You are on page 1of 24

สรุ ปเนือ้ หา ฟังก์ ชัน

1. คู่อนั ดับและผลคูณคาร์ ทเี ชียน


คู่อนั ดับ หมายถึง การจับคู่สิ่งสองสิ่ งโดยถือลาดับเป็ นสาคัญ ถ้า a,b เป็ นสิ่งสองสิ่ง คู่อนั ดับ
a,b เขียนแทนด้วย ( a,b) เรี ยก a ว่า สมาชิกตัวหน้ า เรี ยก b ว่า สมาชิกตัวหลัง
การเท่ ากันของคู่อนั ดับ
ถ้า a , b , c ,d เป็ นจานวนจริ งใดๆ
( a , b)  ( c , d ) ก็ต่อเมื่อ a  c และ bd
( a , b)  ( c , d ) ก็ต่อเมื่อ a  c หรื อ bd

ผลคูณคาร์ ทเี ชียน ของเซต A และ B คือ เซตของคูอ่ นั ดับ ( a , b) ทั้งหมด โดยที่ a
เป็ นสมาชิกของเซต A และ b เป็ นสมาชิกของเซต B ผลคูณของเซต A และเซต B
เขียนแทนด้วย A B
ซึ่งเขียนในรู ปของเซตแบบบอกเงื่อนไขได้
A B { a, b | a  A และ b  B }

ตัวอย่ างที่ 1 จงหาผลคูณคาร์ทีเชียนในข้อต่อไปนี้เมื่อกาหนดให้


A  1, 3 , 4  และ B   2 , 3 

1. A B 

2. B A 

3. A A

4. B B 
สมบัติของผลคูณคาร์ ทเี ชียน
ให้ A , B , C เป็ นเซตใดๆ
1. A  B  B  A ก็ต่อเมื่อ A  B หรื อ A   หรื อ B  
2. A      A  
3. ถ้า A และ B เป็ นเซตจากัดแล้ว n( A  B)  n( A)  n(B)
4. A  (B  C)  ( A  B)  ( A  C)
5. A  (B  C)  ( A  B)  ( A  C)
6. A  (B  C)  ( A  B)  ( A  C)

ตัวอย่ างที่ 2 ถ้า n( A)  25 , n(B)  18 , n(C)  13 และ n( B  C )  6 จงหาผลลัพธ์ในข้อต่อไปนี้

1. n( A  B)  2. n( B  C ) 

3. n( A  C ) 

4. n( A  ( B  C )) 

5. n(( A  B)  ( A  C )) 

6. n( A  ( B  C )) 

7. n(( A  B)  ( A  C )) 

8. n( A  ( B  C )) 

9. n(( A  B)  ( A  C )) 
2. ความสั มพันธ์
ความสั มพันธ์ หมายถึง เซตของคู่อันดับ หรื อ เซตว่ าง
บทนิยาม กาหนดให้ และ B เป็ นเซตใดๆ
A
1. r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ r  A  B
นัน่ คือสมาชิกตัวหน้าของทุกคู่อนั ดับใน r เป็ นสมาชิกของเซต A และสมาชิกตัวหลังของทุกคู่อนั ดับใน r
เป็ นสมาชิกของเซต B

2. r เป็ นความสัมพันธ์ใน A ก็ตอ่ เมื่อ r  A  A


นัน่ คือสมาชิกตัวหน้าและตัวหลังของทุกคู่อนั ดับใน r เป็ นสมาชิกของเซต A

ตัวอย่ างที่ 3 กาหนดให้ A  2 , 3  และ B  3 , 4 


ความสัมพันธ์ต่อไปนี้เป็ นความสัมพันธ์จากเซตใดไปเซตใด
1. r1  (2 , 3) , (3, 4 )

2. r2  (2 , 2) , (3 , 3 )

3. r3  (3 , 2) , (4 , 3 )

4. r4  (3 , 4) , (4 , 3 )

ตัวอย่ างที่ 4 กาหนดให้ A  2 , 4 , 5 , 6  และ B  5 , 6 , 7  จงหาความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้


