You are on page 1of 61

1

บทที่ 1 บทนำ


ทีมำและควำมส ำคญ
ั ของโครงงำน

การเดินทางในแต่ละวันนั้น

ทุกคนย่อมจะอยากรู ้ว่าระยะทางทีจะต ่
้องเดินมีระยะเท่าใดก่อนทีจะเดิ
นทางจริง
่ นผ่านมาแล ้วมีระยะทางทังหมดเท่
หรือ ระยะทางทีเดิ ้ าไร

หากเป็ นสถานทียอดนิ ่ ผูค้ นนิ ยมไปจานวนมาก เช่น ภูกระดึง ภูสอยดาว
ยมทีมี
ฯลฯ ก็มก ่ อนข ้างจะถูกต ้องอยู่แล ้ว
ั จะมีข ้อมูลระยะทางทีค่

ซึงอาจจะเป็ ่ ารวจโดยหน่ วยงานทีร่ ับผิดชอบพืนที
นข ้อมูลทีส ้ นั่ ้นๆ


แต่หากเป็ นสถานทีแปลกๆ ่ ค่อยมีผูค้ นนิ ยมไปหรือ
ทีไม่
่ นอน
ยังไม่เคยได ้ร ับการสารวจระยะทางทีแน่

การทีเราจะทราบระยะทางที ่ นอนก็คอ
แน่ ่ อในก
่ นข ้างจะยากหากเราไม่มเี ครืองมื
้ ้
ารวัดระยะทาง แต่เราก็สามารถคานวณหรือคาดเดาระยะทางเหล่านี ได

ี ารคาดเดาระยะทางนั้นพอจะแบ่งได ้ออกเป็ น 5 วิธ ี แต่ละวิธก


โดยวิธก ี ็จะมีข ้อดี
ข ้อเสีย และความแม่นยาต่างกันออกไป

ี ง่่ี ายทีสุ
1.การคาดคะเนจากการก ้าวเดิน เป็ นวิธท ่ ด

สามารถทาได ้โดยการนับก ้าวทีเราเดิ ่
นไป แล ้วนาจานวนก ้าวทีเราเดิ

่ านวณออกเป็ นระยะทาง
ไปคานวณกับระยะในแต่ละก ้าวของเรา เพือค
วิธน ้
ี ี หากใครเคยเรี
ยนลูกเสือ หรือรกั ษาดินแดน

คงจะคุ ้นเคยกับการคาดเดาระยะทางจากวิธน ้ นบ ้าง ซึงข


ี ี กั ่ ้อดีของวิธน ้ คอ
ี ี ก็ ื ง่าย
ประหยัด แต่ก็มข ้ั หากเป็ นระยะทางไกลๆ
ี ้อเสีย คือ เหมาะกับวัดระยะทางแค่สนๆ
่ ้าวแล ้ว
คงไม่มใี ครมานับว่าตัวเองได ้ก ้าวเท ้าไปกีก
2

้ งขึนอยู
และนอกจากนี ยั ้ ่กบ ้ ่ เพราะ
ั สภาพของพืนที
้ ต่
พืนที ่ างระดับกันระยะการก ้าวเท ้าก็จะไม่เท่ากันด ้วย

่ บก ้าวเพือวั
2.การใช ้เครืองนั ่ ดระยะทางการเดิน การใช ้เครืองนั
่ บก ้าวหรือ

Pedometers จะใช ้หลักการเดียวกับการก ้าวเดิน


่ อเข ้ามาช่วยในการนับก ้าว เช่น
เพียงแต่เราจะใช ้เครืองมื
ิ าทีวั่ ดระยะทางได ้โดยใช ้วัดความสันสะเทื
นาฬก ่ อนจากการก ้าวเดิน เป็ นต ้น

และข ้อเสียก็จะเหมือนกับวิธแี รก แต่จะมีความสะดวกมากกว่า คือ



ไม่ต ้องเสียเวลามานับเอง ซึงหากจ านวนก ้าวเท ้ามากอาจจะนับผิด
้ั ่
และอาจจะมีความผิดพลาด เพราะบางครงความสั
นสะเทื ่ ดขึน้
อนทีเกิ
อาจจะไม่ได ้เกิดจากการก ้าวท ้าวเดินก็เป็ นได ้

วิธน ้
ี ี เราจะต ้องใช ้ประสบการณ์การเดินทางมาก
่ ประสบการณ์การเดินทางมากจะสามารถประมาณได ้ว่าทางราบเราจะเดิ
คนทีมี

นทางได ้ระยะทางเท่าไร หรือทางชนั จะเดินทางได ้ระยะทางเท่าไร


่ นกับสภาพพืนที
โดยจะนาเวลาทีเดิ ้ มา่ เปรียบเทียบกับสถานทีอื
่ นๆ
่ ทีเคยไป


เช่น ไปภูกระดึงแล ้วแบกของเองสามารถเดินใช ้เวลา 4 ชัวโมง

ได ้ระยะทางประมาณ 3-4กิโลเมตร
่ าการอุทยาน)
(ระยะทางจะมีข ้อมูลอยู่แล ้วในเอกสารของอุทยานหรือทีท
่ มี
หากคุณไปดอยอืนที ่ ความชันพอๆกันแลว้ เดินได ้โดยใช ้เวลาใกล ้เคียง
่ นไปได ้อย่างคร่าวๆ
คุณก็จะสามารถประมาณระยะทางทีเดิ
โดยวิธน ้
ี ี เราจะต ้องใช ้ประสบการณ์ของตัวเราเองเท่านั้นไม่สามารถใช ้ประสบกา
3


รณ์ของคนอืนได ้ เพราะความเร็วในการเดินของแต่ละคนไม่เท่ากัน
บางคนอาจจะเคยได ้ยินว่าในหนึ่ งชัวโมง

จะเดินได ้ประมาณ 3-4 กิโลเมตร ในทางราบ


แต่เราอาจจะเดินได ้เร็วหรือช ้ากว่านั้นเราจึงไม่สามารถเอาข ้อมูลนี มาเป็
้ นมาตร
ฐานในการคาดเดาระยะทางได ้

แต่วธิ ก ้ ไม่ถก
ี ารใช ้ประสบการณ์นีก็ ู ต ้องแม่นยามากนัก
้ั ้นทางมีทงขึ
เพราะบางครงเส ้ั นและลง
้ ่
จนยากทีจะประมาณได ้

3.การใช ้แผนที่ วิธน ้


ี ี เราจะต ่ เชื
้องมีแผนทีที ่ อถื
่ อได ้

มีอต ่
ั ราส่วนทีละเอี
ยดพอและต ้องเดินทางโดยใช ้เข็มทิศ
่ นในแผนที่ เมือได
แล ้วลากเส ้นทางทีเราเดิ ่ ้เส ้นทางเดิน
เราก็จะสามารถวัดระยะทางได ้

ซึงหากเส ่
้นทางทีเราทาการลากถูกก็จะสามารถวัดระยะทางได ้โดยง่าย

แต่ความเป็ นจริง อาจจะมีการเดินหลงจนต ้องเดินยอ้ นไปมา



ซึงจะทาใหเ้ ส ้นทางไม่ถก
ู ต ้อง

เพราะเราไม่ได ้ลากเส ้นกลับไปหาระหว่างหาทางอยู่ด ้วย


ระยะทางทีวั่ ดได ้จึงอาจจะน้อยกว่าความเป็ นจริง

4.การใช ้อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิ กส ์



เราสามารถใช ้อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิ กส ์บางชนิ ดในการวัดระยะทางได ้ เช่น เครือง
Global Position System (GPS)

ซึงเราสามารถน ่
าข ้อมูลแผนทีโหลดเข ่
้าเครือง
่ นทางเครืองนี
พอเริมเดิ ่ ก็ ้ จะทาการพล็อตเสน้ ทางเดินพร ้อมทิศทางโดยจับสัญญ
4

่ ้อดีก็คอื ง่าย ความถูกต ้องแม่นยาสูง รวดเร็ว


าณจากดาวเทียม ซึงข

เมือเราเดิ ่ GPS
นจนสุดเส ้นทาง เราก็สามารถนาเครือง
่ งเส ้นทางทีเราเดิ
ต่อคอมพิวเตอร ์เพือดึ ่ นออกมา

พร ้อมทังสามารถคานวณระยะทางได ้โดยอัตโนมัติ

และในเครืองบางรุ
น ่ นสมัย
่ ทีทั

จะสามารถทาภาพตัดเพือแสดงความสู ่
งของเส ้นทางทีเราเดิ
นได ้อีกด ้วย
่ GPS ราคาจะมีตงแต่
แต่ข ้อเสียก็มเี ช่นกันคือ เครือง ้ั


หลักพันจนถึงหลายหมืนบาท
่ กเดินทางส่วนใหญ่ในบ ้านเรามักจะไม่คอ
ซึงนั ่
่ ยมีเครืองพวกนี ้ น
กั
เพราะการเดินทางของเรามักจะใช ้คนนาทางเป็ นหลัก

