You are on page 1of 177

คูม อื ครูสาระการเรียนรูพ นื้ ฐาน

คณิตศาสตร เลม ๑
กลุม สาระการเรียนรูค ณิตศาสตร
ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๑
ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔

จัดทําโดย

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

ISBN 974 - 01 -3610 - 9


พิมพครัง้ ทีห่ นึง่ ๒๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๖

องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลขิ สิทธิต์ ามพระราชบัญญัติ
‡ÎµœÎµ

­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸ (­­ªš.) ŗo¦´ ¤°®¤µ¥‹µ„„¦³š¦ªŠ«¹„¬µ›·„µ¦


Ä®o¡´•œµ®¨´„­¼˜¦„µ¦«¹„¬µ…´Êœ¡ºÊœ“µœ ¡»š›«´„¦µ 2544 …°Š„¨»n¤­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o‡–·˜«µ­˜¦r „¨»n¤­µ¦³
„µ¦Á¦¸¥œ¦¼oª·š¥µ«µ­˜¦r ¦ª¤š´ÊŠ­µ¦³„µ¦°°„Â¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸Â¨³­µ¦³Áš‡ÃœÃ¨¥¸­µ¦­œÁš«Äœ„¨»n¤­µ¦³
„µ¦Á¦¸¥œ¦¼„o µ¦Šµœ°µ¸¡Â¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸ ˜¨°—‹œ‹´—šÎµ­ºÉ°„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o˜µ¤®¨´„­¼˜¦—´Š„¨nµª

‡¼n¤º°‡¦¼ Á ¨n¤œ¸Ê Á ž}œ ­n ªœ®œ¹ÉŠ…°Š­ºÉ°„µ¦Á¦¸¥ œ¦¼o˜µ¤®¨´„­¼˜¦…°Š„¨»n¤­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o‡–·˜«µ­˜¦r


čož¦³„°„µ¦Á¦¸¥œ„µ¦­°œ‡ª‡¼n„´®œ´Š­º°Á¦¸¥œ­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r Á¨n¤ 1 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 1
Á¡ºÉ°Ä®o‡¦¼Ÿ¼o­°œÄoÁž}œÂœªšµŠÄœ„µ¦‹´—„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o‡–·˜«µ­˜¦rÄ®oŸ¼oÁ¦¸¥œ¦¦¨»¤µ˜¦“µœ„µ¦Á¦¸¥œ¦¼oš¸É„ε®œ—Ūo

Ĝ„µ¦‹´—šÎµ‡¼¤n °º ‡¦¼Á¨n¤œ¸Ê ­­ªš. ŗo¦´ ‡ªµ¤¦nª¤¤º°°¥nµŠ—¸¥Š·É ‹µ„‡–³°µ‹µ¦¥r Ÿ¼šo ¦Š‡»–ª»•· œ´„ª·µ„µ¦


¨³‡¦¼Ÿ¼o­°œ ‹µ„®¨µ¥®œnª¥Šµœš´ÊŠ£µ‡¦´“¨³Á°„œ ­­ªš. ‹¹Š…°…°‡»–š»„šnµœÅªo – š¸Éœ¸Ê ¨³
®ª´ Š Áž} œ°¥n µŠ¥·ÉŠªn µ‡¼n¤º°‡¦¼ Á¨n¤œ¸Ê‹³Áž}œž¦³Ã¥œr­Îµ®¦´‡¦¼Ÿ¼o­°œ‡–·˜«µ­˜¦rÄ®o­µ¤µ¦™œÎµÅžÄo®¦º°ž¦´Äo
Ä®oÁ®¤µ³­¤„´«´„¥£µ¡…°ŠŸ¼oÁ¦¸¥œ

®µ„¤¸…°o Á­œ°Âœ³Ä—š¸‹É ³šÎµÄ®o‡¤¼n °º ‡¦¼Á¨n¤œ¸­Ê ¤¼¦–r¥Š·É …¹œÊ Þ¦—‹oŠ ­­ªš. š¦µ—oª¥‹´„…°‡»–¥·ÉŠ

(œµ¥¡·«µ¨ ­¦o°¥›»®¦Éε)
Ÿ¼o°Îµœª¥„µ¦
­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸
‡Îµ¸Ê‹Š

­µ…µ‡–·˜«µ­˜¦r¤´›¥¤«¹„¬µ ­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸ (­­ªš.)


ŗo¦´¤°®¤µ¥‹µ„„¦³š¦ªŠ«¹„¬µ›·„µ¦Ä®o¡´•œµ®¨´„­¼˜¦„¨»n¤­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o‡–·˜«µ­˜¦r nªŠ´Êœš¸É 3
(¤´ › ¥¤«¹ „ ¬µže š¸É 1-3) ¨³n ª Š´Ê œ š¸É 4 (¤´ › ¥¤«¹ „ ¬µže š¸É 4-6) Ĝ®¨´ „ ­¼ ˜ ¦„µ¦«¹ „ ¬µ…´Ê œ ¡ºÊ œ “µœ
¡»š›«´„¦µ 2544 œ°„‹µ„œ´Êœ¥´ŠÅ—o¡´•œµ­ºÉ°„µ¦Á¦¸¥œ„µ¦­°œ‡–·˜«µ­˜¦rÁ¡ºÉ°Äož¦³„°®¨´„­¼˜¦…°Š
nªŠ´Êœš¸É 3 ¨³ 4 °¸„—oª¥
®œ´Š­º°Á¦¸¥œÂ¨³‡¼n¤º°­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r…°ŠnªŠ´Êœš¸É 3 ‹³¤¸—oª¥„´œš´ÊŠ®¤—
°¥nµŠ¨³ 6 Á¨n¤ ŗo„n ®œ´Š­º°Á¦¸¥œÂ¨³‡¼n¤º°‡¦¼­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ ‡–·˜«µ­˜¦r Á¨n¤ 1 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µ
žeš¸É 1 Á¨n¤ 2 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 1 Á¨n¤ 1 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 2 Á¨n¤ 2 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 2 Á¨n¤ 1
´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 3 ¨³Á¨n¤ 2 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 3 ˜µ¤¨Îµ—´ š´ÊŠœ¸Ê­™µœ«¹„¬µ­µ¤µ¦™œÎµÅžž¦´Äo
Ä®oÁ®¤µ³­¤„´®¨´„­¼˜¦…°Š­™µœ«¹„¬µ
‡¼n ¤º ° ‡¦¼ ‡ –· ˜ «µ­˜¦r Á ¨n ¤ œ¸Ê ‹´ — šÎµ…¹Ê œ Á¡ºÉ ° čo ž ¦³„°„µ¦Á¦¸ ¥ œ„µ¦­°œ‡ª‡¼n „´  ®œ´ Š ­º ° Á¦¸ ¥ œ
­µ¦³„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o¡ºÊœ“µœ‡–·˜«µ­˜¦r Á¨n¤ 1 ´Êœ¤´›¥¤«¹„¬µžeš¸É 1 čoÁª¨µÄœ„µ¦Á¦¸¥œ„µ¦­°œ 3 ´ÉªÃ¤Š
˜n°­´ž—µ®r˜n°£µ‡ ­nªœ®œoµ…°ŠÁ¨n¤ž¦³„°—oª¥‡Îµ¸Ê‹Š„µ¦Äo‡¼n¤º°‡¦¼ Ĝ„µ¦Äo‡¼n¤º°‡¦¼…°Ä®o°nµœ‡Îµ¸Ê‹Š
„µ¦Äo‡¼n¤º°‡¦¼—´Š„¨nµª„n°œš¸É‹³«¹„¬µ¦µ¥¨³Á°¸¥—Ĝ˜n¨³š
Ĝ˜n¨³š…°Š‡¼n¤º°‡¦¼ž¦³„°—oª¥ ‡ÎµœÎµž¦³‹Îµš Ÿ¨„µ¦Á¦¸¥œ¦¼oš¸É‡µ—®ª´Š¦µ¥že œªšµŠ
„µ¦‹´—„µ¦Á¦¸¥œ¦¼o ‹»—ž¦³­Š‡r (ž¦³‹Îµ®´ª…o°) Á°„­µ¦Âœ³œÎµ„µ¦‹´—„·‹„¦¦¤ „·‹„¦¦¤Á­œ°Âœ³  f„®´—
Á¡·É¤Á˜·¤Â¨³‡ªµ¤¦¼oÁ¡·É¤Á˜·¤­Îµ®¦´‡¦¼
‡–³Ÿ¼o‹´—šÎµ®ª´Šªnµ‡¼n¤º°‡¦¼Á¨n¤œ¸Ê‹³Áž}œž¦³Ã¥œr˜n°„µ¦Á¦¸¥œ„µ¦­°œ‡–·˜«µ­˜¦r °¥nµŠÅ¦„È—¸
®µ„šnµœŸ¼očo‡¼n¤º°‡¦¼Á¨n¤œ¸Ê¤¸…o°Á­œ°Âœ³ž¦³„µ¦Ä— Þ¦—‹oŠÄ®o­µ…µ‡–·˜«µ­˜¦r¤´›¥¤«¹„¬µ ­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤
„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸š¦µ Á¡º°É ž¦´ž¦»ŠÁ°„­µ¦Ä®o­¤¼¦–r¥Š·É …¹œÊ ˜n°Åž

(œµŠ­µª‹µ¦»ª¦¦– ­Šš°Š)
®´ª®œoµ­µ…µ‡–·˜«µ­˜¦r¤´›¥¤«¹„¬µ
­™µ´œ­nŠÁ­¦·¤„µ¦­°œª·š¥µ«µ­˜¦r¨³Áš‡ÃœÃ¨¥¸
สารบัญ

หนา
คํานํา
คําชี้แจง
คําชี้แจงการใชคูมือครู ก
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง
บทที่ 1 สมบัติของจํานวนนับ 1
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1
แนวทางในการจัดการเรียนรู 2
1.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช 2
จุดประสงค 2
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 2
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2
1.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช 3
จุดประสงค 3
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3
คําตอบแบบฝกหัด 5
กิจกรรมเสนอแนะ 8
บทที่ 2 ระบบจํานวนเต็ม 22
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 22
แนวทางในการจัดการเรียนรู 23
2.1 จํานวนเต็ม 23
จุดประสงค 23
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 23
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 23
2.2 การบวกจํานวนเต็ม 24
จุดประสงค 24
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 24
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 24
หนา
2.3 การลบจํานวนเต็ม 25
จุดประสงค 25
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 25
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 25
2.4 การคูณจํานวนเต็ม 26
จุดประสงค 26
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 26
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 26
2.5 การหารจํานวนเต็ม 27
จุดประสงค 27
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 27
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 28
2.6 สมบัติของจํานวนเต็ม 28
จุดประสงค 28
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 28
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 28
คําตอบแบบฝกหัด 29
กิจกรรมเสนอแนะและแบบฝกหัดเพิ่มเติม 39
บทที่ 3 เลขยกกําลัง 64
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 65
แนวทางในการจัดการเรียนรู 66
3.1 ความหมายของเลขยกกําลัง 66
จุดประสงค 66
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 66
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 66
3.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง 70
จุดประสงค 70
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 70
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 70
หนา
3.3 การนําไปใช 72
จุดประสงค 72
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 72
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 72
คําตอบแบบฝกหัด 73
กิจกรรมเสนอแนะและแบบฝกหัดเพิ่มเติม 83
บทที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 110
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 110
แนวทางในการจัดการเรียนรู 111
4.1 จุด เสนตรง สวนของเสนตรง รังสีและมุม 111
จุดประสงค 111
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 111
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 111
4.2 การสรางพื้นฐาน 114
จุดประสงค 114
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 114
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 114
4.3 การสรางรูปเรขาคณิตอยางงาย 120
จุดประสงค 120
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 120
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 120
คําตอบแบบฝกหัด 123
กิจกรรมเสนอแนะ 154
คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 167
คําชี้แจงการใชคูมือครู
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพจิ ารณาเห็นวา เพือ่ ใหจดั การเรียนการสอน
คณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูท กี่ าํ หนดไวในหลักสูตรครบถวนทัง้ สามดาน
ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรและดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม
จึงไดจัดทําคูมือครู ซึ่งเสนอแนะวิธสี อนและวิธจี ดั กิจกรรมการเรียนการสอนไวโดยละเอียด เพือ่ ใชควบคู
กับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ นื้ ฐาน คณิตศาสตร เลม 1 ดังนัน้ ครูตอ งศึกษาคูม อื ครูใหเขาใจถองแท
ควรทดลองปฏิบตั กิ จิ กรรมเพือ่ ใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอนทุกบทเรียน และดําเนินกิจกรรม
ตามทีเ่ สนอแนะไว ครูอาจปรับเปลีย่ นกิจกรรมและวิธจี ดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดตามความเหมาะสม
โดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ
คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้
1. ชือ่ บทและหัวขอเรือ่ งประจําบท ระบุจาํ นวนชัว่ โมงทีใ่ ชในการเรียนการสอนของแตละบท
และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่ครูเห็นสมควร
2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนที่ควรย้ํา
3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่
ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา
จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หนกั เรียนเกิดผลการเรียนรูต ามทีก่ าํ หนด เพือ่ การวัดและประเมินผลหลัง
จบการเรียนการสอน และผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการ
เรียนรูชวงชั้นที่ 3 ดวย
4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอเรื่องของบทเรียนนี้ประกอบดวยหัวขอ
ดังตอไปนี้
1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูให
นักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่งจะตองเกิด
ขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตามจุดประสงค
และใชวธิ กี ารประเมินผลทีห่ ลากหลายเพือ่ ใหมผี ลบรรลุถงึ ผลการเรียนรูท คี่ าดหวังรายป
การประเมินผลทีห่ ลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด
การทําใบกิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวานักเรียน
สวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอนซอมเสริมใหม

2) เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม ระบุรายการกิจกรรมเสนอแนะหรือแบบฝกหัด
เพิ่มเติมดังรายละเอียดในขอ 6 และขอ 7
3) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู
ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน
5. คําตอบแบบฝกหัดประจําบท แบบฝกหัดทุกขอมีคําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไว
ใหเพื่อเปนแนวทางหนึ่งในการหาคําตอบ บางขอมีหลายคําตอบแตใหไวเปนตัวอยางเพียงหนึ่งคําตอบ
ทั้งนี้เพราะแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทํา ไดสอดแทรกปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนคิดอยางหลากหลาย
การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจแบบฝกหัด ครูควร
พิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ปญหาที่มีลักษณะเปน
ปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย
6. กิจกรรมเสนอแนะ มีทงั้ กิจกรรมเพือ่ นําเขาสูเ นือ้ หาสาระ เสริมเนือ้ หาสาระและกิจกรรม
พัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครูอาจปรับเปลี่ยนให
เหมาะสมกับเวลาและความสามารถของนักเรียน
กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิดความ
เขาใจและมองเห็นแงมมุ ตาง ๆ ของกิจกรรมทีจ่ ะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชีน้ าํ แนวคิด ขณะทํากิจกรรม
ครูตองสงเสริมใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝกฝนใหนักเรียนรูจัก
วิเคราะห ตัดสินใจและหาขอสรุป
7. แบบฝกหัดเพิ่มเติม ในบางบทเรียนไดเตรียมแบบฝกหัดเพิ่มเติมไวใหครูเลือกหรือปรับใช

คําแนะนําการใชหนังสือเรียนคณิตศาสตรพื้นฐาน

หนังสือเรียนคณิตศาสตรพื้นฐาน ประกอบดวย
1. เนื้อหาสาระ ในการนําเสนอเนื้อหาสาระของแตละบทเรียน ไดคํานึงถึงการเชื่อมโยงความรูใหม
กับความรูพื้นฐานเดิมของนักเรียน โดยพยายามใชตัวอยางจากชีวิตจริงและความรูจากศาสตรอื่น
ประกอบการอธิบายเพื่อใหไดขอสรุปเปนความรูใหมตอไป
2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช
3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือ ฝกทักษะการคิดคํานวณ
แกโจทยปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ
4. ปญหาชวนคิดหรือเรือ่ งนารู เปนโจทยปญ
 หาหรือสถานการณกระตุน ใหนกั เรียนไดใชความรูท เี่ รียนมา
เพื่อแกปญหาหรือหาขอสรุปใหม

เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครูให
เขาใจอยางถองแท
2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย
3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา
4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม
หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได
5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ
ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู
ตาง ๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 1

บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง


1 สมบัติของจํานวนนับ 6

2 ระบบจํานวนเต็ม 26

3 เลขยกกําลัง 13

4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 15

รวม 60
1

บทที่ 1
สมบัติของจํานวนนับ (6 ชั่วโมง)
1.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช (4 ชั่วโมง)
1.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช (2 ชัว่ โมง)

เนื้อหาในบทเรียนนี้ จะเนนเฉพาะเรื่อง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. โดยเริ่มทบทวนในเรื่องที่เกี่ยวกับ


การหารจํานวนนับที่เปนการหารลงตัว ตัวหารหรือตัวประกอบ ตัวประกอบรวม หรือตัวหารรวม
จํานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะและการแยกตัวประกอบ เพื่อนําสมบัติไปใชในการหา ห.ร.ม. และ
ค.ร.น. ของจํานวนนับตอไป
ในบทเรียนนี้เนนการนํา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหา จึงจําเปนตองทบทวนวิธี
การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
ตัวอยางเอกสารแนะนําการจัดกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีไวเพื่อนําเขาสูเนื้อหาสาระ
เสริมเนื้อหาสาระ ฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ใหมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมที่ดีงาม
ครูสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสมและอาจปรับใชไดตามความตองการ

ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับที่กําหนดใหได
2. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. แกปญหาได
2

แนวทางในการจัดการเรียนรู

1.1 ตัวหารรวมมากและการนําไปใช (4 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
2. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. แกปญหาได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก – 1.1 ง

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก ครูอาจใชการถามตอบหรือครูอาจจัดทําเปนใบงานให
นักเรียนทํากอน แลวจึงใชการถามตอบตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง เมื่อนักเรียนมี
ความรูพื้นฐานแลวครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ข เพื่อทบทวนการแยกตัวประกอบ
2. ในการหาตัวประกอบของจํานวนนับที่กําหนดให นักเรียนอาจหาไดไมครบถวน ครูควร
แนะนํานักเรียนใหพิจารณาจากตัวคูณสองจํานวนทุกคูที่มีผลคูณเทากับจํานวนนับนั้น เชน การหา
ตัวประกอบของ 18 ทําไดดังนี้
หาจํานวนนับสองจํานวนที่คูณกันแลวได 18 โดยเริ่มจากตัวคูณ 1, 2, 3, …
1 × 18 = 18
2 × 9 = 18
3 × 6 = 18
4 × χ = χ ซึ่งไมมีจํานวนนับที่คูณกับ 4 ได 18

ครูอาจใชแผนภาพการจับคูจํานวนสองจํานวนที่คูณกันได 18 เพื่อชวยในการหาวายังมี
จํานวนคูอื่นอีกหรือไมที่คูณกันได 18 ดังนี้

1 2 3 4 χ 6 9 18

ไมมี
3

จากแผนภาพจะเห็นวาจํานวนนับที่อยูร ะหวาง 4 กับ 6 คือ 5 มีเพียงจํานวนเดียวและ


4 × 5 ไมเทากับ 18 ดังนั้นตัวประกอบของ 18 มีทั้งหมด 6 จํานวน ไดแก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
3. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ค กอนใหนักเรียนทํากิจกรรมนี้ครูควรสนทนากับนักเรียน
ถึงเรื่องการตัดไมทําลายปาซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดอุทกภัยทุกป ทําใหเราตองหาวิธีชวยเหลือผูประสบ
อุทกภัยในเบื้องตน เชน แจกถุงยังชีพ
4. ปญหาการลอมรั้วที่ดินของชาวสวนในหนังสือเรียนที่นําเสนอไวนั้น เพื่อใหเกิดแนวคิด
เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และการนําไปใช ครูอาจจําลองสถานการณใหนักเรียนลงมือปฏิบัติโดยใชฟวเจอรบอรด
แทนบริเวณที่ดินและเข็มหมุดแทนเสาเพื่อชวยในการหาคําตอบ นอกจากนี้ครูอาจเลือกใชโจทยปญหา
อื่น ๆ จากกิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ง เพิ่มเติมก็ได
5. เมือ่ นักเรียนไดเรียนรูว ธิ หี า ห.ร.ม. ของจํานวนนับตัง้ แตสองจํานวนขึน้ ไปครบถวนทัง้ สามวิธแี ลว
ควรแนะใหนักเรียนสํารวจตัวเองวาวิธีใดที่ตนเองถนัดและนําไปใชไดดี ในการทําแบบฝกหัด นักเรียน
จะเลือกทําโดยวิธีใดก็ได
6. สําหรับตัวอยางที่ 6 – 8 ในหนังสือเรียน ครูควรใชคําถามประกอบการอธิบาย และชี้ให
เห็นประโยชนของการนํา ห.ร.ม. มาใชในการแกปญหา เมื่อนักเรียนทําแบบฝกหัด 1.1 ขอ 11 แลว
ครูควรชวยใหนกั เรียนสรุปไดวา เศษสวนใดเปนเศษสวนอยางต่าํ ก็ตอ เมือ่ ห.ร.ม. ของตัวเศษและตัวสวน
เปน 1 ซึ่งเปนบทนิยามของเศษสวนอยางต่ํา

1.2 ตัวคูณรวมนอยและการนําไปใช (2 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หา ค.ร.น. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
2. บอกความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดใหได
3. ใชความรูเกี่ยวกับ ค.ร.น. แกปญหาได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก – 1.2 ค

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนความรูเ ดิมเกีย่ วกับตัวประกอบเพือ่ ใหนกั เรียนเขาใจวาตัวประกอบของจํานวนนับใด
ยอมหารจํานวนนับนั้นลงตัวดังนี้
2 เปนตัวประกอบของ 6 หมายความวา 2 หาร 6 ลงตัว
หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 6 หารดวย 2 ลงตัว
4

3 เปนตัวประกอบของ 15 หมายความวา 3 หาร 15 ลงตัว


หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 15 หารดวย 3 ลงตัว
4 เปนตัวประกอบของ 16 หมายความวา 4 หาร 16 ลงตัว
หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา 16 หารดวย 4 ลงตัว
2. เพื่อใหนักเรียนเขาใจความหมายของพหุคูณ ครูสามารถใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก
ประกอบการเรียนการสอน
3. ครูควรระวังเกี่ยวกับการใหความหมายของตัวประกอบและพหุคูณซึ่งใชถอยคําใกลเคียงกัน
ดังนี้
ตัวประกอบของจํานวนนับใด คือ จํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้นลงตัว
พหุคูณของจํานวนนับใด คือ จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับนั้นลงตัว

จะเห็นวาขอความทั้งสองนั้นแตกตางกันที่พหุคูณของจํานวนนับมีคําวา หารดวย ครูตอง


อธิบายอยางชัดเจนโดยอาจยกตัวอยางดังนี้
ตัวประกอบของ 12 มี 6 ตัว ไดแก 1, 2, 3, 4, 6 และ 12
แตพหุคูณของ 12 มีมากมาย ไดแก 12, 24, 36, …
4. ปญหาน้ําพุกลางสวนในหนังสือเรียนนําเสนอไวเพื่อใหเห็นตัวอยางของการนํา ค.ร.น.
ไปใช ครูควรใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหแนวคิดและหาขอสรุปใหไดวาเวลาที่น้ําพุทั้ง สามวงพุงขึ้น
พรอมกันคือ ค.ร.น. ของเวลาครบกําหนดที่น้ําพุแตละวงพุงขึ้น
5. เมื่อนักเรียนไดเรียนรูวิธีหา ค.ร.น. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปครบทั้งสามวิธี
แลว ควรแนะใหนักเรียนสํารวจตัวเองวาวิธีใดที่ตนเองถนัดและนําไปใชไดดี ในการทําแบบฝกหัด 1.2
นักเรียนจะเลือกใชวิธีใดก็ได
ครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นวาวิธีการแยกตัวประกอบและวิธีการตั้งหารเปนวิธีที่สามารถใชหา
ไดทั้ง ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
6. ครูควรใหนักเรียนทํากิจกรรมชวนคิดในหนังสือเรียนเพื่อใหสังเกตความสัมพันธระหวาง
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนกับผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนนั้น
หลาย ๆ คู จากนั้นครูและนักเรียนชวยกันสรุปใหไดวาผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับ
สองจํานวนใด ๆ เทากับผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนนั้น ขอสรุปดังกลาวเขียนในรูปทั่วไปไดดังนี้

ถา a และ b เปนจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ


(ห.ร.ม. ของ a และ b) × (ค.ร.น. ของ a และ b) = a × b
5

การพิสูจนความสัมพันธดังกลาวตองใชความรูในระดับสูง ในชั้นนี้ตองการเพียงใหนักเรียน
รูจักและนําความสัมพันธดังกลาวนี้ไปใชได
ครูควรใหนักเรียนทดลองหาความสัมพันธของจํานวนนับสามจํานวนใดๆ ตามแบบรูปของ
ความสัมพันธขางตนแลวตรวจสอบดูวาความสัมพันธนั้นยังคงเปนจริงสําหรับกรณีสามจํานวนเสมอไป
หรือไม นักเรียนควรสรุปไดวาไมเปนจริง
7. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข และ 1.2 ค นั้น ครูอาจเลือกใชเพื่อชี้ใ หนัก เรียนเห็น
การนําความรูเรื่องสมบัติของจํานวนนับไปเชื่อมโยงกับความรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ

คําตอบแบบฝกหัด
คําตอบแบบฝกหัด 1.1
1.
1) 17 2) 1
3) 3 4) 1
2. 1
3. 17
4. 27
5. 34
6. 12 กอง ชนิดที่หนึ่งกองละ 4 ผล ชนิดที่สองกองละ 5 ผล ชนิดที่สามกองละ 7 ผล
7. 5 แถว แถวละ 32 คน
8. 120 แผน แตละแผนมีดานยาว 13 เซนติเมตร
9. 176 ตน
10. ตัดไดมากที่สุด 180 ผืน ตัดไดนอยที่สุด 5 ผืน ซึ่งมีแนวคิดดังนี้
หาตัวหารรวมของ 36 และ 180 จะได 2 , 4 , 6 , 8 , 10 , 12 , 18 และ 36 จากเงื่อนไขของ
โจทยที่ตองตัดผาเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวไมต่ํากวา 5 เซนติเมตร ความยาวที่ใชได คือ 6 , 9 ,
12 , 18 หรือ 36 เซนติเมตร
ถาตองการตัดใหไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจํานวนมากที่สุด ตองตัดใหยาวดานละ 6 เซนติเมตร
จะตัดได 180 ผืน และถาตองการตัดใหไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสนอยที่สุด ตองตัดใหยาวดานละ 36
เซนติเมตร จะตัดได 5 ผืน
13 เปนเศษสวนอยางต่ําของ 78 เพราะวา ห.ร.ม. ของ 13 และ 18 คือ 1
11. 18 108
12. ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองมากกวาหรือเทากับ 1 เสมอ เพราะวา
6

กรณีที่ 1 ถาจํานวนนับสองจํานวนนั้นมีตัวประกอบรวมเปน 1 เทานั้น


ห.ร.ม. ของสองจํานวนนั้นตองเทากับ 1
กรณีที่ 2 ถาจํานวนนับสองจํานวนนัน้ มีตวั ประกอบรวมมากกวา 1 แลว ห.ร.ม. ของสองจํานวนนัน้
ตองมากกวา 1
หรืออาจใหเหตุผลดังนี้
1 เปนตัวหารรวมของจํานวนนับทุกจํานวน และ 1 เปนจํานวนนับที่นอยที่สดุ
ดังนั้น ห.ร.ม. หรือตัวหารรวมที่มากที่สุดของจํานวนนับสองจํานวนที่กําหนดใหจึงตองมากกวาหรือ
เทากับ 1

คําตอบแบบฝกหัด 1.2
1.
1) 114 2) 377
3) 3657 4) 120
5) 2499 6) 1551
2.
1) 7 หรือ 1 1
6 6
2) 89
120
3) 11
48
3. 149
4. 180 ผล
5. เวลา 17.30 น.
6. ครั้งตอไปที่แมจะพบลูกพรอมกันสองคนดังนี้
แมพบสวยกับขําอีก 12 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 25 เมษายน
แมพบสวยกับคมอีก 20 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 3 พฤษภาคม
แมพบคมกับขําอีก 30 วันตอมา ซึ่งตรงกับวันที่ 13 พฤษภาคม
และพบลูกพรอมกันทั้งสามคนในวันที่ 12 มิถุนายน
7. ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองมากกวาหรือเทากับจํานวนใดจํานวนหนึง่ ในสองจํานวน
นั้นเสมอ เพราะวาแตละจํานวนตองหาร ค.ร.น. ไดลงตัว
8. เพราะวา ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ ตองหารสองจํานวนนั้นลงตัวและสองจํานวนนั้น
ตองหาร ค.ร.น. ของสองจํานวนนั้นลงตัวดวย ดังนั้น ห.ร.ม. ของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ หาร
ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนนั้นไดลงตัวเสมอ
7

คําตอบปญหาชวนคิด
1. ห.ร.ม. ของ 6 และ 10 คือ 2
ค.ร.น. ของ 6 และ 10 คือ 30
2. 1) ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 2 × 30 = 60
2) ผลคูณของ 6 และ 10 คือ 6 × 10 = 60
3. ผลลัพธที่ไดในขอ 2 จากขอ 1) และ 2) เทากัน
4. ห.ร.ม. ของ 8 และ 28 คือ 4
ค.ร.น. ของ 8 และ 28 คือ 56
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 8 × 28 = 224
ผลคูณของ 8 และ 28 คือ 8 × 28 = 224
5. กําหนด 15 และ 27
ห.ร.ม. ของ 15 และ 27 คือ 3
ค.ร.น. ของ 15 และ 27 คือ 135
ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. คือ 3 × 135 = 405
ผลคูณของ 15 และ 27 คือ 15 × 27 = 405
6. ผลคูณของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนเทากับผลคูณของจํานวนนับ
สองจํานวนนั้น หรือ เมื่อ a และ b เปนจํานวนนับ
(ห.ร.ม. ของ a และ b) × (ค.ร.น. ของ a และ b) = a × b
7. จํานวนสองจํานวนมี ห.ร.ม. เปน 6 ค.ร.น. เปน 72
จํานวนหนึ่งคือ 18 อีกจํานวนหนึ่ง คือ 24
8. 18 และ 24 มี ห.ร.ม. คือ 6 และ ค.ร.น. คือ 72 จริง
8

กิจกรรมเสนอแนะ
9

กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ก

กิจกรรมนี้ครูอาจใชการถามตอบ เพื่อทบทวนความรูเกี่ยวกับตัวประกอบ ตัวประกอบรวม


จํานวนคู จํานวนคี่ และจํานวนเฉพาะ

1. ใหนักเรียนหาตัวประกอบทั้งหมดของจํานวนตอไปนี้
1) 17 [1, 17]
2) 24 [1, 2, 3, 4, 6, 8, 12, 24]
3) 36 [1, 2, 3, 4, 6, 9, 12, 18, 36]
4) 125 [1, 5, 25, 125]
2. จํานวนนับทุกจํานวนมี 1 เปนตัวประกอบใชหรือไม เพราะเหตุใด
[ใช เพราะ 1 หารจํานวนนับทุกจํานวนลงตัว]
3. จํานวนนับทุกจํานวนมี 2 เปนตัวประกอบใชหรือไม เพราะเหตุใด
[ไมใช เพราะมีตัวอยาง เชน 3 เปนจํานวนนับซึ่งไมมี 2 เปนตัวประกอบ]
4. จํานวนนับใดบางที่เปนตัวประกอบรวมของ 16 และ 20 [1, 2, 4]
5. ขอความตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ
1) 8 เปนตัวประกอบของ 72 [จริง]
2) 7 เปนตัวประกอบของ 91 [จริง]
3) 3 ไมเปนตัวประกอบของ 45 [เท็จ]
4) ตัวประกอบของ 13 มีเพียง 2 ตัวเทานั้น [จริง]
5) 28 มีตัวประกอบทั้งหมด 7 ตัว [เท็จ]
6) 2 และ 3 เปนตัวประกอบของ 15 [เท็จ]
6. จงหาจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีจํานวนทุกจํานวนในแตละขอตอไปนี้เปนตัวประกอบ
1) 1, 3, 4, 8 [24]
2) 1, 5, 7 [35]
7. จงหาวาขอความในขอใดเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จใหบอกเหตุผลหรือยกตัวอยางคาน
1) จํานวนนับที่ลงทายดวย 0, 2, 4, 6 และ 8 ทุกจํานวนเปนจํานวนคู [จริง]
2) จํานวนนับที่ลงทายดวย 1, 3, 5, 7 และ 9 ทุกจํานวนเปนจํานวนคี่ [จริง]
10

3) จํานวนนับทุกจํานวนที่ 2 หารลงตัวเปนจํานวนคู [จริง]


4) จํานวนนับทุกจํานวนที่ 3 หารลงตัวเปนจํานวนคี่
[เท็จ เพราะมีตัวอยาง เชน 12 ซึ่ง 3 หารลงตัว แต 12 ไมเปนจํานวนคี่]
5) จํานวนคี่ทุกจํานวนมี 1 และตัวมันเองเทานั้นหารลงตัว
[เท็จ เพราะมีตัวอยาง เชน 27 มี 1, 3, 9 และ 27 หารลงตัว]
6) ผลบวกของจํานวนคูสองจํานวนเปนจํานวนคู [จริง]
7) ผลคูณของจํานวนคูกับจํานวนคี่เปนจํานวนคู [จริง]
8) 48, 112, 215 เปนจํานวนคูทุกจํานวน
[เท็จ เพราะ 215 เปนจํานวนคี่]
9) 302, 247, 121 มีจํานวนคี่สองจํานวน [จริง]

8. จงหาวาขอความในขอใดเปนจริงหรือเปนเท็จ ถาเปนเท็จใหบอกเหตุผลหรือยกตัวอยางคาน
1) 3 เปนจํานวนเฉพาะที่นอยที่สุด
[เท็จ เพราะยังมีจํานวนเฉพาะที่นอยกวา คือ 2]
2) จํานวนคี่ทุกจํานวนเปนจํานวนเฉพาะ
[เท็จ เพราะมีจํานวนคี่ที่ไมเปนจํานวนเฉพาะ เชน 9]
3) 1 ไมใชจํานวนเฉพาะ [จริง]
4) ไมมีจํานวนคูจํานวนใดเปนจํานวนเฉพาะ
[เท็จ เพราะ 2 เปนจํานวนคู และ 2 เปนจํานวนเฉพาะ]
5) จํานวนเฉพาะที่มากที่สุดแตนอยกวา 30 คือ 29 [จริง]
6) 5 × 7 เปนจํานวนเฉพาะ
[เท็จ เพราะ 5 × 7 ยังมีตัวประกอบที่ไมใช 1 และไมใชตัวของมันเอง คือ 5 และ 7]
9. จงหาจํานวนที่มีสองหลักและเปนจํานวนเฉพาะที่มากที่สุด [97]

10. จงหาจํานวนที่มีสามหลักและเปนจํานวนเฉพาะที่นอยที่สุด [101]

11. จงหาจํานวนเฉพาะที่อยูระหวาง 40 ถึง 60 [41, 43, 47, 53 และ 59]

12. จงหาจํานวนเฉพาะสามจํานวนแรกที่มากกวา 200 [211, 223 และ 227]

13. ถา a และ b เปนจํานวนเฉพาะที่ a ≠ b จํานวนนับที่หารทั้ง a และ b ไดลงตัว คือจํานวนใด [1]


