You are on page 1of 660

การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก (WSD)

โดยวิธีหนวยแรงใชงาน ปรับปรุงใหม 2555


โดย ผูชวยศาสตราจารยสมศักดิ์ คําปลิว (เพื่อการศึกษา)

สงวนลิขสิทธิ์

พิมพครั้งที่ 1

มกราคม 2556

ผูจัดทํา : ผูชวยศาสตราจารยสมศักดิ์ คําปลิว


พิสูจนอักษร : ผูชวยศาสตราจารยสมศักดิ์ คําปลิว และ นายอธิพัชร ศรเกตุ
ผูออกแบบปก : นายอธิพัชร ศรเกตุ
ควบคุมการพิมพโดย : นายอธิพัชร ศรเกตุ และ TumCivil.com Training Center

ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ
ISBN : 978-616-321-465-2

จัดพิมพโดย
นายอธิพัชร ศรเกตุ และ TumCivil.com Training Center

นําเสนอโดย
TumCivil.com Training Center / www.tumcivil.com / ตั้มซีวลิ โทร. 089-4990739
การออกแบบ
อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ผศ.สมศักดิ์ คําปลิว
คํานําในการพิมพครั้งแรก
หนังสือการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเลมนี้เปนทั้งกึ่งตําราและกึ่งคูมือ ซึ่งผูเขียนนํามา
จากประสบการณการคํานวณออกแบบงานจริง เพราะตําราวิชานีท้ นี่ ิสิตนักศึกษาใชเรียนตามหลักสูตรทั้ง
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จะเนนหนักทางทฤษฎีคือออกแบบโครงสรางทีละอยาง อาจารยจะตั้งโจทย
ตุกตาโดยใส LOAD มาใหเรียบรอย เรามีหนาที่คํานวณตามทฤษฎี ซึ่งตําราในลักษณะนี้เหมาะกับการเรียน
และอานเพื่อสอบเทานั้น เมือ่ สําเร็จการศึกษาและไดรับแบบจากสถาปนิกสักหนึ่งแบบใหคํานวณ อาจตอง
ปวดหัวอยูหลายวันเพราะไมทราบวาจะเริ่มตนออกแบบอยางไร ตองวิ่งหารายการคํานวณของวิศวกรรุน
กอนๆ ที่เขาทําไว ถาโชคดีเจอรายการคํานวณของผูที่ทําไวอยางละเอียด และเปนระเบียบเขาใจงายก็ดไี ป แต
ถาไดของวิศวกรรุนเดอะอาจจะพบวาเวลาออกแบบคานมีรายการคํานวณเพียงบรรทัดเดียว บอกโมเมนต
แลวเขียนหนาตัดใหเลย อยางนี้จะงงหนักเขาไปอีก เพราะตําราดังกลาวไมไดบอกวิธีเริ่มตนเมือ่ ไดแบบ
สถาปตยกรรม การออกแบบแตละชิ้นสวนควรจะทําตัวไหนกอนหลัง การคิดน้าํ หนักลงโครงสรางทํา
อยางไร เมื่อเปนเชนนีว้ ิศวกรที่จบใหมจึงอาจจะพลาดงานไปบอยๆ

ในหนังสือเลมนี้ไดจดั เรียงเรียงเนื้อหาจากบทที่ 1 เปนความรูพื้นฐานในการออกแบบโครงสราง


คอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งเปนความรูทั่วๆ ไปเกี่ยวกับวัสดุตางๆ บทที่ 2 ออกแบบคานซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญ
ที่สุด โครงสรางทุกชนิดถือวาเปนคานทัง้ นั้น ยกเวนเสาที่รับแรงตามแนวแกนอยางเดียว (axial load) ถา
เขาใจบทนีแ้ ลวบทอื่นๆ จะงายขึ้นมาก ในบทที่ 3 เกีย่ วกับการออกแบบพื้น บทที่ 4 ออกแบบบันได บทที่ 5
ออกแบบเสา บทที่ 6 ออกแบบฐานราก สวนบทที่ 7 เปนสวนเสริมที่ควรจะทราบเกี่ยวกับการทํารายการ
คํานวณและการเขียนแบบเพื่อยื่นขออนุญาตจากทางราชการ และสุดทายภาคผนวกจะเปนตารางที่จําเปนใน
การออกแบบ

ในการออกแบบจริงนั้นควรจะเริ่มจากการออกแบบหลังคา ถาไมมี (หลังคาเปนดาดฟา คสล.) จะ


เริ่มจากการสเก็ตชผังคานและพื้นแตละชั้น ถาซ้ํากันก็งายหนอย เริ่มออกแบบแผนพื้น บันได ถายน้าํ หนักลง
คาน ออกแบบคาน ถายน้ําหนักจากคานลงเสา ออกแบบเสา ถายน้าํ หนักจากเสาลงฐานราก ออกแบบฐาน
ราก เขียนใบปะหนาซึ่งมีขอกําหนดและพารามิเตอรตางๆ ที่ใชออกแบบ ในเขตกรุงเทพมหานครใช
f c' = 173 ksc โดย f c = 0.375f c' แตถาตางจังหวัดควรจะใช f c' = 144 ksc และ f c = 0.45f c' ถายเอกสาร

