You are on page 1of 19

1

รูปแบบการสอนแบบ Teams – Garmes - Toumanmants (TGT)

ความหมาย

เทคนิคการจัดกิจกรรม TGT เป็ นเทคนิครู ปแบบหนึ่งในการสอนแบบร่ วมมือและมีลกั ษณะของ


กิจกรรมคล้ายกันกับ STAD แต่เพิ่มเกมและการแข่งขันเข้ามาด้วย เหมาะสาหรับการจัดการเรี ยนการสอนใน
จุดประสงค์ที่มีคาตอบถูกต้องเพียงคาตอบเดียว

ประเภทของเกม

1. เกมพัฒนาการ เป็ นเกมแนะนาให้ผเู ้ ล่นได้เรี ยนรู ้สิ่งใหม่ ๆ


2. เกมยุทธวิธี เป็ นเกมที่ตอ้ งแก้ปัญหาให้ผเู ้ ล่นสร้างแผนการขึ้นเพื่อจะได้บรรลุจุดประสงค์
3. เกมเสริ มแรง เป็ นเกมที่ช่วยให้ผเู ้ ล่นได้เรี ยนรู ้ความรู ้ต่าง ๆ และเพิ่มพูนทักษะให้สามารถนา
ความคิดรวบยอดไปใช้ประโยชน์ได้

องค์ ประกอบ 4 ประการ ของ TGT

1. การสอน เป็ นการนาเสนอความคิดรวบยอดใหม่หรื อบทเรี ยนใหม่ อาจเป็ นการสอนตรงหรื อจัด


ในรู ปแบบของการอภิปราย หรื อกลุ่มศึกษา
2. การจัดทีม เป็ นขั้นตอนการจัดกลุ่ม หรื อจัดทีมของนักเรี ยน โดยจัดให้คละกันทั้งเพศ และ
ความสามารถและทีมจะต้องช่วยกันและกัน ในการเตรี ยมความพร้อมและความเข้มแข็งให้สมาชิกทุกคน
3. การแข่ งขัน การแข่งขันมักจัดในช่วงท้ายสัปดาห์หรื อท้ายบทเรี ยน ซึ่ งจะใช้คาถามเกี่ยวกับเนื้อหา
ที่เรี ยนมาในข้อ 1 และผ่านการเตรี ยมความพร้อมของทีมมาแล้วการจัดโต๊ะแข่งขันจะมีหลายโต๊ะ แต่ละโต๊ะ
จะมีตวั แทนของกลุ่ม/ทีม แต่ละทีมมาร่ วมแข่งขัน ทุกโต๊ะการแข่งขันควรเริ่ มดาเนินการเพื่อนาไปเทียบหาค่า
คะแนนโบนัส
4. การยอมรับความสาเร็จของทีม ให้นาคะแนนโบนัสของแต่ละคนในทีมมารวมกันเป็ นคะแนน
ของทีม และหาค่าเฉลี่ยทีมที่มีค่าสู งสุ ด จะได้รับการยอมรับให้เป็ นทีมชนะเลิศ โดยอาจเรี ยกชื่อทีมที่ได้
ชนะเลิศ กับรองลงมา โดยใช้ชื่อเก๋ ๆ ก็ได้ หรื ออาจให้นกั เรี ยนตั้งชื่ อเอง และควรประกาศผลการแข่งขันในที่
สาธารณะด้วยใช้ประโยชน์ได้
2

หลักในการนาเกมมาใช้ ในกิจกรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ จะใช้ เกมได้ อย่ างมีประสิ ทธิภาพ


ครู ควรมีหลักดังนี้

1. เกมที่นามาสอน ควรมีลกั ษณะดังต่อไปนี้


- ใช้เครื่ องมือบ่อยไม่ตอ้ งเตรี ยมอะไรมาก
- ควรเป็ นการเล่นที่ส่งเสริ มทักษะที่สอน
- นักเรี ยนทุกคนมีส่วนร่ วม
- การเล่นควรเหมาะสมกับวัยของเด็ก
2. ผูส้ อนต้องสนุกสนานกับการเล่นด้วย
3. การเล่นแต่ละครั้งต้องคานึ งถึง
- การปฏิบตั ิตามกฎกติกา
- การมีน้ าใจนักกีฬา มารยาท และความยุติธรรม
4. ใช้เวลาในการอธิ บายน้อยที่สุดแต่เข้าใจ เช่น วิธีเล่นเกม หน้าที่ของแต่ละคนพอสังเขป
5. ควรให้นกั เรี ยนกลุ่มหนึ่งมาแสดงให้เพื่อน ๆ ดูก่อนเพื่อความเข้าใจ
6. การเล่นแต่ละครั้งอย่าใช้เวลานานเกินไป ประมาณ 10 – 15 นาที
7. การเล่น ถ้านักเรี ยนมากเกินไป ควรแบ่งกลุ่ม
8. เกมที่เล่นต้องดึงดูดความสนใจ สนุกสนาน และท้าทายความสามารถของผูเ้ ล่น
9. เกมนั้นจะต้องสามารถทาให้การเรี ยนการสอนไปถึงเป้ าหมายที่ตอ้ งการได้

