You are on page 1of 34

บทที่ 4 ภูมสิ ารสนเทศเพือ่ การท่ องเทีย่ ว

รหัสวิชา TAH2201 รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม


ว ัตถุประสงค์
1. เพื่อนักศึกษาสามารถอธิบายความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้
2. เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถอธิบายเกี่ยวกับระบบกําหนดตําแหน่งบนโลกได้
3. เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศเพื่อการท่องเที่ยวได้
้ หาย่อย
เนือ
1. ภูมิศาสตร์ (Geographic: G)
2. สารสนเทศ ( Information: I)
3. ระบบ (System: S)
4. ระบบกําหนดตําแหน่งบนโลก (Global Positioning
System)
ภูมศิ าสตร์ (Geographic: G)
• ลักษณะที่เป็ นจุด (Points) ลักษณะทางกายภาพ เช่น อาคาร บ้าน วัด หมู่บา้ น
• ลักษณะที่เป็ นเส้น (Lines or Arcs) เช่น ถนน ลำน้ำ แม่น้ำ
• ลักษณะที่เป็ นพื้นที่รูปปิ ด (Polygons) เช่น พื้นที่เกษตรกรรม ป่ าไม้ แม่น ้ำ
สารสนเทศ ( Information: I)
• ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ ประมวลผล สังเคราะห์ ให้อยู่
ในรูปแบบที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางภูมิศาสตร์
เช่น สถิติการอนุญาตให้ใช้พนที ื้ ่ป่าไม้ พื้ นที่ป่าสงวน
ระบบ (System: S)
• ระบบคอมพิวเตอร์ท่น
ี ำมาใช้ในการประมวลผลข้อมูล
ทางภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์
( Geographic Information System: GIS)
เครื่องมือที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการนําเข้า จัด
เก็บ จัดเตรียม ดัดแปลง แก้ไข จัดการและวิเคราะห์
พร้อมทั้งแสดงผลข้อมูลเชิงพื้ นที่ตามวัตถุประสงค์
ต่างๆ ที่ได้กําหนดไว้
ระบบกําหนดตําแหน่ งบนโลก (Global Positioning System)

สามารถบอกตำแหน่งพิกดั (X,Y,Z) ความเร็ วและเวลา


หลักการทำงานของ จีพีเอส มาจากดาวเทียมที่โคจรอยูร่ อบโลกส่ ง
สัญญาณกลับมายังจุดรับสัญญาณต่าง ๆ ที่อยูร่ อบโลก เช่นโทรศัทพ์มือถือ
รถยนต์ เรื อ โดยคำนวนจากระยะห่างจากดาวเทียมอย่างน้อย 3 ดวงกับจุด
รับสัญญาณ จีพีเอส เกิดจากปรากฏการณ์ดอปเปลอร์ของคลื่นวิทยุที่ส่งมา
จากดาวเทียม จึงพบว่าหากทราบตำแหน่งที่แน่นอนบนพื้นผิวโลกก็
สามารถระบุต ำแหน่งของดาวเทียมได้ และหากทราบตำแหน่งที่แน่นอน
ของดาวเทียมก็สามารถระบุต ำแหน่งบนพื้นโลกได้
ระบบกําหนดตําแหน่ งบนโลก (Global Positioning System)

ซึ่งระบบ GPS จะทำงานควบคู่กบั ดาวเทียม GPS เพื่อระบุต ำแหน่งบนพื้นผิวโลก โดยตัวเครื่ องรับ


สัญญาณ GPS จะต้องประมวลผลความแตกต่างของเวลาในการรับสัญญาณเทียบกับเวลาจริ ง โดย
สามารถที่จะระบุต ำแหน่งบนผิวโลกได้อย่างชัดเจน
ส่ วนประกอบหลักในการทำงานของ GPS
• ส่ วนอวกาศ มีดาวเทียมเครื อข่าย 3 ค่ายหลักๆ คือของสหรัฐฯ, ยุโรป และรัสเซีย
ของสหรัฐฯ ชื่อ NAVSTAR, ของยุโรปชื่อ Galileo และของรัสเซียชื่อ GLONASS

• ส่ วนควบคุม จะมีสถานีภาคพื้นดินอยูท่ ี่ Falcon Air Force Base สหรัฐฯ พร้อมศูนย์