1. r1 เป็ นความสัมพันธ์ “ น้อยกว่า” จาก A ไป B

2. r2 เป็ นความสัมพันธ์ “มากกว่า ” จาก B ไป A

3. r3 เป็ นความสัมพันธ์ “เป็ นรากที่สอง” ใน A

4. r4 เป็ นความสัมพันธ์ “หารลงตัว” จาก A ไป B


ตัวอย่ างที่ 5 กาหนดให้ A  0 ,1, 2 , 3  และ B  0 , 2 , 4 , 6, 8 
จงเขียนความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก

1. r1  ( x, y)  A  B | x  y 

2. r2  ( x, y)  B  A | y  x 

3. r3  ( x, y) A  A | y  2 x 

4. 
r4  ( x, y) B  B | y  x 2 

5. r5  ( x, y) A  B | y  x 2 

6. r6  ( x, y) B  A | y  x  1
3. โดเมนและเรนจ์ ของความสั มพันธ์
ให้ r เป็ นความสัมพันธ์จาก A ไป B
1. โดเมนของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหน้าทุกคู่อนั ดับที่เป็ นสมาชิกของ r
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Dr
นัน่ คือ Dr  x | ( x , y )r 
2. เรนจ์ของ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังทุกคู่อนั ดับที่เป็ นสมาชิกของ r
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Rr
นัน่ คือ Rr   y | ( x , y )r 

หลักเกณฑ์ ทั่วไปในการหาโดเมนและเรนจ์ ของความสัมพันธ์


1. ความสั มพันธ์ ที่เขียนในรูปแบบแจกแจงสมาชิก
- หา Dr โดยการนาสมาชิกตัวหน้ าของคู่อันดับทุกคู่อันดับที่เป็ นสมาชิกของ r มาเขียนในรู ปเซตแบบแจกแจง
สมาชิก
- หา Rr โดยการนาสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับทุกคู่อันดับที่เป็ นสมาชิกของ r มาเขียนในรู ปเซตแบบแจกแจง
สมาชิก
ตัวอย่ างที่ 1 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้

1. r = { (1 , 1) , (2 , 4) , ( 3 , 9) }

Dr = Rr =

2. r = { (-1 , 1) , (-2 , 4) , ( -3 , 1) , (-4 , 7 ) }

Dr = Rr =

3. r = { (1 , 0) , (2 , 5) , ( -1 , 0) , (-2 , 5 ) }

Dr = Rr =
2. ความสั มพันธ์ ทเี่ ขียนในรูปแบบบอกเงือ่ นไข
2.1 ) ถ้าสามารถแจกแจงสมาชิกให้แจกแจงสมาชิก แล้วหาเหมือนกับข้อ 1.

ตัวอย่ างที่ 2 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ต่อไปนี้


x
1. r  { x, y   N  N | y  และ x  8}
2

Dr  Rr 

2. r  { x, y   N  N | x  y  3 และ x  6}

Dr  Rr 

3. r   x, y   N  N | x 2  y 2  25

Dr  Rr 

4. r   x, y   I  I | x 2  y 2  25

Dr  Rr 

2.2 ) ถ้าไม่สามารถแจกแจงสมาชิกได้
- หา Dr โดยการจัด y ในรู ปของ x แล้วพิจารณาค่าของ x ที่ทาให้หาค่า y ได้
- หา R r โดยการจัด x ในรู ปของ y แล้วพิจารณาค่าของ y ทีท่ าให้หาค่า x ได้
สามารถแยกโจทย์ ได้ คร่ าวๆดังนี้
1. ความสั มพันธ์ ที่มเี งื่อนไขเป็ นสมการเชิงเส้ น
ตัวอย่ างที่ 1 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้
1. r  ( x , y)R  R | y  2x  3 

2. r  ( x , y)R  R | 2x  y  3  0 

2. ความสั มพันธ์ ที่มเี งื่อนไขในรูปของเศษส่ วนของพหุนาม


a
ถ้า aR และ bR แล้ว R เมื่อ b0
b
ตัวอย่ างที่ 2 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้
 2x  3 
1. r   ( x , y ) R  R | y  
 x5 

 3x  2 
2. r   ( x , y ) R  R | y  
 x 1 
 3  4x 
3. r   ( x , y ) R  R | y  1 
 2x  1 

3. ความสั มพันธ์ ที่มเี งื่อนไขในรูปของเครื่องหมายกรณฑ์


ถ้า x  R แล้ว x  0 เมื่อ x  0
ตัวอย่ างที่ 3 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้
1. r = { ( x , y )  y  x   }