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

1. ครู สอนความคิดรวบยอดใหม่ หรื อบทเรี ยนใหม่ โดยอาจใช้ใบความรู ้ให้นกั เรี ยนได้ศึกษา หรื อ
ใช้กิจกรรมการศึกษาหาความรู ้รูปแบบอื่นตามที่ครู เห็นว่าเหมาะสม
2. แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 4 – 5 คน เพื่อปฏิบตั ิตามใบงาน
3. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มเตรี ยมความพร้อมให้กบั สมาชิกในกลุ่มทุกคน เพื่อให้มีความรู ้ความเข้าใจใน
บทเรี ยนและพร้อมที่จะเข้าสู่ สนามแข่งขัน
4. แต่ละกลุ่มประเมินความรู ้ความเข้าใจในเนื้อหาของสมาชิกในกลุ่ม โดยอาจตั้งคาถามขึ้นมาเอง
และให้สมาชิกกลุ่มทดลองตอบคาถาม
3
5. สมาชิกกลุ่มช่วยกันอธิ บายเพิ่มเติมในจุดที่บางคนยังไม่เข้าใจ
6. ครู จดั ให้มีการแข่งขัน โดยใช้คาถามตามเนื้อหาในบทเรี ยน
7. จัดการแข่งขันเป็ นโต๊ะ โดยแต่ละโต๊ะจะมีตวั แทนของทีมต่าง ๆ ร่ วมแข่งขัน อาจให้แต่ละทีมส่ ง
ชื่อผูแ้ ข่งขันแต่ละโต๊ะมาก่อนและเป็ นความลับ
8. ทุกโต๊ะแข่งขันจะเริ่ มดาเนิ นการแข่งขันพร้อมๆกันโดยกาหนดเวลาให้
9. เมื่อการแข่งขันจบลง ให้แต่ละโต๊ะจัดลาดับผลการแข่งขัน และให้หาค่าคะแนนโบนัส
10. ผูเ้ ข้าร่ วมแข่งขันกลับไปเข้ากลุ่มเดิมของตนพร้อมด้วยนาคะแนนโบนัสไปด้วย
11. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาคะแนนโบนัสของแต่ละคนมารวมกันเป็ นคะแนนของทีม หาค่าเฉลี่ย ที่ที่
ได้ค่าเฉลี่ย (อาจใช้คะแนนโบนัสรวมกันก็ได้) สู งสุ ด จะได้รับการยอมรับเป็ นทีมชนะเลิศและรองลงไป
12. ให้ต้ งั ชื่อทีมชนะเลิศ และรองลงมา
13. ครู ประกาศผลการแข่งขันในที่สาธารณะ เช่น ปิ ดประกาศที่บอร์ ด ลงข่าวหนังสื อพิมพ์หรื อ
ประกาศหน้าเสาธง

ข้ อดีและข้ อจากัด (TGT)

ข้ อดี
1. ผูเ้ รี ยนมีความเอาใจใส่ รับผิดชอบตัวเองและกลุ่มร่ วมกับสมาชิกอื่น
2. ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนที่มีความสามารถต่างกันได้เรี ยนรู ้ร่วมกัน
3. ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนผลัดเปลี่ยนกันเป็ นผูน้ า
4. ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกและเรี ยนรู ้ทกั ษะทางสังคม
5. ผูเ้ รี ยนมีความตื่นตัว สนุ กสนานกับการเรี ยนรู ้

ข้ อจากัด
1. ถ้าผูเ้ รี ยนขาดความเอใจใส่ และความรับผิดชอบจะส่ งผลให้ผลงานของกลุ่มและการเรี ยนรู ้ไม่ประสบ
ความสาเร็ จ
2. เป็ นวิธีการที่ผสู ้ อนจะต้องเตรี ยมการ ดูแลเอาใจใส่ ในกระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนอย่างใกล้ชิดจึงจะ
ได้ผลดี
3. ผูส้ อนมีภาระงานมากขึ้น
4

ตัวอย่ างการสอน

เรื่ อง การแยกตัวประกอบพหุ นามดีกรี สอง โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ TGT


(Teams-Games-Tournament)

1. ครู ทบทวนเนื้อหา การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรี สอง


2. ครู แบ่งกลุ่มนักเรี ยน 3 กลุ่ม โดยคละนักเรี ยนเรี ยนเก่ง ปานกลาง อ่อน
3. ครู แจกกระดาษทด ให้แต่ละกลุ่ม กลุ่มละ1 แผ่น
4. ครู สุ่มหยิบบัตรคา 1 ใบแล้วอ่านโจทย์ในบัตรคา ให้นกั เรี ยนฟัง
5. ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบจากโจทย์ในบัตรคาที่ครู อ่าน
6. กลุ่มที่หาคาตอบได้แล้ว ให้ส่งตัวแทนแต่ละกลุ่มวิง่ ออกมา หน้ากระดานเพื่อต่อบล็อก กลุ่มไหนต่อ
เสร็ จก่อนและถูกต้อง ครู จะให้ 1 คะแนน
7. ครู ทาข้อ 4-6 ซ้ า จนครบบัตรคาครบทุกบัตรคา
8. ครู ให้นกั เรี ยนรวบรวมคะแนนของแต่ละกลุ่ม เพื่อหากลุ่มที่ชนะ
9. ครู แจกของรางวัลให้กลุ่มที่ชนะ

ขั้นสอน

= X2

=X

=1
5

โจทย์

ข้อที่ 1 𝑥2 + 𝑥 + 1

ข้อที่ 2 𝑥 2 + 4𝑥 + 3

ข้อที่ 3 𝑥2 + 𝑥

ข้อที่ 4 2𝑥 2 + 8𝑥 + 6
6

รูปแบบการสอนแบบสรรคนิยม Constructivism

Constructivism เป็ นปรัชญาการศึกษาที่ต้ งั อยูบ่ นฐานความเชื่อที่วา่ ผูเ้ รี ยนสามารถสร้างความรู ้ได้


ด้วยตนเอง ซึ่ งความรู ้น้ ีจะฝังติดอยูก่ บั คนสร้าง ดังนั้นความรู ้ของแต่ละคนเป็ นความรู ้เฉพาะตัวเป็ นสิ่ งที่ตน
สร้างขึ้นเองเท่านั้น โดยนักเรี ยนจะเป็ นผูก้ าหนดหรื อมีส่วนร่ วมในการกาหนดสิ่ งที่จะเรี ยนและวิธีการ
เรี ยนของตนเอง และเป็ นผูต้ ดั สิ นว่าตนเองจะได้เรี ยนรู ้อะไร เรี ยนรู ้อย่างไรและพัฒนาการเรี ยนรู ้ของตนเอง
อย่างไร สามารถนาสิ่ งที่เรี ยนรู ้ไปใช้ในบริ บทอื่นได้อย่างเหมาะสม เรี ยนรู ้จากการปฏิบตั ิมีอิสระในการคิด
และทาสิ่ งต่างๆเกี่ยวกับเรื่ องที่เรี ยนด้วยตนเอง และเรี ยนรู ้บรรยากาศการเรี ยนที่มีการช่วยเหลือซึ่ งกันและ
กัน ภายใต้การอานวยความสะดวกของครู

ความหมาย

ปรัชญาการเรี ยนรู ้ที่เรี ยกกันในปั จจุบนั ว่า Constructivism เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 18 โดยนักปรัชญา