รายการคํานวณและเซ็นชื่อกํากับทุกแผน (ควรจะเปนหมึกสีน้ําเงิน) ถายเอกสารใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ


วิศวกรรมควบคุม เซ็นชื่อกํากับและระบุวาเปนงานใด ใครเปนเจาของงาน วัน/เดือน/ป เขียนใบรับรองของ
ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม รวบรวมเอกสารเพื่อใหเจาของงานไปยื่นขออนุญาต
จุดประสงคที่เขียนขึ้นมานัน้ ผูเขียนหวังจะเห็นวิศวกรยอดฝมือมากๆ ในประเทศไทย และมีความ
เชื่อวาศิษยหรือผูอานควรจะเกงกวาครู นั่นคือคลื่นลูกหลังควรจะแรงกวาคลื่นลูกแรก ประเทศชาติของเราจึง
จะตองถูกพัฒนาใหเจริญได

ผูเขียนหวังเปนอยางยิ่งวาถาทานผูอานพบขอผิดพลาดในหนังสือเลมนี้ กรุณาแจงใหผูเขียนทราบ
ดวย เพื่อจะไดแกไขใหถูกตองสมบูรณและใชเปนหนังสือที่ถายทอดความรูแกคนรุน หลังไดดีขนึ้ ผูเขียนขอ
ถือโอกาสนี้ขอบพระคุณอาจารยวีระนนท วองไพฑูรย และคุณหญิงพัชรี วองไพฑูรย อดีตอาจารยและ
ผูบังคับบัญชา ซึ่งใหการสนับสนุนผูเขียนในการเขียนหนังสือเลมนี้ ขอขอบคุณ คุณอรวรรณ คําปลิว ซึ่งเปน
ภรรยาของผูเขียนเองในการดูแลสุขภาพของผูเขียนเปนอยางดีในระหวางเขียน ขอขอบคุณบริษัท ซีเอ็ด
ยูเคชั่น จํากัด ในการจัดทําและเผยแพรหนังสือ “การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก” ออกสูทานผูอาน

สมศักดิ์ คําปลิว
คํานําในการปรับปรุง พ.ศ.2555
เมื่อป พ.ศ.2550 บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด ไดยุติการพิมพหนังสือ “การออกแบบอาคารคอนกรีต
เสริมเหล็ก” แตยังมีผูถามหาหนังสือเลมนีก้ ันอยู ประจวบกับการออกแบบตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6 โดย
วิธีกําลังที่ใหใช f c' ไมเกิน 150 ksc ทําใหไมประหยัดเทากับวิธีหนวยแรงใชงาน หนังสือเลมนี้จึงมีความจํา
เปนอยู แตวทิ ยาการมีความกาวหนาขึ้นมาก ผูเขียนจึงถือโอกาสปรับปรุงเพิ่มเติมสวนที่ยังขาดอยู และตัด
สวนที่ลาสมัยไปแลว

ในสวนของการออกแบบบันได ไดเพิ่มเติมการออกแบบบันไดชานพักลอย และรายละเอียดการ


ออกแบบฐานรากไดเพิ่มเติมมากกวากรณีอนื่ ๆ

ผศ.สมศักดิ์ คําปลิว
สารบัญ
บทที่ 1 โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
คอนกรีต (1) วัสดุผสมคอนกรีต (2) กําลังอัดของคอนกรีต (2) คาความยุบตัวของคอนกรีต (4)
อัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C) (5) โมดูลัสยืดหยุนของคอนกรีต (6) เหล็กเสริม (22) สัญลักษณแทน
เหล็กเสริม (24)

บทที่ 2 คานคอนกรีตเสริมเหล็ก
น้ําหนักบรรทุกบนคาน (25) การรับน้ําหนักของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก (29) การหาโมเมนตดดั
และแรงเฉือนในคาน (31) การรับโมเมนตดัดในคานตามทฤษฎียืดหยุน (33) คานซึ่งมีเหล็กเสริมรับ
แรงดึงและเหล็กรับแรงอัด (43) แรงเฉือนและแรงดึงทแยงในคานคอนกรีตเสริมเหล็ก (55) ความ
ตานทานตอโมเมนตบิด (69) คานแคบ คานลึก (81) การจัดและแสดงรายละเอียดในคานพิเศษ (87)
แบบฝกหัดบทที่ 2 (91)

บทที่ 3 พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก
ชนิดของแผนพื้น (95) การเกิดโมเมนตดัดในแผนพื้น (96) พื้นระบบตง (116) การเจาะพืน้ (121)
การใชทรายถมเปนแบบพืน้ ชั้นลาง (122) แผนพื้นชั้นลางวางบนดินถม (123) พื้นสองทางตอเนื่อง
กับพื้นทางเดียว (124) รายละเอียแผนพืน้ สําเร็จรูป (125) แบบฝกหัดบทที่ 3 (126)

