You are on page 1of 9

1.

4 ระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟสัน (Newton-Raphson)
แนวคิด
 อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ณ จุด x 0 ก็คือความชันของฟังก์ชนั ณ จุด x 0
ซึ่งแทนด้วย f x 0 
 ดังนั้นสมการเส้นสัมผัสกราฟ y  f x  ณ จุด x 0 , f x 0  คือ
y  f x 0   f x 0 x  x 0 
f (x)

เส้นสัมผัสกราฟ ณ จุด
ที่มีความชัน f ' ( x 0 )
x 0 , f x 0 

 หาจุดตัดแกน x ของเส้นสัมผัสโดยแทนค่า y  0 และจัดรูป


f x 0 
x1  x 0 
f x 0 

 ดังนั้นถ้า f x 0   0 จะหาค่า x ต่อๆมาได้จากค่าประมาณก่อนหน้า


 เราสามารถเขียนสูตรในการหาพจน์ที่ r  1 คือ
f x r 
x r 1  x r 
f x r 

เมื่อ y  f x  หาอนุพันธ์ได้และ f x r   0


ข้อสังเกต
 ระเบียบวิธีของนิวตัน-ราฟสันไม่ต้องหาช่วงเริ่มต้น a, b ที่บรรจุราก
 แต่ระเบียบวิธีของนิวตัน-ราฟสัน ต้องสมมุติค่าประมาณของรากเริ่มต้น x 0
เพื่อไปคานวณหา x1 , x 2 ,... ตามลาดับ

x1 , f x1 

x 0 x2 
x1
ตัวอย่าง5 (Sheet) จงหารากของสมการ 2e x  x  4  0 บนช่วง 0,1 โดย
ระเบียบวิธีนิวตัว-ราฟสัน
วิธีทา จาก f x   2e x  x  4
เราได้ f x   2e x  1 หาค่าได้ทุกค่าของ x
จากสูตรของนิวตัน-ราฟสัน คือ x r 1  x r  f x r 
f x r 
ถ้าให้ค่าเริ่มต้นคือ x 0  0
จะได้ f x 0   2 และ f x 0   3
f x 
ดังนั้น x1  x 0  0  0   2  0.6666666666 67
f x 0  3
จากนั้นคานวณหา f x1  และ f x1  ซึ่งจะได้
f x1   0.56213474 8776 และ f x1   4.89546808 2109
f x 1 
และได้ x 2  x1 
f x1 
0.5621347487 76
 0.6666666666 67 
4.8954680821 09

 0.55183908 7496

ทาซ้าเช่นนี้จนค่า f x r  มีค่าน้อย
r xr f x r  f x r  x i  x i1
0 0.000000000000 -2.000000000000 3.000000000000
1 0.666666666667 0.562134748776 4.895468082109 0.666666666667
2 0.551839087496 0.024726197014 4.472887109518 0.114827579171
3 0.546311070265 0.000052966290 4.453741896025 0.005528017231
4 0.546299177728 0.000000000244 4.453700822516 0.000011892537
5 0.546299177673 0.000000000000 4.453700822327 0.000000000055
จะเห็นว่าในการทาซ้าโดยระเบียบวิธีนวิ ตัน-ราฟสันจะใช้จานวนรอบของ
การทาซ้าเพียงไม่กี่ครั้งก็จะได้ค่ารากที่มีความแม่นยาสูง
ตัวอย่าง6 (Sheet) จงหาค่าประมาณผลเฉลยของสมการ x  3x ให้มีความถูกต้อง
ถึง 8 D.P.
วิธีทา ผลเฉลยของสมการนี้สอดคล้องกับการหาค่ารากของ f x   x  3 x
สังเกตว่า f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องและ f 0  1 และ f 1  2
3
ดังนั้น f 0f 1  0 นั่นคือมีรากของ f x  อยู่ในช่วง 0,1
สมมุติว่าเลือก x 0 เป็นจุดกึ่งกลางของช่วง นั่นคือ x 0  0.5
f x   1  3 x ln 3
เราได้สูตรการทาซ้าของระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟสันเป็น
x r  3 x r
x r 1  x r 
1  3 x r ln 3
และได้ค่าประมาณตามตาราง
r xr f x r  f x r  x i  x i1
0 0.500000000000 -0.077350269190 1.634284100598
1 0.547329756902 -0.000767135404 1.602145981268 0.047329756902
2 0.547808574321 -0.000000075819 1.601829314883 0.000478817419
3 0.547808621654 0.000000000000 1.601829283588 0.000000047333
ตัวอย่าง จงหาผลเฉลยของสมการ x log x  4.77 โดยใช้ระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟ
สัน ให้มีความถูกต้อง 5 D.P.
วิธีทา ผลเฉลยของสมการนี้สอดคล้องกับการหาค่ารากของ
f x   x log x  4.77
1
จะได้ว่า f x   x  log x  log e  log x
x ln10
โดยระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟสัน
x r log x r  4.77
x r 1  x r 
log x r  log e
ให้ค่าเริ่มต้น x 0  2, 3, 6, 7 ตามลาดับ สรุปค่าต่างๆได้ดังตาราง
i x_r |x_r-x_(r-1)| i x_r |x_r-x_(r-1)| i x_r |x_r-x_(r-1)|
0 2.0000000000 0 3.0000000000 0 6.0000000000
1 7.6681643762 5.6681643762 1 6.6631320940 3.6631320940 1 6.0833789876 0.0833789876
2 6.1412646644 1.5268997117 2 6.0921514846 0.5709806095 2 6.0831734412 0.0002055464
3 6.0832713492 0.0579933152 3 6.0831757979 0.0089756867 3 6.0831734400 0.0000000012
4 6.0831734402 0.0000979090 4 6.0831734400 0.0000023579
5 6.0831734400 0.0000000003