ชาวอิตาเลียนนาม Giambattista Vico (Dimitruos Thansoulas , Greece : online) ได้บนั ทึกไว้วา่ มนุษย์จะ
เข้าใจอย่างถ่องแท้ในสิ่ งที่ตนสร้างขึ้นเองเท่านั้น เนื่องจากแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีสรรคนิยมมีหลายแบบ
แนวคิดของคนหนึ่งอาจจะแตกต่างจากอีกคนหนึ่ง การกล่าวถึงทฤษฎีสรรคนิยมจึงจาเป็ นต้องพิจารณาให้
ชัดเจนว่าทฤษฎีสรรคนิยมที่แต่ละคนกล่าวนั้นหมายความว่าอย่างไร จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ
ทฤษฎีสรรคนิยม มีนกั คิดที่น่าสนใจดังนี้

1. Von Glasersfeld เสนอเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ในมุมมองของ ทฤษฎีสรรคนิยม (Constructivist) ว่า


นักเรี ยนสร้างความรู ้โดยกระบวนการคิดของตนเอง เมื่อนักเรี ยนเผชิญปั ญหาซึ่งเป็ นสภาวะประสบการณ์
ใหม่สอดคล้องกับประสบการณ์เดิม นักเรี ยนจะต้องปรับโครงสร้างทางปั ญญาเป็ นการเสริ มความรู ้ใหม่โดย
ปรับให้เข้ากับความรู ้เดิมที่มีอยู่ และกระบวนการปรับเปลี่ยนซึ่ งเป็ นการปรับโครงสร้างใหม่เพื่อสร้างความรู ้
ใหม่เพื่อให้เข้ากับเพื่อให้เข้ากับสถานการณ์ปัญหาที่เผชิ ญอยู่ (Moss A. Boudourides. 1998: online)
7
2. Piaget เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมามีความพร้อมที่จะมีปฏิสัมพันธ์กบั สิ่ งแวดล้อม และโดย
ธรรมชาติมนุษย์เป็ นผูพ้ ร้อมที่จะมีกริ ยากรรม หรื อเริ่ มกระทาก่อน นอกจากนี้ Piaget ถือว่ามนุษย์เรานั้น มี
แนวโน้มพื้นฐานติดตัวมา 2 ชนิด คือประการแรกการจัดและรวบรวมกระบวนการต่าง ๆ ภายในเข้าเป็ น
ระบบอย่างต่อเนื่ องและปรับปรุ งเปลี่ยนแปลงตามที่มีปฏิสัมพันธ์กบั สิ่ งแวดล้อม ส่ วนประการที่สอง การ
ปรับตัวเป็ นการปรับให้เข้ากับสิ่ งแวดล้อมจนอยูใ่ นภาวะสมดุล โดยการซึมซับ หรื อดูดซึ มประสบการณ์ใหม่
หรื อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเชาว์ปัญญาที่มีอยูแ่ ล้ว ให้เข้ากับสิ่ งแวดล้อมหรื อประสบการณ์ใหม่
หรื อเป็ นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับสิ่ งแวดล้อมใหม่ ซึ่ง Piaget เห็นว่าการปฏิสัมพันธ์กบั
สิ่ งแวดล้อม ทาให้เกิดการพัฒนาทางเชาว์ปัญญา (Dimitruos Thansoulas , Greece : online)

3. Bruner เห็นด้วยกับแนวคิดของ Piaget ว่า คนเรามีโครงสร้างทางสติปัญญา (cognitive structure)


มาแต่เกิด ในวัยทารกโครงสร้างทางสติปัญญายังไม่ซบั ซ้อน และยังไม่พฒั นาต่อเมื่อมีปฏิสัมพันธ์กบั
สิ่ งแวดล้อม จะทาให้โครงสร้างสติปัญญา มีการขยายและซับซ้อนขึ้น ดังนั้น Bruner เชื่อว่า การเรี ยนรู ้จะ
เกิดขึ้นต่อเมื่อ ผูเ้ รี ยนได้ประมวลข้อมูลข่าวสาร จากการที่มีปฏิสัมพันธ์กบั สิ่ งแวดล้อม และสารวจ
สิ่ งแวดล้อม การรับรู ้ของมนุ ษย์ข้ ึนกับสิ่ งที่เลือกจะรับรู ้ โดยอยูก่ บั ความสนใจของผูเ้ รี ยน มีความอยากรู ้อยาก
เห็นเป็ นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมสารวจสภาพสิ่ งแวดล้อม และเกิดการเรี ยนรู ้โดยการค้นพบ (Dimitruos
Thansoulas , Greece : online)

4. Vygotskyได้ทาการวิจยั เกี่ยวกับการพัฒนาทางสติปัญญา ทฤษฎีทางเชาว์ปัญญาของ Vygotsky


เน้นความสาคัญของวัฒนธรรมและสังคมที่มีผลต่อการพัฒนาทางเชาว์ปัญญา โดยที่สังคมและวัฒนธรรม
เป็ นสิ่ งแวดล้อมที่มีอิทธิ พลต่อมนุษย์ต้ งั แต่เกิด และถือว่าการเรี ยนรู ้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ระหว่างเด็กและผูใ้ หญ่ (พ่อ แม่ ครู ฯลฯ) และเพื่อน ในขณะเด็กอยูใ่ นสภาพสังคม (social context) การ
เรี ยนรู ้และพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาเกิดจากการที่ผเู ้ รี ยนเปลี่ยนสิ่ งเร้าที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
เข้าไว้ในใจด้วย Baker,E. , McGaw,B. and Peterson P. 2007 ;Yrd.Doc.Dr.Ridvan TUNCEL .2009 :
online)

5. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (มปป : 3) กล่าวว่า Constructivism เป็ นทฤษฎีที่เน้นการเรี ยนรู ้ดว้ ยการกระทา
ของตนเอง โดยให้ผเู ้ รี ยนเผชิ ญกับสถานการณ์ที่เป็ นปั ญหาทาให้เกิดความขัดแย้งทางปั ญญา โดยผูเ้ รี ยน
จะต้องพยายามคิดหรื อกระทาอย่างไตร่ ตรอง จนสามารถนาไปสู่ การสร้างโครงสร้างใหม่ทางปั ญญาที่
8
สามารถคลี่คลายสถานการณ์ที่เป็ นปัญหาได้ ซึ่ งความรู ้ใหม่ที่ได้สามารถเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมเกิด
การเรี ยนรู ้ที่มีความหมาย เป็ นความรู ้ที่สร้างด้วยตนเอง

6. ประสาร มาลากุล ณ อยุธยา (มปป : 1-2) กล่าวว่า Constructivism เป็ นแนวคิดที่เน้นความสาคัญ