บทที่ 4 บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก
ชนิดของบันได (127) บันไดแบบมีคานรับที่ปลาย (129) บันไดยื่น (156) บันไดแบบมีคานแมบันได
สองขาง (168) บันไดแบบยื่นจากคานกลาง (169) บันไดเวียน (171) บันไดชานพักลอย (199)
แบบฝกหัดบทที่ 4 (222)

บทที่ 5 เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
การถายน้ําหนักจากคานและพื้นลงเสา (223) ประเภทเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (226) เสาสั้นรับ
น้ําหนักตามแกน (228) ขอกําหนดเกีย่ วกับเสา (231) เสาสั้นรับน้ําหนักเยื้องศูนย (243) เสายาว
(265)
บทที่ 6 ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก
ฐานราก (277) แบบของฐานราก (278 การกระจายน้ําหนัก (280) เสาเข็ม (284) การรับน้ําหนักของ
เสาเข็ม (286) การคํานวณกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มจากผลการเจาะสํารวจดิน (299) ลักษณะการ
วิบัติของฐานราก (331) กําลังตานทานแรงเฉือนของคอนกรีตในฐานราก (339) การเสริมเหล็กรับ
แรงดัดในฐานราก (340) ลักษณะการรับแรงของเสาเข็ม (361) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 1
ตน (362) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน (382) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 3 ตน (399)
การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 4 ตน (411) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 5 ตน (418) การ
ออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 6 ตน (425) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 7 ตน (434) การออกแบบ
ฐานรากบนเสาเข็ม 8 ตน (441) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 9 ตน (448) การออกแบบฐานราก
บนเสาเข็ม 10 ตน (455) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 11 ตน (462) การออกแบบฐานรากบน
เสาเข็ม 12 ตน (469) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 13 ตน (476) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม
14 ตน (484) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 15 ตน (492) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 16 ตน
(500) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 17 ตน (508) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 18 ตน(516)
การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 19 ตน (524) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 20 ตน (532)การ
ออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 21 ตน (540)การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 22 ตน (548) การ
ออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 23 ตน (556) การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 24 ตน (564) การ
ออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 25 ตน (573) แบบฝกหัด (582)

ภาคผนวก
ตาราง ผ-1 เนื้อที่หนาตัด น้ําหนัก เสนรอบวง ของเหล็กเสริมคอนกรีต (591) ตาราง ผ-2 เนื้อที่หนา
ตัด เสนรอบวง ของเหล็กเสริมในแผนพืน้ (593) ตาราง ผ-3 หนวยแรงยึดเหนี่ยวทีย่ อมให (596)
ตาราง ผ-4 ระยะฝงและระยะทาบของเหล็กเสริม (599) ตาราง ผ-5 หนวยแรงที่ยอมให (601) ตาราง
ผ-6 กําลังของหนาตัดคานขนาดตางๆ (602) ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง (615)
ตาราง ผ-8 กําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดี่ยวแบบสั้น (626) ตาราง ผ-9 กําลังรับน้ําหนัก
บรรทุกของเสาปลอกเกลียวแบบสั้น (644)

บรรณานุกรม (647)
1
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก

โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก เปนการนําเอาคอนกรีตหรือหินประดิษฐซึ่งรับแรงอัดไดดีรับแรง
ดึงไดต่ํา มาประกอบกับเหล็กกลาละมุนซึง่ รับทั้งแรงอัดและแรงดึงไดดีแตราคาแพง ทําใหไดโครงสรางที่มี
ราคาเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูง

1.1 คอนกรีต
คอนกรีตเปนหินที่ประดิษฐขึ้นมาใหไดรปู รางที่ตองการตามจุดประสงค โดยทําใหอยูใ นสภาพ
เหลวเพื่อใหมรี ูปรางตามแบบที่เตรียมเอาไว เมื่อคอนกรีตแข็งตัวและนําแบบทีใ่ ชออกไปจะไดหินตาม
รูปทรงที่ตองการ ผิวคอนกรีตในทางสถาปตยกรรมตองการนั้นมีสองแบบคือ