แต่หากเป็ นในต่างประเทศส่วนใหญ่จะไม่มค
ี นนาทาง

หากต ้องการเดินเส ้นทางไหนก็ไปซือแผนที
อั่ ตราส่วน 1:50,000

่ GPS เดินกันเองเลย
มาและใช ้เครือง


การสารวจแผนทีทะเลอย่ างถูกหลักวิชาการในน่ านน้าไทยเกิดขึนในสมั

ยใด ไม่มห ่ เซอร ์ จอห ์น เบาริง่


ี ลักฐานปรากฏแต่เมือ
่ นทูตจากอังกฤษได ้เข ้ามาทาสัญญาพระราชไมตรีกบ
ซึงเป็ ั ประเทศไทยในร ัชส
มัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล ้าเจ ้าอยู่หวั (ร ัชการที่ 4) เซอร ์ จอห ์น เบาริง่

เข ้ามาโดยเรือแรตเลอร ์ (Rattler) มาถึงปากน้าเมือวั


่ นอาทิตย ์ ขึน้ 7 ค่า เดือน

5 ร.ศ.74 จุลศักราช 1217 (ค.ศ.1855) ตรงกับวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2397


โดยเซอร ์จอห ์น เบาริง่ นาแผนทีเดิ
่ นเรือในอ่าวไทยของอังกฤษมาด ้วย

่ าหร ับเรือของเราคลาดเคลือนไม่
และได ้บันทึกไว ้ว่าแผนทีส ่ ตรงกับความจริง
5


ทาให ้เราพลาดจากร่องกลางทีตรงกั ้ ่าลงไปทางข ้างทิศใต ้
บสันดอน โดยเยืองต

เมือครง้ั ครอฟอร ์ด
ได ้มาเยือนประเทศไทยคราวก่อนก็พลาดกลางร่องไปทางข ้างทิศตะวันออก
่ ้น
แต่แผนทีนั
่ ถู
กระทรวงทหารเรืออังกฤษได ้ถือว่าเป็ นแผนทีที ่ กต ้องสามารถนามาใช ้ได ้ดี

และอาจจะเป็ นเพราะความคลาดเคลือนของแผนที ่

จากเหตุผลดังกล่าวนั้น
ทาใหค้ ณะผูจ้ ด ่ ดระยะทาง
ั ทาสนใจในการประดิษฐ ์เครืองวั

และคิดว่าควรจะมีการดัดแปลง
โดยมีจด ้ อน
ุ ประสงค ์สร ้างขึนเพื ่ าเครืองวั
่ ดระยะทางไปใช ้ได ้จริงและมีราคาทีไม่
่ สู

ง มีคณ ่ นยา
ุ ภาพในการวัดระยะทางทีแม่

ว ัตถุประสงค ์


1. ศึกษาว่าจะมีวธิ ใี ดบ ้างทีสามารถวั
ดระยะทางไกลๆได ้และสะดวก
ง่ายต่อการนาใช ้งาน
6

่ อทีสามารถวั
2. ประดิษฐ ์เครืองมื ่ ดระยะทางไกลๆได ้
่ อนั้นมาใช ้ได ้ใน
โดยสามารถนาเครืองมื

ชีวต ่ อนั้น ทุกๆคนสามารถซือหาได


ิ ประจาวันได ้ และเครืองมื ้ ่ แพง
้ในราคาทีไม่

3.
่ อทีประดิ
เครืองมื ่ ้
ษฐ ์ขึนสามารถวั ่
ดระยะทางได ้เทียงตรงซึ ่ คณ
งมี ุ ภาพเทียบเท่ากั
่ อวัดระยะทีมี
บเครืองมื ่ ราคาแพง

ขอบเขตของกำรศึกษำค้นคว้ำ

่ ขนาดเส ้นรอบวง 120 เซนติเมตร


สร ้างวงล ้อวัดระยะทางทีมี
่ ± 5 เซนติเมตร
และมีความคลาดเคลือน

สมมติฐำนของกำรศึกษำค้นคว้ำ

การวัดระยะทางโดยใช ้วงล ้อวัดระยะทาง

ใช ้เวลาน้อยกว่าการวัดระยะทางด ้วยตลับเมตร ขนาด 5 เมตรและ 10 เมตร

ี่
ประโยชน์ทคำดว่
ำจะได้ร ับ

่ อทีประดิ
1. เครืองมื ่ ้
ษฐ ์ขึนสามารถวั ่
ดระยะทางได ้เทียงตรง

นาไปใช ้งานได ้จริง

่ อทีวั่ ดได ้แต่ระยะทางทีสั


2. สามารถทดแทนเครืองมื ่ นๆ

่ สามารถวัดระยะทางไกลๆได ้
ซึงไม่

่ อนี สามารถน
3. เครืองมื ้ าไปใช ้ในชีวต
ิ ประจาวันของทุกๆคนได ้
้ ้ในราคาทีถู
และสามารถหาซือได ่ ก
7

ตำรำงกำรปฏิบต ่
ั งิ ำน โครงงำน New Product เรือง
ล้อวัดระยะทำง

วัน/เดือน/ปี
่ บต การปฏิบต
ั งิ าน
ทีปฏิ ั งิ าน


ศึกษาหาข ้อมูลเกียวกับหัวข ้อของโครงงาน
21
พฤษภาคม จากอินเทอร ์เน็ ตและเสนอหัวข ้อของโครงงาน
2556 กับคุณครู เนาวลักษณ์ สกุลจริยาพร
ถึง 17
มิถน
ุ ายน
2556

่ ลอ้ วัดระยะทาง
เสนอหัวข ้อโครงงาน เรือง
18
มิถน
ุ ายน กับคุณครู เนาวลักษณ์ สกุลจริยาพร
2556

ศึกษาข ้อมูลเกียวกั ่ ม
บโครงงานเพิมเติ

และขอคาปรึกษาเกียวกั บวิธก
ี ารดาเนิ นการ
19
มิถน
ุ ายน กับคุณครูชช ั วาล จันทรโชติ และ
คุณครูสุธธี ร ร ังสิมาหริวงศ ์
2556

สมาชิกในกลุ่มปรึกษาหารือกันเกียวกั่ บ
วัสดุอป ่ี ้องใช ้ในการดาเนิ นงาน
ุ กรณ์ทต
20
มิถน
ุ ายน กับคุณครูชช ั วาล จันทรโชติ และ
มอบหมายงานให ้กับแต่ละคนในสมาชิก
2556
8


สมาชิกในกลุ่มจดรายชือของอุ ปกรณ์ทาง
21 ่ ้องใช ้ในการปฏิบต ให ้คาแนะ
อิเล็กทรอนิ กส ์ทีต ั งิ าน
มิถน
ุ ายน
2556

เดินทางไปซืออุ้ ปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิ กส ์
22 ้ อพีวซ
ในย่านบ ้านหม้อ , ซือท่ ี ี และ
มิถน
ุ ายน ดาเนิ นการปฏิบต ั งิ านจริง คือ
2556 ทดสอบกระแสไฟฟ้ าของอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิ กส ์

วัน/เดือน/ปี
่ บต การปฏิบต
ั งิ าน
ทีปฏิ ั งิ าน

วัดระยะห่างของเส ้นรอบวง , นาเทปดามาติด


23 ่
ทีโครงล ้อ
มิถน
ุ ายน โดยเว ้นว่างไว ้เฉพาะในส่วนทีต่ ้องการและทดสอบกระแสไฟฟ้ าของ
2556 อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิ กส ์

วางแผนการต่อวงจร , ทดสอบกระแสไฟฟ้ า
24 ของตัวต ้านทาน , ตัดท่อพีวซ
ี ใี นขนาด
มิถน
ุ ายน ่ ้องการ และทารูปเล่มของโครงงาน
ทีต
2556

วางแผนการต่อวงจร , ทดสอบการต่อไฟฟ้ า
กระแสตรงระหว่างวงจรกับ 7 Segments ,
25 ่ี องสาหร ับใส่ 7 Segment ปุ่ มสวิตซ ์
เจาะรูทกล่
มิถน
ุ ายน ปุ่ มรีเซต , ทาบัญชีรายจ่ายของโครงงาน
2556 และทารูปเล่มของโครงงาน
9

่ี องสาหร ับใส่ตวั จ่ายไฟ ,


เจาะรูทกล่
26 ้ ์ไข่ปลา , ทารูปเล่มของโครงงาน
ตัดแผ่นปรินท
มิถน
ุ ายน และมีการประชุมกันภายในสมาชิกของกลุ่ม
2556

ทดสอบการต่อกระแสไฟฟ้ าของเซนเซอร ์
27 ่ อวงจรโดยการบัดกรี ,
แบบตัด , เริมต่
มิถน
ุ ายน ทารูปเล่มของโครงงาน และมีการ
2556 ประชุมกันภายในสมาชิกของกลุ่ม

วัน/เดือน/ปี
่ บต
ทีปฏิ ั งิ าน การปฏิบต
ั งิ าน หมายเหตุ

ต่อวงจรโดยการบัดกรี , ทดสอบการทางาน
ของวงจร , ตรวจสอบความเรียบร ้อยวงจร ,
28 ตัดท่อพีวซ ่ ้องการ , ทารูปเล่ม
ี ใี นขนาดทีต -
มิถน
ุ ายน ของโครงงาน , แจกแบบสอบถาม และมีการ
2556 ประชุมกันภายในสมาชิกของกลุ่ม