ของผูเ้ รี ยน ให้ผเู ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลางของการเรี ยนรู ้ โดย Constructivism อธิ บายถึงการเรี ยนรู ้วา่ เป็ น
กระบวนการภายในตัวบุคคล ซึ่ งพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับบทเรี ยน หรื อประสบการณ์ที่ศึกษาขึ้นด้วยตัวเอง
มากกว่าที่จะรับความเข้าใจที่สาเร็ จรู ปจากการสอนหรื อถ่ายทอดจากผูอ้ ื่น และบุคคลจะเกิดการเรี ยนรู ้ใหม่ๆ
ได้ข้ ึนอยูก่ บั ประสบการณ์เดิมของผูเ้ รี ยน และจะเรี ยนได้ง่ายขึ้นถ้ามีบรรยากาศของการทางานและ
ปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างผูเ้ รี ยน และได้เห็นปั ญหาในลักษณะรู ปธรรมตามสถานการณ์จริ ง

สรุ ปคือ Constructivism เป็ นแนวคิดในการจัดการศึกษาแนวหนึ่ง ที่เน้นตรงการสร้างความรู ้ใหม่


โดยผูเ้ รี ยนต้องสร้างความรู ้ใหม่ดว้ ยตัวเอง ด้วยการเชื่ อมประสบการณ์ที่มีอยูแ่ ล้วกับความรู ้ใหม่ ซึ่ งต้อง
อาศัยบรรยากาศที่เหมาะสม การทางานร่ วมกัน

แนวคิดของทฤษฎี Constructivism

ทฤษฎีพฒั นาการทางเชาวน์ปัญญาของ Piaget และ Vygotsky เป็ นรากฐานที่สาคัญของทฤษฎี


Constructivism โดย Piaget อธิ บายว่า พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาของบุคคลมีการปรับตัวผ่านกระบวนการ
ซึมซาบหรื อดูดซึม (assimilation) และกระบวนการปรับโครงสร้างปั ญญา (accommodation) พัฒนาการ
เกิดขึ้นเมื่อบุคคลรับและซึมซาบข้อมูลหรื อประสบการณ์ใหม่เข้าไปสัมพันธ์กบั ความรู ้หรื อโครงสร้างทาง
ปัญญาที่มีอยูเ่ ดิม หากไม่สามารถสัมพันธ์กนั ได้ จะเกิดภาวะไม่สมดุลขึ้น (disequilibrium) บุคคลจะพยายาม
ปรับสภาวะให้อยูใ่ นภาวะสมดุล (equilibrium) โดยใช้กระบวนการปรับโครงสร้างทางปัญญา Piaget เชื่อว่า
คนทุกคนจะมีการพัฒนาเชาวน์ปัญญาตามลาดับขั้น จากการมีปฏิสัมพันธ์กบั ประสบการณ์กบั สิ่ งแวดล้อม
ตามธรรมชาติและประสบการณ์ที่เกี่ยวกับการคิดเชิงตรรกะและคณิ ตศาสตร์ (logical-mathematical
experience) รวมทั้งการถ่ายทอดความรู ้ทางสังคม (social transmission) และกระบวนการพัฒนาความสมดุล
ของบุคคลนั้น (ทิศนา แขมณี 2551: 90-91)
9

ลักษณะการเรียนรู้ ตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม

ลักษณะการเรี ยนรู ้ตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม เอกสารจากนักการศึกษาหลายท่านสามารถประมวล


ได้ในรู ปแบบต่างๆดังนี้ (Osborne.andWittrock. 1983: 489-508; Wilson. And Cole. 1991:59-61; Curry.
2540; Suvery.and Duffy. 1955: 1-38: อ้างถึงใน ภิญญาพัชน์ ปลากัดทอง 2551. : 82)

1. การเรี ยนรู ้ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างความหมายและตรวจสอบความเข้าใจของนักเรี ยน โดยทัว่ ไป


นักเรี ยนจะสร้างความหมายจากสิ่ งที่ตวั เองรับรู ้ตามประสบการณ์เดิมของตน ความหมายที่นกั เรี ยนสร้างขึ้น
อาจสอดคล้องหรื อไม่สอดคล้องกับความหมายที่ผเู ้ ชี่ยวชาญสาขานั้นยอมรับก็ได้ ตามแนวคิดสรรคนิยมถือ
ว่าความหมายที่นกั เรี ยนสร้างขึ้น ไม่มีคาตอบที่ถูกหรื อผิด แต่เรี ยกว่าไม่สอดคล้องกับความหมายที่
ผูเ้ ชี่ยวชาญยอมรับในขณะนั้นเรี ยกว่า มโนทัศน์คลาดเคลื่อน การจัดการเรี ยนการสอนตามแนวคิดนี้จึงเน้น
ให้นกั เรี ยน และบุคคลที่แวดล้อมนักเรี ยน ตรวจสอบความหมายที่นกั เรี ยนสร้างขึ้นในขณะที่มีการเรี ยนการ
สอนหากพบว่านักเรี ยนมีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน ครู ในฐานะที่เป็ นผูค้ อยอานวยความสะดวกในการเรี ยน
ของนักเรี ยนจะต้องจัดกิจกรรมให้นกั เรี ยนมีโอกาสได้พิจารณาตรวจสอบมโนทัศน์ของตนเองอีกครั้ง โดย
ครู อาจต้องจัดกิจกรรมในทานองเดียวกันนี้หลายครั้งจึงจะสามารถแก้ไขมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนของ
นักเรี ยนได้ สรุ ปได้วา่ นักเรี ยนต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบความรู ้ที่ตนเองสร้างขึ้นว่าสอดคล้องหรื อ
คลาดเคลื่อนจากความรู ้ที่ผเู ้ ชี่ ยวชาญในสาขานั้นๆยอมรับหรื อไม่

2. การเรี ยนรู ้ข้ ึนอยูก่ บั ความรู ้เดิมของนักเรี ยน การเรี ยนรู ้ไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั บริ บททางสังคม
วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อมเท่านั้น แต่การเรี ยนรู ้ยงั ขึ้นอยูก่ บั ความรู ้เดิม แรงจูงใจ ความคิดและ
อารมณ์ของนักเรี ยนอีกด้วย เพราะสิ่ งเหล่านี้มีอิทธิ พลต่อการเลือกรับสิ่ งเร้าและวิธีการที่นกั เรี ยนมี
ปฏิสัมพันธ์กบั สิ่ งเหล่านั้น และยังมีผกู ้ ล่าวอีกว่า ความรู ้ที่ติดมากับตัวนักเรี ยนจะมีอิทธิ พลต่อการที่นกั เรี ยน
จะเลือกเรี ยนอะไรและใช้วธิ ี เรี ยนรู ้อย่างไร การจัดการเรี ยนการสอนแนวคิดนี้จึงเน้นความสาคัญเกี่ยวกับ
ความรู ้เดิมของนักเรี ยน

3. การเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการที่นกั เรี ยนแก้ปัญหาหรื อสื บสอบเพิ่มเติมเพื่อลดความขัดแย้งทาง


ความคิดของตนเอง นักการศึกษาหลายท่านอธิ บายถึงการเรี ยนรู ้ของมุมมองนี้ ว่าจัดการเรี ยนการสอนตาม
แนวนี้วา่ ควรเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้มีประสบการณ์ในการแก้ปัญหาตามสภาพจริ ง หรื อควรส่ งเสริ มให้
10
นักเรี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง และทาการสื บสอบด้วยตนเอง เครื่ องมือสาคัญที่บุคคลนามาใช้ คือทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะการคิดระดับสู ง วิธีการทางวิทยาศาสตร์

4. การเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการทางสังคม นักการศึกษาหลายท่าน อธิ บายการเรี ยนรู ้ตามแนวคิดนี้


ว่า เกิดจากการปฏิสัมพันธ์กนั ทางสังคมซึ่ งอธิ บายผลจากการร่ วมมือกันทางสังคมไว้วา่ ความรู ้สามารถถ่าย
โอนจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคลหนึ่งได้ แต่การแลกเปลี่ยนและสะท้อนความคิดให้เห็นแก่กนั และกัน การ
เหตุผลกับความคิดเห็นของตนเองหรื อโต้แย้งความคิดเห็นของบุคคลอื่น ทาให้นกั เรี ยนได้มีโอกาสพิจารณา
กระบวนการคิดของตนเองเปรี ยบเทียบกับกระบวนการคิดของผูอ้ ื่น ทาให้มีการเจรจาต่อรองเกี่ยวกับการ
สร้างความหมายของสิ่ งต่างๆ ซึ่ งจะช่วยให้นกั เรี ยนสามารถปรับเปลี่ยนความเข้าใจของตนเองเกี่ยวกับเรื่ อง
ที่เรี ยนได้

5. การเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนการกากับตนเองของนักเรี ยน นักการศึกษาเชื่อว่าการกากับตนเองเป็ น


องค์ประกอบสาคัญของการเรี ยนรู ้ ตามแนวคิดทฤษฎีสรรคนิยมนั้นนักเรี ยนต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการ
เรี ยนรู ้ของตนเอง ด้วยการทาให้การเรี ยนรู ้น้ นั เป็ นการเรี ยนรู ้ที่มีความหมาย คือเข้าใจเรื่ องที่เรี ยนได้อย่าง
ลึกซึ้ ง จนสามารถสร้างความหมายของสิ่ งนั้นๆได้ดว้ ยตนเอง รวมทั้งสามารถนาความรู ้และกระบวนการ
เรี ยนรู ้ไปใช้ในบริ บทอื่นได้ เป็ นความรับผิดชอบของนักเรี ยนที่ตอ้ งทาความเข้าใจมโนทัศน์เฉพาะของเรื่ อง
ที่เรี ยนว่ามีความสัมพันธ์กนั อย่างไร เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ในลักษณะที่เป็ นองค์รวม

สรุ ปลักษณะการเรี ยนรู ้ตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม คือ นักเรี ยนเป็ นผูส้ ร้างความรู ้ หรื อความหมาย
ของสิ่ งที่รับรู ้ข้ ึนมาด้วยตนเอง โดยนักเรี ยนแต่ละคนอาจสร้างความหมายของสิ่ งที่รับรู ้แตกต่างกันตาม
ความรู ้เดิมของแต่ละคน การสร้างความรู ้ของนักเรี ยนเป็ นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและเกี่ยวข้อง
กับกระบวนการอื่นๆอย่างน้อย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการกากับตนเอง กระบวนการทางสังคม
และกระบวนการสื บสอบ
11

การจัดการเรียนรู้ ตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม

เนื่องจากทฤษฎีสรรคนิยม ไม่ใช่วธิ ี สอน จึงใช้การตีความทฤษฎีแล้วจึงนาไปใช้ในการจัดการเรี ยน


การสอน ดังนั้นแนวคิดในการจัดการเรี ยนการสอนตามแนวทฤษฎีสรรคนิยม จึงมีหลากหลาย สามารถ
ประมวลได้ดงั นี้ (Murphy . 1977: อ้างถึงใน Singhanat Nomnian: online)

1. กระตุน้ ให้นกั เรี ยนใช้มุมมองที่หลากหลายในการนาเสนอความหมายของมโนทัศน์

2. นักเรี ยนเป็ นผูก้ าหนดเป้ าหมายและจุดมุ่งหมายการเรี ยนของตนเองหรื อจุดมุ่งหมายของการเรี ยน


การสอนเกิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างนักเรี ยนกับครู

3. ครู แสดงบทบาทเป็ นผูช้ ้ ีแนะ ผูก้ ากับ ผูฝ้ ึ กฝน ผูอ้ านวยความสะดวกในการเรี ยนของนักเรี ยน

4. จัดบริ บทของการเรี ยนเช่น กิจกรรม โอกาส เครื่ องมือ สภาพแวดล้อมที่ส่งเสริ มวิธีการคิดและ


การกากับเกี่ยวกับการรับรู ้ของตนเอง

5. นักเรี ยนมีบทบาทสาคัญในการสร้างความรู ้และกากับการเรี ยนรู ้ของตนเอง

6. จัดสถานการณ์การเรี ยน สภาพแวดล้อม ทักษะ เนื้ อหา และงานที่เกี่ยวข้องกับนักเรี ยนตามสภาพ


ที่เป็ นจริ ง

7. ใช้ขอ้ มูลจากแหล่งปฐมภูมิเพื่อยืนยันตามสภาพการณ์ที่เป็ นจริ ง

8. เสริ มสร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง ด้วยการเจรจาต่อรองทางสังคมและการเรี ยนรู ้ร่วมกัน

9. พิจารณาความรู ้เดิม ความเชื่อ ทัศนคติ ของนักเรี ยนประกอบการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน

10. ส่ งเสริ มการแก้ปัญหา ทักษะการคิดระดับสู งและความเข้าใจเรื่ องงที่เรี ยนอย่างลึกซึ้ ง

