุ-กุน (สุ - สระ อุ ไม่ใช ่ สะ – สระ อะ)


ออกเสย

“บังสุกล
ุ ” ภาษาบาลีเป็ น ปสุ + กูล (ปั ง-สุ-กู-ละ)

“ปสุ” เขียนแบบไทยเป็ น “บ ังสุ” แปลว่า ฝุ่ น, ขีด


้ น

“กูล” (สระ อู) เขียนแบบไทยเป็ น “กุล” อ่านว่า กุน แปลว่า เปรอะเปื้ อน, คลุกเคล ้า

“บ ังสุกล
ุ ” แปลว่า ผ ้าทีเ่ ปรอะเปื้ อนอยูก
่ ับฝุ่ น คือผ ้าทีท
่ งิ้ แล ้ว

สมัยพุทธกาล พระสงฆ์ทา่ นจะเทีย ั แล ้วเย็บเป็ นจีวรใชนุ้ ่งห่ม


่ วเก็บผ ้าทีเ่ ขาทิง้ แล ้วมาซก

ชาวบ ้านทีม ี รัทธาจึงเอาผ ้าดีๆ ไปทอด (ทอด คือ วาง) ไว ้ตามทางทีพ


่ ศ ่ ระผ่าน
เพือ
่ ให ้พระเก็บเอาไปทาจีวร

จึงเป็ นทีม
่ าของการ “ทอดผ ้าป่ า” และ “ทอดผ ้าบังสุกล
ุ ” ในงานศพ

“บ ังสุกล
ุ ” ระวัง อย่าพูดผิดเป็ น “บังสะกุล”

เพราะ “บังสะกุล” อาจถูกแปลล ้อเล่นว่า “นามสกุลของนายบัง”

บาลีวน
ั ละคา

14 5 55

You might also like