11

กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ข

กิจกรรมนี้ครูอาจใชเพื่อทบทวนการแยกตัวประกอบ

1. จงหาจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีตัวประกอบเฉพาะไมซ้ํากัน 4 ตัว
[จํานวนนับที่นอยที่สุดที่มีตัวประกอบเฉพาะไมซ้ํากัน 4 ตัว คือ 210
210 ไดจาก 2 × 3 × 5 × 7]
2. จงแยกตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้
1) 189 [189 = 3 × 3 × 3 × 7]
2) 333 [333 = 3 × 3 × 37]
3) 735 [735 = 3 × 5 × 7 × 7]
4) 1,155 [1155 = 3 × 5 × 7 × 11]
5) 1,350 [1350 = 2 × 3 × 3 × 3 × 5 × 5]
6) 9,009 [9009 = 3 × 3 × 7 × 11 × 13]

กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ค

กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการใชความรูเกี่ยวกับตัวประกอบรวมและใหเห็น
สถานการณของปญหาที่เชื่อมโยงถึงเรื่องที่จะสรางเสริมคุณธรรมใหแกนักเรียน

สื่อการเรียนรู
ใบกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน

แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงการจัดสิ่งของเปนถุงหรือเปนกองเพื่อใหนักเรียนเห็นแนวคิดใน
การใชตัวประกอบรวม เชน มีมะมวง 12 ผล และมังคุด 18 ผล จะจัดใสจานไดอยางไรบางโดยให
แตละจานมีจํานวนผลไมแตละชนิดเทากัน และไมมีผลไมเหลืออยู
12

2. ครูแจกใบกิจกรรมเพื่อนชวยเพื่อน ใหนักเรียนทําเปนงานกลุม กอนใหทํากิจกรรมนี้


ครูควรสนทนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการชวยเหลือสังคมในเรื่องอื่น ๆ เพื่อกระตุนใหนักเรียนรูสึกถึงการมี
น้ําใจทํางานเพื่อสังคม
3. หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมแลว ควรใหมีการนําเสนอแนวคิดและวิธีการแกปญหาของ
แตละกลุมและอภิปรายถึงความเหมาะสมของการจัดสิ่งของมอบใหหมูบาน
4. หลังจากนักเรียนนําเสนอแลวใหครูใชคําถามเพิ่มเติมวา ถาในการจัดของไปบริจาคครั้งนี้
ตองการจัดใหไดจํานวนหมูบานมากที่สุด จะจัดไดกี่หมูบาน

เพื่อนชวยเพื่อน

นักเรียนของโรงเรียนแหงหนึ่งชวยครูจัดสิ่งของที่ไดรับบริจาคเพื่อนําไปชวยเหลือหมูบานที่
ประสบอุทกภัยในจังหวัดหนึ่ง
รายการสิ่งของที่ไดรับบริจาคมีดังนี้
ผาหม จํานวน 120 ผืน
ปลากระปอง จํานวน 150 โหล
ผักกาดดองกระปอง จํานวน 840 กระปอง
บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป จํานวน 600 กลอง
ขาวสารถุงละ 5 กิโลกรัม จํานวน 480 ถุง
ถาตองการจัดสิ่งของเหลานี้เปนกองเพื่อมอบใหแตละหมูบาน แตละกองมีของครบทุกชนิดและ
แตละชนิดมีจํานวนเทากันโดยไมมีสิ่งของเหลืออยู นักเรียนจะมีวิธีการจัดสิ่งของไดกี่วิธี

คําตอบกิจกรรม เพื่อนชวยเพื่อน
เนื่องจากตัวประกอบของ 120, 150, 840, 600 และ 480 ไดแก 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15 และ
30 ดังนั้นนักเรียนจะมีวิธีการจัดสิ่งของ ใหแตละหมูบานไดของครบทุกชนิดและแตละชนิดมีจํานวน
เทากันโดยไมมีสิ่งของเหลืออยูไดทั้งหมด 8 วิธีดังนี้
13

สิ่งของที่แตละหมูบาน ผักกาดดอง บะหมี่ ขาวสารถุงละ


ผาหม ปลากระปอง
จะไดรบั กระปอง กึ่งสําเร็จรูป 5 กิโลกรัม
วิธีที่ (ผืน) (โหล)
(กระปอง) (กลอง) (ถุง)
1. จัดให 1 หมูบาน 120 150 840 600 480
2. จัดให 2 หมูบาน 60 75 420 300 240
3. จัดให 3 หมูบาน 40 50 280 200 160
4. จัดให 5 หมูบาน 24 30 168 120 96
5. จัดให 6 หมูบาน 20 25 140 100 80
6. จัดให 10 หมูบาน 12 15 84 60 48
7. จัดให 15 หมูบาน 8 10 56 40 32
8. จัดให 30 หมูบาน 4 5 28 20 16

กิจกรรมเสนอแนะ 1.1 ง

กิจกรรมตอไปนี้นําเสนอใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติเพื่อใหเกิดแนวคิดเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ


นําความรูเรื่อง ห.ร.ม. ไปแกปญหาหรือสถานการณตาง ๆ ครูอาจใหนักเรียนทําทั้งหมดหรือ
ทําบางกิจกรรมก็ได

ตัดเชือก

สื่อการเรียนรู เชือกฟางสามเสนยาว 28 เซนติเมตร 36 เซนติเมตร และ 48 เซนติเมตร


กรรไกร และไมบรรทัด
คําสั่ง ใหนกั เรียนชวยกันหาวิธตี ดั เชือกทัง้ สามเสนออกเปนทอนสัน้ ๆ โดยใหทกุ ทอนยาวเทากัน
เปนจํานวนเต็มเซนติเมตรและไมเหลือเศษ จงหาวา
1. จะตัดเชือกไดอยางไรบาง
2. ถาตองการใหเชือกแตละทอนยาวที่สุดจะไดเชือกกี่ทอน แตละทอนยาว
กี่เซนติเมตร
14

คําตอบกิจกรรม ตัดเชือก

1. ตัดเชือกได 3 แบบ
1) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 1 เซนติเมตร จะตัดได 112 ทอน
2) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 2 เซนติเมตร จะตัดได 56 ทอน
3) ถาตัดใหเชือกแตละทอนยาว 4 เซนติเมตร จะตัดได 28 ทอน
2. ถาตองการใหเชือกแตละทอนยาวที่สุดจะตัดเชือกไดทั้งหมด 28 ทอน แตละทอนยาว
4 เซนติเมตร

ตัดกระดาษ

สื่อการเรียนรู กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดกวาง 32 เซนติเมตร ยาว 56 เซนติเมตร


คําสั่ง ใหนกั เรียนชวยกันหาวิธตี ดั กระดาษออกเปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาดเทาๆ กันดวยความยาว
ของดานเปนจํานวนเต็มเซนติเมตรโดยไมเหลือเศษ จงหาวา
1. จะตัดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสไดขนาดเทาใดบาง
2. ถาตองการตัดใหเปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ทีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ โดยไมใหเหลือเศษ
จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมดกี่รูป แตละรูปมีดานยาวกี่เซนติเมตร

คําตอบกิจกรรม ตัดกระดาษ

1. ตัดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสได 4 แบบ
1) ถาตัดใหมีดานยาว 1 เซนติเมตร จะตัดได 1,792 รูป
2) ถาตัดใหมีดานยาว 2 เซนติเมตร จะตัดได 448 รูป
3) ถาตัดใหมีดานยาว 4 เซนติเมตร จะตัดได 112 รูป
4) ถาตัดใหมีดานยาว 8 เซนติเมตร จะตัดได 28 รูป
2. ถาตองการตัดใหเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดใหญที่สุด จะตองตัดใหมีดานยาวดานละ 8
เซนติเมตร และตัดได 28 รูป
15

จัดยางรัดใสถุง

สื่อการเรียนรู ยางรัดสีเขียว 48 เสน ยางรัดสีแดง 72 เสน และยางรัดสีเนื้อ 192 เสน


คําสั่ง ใหนกั เรียนชวยกันจัดยางรัดใสถงุ ถุงละเทาๆ กันโดยไมใหเหลือเศษ ใหแตละถุงมียางรัด
ครบทุกสีและแตละสีมีจํานวนเทากันดวย จงหาวา
1. ถาตองการใหไดจาํ นวนถุงมากทีส่ ดุ จะจัดไดกถี่ งุ แตละถุงจะมียางรัดทัง้ หมดกีเ่ สน
และแตละสีมีอยางละกี่เสน
2. ถาตองการใหในแตละถุงมีจํานวนยางรัดมากที่สุด จะจัดไดกี่ถุง และแตละ
ถุงจะมียางรัดกี่เสน

คําตอบกิจกรรม จัดยางรัดใสถุง
1. ถาตองการใหไดจํานวนถุงมากที่สุดจะจัดได 24 ถุง
แตละถุงมียางรัดทั้งหมด 13 เสน มี สีเขียว 2 เสน สีแดง 3 เสน และสีเนื้อ 8 เสน
2. ถาตองการใหในแตละถุงมีจํานวนยางรัดมากที่สุดจะจัดได 1 ถุง
และในถุงมียางรัด 312 เสน

กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก

กิจกรรมนี้นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับพหุคูณของจํานวนนับ โดยสังเกตจาก
แบบรูปของสูตรคูณที่นักเรียนคุนเคยมาแลว

พหุคูณ
แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูอาจใหนักเรียนทองสูตรคูณแม 2, 3, 4 และ 5 พรอมกันหนึ่งรอบ จากนั้นครูเขียน
สูตรคูณดังกลาวบนกระดานตามแบบรูปดังนี้
2×1 2×2 2×3 2×4 2×5 …
3×1 3×2 3×3 3×4 3×5 …
4×1 4×2 4×3 4×4 4×5 …
5×1 5×2 5×3 5×4 5×5 …
16

2. ครูใชคําถามใหนักเรียนสังเกตวาจํานวนในแถวที่ 1 ซึ่งเปนสูตรคูณของแม 2 แตละ


จํานวนไดมาอยางไร (นักเรียนควรตอบไดวา ไดมาจากการคูณของ 2 กับจํานวนนับตั้งแต 1 ขึ้นไป)
ครูแนะนําวาแตละจํานวนนั้นคือ พหุคูณของ 2 พรอมทั้งเขียนคําวา “เปนพหุคูณของ 2” หลังแถวที่ 1
ดังนี้
2 × 1 2 × 2 2 × 3 2 × 4 2 × 5 … เปนพหุคูณของ 2
3. ครูใหนักเรียนสังเกตจํานวนในแถวตอไปวามีลักษณะเชนเดียวกับจํานวนในแถวที่ 1
หรือไม และควรเรียกจํานวนในแตละแถววาอยางไร (นักเรียนควรตอบไดวา แถวที่ 2, 3 และ 4 เปน
พหุคูณของ 3 พหุคูณของ 4 และพหุคูณของ 5 ตามลําดับ) ใหครูเขียนคําวา เปนพหุคูณของ 3, 4
และ 5 ตามคําบอกของนักเรียนไวหลังแถวเชนเดียวกับแถวที่ 1
4. ครูใชการถามตอบ ใหนักเรียนไดสังเกตเห็นวาจํานวนที่เปนพหุคูณของจํานวนนับจะตอง
หารดวยจํานวนนับนั้นไดลงตัว โดยใชคําถามในทํานองตอไปนี้
1) 2 หารจํานวนทุกจํานวนที่เปนพหุคูณของ 2 ลงตัวหรือไม
2) 2 เปนตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่เปนพหุคูณของ 2 ใชหรือไม
3) จํานวนทุกจํานวนที่หารดวย 2 ลงตัวเปนพหุคูณของ 2 ใชหรือไม
ครูใชคําถามในทํานองเดียวกันนี้กับพหุคูณของจํานวนนับอื่น ๆ อีก 2 – 3 คําถาม เพื่อให
นักเรียนสรุปไดวา จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับที่กําหนดใหลงตัว เรียกวาพหุคูณของจํานวนนับ
ที่กําหนดใหนั้น
ในทางคณิตศาสตรมีบทนิยามสําหรับพหุคูณของ a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ ดังนี้

บทนิยาม พหุคูณของ a เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ คือ จํานวนในรูป ma


เมื่อ m เปนจํานวนเต็ม

ดังนั้นถาใชบทนิยามโดยตรง พหุคูณของ a คือ 0 × a, 1 × a, 2 × a, … และ -1 × a, -2 × a,


-3 × a … เมื่อ a แทนจํานวนเต็มใด ๆ แตในบทเรียนระดับนี้ เราจํากัดขอบเขตไวเฉพาะจํานวนนับ
ดังนั้นพหุคูณของ 2 คือ 1 × 2, 2 × 2, 3 × 2, 4 × 2, … และเมื่อใชสมบัติการสลับที่จะไดสูตรคูณ
ในแบบรูปของกิจกรรมนี้เปน 2 × 1, 2 × 2, 2 × 3, 2 × 4, …

ความรูเกี่ยวกับบทนิยามขางตนนี้ ครูไมจําเปนตองใหนักเรียนรู ในที่นี้เพิ่มเติมไวสําหรับครู


17

กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข

กิจกรรมนี้ครูอาจใชเพื่อใหนักเรียนไดเห็นการนําสมบัติของจํานวนนับมาประยุกตเปนกิจกรรม
และไดเชื่อมโยงความรูคณิตศาสตรกับความรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่น

พรรณไมบานเรา

สื่อการเรียนรู
บัตรสีตาง ๆ 4 สี ในตัวอยางนี้สมมติในหองเรียนมีนักเรียน 50 คน จัดเตรียมบัตรสีตาง ๆ
50 ใบ ดังนี้
บัตรสีแดงมีจํานวน 14 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, 20, 22,
24, 26 และ 28
บัตรสีเขียวมีจํานวน 12 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 1, 3, 5, 7, 9, 11, 13, 15, 17, 19, 21
และ 23
บัตรสีน้ําเงินมีจํานวน 10 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45
และ 50
บัตรสีชมพูมีจํานวน 14 ใบ แตละใบเขียนหมายเลข 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27, 30,
33, 36, 39 และ 42

แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูแจกบัตรสี 1 ใบใหนักเรียนแตละคนโดยไมเจาะจงสีและหมายเลขบัตร
2. ใหนักเรียนแยกเขากลุมตามสีของบัตร อาจใหยืนเปนกลุมก็ได
3. ใหนักเรียนในแตละกลุมอภิปรายกันถึงจํานวนบนบัตรที่แตละคนไดรับวาครูแบงกลุมโดย
ใชความรูหรือหลักเกณฑอยางไร ซึ่งนักเรียนควรสรุปไดวา บนบัตรสีแดงเปนจํานวนคูหรือเปนจํานวน
ซึ่งเปนพหุคูณของ 2 บนบัตรสีเขียวเปนจํานวนคี่ บนบัตรสีน้ําเงินเปนจํานวนซึ่งเปนพหุคูณของ 5
บนบัตรสีชมพูเปนจํานวนซึ่งเปนพหุคูณของ 3
จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาวา
1) ระหวางกลุมบัตรสีตาง ๆ มีบัตรซึ่งแสดงจํานวนเดียวกันอยางนอย 1 จํานวนบาง
หรือไม
18

[กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีน้ําเงิน มีจํานวนซ้ํากันคือ 10 และ 20


กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 6, 12, 18 และ 24
กลุมบัตรสีเขียวกับกลุมบัตรสีน้ําเงิน มีจํานวนซ้ํากันคือ 5 และ 15
กลุมบัตรสีเขียวกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 3, 9, 15 และ 21
กลุมบัตรสีน้ําเงินกับกลุมบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 15 และ 30
กลุมบัตรสีเขียว บัตรสีน้ําเงิน และบัตรสีชมพู มีจํานวนซ้ํากันคือ 15 ]
2) กลุมบัตรสีใดบางที่มีจํานวนบนบัตรไมซ้ํากับกลุมสีอื่น
[กลุมบัตรสีแดงกับกลุมบัตรสีเขียว]
คําตอบของทั้งสองขอนี้จะนําไปใชในกิจกรรมตอนตอไป
4. ใหนักเรียนในแตละกลุมบัตรสีชวยกันรวบรวมรายชื่อพรรณไมบานเรา ดังนี้
บัตรสีแดง รวบรวมชื่อ ไมดอก
บัตรสีเขียว รวบรวมชื่อ ไมผล
บัตรสีน้ําเงิน รวบรวมชื่อ ไมเลื้อย
บัตรสีชมพู รวบรวมชื่อ ไมประดับ
ถาครูเห็นวานักเรียนหาชื่อพรรณไมไดชาเกินไป ครูอาจแจกใบรายชื่อพรรณไมบานเรา
ดังตัวอยางขางลางนี้ ใหนักเรียนเลือกชื่อและบันทึกเปนของกลุม แลวใหแตละกลุมนําเสนอรายชื่อ
พรรณไมบนกระดานดําในเวลา 10 นาที

รายชื่อพรรณไมบานเรา

กุหลาบ มะมวง องุน ปาริชาต ฟกทอง โกสน


แตงโม พวงผกา ไทร เสนหจันทน เล็บมือนาง เสาวรส
ทุเรียน กระดุมทอง เล็บครุฑ ชมพู กลวย อัญชัน
สุพรรณิการ จําปา จําป ตําลึง สลิด (ขจร) ฤๅษีผสม
มะดัน เฟองฟา นอยหนา พลูฉีก พลูดาง มังคุด
มะขวิด มะเฟอง ลดาวัลย ถั่วฝกยาว มะเขือ พวงแสด
มะปราง บัวหลวง เข็ม ตีนตุกแก โมก มะไฟ
มะยม เข็ม พลับพลึง บานบุรี พวงชมพู แตงไทย
พวงคราม มะตูม ปบ พุทรา ผักบุงไทย บานเชา
ผักบุงทะเล บานชื่น มะลิ ลําไย กระทอน รางเงิน
บอน ตีนเปด สมจี๊ด บวบ พุทธรักษา ละมุด
ไมยราบ มะกอก ราชาวดี วานสี่ทิศ เศรษฐีเรือนนอก
ปรง พริกไทย มะพราว เงาะ เฟรน บานชื่น
19

5. จากนั้นใหนักเรียนสังเกตรายชื่อที่รวบรวมไดของทุกกลุมแลวพิจารณาวา
1) กลุมบัตรสีใดบางที่มีรายชื่อพรรณไมซ้ํากัน
2) กลุมบัตรสีใดบางที่ไมมีรายชื่อพรรณไมซ้ํากันเลย
ครูใหนักเรียนอภิปรายและเปรียบเทียบดูวา จํานวนบนบัตรของกลุมสีที่มีจํานวนซ้ํากัน
มีความสัมพันธกับชื่อพรรณไมที่กลุมเหลานั้นรวบรวมมาอยางไร เชน เมื่อพิจารณาจํานวนบนบัตรสี
แดงและจํานวนบนบัตรสีน้ําเงินจะเห็นวามีจํานวนที่ซ้ํากันคือ 10 และ 20 และเมื่อพิจารณารายชื่อ
พรรณไมที่สองกลุมนี้รวบรวมมาจะพบวามีชื่อพรรณไมที่ซ้ํากัน เชน อัญชัน เล็บมือนาง พลับพลึง
ฯลฯ เชนกัน ระหวางกลุมบัตรสีที่ไมมีจํานวนซ้ํากันก็จะไมมีชื่อพรรณไมซ้ํากันดวยเชนกัน

คําตอบกิจกรรม พรรณไมบานเรา

ตัวอยางคําตอบของแตละกลุมที่จะนําเสนออาจมีดังนี้

ไมดอก ไมผล ไมเลื้อย ไมประดับ


กุหลาบ มะมวง ฟกทอง กุหลาบ
ปาริชาต องุน องุน โกสน
พวงผกา แตงโม แตงโม เสนหจันทน
เล็บมือนาง มังคุด เล็บมือนาง เล็บมือนาง
จําปา เสาวรส เสาวรส ไทร
จําป ทุเรียน กระดุมทอง กระดุมทอง
สุพรรณิการ นอยหนา พลูดาง พลูดาง
โมก กลวย พลูฉีก พลูฉีก
ราชาวดี ชมพู ถั่วฝกยาว เล็บครุฑ
อัญชัน มะขวิด อัญชัน อัญชัน
ลดาวัลย มะตูม ลดาวัลย ฤๅษีผสม
เฟองฟา มะดัน เฟองฟา เฟองฟา
บัวหลวง มะกอก สลิด (ขจร) บัวหลวง
พวงแสด มะเฟอง พวงแสด พวงแสด
พลับพลึง มะไฟ ตําลึง พลับพลึง
เข็ม มะยม ไมยราบ เข็ม
ปบ มะปราง ตีนตุกแก ตีนตุกแก
20

ไมดอก ไมผล ไมเลื้อย ไมประดับ


บานบุรี พุทรา บานบุรี รางเงิน
วานสี่ทิศ เงาะ พวงชมพู วานสี่ทิศ
มะลิ แตงไทย แตงไทย บอน
พวงคราม กระทอน พวงคราม เศรษฐีเรือนนอก
บานเชา ละมุด ผักบุงไทย ปรง
บานชื่น ลําไย ผักบุงทะเล เฟรน
พวงชมพู มะพราว พริกไทย ตีนเปด
พุทธรักษา สมจี๊ด บวบ สมจี๊ด

กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ค

กิจกรรมนี้นําเสนอไวเพื่อใหนักเรียนไดฝกการสังเกต คนหาความสัมพันธ และนําความรู


เกี่ยวกับ ค.ร.น. ไปใชในการแกปญหา

แจกแลวแจกอีก

ใหนักเรียนศึกษาปญหาตอไปนี้แลวตอบคําถามและแสดงแนวคิดในชองวางที่กําหนดให

ในชวงเทศกาลปใหม หางสรรพสินคาแหงหนึ่งตองการแจกของขวัญสําหรับลูกคาที่
เขาหาง 300 คนแรกในแตละวัน โดยมีกติกาการแจกของขวัญดังนี้
$ แจกคูปองสวนลด 10% สําหรับลูกคาที่เขาหางซื้อสินคาเปนลําดับที่ 7, 14, 21, …
หรืออยูในลําดับที่ 8, 16, 24 , …
$ แจกเสื้อยืด 1 ตัว แกลูกคาที่เขาหางเปนลําดับที่ 10, 20, 30, …
21

1. ลูกคาเขาหางเปนลําดับที่เทาใดจึงจะไดรับทั้งคูปองสวนลดและเสื้อยืดเปนคนแรกและคนสุดทาย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
2. ลูกคาเขาหางเปนลําดับที่เทาใดจึงจะไดรับคูปองสวนลดเปนคนสุดทาย
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
3. ถานักเรียนเขาหางเปนคนที่ 295 นักเรียนจะไดรับแจกของขวัญอะไรหรือไม เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

คําตอบกิจกรรม แจกแลวแจกอีก
1. เนื่องจากลูกคาที่จะไดรับคูปองสวนลด 10% ไดแก ลูกคาที่อยูในลําดับที่ 7, 14, 21, … , 280,
287, 294 หรือลูกคาที่อยูในลําดับที่ 8, 16, 24, … , 280, 288, 296
ลูกคาที่จะไดรับเสื้อยืด ไดแก ลูกคาที่อยูในลําดับที่ 10, 20, 30, … , 280, 290, 300
แนวคิด
1) หาลูกคาที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด
หา ค.ร.น.ของ 7 และ 10 จะได 70
หา ค.ร.น.ของ 8 และ 10 จะได 2× 4× 5 = 40
ดังนั้นลูกคาคนแรกที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด คือลูกคาคนที่ 40
2) หาลูกคาที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด
จํานวนนับที่นอยกวา 300 ที่ 70 หารลงตัวไดแก 70, 140, 210, และ 280
จํานวนนับที่นอยกวา 300 ที่ 40 หารลงตัวไดแก 40, 80, 120, 160, 200, 240 และ 280
ดังนั้นลูกคาคนสุดทายที่จะไดรับทั้งคูปองสวนลด 10% และเสื้อยืด คือลูกคาคนที่ 280
2. ลูกคาที่ไดรับคูปองสวนลดเปนคนสุดทาย คือคนที่ 296
3. ลูกคาคนที่เขาหางเปนลําดับที่ 295 จะไมไดรับแจกของขวัญ เพราะไมเปนลูกคาที่ไดรับแจกคูปอง
สวนลดในชุดของลําดับที่ 7, 14, 21, … หรือชุดของลําดับที่ 8, 16, 24, … และไมเปนลูกคาที่
ไดรับแจกเสื้อยืดซึ่งเขาหางเปนลําดับที่ 10, 20, 30, …
22

บทที่ 2
ระบบจํานวนเต็ม (26 ชั่วโมง)
2.1 จํานวนเต็ม (4 ชั่วโมง)
2.2 การบวกจํานวนเต็ม (6 ชั่วโมง)
2.3 การลบจํานวนเต็ม (6 ชั่วโมง)
2.4 การคูณจํานวนเต็ม (4 ชั่วโมง)
2.5 การหารจํานวนเต็ม (4 ชั่วโมง)
2.6 สมบัติของจํานวนเต็ม (2 ชั่วโมง)

ในระดับประถมศึกษานักเรียนไดรูจักจํานวนนับ ศูนย เศษสวนและทศนิยมที่เปนจํานวนบวก


มาแลว ในบทนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มซึ่งประกอบดวย จํานวนเต็มบวก (จํานวนนับ)
จํานวนเต็มลบ และศูนย และจะไดเรียนเกี่ยวกับการดําเนินการและสมบัติของจํานวนเต็ม ครูควรให
นักเรียน เรียนดวยความเขาใจถึงหลักเกณฑและวิธีการในการบวก การลบ การคูณ และการหาร
จํานวนเต็ม ถาใหนักเรียนจําหลักเกณฑและวิธีลัดโดยไมเขาใจที่มาและเหตุผล อาจทําใหนักเรียน
ไมเห็นธรรมชาติและวิวัฒนาการของคณิตศาสตร การแสดงใหเห็นที่มาของหลักเกณฑและวิธีการหา
คําตอบในบทเรียนนี้ใชวิธีตอไปนี้
1. ใชเสนจํานวนในการหาผลบวก
2. ใชบทนิยามและสมบัติของจํานวนเต็มในการหาผลลบ ผลคูณ และผลหาร
ตัวอยางเอกสารแนะนําการจัดกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีไวเพื่อนําเขาสูเนื้อหาสาระ
เสริมเนื้อหาสาระ ฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ใหมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมที่ดีงาม
ครูสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสมและอาจปรับใชไดตามความตองการ

ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนยได
2. เปรียบเทียบจํานวนเต็มได
3. บวก ลบ คูณ และหารจํานวนเต็มได
4. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม พรอมทั้งบอก
ความสัมพันธของการดําเนินการได
5. นําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชได
6. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
23

แนวทางในการจัดการเรียนรู
2.1 จํานวนเต็ม (4 ชั่วโมง)

จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. ระบุหรือยกตัวอยางจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนยได
2. เปรียบเทียบจํานวนเต็มได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.1 ก – 2.1 ค

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการนําเขาสูบทเรียนเกี่ยวกับจํานวนเต็มลบ ครูอาจสนทนาและยกตัวอยางการนําไปใช
ในชีวิตประจําวัน เชน การบอกอุณหภูมิของอากาศ การจัดลําดับผลการแขงขันฟุตบอลหรือการแขงขัน
กอลฟ ดังตัวอยางในกิจกรรมเสนอแนะ 2.1 ก ครูอาจใหนักเรียนหาขอมูลเพิ่มเติมจากหนังสือพิมพหรือ
สื่อตาง ๆ เพื่อนํามาอภิปราย สําหรับการหาคําตอบในตารางที่ 3 นั้นเปนการฝกการเขียนจํานวนเต็มลบ
โดยไมใชการคํานวณ
2. ครูใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.1 ข เพื่อใหนักเรียนรูจักจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย
และเห็นความจําเปนที่ตองมีจํานวนเต็มลบ
ขอสังเกต การเขียนตัวเลขแทนจํานวนเต็มลบโดยทั่วไปใชเครื่องหมาย (-) กํากับ เชน -9
หรือ -3 แตในบางครั้งนักเรียนอาจพบการเขียนตัวเลขแทนจํานวนเต็มลบโดยยกเครื่องหมาย (-) สูงขึ้น
เชน –9 หรือ –3 สําหรับหนังสือเลมนี้จะเขียนตัวเลขแทนจํานวนเต็มลบดวยการวางเครื่องหมาย (-) ไว
ตรงกลาง เชน -5, -16 หรือ -200
3. ครูควรใชคําถามเพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนเต็มในเรื่องตอไปนี้
1) 0 ไมใชจํานวนนับ
2) 0 เปนจํานวนเต็มที่ไมเปนจํานวนเต็มบวก และไมเปนจํานวนเต็มลบ
3) ไมมีจํานวนเต็มลบที่นอยที่สุด
4) จํานวนเต็มลบที่มากที่สุดคือ -1
5) จํานวนเต็มบวกที่นอยที่สุดคือ 1
6) ไมมีจํานวนเต็มบวกที่มากที่สุด
7) ไมมีจํานวนเต็มที่มากที่สุด
8) ไมมีจํานวนเต็มที่นอยที่สุด
24

สําหรับการหาคําตอบของขอ 5 – 8 ในแบบฝกหัด 2.1 ก ครูอาจแนะนําใหนักเรียนใชเสน


จํานวน เชน ขอ 5 ทําไดดังนี้

-15 -12 -9 -6 -3 0
4. ครูควรใชการสนทนาเพื่อนําเขาสูการเปรียบเทียบจํานวน โดยนําสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต
ประจําวันมาอภิปราย เชน
1) เปรียบเทียบอุณหภูมิของอากาศในประเทศตาง ๆ
2) รานลุงขาวกับรานปาแดงรานใดขายของถูกกวากัน นักเรียนทราบไดอยางไร
3) วีนสั กับลัดดาสูง 150 เซนติเมตรเทากัน วีนสั หนัก 43 กิโลกรัม ลัดดาหนัก 47 กิโลกรัม
ใครอวนกวากันเพราะเหตุใด
5. ในการหาคําตอบในแบบฝกหัด 2.1 ข ขอ 3 ขอ 4) และ 5) ครูควรอธิบายใหเห็นการหา
คาของอุณหภูมิที่ตางกันโดยใชเสนจํานวน ยังไมควรอธิบายโดยใชการลบจํานวนเต็มซึ่งจะกลาวถึงใน
หัวขอ 2.3 ตอไป สําหรับขอ 6) การประมาณอุณหภูมิของอากาศบนดอยอาจใชแผนภาพเทียบคาของ
ความสูงเหนือระดับน้ําทะเลกับอุณหภูมิของอากาศดังนี้
17 14 11
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

ความสูงจากระดับน้ําทะเล (กิโลเมตร)
2 2.58 3

2.2 การบวกจํานวนเต็ม (6 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาผลบวกของจํานวนเต็มที่กําหนดใหได
2. อธิบายผลที่เกิดขึน้ จากการบวกจํานวนเต็มได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลบวกจํานวนเต็มที่ได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก – 2.2 ค


แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก – 2.2 ข

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. การใชคาสัมบูรณในบทเรียนนี้มีเจตนาเพียงเพื่อเปนสื่อในการอธิบายการบวก การคูณ
และการหารจํานวนเต็มเทานั้น ครูควรใชเสนจํานวนประกอบการสอนเรื่องคาสัมบูรณ นอกจากนี้ครู
25

ควรใหนกั เรียนสังเกตวามีจาํ นวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบเปนคู ๆ ทีม่ คี า สัมบูรณเทากัน และคาสัมบูรณ


ของจํานวนเต็มที่ไมใช 0 ตองเปนบวกเสมอ
บทนิยามของคาสัมบูรณอาจยากเกินไปสําหรับนักเรียนในระดับนี้ การนําสัญลักษณ | |
มาใชแทนคาสัมบูรณใหอยูในดุลพินิจของครูผูสอน
ในบทเรียนนี้จ ะใชเ สน จํานวนแสดงการหาผลบวกของจํานวนเต็มเพื่อ ใหนัก เรียนสราง
ขอสรุปและหาหลักเกณฑการบวกไดเทานั้น ไมควรนํามาเปนขอสอบวัดผลการเรียน
การใชเสนจํานวนแสดงการบวกใหถือเปนขอตกลงวา เมื่อบวกดวยจํานวนเต็มบวกใหนับ
ไปทางขวา และเมื่อบวกดวยจํานวนเต็มลบใหนับไปทางซาย ครูควรยกตัวอยางหลาย ๆ ตัวอยางจน
นักเรียนสามารถสรุปวิธีการหาผลบวกโดยใชคาสัมบูรณได
2. สําหรับแบบฝกหัด 2.2 ก ในหนังสือเรียน ขอ 1 ขอ 3) – ขอ 10) และขอ 2 ขอ 3) – ขอ 8)
มีเจตนาใหนักเรียนไดสังเกตและคาดการณวาการบวกจํานวนเต็มลบนาจะมีสมบัติการสลับที่และสมบัติ
การเปลี่ยนหมู เมื่อนักเรียนทําแบบฝกหัด 2.2 ข เสร็จแลว ครูควรใหนักเรียนคาดการณวาการบวก
จํานวนเต็มมีสมบัติการสลับที่ และสมบัติการเปลี่ยนหมู สําหรับโจทยขอ 6 ของแบบฝกหัด 2.2 ข
เจตนาเพื่อพั ฒนาความรู สึก เชิงจํานวนของนั ก เรียนใหมีความยืดหยุนในการคิ ด คํานวณและรู ค วาม
สัมพันธระหวางจํานวน
3. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิม่ เติม 2.2 ก ตรวจสอบความเขาใจเกีย่ วกับคาสัมบูรณของจํานวนเต็ม
สําหรับแบบฝกหัดเพิม่ เติม 2.2 ข ครูอาจนํามาใชถามตอบในชัน้ เรียนเพือ่ ตรวจสอบความเขาใจและ
เสริมสรางความรูสึกเชิงจํานวน

2.3 การลบจํานวนเต็ม (6 ชั่วโมง)

จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาผลลบของจํานวนเต็มที่กําหนดใหได
2. บอกความสัมพันธของการบวกและการลบจํานวนเต็มได
3. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการลบจํานวนเต็มได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลลบจํานวนเต็มที่ได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.3

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในหั ว ข อ นี้ จ ะกล า วถึ ง จํานวนตรงข า มเพี ย งเพื่ อ นําไปใช ใ นการลบจํานวนเต็ ม เท า นั้ น
ดังนั้นการทําแบบฝกหัด 2.3 ก ในหนังสือเรียน ครูอาจใชการถามตอบในชั้นเรียนก็ได
26

2. วิธีการสอนการลบจํานวนเต็มไมใชเสนจํานวนเพราะไมชวยใหนักเรียนเขาใจงายขึ้นจึงใช
บทนิยามในการหาคําตอบดังนี้

ตัวตั้ง ลบดวย ตัวลบ เทากับ ตัวตั้ง บวกดวย จํานวนตรงขามของตัวลบ

3. สําหรับแบบฝกหัด 2.3 ข ขอ 3 เจตนาใหหาคา a โดยวิธีลองแทนคา สวนขอ 5 และขอ


6 ครูอาจใหนักเรียนไดนําเสนอซึ่งจะไดคําตอบที่หลากหลายพรอมทั้งเหตุผล ครูควรชี้แจงใหนักเรียน
เขาใจขอตกลงวาถามีตัวอยางคานอยางนอยหนึ่งตัวอยางหรือมีจํานวนอยางนอยสองจํานวนมาแสดงให
เห็นวาประโยคเปนเท็จจะถือวาประโยคนั้นไมจริง ดังนั้น กรณีขอ 5 ขอ 3) และขอ 6 ขอ 3) จึงสรุป
ไดวาจํานวนเต็มไมมีสมบัติการสลับที่สําหรับการลบและไมมีสมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการลบ
4. ครูควรแนะใหนักเรียนตรวจสอบผลลบโดยใชความสัมพันธ

