You are on page 1of 9

การเคลือ่ นทีใ่ นหนึ่งมิติ และสองมิติ

1 ตาแหน่ งและการกระจัด
เมือ
่ วัตถุเกิดการเคลือ่ นที่ จะมีปริมาณทีเ่ กีย่ วข้องกับการเคลือ ่ นที่ ได้แก่
ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว อัตราเร่ง ความเร่ง
ตาแหน่ ง(Position) คือการแสดงออก หรือบอกให้ทราบว่า
วัตถุหรือสิง่ ของทีเ่ ราพิจารณาอยูท ่ ใี่ ด
ระยะทาง(Distance)คือความยาวตามเส้นทางทีว่ ตั ถุเคลือ ่ นทีเ่ ป็ นปริมาณสเก
ลาร์ มีหน่ วยเป็ นเมตร
การกระจัด(Displacement) คือเส้นตรงทีล่ ากจากจุดเริม ่ ต้น ไปยังจุดสุดท้าย
เป็ นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่ วยเป็ นเมตร
การกระจัดกับระยะทางจะเท่ากัน เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีเ่ ป็ นเส้นตรง
และไม่มีการย้อนกลับ
ตัวอย่างที่ 1 จากภาพใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 5

1. จากภาพ เป็ นการเดินทางจาก A ไป B แล้วเดินทางต่อจาก B ไป C


จะเดินทางได้กีเ่ มตร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
2. จากข้อ 1 เมือ่ เดินทางไปถึงจุด C , จุด C จะอยูห
่ า่ งจากจุด A เป็ นขนาดเท่าใด
โดยมีทศ
ิ มุง่ มาที่ C

……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
3. ขนาดความยาวของเส้นทางนี้ ในข้อ 1 เรียกว่าอะไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
4. ขนาดความยาวของเส้นทางนี้ และมีทศ
ิ จากแน่ นอนจาก A ไป Cในข้อ 2
เรียกว่าอะไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
5. โดยทั่วไป เมือ
่ เปรียบเทียบขนาดความยาวของเส้นทางทีไ่ ด้จากข้อ 3 และ ข้อ 4
จะมีขนาดแตกต่าง กันอย่างไร และจะมีขนาดเท่ากันได้หรือไม่ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………

ตัวอย่างที่ 2 จากภาพใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 2

1. เคลือ
่ นทีต่ ามเส้นทาง A, B และ C จะได้การกระจัดเท่ากันหรือไม่
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
2. เคลือ่ นทีต่ ามเส้นทาง A , B และ C จะได้ระยะทางเท่ากันหรือไม่ หากไม่เท่ากัน
เส้นทางใดมีระยะทางมากทีส ่ ุด และเส้นทางใดมีระยะทางน้อยทีส่ ุด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 3 จากภาพใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 6 เป็ นการเคลือ ่ นทีข
่ องวัตถุ จาก A >>
B>> C >>D ใน ลักษณะเป็ นส่วนหนึ่งของรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า
1. ระยะทาง AB เท่ากับ ………….…เมตร
2. การกระจัด AB เท่ากับ
………….….เมตร
3. ระยะทาง AC เท่ากับ
………….….เมตร
4. การกระจัด AC เท่ากับ
……...……….เมตร
5. ระยะทาง AD เท่ากับ
…………..….เมตร
6. การกระจัด AD เท่ากับ ……..……….เมตร

ตัวอย่างที่ 4 สุวนันท์ขบั รถจากบ้านไปทางทิศตะวันออก 16 กิโลเมตร


แล้วขับรถต่อไปทางเหนือ 12
กิโลเมตร จงหาระยะทางและการกระจัดของสุวนันท์ จากบ้านเป็ นเท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………

ใบงานที่ 2
เรือ
่ ง แรงกิรยิ าและแรงปฏิกริ ยิ า

ความเร็วเฉลีย่ และอัตราเร็วเฉลีย่
่ นทีไ่ ด้ในหนึ่งหน่ วยเวลา
อัตราเร็ว(speed) คือระยะทางทีเ่ คลือ
เป็ นปริมาณสเกลาร์ มีหน่ วยเป็ น เมตร/วินาที(m/s)
อัตราเร็ว = ระยะทางทัง้ หมด / เวลาทีใ่ ช้
หรือ

เมือ
่ v คือ อัตราเร็วของวัตถุ มีหน่ วยเป็ น เมตรต่อวินาที ( m/s)
S คือ ระยะทางทีว่ ตั ถุเคลือ
่ นทีไ่ ด้ มีหน่ วยเป็ น เมตร ( m )
t คือ เวลาทีใ่ ช้ในการเคลือ
่ นที่ มีหน่ วยเป็ น วินาที ( s )