(ก) คอนกรีตเปลือย เมื่อนําแบบหลอออกไปแลว จะปลอยใหผวิ คอนกรีตตามรูปแบบหลอ


โดยตรง อาจจะมีการอุดรูพรุนที่เกิดขึน้ ดวยปูนทรายในกรณีโครงสรางที่ไมสําคัญ หรืออุดดวยเรซินกําลังสูง
เชนซิลิกาท็อปในโครงสรางที่สําคัญมาก เมื่อซอมแซมสวนบกพรองและปรับแตงรูปรางใหคลายแบบแลว
จะแตงผิวขั้นสุดทายโดยใชปูนซีเมนตผสมทรายละเอียดที่รอนจากตะแกรงตาถี่ๆ ใสน้ําเหลวมาก จากนั้นใช
แปรงไมกวาดจุมปูนทรายทาตามผิวคอนกรีตแทนการทาสี ทรายและปูนซีเมนตจะเขาไปอุดรูพรุนเล็กๆ ทํา
ใหผิวเรียบไมเปลืองสีรองพื้นที่จะทาทับลงไปในภายหลังทั้งยังแข็งแรงกวาการทาสีรองพื้นหนา ในกรณี
คอนกรีตเปลือยผิวนีจ้ ําตองทําแบบหลออยางประณีตและแข็งแรง เชน พื้นใชไมอดั เปนแบบ ตุกตาที่เปนไม
ค้ํายันตองวางถี่ๆ ประมาณ 0.50 เมตร ไมเชนนั้นผิวพื้นจะเปนคลื่นจากการแอนตัวของแบบหลอ แบบคาน
ตองไสใหเรียบและทํารองใหเปนแนวสวยงาม

(ข) คอนกรีตฉาบผิวดวยปูนทราย ในกรณีแบบหลอไมจาํ เปนจะตองประณีตแตตองแข็งแรง


เพื่อไมใหลําบากตอการฉาบในภายหลัง ผิวแบบหลอควรจะหยาบเพื่อใหปูนฉาบจับไดแนนไมหลุดลอน ปูน
ฉาบประกอบดวยทรายละเอียดรอนพรอมๆ กับปูนขาวหมักดวยน้ําแลวผสมกับปูนซีเมนตซิลิกา เชน ตรา
เสือ ซึ่งจะแข็งตัวชากวาปูนซีเมนตสําหรับโครงสรางเชน ตราชาง นอกจากนีย้ ังหดตัวนอยผิวที่ฉาบแลวจึง
ไมแตกราว ปูนขาวทําใหลื่นฉาบงาย ตรงสวนมุมของเสาหรือคานตองใชปูนฉาบผสมปูนมากพิเศษทําสัน
ตรงมุมใหไดระดับหรือแนวที่ถูกตอง ทิ้งใหแข็ง 2-3 วันจึงจะฉาบใหเต็ม ใตทองพืน้ หรือกันสาดจะตองใช
ปูนฉาบทําปุมเปนระยะประมาณ 1.50 เมตร และจัดใหระดับถูกตองไวอางอิงในการฉาบจริงอีกครั้ง
2 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1.2 วัสดุผสมคอนกรีต
ปูนซีเมนต เปนวัสดุที่ใชในการเคลือบผิวของวัสดุผสมละเอียด เชนทราย วัสดุผสมหยาบ เชน
หินหรือกรวด เพื่อใหวัสดุเหลานี้ติดเปนเนื้อเดียวกัน วิธีการผลิตและชนิดของปูนซีเมนตจะศึกษาไดจาก
ตําราเทคนิควิทยาคอนกรีต หรือ คอนกรีตเทคโนโลยี
ทราย จะตองเปนทรายน้ําจืด เม็ดคมและสะอาด ทรายที่ใชผสมเปนคอนกรีตของโครงสรางหลัก
เชน ฐานราก เสา คาน พื้น จะใชทรายหยาบ สําหรับทรายละเอียดนั้นจะใชทําปูนฉาบเพื่อใหผวิ ละเอียดเรียบ
ไมนิยมใชผสมคอนกรีต ทรายขี้เปดหรือทรายถมมีสีดําเนื่องจากมีสารอินทรียหรือสิ่งสกปรกตางๆ ปะปนมา
ดวย ใชในการถมที่หามนํามาผสมคอนกรีต การทดสอบทรายอยางงายๆ ใหเอาทรายประมาณหนึง่ กํามือใส
ในแกวน้ํา เติมน้ําสะอาดแลวกวนใหทวั่ ถามีสิ่งสกปรกจะเห็นแขวนลอยในน้ํา
หินยอย กรวด หินยอยไดมาจากการระเบิดหินปูนจาก๓เขาผานเครื่องบดหินและตะแกรงคัดขนาด
สวนใหญจะมาจากแถบสระบุรี หินที่มีขนาด 12 " 34 " เรียกวา หินหนึ่ง ใชสําหรับผสมคอนกรีตเพื่อเทในที่
แคบๆ หรือบริเวณทีเ่ หล็กรียงถี่ๆ เชน ครีบ พื้น จุดตอระหวางคานกับคาน หรือคานกับเสา ซึ่งบริเวณนี้เหล็ก
จะแนนมาก ถาใชหินใหญเกินไปจะเปนโพรงทําใหโครงสรางเสียกําลัง หินที่มีขนาด 34 "1 12 " เรียกวา หิน
สอง ใชผสมคอนกรีตทั่วๆ ไป กรวด เปนหินยอยธรรมชาติเก็บจากแมน้ําลําธาร จะมีบริเวณชนบทหรือตน
น้ําลําธาร ใชในกรณีทหี่ าหินยอยไมไดหรือคาขนสงสูงเกินไป ขนาดของหินเปนองคประกอบสําคัญในการ
ประหยัดปูนซีเมนต เนื่องจากปูนซีเมนตมรี าคาสูงกวาหินมาก ในปริมาตรคอนกรีตที่เทากัน หินขนาดโตจะ
ใชปนู ซีเมนตนอยกวาหินขนาดเล็ก แตหนิ ยิ่งโตมากยิ่งทําใหเกิดโพรงมากยิ่งขึ้น ในงานอาคารจะใชหนิ สอง
เวนแตบริเวณที่เหล็กแนนจะใชหนิ หนึ่ง
น้ํา เปนสารที่ทําปฏิกิริยาเคมีไฮเดรชันกับปูนซีเมนตเปนวุนไปเคลือบผิววัสดุผสมเชนทรายและ
หินใหยดึ ติดกันแนน ดังนัน้ น้ําตองสะอาดเชนน้ําประปา น้ําสะอาดที่ดมื่ ไดใชผสมคอนกรีตได
สารเคมีผสมเพิ่ม เพื่อใหสมบัติของคอนกรีตเปลี่ยนไป เชน น้ํายากันซึมทําใหคอนกรีตเกิดการ
ทึบน้ําสําหรับเทหองน้ําหองสวม หรือหองครัว ถังเก็บน้ํา ดาดฟา สารเคมีบางอยางทําใหคอนกรีตกอตัวชา
ลงเพื่อใหขนสงและเทเขาแบบไดทัน สารบางอยางคลายน้ําทําใหอัตราสวนน้ําตอซีเมนตนอยลงแตไหลเขา
แบบไดดี กําลังจึงสูงขึ้น เรื่องนี้ดูรายละเอียดในหนังสือคอนกรีตเทคโนโลยี