ผลลบ + ตัวลบ = ตัวตั้ง

5. ปญหาชวนคิด การทอนเงินของแมคา ในหนังสือเรียนนั้น เจตนาใหเห็นความสัมพันธ


ระหวางการบวกและการลบจํานวนเต็ม ครูอาจใหนกั เรียนทํากิจกรรมการทอนเงินโดยจําลองสถานการณ
ใหนักเรียนเปนแมคาขายสินคาชนิดหนึ่งราคา 23 บาท ลูกคาใหธนบัตรฉบับละ 100 บาท นักเรียนจะ
มีวธิ ีการทอนเงินอยางไรไดบาง

2.4 การคูณจํานวนเต็ม (4 ชั่วโมง)

จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาผลคูณของจํานวนเต็มที่กําหนดใหได
2. บอกความสัมพันธของการบวกและการคูณจํานวนเต็มได
3. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการคูณจํานวนเต็มได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลคูณจํานวนเต็มที่ได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.4

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการหาผลคูณของจํานวนเต็มเราไมใชเสนจํานวนอธิบายเพราะไมชวยใหนักเรียนเขาใจ
งายขึ้น แตจะใชบทนิยามหรือสมบัติการสลับที่ในการอธิบายและใหความหมายการคูณจํานวนเต็มบวก
27

ดวยจํานวนเต็มลบ สําหรับการคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มบวกไมสามารถอธิบายและใหความ
หมาย (การคูณจํานวนเต็ม) ได จึงนําสมบัติการสลับที่การคูณของจํานวนเต็มมาใช
2. การหาผลคูณของจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบในหนังสือเรียนไดใหหลักเกณฑการคูณ
ไว (โดยไมไดใหความหมายเชนกัน) การคูณจํานวนเต็มลบดวยจํานวนเต็มลบสามารถแสดงใหเห็นไดวา
ผลลัพธเปนจํานวนเต็มบวกโดยใชสมบัติการแจกแจง และไมยากเกินไปสําหรับนักเรียนในระดับชั้นนี้
ถาครูเห็นวานักเรียนสามารถเขาใจได ครูอาจแสดงใหนักเรียนเห็นไดดังตัวอยาง
ถาตองการแสดงวา (-3) × (-2) = 6 ทําไดดังนี้
เนื่องจาก (-2) + 2 = 0
(-3) × [(-2) + 2] = (-3) × 0
[(-3) × (-2)] + [(-3) × 2] = 0 (สมบัติการแจกแจง)
เนื่องจาก [(-3) × 2] = -6
จะได [(-3) × (-2)] + (-6) = 0
เนื่องจาก 6 + (-6) = 0
ดังนั้น [(-3) × (-2)] = 6

3. สําหรับแบบฝกหัด 2.4 ในหนังสือเรียน โจทยบางขอที่นําเสนอไวมีเจตนาใหนักเรียน


สังเกตไดวา การคูณจํานวนเต็มนาจะมีสมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลี่ยนหมู และสมบัติการแจกแจง
4. สําหรับกิจกรรมเสนอแนะ 2.4 ครูอาจนํามาใชหลังจากนักเรียนไดหลักเกณฑการคูณ
จํานวนเต็มแลว เพื่อใชเปนการตรวจสอบความเขาใจ และใหนักเรียนไดเห็นวาผลคูณที่ไดในแตละขอ
เปนจริงตามหลักเกณฑที่ใหไว
5. สําหรับปญหาทายตัวอยางที่ 4 ขอ 2.4 เปนคําถามที่ตองการกระตุนใหนักเรียนสังเกตเห็น
สมบัติของ 1 ซึ่งจะพบวาจํานวนเต็มที่กลาวถึงในปญหานี้คือ 1 เพราะวา 1 + 1 = 2 แต 1 × 1 = 1

2.5 การหารจํานวนเต็ม (4 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาผลหารของจํานวนเต็มที่กําหนดใหได
2. บอกความสัมพันธของการคูณและการหารจํานวนเต็มได
3. อธิบายผลที่เกิดขึ้นจากการหารจํานวนเต็มได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของผลหารจํานวนเต็มที่ได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.5 ก – 2.5 ค


28

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในบทเรียนนี้จะกลาวถึงการหารจํานวนเต็มที่เปนการหารลงตัว คือมีผลหารเปนจํานวนเต็ม
และเศษเปนศูนย ครูควรแนะใหนักเรียนตรวจสอบผลหารโดยใชความสัมพันธ

ตัวหาร × ผลหาร = ตัวตั้ง

2. ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 2.5 ก – 2.5 ค ซึ่งมีไวเพื่อตรวจสอบความเขาใจ


และฝกทักษะเกี่ยวกับการบวก การลบ การคูณ และการหาร

2.6 สมบัติของจํานวนเต็ม (2 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
นําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการคิดคํานวณและแกปญหาได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.6


แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในหัวขอนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับสมบัติของจํานวนเต็มที่จําเปนและควรรูในชั้นนี้ ซึ่งที่จริงแลว
เมื่อตอนที่นักเรียนไดเรียนเรื่องการบวกจํานวนเต็มและการคูณจํานวนเต็มในหัวขอ 2.2 และ 2.4 นั้นจะ
มีแบบฝกหัดบางขอที่เจตนาเสนอไวเพื่อชวยใหนักเรียนเกิดขอคิดเกี่ยวกับจํานวนเต็ม ดังนี้
จํานวนเต็มมีสมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการบวกและการคูณ
จํานวนเต็มมีสมบัติการแจกแจง
ในการสอนหัวขอนีค้ รูอาจเขียนสมบัตติ า ง ๆ ลงบนแผนภูมแิ ลวนํามาติดแสดงไวในชัน้ เรียน
เพื่อใหนักเรียนคุนเคย สามารถนําไปใชในการคํานวณและแกปญหาได
ตัวอยางแผนภูมิ

สมบัติการสลับที่
ถา a และ b แทนจํานวนเต็มใด ๆ แลว a + b = b + a

ครูควรหาโจทยที่ตองใชสมบัติตาง ๆ เหลานี้ไปใชในการหาคําตอบมาใหนักเรียนไดฝกทํา
ใหมากพอเพื่อใหเกิดทักษะ
29

2. เพื่อสงเสริมและพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับจํานวนเต็ม ครูควรใหนักเรียนทํา
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6 อาจใชการถามตอบในชั้นเรียน เพราะนักเรียนจะสามารถอธิบายเหตุผลดวย
การพูดไดดีกวาการเขียนอธิบาย เปนการสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิดและแสดงเหตุผล และครูสามารถชี้
แนะแนวคิดและใหขอสังเกตกับนักเรียนในดานความรูสึกเชิงจํานวนดวย
3. สําหรับปญหาทายตัวอยางที่ 5 หัวขอ 2.6 การคิดราคาสมของแมคาทั้งสามแบบอาศัย
สมบัติการแจกแจง

คําตอบแบบฝกหัด
คําตอบแบบฝกหัด 2.1 ก
1.
1) เท็จ
2) จริง
3) จริง
4) จริง
5) เท็จ
6) เท็จ
7) จริง
8) จริง
9) จริง เพราะจํานวนเต็มบวกที่มากกวา a จํานวนถัดไปคือ a + 1
10) จริง เพราะจํานวนเต็มที่นอยกวา a จํานวนถัดมาคือ a – 1
2.
1) 0, 1, 2
2) -1, -2, 3, -3
3) 4, -4
4) 5, -5, 6
3. ไมใช เพราะ a สามารถแทนจํานวนเต็มบวก หรือจํานวนเต็มลบ หรือศูนย
4.

-25 -20 -15 -10 -5 0 5 10


5. -3, -6, -9, -12 และ -15
6. -3, -5, -7, -9 และ -11
30

7. -12, -9, -6, -3 และ 0


8. -4, -2, 0, 2 และ 4
9.
1) -2, 0, 2 2) 2, 5, 8
3) -2, -4, -6 4) 0, -5, -10
5) -6, -10, -14 6) 6, 11, 16

คําตอบแบบฝกหัด 2.1 ข
1.
1) -4 > -5 2) 7 > -7
3) 0 < 5 4) 0 > -5
5) 18 > -12 6) 20 > -2
7) -15 < 3 8) -8 < 1
2. -15, -10, - 8, -2, 0, 1, 2, 3, 5
3.
1) 0 กิโลเมตร
2) 5 กิโลเมตร
3) 9 กิโลเมตร
4) 11 องศาเซลเซียส
5) 23 องศาเซลเซียส
6) ประมาณ 14 องศาเซลเซียส
7) เมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้นอุณหภูมิของอากาศจะลดลง (ยิ่งสูงยิ่งหนาว)

คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก
1.
1) 33 2) 33
3) -12 4) -12
5) -10 6) -10
7) -25 8) -25
9) -106 10) -106
31

จากผลลัพธในขอ 3) ถึง 10) การบวกจํานวนเต็มลบนาจะมีสมบัติการสลับที่ (นักเรียนจะได


เรียนในหัวขอ 2.6)
2.
1) 12 2) 12
3) -12 4) -12
5) -13 6) -13
7) -32 8) -32
จากผลลัพธในขอ 3) ถึง 8) การบวกจํานวนเต็มลบนาจะมีสมบัติการเปลี่ยนหมู (นักเรียนจะได
เรียนในหัวขอ 2.6)
3.
1) -2 2) -6
3) -1 4) -5

คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข
1.
1) 320 2) 320
3) -36 4) -36
5) 0 6) 0
7) 4 8) 4
9) -17 10) -17
2.
1) 9, 9, จริง 2) -41, -41, จริง
3) 15, 15, จริง 4) -2, -2, จริง
5) 0, 0, จริง 6) 0, 0, จริง
3.
1) -11 2) -11
3) 2 4) 2
5) -1 6) -1
7) 0 8) 0
9) 1 10) 1
11) 41 12) 41
32

4.
1) 6, 6, จริง
2) 0, 0, จริง
3) 4, 4, จริง
4) 4, 4, จริง
5) -39, -39, จริง
5.
1) 13 2) -13
3) -4 4) 0
6. คําตอบมีไดหลายคําตอบ ตัวอยางเชน
1) 7 + (-1) 2) (-5) + 5
3) (-4) + (-5) 4) 1 + (-16)

คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ก
1. จํานวนตรงขามของ 11, 13, 15, 16, 20 คือ -11, -13, -15, -16, -20 ตามลําดับ
2. จํานวนตรงขามของ -11, -13, -15, -16, -20 คือ 11, 13, 15, 16, 20 ตามลําดับ
3. จํานวนตรงขามของ -5, 5, 20, -20, 9, -9, 25, 100, -586, -1,079, 5,936 คือ 5, -5, -20, 20,
-9, 9, -25, -100, 586, 1,079, -5,936 ตามลําดับ
4.
1) 0 2) 0
3) 17 4) 29

คําตอบแบบฝกหัด 2.3 ข
1.
1) 8 + (-9) 2) 3 + (-16)
3) 0 + (-20) 4) (-28) + (-9)
5) (-5) + (-27) 6) (-17) + (-2)
7) 0 + 15 8) 9 + 35
9) (-30) + 30 10) (-53) + 30
33

2.
1) 6 2) 19
3) -7 4) -19
5) 22 6) -100
7) -9 8) -15
9) 9 10) 0
11) 15 12) 27
3.
1) 6 2) 22
3) -15 4) -11
5) 40 6) -47
7) -24 8) 18
9) 100 10) 1
11) 24 12) -27
13) -5 14) 8
15) 0 16) 0
4.
1) 0 2) 32
3) 30 4) -18
5) -44 6) -55
7) -18 8) 18
9) -23 10) -13
5.
1) มีหลายจํานวน แต a และ b ตองเปนจํานวนที่เทากัน ตัวอยางเชน ให a = 2, b = 2
จะได 2 – 2 = 2 – 2 เปนจริง
2) มีหลายจํานวน ตัวอยางเชน ให a = 3, b = 1 จะได 3 – 1 ≠ 1 – 3
3) จํานวนเต็มไมมีสมบัติการสลับที่สําหรับการลบ
6.
1) มีหลายจํานวน ตัวอยางเชน ให a = -3, b = 2, c = 0 จะได
{(-3) – 2} – 0 = (-3) – (2 – 0) เปนจริง
2) มีหลายจํานวน ตัวอยางเชน ให a = 1, b = 2, c = 3 จะได
(1 – 2) – 3 ≠ 1 – (2 – 3)
3) จํานวนเต็มไมมีสมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการลบ
34

7. คําตอบของแตละขอมีไดหลายคําตอบ ตัวอยางเชน
1) (-2) – (-8) 2) ตัวอยางเชน 3 – 12
3) (-5) – (-5) 4) ตัวอยางเชน 0 – (-a)

คําตอบแบบฝกหัด 2.4
1.
1) 108 2) -77
3) -104 4) 252
5) -625 6) -8,000
7) 0 8) 0
9) 115 10) 318
11) 1 12) 0
2.
1) 238 2) 238
3) -45 4) -45
5) -60 6) -60
7) -1,000 8) -1,000
9) 4,560 10) 4,560
11) -196 12) -196
3.
1) -20, -20, จริง 2) -12, -12, จริง
3) 90, 90, จริง 4) 0, 0, จริง
4.
1) -1 2) -1
3) 0 4) 0
5) 6 6) 6
7) 504 8) 504
9) 350 10) 350
5.
1) จริง (เทากับ -12) 2) จริง (เทากับ 20)
3) จริง (เทากับ -12)
35

6.
1) 20 2) 20
3) -44 4) -44
5) 15 6) 15
7) 10 8) 10
9) 36 10) 36
7.
1) จริง (เทากับ 0) 2) จริง (เทากับ 49)
3) จริง (เทากับ -18)
8.
1) 36 2) 36
3) -30 4) -30
5) 20 6) 20
7) 1 8) 1
9) 45 10) 45
9.
1) จริง (เทากับ 3) 2) จริง (เทากับ 8)
3) จริง (เทากับ 42)
10.
1) -2 2) -1
3) -3 4) -1
5) -1 6) 1
7) -2 8) -2
9) 1 10) -5
11. คําตอบมีไดหลายคําตอบ ตัวอยางเชน
1) (-1) × 7 2) (-3)(-5)
3) 2 × (-12) 4) 1 × 31
12. ไมจริง เชน ให a = 3, b = -2 จะได 3 × (-2) = -6
1) -6 มากกวา 3 ไมจริง แสดงวา ab มากกวา a ไมจริง
2) -6 มากกวา -2 ไมจริง แสดงวา ab มากกวา b ไมจริง
36

คําตอบแบบฝกหัด 2.5

1.
1) 1 2) -1
3) -25 4) 5
5) -21 6) 19
7) -2 8) -10
9) 10 10) -50
11) 39 12) 112
13) -89 14) 5
15) 45 16) 4
17) 16 18) -4
2.
1) -12 2) -3
3) 4 4) -12
5) -32 6) -4
3.
1) เมื่อ a = 2, b = -2
2 ÷ (-2) = (-2) ÷ 2 = -1
2) เมื่อ a = -12, b = 3
(-12) ÷ 3 = -4
ในขณะที่ 3 ÷ (-12) ไมเปนจํานวนเต็ม
ดังนั้น (-12) ÷ 3 ≠ 3 ÷ (-12)
3) จํานวนเต็มไมมีสมบัติการสลับที่สําหรับการหาร
4.
1) เมื่อ a = 0, b = 2, c = -3
(0 ÷ 6) ÷ (-3) = 0 ÷ (-3)
= 0
0 ÷ {6 ÷ (-3)} = 0 ÷ (-2)
= 0
ดังนั้น (0 ÷ 6) ÷ (-3) = 0 ÷ {6 ÷ (-3)}
37

2) เมื่อ a = 9, b = -3, c = 3
{9 ÷ (-3)} ÷ 3 = (-3) ÷ 3
= -1
ขณะที่ 9 ÷ {(-3) ÷ 3} = 9 ÷ (-1)
= -9
ดังนั้น {9 ÷ (-3)} ÷ 3 ≠ 9 ÷ {(-3) ÷ 3}
3) จํานวนเต็มไมมีสมบัติการเปลี่ยนหมูสําหรับการหาร
5.
1) 0 เปนจํานวนคู เพราะ 0 หารดวย 2 ลงตัว ( 02 = 0 เนื่องจาก 0 = 2 × 0)
2) 0, 2, -2, 4, -4, 6, -6, …
3) 1, -1, 3, -3, 5, -5, …

คําตอบแบบฝกหัด 2.6
1.
1) -21 2) 480
3) 0 4) 0
5) -25 6) 52
7) 0 8) -9
9) 1 10) 1
11) 1 12) -1
2.
1) 0 2) 0
3) 5 4) 0
5) 9 6) -3
7) -1 8) จํานวนเต็มใด ๆ
3.
1) m = 0
สมบัติของศูนยที่กลาววา
(1) การคูณจํานวนเต็มใด ๆ ดวยศูนยจะไดผลคูณเทากับศูนย
(2) ถาผลคูณของสองจํานวนใดเทากับศูนย จํานวนใดจํานวนหนึ่งอยางนอยหนึ่งจํานวน
ตองเปนศูนย
2) m = 0 เหตุผลทํานองเดียวกับขอ 1)
38

4.
1) a 2) a
3) 3 4) 6
5) p 6) 5
7) 12 8) -2
9) 1 10) 40
11) -1 12) -6
13) b–c
5.
1) 6 2) 9
3) -7 4) 4
5) 45 6) 436
7) 4 8) -14
6. ตัวอยางแนวคิด 12 × 55 = 12 × (50 + 5)
= (12 × 50) + (12 × 5)
= 600 + 60
= 660
7. ตัวอยางแนวคิด (5 × 99) + (4 × 199) = [5 × (100 – 1)] + [4 × (200 – 1)]
= [5 × 100) – (5 × 1)] + [(4 × 200) – (4 × 1)]
= (500 – 5) + (800 – 4)
= 1300 – 9
= 1291

คําตอบปญหา “ทําไมไมใช 0 เปนตัวหาร”


1. 0 = 0× a
2. จํานวนใด ๆ (ทุกจํานวน)
3. มีมากกวาหนึ่งคา
4. หาคา a ที่เปนคาเดียวไมได เพราะ a แทนจํานวนไดทุกจํานวนแลวทําใหประโยค
0 = 0 × a เปนจริง
5. ไมมีจํานวนใดแทน b และทําให 0 × b = 5
6. ไมมีคําตอบสําหรับ 50 เพราะไมสามารถหาจํานวนมาคูณกับ 0 แลวไดผลลัพธเทากับ 5
7. มีคําตอบได 2 แบบ คือ
1) ผลลัพธเปนจํานวนใดก็ได
2) ไมมีผลลัพธ
ดังนั้น ในทางคณิตศาสตรจึงไมใช 0 เปนตัวหาร
39

กิจกรรมเสนอแนะและแบบฝกหัดเพิ่มเติม
40

กิจกรรมเสนอแนะ 2.1 ก

กิจกรรมนี้อาจใชนําเขาสูบทเรียน เพื่อใหเห็นการนําจํานวนเต็มลบไปใช เชน ในการจัด


อันดับผลการแขงขันฟุตบอลและกอลฟ ครูอาจนําเอกสารตอไปนี้ไปประกอบการสนทนา
เปนใบความรู หรืออาจทําเปนปายนิเทศเพื่อใหนักเรียนศึกษา

ตารางที่ 1 สรุปผลการแขงขันฟุตบอลพรีเมียรลกี ของประเทศอังกฤษบางทีมตัง้ แตเริม่ ตนการแขงขัน


ในป พ.ศ. 2544 จนถึงวันที่ 22 เมษายน 2544

จํานวนครั้ง จํานวนประตู จํานวนประตู จํานวนประตูที่ไดลบดวย


ทีม
ที่แขง ที่ได ที่เสีย จํานวนประตูที่เสีย
เชลซี 34 62 39 23
อัสตัน วิลลา 35 43 38 5
ซันเดอรแลนด 35 40 37 3
เอฟเวอรตัน 35 42 42 0
ชารลตัน 35 46 49 -3
เซาธแธมปตัน 33 34 40 -6
สเปอร 35 42 49 -7
เลสเตอร ซิตี้ 35 34 45 -9

ทีม่ า : หนังสือพิมพเดลินวิ สฉบับวันที่ 28 เมษายน 2544

ในการแขงขันฟุตบอลครั้งนี้คิดคะแนนจากจํานวนประตูที่ไดลบดวยจํานวนประตูที่เสีย ทีมใด
ไดคะแนนมากกวาถือวามีความสามารถสูงกวา
จากตารางที่ 1 นักเรียนคิดวาทีมฟุตบอลทีมใดเลนไดดกี วาทีมอืน่ ๆ จงอภิปราย

[ขออภิปรายของนักเรียนควรสรุปไดวา “ทีมเชลซีเลนไดดีที่สุด เพราะมีคะแนนมากกวาทีม


อื่น ๆ”]
41

ตารางที่ 2 รายงานผลคะแนนของนักกอลฟบางคนจากการตีกอลฟรอบหนึง่ ในประเทศไทย เมือ่ ป


พ.ศ. 2543

นักกอลฟ คะแนน
ไทเกอร วูดส -7
ธงชัย ใจดี -3
ประหยัด มากแสง -2
นิกค ฟลโด -1
วุก – ซุน กัง E
พอล โกว E
ทิม เอลเลียท +4
ยอง – จิน ชิน +7

สนามกอลฟแตละแหงจะกําหนดจํานวนครั้งที่นักกอลฟควรตีลูกใหลงหลุมแตละหลุมไว เรียก
จํานวนครั้งที่กําหนดไวนั้นวา “พาร (par)” ในการตีกอลฟหนึ่งรอบที่สนามแหงนี้กําหนดพารสําหรับตี
กอลฟ 18 หลุมไวรวม 72
คะแนน -7 ของไทเกอร วูดส มีความหมายวาในรอบนี้ ไทเกอร วูดส ตีกอลฟ ต่ํากวาพาร
7 ครั้ง
สําหรับนักกอลฟที่ตีกอลฟไดเทากับพารจะไดรับการรายงานคะแนนเปน E (ยอมาจาก even
ซึ่งในที่นี้แปลวาเสมอกันหรือเทากัน) หรือ PAR (พาร) จากตารางแสดงวา วุก – ซุน กัง ตีกอลฟรอบนี้
เทากับพาร
ในรอบนี้ ทิม เอลเลียท ตีกอลฟสูงกวาพาร 4 ครั้ง คะแนนจึงเปน +4
ในการแขงขันกอลฟผูที่ตีไดต่ํากวาพารจะถือวามีความสามารถสูงกวาผูที่ตีไดสูงวาพาร นักเรียน
คิดวาจากตารางนี้ใครเปนผูชนะ จงอภิปราย

[ไทเกอร วูดส เปนผูชนะ เพราะมีคะแนนต่ําสุด]


42

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนครั้งที่นักกอลฟแตละคนใชในการตีกอลฟหนึ่งรอบที่สนามแหงหนึ่ง

นักกอลฟ พาร จํานวนครั้งที่ใชตี คะแนน


คาบรีนา 70 65 -5
ปเตอรสัน 70 69 -1
………
แบล็กกี้ 70 70 PAR
เฟอรนานเดซ 70 72 +2
ออตโต 70 67 -3
………
อวาเรซ 70 72 +2
………
วอลล 70 70 PAR
………
กอนซาเลซ 70 64 -6
………
ลารา 70 71 +1
………
โรมีโอ 70 66 -4
………

สนามแหงนี้กําหนดพารในการตีกอลฟหนึ่งรอบไว 70
จงเติมคะแนนของนักกอลฟแตละคนในตารางที่ 3 โดยใช PAR แทนคะแนนของผูที่ตีได
เทากับพารที่สนามกําหนด
เมื่อนักเรียนบันทึกคะแนนลงในชองคะแนนเรียบรอยแลวใหบอกดวยวาผูชนะคือนักกอลฟ
คนใด และไดคะแนนเปนเทาใด

[ผูชนะคือ กอนซาเลซ ไดคะแนน -6]

กิจกรรมเสนอแนะ 2.1 ข

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนรูจักจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ และศูนย โดยใชเสน


จํานวน ครูใชคาํ ถามใหนกั เรียนมองเห็นปญหาและความจําเปนทีต่ อ งกําหนดใหมจี าํ นวนเต็มลบ
เพื่อใชในการแกปญหา

ครูอาจดําเนินกิจกรรมตามลําดับตอไปนี้
43

1. ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1) กิตติมีเงินอยู 5 บาท ถาเขาใหนอง 1 บาท กิตติเหลือเงินเทาไร นักเรียนมีวิธีหาเงิน
ที่เหลืออยางไร
[เหลือเงิน 4 บาท หาไดจากนํา 1 ไปลบออกจาก 5]
2) ใหนักเรียนเขียนวิธีหาจํานวนเงินที่เหลือ ถากิตติใหเงินนองตามลําดับดังนี้
(1) 2 บาท [จํานวนเงินที่เหลือ 5 – 2 = 3 บาท]
(2) 3 บาท [จํานวนเงินที่เหลือ 5 – 3 = 2 บาท]
(3) 4 บาท [จํานวนเงินที่เหลือ 5 – 4 = 1 บาท]
(5) 5 บาท [จํานวนเงินที่เหลือ 5 – 5 = 0 บาท]
2. ใหนักเรียนสังเกตวาในสัญลักษณแสดงการลบตอไปนี้ตัวลบมีคาเพิ่มขึ้น
5 – 1, 5 – 2, 5 – 3, 5 – 4, 5 – 5
ถาใหตัวลบมีคาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เราอาจเขียนสัญลักษณได เชน 5 – 6, 5 – 7, 5 – 8 ฯลฯ
3. ใหนักเรียนเสนอวาถาจะเขียนจํานวนแทนสัญลักษณ 5 – 6, 5 – 7, 5 – 8, … เหลานี้ จะใชจํานวน
ชนิดใด
[นักเรียนอาจตอบไดวา -1, -2, -3, … ถานักเรียนตอบไมไดใหครูบอก]
4. ครูอาจแสดงการหาคําตอบโดยใชเสนจํานวน เพื่อโนมนาวความคิดของนักเรียนใหเห็นที่มาของ
จํานวนเต็มลบดังนี้

5–7
5–6
5–5
5–4
5–3
5–2
5–1

0 1 2 3 4 5

ใหนักเรียนสังเกตวาการหาคําตอบในการลบนั้น เรานับยอนจากตัวตั้งไปทางซายบนเสนจํานวน
เปนระยะเทากับตัวลบ
44

เชน 5–1 นับยอนจาก 5


ไปทางซาย 1 ชอง จะได 5 – 1 = 4
5–2 นับยอนจาก 5
ไปทางซาย 2 ชอง จะได 5 – 2 = 3
5–3 นับยอนจาก 5
ไปทางซาย 3 ชอง จะได 5 – 3 = 2
5–4 นับยอนจาก 5
ไปทางซาย 4 ชอง จะได 5 – 4 = 1
5–5 นับยอนจาก 5
ไปทางซาย 5 ชอง จะได 5 – 5 = 0
ฯลฯ
ใหนักเรียนชวยกันหาวา 5 – 6, 5 – 7, 5 – 8, … จะหาคําตอบไดอยางไร

5. ให 5 – 6 เปนจํานวนซึ่งแทนดวยสัญลักษณ -1 อานวา ลบหนึ่ง


5 – 7 เปนจํานวนซึ่งแทนดวยสัญลักษณ -2 อานวา ลบสอง
5 – 8 เปนจํานวนซึ่งแทนดวยสัญลักษณ -3 อานวา ลบสาม
ครูแนะนํานักเรียนวา -1, -2, -3, … เปนจํานวนที่นักคณิตศาสตรสรางขึ้น เรียกวาจํานวนเต็มลบ
6. ใหนักเรียนบอกจํานวนที่ใชแทนสัญลักษณ 5 – 8, 5 – 9, 5 – 10 [ลบสาม ลบสี่ และลบหา] และ
เขียนจํานวนดังกลาวบนเสนจํานวน ซึ่งจะไดดังนี้

5–9
5–8
5–7
5–6

-4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5
ครูแนะนําเสนจํานวนและแสดงจํานวนเต็มดังนี้

-9 -8 -7 -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2
อาจเขียนในแนวตั้งดังนี้

2
1
0
-1
-2
45

7. ครูควรใหนักเรียนสังเกตการเขียนจํานวนเต็มลบบนเสนจํานวน ซึ่งจะพบวา
-1 อยูหางจาก 0 หนึ่งชอง
-2 อยูหางจาก -1 หนึ่งชอง
-3 อยูหางจาก -2 หนึ่งชอง
1 และ -1 อยูหางจาก 0 เปนระยะเทากัน
2 และ -2 อยูหางจาก 0 เปนระยะเทากัน
3 และ -3 อยูหางจาก 0 เปนระยะเทากัน

กิจกรรมเสนอแนะ 2.1 ค

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนฝกทักษะการเปรียบเทียบจํานวนเต็ม

จํานวนปริศนา

ใหครูดําเนินกิจกรรมตามลําดับดังนี้
1. ครูสาธิตการทายจํานวนปริศนาเปนตัวอยางดังนี้
1) ครูเขียนจํานวนปริศนาไวโดยไมใหนักเรียนเห็น โดยมีขอตกลงวา เปนจํานวนเต็มตั้งแต
-50 ถึง 50 เชน -35
2) ใหนักเรียนทายจํานวนที่ครูเขียนไว ครูแจงผลการทายวา จํานวนที่นักเรียนบอกนั้นมากไป
หรือนอยไป หรือถูกตอง เชน นักเรียนทายวา -2 ครูจะบอกวามากไป
3) ถานักเรียนทายผิดใหทายครั้งตอ ๆ ไป จนกระทั่งทายถูกตอง
2. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 – 5 คน ครูกําหนดเวลาในการเลน ใหแตละกลุมเลนประมาณ 15
นาที ใหนักเรียนแตละกลุมบันทึกจํานวนปริศนาที่ใชทายและจํานวนครั้งที่ใชทายจํานวนปริศนา
แตละจํานวน กลุมที่นําจํานวนมาทายไดถูกตองมากที่สุดเปนผูชนะ
3. ใหนักเรียนชวยกันตั้งเกณฑการตัดสินที่จะพิจารณาวากลุมใดเปนผูชนะ
[เกณฑการตัดสินที่นักเรียนชวยกันตั้งขึ้นอาจเปนดังนี้
1) กลุมที่นําจํานวนปริศนามาทายไดมากที่สุดเปนผูชนะ
2) กลุม ทีน่ าํ จํานวนปริศนามาทายแลวมีจาํ นวนครัง้ ในการทายแตละจํานวนนอยทีส่ ดุ
เปนผูชนะ]
46

กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก

กิจกรรมนีต้ อ งการใหนกั เรียนฝกการคิดวิเคราะหในการแกปญ หา ควรใชกจิ กรรมนีห้ ลังจาก


ทําแบบฝกหัด 2.2 ข ในหนังสือเรียนแลว

สามเหลี่ยมกล

1. จงเติม -7, -5, -3, -1, 1 และ 3 ลงใน โดยไมซ้ํากันเพื่อทําใหผลบวกของจํานวนเต็มสาม


จํานวนที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน มีผลบวกเทากันทั้งสามแนว
2. ตรวจสอบกับเพื่อน ๆ วาไดคําตอบเหมือนกันหรือไม

วงลอกล

จงเติม -6, -3, 0, 3, 6, 9 และ 12 ลงใน โดยไมซ้ํากัน เพื่อทําใหผลบวกของจํานวนเต็ม


สามจํานวนที่อยูในแนวเสนตรงเดียวกัน มีผลบวกเทากันทั้งสามแนว
47

คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ก

ตัวอยางคําตอบ

1 3

-7 -3 -3 -7

3 -5 -1 -5 1 -1

-7 -7

3 1 3 -1

-5 -1 -3 -3 -5 1

ตัวอยางคําตอบ

12 0 -3 0

6 -6 3 -6 3 12

9 -3 6 9

-3 3

-6 12 9

0 6
48

กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ข

กิจกรรมนี้ตองการเสริมสรางการสังเกต การคิดวิเคราะห และฝกทักษะการคิดคํานวณ


เปนกิจกรรมที่นําไปใชหลังจากเรียนเรื่องการบวกจํานวนเต็ม คําตอบอาจมีไดมากกวา 1 วิธี

เสนทางการบวก

ตัวอยางเสนทางแสดงการบวกจํานวนจากตนทางไปยังปลายทางที่มีผลบวกเทากับ -12

ตนทาง เสนทาง A ผาน (-4) + 3 + (-2) + 5 + (-18) + 4 = -12


เสนทาง B ผาน (-4) + 3 + (-2) + 1 + (-6) + 0 + (-8) + 4 = -12
BA
-4
3 -2 5 เสนทาง A ผานหกจํานวน
เสนทาง B ผานแปดจํานวน
-6 1 -18
0 -8 4 ดังนั้นเสนทาง A สั้นกวาเสนทาง B
ปลายทาง -12

กิจกรรมหาเสนทางการบวก ใหนักเรียนชวยกันหาเสนทางที่สั้นที่สุด และเขียนประโยคแสดงการ


บวกจํา นวนในเส น ทางที่ สั้น ที่สุด จากตน ทางถึง ปลายทางตามที่
กําหนดให เพื่อใหไดผลบวกเทากัน
ตนทาง ตนทาง ปลายทาง
0 0 -4
5 -3 8 16 12 5
-16 -11 -10 -8 -15 -2
-2 0 -6 2 -7 -10
-8
ปลายทาง
49

คําตอบกิจกรรม เสนทางการบวก
ตัวอยางคําตอบ

ตนทาง เสนทาง A ผาน 0 + 8 + (-10) + (-6) + 0 = -8


เสนทาง B ผาน 0 + 8 + (-3) + 5 + (-16) + (-2) + 0 = -8
B0 A
5 -3 8 เสนทาง A ผานหาจํานวน
-16 -11 -10 เสนทาง B ผานเจ็ดจํานวน
ดังนั้นเสนทาง A สั้นที่สุด
-2 0 -6
-8
ปลายทาง

ตนทาง ปลายทาง
เสนทาง A ผาน 0 + 16 + (-8) + 2 + (-7) + (-10) + (-2) + 5 = - 4
A0 B -4 เสนทาง B ผาน 0 + 16 + (-8) + (-15) + (-2) + 5 = -4
16 12 5
เสนทาง A ผานแปดจํานวน
-8 -15 -2
เสนทาง B ผานหกจํานวน
2 -7 -10 ดังนั้นเสนทาง B สั้นที่สุด

กิจกรรมเสนอแนะ 2.2 ค

คะแนนติดลบ

กลุม โรงเรียนมัธยมศึกษากลุม หนึง่ จัดตอบปญหาแขงขันคณิตศาสตร ในการแขงขันรอบสุดทาย


มีโรงเรียน 3 โรงเรียนที่ไดเขารอบ ไดแก โรงเรียน A, B และ C ในการตอบปญหารอบนี้มีคําถาม
ทั้งหมด 6 ขอ และมีเงื่อนไขในการใหคะแนนดังนี้
1. ตอบถูกตองสมบูรณไดคะแนนขอละ 2 คะแนน
2. ตอบถูกเปนบางสวนไดคะแนนขอละ 1 คะแนน
50

3. ถาไมตอบเลยได 0 คะแนน
4. ถาตอบผิดจะไดคะแนนขอละ -2
เมื่อสิ้นสุดการแขงขันปรากฏวาโรงเรียน B ไดคะแนนรวม 7 คะแนน โรงเรียน A ได
คะแนนรวม 6 คะแนน และโรงเรียน C ไดคะแนนรวม 5 คะแนน จงหาวาโรงเรียน B ไดคะแนน
อยางไรไดบาง

คําตอบกิจกรรม คะแนนติดลบ
ถาแจกแจงกรณีที่โรงเรียน B ทําได คะแนนจะเปนดังนี้

กรณีที่ 1 2 1 1 1 1 1
กรณีที่ 2 2 2 1 1 1 0
กรณีที่ 3 2 2 2 1 0 0
กรณีที่ 4 2 2 2 2 -2 1

หรือเขียนในรูปตารางขางลางนี้

จํานวนขอที่ไดคะแนน
กรณี คะแนนรวม
2 1 0 -2
1 1 5 0 0 2+5 =7
2 2 3 1 0 4 + 3+ 0 = 7
3 3 1 2 0 6+1+0 = 7
4 4 1 0 1 8 + 1 + (-2) = 7