ควบคุมย่อยอีกทั้งหมด 5 จุด กระจายออกไปยังพื้นที่ต่างๆ ทัว่ โลกให้ได้ใช้งานกัน

• ส่ วนผูใ้ ช้งาน คนที่จะใช้งาน GPS ต้องมีเครื่ องรับสัญญาณที่รับคลื่นพร้อมมีการ


แปรรหัสจากตัวดาวเทียมสำหรับนำมาประมวลผลให้เหมาะกับการใช้งานในรู ป
แบบต่างๆ ได้นนั่ เอง
ประเภทของ GPS
GPS Navigator
อุปกรณ์และระบบนำทาง เป็ น GPS ที่เราคุน้ เคยกันมากเนื่องจากจะใช้งานกับ
รถยนต์ทวั่ ไปสำหรับบอกแผนที่เส้นทางต่างๆ ที่เราต้องการเดินทางไปแต่ไม่แน่ใจว่า
ต้องเดินทางผ่านถนนเส้นไหน เลี้ยวเข้าซอยอะไร การทำงานหลักของ GPS คือ ต้องมี
การบอกพิกดั ตำแหน่งปลายทางที่เราต้องการไป
เมื่อบอกพิกดั เรี ยบร้อย GPS จะทำการคำนวณเส้นทางที่เหมาะสมพร้อมระยะ
ทางจากจุดที่คุณอยูแ่ ละบอกเวลาได้ดว้ ยว่าต้องใช้ประมาณกี่นาทีจึงจะถึงจุดหมาย
ปลายทางตามต้องการ
ประเภทของ GPS
GPS Tracking System
อุปกรณ์และระบบติดตามรถ ยานพาหนะและสัตว์เลี้ยง สำหรับ GPS ประเภทนี้
จะมีลกั ษณะทำนองติดตามการเดินทางพร้อมบอกพิกดั กับตำแหน่งของตัวเครื่ อง GPS
ได้ อีกทั้งเรายังสามารถแยกย่อยออกได้อีก 2 แบบ คือ
อุปกรณ์ติดตามรถแบบออฟไลน์ เอาไว้ใช้เพื่อตรวจสอบประวัติการเดินทางแต่
จะตรวจสอบเรื่ องของตำแหน่งที่ต้ งั ของที่อยูเ่ ครื่ อง GPS นั้นๆ ไม่ได้ อีกแบบ
คือ อุปกรณ์ติดตามรถกึ่งออฟไลน์ อุปกรณ์ตวั นี้ท ำงานร่ วมกับมือถือนัน่ ทำให้สามารถ
ดูในส่ วนของประวัติการเดินทางรวมถึงตำแหน่งที่ต้ งั ปัจจุบนั ของตัวอุปกรณ์ GPS นั้น
ได้ดว้ ยว่าตอนนี้อยูต่ รงไหนแล้ว
GPS กับการใช้ เกิดประโยชน์ ในการดำเนินชีวติ
• กำหนดพิกัดของสถานที่ต่างๆ การทำแผนที่ สำรวจ โดยส่วนใหญ่จะเป็ นจีพีเอสขนาด
เล็กที่พกพาไปได้ง่าย มีความทนทาน กันน้ำได้
• การนำทาง ได้ร ับความนิยมกว้างขวาง มีให้เลือกหลายแบบ นำทางได้ท้ งั แบบภาพและ
เสียง
• วางแผนการใช้ท่ด ี ิน โครงข่ายหมุดดาวเทียมของกรมที่ดิน
• ทำผังสำหรับจัดส่งสินค้า ซึ่งถ้าพัฒนาอย่างต่อเนื่องและถูกทางจะเป็ นการจัดการโลจิสติ
กส์ท่มี ีประโยชน์อย่างมาก
• ใช้ในกระบวนการยุติธรรม ติดตามบุคคล ติดตามการค้ายาเสพติด
• ใช้ประโยชน์ในทางทหาร ดูรายละเอียดของพื้ นที่ต่างๆที่จำเป็ นต้องใช้เป็ นข้อมูลเชิงกล
์ ้านการทหาร
ยุทธิด
• กีฬา เพื่อวัดความเร็ว ระยะทาง หรือที่ใช้ในสนามกอล์ฟก็เพื่อบอกว่าระยะห่างจากหลุม
หนึ่งถึงอีกหลุมหนึ่ง
• สันทนาการ กำหนดจุดตกปลา หาระยะที่เหมาะสมกับการตกปลาต่างๆ หรือจุดดำน้ำ
ตามบริเวณต่างๆ
• ควบคุมหรือติดตามยานพาหนะ ติดตามวัตถุ สิ่งต่างๆ ติดตามบุคคลเพื่อให้ทราบว่าอยู่ท่ี
ใด มีการเคลื่อนที่หรือไม่ เพื่อเป็ นการแจ้งให้ผู้ท่ท
ี ำการติดตามทราบว่ามีการเคลื่อนที่
เปลี่ยนตำแหน่ง หรือลักษณะการเคลื่อนที่ใดๆที่เกินจากขอบเขตที่วางไว้หรือไม่ มี
ประโยชน์อย่างยิ่งในการป้ องกันอุบัติเหตุ การสูญหาย และการโจรกรรมต่างๆ
GPS กับการใช้ เกิดประโยชน์ ในการดำเนินชีวติ
• นำร่องจากที่หนึ่งไปยังที่หนึ่ง ตามต้องการ
• ติดตามการเคลื่อนที่ของคนและสิ่งของต่างๆ
• สำรวจเส้นทางและทำแผนที่
• ใช้จีพีเอสในการควมคุมเครื่องจักรกล เช่น เครื่องจักรใน
การเกษตรกรรม เครื่องจักรที่ใช้บริเวณการขนส่งท่าเรือ
• ใช้จีพีเอสกับการจราจรและการขนส่ง ใช้ในการแก้ปัญหาการ
จราจร ปรับปรุงความปลอดภัย เพิ่มประสิทธิภาพในการคมนาคม
ขนส่ง และใช้ในการประกันรถยนต์
• ใช้จีพีเอสเพื่อเป็ นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เช่น การดูการเคลื่อนที่
ของแผ่นเปลือกโลก
• ใช้จีพีเอสเพื่ออ้างอิงการวัดเวลาที่แม่นยำที่สุดในโลก
• ใช้จีพีเอสในการประยุกต์เพื่อออกแบบคำนวณตำแหน่งที่ต้ งั ใน
ด้านโทรคมนาคมและการจัดการพลังงาน เช่น ระบบไฟฟ้ า ระบบ
น้ำมัน