ทดสอบการทางานของวงจร , ตรวจสอบ
ความเรียบร ้อยวงจร ,
29 ่ แผ่นปรินท
นากล่องทีใส่ ้ ์ไข่ปลาไปผูกติดกับด ้ามจับของเครือง
่ -
มิถน
ุ ายน วัดระยะทาง ,ทดลองการใช ้งานจริงและ
2556 บันทึกผล , ทารูปเล่มของโครงงาน และ
มีการประชุมกันภายในสมาชิกของกลุ่ม
10

่ วงล้อวัดระยะทำง
ตำรำงบัญชีรำยจ่ำยโครงงำน New Product เรือง

อุปกรณ์ จานวน ราคา (บาท)


91 91
1
ตัวต ้านทาน วัตต ์
4
แบบ 1%
1
ตัวต ้านทาน วัตต ์
4 2 4
แบบ trimmer
7 Segment 4 48
Sensor แบบตัดผ่าน 1 20
LM 339 1 12
IC พร ้อม Socket (14 3 6
ขา)
2N222A 3 9
CD 4026 พร ้อม 4 64
Socket (16 ขา)
L7805 3 6
L7809 4 8
L7812 3 6
สวิตซ ์เปิ ด-ปิ ด 1 5
สวิตซ ์ Reset 1 14
11

ตัวต ้านทานเกือกมา้ 1 6
(trimmer)
P.DC ติดแท่น 1 15
P.DC 1 8
กล่อง PB 12 1 18
แผ่นปรินท ้ ์ไข่ปลา 1 20
Adabter 1 30
ท่อ P.V.C 1 28
ข ้อต่อท่อ P.V.C 1 10
รวม 428

บทที่ 2

ี่ ยวข้
เอกสำรและทฤษฎีทเกี ่ อง
ทฤษฎีของวงกลม

1. วงกลม (circle) คือ


่ ้อมรอบด ้วยเส ้นโค ้งทีมี
รูปแบบทีล ่ ระยะห่างจากจุดคงทีภายในจุ
่ ดหนึ่ งเป็ นระยะท
างเท่ากัน เรียกจุดนั้นว่า “ จุดศูนย ์กลาง ”

2. ส่วนประกอบของวงกลม
12

3. จุดศูนย ์กลางของวงกลม (central point of circle) คือ จุด O


4. ร ัศมี (radius) คือ ระยะจากจุดศูนย ์กลางไปเส ้นรอบวง คือ OE , OD,
OC

5. เส ้นผ่านศูนย ์กลาง (diameter) คือ



เส ้นทีลากจากเส ้นรอบวงด ้านหนึ่ งผ่านจุดศูนย ์กลางไปยังเส ้นรอบวงอีกด ้านหนึ่
ง คือ CD
22
การหาความยาวเส ้นรอบรูปจาก π = ≈ 3.14
7

่ r = ร ัศมี
สูตร เส ้นรอบวงกลม = 2πr เมือ
้ วงกลม
พืนที ่ = πr 2
้ วงแหวน𝜋𝑅
พืนที ่ 2 ่ R = ร ัศมีวงกลมใหญ่
- 𝜋𝑟 2 = π (𝑅 2 - 𝑟 2 ) เมือ

r = ร ัศมีวงกลมเล็ก
180(n – 2)
6. สูตรขนาดของมุมภายในแต่ละมุม = องศา
𝑛

ข้อมู ลอุปกรณ์ทำงอิเล็กทรอนิ กส ์

เซ็นเซอร ์ตรวจจับแบบใช้แสง ( Optical Sensor )


่ี
วัสดุทจะตรวจจะต ้องสะท ้อน ( reflect ) หรือดูดกลืน( absorb ) แสงได ้
่ ้ตรวจจับสูงสุด 100M ความเร็วในการตรวจจับ 1.5 kHz
ระยะทีใช
สามารถทนอุณหภูมถ ิ งึ 300 องศาเซลเซียส
สามารถตรวจจับวัตถุขนาดเล็ กและสามารถใช ้งานในบริเวณพืนที ้ อั
่ นตราย

หลักกำรทำงำนของสวิทซ ์ตรวจจับแบบใช้แสง (optical sensor)

่ แสง เช่น
เข ้มของแสงระหว่างผิวทีมี
้ วของตัวตรวจจับกับพืนผิ
ระหว่างพืนผิ ้ วของวัตถุทก
่ี าลังสะท ้อนแสงซึงแบ่
่ งได ้ 3 ชนิ ด
13

1. ตัวตรวจจับไฟฟ้ า - แสงแบบลาแสงตรง (through - beam optical


sensors) ประกอบดัวยตัวให ้
แสง (emitter) และตัวร ับแสง (receiver) แยกกันอิสระ

2. ตัวตรวจจับไฟฟ้ า - แสงแบบลาแสงสะท ้อนกลับ (reflex optical sensors)


ตัวส่งแสงและตัวร ับแสงจะวางอยู่บนตัวเดียวกัน

โดยจะอาศัยแผ่นสะท ้อนแสงพิเศษเพือสะท ้อนแสงกลับ
่ นสะท ้อนแบบปกติจะเป็ นแบบพืนส
ไปยังแหล่งกาเนิ ดแสงเดิมอย่างแม่นยาซึงแผ่ ้
ะท ้อนสามด ้าน

3. ตัวตรวจจับไฟฟ้ า - แสงแบบจับโดยตรง(direct detection optical


sensors) จะสามารถตรวจที่
่ ยน
วัตถุได ้โดยตรง โดยอาศัยระดับความเข ้มของแสงทีเปลี ่ แปลงเกิดขึน้ ณ
ตาแหน่ งทีต่ ้องการการตรวจด ้วยตัวตรวจจับเดียวกัน

ส่วนประกอบหลักของตวั ตรวจจับไฟฟ้ำ - แสง


มีสว ่ ำค ัญ คือ
่ นประกอบทีส
14

1. ตัวให ้แสง (emitter)


2. ตัวร ับแสง (receiver)
3. ตัวแปลงสัญญาณ (signal converter)
4. ตัวขยายสัญญาณ (amplifier)

ต ัวแสดงผล 7 ส่วน (7 Segment)



ตัวแสดงผล 7 ส่วน หรือทีเราเรี
ยกว่า 7 Segment
เป็ นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิ กส ์ประเภท Display เช่นเดียวกับไดโอดแปลงแสง
หรือ LED ตัว 7 Segment เองนั้นภายในก็คอ ื LED
่ ยกว่า Dot หรือจุด นั่นเอง) มาต่อกันเป็ นรูปตัวเลข
7ตัว(หรือ8ตัวโดยตัวที8เรี
8 นั้นเองคร ับ ดังนั้นการใช ้งาน 7 Segment จะเหมือนกับการใช ้งาน LED
นั้นเอง แต่ก็มค
ี วามแตกต่างกัน ดังนี ้

รูปแบบต่างๆ และ สัญลักษณ์


่ วส่วนแสดงผล 7 Segment จะมีชอก
ทีตั ่ื ากับอยู่ โดยจะไล่จาก A,B, C, D, E,
F, G และจุด เป็ นต ้น

แสดงตาแหน่ งส่วนแสดงผล A- G

กำรต่อ LED ภำยในตวั 7 Segment


15

7 Segment นั้นจะมีอยู่ 2 คอมมอนหลักๆ คือ แบบคอมมอน A


(anode) และแบบคอมมอนK (cathode)

รูป แสดงการนาเอา LED มาต่อกัน แบบคอมมอน K

รูป แสดงการนาเอา LED มาต่อกัน แบบคอมมอน A



การต่อแบบคอมมอน A เราจะใช ้ขัวลบ ่ A - G ส่วนไฟบวก
(-) ป้ อนให ้ทีขา
(+) จะมาป้ อนทีจุ่ ดรวมของขา A

การต่อแบบคอมมอน K เราจะใช ้ขัวบวก ่ี A - G ส่วนไฟลบ (-
(+) ป้ อนใหท้ ขา
) จะมาป้ อนทีจุ่ ดรวมของขา K

จากรูปจะเห็นว่าเป็ นการจาลองโดยการใช ้ LED มาต่อกัน 8 ตัว จะได ้เป็ นเลข


8 แทนการใช ้ 7 Segment ได ้
16

กำรดูสญ
ั ลักษณ์กำรต่อภำยใน 7 Segment

รูปดังกล่าวต่อไปนี จะแสดงการต่ อ LED ไวภ ่
้ ายใน ซึงจะมี ้ั
ทงคอมมอน A
และ K และแบบรวม โดยทีสั ่ ญลักษณ์ จะแสดงตาแหน่ งของขา LED ไว ้ให ้ด ้วย

่ 3 กับ 14 ส่วนขา 4,5,6,12 ไม่ได ้ใช ้


แสดง 1 หลัก คอมมอน A ทีขา

่ 3 กับ 8
แสดง 1 หลัก คอมมอน K ทีขา

่ 10(ตัวที1)
แสดง 2 หลัก คอมมอน K ทีขา ่ กับ 5(ตัวที่ 2)
17

่ 10(ตัวที1)
แสดง 2 หลัก คอมมอน A ทีขา ่ กับ 5(ตัวที่ 2)

่ 3(ตัวที1)
แสดง 4 หลัก คอมมอน K ทีขา ่ กับ 5(ตัวที่ 2) กับ 8(ตัวที3)
่ กับ
10(ตัวที่ 4)