1.3 กําลังอัดของคอนกรีต
กําลังอัดของคอนกรีตที่สวนผสมของมวลรวมหยาบและมวลรวมละเอียดที่ดนี ั้น จะขึ้นอยูกับ
ความแข็งแกรงของมวลรวมหยาบ และยังขึ้นอยูก ับอัตราสวนน้ําตอซีเมนตโดยน้ําหนัก การทําตัวอยาง
ทรงกระบอกคอนกรีตตองทําอยางนอย 3 ตัวอยางทุกวันที่มีการเทคอนกรีต หรือทุกๆ ปริมาตรคอนกรีต 100
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 3

ลูกบาศกเมตร หรือพื้นที่ 500 ตารางเมตร ตัวอยางทรงกระบอกเสนผานศูนยกลาง 15 ซม สูง 30 ซม เท


คอนกรีต 3 ชั้นชั้นละ 10 ซม กระทุงดวยเหล็กเสนผานศูนยกลาง 15 มม ยาว 60 ซม ปลายมน แตละชั้น
กระทุง 25 ครั้ง ปาดผิวบนใหเรียบทิ้งไวจนหมาดใชลวดผูกเหล็กหรือตะปูเขียนชื่อสถานที่กอสรางและวันที่
ทําตัวอยาง เมือ่ คอนกรีตแข็งดีแลวหรือประมาณ 12-24 ชั่วโมง แกะแบบหลอออกเอาตัวอยางนัน้ แชในน้ํา
จนครบ 7 วัน 14 วัน และ 28 วัน ใหนําแทงคอนกรีตไปทดสอบหากําลังอัดประลัยที่หอ งปฏิบัติการโยธาของ
คณะวิศวกรรมศาสตรซึ่งจะมีใบแสดงผลการทดสอบเปนหลักฐานทีเ่ ชื่อถือได

รูปที่ 1.1 แทงคอนกรีตตัวอยางสําหรับทดสอบหากําลังอัดประลัย

สําหรับตัวอยางลูกบาศกจะใชสากสี่เหลี่ยมตําตามมาตรฐานของอังกฤษ กําลังอัดประลัยของ
ตัวอยางลูกบาศกจะมากกวากําลังอัดประลัยของทรงกระบอก แตกําลังอัดประลัยที่ใชตามกฎหมายไทยนั้น
เปนคาของทรงกระบอก ไมใชลูกบาศก ความสัมพันธโดยประมาณของกําลังประลัยทั้งสองชนิดคือ

กําลังอัดประลัยของทรงกระบอก  5 กําลังอัดประลัยของลูกบาศก
6

คาความสัมพันธของกําลังประลัยทรงกระบอกและลูกบาศกจากผลการทดลองดังแสดงในตารางที่
1.1 ดังตอไปนี้

ตารางที่ 1.1 ความสัมพันธของกําลังอัดประลัยทรงกระบอกและลูกบาศก


f c' ทรงกระบอก 75 158 240 352 460 580
f c' ลูกบาศก 100 200 300 400 500 600

ความสัมพันธระหวางกําลังอัดประลัยของลูกบาศกกับทรงกระบอก อาจจะหาโดยใชโปรแกรม Excel


ที่ใหคาสมการของความสัมพันธดังนี้
4 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 1.2 รูปความสัมพันธของกําลังอัดทรงกระบอกกับลูกบาศก