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ก
ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดตอไปนี้
1. จงหาคาสัมบูรณของ 0 [0]

2. จงหาคาสัมบูรณของ -37, -38, -39, -40 [37, 38, 39, 40]

3. จงเติมขอความในชองวางใหถูกตอง
1) คาสัมบูรณของ 51 และ -51 เทากับ …………… [51]
2) คาสัมบูรณของ 470 และ …………….. เทากับ 470 [ -470]
51

3) คาสัมบูรณของ ………….. และ -132 เทากับ 132 [ 132]


4) 56 เปนคาสัมบูรณของ ……………. และ ……………. [-56, 56]
5) 142 เปนคาสัมบูรณของ ……………. และ ……………. [ -142, 142]
6) …………… เปนคาสัมบูรณของ 318 และ -318 [ 318 ]

4. จงเติมคําวา “มากกวา” “นอยกวา” หรือ “เทากับ” ลงในชองวางเพื่อทําใหประโยคตอไปนี้เปนจริง


1) 21 ……….. -21 [ มากกวา]
2) คาสัมบูรณของ 21 ………….. คาสัมบูรณของ -21 [เทากับ]
3) -6 ………… 6 [นอยกวา]
4) คาสัมบูรณของ -6 ………….. คาสัมบูรณของ 6 [เทากับ]
5) คาสัมบูรณของ -7 ………….. คาสัมบูรณของ 9 [นอยกวา]
6) คาสัมบูรณของ -5 ………….. คาสัมบูรณของ -7 [นอยกวา]
7) คาสัมบูรณของ -23 ………….. คาสัมบูรณของ 20 [ มากกวา]
8) คาสัมบูรณของ 13 ………….. คาสัมบูรณของ -19 [นอยกวา]

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.2 ข

1. ผลบวกของจํานวนเต็มบวกสองจํานวนเปนจํานวนเต็มบวกเสมอใชหรือไม [ใช]

2. ผลบวกของจํานวนเต็มลบสองจํานวนเปนจํานวนเต็มลบเสมอใชหรือไม [ใช]

3. ผลบวกของจํานวนเต็มบวกและจํานวนเต็มลบที่มีคาสัมบูรณเทากันเทากับเทาใด [0]

4. ผลบวกของจํานวนเต็มบวกสองจํานวนจะมากกวาจํานวนทั้งสองเสมอใชหรือไม [ใช]

5. ผลบวกของจํานวนเต็มลบสองจํานวนจะมากกวาจํานวนทั้งสองเสมอใชหรือไม [ไมใช]

6. จํานวนเต็มสองจํานวนใดบางที่มีผลบวกเทากับจํานวนตอไปนี้
1) -21 2) 35
3) 60 4) -95

[คําตอบมีหลายคําตอบ เชน
1) (-18) + (-3) 2) (-12) + 47
3) 40 + 20 4) (-25) + (-70)]
52

กิจกรรมเสนอแนะ 2.3

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนฝกทักษะการบวกและการลบจํานวนเต็ม ฝกการสังเกต และ


กิจกรรมนี้ยังชวยพัฒนาความรูสึก เชิงจํานวน ครูควรใชกิจกรรมนี้หลังจากทําแบบฝกหัดที่
2.3 ข ในหนังสือเรียน

ใหครูดําเนินกิจกรรมดังตอไปนี้
1. ครูแจกบัตรจํานวนเต็มดังตัวอยาง กลุมละ 1 ชุด จํานวน 8 ใบ

1 5 6 12

-1 -5 -6 -12

2. ใหแตละกลุมชวยกันเลือกบัตรเพียง 4 ใบ แลวใชการบวกหรือการลบเชื่อมระหวางจํานวนใหได
ผลลัพธตามจํานวนที่ครูกําหนดให
3. ใหตัวแทนกลุมนําบัตรมาติดบนกระดานดํา พรอมทั้งเขียนเครื่องหมายแสดงการดําเนินการบวก
หรือลบระหวางจํานวนดังตัวอยาง

1. 1 + 5 + 6 + 12 = 24

2. -1 + -5 + -6 + -12 = -24

3. -6 + 5 – -1 + 12 = 12

4. -6 + 5 + -1 – -12 = 10

5. 5 + -5 – 1 + -6 = -7

4. ใหนักเรียนทุกคนในชั้นชวยกันตรวจสอบความถูกตอง
5. ใหนักเรียนกลุมอื่นที่สามารถทําไดในรูปแบบที่แตกตางออกมานําเสนอไดอีก
53

กิจกรรมเสนอแนะ 2.4

กิจกรรมนีต้ อ งการใหนกั เรียนฝกการสังเกตความสัมพันธของจํานวนในแบบรูปของการคูณ


จํานวนเต็ม

1. ใหสังเกตแบบรูปที่กําหนดใหแลวเติมคําตอบลงในชองวางใหถูกตอง
5 × 5 = 25 (-4) × 5 = -20
5 × 4 = 20 (-4) × 4 = -16
5 × 3 = 15 (-4) × 3 = -12
5 × 2 = 10 (-4) × 2 = …… [-8]
5×1 = 5 (-4) × 1 = …… [-4]
5×0 = 0 (-4) × 0 = …… [0]
5 × (-1) = -5 (-4) × (-1) = …… [4]
5 × (-2) = ….. [-10] (-4) × (-2) = …… [8]
5 × (-3) = ….. [-15] (-4) × (-3) = …… [12]
5 × (-4) = ….. [-20] (-4) × (-4) = …… [16]
5 × (-5) = ….. [-25] (-4) × (-5) = …… [20]
5 × (-6) = ….. [-30] (-4) × (-6) = …… [24]
5 × (-7) = ….. [-35] (-4) × (-7) = …… [28]
5 × (-8) = ….. [-40] (-4) × (-8) = …… [32]
5 × (-9) = ….. [-45] (-4) × (-9) = …… [36]
2. ใหนักเรียนสังเกตความสัมพันธของการเพิ่มหรือการลดของตัวคูณและผลคูณในขอ 1 แลวบอก
ความสัมพันธตามที่พบ
[นักเรียนอาจพบความสัมพันธวา
1) เมื่อตัวตั้งเปนจํานวนเต็มบวกและตัวคูณเปนจํานวนเต็มที่นอยลงทีละ 1 จะทําให
ผลคูณลดลงทีละ 5
2) เมื่อตัวตั้งเปนจํานวนเต็มลบและตัวคูณเปนจํานวนเต็มที่นอยลงทีละ 1 จะทําให
ผลคูณเพิ่มขึ้นทีละ 4
หรืออาจสรุปเปนภาพรวม ๆ ไดวา จํานวนเต็มชนิดเดียวกันคูณกันไดผลคูณเปนจํานวนเต็มบวก
จํานวนเต็มตางชนิดกันคูณกันไดผลคูณเปนจํานวนเต็มลบ]
3. ใหนักเรียนสังเกตวาผลคูณที่ไดในขอ 1 เปนไปตามหลักเกณฑการคูณจํานวนเต็มหรือไม [เปน]
54

กิจกรรมเสนอแนะ 2.5 ก

กิจกรรมนี้ใชฝกทักษะการหารจํานวนเต็ม ฝกการวิเคราะหและวางแผนเพื่อใหไดผลลัพธ
ตามที่ตองการ

เกมการหาร

อุปกรณ
1. ตาราง 6 × 6 ซึ่งมีจํานวนเต็มกํากับดังรูป

1 -1 2 -2 3 -3
4 -4 5 -5 6 -6
8 -8 9 -9 10 -10
12 -12 15 -15 16 -16
18 -18 20 -20 24 -24
25 -25 30 -30 36 -36

2. แถบจํานวน

-6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6

3. เบี้ยสี 2 สี สีละ 1 อัน

กติกา
1. ผูเลน 2 ฝาย (คน) ผลัดกันเลน
2. เลือกเบี้ยสีฝายละสี
55

วิธีเลน สมมติใหผูเลนคือ A และ B

1. ตกลงกันวาฝายใดจะเปนผูไดเลนกอน
2. ผูเลน A เลือกจํานวนบนแถบจํานวนหนึ่งจํานวน โดยนําเบี้ยสีของตนไปวางที่จํานวนนั้น
บนแถบจํานวน เชน ถาเลือก -6 ก็ใหนําเบี้ยสีไปวางไวที่ -6 บนแถบจํานวน
3. ผูเ ลน B ตองหาจํานวนทีห่ ารดวยจํานวนทีผ่ เู ลน A กําหนดไวลงตัว ในตารางจํานวน
เชน -12 (เพราะ -12 หารดวย -6 ลงตัว) ทําเครื่องหมาย ลอมรอบ -12
จากนั้นผูเลน B เลือกจํานวนบนแถบจํานวนเพื่อผลัดใหผูเลน A ทําเครื่องหมาย × บน
จํานวนที่หารดวยจํานวนที่ผูเลน B กําหนดไวลงตัว ในตารางจํานวน
4. ผูเลน A ทําเครื่องหมายบนจํานวนในตารางแลว เลือกกําหนดจํานวนบนแถบจํานวนให
ผูเลน B วงจํานวนในตารางจํานวน ผลัดกันกําหนดและหาคําตอบเชนนี้สลับกันไป
5. ผูเลนคนใดสามารถทําเครื่องหมายของตนเองตอกัน 4 เครื่องหมายตามแนวตั้ง แนวนอน
หรือแนวทแยงกอนเปนผูชนะ

กิจกรรมเสนอแนะ 2.5 ข

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนไดฝกทักษะการบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม

ปริศนาจํานวนเต็ม

คําสั่ง ใหนักเรียนเติมจํานวนเต็มใน ใหถูกตอง เมื่อกําหนดใหจํานวนที่อยูในสดมภที่หนึ่ง


เปนตัวตั้ง และจํานวนที่อยูในแถวที่หนึ่งเปนตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ หรือตัวหาร
56

ปริศนาการบวก ปริศนาการลบ

+ 0 -3 1 4 _ 5 –2 6 3

5 555
5 2 9 4 -1 6 –2 1

2 2 -1 3 6 -6 –11 -4 –12 –2

-1 –1 -4 0 3 –3 –8 -1 –9 –6

–3 -3 –6 -2 1 1 –4 3 -5 –2

ปริศนาการคูณ ปริศนาการหาร

× –5 4 -9 2 ÷ 2 4 -2 -4
–2 10 -8 18 –4 4 2 1 –2 –1
-3 15 -12 27 –6 8 4 2 –4 –2
–7 35 –28 63 -14 –4 -2 –1 2 1
6 –30 24 –54 12 –8 –4 –2 4 2

คําตอบกิจกรรม ปริศนาจํานวนเต็ม
ปริศนาการบวก ปริศนาการลบ

+ 0 -3 11 4 _ 5 –2
-2 66 3
5 55
5 2 66
6 9 4 -1 6 –2
-2 1

2 2 -1 3 6 -6 –11
-11 -4 –12
-12 –2
-9
-1 –1
-1 -4 0 3 –3
-3 –8
-8 -1 –9
-9 –6
-6
-3
–-33 -3 –6
-6 -2 1 1 –4
-4 3 -5 –2
-2
57

ปริศนาการคูณ ปริศนาการหาร

× -5
–5 4 -9 2 ÷ 2 4 -2 -4
–2
-2 10 -8 18 –4
-4 4 22 1 –2
-2 –1
-1
-3 15
15 -12 27 –6
-6 8 44 22 –4
-4 –2
-2
–7
-7 35 –28
-28 63 -14 –4
-4 -2 –1
-1 2 1

6 –30
-30 24 –54
-54 12 –8
-8 –4
-4 –2-2 44 2

กิจกรรมเสนอแนะ 2.5 ค

งูกินหาง

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนไดฝกทักษะการบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวนเต็ม

1. ครูอธิบายกติกาการทํากิจกรรมโดยยกตัวอยางดังตอไปนี้
กติกา ใหนักเรียนใชจํานวนตั้งแต -10 ถึง 10 แลวดําเนินการดังนี้
นักเรียนคนที่หนึ่ง บอกจํานวนมาหนึ่งจํานวน เชน 5
นักเรียนคนที่สอง นึกจํานวนไดจํานวนหนึ่ง นํามาบวก หรือลบ หรือคูณ หรือหารกับ
5 สมมติวาคนที่สองนึก -2 ไวในใจอาจพูดวา 5 คูณดวย -2 เทากับ
-10
นักเรียนคนที่สาม ถานึก 4 ไวในใจอาจพูดวา -10 บวกดวย 4 เทากับ -6
ฯลฯ
2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมตามกติกาโดยใชการบวก การลบ การคูณ การหารตามที่ตองการ
ครูย้ําวาคนถัดไปจะตองใชจํานวนของนักเรียนคนที่กลาวมากอนเปนตัวตั้งเสมอ
3. ถานักเรียนคนใดทําตอจากเพื่อนไมได ใหแกตัวอีกครั้งหนึ่ง และถายังทําตอไมไดให
เปลี่ยนเปนคนถัดไป ทําเชนนี้ตอไปจนกวาจะครบทุกคนและวนมาถึงคนแรกซึ่งจะตองตอบเปนคน
สุดทาย
58

กิจกรรมเสนอแนะ 2.6

กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายใหนักเรียนตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับสมบัติของหนึ่ง

จัตุรัสกล

จากตาราง 3 × 3 ใหนักเรียนทํากิจกรรมดังตอไปนี้
1. จงเติม 1 หาจํานวน และ -1 อีกสี่จํานวนลงในชองตารางแตละชองเพื่อทําใหผลคูณของ
จํานวนในแนวนอน แนวตั้ง และแนวทแยงตางก็เทากับ 1
2. จงเขียน 1 สี่จํานวน และ -1 อีกหาจํานวนลงในชองตารางแตละชองแลวทําใหผลคูณของ
จํานวนในแนวนอน แนวตั้ง และแนวทแยงตางก็เทากับ -1

คําตอบกิจกรรม จัตุรัสกล

1. -1 1 -1
1 1 1
-1 1 -1

2.
1 -1 1
-1 -1 -1
1 -1 1
59

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6

กิจกรรมนี้ตองการฝกใหนักเรียนไดสังเกตและคนพบความสัมพันธของจํานวนเต็ม ใชสมบัติ
การสลับที่ หรือสมบัติการเปลี่ยนหมูเพื่อฝกการคิดคํานวณใหรวดเร็วขึ้น เปนแบบฝกที่สงเสริม
และพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน

1. จงพิจารณาวาประโยคตอไปนี้ประโยคใดเปนจริงหรือเปนเท็จ นักเรียนมีเหตุผลอยางไรในการตอบ
เชนนั้น
1) (-719) + (305) มากกวา (-719) + (-305)
2) -836
4 นอยกวา -4
-836
3) (-93)(-125) นอยกวา 93 × 125
4) (-65)(13) เทากับ 65 × (-13)
5) 0 – (-218) นอยกวา 0 + 218
6) 13505−110 มากกวา 1350-5−110
7) ถา a = -65 และ b = -56 แสดงวา a < b
8) ถา a = 87, b = -12 และ c = -11 แลว a + b > a + c
2. จงประมาณวาผลลัพธในแตละขอเปนจํานวนชนิดใดและมีกหี่ ลัก โดยไมตอ งคํานวณจริง ๆ พรอมทัง้
ใหเหตุผลประกอบ
1) 135 + 999
2) 135 + (-685)
3) 1246 – 348
4) (-2054) + (-128)
5) 12 × 234
6) (-5) × 689
7) (-2344) ÷ 4
8) 2338 ÷ 14
9) 1,000,000 ÷ 2.5
10) (-10) × (-10) × (-10) × (-10) × (-10)
11) 10 × (-10) × 10 × (-10) × 10
12) 100,000,000 ÷ (-4)
60

3. จงใชการสังเกต การประมาณ และการคิดในใจ ในการหาคําตอบเพื่อเปรียบเทียบจํานวนโดย


ไมตองคํานวณ แลวเขียนเครื่องหมาย >, < หรือ = ลงใน

1) 747 + 435 + 603 747 + 435 + 606

2) 350 + 350 + 350 + 350 + 350 (-5) × 350

3) 70 + 71 + 72 3 × 71

4) 50 × 15 51 × 15

5) 350 ÷ 8 350 ÷ 9

6) 1500 ÷ 56 1499 ÷ 56

7) 2000 ÷ (-10) (-2000) ÷ 10

8) (-15) × 16 × (-2) (-2) × 16 × (-15)

4. วันหนึ่งในเดือนมกราคม ฉันเห็นรายงานอุณหภูมิของอากาศจากโทรทัศนวา กรุงมอสโคว


ประเทศรัสเซียมีอุณหภูมิ -22 °C ที่เมืองคัลเกอรี ประเทศแคนาดามีอุณหภูมิ -40°C เมืองใด
หนาวกวากัน และทั้งสองเมืองมีอุณหภูมิตางกันกี่องศาเซลเซียส
5. แผนภูมิแทงแสดงการแขงขันวิ่งเร็วระยะทาง 100 เมตรของนักเรียน 5 คน
เวลา (วินาที)

18

12

6
0 นักเรียน
พลอย ทับทิม เพชร มุก ทอง

1) ใครถึงเสนชัยเปนคนแรก และใครถึงเสนชัยเปนคนสุดทาย
2) ใหเรียงลําดับผูที่ถึงเสนชัยกอนหลังตามลําดับ
61

คําตอบแบบฝกหัดเพิ่มเติม 2.6

1. ตัวอยางคําตอบและเหตุผล
1) จริง เพราะ ตัวตั้ง (-719) เทากัน แตตัวบวก 227 มากกวา -305
2) จริง เพราะ -836 -836
4 มีผลหารเปนจํานวนลบ แต -4 มีผลหารเปนจํานวนบวก
3) เท็จ เพราะ -93 กับ 93 และ -125 กับ 125 ตางก็มีคาสัมบูรณเทากัน และผลคูณของ
ทั้งสองจํานวนตางก็เปนจํานวนเต็มบวก จึงทําให (-93)(-125) เทากับ 93 × 125
4) จริง เพราะ -65 กับ 65 มีคาสัมบูรณเทากัน
13 กับ -13 มีคาสัมบูรณเทากัน
และผลคูณของทั้งสองจํานวนตางก็เปนจํานวนเต็มลบ
5) เท็จ เพราะ 0 – (-218) เขียนในรูปการบวกไดเปน 0 + 218
จะได 0 – (-218) = 0 + 218
6) จริง เพราะ 13505−110 มีผลลัพธเปนจํานวนบวก
แต 1350-5−110 มีผลลัพธเปนจํานวนลบ
ซึ่งจํานวนบวกมากกวาจํานวนลบ
7) จริง เพราะวา -65 < -56
8) เท็จ เพราะวา (-12) < (-11) หรือ b < c ดังนั้น a + b < a + c
62

2.

ผลลัพธ จํานวนหลัก
ขอ ตัวอยางแนวคิด
จํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ของผลลัพธ
1) 100 + 1,000 = 1,100 9 สี่หลัก
2) 100 + (-700) = -600 9 สามหลัก
3) 1,200 – 300 = 900 9 สามหลัก
4) (-2,000) + (-100) = -2,100 9 สี่หลัก
5) 12 × 200 = 2,400 9 สี่หลัก
6) (-5) × 700 = -3,500 9 สี่หลัก
7) -2,000 ÷ 4 = -500 9 สามหลัก
8) 2,000 ÷ 10 = 200 9 สามหลัก
9) เนื่องจาก 2.5 × 4 = 10 หรือ 9 หกหลัก
10 ÷ 2.5 = 4
ดังนั้น 1,000,000 ÷ 2.5 = 400,000
10) มีจํานวนลบคูณกันหาจํานวนจะได 9 หกหลัก
ผลคูณเปนจํานวนลบ และมี 0
จํานวนหาตัว
11) มีจํานวนลบคูณกันสองจํานวนจะได 9 หกหลัก
ผลคูณเปนจํานวนบวก และมี 0
จํานวนหาตัว
12) เนื่องจาก 100 ÷ (-4) = -25 9 แปดหลัก
ดังนั้น 100,000,000 ÷ (-4)
= 100
-4 × 1,000,000
= (-25) × 1,000,000
= -25,000,000
63

3.
1) < 2) >
3) = 4) <
5) > 6) >
7) = 8) =
4. เมืองคัลเกอรี ประเทศแคนาดาหนาวกวากรุงมอสโคว ประเทศรัสเซีย ทั้งสองเมืองมีอุณหภูมิ
ตางกัน 18 °C

5.
1) พลอยถึงเสนชัยเปนคนแรก และทองถึงเสนชัยเปนคนสุดทาย
2) พลอย เพชร ทับทิม มุก และทอง
บทที่ 3
เลขยกกําลัง (13 ชั่วโมง)
3.1 ความหมายของเลขยกกําลัง (4 ชั่วโมง)
3.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง (5 ชั่วโมง)
3.3 การนําไปใช (4 ชัว่ โมง)

การนําเสนอเนื้อหาเรื่องเลขยกกําลังในบทเรียนนี้ เริ่มจากการใหนิยามเกี่ยวกับความหมายของ
เลขยกกําลัง an เมื่อ a เปนจํานวนใด ๆ และ n เปนจํานวนเต็มบวก จากนั้นจึงใชบทนิยามแสดงให
เห็นที่มาของสมบัติของการคูณและสมบัติของการหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก
สําหรับการหารเลขยกกําลัง am ÷ an เมื่อ a ≠ 0 กรณีที่ m = n และ m < n ไดแสดง
ใหเห็นความจําเปนที่ตองมีขอตกลงให a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0 และ a-n = a1n เมื่อ a ≠ 0 และ n เปน
จํานวนเต็มบวกและใหไวเปนบทนิยาม เพื่อใหสมบัติของการคูณและสมบัติของการหารเลขยกกําลังใช
ไดกับเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มลบและศูนยดวย ซึ่งจะเปนเนื้อหาสาระที่จะเรียนในชั้นที่
สูงขึ้น แตในชั้นนี้ใหเนนการใชสมบัติของการคูณและสมบัติของการหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน
จํานวนเต็มบวก ถึงแมวาในบทเรียนจะมีโจทยบางขอที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มลบ การหาคําตอบก็
ตองทําใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวกกอน
นอกจากจะใหนยิ ามตามระบบคณิตศาสตรแลว ครูควรดําเนินกิจกรรมที่สามารถทําใหนักเรียน
เกิดความรูสึกเชิงจํานวน เชน มีความรูส กึ ถึงคาทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือลดลงอยางรวดเร็วของจํานวนทีอ่ ยูใ นรูปเลข
ยกกําลัง เชน ใหเห็นความแตกตางของ 3 × 100 กับ 1003 ดังนี้
3 × 100 หมายถึง 100 + 100 + 100 = 300
1003 หมายถึง 100 × 100 × 100 = 1,000,000
สมบัติที่เกี่ยวกับเลขยกกําลังที่กลาวถึงในบทเรียนนี้จํากัดไวเฉพาะเทาที่กําหนดไวดังนี้
เมื่อ a เปนจํานวนใด ๆ m และ n เปนจํานวนเต็มบวก
am × an = am + n
am ÷ an = am – n เมื่อ a ≠ 0
a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0
a–n = 1
a n เมื่อ a ≠ 0
65

ตัวอยางเอกสารแนะนําการจัดกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีไวเพื่อนําเขาสูเนื้อหาสาระ
เสริมเนื้อหาสาระ ฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ใหมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมที่ดีงาม
ครูสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสมและอาจปรับใชไดตามความตองการ

ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. เขียนเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มแทนจํานวนที่กําหนดใหได
2. หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกัน และเลขชี้กําลังเปนจํานวน
เต็มได
3. ใชเลขยกกําลังในการเขียนแสดงจํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร (scientific notation) ได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
66

แนวทางในการจัดการเรียนรู

3.1 ความหมายของเลขยกกําลัง (4 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. บอกความหมายของเลขยกกําลังได
2. เขียนจํานวนที่กําหนดใหในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวกได
3. เขียนจํานวนแทนเลขยกกําลังทีม่ ีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวกที่กําหนดใหได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ก – 3.1 ฉ


แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 ก – 3.1 ง

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. คําประพันธในกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ก บรรยายภาพและลักษณะของชางเอราวัณที่วิจิตร
พิสดารยากที่จะจินตนาการไดตรงกัน แตมีใจความที่เกี่ยวของกับเลขยกกําลังสอดแทรกอยู จึงนําเสนอ
ไวเพื่อใชนําเขาสูบทเรียน
2. ครูอาจใชแผนภาพและกราฟจากกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ข อธิบาย เพื่อใหนักเรียนเห็นภาพ
คราว ๆ ของการขยายพันธุของแบคทีเรียใหเปนรูปธรรมขึน้
เพือ่ ใหเห็นพลังของเลขยกกําลัง ครูอาจเขียนแบบรูปแสดงการขยายพันธุข องแบคทีเรียดังนี้
เวลาผานไป 20 นาที ขยายจาก 1 เซลล เปน 2 เซลล
เวลาผานไป 40 นาที ขยายจาก 1 เซลล เปน 4 เซลล
เวลาผานไป 60 นาที ขยายจาก 1 เซลล เปน 8 เซลล
เวลาผานไป 80 นาที ขยายจาก 1 เซลล เปน 16 เซลล
. .
. .
. .

ครูควรนําการอภิปรายใหนักเรียนเห็นวา ถารางกายของคนเราติดเชื้อแบคทีเรียชนิดที่ให
โทษ เชน เชื้ออหิวาตกโรค อาการที่รางกายแสดงออกจะทวีความรุนแรงอยางรวดเร็ว ตามจํานวน
แบคทีเรียที่เพิ่มขึ้น ถาไมมีการใหยาฆาเชื้อแบคทีเรียนั้น
67

นอกจากนี้ ค รู ค วรชี้ ให นั กเรียนเกิ ด ความรูสึก วาในชวงต นจะเห็นการเพิ่มขึ้นของเซลล


ไมรวดเร็วนัก แตในชวงตอ ๆ ไปจํานวนของแบคทีเรียจะพุงขึ้นอยางรวดเร็ว โดยใหสังเกตการเพิ่มขึ้น
ของแบคทีเรียในแตละครั้งจากแบบรูปดังนี้

การแบงเซลล จํานวนเซลลที่เพิ่มขึ้น
การขยายเซลลของแบคทีเรีย
ครั้งที่ ในแตละครั้ง
1 ขยายจาก 1 เซลลเปน 2 เซลล 1
2 ขยายจาก 2 เซลลเปน 4 เซลล 2
3 ขยายจาก 4 เซลลเปน 8 เซลล 4
4 ขยายจาก 8 เซลลเปน 16 เซลล 8
5 ขยายจาก 16 เซลลเปน 32 เซลล 16
6 ขยายจาก 32 เซลลเปน 64 เซลล 32
. . .
. . .
. . .

3. ในการใหความหมายของเลขยกกําลัง เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ และ n แทนจํานวนนับ


a n = a × a × a × ... × a หมายถึงจํานวนที่มี a คูณกัน n ตัว ครูควรระวังในการอาน คําอานที่ถูกตองคือ
n
มี a คูณกัน n ตัว ไมใช n ครั้ง เพราะถาอานวา a คูณกัน n ครั้ง ตองมี a อยูทั้งหมด n + 1 ตัว
เชน 23 ถาอานวามี 2 คูณกัน 3 ครั้งจะหมายถึง 2 × 2 × 2 × 2
4. ในกรณีที่เลขยกกําลังมีฐานเปนจํานวนเต็มลบ เศษสวนหรือทศนิยม ใหครูย้ําวาควรเขียน
ฐานไวในวงเล็บ ( ) ใหเกิดความชัดเจนในการสื่อสารและสื่อความหมาย เชน
เมื่อฐานเปน -3 ถาเขียนเปนเลขยกกําลังสองใหเขียน (-3)2 ไมใช -32
เมื่อฐานเปน 25 ถาเขียนเปนเลขยกกําลังสามใหเขียน (25 ) ไมใช 25
3 3

5. สําหรับแบบฝกหัด 3.1 ก ขอ 3 ขอ 2) ถาใหนกั เรียนทําเปนการบาน ครูควรนําปญหานี้มา


อภิปรายในชั้นเรียนอีกครั้ง เพื่อตรวจสอบวานักเรียนมีความเขาใจถูกตองหรือไม และใชแผนโปรงใส
ประกอบกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ค ในการอธิบายเพือ่ ใหเห็นภาพวาคาของเลขยกกําลังทีม่ ฐี านเปนเศษสวน
เชน ( 12 ) ลดลงอยางรวดเร็วอยางไร โดยเปรียบเทียบจํานวนที่ลดลงแบบเดียวกันกับที่แสดงในตาราง
n

ขอ 2 เชนแนะนําใหนักเรียนเปรียบเทียบคาแตกตางระหวาง 12 กับ 14 , 14 กับ 18 , 18 กับ 161 ฯลฯ และ


ใหนักเรียนสังเกตวามีคาตางกันอยางไร อาจใหทํากิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ค ประกอบดวยก็ได
68

6. สําหรับแบบฝกหัด 3.1 ข ขอ 9 ถาใหนักเรียนทําเปนการบานครูควรนําปญหานี้มา


ทําความเขาใจอีกครัง้ อาจใชกจิ กรรมเสนอแนะ 3.1 ง และแผนโปรงใสประกอบกิจกรรมเสนอแนะ
3.1 ง ในการอธิบายดวยก็ได
7. การเขียนจํานวนบางจํานวนใหอยูในรูปเลขยกกําลังอาจมีไดมากกวา 1 แบบ เชน 64
อาจเขียนเปน 82, (-8)2, 43, 26 หรือ (-2)6 ก็ได ในการเขียนคําตอบในแบบฝกหัด 3.1 ข ของนักเรียน
ไมจําเปนตองเขียนใหไดครบทุกแบบ
ถ า ครู ต อ งการให นั ก เรี ย นเขี ย นเลขยกกําลั ง ที่ มี ฐ านหรื อ เลขชี้ กําลั ง เป น จํานวนชนิ ด ใด
ควรระบุไวในคําสั่งใหชัดเจน
8. ในหัวขอนีไ้ ดนาํ เสนอตัวอยางและโจทยปญ  หาทีเ่ ชือ่ มโยงความรูเ กีย่ วกับเลขยกกําลัง ใหเห็น
การนําไปใชในที่ตาง ๆ เชน เงินงบประมาณของประเทศ จํานวนดาวฤกษในเอกภพ ระยะหางระหวาง
ดวงดาว รวมถึงการใชเลขยกกําลังแกปญหาในเรื่องที่เกี่ยวกับการคํานวณหาพื้นที่และปริมาตรของ
รูปเรขาคณิต เชน
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีดานยาว a หนวย เทากับ a2 ตารางหนวย
ปริมาตรของลูกบาศกที่มีดานยาว b หนวย เทากับ b3 ลูกบาศกหนวย
เพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชนของเลขยกกําลังและทําใหนักเรียนเกิดความรูสึกเชิงจํานวน
และความรูสึกเชิงปริภูมิ ครูอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมในลักษณะโจทยปญหาดังนี้
ครูมีลูกบาศกอยูสองลูก ลูกใหญมีดานยาวเปนสามเทาของลูกเล็ก นักเรียนคิดวาปริมาตร
ของลูกใหญเปนกี่เทาของปริมาตรของลูกเล็ก
ครูอาจยกตัวอยางเปรียบเทียบลูกบาศกขนาด 1 × 1 × 1 หนวย3 กับ 3 × 3 × 3 หนวย3
ใหนักเรียนบอกคําตอบกอน นักเรียนควรบอกไดวาลูกบาศกเล็กมีปริมาตรเทากับ 1 ลูกบาศกหนวย
และปริมาตรของลูกบาศกใหญเทากับ 27 ลูกบาศกหนวย ซึ่งจะเห็นวาปริมาตรของลูกบาศกใหญเปน
27 เทาของปริมาตรของลูกบาศกเล็ก
ครูยกตัวอยางเพิ่มเติมโดยกําหนดลูกบาศกเล็กใหแตละดานยาว 2 เซนติเมตร และเพื่อให
นักเรียนเห็นภาพมากขึน้ ครูอาจใหนกั เรียนสรางลูกบาศกจากกระดาษแข็งใหมขี นาด 23 ลูกบาศกเซนติเมตร
และขนาด (3 × 2)3 ลูกบาศกเซนติเมตรดังนี้

3×2
2
3×2
2 2 3×2
69

ครูอาจใชลูกบาศกขนาดเล็ก 1 ลูก เปรียบเทียบกับลูกบาศกขนาดใหญที่ไดจากการนํา


ลูกบาศกขนาดเล็ก 27 ลูกนั้นมาจัดวางซอนกันดังนี้

3a
a
a a 3a
3a
A B

วิธีคิดในรูปทั่วไป
ใหลูกบาศก A มีดานยาว a หนวย
ดังนั้นลูกบาศก B มีดานยาว 3a หนวย
จะไดลูกบาศก A มีปริมาตรเปน a3 ลูกบาศกหนวย
และลูกบาศก B มีปริมาตรเปน (3a)3 = 27a3 ลูกบาศกหนวย
นั่นคือ ปริมาตรของลูกบาศก B เปน 27 เทาของปริมาตรของลูกบาศก A
ครูควรใหนักเรียนอภิปรายจนสรุปไดวา เมื่อความยาวของดานของลูกบาศกเพิ่มเปน 3 เทา
ปริมาตรจะเพิ่มเปน 27 เทา
เพือ่ ใหนกั เรียนเกิดความรูส กึ ถึงพลังของเลขยกกําลัง ครูอาจเขียนแบบรูปแสดงความสัมพันธ
ของความยาวของดานและปริมาตรของลูกบาศกใหเห็นดังนี้
ดานยาว 1 หนวย ปริมาตร 1 × 1 × 1 = 1 ลูกบาศกหนวย
ดานยาว 2 หนวย ปริมาตร 2 × 2 × 2 = 8 ลูกบาศกหนวย
ดานยาว 3 หนวย ปริมาตร 3 × 3 × 3 = 27 ลูกบาศกหนวย
ดานยาว 4 หนวย ปริมาตร 4 × 4 × 4 = 64 ลูกบาศกหนวย
. .
. .
. .