2. r = { ( x , y )  y  x    }
3. r = { ( x , y )  y   2x  3  5 }

4. r = { ( x , y )  y  x    }

5. r = { ( x , y )  y  9  x2 }
4. ความสั มพันธ์ ที่มเี งื่อนไขในรูปของตัวแปรกาลังสอง
กาหนดให้ a  R และ b  R จะได้วา่

1) a 2  2ab  b 2  a  b และ  a  b 2  0 เสมอ


2

2) a 2  2ab  b 2  a  b และ  a  b   0 เสมอ


2 2

ตัวอย่ างที่ 4 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้


1. r  ( x , y)R  R | y  x 2  6x  2 

2. 
r  ( x , y ) R  R | y   x 2  2 x  2 

3. 
r  ( x , y ) R  R | x  y 2  4 y  9 
4. r  ( x , y)R  R | y 2  4  x 2 

5. r  ( x , y)R  R | 2x 2  3 y 2 12 

5. ความสั มพันธ์ ทมี่ เี งือ่ นไขในรูปของค่ าสั มบูรณ์


ถ้า a  R และ x  R
1) x  0
2) x  a ก็ต่อเมื่อ a  x  a

3) x a ก็ต่อเมื่อ xa หรื อ x a

ตัวอย่ างที่ 5 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้


1. r  ( x , y)R  R | y  | x  3 | 
2. r  ( x , y)R  R | x  | 2 y  5 | 

3. r  ( x , y)R  R | y  2 | 4  x | 1 

นอกจากนี้ยงั มีความสัมพันธ์ที่มีเงื่อนไขในรู ปอื่นๆอีกมากมายดังต่อไปนี้


ตัวอย่ างที่ 6 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้
 2 
1. r   ( x , y) R  R | y  
 x2 1 
 5 
2. r   ( x , y ) R  R | y  
 x 2  2x  3 

3. r   ( x , y) R  R | y  2 

 | x  1 | 1 

4. อินเวอร์ สของความสั มพันธ์


บทนิยาม อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r คือ ความสัมพันธ์ซ่ ึงเกิดจากการสลับที่ของสมาชิกตัว
หน้าและสมาชิกตัวหลัง ในแต่ละคู่อนั ดับที่เป็ นสมาชิกของ r เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r 1
ดังนั้น r 1   ( y , x) | ( x , y) r 
หมายเหตุ D r  R r และ R r  D r
1 1

การหาอินเวอร์ สของความสั มพันธ์ r ทาได้ ดงั นี้


1. ถ้ าความสั มพันธ์ เป็ นแบบแจกแจงสมาชิก ทาได้โดยการสลับที่ระหว่างสมาชิกตัวหน้าและ
สมาชิกตัวหลังทุกคู่อนั ดับที่เป็ นสมาชิกของ r
ตัวอย่ างที่ 1 จงหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้
1. r  (, ) , (  , ) , ( ,  )

2. r  (  , ) , (  ,  ) , ( , )

2. ถ้ าความสั มพันธ์ เป็ นแบบบอกเงื่อนไขทาได้ 2 วิธี ดังนี้


2.1 สลับที่ระหว่าง x และ y ที่คู่อนั ดับ แต่เงื่อนไขเหมือนเดิม
2.2 สลับที่ระหว่าง x และ y ที่เงื่อนไข โดยแทนที่ x ด้วย y และแทนที่ y ด้วย x แล้ว จัด y ในรู ป
ของ x ถ้าสามารถทาได้ แต่ที่คู่อนั ดับยังคงเขียนเป็ น ( x , y ) รู ปเดิม

ตัวอย่ างที่ 2 จงหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้


1. r  ( x , y) | y  2x  3 

 2x  1 
2. r  ( x , y) | y  
 x5 
ตัวอย่ างที่ 3 จงหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์ในข้อต่อไปนี้
1. r  ( x , y) | y  x  5 