11. นาความผิดพลาด ความเชื่อที่ไม่ถูกต้องของนักเรี ยนมาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อการเรี ยนรู ้

12. ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนค้นหาความรู ้อย่างอิสระ วางแผนและการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุ

เป้าหมายการเรี ยนรู ้ของตนเอง


12
13. ให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้งานที่ซบั ซ้อน ทักษะ และความรู ้ที่จาเป็ นจากการลงมือปฏิบตั ิดว้ ยตนเอง

14. ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ของเรื่ องที่เรี ยน

15. อานวยความสะดวกในการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนโดยให้คาแนะนาหรื อให้ทางานร่ วมกับผูอ้ ื่น

16. วัดผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนตามสภาพที่เป็ นจริ งขณะดาเนินกิจกรรมการเรี ยนการสอน

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นตอนของการจัดการเรี ยนรู ้ ที่เน้นผูเ้ รี ยนสร้ างความรู ้ ตามแนว Constructivism มี ข้ นั ตอนที่


น่าสนใจดังนี้

1. ขั้ น น า (orientation) เป็ นขั้น ที่ ผู เ้ รี ย นจะรั บ รู ้ ถึ ง จุ ด มุ่ ง หมายและมี แ รงจู ง ใจในการเรี ย น
บทเรี ยน

2. ขั้นทบทวนความรู้ เดิม (elicitation of the prior knowledge) เป็ นขั้นที่ ผูเ้ รี ยนแสดงออกถึ ง
ความรู ้ความเข้าใจเดิ มที่มีอยู่เกี่ ยวกับเรื่ องที่จะเรี ยน วิธีการให้ผูเ้ รี ยนแสดงออก อาจทาได้โดยการอภิปราย
กลุ่ม การให้ผเู ้ รี ยนออกแบบโปสเตอร์ หรื อการให้ผเู ้ รี ยนเขียนเพื่อแสดงความรู ้ความเข้าใจที่เขามีอยู่ ผูเ้ รี ยน
อาจเสนอความรู ้ เดิ ม ด้วยเทคนิ ค ผังกราฟฟิ ก (graphic organizers) ขั้นนี้ ท าให้เกิ ดความขัดแย้งทางปั ญ ญา
(cognitive conflict) หรื อเกิดภาวะไม่สมดุล (unequillibrium)

3. ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (turning restructuring of ideas) นับเป็ นขั้นตอนที่สาคัญหรื อเป็ น


หัวใจสาคัญตามแนว Constructivism ขั้นนี้ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ดังนี้

3.1 ทาความกระจ่างและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ระหว่างกันและกัน (clarification and exchange


of ideas) ผูเ้ รี ยนจะเข้าใจได้ดีข้ ึน เมื่อได้พิจารณาความแตกต่างและความขัดแย้งระหว่างความคิดของตนเอง
กับของคนอื่น ผูส้ อนจะมีหน้าที่อานวยความสะดวก เช่น กาหนดประเด็กกระตุน้ ให้คิด
13
3.2 การสร้ างความคิ ดใหม่ (Construction of new ideas) จากการอภิปรายและการสาธิ ต
ผูเ้ รี ยนจะเห็ นแนวทางแบบวิธีก ารที่ หลากหลายในการตี ค วามปรากฏการณ์ หรื อเหตุ การณ์ แล้วกาหนด
ความคิดใหม่ หรื อความรู ้ใหม่

3.3 ประเมินความคิดใหม่ (evaluation of the new ideas) โดยการทดลองหรื อการคิดอย่าง


ลึกซึ้ ง ผูเ้ รี ยนควรหาแนวทางที่ดีที่สุดในการทดสอบความคิดหรื อความรู ้ ในขั้นตอนนี้ ผเู ้ รี ยนอาจจะรู ้สึกไม่
พึงพอใจความคิดความเข้าใจที่เคยมีอยู่ เนื่องจากหลักฐานการทดลองสนับสนุนแนวคิดใหม่มากกว่า

4. ขั้นนาความคิดไปใช้ (application of ideas) เป็ นขั้นตอนที่ ผูเ้ รี ยนมี โอกาสใช้แนวคิ ดหรื อ


ความรู ้ความเข้าใจที่พฒั นาขึ้นมาใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งที่คุน้ เคยและไม่คุน้ เคย เป็ นการแสดงว่าผูเ้ รี ยน
เกิดการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย การเรี ยนรู ้ที่ไม่มีการนาความรู ้ไปใช้เรี ยกว่า เรี ยนหนังสื อไม่ใช่เรี ยนรู ้

5. ขั้นทบทวน (review) เป็ นขั้นตอนสุ ดท้าย ผูเ้ รี ยนจะได้ทบทวนว่า ความคิด ความเข้าใจของ


เขาได้เปลี่ ยนไป โดยการเปรี ยบเที ยบความคิดเมื่ อเริ่ มต้นบทเรี ยนกับ ความคิ ดของเขาเมื่ อสิ้ นสุ ดบทเรี ยน
ความรู ้ ที่ผูเ้ รี ยนสร้ างด้วยตนเองนั้นจะทาให้เกิ ดโครงสร้ างทางปั ญญา (cognitive structure) ปรากฏในช่ วง
ความจาระยะยาว (long-term memory) เป็ นการเรี ยนรู ้ อย่างมี ค วามหมาย ผูเ้ รี ย นสามารถจาได้ถ าวรและ
สามารถนาไปใช้ได้ในสถานการณ์ ต่าง ๆ เพราะโครงสร้ างทางปั ญญาคือกรอบของความหมาย หรื อแบบ
แผนที่ บุ คคลสร้ างขึ้ น ใช้เป็ นเครื่ องมื อในการตี ความหมาย ให้เหตุ ผลแก้ปัญหา ตลอดจนใช้เป็ นพื้ นฐาน
สาหรับการสร้างโครงสร้างทางปั ญญาใหม่ นอกจากนี้ ยงั ทบทวนเกี่ ยวกับความรู ้สึกที่เกิดขึ้น ทบทวนว่าจะ
นาความรู ้ไปใช้ได้อย่างไร และยังมีเรื่ องใดที่ยงั สงสัยอยูอ่ ีกบ้าง
14