9. ครูอาจใชแบบฝกหัดเพิม่ เติม 3.1 ก – 3.1 ง ประกอบการสอน เพือ่ ใหนกั เรียนไดฝก ทักษะ


และใชเปนเครื่องมือในการตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน อาจใชการถามตอบก็ได
70

3.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง (5 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มและนําสมบัติของเลขยกกําลัง
ไปใชในการคํานวณและแกปญหาได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก – 3.2 ง


แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการเสนอกิจกรรมตามบทนําในหัวขอ 3.2.1 เกีย่ วกับการคูณเลขยกกําลังในหนังสือเรียนซึ่ง
กลาวถึงกาแล็กซีแอนโดรมีดา ครูควรใหนักเรียนหาระยะทางระหวางกาแล็กซีแอนโดรมีดากับโลก โดย
ใชวิธีคูณกอน เพื่อใหนักเรียนเห็นปญหาในการหาผลคูณของ 2,200,000 กับ 9,460,000,000,000 ซึง่
ตองนับจํานวนศูนยในผลลัพธหลายตัว อาจทําใหนบั ขาดหรือนับเกิน นักเรียนจะไดเห็นวามีความจําเปนที่
จะตองใชสมบัติของการคูณเลขยกกําลัง
2. ในการสอนเรือ่ งการคูณเลขยกกําลัง ครูอาจใชเอกสารในทํานองเดียวกันกับกิจกรรมเสนอแนะ
3.2 ก เพื่อใหนักเรียนไดสังเกตและคนหาความสัมพันธของฐานและเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ตัวคูณ และ
ผลคูณของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกัน เพื่อนําไปสูสมบัติของการคูณเลขยกกําลัง การให
ตัวอยางหลายๆ ตัวอยางจะทําใหนกั เรียนไดขอ สังเกตวาตัวอยางเหลานัน้ มีแนวคิดหรือวิธกี ารหรือขอสรุป
อยางเดียวกัน ซึ่งเปนการสอนที่ตองการโนมนาวความคิดของนักเรียน เปนวิธีการสรุปโดยใชเหตุผล
แบบอุปนัยวาสิ่งที่เปนขอสรุปนั้นเปนจริง หรือเปนไปตามสมบัติที่กลาวไว ครูใชการถามตอบเขียนใน
ตารางใหนักเรียนเห็นแบบรูปดังนี้

การคูณของ เขียนการคูณของเลขยกกําลัง เขียนเลขชี้กําลังของ


ผลคูณ
เลขยกกําลัง โดยใชบทนิยาม ผลคูณในรูปการบวก
22 × 23 (2 × 2) × (2 × 2 × 2) 25 22 + 3
32 × 34 (3 × 3) × (3 × 3 × 3 × 3) 36 32 + 4
53 × 54 (5 × 5 × 5) × (5 × 5 × 5 × 5) 57 53 + 4
. . . .
. . . .
. . . .
am × an (a × a × a × … × a) × (a × a × a × … × a) am + n am + n
เมื่อ m และ n m ตัว n ตัว
เปนจํานวนเต็มบวก
71

จากนั้นใหนักเรียนชวยกันสรุปสมบัติของการคูณเลขยกกําลังดังนี้ เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ


m และ n แทนจํานวนเต็มบวก am × an = am + n
สําหรับนักเรียนที่มีความสนใจเปนพิเศษ อาจใหทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2 ดวยก็ได
3. ในการสอนเรื่องการหารเลขยกกําลัง ครูควรใหตัวอยางหลาย ๆ ตัวอยางในทํานองเดียวกัน
กับการคูณเลขยกกําลัง ทั้งนี้ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ค เพื่อใหนักเรียนสังเกตและคนพบความ
สัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ตัวหาร และผลหารของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกันไดเอง
4. ในเรื่องที่เกี่ยวกับการคูณและการหารเลขยกกําลัง มีขอสังเกตและขอควรระวังดังนี้
1) เมื่อกําหนดขอความใดเปนบทนิยามแลวจะไมมีการพิสูจน เชน ในบทนี้ไดตกลงให
a0 = 1, a ≠ 0 เปนบทนิยาม ดังนั้นจึงไมมีการพิสูจน
2) ในกรณีที่กําหนดโจทยที่มีก ารใชตัว แปรแทนจํานวน จะตองระบุวา ตัวแปรที่เ ปน
ตัวหารนั้นตองไมเปนศูนยไวในโจทยดวย เชน
3a3-2 b-23 , a ≠ 0 และ b ≠ 0
จงหาผลลัพธ -6a b
5. คําตอบของแบบฝกหัด 3.2 ข ในหนังสือเรียน ขอ 1 มีโจทยบางขอทีส่ ามารถเขียนไดหลาย
แบบ นักเรียนจะเขียนตอบแบบใดก็ได
6. สําหรับปญหา “นาคิดนะ” ทายแบบฝกหัด 3.2 ข ครูอาจเลาเรือ่ งยอ ๆ ของวรรณกรรมเรื่อง
กามนิตในตอนที่ 21 “ในทามกลางความเปนไป” ซึ่งเปนตอนทีก่ ามนิตเสียชีวติ และจะไดไปเกิดอยูใ น
สุขาวดีแดนสวรรคและไดเสวยสุขบนสวรรคนานนับหลายโกฏิป

ครูอาจแนะนําหนวยที่ใชเรียกจํานวนที่มีคามากๆ ในสมัยโบราณที่นาสนใจ เชน


1 โกฏิ เทากับ 107
1 ปทมะ เทากับ 109
1 ปโกฏิ เทากับ 1014
1 นหุต เทากับ 1028
1 พินทุ เทากับ 1049
1 กุมุท เทากับ 10105
1 บุณฑริก เทากับ 10112
1 อสงไขย เทากับ 10140
72

3.3 การนําไปใช (4 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนจํานวนที่มีคามาก ๆ หรือมีคานอย ๆ ใหอยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได
2. หาจํานวนที่เทากับจํานวนที่อยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรได
3. คูณหรือหารจํานวนที่อยูในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรอยางงายได
4. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 3.3 ก – 3.3 ข


แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ก – 3.3 ค

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 3.3 ก นําเขาสูบทเรียนเพื่อใหนักเรียนไดศึกษา ทําความเขาใจ
และอภิปรายเกีย่ วกับวิธอี า นและแปลความหมายภาพและขอความทีร่ ะบุไวในใบกิจกรรม ครูควรใชคาํ ถาม
เสริมความคิด และตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับการแบงหนวยบนเสนตรงและคาประมาณที่ได
2. เพื่อใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยงวิชาคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ ครูอาจใหนักเรียนไปศึกษา
คนควาหาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับระยะทางระหวางดวงดาวหรือขนาดของดาวตาง ๆ มาเสนอในรูปสัญกรณ
วิทยาศาสตร
สําหรับสาระในหัวขอนี้ ถึงแมวา จะเปน เรื่อ งการนําเลขยกกําลังไปใชในรูปสัญ กรณ
วิทยาศาสตรเปนสวนใหญ ครูก็ยังสามารถจัดกิจกรรมใหเห็นการนําเลขยกกําลังไปใชในลักษณะอื่น ๆ
เพิ่มเติมไดอีก เชน ใหเห็นการใชเลขยกกําลังในสูตรคณิตศาสตรหรือวิทยาศาสตร อาจยกตัวอยางสูตร
สําหรับหาพื้นที่รูปวงกลม A = πr2 เมื่อ A แทนพื้นที่และ r แทนรัศมีของรูปวงกลม หรือสูตรการ
คํานวณพลังงานที่เกิดจากการสลายมวลของไอนสไตน E = mc2 เมื่อ E แทนพลังงาน m แทนมวล
ของวัตถุที่สลายไป และ c แทนความเร็วของแสง
3. ในการสอนเรือ่ งการเขียนจํานวนทีม่ คี า มาก ๆ หรือมีคา นอย ๆ ใหอยูใ นรูปสัญกรณวทิ ยาศาสตร
หลังจากฝกทักษะตามขั้นตอนแลว ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตวิธีลัดเพื่อเขียนจํานวนเหลานี้ไดอยาง
รวดเร็ว โดยเลือ่ นตําแหนงของจุดทศนิยม เชน การเขียน 0.005 × 106 ใหอยูใ นรูปสัญกรณวทิ ยาศาสตรซึ่ง
มีขั้นตอนดังนี้
0.005 × 106 = 1000 5 × 10 6
= 53 × 10 6
10
= 5 × 106 – 3
= 5 × 103
73

นักเรียนควรสังเกตไดวาการหาคําตอบโดยวิธีลัดไดจากการเลื่อนจุดทศนิยมไปทางขวามือ
3 ตําแหนงใหจุดทศนิยมอยูหลัง 5 สวนคาของ 106 ซึ่งมีเลขชี้กําลังเปน 6 จะตองลดลง 3 เหลือเปน
103 ดังนี้ 0.005 × 106 = 5 × 106 – 3
= 5 × 103
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ก และ 3.3 ข เปนแบบฝกที่เอื้อใหนักเรียนสังเกตเห็นวิธีเขียน
จํานวนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรไดเร็วขึ้น
4. สําหรับแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ค นําเสนอไวเพื่อเสริมสรางและพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน
ในการหาคําตอบนักเรียนไมจําเปนตองใชการคิดคํานวณ แตครูตองใหความสําคัญกับการแสดงแนวคิด
และการใหเหตุผลของนักเรียนกับคําตอบนั้น การหาคําตอบอาจใชการถามตอบในชั้นเรียน เพราะ
การอธิบายเหตุผลดวยการพูดของนักเรียนทําไดงายกวาการเขียนอธิบาย

คําตอบแบบฝกหัด
คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ก
1.
1) 10 2) 64
3) 64 4) -216
5) 1 6) 8
32 125
7) 0.0016 8) 0.000001
2.
1) เทากัน เพราะวา 21 ตามบทนิยามของเลขยกกําลัง เลขชี้กําลังเปนจํานวนที่แสดงวามีฐาน
คูณกันกี่ตัว ในที่นี้ 21 หมายถึงมี 2 เพียงตัวเดียว ดังนั้น 21 = 2
2) เทากัน เพราะวา 52 = 5 × 5 = 25 และ (-5) 2 = (-5) × (-5) = 25
3) ไมเทากัน เพราะวา (-6) 2 = (-6) × (-6) = 36 แต -62 = -(6 × 6) = -36
4) ไมเทากัน เพราะวา (23 ) = 27 8 แต 23 = 8
3
3 3
3.
1)
21 22 23 24 25 26

024 8 16 32 64
74

(1) 26 แทน 64 จุดที่แทน 26 อยูบนเสนจํานวน หางจาก 0 เทากับ 64 หนวยหรือ


อยูหางจุดที่แทน 25 ไปทางขวา 32 หนวย
(2) 2 หนวย หรือ 21 หนวย
(3) 4 หนวย หรือ 22 หนวย
(4) 8 หนวย หรือ 23 หนวย
(5) เพิ่มขึ้นเปนสองเทาของ 2 สี่เทาของ 2 แปดเทาของ 2 สิบหกเทาของ 2 ตอไป
เรื่อย ๆ หรือเพิ่มขึ้นเปนสองเทาของจํานวนสุดทายที่ได
(6) 2 n

หมายเหตุ ครูอาจแนะนําใหนักเรียนหาคําตอบจากแบบรูปดังนี้

ระยะหางระหวางจุดสองจุด
จุดที่แทน
(หนวย)
21 กับ 22 4 – 2 = 2 = 21
22 กับ 23 8 – 4 = 4 = 22
23 กับ 24 16 – 8 = 8 = 23
24 กับ 25 32 – 16 = 16 = 24
. . .
. . .
. . .
2n กับ 2n + 1 2 n + 1 – 2n = 2n

(7) ตองใชเวลานาน 120 นาที หรือ 2 ชั่วโมง จะไดจํานวนแบคทีเรียอยางนอย 120


ลานเซลล เพราะวาแบคทีเรียใชเวลา 2 ชั่วโมงจะไดจํานวนแบคทีเรีย 27 = 128 ลานเซลล

2)

( 12 )5( 12 )4( 12 )3 ( 12 )2 ( 12 )1

0 321 161 18 1
4
1
2
1
75

(1) ( 12 )5 แทน 321 และจุดที่แทน ( 12 ) จะอยูหางจาก 0 เทากับ 321 หนวย


5

จุดที่แทน ( 12 ) เปนจุดกึ่งกลางระหวาง 0 กับ 161


5

(2) มากกวา
(3) จะลดลงเปนครึ่งหนึ่งของจํานวนกอนหนาที่อยูถัดไปทางซาย
(4) ( 12 )
n +1

อาจหาคําตอบจากแบบรูปดังนี้

ระยะหางระหวางจุดสองจุด
จุดที่แทน
(หนวย)
⎛1⎞
1
กับ ⎛1⎞
2
1 − 1 = 1 = ⎛ 1 ⎞2
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝2⎠ ⎝2⎠ 2 4 4 ⎝2⎠
⎛1⎞
2
กับ ⎛1⎞
3
1−1 = 1 = ⎛⎜ 1 ⎞⎟
3

⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝2⎠ ⎝2⎠ 4 8 8 ⎝2⎠
⎛1⎞
3
กับ ⎛1⎞
4
1 − 1 = 1 = ⎛ 1 ⎞4
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝2⎠ ⎝2⎠ 8 16 16 ⎝2⎠
⎛1⎞
4
กับ ⎛1⎞
5
1 − 1 = 1 = ⎛ 1 ⎞5
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝2⎠ ⎝2⎠ 16 32 32 ⎝2⎠
. . .
. . .
. . .
n n +1 n +1
n n +1 ⎛1⎞ ⎛1⎞ ⎛1⎞
⎛1⎞
⎜ ⎟ กับ ⎛1⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ – ⎜ ⎟ = ⎜ ⎟
⎝2⎠ ⎝2⎠ ⎝2⎠ ⎝2⎠ ⎝2⎠

(5) เขาใกลศูนย แตจะไมเทากับศูนย

คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ข
1.
1) 34 2) 112
3) 132 4) 7 3
5) 54 6) 36
2.
1) เขียนไดหลายแบบดังนี้ 28, (-2)8, 44, (-4)4, 162, (-16)2
2) เขียนไดหลายแบบดังนี้ 54, (-5)4, 252, (-25)2
76

3) (-2)7
4) (-10)3
⎛ - 15 ⎞
2 2
2 2 ⎛ 15 ⎞
5) เขียนไดหลายแบบดังนี้ (1.5) , (-1.5) , ⎜ ⎟ หรือ ⎜ ⎟
⎝ 10 ⎠ ⎝ 10 ⎠
3
3 ⎛ 3⎞
6) (0.3) หรือ ⎜ ⎟
⎝ 10 ⎠
7) 109 หรือ 10003
5
8) (0.1)5 หรือ ⎛⎜ 1 ⎞⎟
⎝ 10 ⎠
3.
1) 0.0001 2) -27
3) -8 4) 81
5) 9.261 6) 400
7) 0.04 8) 0.04
9) 1 10) 13
11) 35 12) 125
13) 25 14) 25
4. 4
5. 4 + 3 = 7 เนื่องจาก x = 4 และ y = 3
6. 1010 คน
7. ไมได เพราะถังคอนกรีตทรงลูกบาศกในบริเวณทีก่ าํ หนดจะจุนา้ํ ไดเพียง (1.5)3 = 3.375 ลูกบาศกเมตร
ซึ่งนอยกวา 4 ลูกบาศกเมตร
8. อยางมากที่สุด 3 × 24 = 48 ตน
9. ใชเวลาสลายตัว 3,200 ป
เวลา (ป) 0 1600 3200
เรเดียม (กรัม) 20 10 5
10.
1) 25, 36 และ 49
2) ได n2 เมื่อ n แทนจํานวนจุดของแตละดานของจัตุรัส
3) 10 จุด
77

เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนคู จะเปนจํานวนบวกเสมอไมวาฐานจะเปนจํานวน
บวกหรือจํานวนลบ

คําตอบปญหาชวนคิด
1. เศรษฐีคิดวาถาใหทอง จะตองจายมากกวาใหเงิน
2. บุญมาใชความรูเกี่ยวกับพลังของเลขยกกําลังมาใชเปนประโยชนตอตนเอง
3. บุญมาไดเงินทั้งสิ้น
1 + 2 + 2 2 + 2 3 + 2 4 + … + 2 19 = 1048575 บาท
4. เศรษฐีตัดสินใจผิดเพราะวาตองจายเงินใหบุญมามากกวาใหทองคําหลายแสนบาท

สําหรับการหาคําตอบของขอ 3 ครูอาจใหนักเรียนสังเกตแบบรูปของจํานวนที่สามารถ
นําไปสูคําตอบไดดังนี้

วันที่ จํานวนเงิน
1 1 = 1
2 1 + 21 = 1+2 = 3
3 3 + 22 = 3+4 = 7
4 7 + 23 = 7+8 = 15
5 15 + 24 = 15 + 16 = 31
. . .
. . .
. . .
20 (219- 1) + 219 = 524287 + 524288 = 1048575

หมายเหตุ นักเรียนบางคนอาจสังเกตพบแบบรูปคําตอบเปน
(219 – 1) + 219 = (2 × 219) – 1
= 220 – 1
= 1048576 – 1
= 1048575
78

คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก
1.
1) 313 2) 810
3) 711 4) (-2)13
5) (0.2)8 6) (1.2)7
7) (0.01)5 8) (0.5)6
9) 3 m+n 10) x m+n
2.
1) 28 2) 39
3) 7 × 27 4) 32 × 55
5) 211 6) 58 หรือ (-5)8
7) x12 8) a6 × b3
3. 1020 ดวง
4. 9.46 × 1017 กิโลเมตร
5. 212 ลูกบาศกเซนติเมตร
6.
1) 23
2) 33
3) 44

คําตอบปญหา “ตอบไดหรือไม”
แหนเพิ่มจํานวนของตัวเองเปน 2 เทา ในทุกสองวัน
แหนเพิ่มจํานวนเต็มสระในเวลา 40 วัน
ดังนั้นมีแหนครึ่งสระในเวลา 38 วัน
79

คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข
1.
1) 24
2) (-3)3
1
3) เขียนไดหลายแบบดังนี้ , (0.5)–2 หรือ 4
(0.5) 2

1 1
4) เขียนไดหลายแบบดังนี้ , , (-11)–4 หรือ 11–4
(− 11) 4
114
4
5) หรือ 0.8
5
−1
1 ⎛1⎞ 1
6) เขียนไดหลายแบบดังนี้ 1
,2 , ⎜ ⎟ , หรือ (0.5)–1
⎝2⎠ 0 .5
2
7) (0.3)3
8) 4
9) 4
10) 54
11) m3
12) 1
13) a
14) 1
2.
1) 1 2) 3110
23
3) 1 4) m13
32
5) 1 6) x112
a7

3. 0
4.
1) มี 1 และ 0 2) มีหลายจํานวน เชน 12
5. 59 ลูกบาศกเซนติเมตร
แนวคิด ลูกบาศกลูกใหญมีดานยาวดานละ 125 = 53 เซนติเมตร
จะไดปริมาตร (53)(53)(53) ลูกบาศกเซนติเมตร
= 59 ลูกบาศกเซนติเมตร
80

6. 9 × 1012 เทา
7. ประมาณ 15 วัน
8. ประมาณ 57 × 10-5
35340 3534
แนวคิด 62 × 106 = 62 × 105
575
= 10
= 57 × 10-5

คําตอบปญหา “นาคิดนะ”
1 โกฏิ เทากับ 107
1 อสงไขย เทากับ (107)20
จะได 1 อสงไขย เทากับ 10140 หรือ 10134 × 106
จะได 1 อสงไขย เทากับ 10134 ลาน

คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ก
1.
1) 7 × 104 2) 2.1 × 105
3) 5.67 × 107 4) 8 × 109
5) 4.9 × 1011 6) 2.45 × 1013
2.
1) 6.38 × 106 เมตร
2) 1.4 × 106 กิโลเมตร
3) ความเร็วประมาณ 6 × 104 กิโลเมตรตอชั่วโมง
อยูหางจากโลกประมาณ 3.22 × 108 กิโลเมตร
4) บริวารของดาวเสารโคจรหางจากดาวเสารประมาณ 1.2 × 106 กิโลเมตร
อยูหางจากดวงอาทิตยประมาณ 1.5 × 109 กิโลเมตร
5) ดาวเสารมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 1.13 × 108 เมตร
อยูหางจากดวงอาทิตยประมาณ 1.43 × 109 กิโลเมตร
81

3.
1) 400,000 2) 3,800,000
3) 1,450,000,000 4) 82,570
5) 5,060,000,000 6) 605,000,000,000
4.
1) 89,600,000 ตารางกิโลเมตร
2) 3,000,000,000 กิโลเมตร
3) 602,380,000,000,000,000,000,000 โมเลกุล
4) 17,700,000,000 ลูกบาศกเมตร
5.
1) (4 × 105) × (6 × 1024) = 2.4 × 1030 กิโลกรัม
2) (3.85 × 107) × (60 × 60) = 1.386 × 1011 กิโลเมตรตอชั่วโมง
3) 105 × 9.46 × 1012 = 9.46 × 1017 กิโลเมตร
1010
4) 15 × 107 ≈ 6.6 × 10 คนตอพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร
5) 104000 × 10 = 1.04 × 106 ลานบาท หรือ 10104000 × 106× 10 = 1.04 × 1012 บาท

คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ข
1.
1) 2 × 10–3 2) 1.3 × 10–4
3) 5 × 10–6 4) 7.6 × 10–6
5) 8.19 × 10–8 6) 4.65 × 10–10
2.
1) 0.0005 2) 0.000009
3) 0.000012 4) 0.000000682
5) 0.0000005413 6) 0.0000000089
3.
1) 6.4 × 10–5 เซนติเมตร 2) 5.3 × 10–5 เซนติเมตร
3) 4.5 × 10–5 เซนติเมตร 4) 3 × 10–19 เซนติเมตร
4.
3 หรือ 0.03 เซนติเมตร
1) 100
3 หรือ 0.0003 เซนติเมตร
2) 10000
82

915
3) 1,000,000, 000 หรือ 0.000000915 เซนติเมตร
66
4) 1,000,000, 000,000 หรือ 0.000000000066 เมตร
19 × 50 = 0.95 กิโลกรัม
5. ตัวอยาง ถาน้ําหนักตัวเทากับ 50 กิโลกรัม จะไดน้ําหนักสมอง 1000
หรือ 9.5 × 10–1 กิโลกรัม
6. ประมาณ 2.23097 ×10–3 ลูกบาศกเมตร

แนวคิด จากสูตรพื้นที่วงกลม πr2


จะไดเสนลวดมีพื้นที่หนาตัด (3.5 ×10–4) × (3.5 × 10–4) × π ตารางเมตร
สายไฟยาว 5.8 × 103 เมตร
ปริมาตรของลวดเสนนี้ประมาณ (3.5 × 10–4) × (3.5 × 10–4) × 3.14 × (5.8 × 103)
= (3.5 × 3.5 × 3.14 × 5.8) × (10-4 × 10-4 × 103)
= 223.097 × (10–8 × 103)
= 2.23097 × 102 × 10–8 × 103
= 2.23097 × 10
5
10 8

= 2.23097 × 10–3 ลูกบาศกเมตร

คําตอบปญหาชวนคิด
1 ตําลึง = 22 บาท
1 บาท = 22 สลึง
1 สลึง = 2 เฟอง
1 เฟอง = 2 ซีก
1 ซีก = 2 เสี้ยว
1 เสี้ยว = 2 อัฐ
1 อัฐ = 2 โสฬส
ดังนั้น 1 ตําลึง เทากับ 29 โสฬส
นั่นคือ 1 โสฬส เทากับ 219 หรือ 2–9 ตําลึง
83

กิจกรรมเสนอแนะและแบบฝกหัดเพิ่มเติม
84

กิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ก

กิจกรรมนี้มีไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการนําสาระของวิชาคณิตศาสตรไปใชในบทประพันธ
ตอนหนึง่ ของบทพากยเอราวัณ ซึง่ เปนบทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ ฯ พระพุทธเลิศหลา
นภาลัย ครูอาจใชกจิ กรรมนีน้ าํ เขาสูบ ทเรียนและอาจนําเสนอคําประพันธเปนแผนภูมใิ หนกั เรียน
ไดศึกษาและอานคําประพันธเปนทํานองเสนาะพรอมกันทั้งชั้น
ครูควรนําอภิปรายใหเห็นวาบทประพันธนี้มีความเชื่อมโยงกับเลขยกกําลังและอาจถอด
คําประพันธใหเห็นเลขยกกําลังบางจํานวน เชน จํานวนดอกบัวบนหนึ่งเศียรเทากับ 74 ซึ่งเทากับ
2,401 ดอก

สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา

ดังเพชรรัตนรูจี

งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งยอมมี

เจ็ดกออุบลบันดาล

กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย ดอกหนึ่งเบงบาน

มีกลีบไดเจ็ดกลีบผกา

กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองคโสภา

แนงนอยลําเพานงพาล

นางหนึ่งยอมมีบริวาร อีกเจ็ดเยาวมาลย

ลวนรูปนิรมิตมารยา
85

กิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ข

กิจกรรมนี้สอดคลองกับบทนําของเรื่องเลขยกกําลังในหนังสือเรียน เปนกิจกรรมทีน่ าํ สาระ


คณิตศาสตรไปใชในวิชาวิทยาศาสตร ตองการใชเปนสือ่ ใหนกั เรียนเกิดความรูส กึ เชิงจํานวน รูแ ละ
เขาใจถึงคาของเลขยกกําลังที่แสดงใหเห็นการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วของแบคทีเรีย ระหวางการทํา
กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดฝกทักษะการสังเกต คนหาแบบรูปและความสัมพันธ

ใหนกั เรียนศึกษาภาพการขยายพันธุข องแบคทีเรียซึง่ เปนสัตวเซลลเดียวและมีการแบงเซลลในทุก ๆ


ชวงเวลา 20 นาที

เวลาที่ผานไป
ครั้งที่ จํานวนแบคทีเรีย (เซลล)
(นาที)
0 0

1 20

2 40

3 60

4 80

5 100
. . . . .
. . . . .
. . . . .

จงตอบคําถามตอไปนี้
1. แบคทีเรียมีการขยายพันธุอยางไร [แบงเซลลจาก 1 เซลล เปน 2 เซลล ในทุก ๆ 20 นาที]
2. หาจํานวนแบคทีเรียในแตละครั้งที่แบงเซลลไดอยางไร [คูณจํานวนสุดทายดวย 2]
3. ในครั้งที่ 6 จะมีแบคทีเรียทั้งหมดกี่เซลล [26 เซลล]
4. เมื่อเวลาผานไป 3 ชั่วโมงจะมีแบคทีเรียทั้งหมดกี่เซลล [29 เซลล]
86

แผนโปรงใสประกอบกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ข

ในการใชแผนโปรงใสนี้ประกอบการอธิบายการขยายพันธุของแบคทีเรีย ครูควรแนะนํา
แกนนอนและแกนตัง้ และการใชมาตราสวนบนแกนทัง้ สองซึง่ ไมจาํ เปนตองใชมาตราสวนเดียวกัน
เนื่องจากจํานวนครั้งที่และจํานวนของแบคทีเรียมีคาตางกันมาก ใหครูแนะนําการอานกราฟซึ่งจะ
ตองอานจํานวนบนแกนนอนจากซายไปขวาเสมอ

กราฟแสดงการขยายพันธุของแบคทีเรีย

2n

80

72

64
จํานวนแบคทีเรีย (เซลล)

56

48

40

32
24

16

8
4
2
0 1 2 3 4 5 6 7 n
ครั้งที่
87

กิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ค

ในกิจกรรมนี้ตองการใหศึกษาแบบรูปของเลขยกกําลังที่มีฐานตาง ๆ นักเรียนควรจะสังเกต
เห็นวาคาของเลขยกกําลังจะมากหรือนอยยอมขึ้นอยูกับจํานวนที่เปนฐานวาเปนจํานวนเต็มบวก
จํานวนเต็มลบหรือเศษสวน และขึน้ อยูก บั จํานวนทีเ่ ปนเลขชีก้ าํ ลังดวยวาเปนจํานวนคูห รือจํานวนคี่
คําตอบของนักเรียนอาจไดขอ สังเกตมากกวาทีไ่ ดเฉลยไว หรือสามารถอธิบายความสัมพันธหรือแบบรูป
ของเลขยกกําลังที่ไดดวย นอกจากนั้นกิจกรรมนี้ยังชวยพัฒนาในเรื่องของความรูสึกเชิงจํานวน
อีกดวย ครูอาจใชกิจกรรมนี้ตอจากแบบฝกหัด 3.1 ก ขอ 3

ใหนักเรียนศึกษาคาของเลขยกกําลังในตารางและตอบคําถามของแตละขอตอไปนี้

เลขยกกําลัง 2 22 23 24 25 –––
1.
คาของเลขยกกําลัง 2 4 8 16 32 –––

นักเรียนคิดวา เลขยกกําลังที่มีฐานเทากับ 2 เมื่อเลขชี้กําลังมีคามากขึ้นทีละหนึ่ง เลขยกกําลังนั้น


จะมีคาเปนอยางไร จงอธิบาย
[คามากขึ้นเปนสองเทาของจํานวนกอนหนาที่อยูติดกัน]

เลขยกกําลัง (-2) (-2)2 (-2)3 (-2)4 (-2)5 –––


2.
คาของเลขยกกําลัง -2 4 -8 16 -32 –––

นักเรียนคิดวา เลขยกกําลังที่มีฐานเทากับ -2 เมื่อเลขชี้กําลังมีคามากขึ้นทีละหนึ่ง เลขยกกําลัง


นั้นจะมีคาเปนอยางไร จงอธิบาย
[เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนคู คาของเลขยกกําลังจะเปนจํานวนบวกที่มีคามากขึ้น และเมื่อ
เลขชี้กําลังเปนจํานวนคี่ คาของเลขยกกําลังจะเปนจํานวนลบที่มีคานอยลงสลับกันไปเรื่อย ๆ]

เลขยกกําลัง 1 ( 12 )2 ( 12 )3 ( 12 )4 ( 12 )5 –––
3. 2
คาของเลขยกกําลัง 1 1 1 1 1 –––
2 4 8 16 32

นักเรียนคิดวา เลขยกกําลังที่มีฐานเทากับ 12 เมื่อเลขชี้กําลังมีคามากขึ้นทีละหนึ่ง เลขยกกําลังนั้น


จะมีคาเปนอยางไร จงอธิบาย
[คาลดลงเปนครึ่งหนึ่งของจํานวนกอนหนาที่อยูติดกันแตจะไมเทากับศูนย]
88

แผนโปรงใสประกอบกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ค

n
ครูใชแผนโปรงใสนี้ประกอบการอธิบายใหเห็นภาพการลดลงของจํานวนที่อยูในรูป (12 )
เมื่อ n เปนจํานวนนับ ใหนักเรียนเกิดความรูสึกเชิงจํานวนถึงพลังของเลขยกกําลังกรณีที่ฐานเปน
1 วาในชวงแรกคาของจํานวนจะลดลงอยางรวดเร็ว และจะคอย ๆ ลดชาลงไปเรื่อย ๆ แตจะไม
2
เทากับศูนย

กราฟของ ( 12 )
n

( 12 )n
1

1
2

1
4

1
8
1
16
1
64 n (ศูนยหรือจํานวนนับ)
0 1 2 3 4 5 6 7 8
89

กิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ง

ครูอาจใชกิจกรรมนี้เสริมความรูใหกับนักเรียน ใหนักเรียนไดเห็นกราฟแสดงการสลายตัว
ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด

แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูใชแผนโปรงใสประกอบกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ง ในการอธิบายแบบฝกหัด 3.1 ข ขอ 9
ใหนักเรียนไดเห็นกราฟของการสลายตัวของเรเดียม ดังนี้
น้ําหนัก (กรัม)

20
15
10
5
0
0 1600 3200 4800 6400 เวลา (ป)

จากกราฟขางบนนี้ ครูชี้ใหนักเรียนเห็นการสลายตัวของเรเดียม ในระยะเวลาชวงแรกเมื่อ


สารเรเดียม 20 กรัมสลายตัวไปครึ่งหนึ่งเหลือ 10 กรัม ตองใชเวลา 1,600 ป ระยะเวลาชวงที่ 2
เรเดียมสลายตัวครึง่ หนึง่ เหลือ 5 กรัม ตองใชเวลาอีก 1,600 ป รวมเปนเวลา 3,200 ป และถาสลายตัว
อีกครึ่งหนึ่งเหลือ 2.5 กรัม ตองใชเวลานานอีก 1,600 ป รวมเปนเวลาถึง 4,800 ป ใหนักเรียนสังเกต
การลดลงของสารเรเดียมในชวงเวลาตาง ๆ ดังนี้ ในชวงแรกลดลงเร็วมาก ในชวงตอ ๆ ไปจะลดชาลง
แตจะอยางไรก็ตามสารนี้จะไมสลายตัวจนหมด
2. ครูอาจใหปญหาใหมดังนี้
ครึ่งชีวิตของสารกัมมันตรังสียูเรเนียม -238 มีคาประมาณ 4,500 ลานป ถามีสาร
กัมมันตรังสียูเรเนียม -238 อยู 40 กรัม ตองใชเวลานานประมาณกี่ป สารนี้จึงจะสลายตัวเหลือ 5 กรัม
[13,500 ลานป]
90

แผนโปรงใสประกอบกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ง

กราฟแสดงการสลายตัวของเรเดียม
น้ําหนัก (กรัม)

20
15
10
5
0
0 1600 3200 4800 6400 เวลา (ป)

กิจกรรมเสนอแนะ 3.1 จ

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนไดสังเกตแบบรูปที่แสดงความสัมพันธระหวางจํานวนครั้งที่
พับและความหนาของกระดาษที่พับไดซึ่งอยูในรูปของเลขยกกําลัง

พับกระดาษ

ใหนักเรียนใชกระดาษรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 1 แผน ในการทํากิจกรรมตอไปนี้


1. พับครึ่งครั้งที่ 1 จะไดกระดาษที่พับแลวมีความหนาเทากับกระดาษ 2 แผน
2. พับครึ่งครั้งที่ 2 จะไดกระดาษที่พับแลวมีความหนาเทากับกระดาษ 4 แผน
3. พับครึ่งไปเรื่อย ๆ เทาที่นักเรียนจะทําไดแลวเติมจํานวนลงในตารางขางลางนี้ใหสมบูรณ
91

ความหนา
จํานวนครั้งที่พับ
(คิดเปนจํานวนแผนกระดาษ)
0 1
1 2
2 4
3 8
4 16
5 32
6 64
. .
. .
. .