2. 
r  ( x , y ) | y  3x  1  1 

3. 
r  ( x , y) | y  x 2  3 

4. 
r  ( x , y) | y  x3  1 
5. ฟังก์ชัน
1. ความหมายของฟังก์ชัน
บทนิยาม ฟังก์ชนั คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งจะไม่ มีคู่อนั ดับสองคู่ใดๆในความสัมพันธ์น้ ีที่มีสมาชิก
ตัวหน้ าเหมือนกัน แต่สมาชิกตัวหลังต่ างกัน
นัน่ คือ f จะเป็ นฟังก์ชนั ก็ต่อเมื่อ ( x, y1 ) f และ ( x, y 2 )f แล้ว y1  y 2
กรณี ความสั มพันธ์ เขียนแบบแจกแจงสมาชิก
ตัวอย่ างที่ 1 จงพิจารณาดูวา่ ความสัมพันธ์ r ต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่
1. r = { (2,2 ),(-2, 2),(3,3),(-3,3),(4,4),(-4,4) }

2. r = {(-3,2),(-2,1),(2,2),(3,2),(2,-2) }

กรณี ความสั มพันธ์ เขียนบอกเงือ่ นไข (ที่นิยมใช้ มี 3 วิธี)


1. จากเงื่อนไข เขียน y ในรู ปของ x ถ้าแต่ ละค่าของ x หาค่า y ได้เพียงค่าเดียวเท่านั้น
สรุ ปว่า r เป็ นฟังก์ ชัน
2. กาหนดความสัมพันธ์ ( x , y )  r และ ( x , z)  r ถ้าสามารถแสดงได้วา่ y = z
แล้ว r เป็ นฟังก์ ชัน
3. เขียนกราฟของความสัมพันธ์ แล้วลากเส้นตรงขนานแกน y ถ้า ตัดกราฟเพียงจุดเดียว
แล้ว r เป็ นฟังก์ ชัน ถ้าตัดกราฟมากกว่าหนึ่งจุด r ไม่ เป็ นฟังก์ ชัน
ตัวอย่ างที่ 2 กาหนดความสัมพันธ์ r = { (x,y) RxR | 2x +3 y = 6 } r เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่

ตัวอย่ างที่ 3 กาหนดความสัมพันธ์ r = {(x,y)  R  R  | x  y 2 4 } r เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่


ตัวอย่ างที่ 4 กาหนดความสัมพันธ์ r1 และ r2 จงพิจารณาว่า r1 และ r2 เป็ นฟังก์ชนั หรื อไม่
1) r1  x, y   R  R y  x 2  1 2) r2  x, y   R  R x  y 2  1

ข้ อตกลงเกี่ยวกับสั ญลักษณ์
ถ้า ความสัมพันธ์ f เป็ นฟังก์ชนั แล้ว เราจะเขียน y  f (x) แทน ( x , y) f และเรี ยก
f (x) ว่าเป็ น ค่ าของฟั งก์ ชัน f ที่ x อ่านว่า เอฟของเอกซ์ หรื อ เอฟที่เอกซ์ หรื อ เอฟเอกซ์

 2x  3 ; x 2

ตัวอย่ างที่ 5 กาหนดให้ f ( x)   x 2  2 x  1 ;  2 x 3
 x3 ; x 3

จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้

1. f (1) 2. f (3)

3. f (5) 4. f (2)  f (4)

ตัวอย่ างที่ 6 กาหนดให้ f ( x  2)  2x  3 และ g (2 x  1)  x 2  2 x  5


จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้
1. f (2) 2. g (1)

3. f (x) 4. g x 
2. ฟังก์ ชันจากเซตหนึ่งไปเซตหนึ่ง
2.1) ฟังก์ ชันจากเซต A ไป เซต B
บทนิยาม กาหนด A และ B เป็ นเซต f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ
1. f เป็ นฟังก์ชนั
2. D f  A
3. R f  B
สั ญลักษณ์ f เป็ นฟังก์ชนั จากเซต A ไป B เขียนแทนด้วย f : A  B

ตัวอย่ างที่ 1 กาหนดให้ A  1, 2,3, 4 และ B  1, 2,3, 4,5,6,7,8


ฟังก์ชนั ใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชนั จากเซต A ไปเซต B