1.4 คาความยุบตัวของคอนกรีต
เปนการทดสอบความขนเหลวของคอนกรีตเพื่อใหพอเหมาะในการเท เนื่องจากหากเหลวเกินไป
น้ําปูนกับหินทรายจะแยกจากกันโดยหินจะไปกองดานลางน้ําปูนและทรายจะกองอยูดานบน กําลังของ
คอนกรีตไมสม่ําเสมอแตกราวงาย และถามีรูรั่วน้ําปูนจะไหลออกจามรูรั่วทําใหเกิดโพรงตามตําแหนงที่รวั่
นั้น ในทางตรงกันขามถาคอนกรีตขนเกินไปก็จะไหลเขาแบบหลอยาก เกิดโพรงมากเนื่องจากคอนกรีตไหล
ไปอุดชองวางไดยากนั่นเอง

การทดสอบในสนามจะใชกรวยสังกะสีหรือแผนเหล็กบางๆ ซึ่งมีขนาดดังรูปที่ 1.2 เอากรวยนีว้ าง


บนพื้นเรียบเชน แผนสังกะสี เทาเหยียบปกฐานกรอกคอนกรีต 3 ชัน้ ๆ ละ 10 เซนติเมตร แตละชั้นกระทุง
ดวยเหล็กกลมปลายมนเสนผานศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร ยาว 60 เซนติเมตร จํานวน 25 ครั้ง เมื่อเต็มกรวยแลว
ใชเหล็กกระทุง ปาดหนาใหเรียบ เอาเทาออกจากปกฐานกรวยใชมือจับหูของกรวยกระตุกขึ้นตรงๆ ชวงสั้นๆ
จนคอนกรีตหลุดจากกรวยแลวยกขึ้นในแนวดิ่ง เอากรวยวางขางๆ คอนกรีต เหล็กกระทุงวางบนยอดกรวย
ชางควบคุมงานกอสรางและผูกําหนดมาตรฐานในสัญญา มักจะใหความสําคัญตอการยุบตัวของ
คอนกรีตมากเกินความจําเปน โดยเขาใจวาคาความยุบตัวเปนสิ่งที่ใชกําหนดกําลังอัดประลัยคอนกรีต และ
คิดวาคาความยุบตัวยิ่งนอยยิง่ ดี ซึ่งเปนการเขาใจผิด เพราะการเปลี่ยนแปลงอัตราสวนผสม ขนาดของหิน
ลวนแตมีผลตอคาความยุบตัว จึงควรถือเปนสิ่งที่ใชในการสังเกตโดยประมาณเทานัน้ จุดที่ควรควบคุมคือ
อัตราสวนของน้ําตอซีเมนตซึ่งเปนตัวทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของกําลังอัดคอนกรีตที่สําคัญที่สุด คาความ
ยุบตัวทีใ่ ชจะอยูในชวง 5-15 เซนติเมตร ใชแถบวัดจากยอดกรวยคอนกรีตถึงเหล็กกระทุงจะไดคาความ
ยุบตัวของคอนกรีต
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 5

รูปที่ 1.3 การทดสอบความขนเหลวของคอนกรีตจากคาความยุบตัว

ในกรณีของผูรับเหมากอสรางที่ผสมคอนกรีตดวยเครื่องผสมหรือโมผสม จะใชปนู ซีเมนต 1 ถุง


(ปริมาตร 0.038 m3 น้ําหนัก 50 kg) ทราย 0.076 m3 (ประมาณ 4-5 บุงกี๋ น้ําหนัก 0.076  1650 = 125.4 kg)
หิน 0.152 m3 (ประมาณ 8-9 บุงกี๋ น้ําหนัก 0.152  1600 = 243.2 kg จะไดคอนกรีต 6 โม/m3 ใชน้ํา 2-3 ถัง
(สําหรับเทปูน) คอนกรีตจะมีกําลังอัดประลัยทรงกระบอกประมาณ 180-250 ksc ถาเปลี่ยนจากหินสอง (20-
40 mm) ไปเปนหินหนึ่ง (10-20 mm) ปริมาตรของคอนกรีตจะนอยลงซึ่งอาจจะเปน 8-11 โม/m3

1.5 อัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C)


W/C คืออัตราสวนของน้ําหนักของน้ําตอน้ําหนักของปูนซีเมนต เปนคาที่ใชกําหนดกําลังของ
คอนกรีตที่บมถูกตองและมีอายุครบ 28 วัน
ตารางที่ 1.2 กําลังอัดของคอนกรีตที่ W/C ตางๆ กัน
W กําลังอัดประลัยของคอนกรีตอายุ 28 วัน,ksc
C คอนกรีตธรรมดา คอนกรีตมีฟองอากาศ
0.35 420 335
0.40 350 280
0.50 280 225
0.60 225 180
0.70 175 140
0.80 140 115
6 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตามกฎกระทรวงมหาดไทยฉบับที่ 6 พ.ศ.2527 และขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2522 ขอ 50


ใหใชหนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีตไมเกิน 0.375 ของกําลังอัดประลัยของคอนกรีตที่ 28 วัน และไม
65
เกิน 65 ksc ถาให f c  0.375f c' หรือ 65  0.375f c' ดังนั้น f c'   173.3 ksc เมื่อดูจากตารางที่
0.375
W
2 พบวาตองใช  0.65 ถาใชอัตราสวนผสม 1 : 2 : 4 ในคอนกรีต 1 m3 จะใชปนู ซีเมนต 6 ถุง (50  6 =
C
300 kg) ดังนัน้ น้ําหนักน้ําทีใ่ ชผสมเทากับ 0.65  300 = 195 kg หรือประมาณ 195 ลิตร แตมีขอโตเถียง
ระหวางผูควบคุมงานกับผูรับเหมาวาจะใชน้ําปริมาณนี้เต็มที่หรือตองลดลง เพราะปกติหนิ ทีใ่ ชผสมนั้น
คนงานจะโกยใสบุงกี๋ยกจุมน้ําลางเศษผง ทําใหมีน้ําจับที่ผิวของหินจนชุมรวมทัง้ ทรายที่ใชผสมนั้นมักจะ
W
เปยกน้ํา ทําใหปริมาณน้ําจริงในสวนผสมเพิ่มขึ้นหรือ เพิ่มขึ้น (กําลังประลัยของคอนกรีตจะต่ําลง)
C
W W
ดังนั้นควรลดปริมาณน้ําที่เพิ่มเขาไป แตนาจะลดจาก  0.65 เปน  0.55  0.60 หรือน้ําหนักน้ํา
C C
W  165  180 kg อยาใหต่ํากวานี้จะทําใหคอนกรีตขนเกินไป

1.6 โมดูลัสยืดหยุนของคอนกรีต
Ec คืออัตราสวนของหนวยแรงตอหนวยการหดตัว แตจากรูปที่ 1.3 จะพบวากราฟไมมีชวงที่เปน
เสนตรงเลย จากรูปจะไดวา
Ec = initial modulus = tan 1
Ec = tangent modulus = tan 1 และ tan  3
Ec = secant modulus = tan  2
สําหรับ secant modulus ใชคาหนวยการหดตัวของคอนกรีตเทากับ 0.003 หรือ 0.3 %
มาตรฐานของวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย (ว.ส.ท.) กําหนดคาโมดูลัสยืดหยุนของคอนกรีต

E c  4270 w 1.5 f c' ksc (1.1)

เมื่อ Ec  โมดูลัสยืดหยุน ของคอนกรีต, ksc

w หนวยน้ําหนักของคอนกรีตสด, T/m3
f c'  กําลังประลัยของตัวอยางทรงกระบอกที่อายุ 28 วัน, ksc

คอนกรีตที่ใชในประเทศไทย มีหินปูนเปนสวนผสมหยาบ จะมีหนวยน้ําหนักของคอนกรีตสด ประมาณ


2.323 T/m3 เมือ่ แทนคาจะได

E c  4270  2.3231.5 f c'  15,118 f c'  15,100 f c' (1.2)


โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 7

รูปที่ 1.4 การหาโมดูลัสยืดหยุนของคอนกรีต

การคํานวณออกแบบสวนผสมคอนกรีต

แมวาการออกแบบสวนผสมจะเปนสวนของวิชาคอนกรีตเทคโนโลยี แตก็ตองมีการใชงานอยู
บอยครั้ง ผูเขียนจึงนําวิธีการที่ CPAC กําหนดไวมานําเสนอซ้ําเพื่อใหสมบูรณไมตองวิ่งหาหลายๆ เลม
การออกแบบสวนผสมตองเผื่อกําลังประลัยใหมากกวากําลังประลัยระบุในแบบตามดังสมการ
ตอไปนี้

f cr  f c'  ks (1.3)

เมื่อ f cr  Target mean strength หรือกําลังอัดประลัยที่เผื่อแลว, ksc


f c'  กําลังอัดประลัยที่ตองการหรือที่กําหนดในแบบ, ksc
k  คาคงที่
s  คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของกําลังอัดประลัยของคอนกรีต จากกอนตัวอยาง 30 คาหรือมากกวา

ในการหาคา k ใหใชคาตามตารางที่ 1.3 ถาใหรอยละของกําลังที่ต่ํากวานอย คา k จะยิ่งมาก คาที่


แนะนําคือ 5 % ที่จะไดคา k = 1.645

คาความยุบตัวของคอนกรีตจะทําใหความขนเหลวเหมาะสมที่จะไหลเขาแบบหลอไดดี ไมใชคาที่
ทําใหกําลังอัดประลัยของคอนกรีตสูงหรือต่ํา เวนแตแตคา ความยุบตัวนอยเกินไปที่หมายถึงคอนกรีตแหงจน
เกิดโพรงหรือเนื้อคอนกรีตแหงจนกําลังตก คาความยุบตัวจะขึ้นกับปริมาณน้ํา หากมากจะยุบตัวมาก นอยก็
ยุบตัวนอย คาความยุบตัวที่เหมาะสมของโครงสรางชนิดตางๆ ดังแสดงในตารางที่ 1.4
8 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตารางที่ 1.3 คาคงที่ k สําหรับการเผื่อกําลังประลัยในการออกแบบสวนผสมคอนกรีต