4. ถาพับกระดาษครั้งที่ 5 จะไดความหนาเทากับกระดาษกี่แผน สามารถเขียนคําตอบนั้นในรูป


เลขยกกําลังไดหรือไม ถาไดจะเขียนไดเปนอยางไร [32 แผน หรือ 2 5 แผน]
5. ถาพับกระดาษครั้งที่ 20 จะไดความหนาเทากับกระดาษกี่แผน ใหเขียนจํานวนนั้นในรูป
เลขยกกําลัง [1,048,576 แผน หรือ 220 แผน]
6. นักเรียนสังเกตเห็นความสัมพันธระหวางจํานวนครั้งที่พับกับความหนาของแผนกระดาษที่ได
จากการพับอยางไรบาง [จํานวนกระดาษทีไ่ ดจากการพับจะเทากับ 2n แผนเมือ่ n แทนจํานวน
ครัง้ ทีพ่ บั ]

กิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ฉ

กิจกรรมนี้เสนอไวสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถและสนใจเปนพิเศษ เพื่อใหนักเรียน
สังเกตและเกิดแนวคิดในการสรางองคความรูใหม ในขณะที่กําลัง หาคําตอบ เชน ในการหา
คําตอบของ 220 นักเรียนบางคนอาจคิดหาคําตอบไดจาก 4 × 4 × 4 × 4 × 4 × 4 × 4 × 4 × 4 × 4
หรือ 16 × 16 × 16 × 16 × 16 หรือ 32 × 32 × 32 × 32 หรืออาจใชเครื่องคิดเลขหาคําตอบ

ในการหาคําตอบตอไปนี้ ครูควรใหนักเรียนอธิบายถึงแนวคิดในการหาคําตอบและนักเรียนอาจ
ใชเครื่องคิดเลขชวยในการคิดคํานวณก็ได
92

1. จงพิจารณาวาจํานวนที่กําหนดใหในแตละขอเทากันหรือไม เพราะเหตุใด
1) 316 กับ 814
2) 231 กับ 810 × 2
2. จงหาวาเลขยกกําลังตอไปนี้แทนจํานวนใด
1) 225 2) 315
3) (0.5)10 4) (0.02)12
3. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผามีความหนา 0.01 เซนติเมตร ถานํามาพับทบเปน 3 ชั้นใหทับ
กันสนิทพอดีแลวตัดตามรอยพับเปน 3 แผน นํา 3 แผนนัน้ มาซอนกันใหมแลวตัดครัง้ ที่ 2 ทําดวยวิธกี าร
เดิมไปเรื่อย ๆ จงหาวาในการตัดตามรอยพับครั้งที่ 10 จะไดกระดาษที่ซอนกันกี่แผนและกระดาษที่
ซอนกันทั้งหมดหนาประมาณกี่เซนติเมตร

ตัดตามรอยพับ ตัดตามรอยพับ ตัดตามรอยพับ


ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3

คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ 3.1 ฉ
1. ตัวอยาง แนวคิด
1) เทากัน เพราะวา 814 เทากับ 81 คูณกัน 4 ตัว หรือเทากับ 34 คูณกัน 4 ตัว
2) เทากัน เพราะวา 810 เทากับ (23)10 ซึ่งเทากับ 23 คูณกัน 10 ตัว
จะได 810 = 230
2. ตัวอยาง แนวคิด
1) เนื่องจาก 225 เทากับ 25 คูณกัน 5 ตัว หรือเทากับ 32 คูณกัน 5 ตัว
จะได 225 = 325 = 33,554,432
2) เนื่องจาก 315 เทากับ 33 คูณกัน 5 ตัว หรือเทากับ 27 คูณกัน 5 ตัว
จะได 315 = 275 = 14,348,907
3) จาก (0.5)10 ใหคิดเปน 5 คูณกัน 10 ตัว หรือ 25 คูณกัน 5 ตัวกอนแลวกําหนด
จุดทศนิยมเปนทศนิยม 10 ตําแหนง
จะได (0.5)10 = 0.0009765625
93

4) จาก (0.02)12 ใหคิดเปน 2 คูณกัน 12 ตัว หรือ 8 คูณกัน 4 ตัวกอนแลวกําหนด


จุดทศนิยมเปนทศนิยม 24 ตําแหนง
จะได (0.02)12 = 0.000 000 000 000 000 000 004 096
3. ไดกระดาษหนา 310 แผนซึ่งเทากับ 33 × 33 × 33 × 3 = 273 × 3 แผน
จะไดกระดาษที่ซอนกัน 59,049 แผน
กระดาษแตละแผนหนา 0.01 เซนติเมตร
ดังนั้นกระดาษที่ซอนกันหนา 59049 × 0.01 = 590.49 เซนติเมตร

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 ก
จงตอบคําถามตอไปนี้ โดยเขียนคําตอบเติมในชองวาง
1. เรียก 6 ในเลขยกกําลัง 106 วาอะไร
………………………………………………………………………………………[เลขชี้กําลัง]
2. เรียก 0.4 ในเลขยกกําลัง (0.4)5 วาอะไร
………………………………………………………..……………………………………[ฐาน]
3. เลขยกกําลัง (-8)3 มีจํานวนใดเปนฐานและมีจํานวนใดเปนเลขชี้กําลัง
……………………………………………….…………...[-8 เปนฐาน และ 3 เปนเลขชี้กําลัง]
4. 7 มีจํานวนใดเปนฐาน และมีจํานวนใดเปนเลขชี้กําลัง
…………………………………………..………….……..[7 เปนฐาน และ 1 เปนเลขชี้กําลัง]
5. (25 ) มีจํานวนใดเปนฐาน และมีจํานวนใดเปนเลขชี้กําลัง
4

…………………………………………….……………..[ 52 เปนฐาน และ 4 เปนเลขชี้กําลัง]


6. (3a)10 มีจํานวนใดเปนฐาน และมีจํานวนใดเปนเลขชี้กําลัง
……………………………………….…………..….…...[3a เปนฐาน และ 10 เปนเลขชี้กําลัง]
7. (3)5 มีความหมายอยางไร
………………………………….…………………….…….……………...[3 × 3 × 3 × 3 × 3]
8. (43 )3 มีความหมายอยางไร
……………………………………...…….…………………………..…………….[ 43 × 43 × 43 ]
9. (-5)4 มีความหมายอยางไร
…………………………………………………….………………...[(-5) × (-5) × (-5) × (-5)]
10. เขียนเลขยกกําลังแทน (-7) (-7) (-7) (-7) (-7) ไดเปนอยางไร
…………………………………………………………………………..….……………...[(-7)5]
94

11. เขียนเลขยกกําลังแทน m × m × m × m × m ไดเปนอยางไร


…………………………………………………………………………..….………………..[m5]
12. เขียนเลขยกกําลังแทน mn × mn × mn × mn ไดเปนอยางไร
…………………………………………………………………………..….…………….[(mn)4]

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 ข

ใหนักเรียนเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้

1. (-3)4 อานวา………………………………………และเทากับ…………..
[ลบสามทั้งหมดยกกําลังสี่ หรือกําลังสี่ของลบสาม] [81]
2. -34 อานวา………………………………………และเทากับ………..…..
[ลบของสามยกกําลังสี่ หรือลบของกําลังสี่ของสาม] [-81]

3. (-3)4 และ -34 แทนดวยจํานวนเดียวกันหรือไม เพราะเหตุใด………………………..


…………………………………………………………………………………………….
[ไมไดแทนจํานวนเดียวกันเพราะวา -34 เปนจํานวนตรงขามของ (-3)4 หรือของ 34 ]

4. (43 )2 อานวา……………………………………………. และเทากับ………………….


[เศษสามสวนสี่ทั้งหมดยกกําลังสอง] [ 169 ]

5. 32 อานวา……………………………………………. และเทากับ………………….
4
[เศษสามยกกําลังสองสวนสี่ หรือสามยกกําลังสองหารดวย 4] [ 94 ]

6. 3
4 2 อานวา……………………………………………. และเทากับ………………….
[เศษสามสวนสี่ยกกําลังสอง หรือสามหารดวยสี่ยกกําลังสอง] [ 163 ]

7. นักเรียนมีขอสังเกตอยางไรบางเกี่ยวกับการเขียนเลขยกกําลัง…………………………….
…………………………………………………………………………………………….
[ถาฐานเปนจํานวนลบ หรือเศษสวนควรตองใสวงเล็บคลุมฐาน]
95

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 ค
ใหนักเรียนเขียนคําตอบในรูปเลขยกกําลังโดยเติมคําตอบในชองวางแตละขอตอไปนี้
1. 9 = 3×3
= ……………………. [32]
2. 9 = (-3) (-3)
= ……………………. [(-3)2]
3. 64 = 2×2×2×2×2×2
= ……………………. [26]
4. 64 = (2 × 2) (2 × 2) (2 × 2)
= 4×4×4
= ……………………. [43]
5. 64 = (-8) (-8)
= ……………………. [(-8)2]
6. 0.001 = (0.1) (0.1) (0.1)
= ……………………. [(0.1)3]
7. 0.0016 = (0.2) (0.2) (0.2) (0.2)
= ……………………. [(0.2)4]
8. 0.0016 = (0.04) (0.04)
= ……………………. [(0.04)2]
9. -343 = (-7) (-7) (-7)
= ……………………. [(-7)3]
10. -243 = (-3) (-3) (-3) (-3) (-3)
= ……………………. [(-3)5]

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.1 ง
1. จงเติมคําตอบในชองวางขางลางนี้
1) 16 = (-4)n จะได n = [2]
2) 81 = a2 จะได a = [9 หรือ -9]
3) 81 = 3n จะได n = [4]
96

4) 0.027 = a3 จะได a = [0.3]


5) 128 = 2n จะได n = [7]
6) -27 = an จะได a = และ n = [a = -3 และ n = 3]
2. จงเขียนเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังมากกวา 1 แทนจํานวนตอไปนี้
1) 36 [62 , (-6)2]
2) -125 [(-5)3]
3) 256 [เขียนคําตอบไดหลายแบบดังนี้ 28 , (-2)8 , 44 , (-4)4 , 162 หรือ (-16)2]
8 [ ( 23 ) ]
3
4) 27
5) 2,401 [เขียนคําตอบไดหลายแบบดังนี้ 74 , (-7)4 , (-49)2 หรือ 492]
6) 10,000 [เขียนคําตอบไดหลายแบบดังนี้ 104 , (-10)4 , 1002 หรือ (-100)2]

กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ก

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนสังเกตและคนพบความสัมพันธของฐานและเลขชี้กําลัง ของ
ตั ว ตั้ง ตั ว คูณ และผลคูณ ของเลขยกกําลัง ที่มีฐ านเปน จํา นวนเดีย วกั น เพื่ อ นําไปสูส มบัติ
ของการคูณเลขยกกําลัง ครูอาจใชกิจกรรมนี้นําเขาสูบทเรียน

1. ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1) 32 × 34 เขียนในรูปการคูณของ 3 ไดทั้งหมดกี่ตัว [6 ตัว]
2) 32 × 34 เทากับเลขยกกําลังใด [36]
3) 32 × 34 เทากับ 32 + 4 หรือไม [เทากัน]
4) นักเรียนคิดวา 52 × 57 มี 5 คูณกันทั้งหมดกี่ตัว [9 ตัว]
5) 52 × 57 เทากับเลขยกกําลังใด [59]
6) 52 × 57 เทากับ 52 + 7 หรือไม [เทากัน]
7) นักเรียนไดขอสังเกตอะไรบางเกี่ยวกับการคูณเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกัน
[เลขชี้กําลังของผลคูณจะเทากับผลบวกของเลขชี้กําลังของจํานวนที่นํามาคูณกัน]
97

2. ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1) 23 มี 2 คูณกันกี่ตัว [3 ตัว]
2) 32 มี 3 คูณกันกี่ตัว [2 ตัว]
3) 23 × 32 เขียนผลคูณในรูปเลขยกกําลังไดหรือไม เพราะเหตุใด
[ไมได เพราะฐานไมเปนจํานวนเดียวกัน]
4) ผลคูณของ 23 × 32 เทากับเทาใด [8 × 9 = 72 ]
5) จะเขียนผลคูณของ 53 × 34 ในรูปเลขยกกําลังไดหรือไม เพราะเหตุใด
[ไมได เพราะฐานไมเปนจํานวนเดียวกัน]
6) นักเรียนมีขอสังเกตอะไรบางเกี่ยวกับการคูณเลขยกกําลังที่มีฐานตางกัน
[เขียนผลคูณในรูปเลขยกกําลังไมไดตองหาผลคูณเหมือนกับการคูณจํานวนเต็ม]

กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ข

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนไดฝกทักษะในการสังเกตแบบรูปและความสัมพันธโดย
เชื่อมโยงความรูเกี่ยวกับพื้นที่และเลขยกกําลัง อาจใชกิจกรรมนี้นําเขาสูบทเรียนเพื่อเราความ
สนใจ หรือใหทําเปนการบานก็ได

ใหนักเรียนพิจารณารูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่จัดวางไวตามแบบรูปที่กําหนดใหและใหบันทึกคําตอบ
ลงในชองวาง

รูปที่ 1 2 3 4

รูปที่ 1 2 3 4 5 6 7
พื้นที่ (ตารางหนวย) 1 4 9 16
[25] [36] [49]
98

จงตอบคําถามตอไปนี้
1. นักเรียนสังเกตแบบรูปและขอมูลทีก่ าํ หนดไวในตารางขางตนนีแ้ ลว นักเรียนไดขอ สรุปเกีย่ วกับ
พื้นที่ของแตละรูปอยางไรบาง
…………………………………………………………………………………………………
[หาพื้นที่ของแตละรูปจากสูตร n2 เมื่อ n แทนรูปที่ตองการหาพื้นที่]

2. ถาตองการหาพื้นที่ของรูปที่ 20 ในรูปเลขยกกําลังจะไดพื้นที่กี่ตารางหนวย
…………………………………………………………………………………………………
[202 หรือ 400 ตารางหนวย]

กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ค

กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนสังเกตและคนพบความสัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง
ตัวหาร และผลหารของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเดียวกัน เพื่อนําไปสูสมบัติของการหาร
เลขยกกําลัง ครูอาจใชกิจกรรมนี้นําเขาสูบทเรียน

1. ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้
1) ผลหาร 36 ÷ 32 เทากับ 3 × 3 × 33×× 33× 3 × 3 หรือไม [เทากัน]
2) ผลหาร 36 ÷ 32 เขียนในรูปเลขยกกําลังไดหรือไม ถาไดจะไดเทาไร [34]
3) หาผลหาร 34 ÷ 36 จาก 3 × 33×× 33×× 33××33× 3 ไดเทาไร [ 3 ×1 3 = 91 ]
4) ผลหาร 34 ÷ 36 เขียนในรูปเลขยกกําลังไดหรือไม
[ไมได แตนักเรียนอาจตอบวาได คือ 12 ซึ่งไมใชคําตอบที่ถูกตอง]
3
5) หาผลหารของ 54 ÷ 54 ไดเทาไร [1]
6) ผลหารของ 54 ÷ 54 เขียนในรูปเลขยกกําลังไดหรือไม
[ได 11 (หนึ่งยกกําลังหนึ่ง)]
7) หาผลหารของ 53 ÷ 32 ไดเทาไร [ 125
9 ]
8) ผลหารของ 53 ÷ 32 เขียนในรูปเลขยกกําลังไดหรือไม [ไมได]
99

2. ใหนักเรียนหาผลหารตอไปนี้
1) 78 ÷ 74 [74] 2) 54 ÷ 5 [53]
3) 910 ÷ 93 [97] 4) 43 ÷ 45 [ 412 ]
5) 32 ÷ 37 [ 315 ] 6) 73 ÷ 78 [ 715 ]
7) 64 ÷ 64 [1] 8) 103 ÷ 103 [1]
9) 25 ÷ 32 [ 32
9] 10) 53 ÷ 72 [ 125
49 ]
3. ในการหารเลขยกกําลังขางตน นักเรียนมีขอสังเกตเกี่ยวกับ ฐาน เลขชี้กําลังและผลหารใน
การหารแตละขออยางไรบาง จงอธิบาย
คําตอบ 1. ถาฐานเหมือนกันและเลขชีก้ าํ ลังของตัวตัง้ มากกวาเลขชีก้ าํ ลังของตัวหาร ผลหารจะมีเลขชีก้ าํ ลัง
เทากับเลขชี้กําลังของตัวตั้งลบดวยเลขชี้กําลังของตัวหาร
2. ถาฐานเหมือนกันและเลขชีก้ าํ ลังของตัวตัง้ เทากับเลขชีก้ าํ ลังของตัวหาร ผลหารจะเทากับ 1
3. ถาฐานเหมือนกันและเลขชีก้ าํ ลังของตัวตัง้ นอยกวาเลขชีก้ าํ ลังของตัวหาร ผลหารจะอยูใ น
รูปเศษสวนที่ตัวเศษเปน 1 และตัวสวนเปนเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเทากับเลขชี้กําลัง
ของตัวหาร ลบดวยเลขชี้กําลังของตัวตั้ง
4. ถาฐานไมเหมือนกัน จะเขียนผลหารในรูปเลขยกกําลังไมได

กิจกรรมเสนอแนะ 3.2 ง

กิจกรรมนี้เสนอไวสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถและสนใจเปนพิเศษ ครูอาจใชใน
ตอนทายของหัวขอเรื่องนี้เพื่อใหนักเรียนไดนําสมบัติตาง ๆ มาใชระหวางทํากิจกรรม นักเรียน
จะไดฝกทักษะการสังเกต คนหาแบบรูปและความสัมพันธ อีกทั้งไดเห็นการประยุกตของ
เลขยกกําลัง

จัตุรัสกลของเลขยกกําลัง

ใหนักเรียนพิจารณาจํานวนในตารางจัตุรัส 3 × 3 ตอไปนี้

4 -3 2 8 1 2
16
ตารางที่ 1 -1 1 3 ตารางที่ 2 1 1 4
4
0 5 -2 1 16 1
2 8
100

จากตารางที่ 1 ใหนกั เรียนหาผลบวกของจํานวนในแนวนอน แนวตัง้ และแนวทแยงแตละแนว


[เทากันทุกแนวและเทากับ 3]
จากตารางที่ 2 ใหนักเรียนหาผลคูณของจํานวนในแนวนอน แนวตัง้ และแนวทแยงแตละแนว
[เทากันทุกแนวและเทากับ 1]

จัตุรัสที่มีผลบวกหรือผลคูณของจํานวนในแนวนอน แนวตั้งและแนวทแยงเทากัน เรียกวา


จัตุรัสกล

ใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้
1. ใหนกั เรียนเขียนคําตอบทีแ่ สดงจํานวนเดียวกันกับเลขยกกําลังในแตละชองของตารางที่ 3 ลงใน
ชองตารางที่ 4 ใหตรงกันทุกแถวและทุกแนว พรอมทั้งตอบคําถามใตตารางตอไปนี้

24 2-3 22 16 1 4
8
2-1 21 23 1 2 8
2
20 25 2-2 1 32 1
4

ตารางที่ 3 ตารางที่ 4
จากตารางที่ 1 และตารางที่ 3
1) ใหนักเรียนสังเกตเลขชี้กําลังของเลขยกกําลังในตารางที่ 3 วามีความเกี่ยวของกับจํานวน
ในตารางที่ 1 อยางไร [เหมือนกัน]
2) นักเรียนหาผลคูณของจํานวนในแตละแนวของตารางที่ 4 ไดเทาไร
[เทากับ 8 ทุกแนว]
3) ตารางที่ 3 เปนจัตุรัสกล หรือไม [เปน]

2. ใหนักเรียนพิจารณาจัตุรัสทั้งสองตารางขางลางนี้ แลวตอบคําถามใตตาราง

8 1 6 28 21 26

23 25 27

4 9 2 24 29 22
ตารางที่ 5 ตารางที่ 6
101

1) ตารางที่ 5 เปนจัตุรัสกลหรือไม เพราะเหตุใด


[เปน เพราะผลบวกของทุกแนวเทากับ 15]
2) จํานวนในตารางที่ 5 เกีย่ วของกับตารางที่ 6 อยางไร
[จํานวนในแตละชองของตารางที่ 5 เปนเลขชี้กําลังของเลขยกกําลังในชองที่ตรงกัน
ของตารางที่ 6]
3) ตารางที่ 6 เปนจัตุรัสกลหรือไม เพราะเหตุใด
[เปน เพราะทุกแนวมีผลคูณเทากับ 215]
4) ในการหาคําตอบของขอ 3) มีการใชสมบัติเกี่ยวกับเลขยกกําลังใดบาง
[ใชสมบัติการคูณเลขยกกําลัง am × an = am + n]
3. ใหนกั เรียนสรางจัตรุ สั กลในทํานองเดียวกับขอ 2 โดยใชเลขยกกําลังทีม่ ฐี านเปนจํานวนนับ
อื่น ๆ
ตัวอยาง

1) 7 0 5 37 30 35
2 4 6 32 34 36
3 8 1 33 38 31

2)
-3 -1 4 5-3 5-1 54
7 0 -7 57 50 5–7
-4 1 3 5-4 51 53

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.2
1. จงเขียนผลคูณของเลขยกกําลังตอไปนี้ใหอยูในรูปเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนเฉพาะ

1) 35 × 92 [39]
2) 42 × 230 [234]
3) 44 × 163 [220]
4) 510 × 625 [514]
5) 7100 × 49 [7102]
6) 9 × 950 [3102]
102

2. กําหนดให m และ n เปนจํานวนเต็มบวก a, b, x และ y เปนจํานวนใด ๆ จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใน


รูปเลขยกกําลัง
1) (2m) ⋅ 2n
. [2m + n]
2) (-5) m ⋅ (-5)n [(-5)m + n]
3) 4 (4) m [4m + 1]
4) (-7)n ⋅ (-7) [(-7)n + 1]
5) (a3) ⋅ (a7) [a10]
6) (a3) ⋅ (a m) [a3 + m]
7) (x m) ⋅ (xn) [xm + n]
8) (ab) m (ab) [(ab)m + 1]
9) ( xy ) ( xy ) , y ≠ 0
m

10) am ⋅ an ⋅ a2
n
[ xy m + n ]
[am + n + 2 ]
()
กิจกรรมเสนอแนะ 3.3 ก

กิจกรรมนีต้ อ งการใหนกั เรียนเห็นตัวอยางของสถานการณปญ


 หาทีส่ ง เสริมการศึกษาคนควา
ตามความสนใจของนักเรียน ไดฝกทักษะในดานการอานและแปลความหมายของขอมูลจากภาพ
ที่มีความเกี่ยวของกับเลขยกกําลังที่มีฐานเปนสิบ

สื่อการเรียนรู ใบกิจกรรมความยาวของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูแจกใบกิจกรรม “ความยาวของคลื่นแมเหล็กไฟฟา” ใหนักเรียนศึกษาเปนกลุม และให
อภิปรายภายในกลุมถึงการอานและแปลความหมายของขอมูลที่ปรากฏในภาพ
2. ครูสุมตัวแทนกลุมออกมาเสนอผลสรุปจากการอภิปรายภายในกลุมสัก 2 – 3 กลุม
3. ครูควรเสริมและเพิ่มเติมความรูในประเด็นตาง ๆ โดยใชคําถามหลังการเสนอผลงานของ
นักเรียน เชน
1) หากนักเรียนยังไมสามารถอานและแปลความในภาพได ครูอาจชี้แนะใหเห็นวาเราไมอาจ
เห็นคลืน่ แมเหล็กไดดว ยตาจึงจําลองเปนภาพเพือ่ เปรียบเทียบกับขนาดของสิง่ ทีท่ ราบกันอยูแ ลว
2) เสนตรงที่แสดงมาตราสวนแบงหนวยในใบกิจกรรมมีการแบงอยางไร
103

[การแบงหนวยแตละชวงไมเทากัน ชวงหนึ่งหนวยทางขวาจะเปนสิบเทาของชวง
หนึ่งหนวยทางซายที่อยูถัดกัน]
3) ความยาวของคลื่นแสงหรือขนาดของสิ่งตาง ๆ เปนเทาใดบาง เชน
ความสูงของยอดเขาเอเวอรเรสต
[คําตอบของนักเรียนควรเปนคาประมาณ เชน ยอดเขาเอเวอรเรสตสงู ประมาณ 104
หรือ 10,000 เมตร อาจบอกความสูงจริงของยอดเขาเอเวอรเรสตใหนกั เรียนทราบ
ดวย ซึ่งเทากับ 8,848 เมตร]
ความยาวของไวรัสคิดเปนเมตร [ประมาณ 10-8 เมตร]
ความยาวของคลื่นรังสีเอกซ [ประมาณความยาวอยูในชวง 10-8 – 10-13 เมตร]
4. ครูอาจใหนักเรียนลองวัดความยาวของนิ้วหัวแมมือของตนเองแลวเขียนรูปไวใตเสนจํานวน
เพื่อเปรียบเทียบดูวาควรอยูระหวางจํานวนใด
5. ครูอธิบายสรุปถึงความยาวของคลืน่ แสงซึง่ เปนคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ความยาวของคลืน่ แมเหล็ก
ไฟฟาจะมีความสั้นหรือยาวเปนชวง ๆ เชน ความยาวของคลื่นรังสีเอกซอยูระหวาง 10-8 – 10-13 เมตร
ความยาวของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา อาจใชหนวยวัดเปนอังสตรอม (A ) ซึง่ 1A เทากับ 10-10 เมตร เมื่อ
กลาววาคลื่นแสงสีแดงยาวประมาณ 7000 A หมายความวาคลื่นแสงสีแดงยาวประมาณ 7 × 10-7 เมตร

ความยาวของคลื่นแมเหล็กไฟฟา

เด็กชายมานะพบเอกสารแสดงความยาวของคลื่นแมเหล็กไฟฟาในหนังสือเลมหนึ่ง ซึ่งมีเนื้อหา
เกี่ยวของกับเลขยกกําลังที่กําลังศึกษาอยู จึงสนใจและนํามาอภิปรายกับเพื่อน ๆ

ภาพเปรียบเทียบชวงความยาวของคลื่นแมเหล็กไฟฟาบางชนิดกับขนาดของสิ่งตาง ๆ โดยประมาณ
(หนวยเปนเมตร)

คลื่นรังสีเอกซ คลื่นแสงสีแดง คลื่นเรดาร คลื่นเอฟเอ็ม

10-13 10-12 10-10 10-8 10-6 10-4 10-2 100 102 104 เมตร

อะตอม ไวรัส ฝุน เข็ม คน ตึกสูง ยอดเขาเอเวอรเรสต


104

ถานักเรียนเปนเพือ่ นคนหนึง่ ของมานะ นักเรียนคิดวาภาพขางบนนีส้ อื่ ความหมายอะไรใหรไู ดบา ง


จงบันทึกสิ่งที่นักเรียนรูและสนใจไวในสวนบันทึกขางลางนี้

ตัวอยาง ขอความที่นักเรียนบันทึกจากการสังเกต

บันทึก
1) เสนแสดงมาตราสวนมีการแบงแตละชวงไมเทากัน ชวงหนึ่งหนวยทางขวาเปนสิบเทาของชวงหนึ่ง
หนวยทางซายที่อยูถัดกัน จํานวนที่กํากับหนวยทางขวาจะเปน 10 เทาของจํานวนที่กํากับหนวยซึ่ง
อยูถัดไปทางซาย
2) ความยาวของคลื่นแมเหล็กไฟฟามองไมเห็นดวยตา แตสามารถจินตนาการชวงของคลื่นโดยเปรียบ
เทียบกับความสูงหรือความยาวของสิ่งตาง ๆ ได เชน
– คลื่นเอฟเอ็ม ยาวกวาความสูงของคน และมีความยาวอยูระหวาง 1 – 10 เมตร
– อะตอมมีขนาดเล็กมากประมาณ 10–10 เมตร
– ตึกสูง สูงประมาณ 100 เมตร
– คลื่นสีแดงยาวประมาณ 10–6 – 10–8 เมตร
1 1
– เข็มหมุดยาวประมาณ 10–2 หรือ เมตร หรือ × 100 เซนติเมตร = 1 เซนติเมตร ฯลฯ
100 100

กิจกรรมเสนอแนะ 3.3 ข

กิจกรรมนีต้ อ งการใหนกั เรียนไดสงั เกตรูปแบบหรือสัญลักษณทใี่ ชเขียนแทนจํานวนเดียวกัน


มีความสัมพันธกันระหวางรูปเศษสวน ทศนิยม และเลขยกกําลัง นักเรียนจะสามารถนําความรู
จากใบกิจกรรมนี้ไปใชในการคํานวณไดเหมาะสมและรวดเร็วขึ้น

จากตารางจงศึกษาจํานวนทุกจํานวนในแนวตั้งและแนวนอน

––– 0.0001 0.001 0.01 0.1 1 10 100 1000 –––


––– 1 1 1 1
10000 1000 100 10 1 10 100 1000 –––
––– 1 1 1 1 1
10 4 10 3 10 2 10 1 10 0 10 102 103 –––
––– 10– 4 10–3 10–2 10–1 100 101 102 103 –––
105

1. จํานวนในแนวตั้งและแนวนอนแตละแนวมีความสัมพันธกันอยางไร จงอธิบาย
[จํานวนในแนวนอนที่อยูติดกันมีคาตางกันเปน 10 เทา จํานวนทางขวาเปน 10 เทาของ
จํานวนที่อยูถัดไปทางซาย และจํานวนทุกจํานวนในแนวตั้งในชองเดียวกันมีคาเทากัน]

2. ถาตองการเขียนจํานวนแทน 0.000001 ในรูปอื่น ๆ จะเขียนไดอยางไรบาง


1
[ 1000000 หรือ 1016 หรือ 10–6]

3. เซลลแตละเซลลของไวรัสชนิดหนึ่งมีความยาวประมาณ 0.000000003 เมตร ถานําไวรัสชนิดนี้


10,000 เซลลมาเรียงตอกัน จะยาวกี่เมตร
[อาจตอบในรูปทศนิยมเปน 0.00003 หรือเลขยกกําลัง 3 × 10-5 เมตร]

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ก
1. จงเขียนคําตอบในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
1) 20000 = 2 × 10000
= ………………. [2 × 104]

2) 24000 = 24 × 1000
= (2.4 × 10) × 1000
= 2.4 × 10000
= 2.4 × ………… [2.4 × 104]

3) 360000 = 36 × 10000
= 3.6 × ………… [3.6 × 105]

4) 5000000 = 5 × 1000000
= ………………. [5 × 106]

5) 1450000 = 1.45 × 1000000


= 1.45 × ………. [1.45 × 106]

6) 72810000 = 7.281 × 10000000


= 7.281 × ……… [7.281 × 107]

7) 835000000 = 8.35 × …..…… [8.35 × 108]


106

2. นักเรียนมีขอ สังเกตในการเขียนจํานวนทีม่ คี า มากๆ ใหอยูใ นรูปสัญกรณวทิ ยาศาสตรใหไดคาํ ตอบ


อยางรวดเร็วไดอยางไรบาง จงอธิบาย
[กําหนด A ใน A × 10n เมื่อ 1 < A < 10 และ n เปนจํานวนเต็มแลว คูณ A ดวย 10n – 1
เมื่อ n แทนจํานวนหลักของจํานวนที่กําหนดให เชน 835,000,000 เปนจํานวนที่มีเกาหลัก
กําหนด A โดยให 1 < A < 10 ดังนั้น A = 8.35 และ 10n – 1 คือ 109-1 = 108
จะได 835,000,000 = 8.35 × 108 ]

3. ใหนักเรียนเขียนจํานวนแทนสัญกรณวิทยาศาสตรที่กําหนดใหในชองวางตอไปนี้

1) 3 × 104 = ……………………
3 × 104 = 3 × 10000
[30,000]

2) 4.5 × 103 = …………………… 4.5 × 103 = 4.5 × 1000


[4,500]

3) 7.8 × 105 = …………………… 7.8 × 105 = 7.8 × 10000


[780,000]

4) 2.39 × 107 = ……………………


[23,900,000]

5) 8.102 × 108 = ……………………


[810,200,000]

4. นักเรียนมีขอสังเกตในการเขียนจํานวนแทนสัญกรณวิทยาศาสตรที่กําหนดใหอยางไรบางจงอธิบาย
[จากจํานวนที่กําหนดใหในรูป A × 10n เมื่อ 1 < A < 10 และ n เปนจํานวนเต็ม ใหเขียน
จํานวนนับที่มีเลขโดดชุดเดียวกันกับ A กอน แลวเขียนศูนยตอทายจํานวนนับนั้นจนไดจํานวนหลัก
เทากับ n + 1 หลัก]
107

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ข
ใหนักเรียนเขียนคําตอบเติมในชองวางตอไปนี้
1. 0.5 เขียนในรูปเศษสวนไดเปน………….. [ 105 หรือ 1
]
2

2. 0.003 เขียนในรูปเศษสวนไดเปน…………… 3 หรือ


[ 1000 3
]
10 3

3. ถา 0.003 = 3 × 101n แลว n เทากับ…………… [3]


4. ถา 0.003 = 3 × 10n แลว n เทากับ……………. [-3]
5. เขียน 0.003 ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรไดเปน…………….. [3 × 10–3]
6. 0.0027 เขียนในรูปเศษสวนไดเปน………….. 27 ]
[ 10000
7. ถา 0.0027 = 27 × 101n แลว n เทากับ…………… [4]
8. ถา 0.0027 = (2.7 × 10) × 101n แลว n เทากับ………….. [4]
9. ถา 0.0027 = 2.7 × 10n แลว n เทากับ…………….. [-3]
10. 0.0027 เขียนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตรไดเปน……………… [2.7 × 10–3]

แบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ค
1. จงพิจารณาวาประโยคตอไปนี้เปนจริงหรือเปนเท็จ นักเรียนมีแนวคิดหรือมีเหตุผลในการพิจารณา
ในการหาคําตอบอยางไรบาง
1) 43 < 53
2) 25 > 43
3) (0.5)3 > ( 12 )3
4) 34 < 35
5) 23 × 32 > 25
6) 28 = 82
7) 92 = 34
8) 991 = 199
9) 312 = (34)8
10) 2 × 33 = 63
108

2. ขอสรุปของแตละปญหาตอไปนี้นักเรียนคิดวาถูกหรือผิด จงบอกแนวคิดในการพิจารณา
1) น้ํา 1 ลิตร เทากับ 103 ลูกบาศกเซนติเมตร
ดังนั้น น้ํา 10 ลิตร เทากับ 104 ลูกบาศกเซนติเมตร
2) ระยะทาง 105 เซนติเมตร เทากับ 1 กิโลเมตร
ดังนั้น ระยะทาง 105 × 10 เซนติเมตร เทากับ 106 กิโลเมตร
3) น้ํา 0.0005 กรัม หนักเทากับน้ํา 5 × 104 กรัม
4) ถาพรพรรณจัดลูกเตาขนาด 1 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงในกลองพลาสติกได 1,200 ลูก
แสดงวากลองใบนี้ตองมีความจุมากกวา 103 ลูกบาศกเซนติเมตร
5) ถาบริษทั แหงหนึง่ ตองสงจดหมายใหลกู คาประจําทุก ๆ เดือน ประมาณเดือนละ 3,000 ฉบับ
ในแตละปตองสงจดหมายประมาณ 3 × 1012 ฉบับ

คําตอบแบบฝกหัดเพิ่มเติม 3.3 ค
1. ตัวอยางคําตอบ และการใหเหตุผล
1) จริง เพราะวา 43 และ 53 มีเลขชี้กําลังเปน 3 เทากันแตฐาน 4 นอยกวา 5
2) เท็จ เพราะวา 43 = 22 × 22 × 22
= 25 × 2
3
⎛1⎞ 1
3) เท็จ เพราะวา เลขยกกําลัง (0.5)3 และ ⎜ ⎟ มีฐานเทากัน (0.5 = ) และเลขชีก้ าํ ลัง
⎝2⎠ 2
เทากันจึงตองมีคาเทากัน
4) จริง เพราะวา 34 มีฐานเทากับ 35 แตมีเลขชี้กําลังนอยกวา
5) จริง เพราะวา 25 = 23 × 22 เมือ่ เปรียบเทียบกับ 23 × 32 จะเห็นวาตัวตัง้ เทากันคือ 23 แต
ตัวคูณ 32 มากกวา 22
6) เท็จ เพราะวา 28 = 2× 2× 2× 2× 2× 2× 2 × 2
= 8×8×2×2
= 82 × 22
7) จริง เพราะวา 92 สามารถเขียนในรูป 32 × 32 = 34 ได
8) เท็จ เพราะวา 991 เทากับ 99 แต 199 เทากับ 1
9) เท็จ เพราะวา 312 หมายถึง 3 คูณกัน 12 ตัว แต (34)8 หมายถึง 34 คูณกัน 8 ตัว และ 34
หมายถึง 3 คูณกันอีก 4 ตัว ดังนั้น (34)8 หมายถึง มี 3 คูณกัน 8 × 4 ตัว หรือ 32 ตัว
109

10) เท็จ เพราะวา 2 × 33 หมายถึง มี 2 คูณกับ 3 อีก 3 ตัว


แต 63 = (2 × 3)3 = (2 × 3)(2 × 3)(2 × 3)
ซึ่งหมายถึง จํานวนที่มี 2 คูณกัน 3 ตัวและคูณดวย 3 อีก 3 ตัว ดังนี้
2 × 33 = 2 × 3 × 3 × 3
63 = (2 × 3)3 = 2 × 2 × 2 × 3 × 3 × 3
2.
1) ถูก เพราะวา น้ํา 1 ลิตร เทากับ 103 ลูกบาศกเซนติเมตร
ดังนั้น น้ํา 10 ลิตร จึงเทากับ 103 × 10 = 104 ลูกบาศกเซนติเมตร
2) ผิด เพราะวา ระยะทาง 105 เซนติเมตร เทากับ 1 กิโลเมตร
ระยะทาง 105× 10 เซนติเมตรจะเทากับ 106 เซนติเมตร
ดังนั้น 106 เซนติเมตรนอยกวา 106 กิโลเมตร เพราะหนวยเซนติเมตรเล็กกวา
หนวยกิโลเมตร
3) ผิด เพราะวา 0.0005 มีคานอยกวา 1 แต 5 × 104 มีคามากกวา 1
4) ถูก เพราะวา กลองนี้ตองมีความจุอยางนอย 1,200 ลูกบาศกเซนติเมตร
กลองตองจุไดมากกวา 1,000 หรือ 103 ลูกบาศกเซนติเมตร
5) ผิด เพราะวา เดือนหนึ่งสงจดหมายประมาณ 3 × 103 ฉบับ
เวลา 1 ป ตองสงจดหมาย ประมาณ 3 × 103 × 12 ฉบับ
เนื่องจาก 3 × 1012 = (3 × 103) × 109
ดังนั้น 3 × 1012 ≠ (3 × 103) × 12
110