อัตราเร็วเฉลีย่ (Average Speed) คืออัตราเร็วทีจ่ ุดกึง่ กลางของช่วงเวลานัน้


หาจากอัตราส่วนของ ระยะทางกับเวลา เป็ นปริมาณสเกลาร์ มีหน่ วยเป็ น
เมตร/วินาที(m/s)
อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง
หรืออัตราเร็วทีจ่ ุดใดจุหนึ่งหรือช่วงใดช่วงหนึ่งในเวลาสัน ้ ๆ ค่า
อัตราเร็วทีไ่ ด้นี้จะอยูท ี่ งึ่ กลางช่วงเวลา หาได้จาดระยะทางต่อหนึ่งหน่ วยเวลา
่ ก
ค่าอัตราเร็วเฉลีย่ เป็ นการบอกค่าประมาณซึง่ ค่าแท้จริงอาจจะมากกว่าหรือน้อ
ยกว่าค่าเฉลีย่ ก็ได้แต่ ไม่มากหรือน้อยเกินไป

ความเร็ว(Velocity) คือการกระจัดทัง้ หมดใน 1 หน่ วยเวลา


เป็ นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่ วยเป็ น เมตร/ วินาที
ความเร็วเฉลีย่ (Average Velocity) คือ
ความเร็วทีจ่ ุดกึง่ กลางของช่วงเวลานัน

หาจากอัตราส่วนของการกระจัดกับเวลาในช่วงนัน ้ เป็ นปริมาณเวกเตอร์
มีหน่ วยเป็ น เมตร/ วินาที
ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง(Instantaneous Velocity) คือ
อัตราส่วนของการกระจัดกับช่วงเวลา(ช่วงเวลาทีส ่ น
้ ั มากๆ ) ของการกระจัดนัน

หรือกล่าวได้วา่ ความเร็วขณะใดขณะหนึ่งคือ
ความเร็วทีจ่ ุดใดจุดหนึ่งของการเคลือ
่ นที่ เป็ นปริมาณสเกลาร์
สรุป

การวัดอัตราเร็วของการเคลือ
่ นทีใ่ นแนวตรง

เ ค รื่ อ ง มื อ ที่ ใ ช้ ส า ห รั บ ห า ค่ า อั ต ร า เ ร็ ว เ ฉ ลี่ ย ใ น ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร คื อ


เครือ ่ งเคาะสัญญาณ เวลา เครือ ่ งเคาะสัญญาณเวลาใช้กบ ั ไฟฟ้ า 220 โวลต์ มีความถี่ 50
เฮิรตซ์ แต่แปลงค่าเคลือ ่ นทีเ่ พือ
่ ใช้ กับเครือ
่ งเคาะสัญญาณเหลือเพียง 6 โวลต์ ความถี่ 50
เ ฮิ ร ต ซ์ ดั ง นั้ น จุ ด ที่ ป ร า ก ฏ บ น แ ถ บ ก ร ะ ด า ษ จ ะ มี ทั้ ง ห ม ด 50 จุ ด ใ น 1 วิ น า ที
เ ร า จึ ง อ่ า น ค่ า เ ว ล า ที่ แ น่ น อ น ไ ด้ ร ะ ห ว่ า ง 1 ช่ ว ง จุ ด จ ะ ใ ช้ เ ว ล า 1/50 วิ น า ที
และระยะทางทีป ่ รากฏบนกระดาษจะบอกให้ทราบว่ามีการเคลือ ่ นทีด
่ ้วยความเร็วมากขึน ้
น้อยลง หรือคงทีด ่ ูจากระยะห่างระหว่างจุด

…………………………………… ……………………………………
………… …………

…………………………………… ……………………………………
………… …………
ความเร็วเฉลีย่ จากกระดาษเทป คือ ค่าความเร็วทีจ่ ุดกึง่ กลางของช่วงเวลานัน

ความเร็วเฉลีย่ ช่วง AC =
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ตัวอย่างที่ 5 รถยนต์คน ั หนึ่งวิง่ ด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 เมตรต่อวินาที
นานเท่าใดจึงจะ เคลือ ่ นทีไ่ ด้ระยะทาง 500 เมตร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………