Google Earth
• ค้นหาสถานที่ที่ชื่นชอบ
• เลือกการผจญภัยกับนักเดินทาง
• วัดระยะทางและพื้นที่
• ใช้งาน Earth ได้ในทุกอุปกรณ์
• https://www.google.co.th/intl/th_ALL/earth/
หน้าแรก ของ Google Earth
หน้าแรก ของ Google Earth
เม
นู
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศล่าสุด
เกมตอบคำถามเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวตามเส้นทางคนดัง
เรียนรู้ภาษาในแต่ละท้องที่
เที่ยวชมพิพิธภัณฑ์
เลือกสถานทีส่ วยงามโดยให้ Google Earth สุ่ มให้
บันทึกสถานที่ท่องเที่ยวไว้ และเก็บไว้ดูในภายหลัง
แชร์ สถานทีท่ ่ องเทีย่ วใน Social network ได้
คำนวนระยะทางระหว่ างสถานทีไ่ ด้
สามารถดู Grid line ได้ ตามเส้ นละติจูด
• https://tourbuilder.withgoogle.com/
• การสร้างเส้นทางท่องเที่ยวด้วย Google Earth Tour Builder
กรอกชื่อทัวร์ และชื่อเจ้ าของทัวร์
กรอกสถานที่ท่องเที่ยว
สร้างเส้นทางทัวร์ และเลือกไอคอนตามลักษณะของสถาน
ที่
dddddsada

สร้างโปรไฟล์และแชร์รายการทัวร์
บรรณานุกรม
กรมป่ าไม้.(ม.ป.ป.).คู่มอื การใช้ งาน GOOGLE EARTH.
สื บค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562. จากเว็บไซต์
http://forestinfo.forest.go.th/Content/file/manualanddoc/
manual%20Google%20earth.pdf
กรมส่ งเสริ มการปกครองส่ วนท้องถิ่น.(ม.ป.ป.).คู่มอื การใช้ งานโปรแกรม GOOGLE
EARTH เบือ้ งต้ นสำหรับองค์ การปกครองส่ วนท้ องถิน่ .
สื บค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562. จากเว็บไซต์
http://irrigation.rid.go.th/rid16/oe16/design/
KM/kmpdf/Google%20Earth_design.pdf

You might also like