กำรเลือกซือ้ 7 Segment
้ องบอกผู ข
มำใช้งำนนันต้ ้ ำยหรือคำนึ งถึงส่วนต่ำงๆด ังนี ้
่ ก นั่นก็คอ
1. จะใช ้แบบกีหลั ่ วต่อกัน
ื จะใช ้กีตั
่ ้องการใช ้กีขา
2. ขาทีต ่ เพราะ 7 Segment
้ั
จะมีทงแบบรวมขาและแยกขาตามที ่ ้กล่าวมาแล ้ว
ได
3. สีทต่ี ้องการ โดยเลือกได ้ตามใจชอบ
4. ต ้องการคอมมอนอะไร ซึงมี ่ ความสาคัญมาก
เพราะในการออกแบบต ้องระบุไปก่อนว่าจะออกแบบโดยใช ้ 7 Segment
แบบคอมมอนอะไร
5. ความสูงหรือขนาดนั่นเอง โดยปกติแล ้ว ตัว 7 Segment
จะบอกความสูงของตัวเลขเป็ นนิ ว้ เช่น 0.4" หรือ 0.56" เป็ นต ้น
แผ่นวงจรพิมพ ์ (Printed Circuit Board)

การประกอบวงจรทางอิเล็กทรอนิ กส ์
่ ยกกันทัวไปคื
ส่วนใหญ่จะประกอบบนแผ่นวงจรพิมพ ์ หรือ ทีเรี ่ ้ ์
อแผ่นปรินท
หรือ แผ่น PCB (Printed Circuit Board)
่ ้านหนึ่ งทีใส่
ซึงด ่ อปุ กรณ์จะเป็ นฉนวน และ อีกด ้านจะเป็ นแผ่นทองแดงบางๆ

จุดเด่นของการต่อเชือมวงจรด ้วยแผ่นวงจรพิมพ ์แทนการใช ้สายต่อ คือ
18

้ ่
อุปกรณ์จะถูกวางอย่างเป็ นระเบียบ และประหยัดพืนที
ลดความวุ่นวายจากการโยงสายทีซั ่ บซ ้อน

และสามารถทีจะผลิ
ตเป็ นอุตสาหกรรมได ้ด ้วย แผ่นวงจรพิมพ ์จะแบ่งออกเป็ น 2
ประเภทใหญ่ ๆ คือ แผ่นวงจรพิมพ ์แบบอเนกประสงค ์ และ แผ่นวงจรพิมพ ์เปล่า

แผ่นวงจรพิมพ ์แบบ อเนกประสงค ์ (Universal Board)



แผ่นวงจรพิมพ ์ประเภทนี โดยมากมั
กจะมีการวางลายทองแดงเป็ นเส ้น ๆ
และมีการเจาะรูไว ้แลว้ สามารถเสียบอุปกรณ์ลงไปได ้ทันที

แต่อาจต ้องมีการตัดลายทองแดง หรือเชือมต่ อด ้วยสายไฟในบางจุด
ส่วนใหญ่มก ่ ซบั ซ ้อนหรือมีอป
ั ใช ้กับการประกอบวงจรทีไม่ ่ี ว
ุ กรณ์ไม่กตั
โดยเราอาจจะแบ่งได ้ตามแนวเส ้นทองแดงด ้านหลังเป็ น 3 แบบคือ

1.1 ไอซีบอร ์ด (IC Board) จะมีการวางตาแหน่ งขาเป็ นแนว ๆ


แบบขาไอซี โดยระยะห่างระหว่างรูเจาะเท่ากับระยะห่างของขาไอซีพอดี
ั ษณะเป็ นแถบยาวต่อเนื่ องเป็ นระยะเท่าๆกัน ดังรูป 13.1
ส่วนลายทองแดงจะมีลก
สาหร ับการใช ้งานจาเป็ นต ้องมีการตัดลายทองแดงเป็ นบางส่วน

และเชือมต่ อด ้วยสายไฟในบางจุด
19

1.2 โปรโตบอร ์ด (Proto Board) จะมีลก ั ษณะของลายทองแดง



เหมือนกับแผ่นโปรโตบอร ์ดทีเราใช ้ต่อทดลองวงจร ดังรูป 13.2

1.3 แพดบอร ์ด (Pad


Board) ลักษณะของแผ่นวงจรพิมพ ์จะไม่มล ่
ี ายทองแดงเชือมต่ อ
แต่มเี พียงลายทองแดงเป็ นจุด ๆ เหมือนเป็ นหลักยึดอุปกรณ์ ดังรูปที่ 13.3

โดยการใช ้งานจะต ้องเชือมต่ อระหว่างสายระหว่างจุดดังกล่าวตามวงจร
20

เคำวน์เตอร ์ (Counter)

ในการคานวณและดิจต ิ อลอิเล็กทรอนิ กส ์ เคำวน์เตอร ์ คืออุปกรณ์เก็บ


้ั
จานวนครงของเหตุ การณ์บางอย่าง
้ั
บางครงเคาวน์
เตอร ์สามารถแสดงผลได ้ด ้วย Synchronous Counter

วงจรนับเลขฐานสองแบบเข ้าจังหวะขนาด 4 บิทโดยใช ้ JK ฟลิปฟลอป

แผนภาพเวลาของวงจรนับเลขฐานสองแบบเข ้าจังหวะขนาด 4 บิท


21

้ บจาก 0000,0001,...,1111
ตารางความจริง(truth table) วงจรนี จะนั
่ ้นใหม่ท่ี 0000
แล ้วกลับมาเริมต

Synchronous Counter (Parallel Counter)



เป็ นวงจรพืนฐานที ่ ยมใช ้กันมากในปจุบน
นิ ้ คอ
ั นี ก็ ื "วงจรนับ"
เนื่ องจากวงจรนับเป็ นส่วนหนึ่ งของวงจรทีมี
่ อยู่ทวไปมากมาย
่ั เช่น
วงจรวัดขนาดของสัญญาณ วงจรวัดความถี่ นาฬก ิ าดิจต
ิ อล
และวงจรต่างๆในโรงงานอุตสาหกรรม เป็ นต ้น วงจรนับจะมีอยู่สองแบบคือ
วงจรนับแบบไม่เข ้าจังหวะ (Asynchronous Counter) และ
วงจรนับแบบเข ้าจังหวะ (Synchronous Counter)
วงจรนับแบบเข้ำจงั หวะ (Synchronous Counter)
การทางานของฟลิปฟลอปทุกตัวจะเกิดขึนพร ้ ้อมกัน
และพร ้อมกับสัญญาณคล็อก ซึงจะท ่ าใหเ้ วลาหน่ วงของวงจรนับคงที่
้ ้งานกับความถีสู
ทาให ้วงจรนี ใช ่ งได ้ดี
่ ยมมากกว่าวงจรนับแบบไม่เข ้าจังหวะ แต่มข
จึงเป็ นทีนิ ี ้อเสีย คือ
วงจรนับแบบเข ้าจังหวะจะใช ้อุปกรณ์เกตมากขึน้
22


เงือนไขการเปลี ่
ยนสถานะของฟลิ
ปฟลอป คือ JK มีคา่ ลอจิกเป็ น 1
(Toggle state) และ Clk มีขอบ ขาลง ถ ้ายังไม่มี Clk ขอบขาลง
สถานะของ FF นั้นยังคงเดิม

 ่
FF-Q0 มีคา่ ลอจิกเป็ น 1 (Toggle state) จะเปลียนสถานะทุ ้ั ่ Clk
กครงที
มีขาลง
 ่ Q0 เป็ น 1 และมี Clk ขอบขาลงเกิดขึน้
FF-Q1 มีคา่ ลอจิกเป็ น 1 เมือ

Q1 จะเปลียนสถานะทั นที
 FF-Q2 มีคา่ ลอจิกเป็ น 1 เมือ่ Q0 และ Q1 เป็ น 1 และมี Clk
ขอบขาลงเกิดขึน้ Q2 จะเปลียนสถานะทั
่ นที
 FF-Q3 มีคา่ ลอจิกเป็ น 1 เมือ ่ Q0, Q1และ Q2 เป็ น 1 และมี Clk
ขอบขาลงเกิดขึน้ Q3 จะเปลียนสถานะทั
่ นที
ออปแอมป์ (Op - Amp )
Op - Amp (Operational Amplifier IC) คือ อุปกรณ์ทมี ่ี อน
ิ พุท
่ อต
เป็ นการขยายแบบดิฟเฟอเรนเซียลและมีเอาท ์พุทเดียว ซึงมี ั ราการขยายสูง
มีการนาไปใช ้ในวงจรต่าง ๆ ดังนี ้

1. Amplifier

2. Integrator

3. Differentiator

4. Voltage follower

5. Oscillator

6. Mathematical circuit ฯลฯ

OP - AMP

แต่ละเบอร ์ทีโรงงานผลิ ้
ตขึนมาจะมี
คณุ สมบัตบ
ิ างอย่างเฉพาะตัวตามคูม
่ อ
ื ของโ
รงงานผูผ้ ลิต เช่น High voltage gain , High current gain ,
Short - circuit protection , Low power consumption ,
Temparature stability
23

ออปแอมป์ ในปัจจุบน ่ ้มีการพัฒนาทีส


ั อยู่ในรูปแบบของ IC ซึงได ่ าคัญ
2 ประการ คือ

1) มีการนา FET มาแทน Bipolar Transistor โดยนา JFET


มาเป็ นส่วนอินพุต ทาให ้กินกระแสน้อย MOSFET มาเป็ นส่วนเอ ้าต ์พุต
ทาให ้มีการทางานได ้เร็วขึน้ และใช ้งานทีความถี
่ สู่ งขึนกว่
้ าเดิม