บทที่ 4
พื้นฐานทางเรขาคณิต (15 ชั่วโมง)
4.1 จุด เสนตรง สวนของเสนตรง รังสี และมุม (3 ชั่วโมง)
4.2 การสรางพื้นฐาน (7 ชั่วโมง)
4.3 การสรางรูปเรขาคณิตอยางงาย (5 ชัว่ โมง)
บทเรียนนี้กลาวถึงรูปเรขาคณิตที่เปนพื้นฐานของการศึกษาเรขาคณิต เริ่มจากใหนักเรียนรูจัก
คําบางคําที่เปนคําอนิยาม เชน จุด เสนตรง และระนาบ เขาใจถึงการนําคําอนิยามมาใชในการใหนิยาม
สวนของเสนตรง รังสี และมุม เพื่อสรางสมบัติทางเรขาคณิตตอไป
การสรางรูปเรขาคณิตในบทเรียนนี้มีขอกําหนดใหใชเครื่องมือเพียงสองชนิดเทานั้นคือ สันตรง
และวงเวียน และตองมีรองรอยการสรางใหเห็นทุกขั้นตอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมุงเนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติแลวสังเกตผลที่เกิดขึ้น โดย
ใชการสืบเสาะ การคาดการณและสรางขอสรุปเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิตดวยตนเอง อาจใหนักเรียน
อธิบายความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตและใหเหตุผลประกอบอยางงาย ๆ ตามพืน้ ความรูข องนักเรียน
การสรางรูปเรขาคณิตที่ถือวาเปนพื้นฐานมีอยู 6 แบบซึ่งเปนการสรางที่กําหนดไวในผลการ
เรียนรูที่คาดหวังรายป ครูจะตองจัดกิจกรรมใหนักเรียนมีความรู มีทักษะ / กระบวนการ สามารถ
นําไปใชและแกปญหาที่ไมซับซอนได
ตัวอยางเอกสารแนะนําการจัดกิจกรรมที่จัดไวในแตละหัวขอ มีไวเพื่อนําเขาสูเนื้อหาสาระ
เสริมเนื้อหาสาระ ฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ใหมีคุณธรรมจริยธรรมและคานิยมที่ดีงาม
ครูสามารถเลือกใชไดตามความเหมาะสมและอาจปรับใชไดตามความตองการ

ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. สรางรูปเรขาคณิตโดยใชวงเวียนและสันตรงและบอกขั้นตอนการสรางพื้นฐานตอไปนี้ได
1) การสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับความยาวของสวนของเสนตรงที่กําหนด
ให
2) การแบงครึ่งสวนของเสนตรงที่กําหนดให
3) การสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให
4) การแบงครึ่งมุมที่กําหนดให
5) การสรางเสนตั้งฉากจากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให
6) การสรางเสนตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบนเสนตรงที่กําหนดให
2. นําการสรางพื้นฐานไปสรางรูปเรขาคณิตอยางงายได
3. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิตได
111

แนวทางในการจัดการเรียนรู
4.1 จุด เสนตรง สวนของเสนตรง รังสีและมุม (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. อธิบายลักษณะและสมบัติของจุด เสนตรง สวนของเสนตรง รังสี และมุมได
2. เปรียบเทียบความยาวของสวนของเสนตรง เปรียบเทียบขนาดของมุม โดยใชวงเวียน
และนําไปใชแกปญหาได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 4.1 ก – 4.1 ข

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจนําเขาสูบทเรียนโดยสนทนากับนักเรียน ชี้ใหเห็นวาในบทเรียนกลาวถึงคําอนิยาม
ไดแก จุด เสนตรงและระนาบ แลวใชคําอนิยามนี้ในการใหนิยาม สวนของเสนตรง รังสีและมุม
ครูอาจใหนักเรียนสํารวจและยกตัวอยางสิ่งตาง ๆ ที่มีสวนประกอบของจุด สวนของเสนตรง รังสีและ
มุม เชน
จุด อาจยกตัวอยางแผนที่ซึ่งมีจุดบอกตําแหนงของจังหวัด หรือแผนผังซึ่งมีจุดบอกที่ตั้ง
ของหนวยงานหรือสถานที่ตาง ๆ
สวนของเสนตรง อาจยกตัวอยาง ขอบกระดาษ A4 รอยพับของกระดาษ หรือขอบโตะ
รังสี อาจยกตัวอยาง รูปแสดงทิศทางของลําแสงที่ออกจากแหลงกําเนิดแสง รูปแสดง
ทิศในแผนที่ หรือรูปแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ

มุม อาจยกตัวอยาง มุมกระดานดํา มุมระหวางเข็มสั้นกับเข็มยาวบนหนาปดนาฬิกา


หรือมุมที่เกิดจากการพับกระดาษ
112

กระดานดํา นาฬิกา พัด กระดาษ


2. ครูอาจใหนกั เรียนทํากิจกรรมเพือ่ คนพบสมบัตขิ องจุดและเสนตรงดวยการลงมือปฏิบตั จิ ริงดังนี้
1) กําหนดจุ ด สองจุ ด ใด ๆ ให นั ก เรี ย นทดลองลากเส น ตรงผ า นจุ ด สองจุ ด นี้ และ
นับจํานวนเสนตรงที่ลากผาน
2) ใหนักเรียนลากเสนตรงสองเสนใหตัดกัน แลวนับจํานวนจุดตัดที่เกิดขึ้น
3) ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 4.1 ก และกิจกรรมเสนอแนะ 4.1 ข เพื่อให
ไดขอสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธของจํานวนจุดและจํานวนเสนตรง ที่สังเกตพบจากผลการทํากิจกรรม
3. การใชสัญลักษณ เชน AB แทนสวนของเสนตรงและการใชสัญลักษณ เชน AB แทน
ความยาวของสวนของเสนตรงอาจทําใหนักเรียนเกิดความสับสน ครูชี้ใหนักเรียนเห็นขอแตกตางและ
ใหระมัดระวังในการใชสัญลักษณทั้งสอง แตไมควรใชเปนประเด็นในการประเมินผล
4. การเปรียบเทียบความยาวของสวนของเสนตรงสองเสนในบทเรียนนี้ ควรใหนักเรียนใช
วงเวียนเปนเครื่องมือและใชสมบัติของวงกลมที่วา รัศมีของวงกลมเดียวกันมีความยาวเทากัน เชน ใช
วงเวียนตรวจสอบวารูปสามเหลีย่ มใดเปนรูปสามเหลีย่ มดานเทา รูปสามเหลีย่ มหนาจัว่ หรือรูปสามเหลีย่ ม
ดานไมเทา
5. ครูอาจใหนักเรียนสรางมุมที่เกิดจากการตัดกันหรือพบกันของเสนตรง สวนของเสนตรง
หรือรังสีวาจะเกิดมุมในลักษณะใดไดบาง ตัวอยางคําตอบ เชน
1) 2)
H
A D
E F
O O
C B G

3) 4)
R A
P Q X Y
O B
S
113

5)
P

A Q B
นอกจากนี้เมื่อกลาวถึงมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม ครูอาจแนะนํามุมภายนอกของ
รูปสามเหลี่ยมที่เกิดจากการตอดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป เชน กําหนด ∆ ABC

เมื่อตอ AB ออกไปทางจุด B ถึงจุด D จะได C B D เปนมุมภายนอกมุมหนึ่งของรูปสามเหลี่ยม ABC

A B D

ครูอาจใชคําถามกระตุนใหนักเรียนคิดตอวา ยังมีมุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยม ABC อีก


หรือไมและหาไดอยางไร
6. ครูอาจใชคําถามชี้ใหนักเรียนเห็นวาขนาดของมุม ไมไดขึ้นอยูกับความยาวของแขนมุม
กลาวคือ เราสามารถตอแขนของมุมใหยาวขึ้นได โดยที่ขนาดของมุมไมเปลี่ยนแปลง ครูอาจใชคําถาม
∧ ∧
เพิ่มเติม เชน เมื่อกําหนด A BC ใหมีขนาดเทากับ 60o ถาใชแวนขยายสอง A BC นักเรียนคิดวามุมที่
เห็นจากแวนขยายจะมีขนาดเทาใด ถามีแวนขยายอาจใหนักเรียนทดลองตรวจสอบคําตอบที่ได
7. ในชั้นนี้ครูควรย้ําใหนักเรียนเห็นความแตกตางของสัญลักษณที่ใชแทนมุมและขนาดของ
∧ ∧
มุม เชน ถาเขียน A BC หมายถึง มุม ABC และ m (A BC) หมายถึงขนาดของมุม ABC แตครูไมควร
ใชเปนประเด็นในการประเมินผล
8. ในการกลาวถึงมุมที่มีขนาดตาง ๆ ครูอาจใชไมที่มีสันตรงสองอันประกบกันแลวยึดปลาย
ข า งหนึ่ ง ของไม ทั้ ง สองด ว ยหมุ ด จะได มุ ม ที่ มี ห มุ ด เป น จุ ด ยอดและไม ทั้ ง สองเป น แขนของมุ ม
สําหรับมุมที่มีขนาดเทากับ 0 o และ 360 o ครูอาจใชอุปกรณนี้อธิบายวา

“เมือ่ แขนทัง้ สองของมุมซอนทับกันจะไดมมุ ทีม่ ขี นาดเทากับ 0 o และเมือ่ หมุนแขนของมุม


ขางหนึ่งรอบจุดยอด 1 รอบจนแขนมุมซอนทับกันจะไดมุมรอบจุดมีขนาดเทากับ 360 o”

9. กิจกรรมเรื่องนารูทายแบบฝกหัด 4.1 เสนอไวเพื่อใหนักเรียนรูจักทฤษฎีบทที่กลาวถึง ซึ่ง


นักเรียนจะไดนําไปใชในบทเรียนชั้นตอไป
114

4.2 การสรางพื้นฐาน (7 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. สรางและบอกขั้นตอนการสรางพื้นฐานทางเรขาคณิตตอไปนี้โดยใชสันตรงและวงเวียนได
1) การสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับความยาวของสวนของเสนตรงทีก่ าํ หนดให
2) การแบงครึ่งสวนของเสนตรงที่กําหนดให
3) การสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให
4) การแบงครึ่งมุมที่กําหนดให
5) การสรางเสนตั้งฉากจากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให
6) การสรางเสนตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบนเสนตรงที่กําหนดให
2. สรางรูปเรขาคณิตอยางงายโดยใชการสรางพื้นฐานได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 4.2

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรชี้แนะใหนักเรียนเขาใจวา การสรางรูปเรขาคณิตทั้งหลายตองอาศัยความรูจากการ
สรางพื้นฐาน 6 แบบ ตามจุดประสงคขางตน การสรางรูปเรขาคณิตพื้นฐานของยุคลิดเปนการสราง
โดยใชเครื่องมือเพียงสองชนิด คือ สันตรง และวงเวียน การสรางในหัวขอนี้เนนความรูและทักษะ
ปฏิบตั ิ ซึง่ ครูสามารถตรวจสอบไดจากรองรอยการสรางทุกขัน้ ตอนของนักเรียนและนักเรียนควรอธิบาย
ขั้นตอนการสรางไดดวยวาจา ในชั้นนี้ครูยังไมตองเนนการเขียนอธิบายขั้นตอนการสราง
ในการสรางทีต่ อ งใชรปู ทีโ่ จทยกาํ หนดให นักเรียนอาจจําลองรูปทีโ่ จทยกาํ หนดใหขนึ้ ใหมโดย
คะเนใหมีขนาดใกลเคียงกับรูปนั้น ยกเวนรูปที่ตองการใหหาความยาวและมีมาตราสวนกําหนดไวซงึ่
ตองใชขนาดจริงตามทีก่ าํ หนด
การตรวจสอบความยาวของสวนของเสนตรงและขนาดของมุม เพื่อความสะดวกใหนักเรียน
ใชวงเวียน
2. สําหรับการแบงครึ่งสวนของเสนตรง ครูอาจนําเขาสูบทเรียนโดยใชการพับกระดาษดังนี้
ใหนักเรียนสราง AB บนกระดาษแลวพับใหจุด A และจุด B ซอนทับกัน จากนั้นรีด
กระดาษใหเกิดรอยพับ เมื่อคลี่กระดาษออกจะไดรอยพับเปนสวนของเสนตรงที่ตัดกับ AB ที่จุดกึ่ง
กลางของ AB
สําหรับการหาจุดกึ่งกลางของ AB โดยใชวงเวียนและสันตรง นักเรียนอาจสรางโดยทิ้ง
รองรอยไวดังนี้
115

A O B หรือ A O B

ครูควรใชคําถามวา “เมื่อกําหนดจุดสองจุดเปนจุดศูนยกลางของวงกลม ตองการเขียนสวน


โค ง ของวงกลมให ตั ด กั น ทําไมต อ งใช รั ศ มี ย าวเกิ น ครึ่ ง หนึ่ ง ของระยะระหว า งจุ ด ทั้ ง สอง”
ครูควรใหนักเรียนสังเกตและตรวจสอบวา CD ตั้งฉากกับ AB ที่จุด O ดวย
3. ครูอาจจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการแบงครึ่งสวนของเสนตรงเพิ่มเติม เพื่อฝกใหนักเรียนคุนเคย
กับการคนหาแบบรูป โดยสราง AB บนกระดานดําแลวใหนักเรียนออกมาแบงครึ่ง AB แลวแบงครึ่ง
ของครึ่ง AB ออกเปนสวน ๆ ที่ยาวเทากันโดยใชวงเวียนและสันตรง

A B

เมื่อนักเรียนทํากิจกรรมแบงครึ่งของครึ่งของ AB ออกเปน 2 สวน 4 สวน 8 สวน…


ในครั้งที่ 1, 2, 3, … ตามลําดับไดแลว ครูควรชี้แนะใหนักเรียนสังเกตความสัมพันธของจํานวน
ครั้งที่แบงครึ่งสวนของเสนตรงกับจํานวนสวนของเสนตรงที่ยาวเทากันวาอยูในรูปของ 2n เมื่อ n
แทนจํานวนครั้งของการแบงดังนี้
116

ครั้งที่ของ แบงสวนของ AB ออกเปนสวน ๆ จํานวนสวนแบงที่ยาว


การแบง ที่ยาวเทากัน เทากัน (เสน)

1 21 = 2

A B

2 22 = 4

A B

. . .
. . .
. . .

หมายเหตุ การแบงครั้งที่ 1 มีเสนแบงครึ่ง 1 เสน แบง AB ออกเปน 2 สวนที่ยาวเทากัน


การแบงครั้งที่ 2 มีเสนแบงครึ่งเพิ่มขึ้นอีก 2 เสน แบง AB ออกเปน 4 สวนที่ยาวเทากัน
ฯลฯ
ครูอาจตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันคิดวาในการแบงครั้งที่ 10 จะไดสวนของเสนตรงที่ยาว
เทากัน กี่เสน คําตอบที่ไดคือ 210 เสน เปนการฝกการสังเกต คนหาแบบรูปของผลที่เกิดขึ้นเพื่อนําไป
สูการสรางขอความคาดการณ
4. ในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการแบงครึ่งมุม ครูอาจนําเสนอโดยตัดหรือพับกระดาษเปนมุม
มุมหนึ่ง แลวพับครึ่งมุมโดยใหแขนของมุมทั้งสองขางทับกันสนิท เมื่อรีดใหเกิดรอยพับจะไดเสนแบง
ครึ่งมุม ตอจากนั้นครูดําเนินกิจกรรมแบงครึ่งมุมของครึ่งมุมไปเรื่อย ๆ เปน 2 สวน 4 สวน 8 สวน …
ทํานองเดียวกันกับการแบงครึ่งสวนของเสนตรง เพื่อใหนักเรียนไดเห็นแบบรูปและสังเกตเห็นความ
สัมพันธของจํานวนครั้งที่แบงครึ่งมุมกับจํานวนมุมที่ไดจากการแบง ซึ่งสามารถเขียนอยูในรูป 2n
เมื่อ n แทนจํานวนครั้งของการแบง
117

5. ในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสรางเสนตั้งฉาก จากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให
ครูอาจเริ่มตนดวยการเสนอปญหา ดังนี้ “เราจะเขียนสวนของเสนตรงที่แสดงระยะหางระหวางจุด P
กับ AB ไดอยางไร” ใหนักเรียนอภิปรายรวมกัน
P

A B

จากการอภิปราย นักเรียนควรไดขอสรุปวา “ตองเขียนสวนของเสนตรงจากจุด P มาตั้ง


ฉากกับ AB และความยาวของเสนตั้งฉากที่ไดคือ ระยะหางระหวางจุด P กับ AB” จากนั้นครูสาธิต
การสรางเสนตั้งฉากจากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให และใหนักเรียนทําตามไปพรอมกัน
6. ใหนกั เรียนอภิปรายรวมกัน ถึงการหาวิธกี ารสรางเสนตัง้ ฉากทีจ่ ดุ จุดหนึง่ บนเสนตรงทีก่ าํ หนดให
เมื่อกําหนดจุด P บน AB ดังรูป

A P B

ครูอาจใชคําถามถามกระตุนใหนักเรียนคิด ดังนี้

1) A P B มีขนาดเทาใด (180 องศา)

2) ถาตองการสราง A P E ใหมีขนาดเทากับ 90 องศาจะทําอยางไร นักเรียนควร

ตอบไดวาแบงครึง่ มุม A P B
ใหนักเรียนลองสรางดวยตนเองกอน จากนั้นครูสาธิตการสรางตามขั้นตอนและใหนักเรียน
ทําตามไปพรอมกัน
7. ครูยกตัวอยางการนําความรูเกี่ยวกับการสรางเสนตั้งฉากไปใชในกิจกรรมตาง ๆ เชน การหา
ระยะหางระหวางจุดกับเสนตรง การหาสวนสูงของรูปสามเหลี่ยม การสรางรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ในการทําแบบฝกหัด 4.2 ค ขอ 1 นักเรียนจะพบวา สวนสูงของรูปสามเหลี่ยมทั้งสามเสน
ตัดกันที่จุดจุดหนึ่ง ดังรูป
118

Q R

สําหรับแบบฝกหัด 4.2 ค ขอ 2 นักเรียนอาจมีปญหาในการสรางสวนสูงของรูปสามเหลี่ยม


ABC ซึ่งเปนรูปสามเหลี่ยมมุมปาน ครูควรแนะนําใหสรางสวนสูงจากจุด A มายังฐาน BC โดยตอ
BC จะได AD ตั้งฉากกับ BC ที่จุด D และสรางสวนสูงจากจุด B มายังฐาน AC โดยตอ AC จะ
ได BE ตั้งฉาก AC ที่จุด E ดังรูป
A

B D
C

ครูแนะนําใหนกั เรียนสรางรูปสามเหลีย่ มใดๆ ขึน้ ใหมเอง และสรางสวนสูงทัง้ สามเสน สังเกตผล


ที่เกิดขึ้นทั้งจากผลงานของตนเองและของเพื่อน ๆ
ครูใชคําถามกระตุนเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ ดังนี้
119

สวนสูงหรือสวนตอของสวนสูงของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ จะตัดกันที่จุดจุดหนึ่งเสมอ และจุดนี้


เรียกวา จุดออรโทเซนเตอร (orthocentre) จากรูป O เปนจุดออรโทเซนเตอร
แบบฝกหัด 4.2 ค ขอ 3 และขอ 9 เปนโจทยที่กําหนดระยะหางระหวางจุดกับสวนของเสนตรง
และมาตราสวนมาให ครูควรแนะนําใหนกั เรียนลอกรูปจากหนังสือเรียนลงในสมุดโดยใชสนั ตรง และ
วงเวียนกอน แลวจึงแสดงวิธีสรางและหาคําตอบ
แบบฝกหัด 4.2 ค ขอ 6 เสนแบงครึง่ และตัง้ ฉากกับดานแตละดานของรูปสามเหลีย่ ม DEF เสน
ทัง้ สามนีจ้ ะตัดกันทีจ่ ดุ จุดหนึง่ ครูอาจแนะนําชือ่ เรียกของจุดตัดนีว้ า ศูนยกลางวงลอม (circumcentre)

O
E F

จากรูปจุด O เปนศูนยกลางวงลอม
หมายเหตุ ในกรณีที่เ สนตรงหรือสวนของเสนตรงสามเสนขึ้นไปมาตัดกันหรือพบกันที่จุด จุด หนึ่ง
โดยทั่วไปจะเรียกจุดนี้วา จุดจวบ
สําหรับแบบฝกหัด 4.2 ค ขอ 10 นักเรียนอาจมีแนวคิดในการสรางสะพานโดยลาก AB
แลวหาจุดกึ่งกลางของ AB ดังรูป

A E Y

X D B
120

นักเรียนอาจสรางเสนตั้งฉากจากจุด C มายัง BX ที่จุด D แลวตอ DC ไปตัด AY ที่จุด E


หรือสรางเสนตั้งฉากจากจุด C มายัง AY ที่จุด E แลวตอ EC ไปตัด BX ที่จุด D ก็ได ในชั้นนี้
นักเรียนอาจจะยังใหเหตุผลไมไดวา AE = BD เพราะตองใชสมบัติของความเทากันทุกประการของ
รูปสามเหลี่ยม ใหครูยอมรับวิธีสรางและใหใชวงเวียนตรวจสอบความยาว
8. ครูอาจนําความรูเ กีย่ วกับเสนตัง้ ฉากหาสวนสูงของสิง่ ตาง ๆ ในชีวติ จริง เชน หาวามะพราว
ที่มีลําตนเอียงมียอดสูงจากพื้นดินเทาไร

9. ครูอาจใชกจิ กรรมเสนอแนะ 4.2 เพิม่ เติมเพือ่ ใหเห็นการนําสมบัตทิ างเรขาคณิตทีเ่ กีย่ วกับ จุดจวบ
ของเสนแบงครึ่งมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมไปใชในการแกปญหา

4.3 การสรางรูปเรขาคณิตอยางงาย (5 ชั่วโมง)


จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. สรางรูปเรขาคณิตอยางงายโดยใชการสรางพื้นฐานได
2. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิตได

เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 4.3

ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการสรางมุมที่มีขนาดตาง ๆ เชน มุมที่มีขนาดเทากับ 150o ทําไดหลายแบบ ครูควร
ให นั ก เรี ย นเลือ กวิธีส รา งเอง อาจใช 150o = 120 o + 30 o หรื อ 150 o = 90 o + 60 o หรือ
150 o = 180 o – 30 o
2. ในแบบฝกหัด 4.3 ก และ 4.3 ข มีโจทยหลายขอที่กําหนดความยาวของสวนของเสนตรง
เปนเซนติเมตรมาให ใหครูตกลงกับนักเรียนวาในกรณีเชนนี้ใหเขียนรังสีแลวใชวงเวียนรัศมีเทากับ
121

ความยาวที่โจทยกําหนด เขียนสวนโคงตัดรังสีดังรูป

4 เซนติเมตร

A C B

สําหรับโจทยที่ตองการใหนักเรียนอธิบายเหตุผลประกอบ ในชั้นนี้ตองการคําอธิบายงาย ๆ ที่มี


การอางอิงสมบัติทางเรขาคณิตและความรูพื้นฐาน ที่นักเรียนเรียนมาแลวในระดับประถมศึกษา ซึ่ง
บางครั้งอาจบอกเหตุผลโดยใชผลการวัดขนาดของดานหรือขนาดของมุมที่กําหนดใหมาใชประกอบ
การอางดวย
สําหรับแบบฝกหัด 4.3 ก ขอ 7 นักเรียนอาจอธิบายวารูปที่สรางขึ้นเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสโดย
ใชบทนิยามที่วา รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปนรูปที่มีดานทั้งสี่ยาวเทากัน ขนาดของมุมภายในแตละมุมเปน
มุมฉาก หรืออาจอธิบายโดยใชสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่กลาวถึงเสนทแยงมุมวา เสนทแยงมุมทั้ง
สองเสนของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะแบงครึ่งและตั้งฉากซึ่งกันและกันก็ได
3. ในการทําแบบฝกหัด 4.3 ก ขอ 8 ครูอาจแนะนําวิธีสรางอีกวิธีหนึ่งดังนี้

C B

D A
O

E F

1) สรางวงกลมที่มีจุด O เปนจุดศูนยกลางและมีรัศมียาวเทากับ OA
2) ใช A เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากับ OA เขียนสวนโคงตัดเสนรอบวงที่จุด B
3) ใช B เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากับ OA เขียนสวนโคงตัดเสนรอบวงที่จุด C
4) ดําเนินการเชนเดียวกับขอ 3) เขียนสวนโคงตัดเสนรอบวงที่จุด D, E และ F
5) ลาก AB, BC, CD, DE , EF และ FA จะได ABCDEF เปน รูป หกเหลี่ยม
ดานเทามุมเทาตามตองการ ดังรูป
C B

D A
O

E F
122

นั ก เรี ย นแต ล ะคนอาจมี แ นวคิ ด ในการสร า งที่ แ ตกต า งกั น ครู ค วรสนั บ สนุ น อย า งยิ่ ง
4. ในการจัดกิจกรรมเกีย่ วกับการสรางเสนขนาน ครูควรทบทวนความรูพ นื้ ฐานเกีย่ วกับสมบัติ
ของเส น ขนานก อ นและครู อ าจใชคํา ถามกระตุน ใหนัก เรีย นหาแนวทางที่จ ะนําไปสูก ารหาคําตอบ
เชน
1) ถาเราสราง CD ใหผานจุด P โดยคะเนดวยสายตาใหขนานกับ AB เราจะตรวจสอบ
ไดอยางไรวา CD ขนานกับ AB

A B

2) ถา CD ขนานกับ AB เมื่อลาก AP จะไดมุมคูใดที่มีขนาดเทากัน

C P D

A B

3) ถาเราตองการสรางให CD ขนานกับ AB จะทําไดอยางไร



จากการตอบคําถามขอ 3) นักเรียนควรไดแนวคิดวา ควรลาก AP และสรางให B A P

และ A P C เปนมุมแยงและมีขนาดเทากัน จากนั้นลาก CD ผานจุด P
5. ในการทําแบบฝกหัด 4.3 ข ขอ 6 สําหรับรูป ข การสรางรูปขยายคอนขางยากสําหรับ
นักเรียนทั่วไป ครูอาจเลือกใหนักเรียนทําตามความเหมาะสมได
ในแบบฝกหัดขอ 7 การใหเหตุผลเพื่อสรุปวา AB ขนานกับ CD อาจมีนักเรียนใชสมบัติ
การถายทอดของการขนานกัน ซึ่งก็ยอมรับได แตครูควรอธิบายเพิ่มเติมใหเห็นการนําสมบัติของมุม
ตรงขามที่เกิดจากเสนตรงสองเสนตัดกัน และสมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับขนาดของมุมแยงที่เทากันมา
ใชในการใหเหตุผลดวย
สําหรับแบบฝกหัดขอ 9 นักเรียนอาจบอกความเกี่ยวของโดยวิธีตรวจสอบความยาวของ
ดานและขนาดของมุมดวยวงเวียน แตสําหรับนักเรียนที่มีความสามารถสูงอาจใหบอกความเกี่ยวของ
ของดานหรือมุมของรูปสามเหลี่ยมโดยอธิบายเหตุผลประกอบดวย
123

6. ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 4.3 เพิ่มเติมเพื่อสงเสริมความสามารถในการแกปญหาและ


ความคิดริเริ่มสรางสรรค

คําตอบแบบฝกหัด
คําตอบแบบฝกหัด 4.1
1.
1) จุด D 2) เสนตรง PQ
3) มุม RST 4) สวนของเสนตรง EF
5) รังสี XY 6) มุมกลับ DEF
2. AB, AC และ BC เปนเสนตรงเดียวกัน เพราะวาจุด A, B และ C อยูบนเสนตรงเดียวกันและ
เสนตรงมีความยาวไมจํากัดและไมมีจุดปลาย จะเรียกชื่อเสนตรงนี้วา AB หรือ AC หรือ BC ก็ได
3. ไมเปนรังสีเดียวกันทุกเสน AB และ AC เปนรังสีเดียวกัน เพราะมี A เปนจุดปลายจุดเดียวกัน
และมีทิศทางเดียวกัน แต AC และ BC ไมเปนรังสีเดียวกันเพราะมีจุดปลายตางกัน AC มี A
เปนจุดปลายแต BC มี B เปนจุดปลาย
4. บอกไมได เพราะเราสามารถเขียนรังสีที่มี A เปนจุดปลาย ไปไดทุกทิศทาง จึงมีรังสีจํานวนไม
จํากัดที่มีจุด A เปนจุดปลาย เชน

A
D B

5. สวนของเสนตรงสั้นที่สุด

6. เนื่องจากแขนของมุมเปนรังสี เราจึงสามารถตอแขนของ A BC ออกไปไดไมสิ้นสุด เมื่อตอแขน
∧ ∧
ของมุมออกไปจะไดจุด Q เปนจุดภายใน A BC จุด P และจุด R เปนจุดภายนอก A BC
∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧
7. B A C , C A D , B A D , มุมกลับ B A C , มุมกลับ C A D และมุมกลับ B A D
8.
∧ ∧
1) P A B และ C A Q
∧ ∧ ∧
2) B A C , A C B และ C B A
∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧
3) P A Q , Q A B , B A C , C A P , มุมกลับ P A Q , มุมกลับ Q A B , มุมกลับ B A C และ

มุมกลับ C A P
124

9. a = d
10. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
∆ DEF เปนรูปสามเหลี่ยมดานไมเทา
∆ PQR เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา
11.
1) ประมาณ 11,000 เมตร หรือ 11 กิโลเมตร
แนวคิด อาจเขียนรังสีและวัดความยาวของระยะทางแตละชวง เขียนความยาวตอกันบน
รังสีแลววัดความยาวครั้งเดียว ดังนี้

11 เซนติเมตร

ระยะทางตามแผนที่ยาวประมาณ 11 เซนติเมตร เทากับ 11 × 1000 เมตร หรือ 11 กิโลเมตร


2) 9,500 เมตร หรือ 9.5 กิโลเมตร
แนวคิด หาระยะหางทางตรงของสองหมูบานโดยใชวงเวียนวัดความยาว

9.5 เซนติเมตร

จะไดระยะหางเทากับ 9.5 × 1000 เมตร หรือ 9.5 กิโลเมตร

12. การตรวจสอบวาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเทากันโดยใชวงเวียน


ตรวจสอบทําไดดังนี้

D H B
K

E
G
F
A C

สราง AB ตัดกับ CD ที่จุด E


125

1) ใช E เปนจุดศูนยกลาง รัศมี EK ที่ยาวพอสมควร เขียนสวนโคงวงกลมตัด AB ที่จุด


F และ H ตามลําดับ และตัด CD ที่จุด G และ K ตามลําดับ
2) ตรวจสอบโดยใชวงเวียนจะไดรัศมี FK ยาวเทากับ รัศมี GH และรัศมี FG ยาว เทา
กับรัศมี KH แสดงวาขนาดของมุมตรงขามแตละคูเทากัน
∧ ∧
นั่นคือ m(A E C) = m(B E D)
∧ ∧
และ m(A E D) = m(B E C)
13.
1) 30o 2) 120 o
3) 180o 4) 210 o
5) 270o 6) 300 o

คําตอบแบบฝกหัด 4.2 ก

1. กําหนด
สราง a

A a a B

จากการสราง จะได AB ยาวเทากับ 2a

2. กําหนด a และ
b
สราง
A a b B
จากการสราง จะได AB ยาวเทากับ a + b

สราง a
P R b Q

จากการสราง จะได PR ยาวเทากับ a – b


(สราง PQ ใหยาวเทากับ a แลวใช Q เปนจุดศูนยกลางรัศมียาวเทากับ b เขียนสวนโคงตัด PQ
ที่ R)
126

3. กําหนด
a b c
สราง
C

a b

A c B

4. กําหนด
a b b
สราง A 2 2

b b

B a C
จากการสราง ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว

5. สราง
A
C
a b หรือ a a
2
A a B B C
b
2
127

6.
1) กําหนด a

สราง

2a 3a

a a a a

2) ไมได เพราะวาถาสรางฐานของรูปสามเหลีย่ มยาวเทากับ 3a และความยาวของดานอีก


สองดานเทากับ a และ 2a ผลบวกของความยาวของสองดานนี้จะเปน a + 2a = 3a
พอดีจึงไดรูปเปนสวนของเสนตรงสองเสนที่ยาวเทากันและทับกันสนิท ดังรูป

3a
A 2a B
a

7.