i x_r |x_r-x_(r-1)|
0 7.0000000000
1 6.1045075999 0.8954924001
2 6.0831867268 0.0213208731
3 6.0831734400 0.0000132868
4 6.0831734400 0.0000000000

สังเกตว่าในที่นี้เลือก x 0  0 ไม่ได้เพราะ ค่าฟังก์ชันลอการิทึมไม่นิยามเมื่อ x  0


ต้องการหาเงื่อนไขที่จะทาให้ระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟสันลู่เข้า
ระเบียบวิธีของนิวตัน-ราฟสันต้องสอดคล้องเงื่อนไข f    0
ซึ่งเงื่อนไข f    0 จะเป็นจริงก็ต่อเมื่อราก  เป็นรากเชิงเดียว (ไม่มีราก
ซ้า)ของ f x  กล่าวคือ มีฟังก์ชัน gx  ซึ่ง
f x   x   gx  เมื่อ lim gx   0
x

ในกรณีรากของสมการไม่เป็นรากเชิงเดียว ระเบียบวิธีนิวตัน-ราฟสันก็
สามารถลูเ่ ข้าได้ แต่ช้า
ตัวอย่าง7 (Sheet) สมการ f x   e x  x  1 มีราก x  0 ไม่เป็นซึ่งไม่เป็นราก
เชิงเดียว เพราะ f 0  0 และ f 0  0 ถ้าใช้ระเบียบวิธนี ิวตัน-ราฟสันหาค่าราก
จะได้ผลดังตารางต่อไปนี้
exr  x r 1
x r 1  x r 
exr 1

r xr f x r  f x r  x i  x i1
0 1.000000000000 0.718281828459 1.718281828459
1 0.581976706869 0.207595689973 0.789572396842 0.418023293131
2 0.319055040911 0.056772008685 0.375827049596 0.262921665959
3 0.167996172886 0.014935910537 0.182932083423 0.151058868025
4 0.086348873748 0.003837725705 0.090186599453 0.081647299138
5 0.043795703674 0.000973186964 0.044768890638 0.042553170074
6 0.022057685366 0.000245069312 0.022302754678 0.021738018308
7 0.011069387478 0.000061492354 0.011130879832 0.010988297888
8 0.005544904663 0.000015401437 0.005560306100 0.005524482815
9 0.002775014494 0.000003853917 0.002778868411 0.002769890169
10 0.001388148972 0.000000963925 0.001389112897 0.001386865522
11 0.000694235066 0.000000241037 0.000694476103 0.000693913906
12 0.000347157697 0.000000060266 0.000347217963 0.000347077369
13 0.000173588892 0.000000015067 0.000173603959 0.000173568805
14 0.000086796957 0.000000003767 0.000086800724 0.000086791935
15 0.000043399107 0.000000000942 0.000043400049 0.000043397850
การประยุกต์นิวตัน-ราฟสันเมื่อเกิดรากซ้า
สมมติให้ฟังก์ชัน f x  มีราก  ซ้าทั้งหมด p ตัว
นั่นคือ f x   x   p gx  เมื่อ g  0
จะได้สูตรการประมาณค่าในกรณีทั่วไปคือ
f (x r )
x r 1  x r  p
f ' (x r )

สังเกตว่าถ้า p  1 จะได้สูตรนิวตัน-ราฟสัน x r 1  x r  f ( x r )
f ' (x r )

You might also like