2) สามารถสร ้างออปแอมป์ 2 ตัว และ 4 ตัว ในตัวถังเดียวกัน

ต ัวต้ำนทำน (Resistor)
่ี ้ในการต ้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้ า
เป็ นอุปกรณ์ทใช
เพือท่ าให ้กระแสและแรงดันภายในวงจรได ้ขนาดตามทีต ่ ้องการ
เนื่ องจากอุปกรณ์ทางด ้านอิเล็ กทรอนิ กส ์แต่ละตัวถูกออกแบบให ้ใช ้แรงดันและ

กระแสทีแตกต่ างกัน
ดังนั้นตัวต ้านทานจึงเป็ นอุปกรณ์ทมี
่ี บทบาทและใช ้กันมากในงานด ้านไฟฟ้ าอิเ

ล็กทรอนิ กส ์ เช่น วิทยุ , โทรทัศน์ , คอมพิวเตอร ์ , เครืองขยายเสี ยง
ตลอดจนเครืองมื่ อเครืองใช
่ ้ทางด ้านไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิ กส ์ ฯลฯ เป็ นต ้น
สัญลักษณ์ของตัวต ้านทาน
่ ้ในการเขียนวงจรมีอยู่หลายแบบดังแสดงในรูปที่ 2.1
ทีใช

ชนิ ดของตวั ต้ำนทำน


่ ตออกมาในปัจจุบน
ตัวต ้านทานทีผลิ ั มีมากมายหลายชนิ ด
่ี งโดยยึดเอาค่าความ
ในกรณี ทแบ่
ต ้านทานเป็ นหลักจะแบ่งออกได ้เป็ น 3 ชนิ ดคือ

1. ตัวต ้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor)


2. ตัวต ้านทานแบบปร ับค่าได ้ (Adjustable Resistor)
24


3. ตัวต ้านทานแบบเปลียนค่
าได ้ (Variable Resistor

ต ัวต้ำนทำนแบบค่ำคงที่ (Fixed Resistor)


่ หลายประเภท
ตัวต ้านทานชนิ ดค่าคงทีมี

ในหนังสือเล่มนี จะขอกล่ ่ ความนิ ยม
าวประเภททีมี

ในการนามาประกอบใช ้ในวงจร ทางด ้านอิเล็กทรอนิ กส ์โดยทัวไป ดังนี ้

1. ตัวต ้านทานชนิ ดคาร ์บอนผสม (Carbon Composition)


2. ตัวต ้านทานแบบฟิ ล ์มโลหะ ( Metal Film)
3. ตัวต ้านทานแบบฟิ ล ์มคาร ์บอน ( Carbon Film)
4. ตัวต ้านทานแบบไวร ์วาวด ์ (Wire Wound)
5. ตัวต ้านทานแบบแผ่นฟิ ล ์มหนา ( Thick Film Network)
6. ตัวต ้านทานแบบแผ่นฟิ ล ์มบาง ( Thin Film Network)

1.1) ตวั ต้ำนทำนชนิ ดคำร ์บอนผสม (Carbon Composition)


เป็ นตัวต ้านทานทีนิ ่ ยมใช ้กันแพร่หลายมาก
มีราคาถูก โครงสร ้างทามาจากวัสดุทมี ่ี คุณสมบัตเิ ป็ นตัวต ้านทาน
ผสมกันระหว่างผงคาร ์บอนและผงของฉนวน
อัตราส่วนผสมของวัสดุทงสองชนิ ้ั ดนี ้ จะทาให ้ค่าความต ้านทานมีคา่ มากน้อย

เปลียนแปลงได ้ตามต ้องการ
บริเวณปลายทังสองด้ ้านของตัวต ้านทานต่อด ้วยลวดตัวนา
บริเวณด ้านนอกของตัวต ้านทานจะฉาบด ้วยฉนวน

1.2) ตวั ต้ำนทำนแบบฟิ ล ์มโลหะ (Metal Film)


25

ตัวต ้านทานแบบฟิ ล ์มโลหะทามาจากแผ่นฟิ ล ์มบางของแก ้วและโลหะหลอ



มเข ้าด ้วยกันแล ้วนาไปเคลือบทีเซรามิ ก ทาเป็ นรูปทรงกระบอก
่ อบออกใหไ้ ด ้ค่าความต ้านทานตามทีต
แล ้วตัดแผ่นฟิ ล ์มทีเคลื ่ ้องการ

ขันตอนสุ ดท ้ายจะทาการเคลือบด ้วยสารอีพอกซี (Epoxy)
ตัวต ้านทานชนิ ดนี มี้ คา่ ความผิดพลาดบวกลบ 0.1 % ถึงประมาณ บวกลบ 2%
่ อว่ามีคา่ ความผิดพลาดน้อยมาก
ซึงถื
นอกจากนี ยั ้ งทนต่อการเปลียนแปลงอุ
่ ณหภูมจิ ากภายนอกได ้ดี
สัญญาณรบกวนน้อยเมือเที ่ ยบกับตัวต ้านทานชนิ ดอืน
่ ๆ

1.3) ตวั ต้ำนทำนแบบฟิ ล ์มคำร ์บอน (Carbon Film)


ตัวต ้านทานแบบฟิ ล ์มคาร ์บอน

เป็ นตัวต ้านทานแบบค่าคงทีโดยการฉาบผงคาร ์บอน
ลงบนแท่งเซรามิกซึงเป็ ่ นฉนวน หลังจากทีท ่ าการเคลือบแล ้ว
จะตัดฟิ ล ์มเป็ นวงแหวนเหมือนเกลียวน๊อต
ในกรณี ทเคลื่ี อบฟิ ล ์มคาร ์บอนในปริมาณน้อย จะทาให ้ได ้ค่าความต ้านทานสูง
่ ล ์มคาร ์บอนในปริมาณมากขึน้ จะทาให ้ได ้ค่าความต ้านทานต่า
แต่ถ ้าเพิมฟิ
ตัวต ้านทานแบบฟิ ล ์มโลหะมีคา่ ความผิดพลาด บวกลบ 5% ถึงบวกลบ 20%

ทนกาลังวัตต ์ตังแต่ ้
1/8 วัตต ์ถึง 2 วัตต ์ มีคา่ ความต ้านทานตังแต่ 1 โอห ์ม ถึง
100 เมกกะโอห ์ม
26

1.4) ตวั ต้ำนทำนแบบไวร ์วำวด ์ (Wire Wound)


โครงสร ้างของตัวต ้านทานแบบนี เกิ ้ ดจากการใช ้ลวดพันลงบนเส ้นลวดแก
นเซรามิค หลังจากนั้นต่อลวดตัวนาด ้านหัวและท ้ายของเส ้นลวดทีพั ่ น
ส่วนค่าความต ้านทานขึนอยู้ ่กบ ่ ้ทาเป็ นลวดตัวนา
ั วัสดุ ทีใช
ขนาดเส ้นผ่าศูนย ์กลางของแกนเซรามิกและความยาวของลวดตัวนา

ขันตอนสุ ดท ้ายจะเคลือบด ้วยสารประเภทเซรามิก บริเวณรอบนอกอีกครงหนึ ้ั ่ ง
ค่าความต ้านทานของตัวต ้านทานแบบนี ้
จะมีคา่ ต่าเพราะต ้องการให ้มีกระแสไหลได ้สูง ทนความร ้อนได ้ดี
สามารถระบายความร ้อนโดยใช ้อากาศถ่ายเท

1.5) ตวั ต้ำนทำนแบบแผ่นฟิ ล ์มหนำ (Thick Film Network)


โครงสร ้างของตัวต ้านทานแบบนี ท ้ ามาจากแผ่นฟิ ล ์มหนา
มีรป
ู แบบแตกต่างกันขึนอยู้ ั การใช ้งาน ในรูปที่ 2.6
่กบ
แสดงตัวต ้านทานแบบแผ่นฟิ ล ์มหนาประเภทไร ้ขา (Chip Resistor)
ตัวต ้านทานแบบนี ต ้ ้องใช ้เทคโนโลยี SMT (Surface Mount Technology)
ในการผลิต มีอต ั ราทนกาลังประมาณ 0.063 วัตต ์ ถึง 500 วัตต ์
27


ค่าความคลาดเคลือนบวกลบ 1 % ถึง บวกลบ 5 % (จากหนังสือ Farnell II-
Semi Conductor and Passines หน้า 294-310 )

1.6) ตวั ต้ำนทำนแบบแผ่นฟิ ล ์มบำง (Thin Film Network)


โครงสร ้างของตัวต ้านทานแบบนี ท ้ ามาจากแผ่นฟิ ล ์มบาง มีลก
ั ษณะรูปร่
างเหมือนกับตัวไอซี (Integreate Circuit) ใช ้เทคโนโลยี SMT (Surface
Mount Technology)
ในการผลิตเช่นเดียวกับตัวต ้านทานแบบแผ่นฟิ ล ์มหนา