ข้ อเปรียบเทียบบรรยากาศการเรียนแบบปกติกบั การเรียนตามแนวทฤษฎี Constructivism

Brooks และ Brooks (1993: 17: อ้างถึงใน Dani Baylor,Pavel Samsonov and Noel Smith ;
Online) ได้เปรี ยบเทียบให้เห็นบรรยากาศในการสอนตามแนวการสร้างองค์ความรู ้ (constructivist
classroom) และการสอนแบบปกติ (traditional classroom)

การสอนตามแนวการสร้ างองค์ ความรู้ การสอนแบบปกติ


(constructivist classroom) (traditional classroom)
1. หลักสู ตรมีลกั ษณะเริ่ มจากส่ วนใหญ่ท้ งั หมด 1. หลักสู ตรมีลกั ษณะเริ่ มจากส่ วนย่อยไปสู่ ส่วน
ไปสู่ ส่วนย่อย โดยเน้นความคิดรวบยอดใหญ่ ใหญ่ท้ งั หมด โดยเน้นทักษะพื้นฐาน
2. การให้นกั เรี ยนคิดตั้งคาถามขึ้นเองเป็ นสิ่ งที่มี 2. การเรี ยนการสอนยึดตามหลักสู ตร เป็ นสิ่ งที่มี
คุณค่า คุณค่าสู ง
3. กิจกรรมในหลักสู ตรขึ้นอยูก่ บั แหล่งข้อมูล 3. กิจกรรมในหลักสู ตรขึ้นอยูก่ บั ตาราและ
เบื้องต้นและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้การลงมือปฏิบตั ิ แบบฝึ กหัด
4. นักเรี ยนได้รับการมองว่าเป็ นนักคิด โดยการใช้ 4. นักเรี ยนได้รับการมองว่าเป็ นแผ่นกระดานที่
ทฤษฎีเกี่ยวกับโลก
5. ครู โดยทัว่ ไปมีลกั ษณะเป็ นผูม้ ีปฏิสัมพันธ์ 5. ครู โดยทัว่ ไปมีลกั ษณะเผด็จการและบอกข้อมูล
ให้แก่นกั เรี ยน
6. ครู คน้ หามุมมองของนักเรี ยน เพื่อให้เข้าใจการ 6. ครู มุ่งที่จะค้นหาคาตอบที่ถูกต้อง เพื่อทาให้เกิด
แสดงความคิดรวบยอดของนักเรี ยนสาหรับใช้ใน ความเที่ยงตรงต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน
การเรี ยนต่อไป
7. การประเมินการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน จะ 7. การประเมินการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน จะแยกออก
ผสมผสานอยูใ่ นระหว่างการสอน และเกิดขึ้น จากการสอนและเกิดขึ้นเกือบจะ ตลอดช่วงของ
ตลอดเวลาจากการสังเกตของครู ในเรื่ องการทางาน การทดสอบ
ของนักเรี ยน การแสดงนิทรรศการของนักเรี ยน
และจากแฟ้มผลงาน
8. นักเรี ยนทางานเป็ นกลุ่มเป็ นพื้นฐาน 8. นักเรี ยนทางานตามลาพังเป็ นพื้นฐาน
15

บทบาทของครู และนักเรียน

จากการศึกษาเอกสารสามารถประมวลบทบาทของครู และนักเรี ยนในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการ


สอนโดยใช้ทฤษฎีสรรคนิยม constructivism (William R. Warrick; Dr. Ronald J. Bonnstetter; Barbara
Jaworski. 1993 ; Catherine Twomey Fosnot 2005 : online) พบว่า กระบวนการเรี ยนการสอนในแนว
คอน constructivism มักเป็ นไปในแบบที่ให้นกั เรี ยนสร้างความรู ้จากการช่วยกันแก้ปัญหา (Cooperative
problem solving) กระบวนการเรี ยนการสอนจะเริ่ มต้นด้วยปั ญหาที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปั ญญา
(Cognitive conflict) นัน่ คือประสบการณ์และโครงสร้างทางปั ญญาที่มีอยูเ่ ดิม ไม่สามารถจัดการแก้ปัญหา
นั้นได้ลงตัวพอดีเหมือนปั ญหาที่เคยแก้มาแล้ว ต้องมีการคิดค้นเพิ่มเติมที่เรี ยกว่า “การปรับโครงสร้าง” หรื อ
“การสร้างโครงสร้างใหม่” ทางปัญญา (Cognitive restructuring) โดยการจัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้ถกเถียง
ปั ญหา ซักค้านจนกระทัง่ หาเหตุผล หรื อหลักฐานในเชิงประจักษ์มาขจัดความขัดแย้งทางปัญญาภายใน
ตนเอง และระหว่างบุคคลได้ ลักษณะบรรยากาศการเรี ยนรู ้ บทบาทของครู และนักเรี ยนโดยรวมจะมี
ลักษณะดังนี้

- ผูเ้ รี ยนลงมือกระทาด้วยตนเอง (Learning are active) ความสาคัญของการเรี ยนตามแนวทฤษฎี


constructivism เป็ นกระบวนการ ที่ผเู ้ รี ยนบูรณาการข้อมูลใหม่กบั ประสบการณ์ที่มีมาก่อนหรื อความรู ้เดิม
ของผูเ้ รี ยน และสิ่ งแวดล้อมทางการเรี ยนรู ้ แนวคิดที่หลากหลายเป็ นสิ่ งที่มีค่าและจาเป็ น (Multiple
perspective are valued and necessary) ตามแนวทางทฤษฎีคอน constructivism กล่าวว่า ผูเ้ รี ยนจะต้องสร้าง
แนวคิดของตนเอง แนวคิดนี้ จาเป็ นต้องประกอบด้วยแนวคิดที่หลากหลายและ กว้างขวาง อาจมาจาก
แหล่งข้อมูลต่างๆ โดยที่ผเู ้ รี ยนจะต้องเรี ยนรู ้ เช่น ครู กลุ่มเพื่อน นักเขียน และหนังสื อ เป็ นต้น ทฤษฎี
constructivism ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนรวบรวมแนวคิดที่หลากหลายและสังเคราะห์สิ่งเหล่านี้เป็ นแนวคิดที่บูรณา
การขึ้นมาใหม่