1. f  x, y   A  B y  2 x  1

2. 
g  x, y   A  B y  x 2  1 

3. h  x, y   A  B y  x  2

2.2) ฟังก์ ชันจากเซต A ไปทั่วถึง B


บทนิยาม กาหนด A และ B เป็ นเซต f เป็ นฟังก์ชนั จาก A ไปทัว่ ถึง B ก็ต่อเมื่อ
1. f เป็ นฟังก์ชนั (สมาชิกตัวหน้ าห้ ามซ้า)
2. D f  A
3. R f  B
สั ญลักษณ์ f เป็ นฟังก์ชนั จาก เซต A ไปทัว่ ถึง B
เขียนแทนด้วย f : A   B หรื อ f : A onto
ทัว่ ถึง

 B
2.3) ฟังก์ ชันหนึ่งต่ อหนึ่งจาก A ไป B
บทนิยาม กาหนดให้ f : A  B
ั หนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ ไม่ มีคู่อนั ดับสองคู่ใดๆใน f ที่สมาชิกตัวหลังเหมือนกัน
f เป็ นฟั งก์ชน
แต่สมาชิกตัวหน้ าต่ างกัน
สั ญลักษณ์ f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B เขียนแทนด้วย f : A  11
B

ตัวอย่ างที่ 2 กาหนดให้ A  1 , 3 , 4  และ B  2,5  จงเขียนฟังก์ชนั จาก A ไป B ที่เป็ น


ไปได้ท้งั หมด

ตัวอย่างที่ 3 จงพิจารณาว่าฟั งก์ชนั f และ g เป็นฟังก์ชนั หนึ่ งต่อหนึ่ งหรื อไม่


1. f   0, 1 , 1,0  ,  2, 2  ,  3,1 ,  4, 3

2. g  1, 2  ,  2, 4  ,  3,3 ,  4,6  , 5,3

กรณี ฟังก์ ชันเขียนแบบบอกเงื่อนไข ที่นิยมใช้ มี 3 วิธี คือ


1. จากเงื่อนไข เขียน x ในรู ปของ y ถ้าแต่ ละค่าของ y หาค่า x ได้เพียงค่าเดียวเท่านั้น
สรุ ปว่า r เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
2. กาหนดความสัมพันธ์ ( x 1 , y )  r และ ( x 2 , y)  r ถ้าสามารถแสดงได้วา่ x 1 = x 2 แล้ว
r เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
3. เขียนกราฟของความสัมพันธ์ แล้วลากเส้นตรงขนานแกน x ถ้าตัดกราฟเพียงจุดเดียว
r เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่ง
ตัวอย่ างที่ 3 กาหนดฟังก์ชนั f = {(x,y)RxR | y  x }
จงตรวจสอบว่า f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งหรื อไม่

ตัวอย่ างที่ 6 กาหนดฟังก์ชนั f = {(x,y) )RxR | y  x 2  1 }


จงตรวจสอบดูวา่ f เป็ นฟังก์ชนั หนึ่งต่อหนึ่งหรื อไม่

3. ชนิดของฟังก์ชัน
1. ฟังก์ ชันเชิงเส้ น คือ ฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ป y  mx  b เมื่อ m ,b เป็ นจานวนจริ ง และ m  0 ซึ่งกราฟของฟังก์ชนั จะ
เป็ นเส้นตรง เช่น
1.1) y  x  1 1.2) y  2 x  3
2. ฟังก์ ชันกาลังสอง
ฟังก์ชนั กาลังสอง คือ ฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ป y  k  a( x  h)2 เมื่อ a,h,k เป็ นจานวนจริ งใดๆ
และ a  0 ซึ่งกราฟมีลกั ษณะดังนี้ เช่น
1. y  x2  4x 12

2. y   x2  2x  3
3. ฟังก์ ชันค่าสั มบูรณ์
ฟั งก์ชนั ค่าสัมบูรณ์ คือ ฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ป yk  a xh เมื่อ a,h,k เป็ นจานวนจริ งใดๆ
และ a  0 ซึ่งกราฟมีลกั ษณะดังนี้ เช่น
กรณี a  0 กรณี a0

เช่น 1. y 1  2 x  2 2. y  2  3 x  1
4. ฟังก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียล
ฟังก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล คือฟังก์ชนั ที่อยูใ่ นรู ป y  axเมื่อ a  0 และ a  1 กราฟของฟังก์ชนั จะมีลกั ษณะดังนี้
กรณี a  1 กรณี 0  a  1

x
1
เช่น 1. y2 x
2. y  
3
ข้ อสอบ O-NET ฟังก์ชัน
1)

2)

3)

4)

You might also like