โดยส่วนใหญ่จะมีขาทังหมด 16 ขา การใช ้งานต ้องบัดกรีเข ้ากับแผ่นลายวงจร
อัตราทนกาลัง 50 มิลลิวต ่
ั ต ์ มีคา่ ความคลาดเคลือนบวกลบ 0.1 %
และอัตราทนกาลัง 100 มิลลิวต ่
ั ต ์ จะมีคา่ ความคลาดเคลือนบวกลบ 5%

ทีแรงดันไฟฟ้ าสูงสุดไม่เกิน 50 VDC

ต ัวต้ำนทำนแบบปร ับค่ำได้
28

โครงสร ้างของตัวต ้านทานแบบนี มี ้ ลกั ษณะคล ้ายกับแบบไวร ์วาวด ์


แต่โดยส่วนใหญ่บริเวณลวดตัวนา
จะไม่เคลือบด ้วยสารเซรามิกและมีชอ่ งว่างทาให ้มองเห็นเส ้นลวดตัวนา
่ าการลัดเข็มขัดค่อมตัวต ้านทาน
เพือท
โดยจะมีขาปร ับให ้สัมผัสเข ้ากับจุดใดจุดหนึ่ ง บนเส ้นลวดของความต ้านทาน
้ วนใหญ่มค
ตัวต ้านทานแบบนี ส่ ี า่ ความต ้านทานต่า แต่อตั ราทนกาลังวัตต ์สูง
การปร ับค่าความต ้านทานค่าใดค่าหนึ่ ง
สามารถกระทาได ้ในช่วงของความต ้านทานตัวนั้น ๆ เหมาะกับงาน
่ ้องการเปลียนแปลงความต
ทีต ่ ้านทานเสมอ ๆ


ต ัวต้ำนทำนแบบเปลียนค่
ำได้

ตัวต ้านทานแบบเปลียนค่ ่ าได ้ (Variable Resistor)


โครงสร ้างภายในทามาจากคาร ์บอน เซรามิก หรือพลาสติกตัวนา
ใช ้ในงานทีต ่ ้องการเปลียนค่ ่ ่ ับวิทยุ,
าความต ้านทานบ่อย ๆ เช่นในเครืองร
โทรทัศน์ เพือปร ่ ับลดหรือเพิมเสี ่ ยง, ปร ับลดหรือเพิมแสงในวงจรหรี
่ ่
ไฟ
มีอยู่หลายแบบขึนอยู ้ ่กบ ั วัตถุประสงค ์ของการใช ้งาน เช่นโพเทนชิโอมิเตอร ์
(Potentiometer) หรือพอต (Pot)
สาหร ับชนิ ดทีมี ่ แกนเลือนค่
่ าความต ้านทาน หรือ
แบบทีมี่ แกนหมุนเปลียนค่ ่ าความต ้านทาน คือโวลลุ่ม (Volume)

เพิมหรื อลดเสียงมีหลายแบบให ้เลือกคือ 1 ชัน้ , 2 ชัน ้ และ 3 ชัน้ เป็ นต ้น
ส่วนอีกแบบหนึ่ งเป็ นแบบทีไม่ ่ มแี กนปร ับโดยทัวไปจะเรี
่ ยกว่า โวลลุ่มเกือกมา้
หรือทิมพอต (Trimpot)
29


ตัวต ้านทานแบบเปลียนค่ าได ้นี ้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2
ชนิ ดด ้วยกันคือโพเทนชิโอมิเตอร ์(Potentiometer) และเซนเซอร ์รีซสิ เตอร ์
(Sensor Resistor)

หน่ วยของควำมต้ำนทำน

หน่ วยของความต ้านทานวัดเป็ นหน่ วย “โอห ์ม”


เขียนแทนด ้วยอักษรกรีกคือตัว “โอเมก ้า” ค่าความต ้านทาน 1
โอห ์มหมายถึงการป้ อนแรงดันไฟฟ้ าขนาด 1 โวลท ์
ไหลผ่านตัวต ้านทานแล ้วมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 1 แอมแปร ์

กำรอ่ำนค่ำควำมต้ำนทำน

ค่าความต ้านทานโดยส่วนใหญ่จะใช ้รหัสแถบสีหรืออาจจะพิมพ ์ค่าติดไว ้


บนตัวต ้านทาน
่ อต
ถ ้าเป็ นการพิมพ ์ค่าติดไว ้บนตัวต ้านทานมักจะเป็ นตัวต ้านทานทีมี ั ราทนกาลั
่ อต
งวัตต ์สูง ส่วนตัวต ้านทานทีมี ั ราทนกาลังวัตต ์ต่ามักจะใช ้รหัสแถบสี
่ ยมใช ้มี 4 แถบสีและ 5 แถบสี
ทีนิ
30

การอ่านค่ารหัสแถบสี
่ ้นศึกษาอาจจะมีปัญหาเรืองของแถบสี
สาหร ับผูเ้ ริมต ่ ท่ี 1 และแถบสีท่ี 4
ว่าแถบสีใดคือแถบสีเริมต ่ ้น ให ้ใช ้หลักในการพิจารณาแถบสีท่ี 1 , 2 และ 3
จะมีระยะห่างของช่องไฟเท่ากัน ส่วนแถบสีท่ี 4
จะมีระยะห่างของช่องไฟมากกว่าเล็กน้อย

ตัวอย่าง เช่น ตัวต ้านทานมีรหัสแถบสี ส ้ม แดง น้าตาล และทอง



มีความต ้านทานกีโอห ์ม ?
31

อ่านค่ารหัสแถบสีได ้ 320 โอห ์ม


ตัวต ้านทานนี มี้ ความต ้านทาน 320 โอห ์ม ค่าผิดพลาด
5 เปอร ์เซ็นต ์

ตัวอย่าง เช่น ตัวต ้านทานมีรหัสแถบสี เหลือง เทา แดง ส ้ม


และน้าตาลมีความต ้านทานกีโอห่ ์ม ?
32

อ่านค่ารหัสแถบสีได ้ 482,000 โอห ์ม


้ ความต ้านทาน
ตัวต ้านทานนี มี 482 กิโลโอห ์ม ค่าผิด
พลาด 1 เปอร ์เซ็นต ์

โดยค่าผิดพลาด หมายถึง ความคลาดเคลือนจากความเป็ ่ นจริง


ตัวต ้านทานทีมี ่ คา่ ผิดพลาด 2 % หมายความว่าความต ้านทาน 100 โอห ์ม

ถ ้าวัดด ้วยมัลติมเิ ตอร ์แล ้วอ่านค่าได ้ตังแต่ 98 โอห ์ม ถึง 102
โอห ์มถือว่าตัวต ้านทานตัวนั้นอยู่ในสถานะปกติใช ้งานได ้
นอกจากนี ยั ้ งมีตวั ต ้านทาน
ประเภททีพิ ่ มพ ์ค่าของความต ้านทานไว ้บนตัวต ้านทานซึงในตารางที
่ ่ 2.1 และ
2.2 ได ้เขียนเป็ นอักษรภาษาอังกฤษเอาไว ้ แต่ละตัวมีความหมายดังนี คื ้ อ
33

จะเห็นว่ามีการพิมพ ์ค่าอัตราทนกาลัง, ค่าความต ้านทาน และ ค่าผิดพ


ลาด จากในรูปจะเห็นว่ามีการพิมพ ์อักษรภาษาอังกฤษเป็ นตัว J คือผิดพลาด
5 % และตัว K คือผิดพลาด 10 %

กำรต่อวงจรตวั ต้ำนทำน

การต่อตัวต ้านทานมีอยู่ 3 แบบคือ วงจรอนุ กรม , วงจรขนาน


และวงจรผสม เพราะฉะนั้นควรนาความรู ้จากเรืองวงจรไฟฟ้
่ ้
าเบืองต ้น
มาประยุกต ์ใช ้ใหเ้ ป็ นประโยชน์ตอ
่ การศึกษาและการนาไปใช ้จริง

ทรำนซิสเตอร ์ (Transistor)

ทรำนซิสเตอร ์ (Transistor) คือ



สิงประดิษฐ ์ทาจากสารกึงตั่ วนามีสามขา (Three leads) กระแสหรือแรงเคลือน


เพียงเล็กน้อยทีขาหนึ ่ งจะควบคุมกระแสทีมี
่ ปริมาณมากทีไหลผ่
่ ้
านขาทังสองข ้า

งได ้ หมายความว่าทรานซิสเตอร ์เป็ นทังเครื ่
องขยาย (Amplifier)
และสวิทซ ์ทรานซิสเตอร ์

ทรานซิสเตอร ์ชนิ ดสองรอยต่อเรียกด ้ายตัวย่อว่า BJT (Bipolar


Junction Transistor) ทรานซิสเตอร ์ (BJT) ถูกนาไปใช ้งานอย่างแพร่หลาย
34

เช่น
วงจรขยายในเครืองร ่ บั วิทยุและเครีองร
่ ับโทรทัศน์หรือนาไปใช ้ในวงจรอิเล็กทรอ
่ าหน้าทีเป็
นิ กส ์ทีท ่ นสวิทซ ์ (Switching) เช่น เปิ ด-ปิ ด รีเลย ์ (Relay)