- การเรี ยนรู ้ควรสนับสนุนการร่ วมมือกันไม่ใช่การแข่งขัน (Learning should support collaboration ,


not competition) จากการแลกเปลี่ยนแนวคิดที่หลากหลายนั้นหมายถึงการร่ วมมือ ในระหว่างที่มีการร่ วมมือ
ผูเ้ รี ยนต้องมีการสนทนากับคนอื่นๆเกี่ยวกับเรื่ องที่กาลังเรี ยนรู ้ กระบวนการนี้คือ การร่ วมมือและแลกเปลี่ยน
หรื อการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ ซึ่งเป็ นการทาให้ผเู ้ รี ยนตกผลึกและกลัน่ กรองสิ่ งที่สร้างขึ้นแทนความรู ้ภายใน
สมอง มาเป็ นคาพูดที่ใช้ในการสนทนาที่แสดงออกมาภายนอกที่เป็ นรู ปธรรม และส่ งเสริ มการสังเคราะห์
16
ความรู ้ที่จาเป็ นต่อการเรี ยนรู ้ และการสร้างความหมายในการเรี ยนรู ้ของตนเอง ดังนั้น สิ่ งแวดล้อมทางการ
เรี ยนรู ้ที่จดั ให้มีการร่ วมมือกันจะเป็ นการส่ งเสริ มการสร้างความรู ้ซ่ ึ งเป็ นสิ่ งที่มีความจาเป็ นจาเป็ นต่อการ
เรี ยนรู ้

- ให้ความสาคัญกับการควบคุมตนเองตามระดับของผูเ้ รี ยน (Focuses control at the leaner level) ถ้า


ผูเ้ รี ยนลงมือกระทาในบริ บท การเรี ยนรู ้ โดยการร่ วมมือกับผูเ้ รี ยนคนอื่น และผูส้ อน และจาเป็ นต้องควบคุม
กระบวนการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองมากกว่าการที่เรี ยนในลักษณะที่เป็ นผูร้ ับฟัง (Passive listening) จากการ
บรรยายของผูส้ อน นี่แสดงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานกิจกรรมการเรี ยนรู ้ในห้องเรี ยน

- นาเสนอประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ตรงกับสภาพที่เป็ นจริ งหรื อประสบการณ์การเรี ยนรู ้ในชีวติ จริ ง


(Provides authentic, real-world learning experiences) ความรู ้ที่ถูกแยกออกจากบริ บทในสภาพจริ งใน
ระหว่างการสอนสิ่ งที่เรี ยนเป็ นสิ่ งที่ไม่ใช่สภาพจริ งนั้น มักจะเป็ น สิ่ งที่ไม่มีความหมายต่อผูเ้ รี ยนมากนัก แต่
สภาพแวดล้อมทางการเรี ยนรู ้ตามแนวทฤษฎี constructivism ที่จดั สภาพแวดล้อมทางการเรี ยนรู ้ใน
สถานการณ์ต่างๆที่อยูใ่ นบริ บทของสภาพจริ ง ดังนั้นประสบการณ์ การเรี ยนรู ้ที่ประยุกต์ไปสู่ ปัญหาในชีวิต
จริ ง (Real world problems)จะช่วยสร้างการเชื่อมโยงที่แข็งแกร่ ง และส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนสามารถประยุกต์สิ่งที่
ได้เรี ยนไปสู่ สถานการณ์ใหม่ในสภาพชีวติ จริ งได้

บทสรุป

ทฤษฎีสรรคนิยม Constructivism เป็ นทฤษฎีที่วา่ ด้วยการสร้างความรู ้ ได้มีการเปลี่ยนจากเดิมที่เน้น


การศึกษาปัจจัยภายนอกมาเป็ น สิ่ งเร้าภายใน ซึ่ งได้แก่ ความรู ้ความเข้าใจ หรื อกระบวนการรู ้คิด
กระบวนการคิด(Cognitive processes) ที่ช่วยส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ จากผลการศึกษาพบว่า ปั จจัยภายในมีส่วน
ช่วยทาให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างมีความหมาย และความรู ้เดิมมีส่วนเกี่ยวข้องและเสริ มสร้างความเข้าใจ
สามารถสรุ ปเป็ นสาระสาคัญได้ดงั นี้
1. ความรู ้ของบุคคลใด คือ โครงสร้างทางปั ญญาของบุคคลนั้นที่สร้างขึ้นจากประสบการณ์ในการ
คลี่คลายสถานการณ์ที่เป็ นปัญหาและสามารถนาไปใช้เป็ นฐานในการแก้ปัญหาหรื ออธิ บายสถานการณ์อื่น
ๆ ได้
2. นักเรี ยนเป็ นผูส้ ร้างความรู ้ ดว้ ยวิธีการที่ต่าง ๆ กัน โดยอาศัยประสบการณ์และโครงสร้างทาง
17
ปั ญญาที่มีอยูเ่ ดิม ความสนใจและแรงจูงใจภายในตนเองเป็ นจุดเริ่ มต้น
3. ครู มีหน้าที่จดั การให้นกั เรี ยนได้ปรับขยายโครงสร้างทางปัญญาของนักเรี ยนเอง ภายใต้ ข้อ
สมมติฐานต่อไปนี้
3.1 สถานการณ์ที่เป็ นปัญหาและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา
3.2 ความขัดแย้งทางปัญญาเป็ นแรงจูงใจภายในให้เกิดกิจกรรมการไตร่ ตรองเพื่อขจัดความ
ขัดแย้งนั้น และจะจบลงด้วยความแจ่มชัดที่สามารถอธิ บายสถานการณ์ดงั กล่าว สามารถแก้ปัญหาได้
ตลอดจนได้เรี ยนรู ้และพึงพอใจกับผลที่ได้รับ
3.3 การไตร่ ตรองบนฐานแห่งประสบการณ์และโครงสร้างทางปั ญญาที่มีอยูเ่ ดิมภายใต้การมี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม กระตุน้ ให้มีการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปั ญญา

ตัวอย่ าง

เรื่ อง สู ตรการหาปริมาตรของทรงกลม

ให้นกั เรี ยนจับกลุ่มทากิจกรรม การตวง


18

แล้วบันทึกผลการตวงลงในใบจดบันทึกการทดลอง
19

จากนั้นให้นกั เรี ยนสรุ ปแนวคิดการหาปริ มาตรทรงกลม ทาให้นกั เรี ยนเกิดแนวคิดใหม่ในการหา


ปริ มาตรของทรงกลม และทาให้นกั เรี ยนเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสู ตรการหาปริ มาตรทรงกระบอกกับทรง
กลม และความสัมพันธ์ระหว่างสู ตรปริ มาตรทรงกรวยกับทรงกลม แล้วครู ก็สรุ ปสู ตรการหาปริ มาตรของ
ทรงกลมให้นกั เรี ยนฟังอีกที

You might also like