A E C F B

จากการสราง จะได AE = EC = CF = FB
128

8.
1) 2 สวน 4 สวน 8 สวน 16 สวน … มีแบบรูปเปน 21, 22, 23, 24, … ซึง่ จะแบงได
ตามแบบรูปนีไ้ ปเรือ่ ย ๆ กลาวคือในกรณีทวั่ ไปจะแบงได 2n สวน เมือ่ n แทนจํานวน
ครัง้ ของการแบง
2) แบงไมได เพราะการแบงเปน 3 สวน 5 สวน หรือ 6 สวนไมไดเกิดจากการแบงครึง่
ของสวนของเสนตรงแตละสวน กลาวอีกอยางหนึง่ คือ จํานวนสวนแบงทีก่ าํ หนดไม
สามารถเขียนใหอยูในรูป 2n เมื่อ n เปนจํานวนนับ
9. เขาควรขุดบอตรงจุดกึง่ กลางของระยะหางระหวางบานของเสรีและบานของสันติ จะไดบา นอยู
หางจากบอน้ําประมาณ 17.50 เมตร
แนวคิด ใหจุด A และ B แทนตําแหนงบานของเสรีและสันติตามลําดับ

เสรี
A
O สันติ
B

มาตราสวน 1:500

หาตําแหนงของบอน้ําโดยการแบงครึ่ง AB
จากการสรางจะไดจุด O เปนตําแหนงของบอน้ํา
บานของเสรีและสันติอยูห า งจากบอน้าํ 3.5 × 500 = 1750 เซนติเมตรหรือเทากับ 17.50 เมตร
10. การแบงครึง่ สวนของเสนตรงทีม่ คี วามยาวมาก ๆ สามารถทําไดโดยใชวงเวียนรัศมียาวเทากันแบง
สวนของเสนตรงจากจุดปลายทั้งสองเขามาหาจุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรงนี้ จนกวาจะเหลือ
สวนของเสนตรงที่มีความยาวสั้นพอที่จะใชการแบงครึ่งสวนของเสนตรงเพื่อหาจุดกึ่งกลางได
ดังตัวอยาง

A C D B
129

จากรูป ใชวงเวียนรัศมียาวเทากันแบงสวนของเสนตรงจากจุดปลาย A และ B ใหจํานวนครั้งที่


แบงจากปลายทั้งสองเทากันจนไดจุด C และจุด D แลวใชการแบงครึ่ง CD จะได O เปนจุดกึ่งกลาง
AB

คําตอบแบบฝกหัด 4.2 ข
1. กําหนด

สราง
A

B C

จากการสราง จะได A BC มีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให

2. กําหนด

C
สราง

B A
130


จากการสราง จะไดมุมกลับ A BC มีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให

3. กําหนด A

B C
สราง
R

P Q
∧ ∧
จากการสราง จะได R P Q มีขนาดเทากับสองเทาของขนาดของ A BC ที่กําหนดให

4. กําหนด

P
M

Q O
R N
สราง

C
D

A
B
131

∧ ∧ ∧ ∧
จากการสราง C A B และ D A B ใหมีขนาดเทากับขนาดของ P Q R และขนาดของ M O N ตาม
∧ ∧ ∧
ลําดับจะได C A D มีขนาดเทากับผลตางของขนาดของ P Q R และขนาดของ M O N ที่กําหนด
∧ ∧ ∧
ให หรือ m(C A D) = m(C A B) – m(D A B)


5. สราง A BC มีขนาดนอยกวา 180o

A
D

B C
B


1) จากการสราง BD เปนเสนแบงครึ่ง A BC
2) จากการสราง BE เปนเสนแบงครึ่งมุมกลับ ABC
3) จะได BD และ BE ซึ่งเปนเสนแบงครึ่งมุมในขอ 1) และ 2) ตอเปนเสนตรงเดียวกัน
[เนื่องจาก m(D B A) + m(A B E) = 12 m(C B A) + 12 m (มุมกลับ A BC)
∧ ∧ ∧ ∧

= 12 { m(C B A) + m (มุมกลับ A BC) }


∧ ∧

= 12 (360o)
= 180 o
ดังนั้น BD และ BE ตอเปนเสนตรงเดียวกัน (ดูรายละเอียดจากเรื่องนารู หนา 99 ใน
หนังสือเรียน)]

6. กําหนด
X

Y
Z
132

สราง E
C D
F

A B
∧ ∧
จากการสราง จะได C A B มีขนาดเทากับขนาดของ X Y Z

AD แบงครึ่ง C A B

AE แบงครึ่ง C A D

และ AF แบงครึ่ง D A B
∧ ∧ ∧ ∧
ดังนั้น m(C A E) = m(E A D) = m(D A F) = m(F A B)

1) ไมสามารถแบง X Y Z ออกเปน 3 มุม 5 มุม หรือ 6 มุมได

2) โดยอาศัยการแบงครึ่งมุม เราสามารถแบง X Y Z ออกเปนมุมที่มีขนาดเทากัน 2 มุม
4 มุม 8 มุม 16 มุม … ซึ่งมีแบบรูปเปน 21, 22, 23, 24, … เมื่อแบงตามแบบรูปนี้
ไปเรื่อย ๆ จะแบงได 2n มุม เมื่อ n แทนจํานวนครั้งของการแบง
7. กําหนด
a

R Z

P Q Y X
สราง C

A a B
133

∧ ∧
จากการสราง จะได ∆ ABC มี AB = a m(A BC) = m(P Q R)
∧ ∧
และ m(B A C) = m(X Y Z)

8. สราง
X R

P Q S

∧ ∧
จากการสราง จะได QX แบงครึ่ง P Q R และ QY แบงครึ่ง R QS
∧ ∧
1) m(P Q R) + m(R QS) = 180o

2) 12 (180 o) = 90 o
∧ ∧
3) จะได m(X Q Y) = 90 เพราะวา m(X Q Y) = m(P Q R) +2 m(R QS)
∧ o ∧

คําตอบแบบฝกหัด 4.2 ค

1.
P
B
A

Q R
C

จากการสราง QA, RB และ PC เปนเสนตั้งฉากกับ PR , PQ และ QR ตามลําดับ จะได QA ,


RB และ PC เปนสวนสูงของ ∆ PQR
134

2. A จากการสราง AR, BP และ CQ เปนเสนตั้งฉาก


กับสวนตอของ BC , AC และตั้งฉากกับ AB
ตามลําดับ จะได AR , BP และ CQ เปนสวนสูง
Q ของ ∆ ABC
R
B C
P

3. A จากการสราง AY ตั้งฉากกับ BC ที่จุด X จะได


AX แทนระยะหางระหวางบานกับถนนจากการวัด
B ได AX = 2.7 เซนติเมตร ดังนั้นระยะหางระหวาง
X บานกับถนนเทากับ 2.7 × 500 = 1350 เซนติเมตร
หรือ 13.50 เมตร
C

Y มาตราสวน 1 : 500
4.
C

A O B

D
1) การสราง CD แบงครึ่ง AB ที่จุด O
∧ ∧ ∧ ∧
2) จากการใชวงเวียนวัดขนาดของ A O C และ B O C จะพบวา m(A O C) = m(B O C)
3) CD ตั้งฉาก AB ที่จุด O
∧ ∧
เพราะวา m(A O C) + m(B O C) = 180o (ขนาดของมุมตรง)
∧ ∧
และจากขอ 2) m(A O C) = m(B O C)
ดังนั้น m(A O C) = m(B O C) = 12 (180 o) = 90o
∧ ∧
135

5.
C

A O B

1) จากการสราง CD แบงครึ่งและตั้งฉากกับ AB ที่จุด O


2) ให P เปนจุดใด ๆ บน CD จะได
PA = PB (ใชวงเวียนตรวจสอบความยาวของ PA และ PB )

6. X D
R
P

E S F
Y

จากการสราง จะได PQ , RS และ XY แบงครึ่งและตั้งฉากกับ EF , DF และ DE


ตามลําดับ
136

7. A
D
F

B C

จากการสราง จะได PD , PE และ PF เปนเสนตั้งฉากที่ลากจากจุด P ไปยัง AB , BC


และ AC ตามลําดับ

8. กําหนด

a b

สราง
C

A b B


จากการสราง ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากมี B A C เปนมุมฉาก AC และ AB ยาว
เทากับ a และ b ตามลําดับ
137

9. A จากการสราง AY ตั้งฉากกับ BC ที่จุด X จะได


AX แทนเสนทางที่ตองการหา AX แทนระยะที่
สั้ น ที่ สุ ด ระหว า งตํ า แหน ง ที่ ก วางยื น อยู กั บ ลํา ธาร
C ริมทุง จากการวัดได AX = 2.7 เซนติเมตร
X
ดังนั้นระยะหางระหวางตําแหนงที่กวางยืนกับลําธาร
B เทากับ 2.7 × 1000 = 2700 เซนติเมตร หรือ 27 เมตร
Y

มาตราสวน 1 : 1000

10. วิธีหาตําแหนงของสะพานที่จะสรางทําไดโดยสราง AX ตั้งฉากกับ BM ที่จุด X และสราง BY


ตั้งฉากกับ AN ที่จุด Y จะได AXBY เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

A R Y N

แมน้ํา
X S
M B

เนื่องจาก AY ขนานกับ XB และ AY = XB เมื่อสราง RS แบงครึ่ง AY จะได RS เปน


เสนตั้งฉากกับ AY และ BX ดวย
ดังนั้นตําแหนงของสะพานที่ตองการสรางจะอยูที่จุด R และ S ซึ่งเปนกึ่งกลางของ AY และ
BX ตามลําดับ
138

คําตอบแบบฝกหัด 4.3 ก
1.
1) สรางมุมที่มีขนาดเทากับ 30o แนวการสราง

A (1) สราง A BC ใหมีขนาดเทากับ 60o

(2) สราง BD แบงครึ่ง A BC จะได
D ∧ ∧
A B D และ D BC และมีขนาดเทากับ
30 o
30o
30o
B C
2) สรางมุมที่มีขนาดเทากับ 120o แนวการสราง

(1) สราง A BC ใหมีขนาดเทากับ 60o
C D ∧
(2) สราง C B D ใหมีขนาดเทากับ 60o

จะได A B D มีขนาดเทากับผลบวก

60o ของขนาดของ A BC กับขนาดของ

60o C B D ซึ่งเทากับ 60 o + 60 o = 120 o
A B

3) สรางมุมที่มีขนาดเทากับ 150 o
E
D

150 o 30 o
A B C

แนวการสราง

(1) สรางมุม A BC ใหมีขนาดเทากับ 180 o

(2) สราง C B E ใหมีขนาดเทากับ 60 o
∧ ∧
สราง BD แบงครึ่ง C B E จะได C B D มีขนาดเทากับ 30 o

จะได A B D มีขนาดเทากับ 180 o – 30 o = 150 o
139

4) สรางมุมที่มีขนาดเทากับ 22 12 o

C
D

A B

แนวการสราง

(1) สราง C A B ใหมีขนาดเทากับ 90 o
∧ ∧
(2) สราง AD แบงครึ่ง C A B จะได D A B มีขนาดเทากับ 45 o

(3) สราง AE แบงครึ่ง D A B
จะได D A E และ E A B แตละมุมมีขนาดเทากับ 22 12 o
∧ ∧

2.
1) สราง

4.5 ซม.

90o
A 6 ซม. B
140

สราง

5 ซม. 12 ซม.

A B

3. สราง
D 5 ซม. C

5 ซม. 5 ซม.

90o 90o
A 5 ซม. B

หรือ
D 5 ซม. C

5 ซม. 5 ซม.

90o
A 5 ซม. B
141

4.
D C

45 o 45o
A B
∆ AOB เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วและเปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากดวย เพราะวา
∧ ∧
1) m(D A B) = m(A BC) = 90o
∧ ∧
2) AO แบงครึ่ง D A B และ BO แบงครึ่ง A BC

3) m(O A B) = m(O B A) = 902 = 45 o

4) นั่นคือ ∆ AOB เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (มุมที่ฐานมีขนาดเทากัน)


∧ ∧ ∧
5) m(A O B) + m(O A B) + m(O B A) = 180 o
(ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยมเทากับสองมุมฉาก)

6) m(A O B) + 45 o + 45 o = 180 o

7) ดังนั้น m(A O B) = 90 o
8) นั่นคือ ∆ AOB เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

a
5. กําหนด

สราง

45 o 45 o
A a B

จากแนวการสรางของขอ 4 จะได ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มีฐาน AB ยาวเทากับ



a และมุมยอด A C B มีขนาดเทากับ 90 o
142

6. สราง

o
C
90

3.5 ซม.
60o o 60o
45 45o
A 5 ซม. B

∧ ∧ ∧
จากการสราง จะได D A B และ A BC มีขนาดเทากับ 60 o + 45 o = 105 o D C B มีขนาด
เทากับ 90o AB ยาว 5 เซนติเมตรและ BC ยาว 3.5 เซนติเมตร

7.

X
C

A O B

D
Y

แนวการสราง
1)
(1) ลากเสนผานศูนยกลาง AB
(2) สราง XY ตั้งฉากกับ AB ที่จุด O และตัดวงกลมที่จุด C และจุด D จะได
∧ ∧ ∧ ∧
m(A O C) = m(C O B) = m(B O D) = m(D O A) = 90 o
143

2) ลาก AC , CB , BD และ AD จะได ACBD เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพราะวา


จากการใชวงเวียนตรวจสอบความยาวของดานทั้งสี่ของ ACBD พบวา AC = CB = BD = AD
∧ ∧
และใชวงเวียนตรวจสอบขนาดของมุมภายในทั้งสี่ข อง ACBD พบวา m(A C B) = m(C B D)
∧ ∧
= m(B D A) = m(D A C)
เนื่องจากผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ เทากับ 360 o
∧ ∧ ∧ ∧
ดังนั้น m(A C B) = m(C B D) = m(B D A) = m(D A C) = 90 o
นัน่ คือ ACBD เปนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั เพราะมีดา นทัง้ สีย่ าวเทากันและขนาดของมุมภายใน
แตละมุมเทากับ 90 o

8.

E
F
o
60o o60 60oo D
A 60 O o60
60
C
B

แนวการสราง
แบงมุมทีจ่ ดุ ศูนยกลางของวงกลมออกเปน 6 สวนทีม่ ขี นาดเทากัน แตละมุมจะมีขนาดเทากับ 60 o
จะไดรูป ABCDEF เปนรูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทา

9.
C
B
D
o o
45
o 45 o
45 45o
E 45oO o 45 A
45 45o
H
F
G
144

แนวการสราง
แบงมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมออกเปน 8 สวนที่มีขนาดเทากัน แตละมุมจะมีขนาดเทากับ
45 o
จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา

คําตอบแบบฝกหัด 4.3 ข
1.

B D

C
แนวการสราง
∧ ∧
สราง BC A และ C A D ใหเปนมุมแยงที่มีขนาดเทากัน
จะได AD เปนแนวถนนที่ขนานกับแนวคลองชลประทาน BC

2. กําหนด

D
E F

3 ซม.

A B
แนวการสราง
1) สราง AB
2) สราง AD ตั้งฉากกับ AB ที่จุด A และให AD ยาว 3 เซนติเมตร
3) ที่จุด D สราง EF ตั้งฉากกับ AD
จะได EF ขนานกับ AB และอยูหางจาก AB เทากับ 3 เซนติเมตร
145

3. สราง X
D 5 ซม. C
Y E
3 ซม. 3 ซม.
60o
A 5 ซม. B
แนวการสราง
1) สราง AB ยาว 5 เซนติเมตร

2) สราง X A B ใหมีขนาดเทากับ 60o
3) ตัด AX ที่จุด D ให AD = 3 เซนติเมตร
∧ ∧
4) สราง EY ใหขนานกับ AB และผานจุด D โดยสราง A D Y และ X A B ใหเปน
มุมแยงที่มีขนาดเทากัน
5) ตัด DE ที่จุด C ให DC = 5 เซนติเมตร
6) ลาก BC
จะได ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนานที่ตองการ
อาจสรางอีกวิธีหนึ่งดังนี้

สราง P

D 5 ซม. C

3 ซม. 3 ซม.
60o
A 5 ซม. B
แนวการสราง
1) สราง AB ยาว 5 เซนติเมตร

2) สราง P A B ใหมีขนาดเทากับ 60o
3) ตัด AP ที่จุด D ให AD = 3 เซนติเมตร
4) ใช B และ D เปนจุดศูนยกลางรัศมียาวเทากับ 3 เซนติเมตร และ 5 เซนติเมตร
ตามลําดับเขียนสวนโคงใหตัดกันที่จุด C
5) ลาก BC และ DC
จะได ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
146

4. แนวคิด 180 o – 45 o = 135o


สราง

P
D 4 ซม. C

4 ซม. 4 ซม.

A 4 ซม. B


วิธีสรางในทํานองเดียวกันกับขอ 3 โดยสราง D A B ใหมีขนาดเทากับ 135o และสราง
AB = AD = DC = BC = 4 เซนติเมตร
จะได ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนตามตองการ

5. สราง

D 6 ซม. C

4 ซม. 4 ซม.

A 6 ซม. B

วิธีสรางในทํานองเดียวกันกับขอ 3 และขอ 4
จะได ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาตามตองการ
147

6. ก.
6.1 กําหนด ∆ PQR
P

a a

Q b R

a a

สราง

2a 2a

B b b C

จากการสราง จะได ∆ ABC มีดานแตละดานยาวเปนสองเทาของความยาวของแตละดาน


ของรูป ∆ PQR
148

6. ข.
6.1 กําหนด

A a B
ให AB ยาว a หนวย

สราง S R

2a 2a

V F G Z

2a 2a

X E H Y

2a 2a

P Q
2a
149

∧ ∧
1) สราง PQRS เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยให m(S P Q) = m(R Q P) = 90o มี PQ
และ RS ยาวเทากับ 2a หนวย PS และ QR ยาวเทากับ 6a หนวย
2) สราง PE = EF = FS = 2a หนวย และสราง QH = HG = GR = 2a หนวย
3) ลาก EH และ FG
4) สราง EX = HY = 2a หนวย และสราง FV = GZ = 2a หนวย
5) ลาก XV และ YZ
จะไดรูป P Q H Y Z G R S F V X E เปนรูปที่มีแตละดานยาวเปนสองเทาของแตละดาน
ของรูป ข ที่กําหนดให

6.2 กําหนด ∆ PQR


P

a a

Q b R

สราง

a a b b
2 2 2 2

X
A
a a
2 2
B b C Y
2
∧ ∧
1) สราง X B Y ใหมีขนาดเทากับขนาดของ P Q R
2) สราง BA และ BC ใหยาวเทากับ 2a และ 2b ตามลําดับ
3) ลาก AC
150

จากการตรวจสอบโดยใชวงเวียนได AC ยาวเทากับ 2a
จะได ∆ ABC มีดา นแตละดานยาวเปนครึง่ หนึง่ ของความยาวของดานแตละดานของ ∆ PQR
หรืออาจสรางดังนี้

a P
2
A a
a
2
Q B R
b b
2 2

1) แบงครึ่ง PQ และ RQ ที่จุด A และ B ตามลําดับ จะได AQ = 2a และ BQ = 2b


2) ลาก AB
จากการตรวจสอบโดยใชวงเวียนได AB ยาวเทากับ 2a
จะได ∆ AQB มีดานแตละดานยาวเปนครึ่งหนึ่งของความยาวของแตละดานของ ∆
PQR 6.2

A C B
a a
2 2

ให AB ยาว a หนวย สราง AC ใหยาวเทากับครึง่ หนึง่ ของ AB จากรูป AC = 2a หนวย


สราง
151

วิธีสรางทํานองเดียวกันกับการสรางรูป P Q H Y Z G R S F V X E ในขอ 6.1 ขางตน แตให


ความยาวของแตละดานยาวเทากับ 2a หนวย

7. กําหนด

E F

สราง

A B

C R D

E F

1) AB ขนานกับ EF
2) CD ขนานกับ EF
3) AB จะขนานกับ CD เพราะวา
∧ ∧
m(A B E) = m(B E F) จากการสราง
∧ ∧
m(B E F) = m(C R E) จากการสราง
∧ ∧
จะได m(A B E) = m(C R E) สมบัติของการเทากัน
∧ ∧
แต m(C R E) = m(B R D) เสนตรงสองเสนตัดกันขนาดของมุมตรงขามยอมเทากัน
∧ ∧
ดังนั้น m(A B E) = m(B R D) สมบัติของการเทากัน
นัน่ คือ AB ขนานกับ CD ถาเสนตรงเสนหนึง่ ตัดเสนตรงอีกคูห นึง่ ทําใหมมุ แยงมี
ขนาดเทากันแลว เสนตรงคูนั้นจะขนานกัน

8. กําหนด

A B
152

สราง G E F
C D

A B

1) สราง CD ขนานกับ AB
2) สราง ∆ AEB, ∆ AFB และ ∆ AGB โดยใหมีจุดยอด E, F และ G อยูบน CD
3) ∆ AEB, ∆ AFB และ ∆ AGB มีสวนสูงยาวเทากัน เพราะวา ถาเสนตรงสองเสน
ขนานกันแลว ระยะหางระหวางเสนทั้งสองจะยาวเทากัน
4) พื้นที่ของ ∆ AEB, ∆ AFB และ ∆ AGB จะเทากันทั้งหมด เพราะวาแตละรูปมีฐานยาว
เทากันและสวนสูงยาวเทากัน

9. กําหนด ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมใด ๆ

C
D
F
I

A E B

1) สรางจุด E เปนจุดกึ่งกลางของ AB
2) สราง EF ขนานกับ BC ให EF ตัดกับ AC ที่ F
3) จะได AF = CF ตรวจสอบไดดวยการใชวงเวียนวัดความยาวของ AF และ CF
153

4) จากการตรวจสอบโดยใชวงเวียนจะได AI เปนสวนสูงของ ∆ AEF และยาวเปนครึ่ง


หนึ่งของ AD ซึ่งเปนสวนสูงของ ∆ ABC (AI = 12 ของ AD)
5) จากการตรวจสอบโดยใชวงเวียนจะไดฐาน EF ของ ∆ AEF ยาวเปนครึ่งหนึ่งของฐาน
BC ของ ∆ ABC (EF = 12 ของ BC)
6) พื้นที่ของ ∆ AEF = 1 × AI × EF
2
2 × (2 AD ) × (2 BC)
= 1 1 1
= 1 × 1 × 1 × AD × BC
2 2 2
= 1 (1 × AD × BC)
4 2
จะไดพื้นที่ของ ∆ AEF เทากับ 14 ของพื้นที่ของ ∆ ABC
154

กิจกรรมเสนอแนะ
155

กิจกรรมเสนอแนะ 4.1 ก

นับจํานวนเสนตรง

กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสรางเสริมประสบการณเกี่ยวกับสมบัติของจุดและเสนตรง ฝกให
นักเรียนคุนเคยกับการคนหาแบบรูปจากการสังเกตและสืบเสาะ สามารถบอกจํานวนเสนตรงที่ลากผาน
จุดครั้งละสองจุด เมื่อกําหนดจุดหลาย ๆ จุดให

สื่อการเรียนรู
ใบกิจกรรม “นับจํานวนเสนตรง”

แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนกําหนดตําแหนงของจุดสองจุด ใหนักเรียนลากเสนตรงผานจุดสองจุด และ
นับจํานวนเสนตรง
2. ครูใหนักเรียนกําหนดตําแหนงของจุดสามจุด โดยไมมีจุดสามจุดใดอยูบนเสนตรงเดียวกัน
ใหนักเรียนลากเสนตรงผานจุดครั้งละสองจุด และนับจํานวนเสนตรง
3. ครูแจกใบกิจกรรม “นับจํานวนเสนตรง” ใหนกั เรียนปฏิบตั แิ ละบันทึกผลทีเ่ กิดขึน้ สําหรับ
การปฏิบัติกิจกรรมตอนที่ 2 ครูอาจแนะนําใหนักเรียนหาคําตอบโดยอาศัยการสังเกตแบบรูปของจํานวน
เสนตรงที่เพิ่มขึ้นเมื่อกําหนดจํานวนจุดเพิ่มขึ้น ดังตาราง

จํานวน จํานวน จํานวนเสนตรง


ขอที่ รูปที่สราง
จุด เสนตรง ที่เพิ่มขึ้น

1 2 1

2 3 3 2
(1 + 2)
156

จํานวน จํานวน จํานวนเสนตรง


ขอที่ รูปที่สราง
จุด เสนตรง ที่เพิ่มขึ้น

3 4 6 3
(1 + 2 + 3)

4 5 10 4
(1 + 2 + 3 + 4)

จากการสังเกตแบบรูปของจํานวนเสนตรงในตาราง นักเรียนควรหาจํานวนเสนตรงที่ลากผาน
จุดครั้งละสองจุดในกิจกรรมตอนที่ 2 ไดเปน 15, 21 และ 28 เสน เมื่อกําหนดจํานวนจุดทั้งหมดเปน
6, 7 และ 8 จุดตามลําดับ

หมายเหตุ จากกิจกรรมนี้สามารถสรุปความสัมพันธระหวางจํานวนจุดกับจํานวนเสนตรงที่ลากผาน
สองจุดใด ๆ ในกรณีทั่วไปไดดังนี้
“เมือ่ กําหนดจุดใด ๆ ให n จุด โดยทีไ่ มมสี ามจุดใด ๆ อยูบนเสนตรงเดียวกันจะสามารถ
ลากสวนของเสนตรงเชื่อมจุดเหลานี้ไดทั้งหมด n(n 2− 1) เสน”
ในชั้นนี้ยังไมตองการใหนักเรียนเขียนสูตรแสดงจํานวนเสนตรงเปนกรณีทั่วไป นักเรียน
จะไดศึกษากรณีทั่วไปของเรื่องนี้อีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่มีความรูเกี่ยวกับพหุนามแลว
157

นับจํานวนเสนตรง

ตอนที่ 1
ใหนักเรียนลากเสนตรงผานจุดครั้งละสองจุด แลวบันทึกจํานวนเสนตรง

จํานวนเสนตรงที่
ขอที่ จํานวนจุด รูปที่สราง จํานวนเสนตรง
เพิ่มขึ้น

1 2 1

2 3

3 4

4 5
158

ขอที่ จํานวนจุด จํานวนเสนตรง จํานวนเสนตรงที่เพิ่มขึ้น

5 6

6 7

7 8

ตอนที่ 2
ถากําหนดจํานวนจุดเปน 6, 7 และ 8 จุด โดยไมมีจุด สามจุดใดอยูบนเสนตรงเดียวกัน
นักเรียนสามารถหาจํานวนเสนตรงที่ลากผานจุดเหลานี้ ครั้งละสองจุดโดยไมตองสรางรูปไดหรือไม
และมีวิธีหาอยางไร
…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………………………………….
…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………………………………….
…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………………………………….
…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………………………………….
…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………………………………….
…………..…………..…………..…………..…………..…………..…………………………………….
159

กิจกรรมเสนอแนะ 4.1 ข

นับจํานวนจุดตัด

กิจกรรมนีม้ จี ดุ มุง หมายเพือ่ สรางเสริมประสบการณเกีย่ วกับสมบัตขิ องจุดและเสนตรง ฝกให


นักเรียนคุนเคยกับการคนหาแบบรูปจากการสังเกตและสืบเสาะ สามารถบอกจํานวนจุดตัดของ
เสนตรงเมื่อกําหนดเสนตรงหลาย ๆ เสนให

สื่อการเรียนรู
ใบกิจกรรม “นับจํานวนจุดตัด”

แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนเขียนเสนตรงสองเสนตัดกันแลวใหบอกจํานวนจุดตัด
2. ครูใหนักเรียนเขียนเสนตรงสามเสนตัดกัน (ไมมีเสนตรงคูใดขนานกัน) แลวใหนับจํานวน
จุดตัด

3. จากนั้นครูแจกใบกิจกรรม “นับจํานวนจุดตัด” ใหนักเรียนปฏิบัติและบันทึกผลที่เกิดขึ้น


สําหรับการปฏิบัติกิจกรรมตอนที่ 2 ครูอาจแนะนําใหนักเรียนหาคําตอบโดยอาศัยการสังเกตแบบรูป
ของจํานวนจุดตัดที่เพิ่มขึ้นเมื่อกําหนดจํานวนเสนตรงเพิ่มขึ้นดังตาราง
160

จํานวนจุดตัดที่
ขอที่ จํานวนเสนตรง รูปที่สราง จํานวนจุดตัด
เพิ่มขึ้น

1 2 1

2 3 3 2
(1 + 2)

3 4 6 3
(1 + 2 + 3)

4 5 10 4
(1 + 2 + 3 + 4)

จากการสังเกตแบบรูปของจํานวนจุดตัดในตาราง นักเรียนควรจะสามารถหาจํานวนจุดตัดของ
เสนตรง 6, 7 และ 8 เสนในกิจกรรมตอนที่ 2 ไดวามีจํานวนเทากับ 15, 21 และ 28 จุดตามลําดับ

หมายเหตุ จากกิจกรรมนีส้ ามารถสรุปความสัมพันธระหวางจํานวนเสนตรงกับจํานวนจุดตัดทีเ่ กิดจาก


เสนตรงตัดกันในกรณีทั่วไปไดดังนี้
“เมือ่ กําหนดเสนตรงใด ๆ ให n เสน โดยทีไ่ มมเี สนตรงคูใ ดขนานกันและไมมเี สนตรงสามเสน
ใดๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียวกัน จะสามารถลากเสนตรงตัดกันไดทั้งหมด n(n 2− 1) จุด”
ในชัน้ นีย้ งั ไมตอ งการใหนกั เรียนเขียนสูตรแสดงจํานวนจุดตัดเปนกรณีทวั่ ไป นักเรียนจะได
ศึกษากรณีทั่วไปของเรื่องนี้อีกครั้ง หลังจากที่มีความรูเกี่ยวกับพหุนามแลว
161

นับจํานวนจุดตัด
ตอนที่ 1

ใหนักเรียนเขียนเสนตรงโดยใหเสนตรงสองเสนใด ๆ ตองตัดกันเสมอแลวบันทึกจํานวนจุดตัด

จํานวนจุดตัดที่
ขอที่ จํานวนเสนตรง รูปที่สราง จํานวนจุดตัด
เพิ่มขึ้น

1 2 1

2 3 3 2

3 4

4 5

ตอนที่ 2
ถากําหนดจํานวนเสนตรงเปน 6, 7 และ 8 เสน โดยทีไ่ มมเี สนตรงคูใ ดขนานกัน และไมมเี สนตรง
สามเสนใด ๆ ตัดกันที่จุดจุดเดียวกัน จงหาจํานวนจุดตัดที่เกิดขึ้นทั้งหมด
…………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….
162

กิจกรรมเสนอแนะ 4.2

กิจกรรมสรางสวนสนุก

กิจกรรมนี้มีจุดมุงหมายเพื่อสรางเสริมประสบการณเกี่ยวกับการแบงครึ่งมุมใหเห็นวาทุกจุดบน
เสนแบงครึ่งมุมจะอยูหางจากแขนมุมทั้งสองเปนระยะเทากันเสมอ และใหเห็นสมบัติเกี่ยวกับการพบกัน
ของเสนแบงครึ่งมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรูโดยการสังเกต สืบเสาะและหา
ขอสรุปจากการลงมือปฏิบัติดวยการพับกระดาษและสามารถนําความรูไปใชแกปญหาได

สื่อการเรียนรู
กระดาษรูปสามเหลี่ยมใด ๆ สําหรับแจกนักเรียนคนละสองรูป

แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนเลือกใชรูปสามเหลี่ยมหนึ่งรูปและเลือกพับมุมหนึ่งมุมใหเกิดรอยพับเปนเสน
แบงครึ่งมุมมุมนั้น นักเรียนมีวิธีพับอยางไร
2. ใหนกั เรียนกําหนดจุดจุดหนึง่ บนรอยพับทีเ่ ปนเสนแบงครึง่ มุม สมมติใหเปนจุด O จากจุด O
ใหนกั เรียนหาวิธกี ารพับใหเกิดรอยพับเปนเสนตัง้ ฉากกับแขนของมุมทัง้ สอง จากนัน้ ใหนกั เรียนตรวจสอบ
ดูวาระยะจากจุด O ถึงแขนมุมทัง้ สองเทากันหรือไม อาจใชการพับกระดาษหรือใชการวัดตรวจสอบ
ความยาวก็ได
ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปผลการตรวจสอบ ซึ่งควรจะไดขอสรุปวา “จุดใดๆ บนเสนแบง
ครึ่งมุมจะอยูหางจากแขนของมุมทั้งสองเปนระยะเทากัน ”
3. ครูใหนกั เรียนใชกระดาษรูปสามเหลีย่ มมุมแหลม พับกระดาษเพือ่ หารอยพับทีเ่ ปนเสนแบงครึง่
มุมทัง้ สามของรูปสามเหลีย่ มรูปนี้ ใหนกั เรียนสังเกตวารอยพับทัง้ สามตัดกันทีจ่ ดุ เดียวกันหรือไม นักเรียน
ควรบอกไดวา “เสนแบงครึง่ มุมทัง้ สามของรูปสามเหลีย่ มพบกันทีจ่ ดุ จุดหนึง่ ภายในรูปสามเหลีย่ มนัน้ ”
A

O
B C
163

ครูแนะนําเพิ่มเติมวา จุดดังกลาวนี้มีชื่อเรียกโดยทั่ว ๆ ไปวา “จุดจวบ” จากรูป O เปน


จุดจวบซึ่งเกิดจากจุดตัดของเสนแบงครึ่งมุมทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม ABC

4. ใหนักเรียนใชการพับกระดาษหาระยะจากจุด O ถึงดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม จากนั้น


ครูใชคําถามกระตุนใหนักเรียนวิเคราะหและหาเหตุผลวาระยะจากจุด O ถึงดานทั้งสามของรูป
สามเหลี่ยมเกี่ยวของกันอยางไร ซึ่งนักเรียนควรสรุปไดวา เทากัน และอาจใหเหตุผลดังนี้
A
E
F
O

B D C

ในรูปสามเหลี่ยม ABC มี AO , BO และ CO เปนเสนแบงครึ่งมุมทั้งสามมุมของรูป


สามเหลี่ยมตัดกันที่ O OD , OE และ OF ตั้งฉากกับ BC , AC และ AB ตามลําดับ
ใชผลสรุปที่ไดในขอ 2 อธิบายดังนี้
เนื่องจาก OE เปนระยะที่ O อยูหางจาก AC
OF เปนระยะที่ O อยูหางจาก AB
และ OE = OF
ทํานองเดียวกัน OD = OE
และ OD = OF
นั่นคือ OD = OE = OF
ดังนั้นจุด O อยูหางจากดานทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม ABC เปนระยะเทากัน
5. ครูนําเสนอปญหา “สรางสวนสนุก” เพื่อใหนักเรียนเห็นแบบจําลองทางเรขาคณิตในการ
นําความรูเกี่ยวกับ จุดจวบ ขางตนไปใชแกปญหาดังนี้
164

หมูบานดอนหวาย ไรขิง และศาลายา มีถนนสายตรงเชื่อมระหวางหมูบานทั้งสามดังรูป

ดอนหวาย

ไรขิง ศาลายา

คณะกรรมการของหมูบานทั้งสามตกลงใจที่จะสรางสวนสนุกใหอยูหางจากถนนทั้งสามสายเปน
ระยะทางเทากัน จงหาตําแหนงที่จะสรางสวนสนุก

เมื่อนักเรียนไดตําแหนงที่จะสรางสวนสนุกแลว ครูควรใชคําถามกระตุนใหนักเรียนหาวา
ถาตองการสรางถนนเล็ก ๆ จากสวนสนุกไปยังถนนใหญทเี่ ชือ่ มหมูบ า นแตละสายโดยใหมรี ะยะทางสัน้ ที่
สุดจะสรางอยางไร นักเรียนควรบอกไดวา “แนวของถนนเล็กจากสวนสนุกจะตองตั้งฉากกับถนนใหญ
แตละสาย”

การสรางเสนขนานโดยใชสมบัติของรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน

กิ จ กรรมนี้ มี จุ ด มุ ง หมายให นั ก เรี ย นสามารถสร า งเส น ขนานโดยใช ส มบั ติ ข องรู ป สี่ เ หลี่ ย ม
ขนมเปยกปูน
165

แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูแสดงการสรางเสนตรงผานจุด P และใหขนานกับ AB ดังนี้

กําหนด
P

A B
การสราง
P D

A C B
1) ใช A เปนจุดศูนยกลางรัศมียาวเทากับ AP เขียนสวนโคงตัด AB ที่จุด C
2) ใช P และ C เปนจุดศูนยกลางรัศมียาวเทาเดิมเขียนสวนโคงตัดกันที่จุด D
3) ลาก PD จะได PD ขนานกับ AB
2. ครู อ ธิ บ ายเหตุ ผ ลให นั ก เรี ย นทราบว า การสร า งวิ ธี นี้ มี แ นวคิ ด จากการใช ส มบั ติ ข องรู ป
สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนที่กลาววา “รูปสี่เหลี่ยมเปยกปูนเปนรูปที่มีดานทั้งสี่ยาวเทากัน” ดังรูป

P D

A C B
166

จากการสราง AP = AC = CD = DP
สําหรับการใหเหตุผลวา PD ขนานกับ AB อาจพิจารณาดังนี้
จากการแบงประเภทของรูปสี่เหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนเปนรูปหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยม
ดานขนาน ดังนั้น ACDP จะมีดานตรงขามขนานกัน
นั่นคือ PD ขนานกับ AB
ถานักเรียนมีความรูเกี่ยวกับสมบัติของความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมแลว เมื่อ
∧ ∧
ลาก PC จะสรุปไดวา ∆ APC ≅ ∆ DCP (ด.ด.ด) และ ได A C P กับ D P C เปนมุมแยงที่มีขนาด
เทากัน
ดังนั้น PD ขนานกับ AB
3. ครูอาจใชคําถามใหนักเรียนคิดหาวิธีสรางเสนขนานดวยวิธีอื่น ๆ อีก เชน สรางโดยอาศัย
สมบัติของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน
167

คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน
นางยุพิน พิพิธกุล ขาราชการบํานาญ
นางจารุนี สูตะบุตร ขาราชการบํานาญ
นางอารียา สุวรรณคํา ขาราชการบํานาญ
นางเจริญศรี จันไพบูลย ขาราชการบํานาญ
นางสาวจันทรเพ็ญ ชุมคช ขาราชการบํานาญ
นายสมพล เล็กสกุล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
นายปรีชา เนาวเย็นผล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นางสาวสาคร บุญดาว มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นางสาวอุษาวดี จันทรสนธิ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
นายสมนึก บุญพาไสว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
นางปยรัตน จาตุรันตบุตร สถาบันราชภัฏสวนดุสิต
นางจรรยา ภูอุดม โรงเรียนดอนเมืองจาตุรจินดา
นางสาวจารุวรรณ แสงทอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวปานทอง กุลนาถศิริ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางชุลีพร สุภธีระ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางชมัยพร ตั้งตน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวรจนา รัตนานิคม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาววันดี ตีระสหกุล สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวปยวรรณ ทะเลรัตน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
นางสาวปญญาทิพย กระเปาทอง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คณะบรรณาธิการ
นางยุพิน พิพิธกุล นางปยรัตน จาตุรันตบุตร
นางจารุนี สูตะบุตร นางสาวปานทอง กุลนาถศิริ
นายสมพล เล็กสกุล นางชุลีพร สุภธีระ

ผูจัดพิมพตนฉบับ
นางสาวเสาวนีย ประมูลทรัพย
นางสาวระภีพรรณ โคกแกว

You might also like