เพือควบคุ ่ ๆ เป็ นต ้น
มอุปกรณ์ไฟฟ้ าอืน

โครงสร ้ำงของทรำนซิสเตอร ์

ทรานซิสเตอร ์ชนิ ดสองรอยต่อหรือ BJT นี ้


่ วนาชนิ ดพีและเอ็นต่อกัน โดยการเติมสารเจือปน
ประกอบด ้วยสารกึงตั
(Doping) จานวน 3 ชันท ้ าให ้เกิดรอยต่อ (Junction) ขึนจ ้ านวน 2 รอยต่อ
่ สารชนิ ด N 2 ชัน้
การสร ้างทรานซิสเตอร ์จึงสร ้างได ้ 2 ชนิ ด คือ ชนิ ดทีมี
่ สารชนิ ด P 2 ชัน้ เรียกว่าชนิ ด PNP
เรียกว่าชนิ ด NPN และชนิ ดทีมี
โครงสร ้างของทรานซิสชนิ ด NPN และชนิ ด PNP
่ จารณาจากรูปจะเห็ นว่าโครงสร ้างของทรานซิสเตอร ์จะมีสารกึงตั
เมือพิ ่ ว
นา 3 ชัน้ แต่ละชันจะต่
้ ้
อลวดตัวนาจากเนื อสารกึ ่ วนาไปใช ้งาน
งตั
้ เล็
ชันที ่ กทีสุ่ ด (บางทีสุ
่ ด) เรียกว่า เบส (Base) ตัวอักษรย่อ B
่ วนาชันที
สาหร ับสารกึงตั ้ เหลื
่ อคือ คอลเลกเตอร ์ (collector หรือ c)
และอิมติ เตอร ์ (Emitter หรือ E) นั่นคือทรานซิสเตอร ์ทังชนิ
้ ด NPN จะมี 3 ขา
คือ ขาเบส ขาคอลเลกเตอร ์

ไดโอด (Diode)
ไดโอด เป็ นอุปกรณ์ทท ่ี าจากสารกึงตั
่ วนา p-n
สามารถควบคุมใหก้ ระแสไฟฟ้ าจากภายนอกไหลผ่านตัวมันได ้ทิศทางเดียว ไ
ดโอดประกอบด ้วยขัว้ 2 ขัว้ คือ แอโนด (Anode ; A)
่ ออยู่กบ
ซึงต่ ่ วนาชนิ ด p และ แคโทด (Cathode ; K)
ั สารกึงตั
่ ออยู่กบ
ซึงต่ ่ วนาชนิ ด n ดังรูป
ั สารกึงตั
35

ไดโอดในทำงอุดมคติ (Ideal Diode)

ไดโอดในอุดมคติมล
ี ก ่
ั ษณะเหมือนสวิทช ์ทีสามารถนากระแสไหลผ่านได ้
ในทิศทางเดียว


จากภาพถ ้าต่อขัวแบตเตอรี ใหเ้ ป็ นแบบไบอัสตรงไดโอดจะเปรียบเป็ นเสมื
อนกับสวิทช ์ทีปิ่ ด (Close Switch) หรือไดโอดลัดวงจร (Short Circuit) Id

ไหลผ่านไดโอดได ้ แต่ถ ้าต่อขัวแบตเตอรี แบบไบอัสกลับ
ไดโอดจะเปรียบเป็ นเสมือนสวิทช ์เปิ ด (Open Switch) หรือเปิ ดวงจร (Open
Circuit) ทาให ้ Id เท่ากับศูนย ์

แอลอีด ี (Light Emitting Diode ; LED)


่ ้สารประเภทแกลเลียมอาร
LED เป็ นไดโอดทีใช ่ ์เซ็นไนต ์ฟอสไฟต ์

(Gallium Arsenide Phosphide ; GaAsP) หรือสารแกลเลียมฟอสไฟต ์
่ วนาชนิ ด p และ n แทนสาร
(Gallium Phosphide ; GaP) มาทาเป็ นสารกึงตั
Si และ Ge
้ คณ
สารเหล่านี มี ุ ลักษณะพิเศษ คือ

สามารถเรืองแสงได ้เมือได ่ ว LED นี เราเรี
้ร ับไบอัสตรง การเกิดแสงทีตั ้ ยกว่า
36

อิเล็กโทรลูมน
ิ ิ เซนต ์ (Electroluminescence) ปัจจุบน ั นิ ยมใช ้ LED
แสดงผลในเครืองมื ่ ออิเล็กทรอนิ กส ์ เช่น เครืองคิ
่ ดเลข,นาฬก ิ า เป็ นต ้น

บทที่ 3

วิธก
ี ำรดำเนิ นกำรศึกษำ

ว ัสดุอป
ุ กรณ์

1. กล่องสาหร ับใส่แผงวงจร 17. ่


เลือยตั
ดเหล็ก
2. หัวบัดกรี 18. ตลับเมตร
่ ดกรี
3. ตะกัวบั

4. สว่าน

5. คีมปากจิงจก
6. กรรไกร

7. คัตเตอร ์
8. น้ายาประสาน

9. กาว

10. เทปกาวสีดา
11. ท่อ P.V.C

12. ข ้อต่อท่อ P.V.C งอ 90 องศา


13. ตะเกียบจักรยาน
37

14. ล ้อ ร ัศมี 19 เซนติเมตร


15. ยาง ร ัศมี 19 เซนติเมตร
16. เข็มขัดรดั สายไฟ

อุปกรณ์ทำงอิเล็กทรอนิ กส ์

1. ตัวต ้านทาน 1/4 วัตต ์ แบบ 1%

2. ตัวต ้านทาน 1/4 วัตต ์ แบบ trimmer


3. 7 Segment

4. Sensor แบบตัดผ่าน

5. LM 339
6. IC พร ้อม Socket (14 ขา)

7. 2N222A

8. CD 4026 พร ้อม Socket (16 ขา)

9. L7805

10. L7809
11. L7812

12. สวิตซ ์เปิ ด-ปิ ด

13. สวิตซ ์ Reset


14. ตัวต ้านทานเกือกมา้ (trimmer)

15. P.DC ติดแท่น


16. P.DC
17. กล่อง PB 12
38

18. ้ ์ไข่ปลา
แผ่นปรินท
19. Adabter

วิธก
ี ำรประดิษฐ ์

1. ออกแบบวงจรของ Sensor แบบสะท ้อนเเสง


2. ้
ออกแบบวงจรขยายใช ้ (Op-amp) แบบไฟเลียงเดี ่
ยวเบอร ์ LM339

3. ออกแบบวงจร Decade counter


4. ออกแบบวงจร Display

5. ต่อวงจรแผงไฟ LED ภายในกล่องเก็บวงจร

6. ประกอบล ้อกับขาตะเกียบเหล็ก
7. ่ ขนาดพอเหมาะมาต่อเป็ นด ้ามจับ
นาท่อ PVC ทีมี

8. นากล่องวงจรมาติดกับด ้ามจับ

9. นาเอาตัว Sensor มาติดด ้านในของขาตะเกียบลอ้


้ เวณล ้อเพือให
10. นาฟิ วเจอร ์บอร ์ดขนาดพอเหมาะมาติดตังบริ ่ ้เป็ นตัวคอ
ยตัดเซ็นเซอร ์ให ้ทางาน

วิธก
ี ำรใช้งำน


1. เปิ ดสวิตซ ์เครืองเพื ่ มการใช
อเริ ่ ้งาน
่ มวั
2. เข็นล ้อไปตามทางเพือเริ ่ ดระยะทาง(ทางตรง)
่ ้องการเลียวหรื
3. เมือต ้ ่
อเปลียนมุ มสนามให ้กดปุ่ ม รีเซ็ต

เพือยกเลิ
กค่าอันก่อน โดยจาตัวเลขเดิมไว ้ด ้วย (สาเหตุ เพราะ
39


เพือให ่
้ได ้ระยะทางทีสมจริ ่ ดและไม่คลาดเคลือนจึ
งทีสุ ่ ้
งไม่แนะนาให ้เลียวทั ้
่ งไม่ได ้รีเซ็ตค่าเก่า)
งๆทียั

4. เมือครบระยะที
ต ่ ้องการวัดแล ้วใหห้ ยุดการเข็นล ้อเอาไว ้ และนาตัวเลข

ในตอนแรกทีวั่ ดได ้มารวมกันกับตัวเลขในตอนท ้าย เช่น มีการเลียว


้ 4

ครง้ั ค่าทีได
่ ้จะมี 5 ค่า ก็ใหน้ าค่าตังแต่
้ 1-5
่ ้องการหน่ วยทีได
มาบวกกันจะได ้ความยาวตามทีต ่ ้เป็ นเมตร

5. วงล ้อนี วั้ ดระยะทางได ้มากทีสุ


่ ด 999.9 เมตร หรือ 1 กิโลเมตรนั่นเอง

6. หากต ้องการวัดมากกว่านั้นให ้เข็นไปเรือยๆแล


่ ้วจาค่าเลขนั้นเอาไว ้และก
่ ดค่าต่อแล ้วนามารวมกันในตอนท ้าย
ดปุ่ มรีเซ็ตเพือวั