ตัวอย่างที่ 6 เด็กคนหนึ่งออกกาลังกายด้วยการวิง่ ด้วยอัตราเร็ว 6 เมตรต่อวินาที


เป็ นเวลา 1 นาที วิง่ ด้วยอัตราเร็ว 5 เมตรต่อวินาที อีก 1 นาที
แล้วเดินด้วยอัตราเร็ว 1 เมตรต่อวินาที อีกหนึ่งนาที
จงหาอัตราเร็วเฉลีย่ ในช่วงเวลา 3 นาทีนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 7 คลองทีต ่ ดั ตรงจากเมือง A ไปเมือง B มีความยาว 65 กิโลเมตร
ขณะทีถ ่ นนจากเมือง A ไปเมือง B มีระยะทาง 79 กิโลเมตร
ถ้าชายคนหนึ่งขนสินค้าจากเมือง A ไปเมือง B โดยรถยนต์
ถามว่าสินค้านัน ้ มีขนาดการกระจัดเท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 8 รถยนต์คน ั หนึ่งวิง่ ด้วยอัตราเร็วเฉลีย่ 80 กิโลเมตรต่อชั่งโมง จากเมือง
A ไปเมือง B ทีอ ่ ยูห
่ า่ งกัน 200 กิโลเมตร ถ้าออกเดินทางเวลา 06.00 น.
จะถึงปลายทางเวลาเท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 9 A กับ B วิง่ ออกกาลังกายจากจุดๆ หนึ่งด้วยอัตราเร็วสม่าเสมอ 4
เมตรต่อวินาที และ 6 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ เมือ ่ เวลาผ่านไป 60 วินาที A กับ B
จะอยูห
่ า่ งกันกีเ่ มตร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 10 เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศเหนือได้ระยะทาง 300 เมตร
จากนัน้ เดินไปทางทิศ ตะวันออกได้ระยะทาง 400 เมตร ใช้เวลาเดินทางทัง้ หมด
500 วินาที เด็กคนนี้เดินทางด้วยอัตราเร็ว เฉลีย่ เท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 11 ในการทดลองปล่อยถุงทรายให้ตกแบบเสรี
โดยลากแถบกระดาษผ่านเครือ ่ ง เคาะสัญญาณ เวลาทีเ่ คาะจุดทุก ๆ วินาที
จุดบนแถบกระดาษปรากฏดังรูป ถ้าระยะระหว่าง จุดที่ 9 ถึงจุดที่ 10 วัดได้ 3.80
เซนติเมตร และระยะระหว่างจุดที่ 10 ถึงจุดที่ 11 วัดได้ 4.20 เซนติเมตร
ความเร็วเฉลีย่ ทีจ่ ุดที่ 10 จะเป็ นกีเ่ มตรต่อวินาที

……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 12 รถยนต์ A เริม
่ เคลือ
่ นทีจ่ ากหยุดนิ่ง โดยอัตราเร็วเพิม ้ 2
่ ขึน
เมตรต่อวินาที ทุก 1 วินาที เมือ
่ สิน
้ วินาที 5 รถจะมีอตั ราเร็วเท่าใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 13 จากรูปแสดงจุดห่างสม่าเสมอกันบนแถบกระดาษทีผ ่ า่ นเครือ ่ งเคาะ
สัญญาณเวลา 50 ครัง้ ต่อวินาที ข้อความใดถูกต้องสาหรับการเคลือ ่ นทีน ่ ี้

1. ความเร็วเพิม ้ สม่าเสมอ
่ ขึน 2. ความเร่งเพิม ้ สม่าเสมอ
่ ขึน
3. ความเร่งคงตัวและไม่เป็ นศูนย์ 4. ระยะทางเพิม ้ สม่าเสมอ
่ ขึน

ั หนึ่งแล่นด้วยอัตราเร็วคงตัว 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
ตัวอย่างที่ 14 รถยนต์คน
ระยะทางทีร่ ถยนต์คนนี้แล่นได้ในเวลา 6 นาทีเป็ นตามข้อใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………

ตัวอย่างที่ 15 เด็กคนหนึ่งวิง่ เป็ นเส้นตรงไปทางขวา 20 เมตร ในเวลา 4 วินาที


จากนัน
้ ก็หน ั กลับแล้ววิง่ เป็ นเส้นตรงไปทางซ้ายอีก 2 เมตร ในเวลา 1 วินาที
ขนาดความเร็วเฉลีย่ ของเด็กคนนี้เป็ นไปตามข้อใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 16 เด็กคนหนึ่งเดินไปทางทิศตะวันออก 60 เมตร ใช้เวลา 3 นาที
และเดินต่อไป ทางทิศเหนืออีก 80 เมตร ใช้เวลา 5 นาที จงหาอัตราเร็ว
และความเร็วของเด็กคนนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
ตัวอย่างที่ 17
จากแถบกระดาษของเครือ ่ งเคาะสัญญาณเวลาทีไ่ ด้จากการศึกษาการเคลือ
่ นทีข
่ องร
ถทดลอง จงคานวณอัตราเร็วเฉลีย่ ในช่วง AB และ อัตราเร็วขณะหนึ่งตรงจุด C
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………

You might also like