กำรทดลอง


ทดลองเพือหาความแตกต่ ่ ้ในการวัดระยะทางโดยใช ้วงล ้
างของเวลาทีใช

อวัดระยะทางเปรียบเทียบกับตลับเมตร ขนาด 5 เมตรและ 10 เมตร

จุดประสงค ์ในกำรทดลอง

่ กษาความแตกต่างของเวลาทีใช
เพือศึ ่ ้ในการวัดระยะโดยใช ้

วงล ้อวัดระยะทางเปรียบเทียบกับตลับเมตร ขนาด 5 เมตรและ 10 เมตร

ต ัวแปรต้น

่ อทีใช
ชนิ ดของเครืองมื ่ ้ในการวัดระยะทาง

ต ัวแปรตำม
40


เวลาทีแตกต่
างกัน

ต ัวแปรควบคุม

ระยะทาง ้ ่
สภาพพืนที ผูท
้ าการวัด

ิ าจับเวลา
นาฬก วงล ้อวัดระยะทาง ตลับเมตรขนาด 5
เมตรและ 10 เมตร

วิธท
ี ดลอง

1. กาหนดระยะทางให ้ไกล 5 เมตร

2. ใช ้ตลับเมตรขนาด 5 เมตรวัด
้ เริมต
โดยจับเวลาตังแต่ ่ ้นวัดระยะทางและสินสุ
้ ดการวัดระยะทางและบัน

ทึกผล

3. ่
เปลียนระยะทางเริ
มต่ ้นเป็ น 10 และ 50 เมตร ตามลาดับ

แล ้วทดลองใหม่แบบเดียวกันกับ ข ้อที่ 2 และบันทึกผลทีได


่ ้

4. ่
เปลียนจากตลั
บเมตร ขนาด 5 เมตรเป็ น 10 เมตร
แล ้วทดลองเช่นเดิมเหมือนข ้อที่ 2 และบันทึกผล
5. ่
เปลียนจากตลั
บเมตร ขนาด 10 เมตรเป็ นวงล ้อวัดระยะทาง
แล ้วทดลองเช่นเดิมเหมือนข ้อที่ และบันทึกผล
41

บทที่ 4

ผลกำรทดลอง

ตำรำงบันทึกผลกำรทดลอง

่ ้ในการวัดระยะทาง (วินาที)
เวลาทีใช
ระยะทาง (เมตร)
ตลับเมตร ตลับเมตร วงล ้อวัดระยะทาง
ขนาด 5 เมตร ขนาด 10 เมตร

5 6.99 7.33 9.18

10 15.47 14.57 16.64

50 134.09 122.12 80.56

จากตาราง แสดงความแตกต่างของเวลาทีใช ่ ้ในการวัดระยะทางโดยใช ้



วงล ้อวัดระยะทางซึงเปรี
ยบเทียบกับการวัดระยะทางโดยใช ้ ตลับเมตร ขนาด 5
เมตรและ 10 เมตร
42

บทที่ 5

อภิปรำยและสรุปผลกำรทดลอง

จำกกำรทดลอง


ทดลองเพือหาความแตกต่ ่ ้ในการวัดระยะทางโดยใช ้
างของเวลาทีใช

วงล ้อวัดระยะทางเปรียบเทียบกับตลับเมตร ขนาด 5 เมตรและ 10 เมตร

ได้ผลกำรทดลองด ังนี ้

วงล ้อวัดระยะทาง ใช ้เวลาในการวัดระยะทางน้อยกว่าใช ้ตลับเมตร ขนาด


5 และ 10 เมตร เช่น ่
ทีระยะทาง 50 เมตร

วงล ้อวัดระยะทางใช ้เวลาในการวัดได ้ 80.56 วินาที ส่วนตลับเมตรขนาด 5

เมตรใช ้เวลา 134.09 วินาที และตลับเมตร ขนาด 10 เมตร ใช ้เวลาใน การวัด


154.12 วินาที ดังตาราง

สรุปผลกำรทดลอง
43

การวัดระยะทางโดยใช ้ วงล ้อวัดระยะทางจะสะดวก รวดเร็ว


และใช ้เวลาในการวัดระยะทางน้อยกว่าการวัดระยะทางโดยใช ้ตลับเมตร ขนาด
่ ้าเป็ นการวัดระยะทางไกลๆ
5 เมตรและ 10 เมตร โดยเฉพาะอย่างยิงถ

ข้อเสนอแนะ

่ กต ้องจะต ้องหมุนในแนวแรงทีไม่
การหมุนวงล ้อถ ้าจะให ้ได ้ระยะทางทีถู ่ เอี

ยงซ ้ายเอียงขวา
่ น้าหนักเบา
และควรเลือกใช ้วัสดุในการประดิษฐ ์วงล ้อวัดระยะทางทีมี

เพือให ้ง่ายและสะดวกต่อการพกพา

กรำฟแบบประเมินควำมพอใจในกำรทำงำนของ
“วงล้อว ัดระยะทำง”
44

90
80
70
60
50
40
ปรับปรุง
30
น้อย
20
ปานกลาง
10
ดี
0

แบบประเมินควำมพอใจในกำรทำงำนของ
“วงล้อว ัดระยะทำง”
45

เพศ ชาย หญิง

อำชีพ ครู-อาจารย ์ นักเรียน


่ ระบุ ............................
อืนๆ

ความพึงพอใจ ดี ปานกลาง น้อย ปร ับปรุง


(4) (3) (2) (1)

1. สมรรถภาพในการทางาน
2.

ความเทียงตรงในการวั ดระยะทาง
3. ความสะดวกในการใช ้งาน
4. สามารถนาไปใช ้งานได ้จริง
5. ความน่ าใช ้งาน
6. ความน่ าสนใจ
7. รูปลักษณ์ภายนอก
8. ความคิดสร ้างสรรค ์
รวม
ข้อเสนอแนะ

..................................................................................................................................
...................................

..................................................................................................................................
.....................................
46

..................................................................................................................................
.....................................

บรรณำนุ กรม

http://www.semi-

shop.com/knowledge/boardqur_ans.php?tq_id=23

http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-13.html

http://th.wikipedia.org/wiki/Counter

http://www.lcct.ac.th/office/WebEL/linear/lesson1.doc

http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/4347/optical-

sensor-photo-sensor-เซนเซอร ์ชนิ ดใช ้แสง

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=170407

http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/trans.htm

http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/device/diode_transistor
/diode.htm

http://eng.swu.ac.th/ie/teacher_word_2.htm
47

ภำคผนวก

รูปที่ 1 : แผนทีแสดงที
่ ตั่ งของย่
้ านบ ้านหมอ้
48

รูปที่ 2 : กล่องสาหรบั ใส่วงจร

รูปที่ 3 : ลวดทองแดงอาบน้ายา

รูปที่ 4 : แผ่นปรินท
้ ์ไข่ปลา
49

รูปที่ 5 : 7 segment

รูปที่ 6 : น้ายาประสาน

รูปที่ 7 : ตะกัวบั
่ ดกรี
50

รูปที่ 8 : บริดจ ์ไดโอด

2
3
=

รูปที่ 9 : 1) หัวจ่ายไฟ , 2) ปุ่ มรีเซ็ต , 3) สวิตซ ์เปิ ด-ปิ ด

รูปที่ 10 : เซนเซอร ์แบบตัด


51

รูปที่ 11 : ตัวจ่ายเเรงดันไฟ (voltage regulator) ขนาด 5 V

รูปที่ 12 : 2N222A

รูปที่ 13 : CD 4026
52

รูปที่ 13 : ตัวต ้านทานเกือกมา้ แบบ Trimmer

รูปที่ 14 : ตัวต ้านทาน 330 โอห ์ม ¼ W ชนิ ด 1%

รูปที่ 15 : ตัวต ้านทาน 10 K ¼ W ชนิ ด 1%


53

รูปที่ 16 : ตัวต ้านทาน 1 K ¼ W ชนิ ด 1%

รูปที่ 17 : ตัวต ้านทาน 30 K ¼ W ชนิ ด 1%

รูปที่ 18 : ตัวต ้านทาน 100 K ¼ W ชนิ ด 1%


54

รูปที่ 19 : ตัวต ้านทาน 4.7 K ¼ W ชนิ ด 1%

รูปที่ 20 : ตัวต ้านทาน10 K ¼ W ชนิ ด 1% แบบ Trimmer

รูปที่ 21 : LM339 พร ้อม socket


55

รูปที่ 22 : ท่อ P.V.C

รูปที่ 22 : ข ้อต่อท่อ P.V.C

รูปที่ 23 : เลือย

56

รูปที่ 24 : ตลับเมตร

รูปที่ 25 : สก็อตเทปสีดา

รูปที่ 26 : สก็อตเทปสีเหลือง
57

รูปที่ 27 : สว่าน

รูปที่ 28 : คีมปากจิงจก

รูปที่ 29 : ล ้อจักรยานมีร ัศมีประมาณ 19 ซม. พร ้อมขาตะเกียบ



ทีแปะเทปด ่ ้องการ
าโดยเว ้นไว ้ในเฉพาะส่วนทีต
58

รูปที่ 30 : นา 7 segments และ CD 4026 มาใส่บนแผ่นปรินท


้ ์ไข่ปลา

รูปที่ 31 : เจาะรูให ้มีขนาดเท่ากับ 7 segment จานวน 4 หลัก

รูปที่ 32 : ทดสอบกระแสไฟฟ้ าของตัวต ้านทาน


59

รูปที่ 33 : ทดสอบการต่อกระแสไฟฟ้ าของเซนเซอร ์แบบสะท ้อน

แบบวงจร Decade
counter
60

แบบวงจร Display

แบบวงจรของ Sensor
แบบสะท ้อน
61


แบบวงจรขยายใช ้ (Op-amp) แบบไฟเลียงเดี ่
ยวเบอร ์
LM339

You might also like