คารอยละของกําลังที่ต่ํากวา f c' คา k


20 0.842
10 1.282
5 1.645
2.5 1.960
2 2.054
1 2.326
0 3.000

ตารางที่ 1.4 คาความยุบตัวของคอนกรีตสําหรับการกอสรางประเภทตางๆ

คาความยุบตัว, ซม
ประเภทของงาน
คาสูงสุด คาต่ําสุด
งานฐานราก กําแพง คอนกรีตเสริมเหล็ก 8.0 2.0
งานฐานรากคอนกรีตไมเสริมเหล็ก งานกอสรางใตน้ํา 8.0 2.0
งานพื้น คาน และผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก 10.0 2.0
งานเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 10.0 2.0
งานพื้นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 8.0 2.0
งานคอนกรีตขนาดใหญ 5.0 2.0

ตารางที่ 1.5 ขนาดโตสุดของวัสดุผสมสําหรับงานกอสรางประเภทตางๆ

ขนาดความหนา ขนาดโตสุดของวัสดุผสม
ของโครงสราง คาน ผนัง และ ผนังคอนกรีต พื้นถนน คสล. พื้นคอนกรีตรับ
ซม เสา คสล. ไมเสริมเหล็ก รับน้ําหนักมาก น้ําหนักนอย
นิ้ว มม นิ้ว มม นิ้ว มม นิ้ว มม
5.0-15.0 2  4
1 3
12.5-20 3
4
20 4 1
3
20-25 4 1 2
3 1
20-40
15.0-30.0 4 1 2
3 1
20-40 1 12 40 1 12 40 1 12  3 40-75
30.0-75.0 1 12  3 40-75 3 75 1 12  3 40-70 3 75
มากกวา 75.0 1 12  3 40-75 6 150 1 12  3 40-75 3-6 75-150
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 9

ตารางที่ 1.6 ปริมาณน้ําที่ตองการสําหรับคาความยุบตัวและวัสดุผสมขนาดตางๆ


คอนกรีตที่ไมมีสารกักกระจายฟองอากาศ

คาความยุบตัว ปริมาณน้ําเปนลิตรตอคอนกรีต 1 ม3 สําหรับวัสดุผสมขนาดตางๆ


ซม 8 นิ้ว
3
2 นิ้ว
1
4 นิ้ว
3
1 นิ้ว 1 12 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว 6 นิ้ว
10 มม 12.5 มม 20 มม 25 มม 40 มม 50 มม 75 มม 150 มม
3-5 205 200 185 180 160 155 145 125
8-10 225 215 200 195 175 170 160 140
15-18 240 230 210 205 185 180 170 -
ปริมาณฟองอากาศ
(%) โดยปริมาตร 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0.3 0.2

ตารางที่ 1.7 ปริมาณน้ําที่ตองการสําหรับคาความยุบตัวและวัสดุผสมขนาดตางๆ


คอนกรีตที่มีสารกักกระจายฟองอากาศ

คาความยุบตัว ปริมาณน้ําเปนลิตรตอคอนกรีต 1 ม3 สําหรับวัสดุผสมขนาดตางๆ


ซม 8 นิ้ว
3
2 นิ้ว
1
4 นิ้ว
3
1 นิ้ว 1 12 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว 6 นิ้ว
10 มม 12.5 มม 20 มม 25 มม 40 มม 50 มม 75 มม 150 มม
3-5 180 175 165 160 145 140 135 120
8-10 200 190 180 175 160 155 150 135
15-18 215 205 190 185 170 165 160 -
ปริมาณฟองอากาศ
(%) โดยปริมาตร 8 7 6 5 4.5 4 3.5 3
10 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตารางที่ 1.8 อัตราสวนน้าํ ตอซีเมนตสูงสุดโดยน้ําหนักที่ยอมใหใชได


สําหรับคอนกรีตในสภาวะเปดเผยรุนแรง

โครงสรางที่เปยกตลอดเวลา
หรือมีการเยือกแข็งและการ โครงสรางในน้ําทะเล
ชนิดของโครงสราง ละลายของน้ําสลับกันบอยๆ หรือสัมผัสกับซัลเฟต
(เฉพาะคอนกรีตกระจายกัก
ฟองอากาศเทานั้น)
โครงสรางบางๆ ที่มีเหล็กหุม
บางกวา 3 ซม 0.45 0.40*
โครงสรางอื่นๆทั้งหมด 0.50 0.45*

* ถาใชปูนซีเมนตปอรตแลนดทนซัลเฟต อาจเพิ่มคาอัตราสวนน้ําตอซีเมนตนี้ไดอกี 0.05

ตารางที่ 1.9 อัตราสวนน้าํ ตอซิเมนตกับกําลังอัดประลัยของคอนกรีต

กําลังอัดประลัยของคอนกรีต อัตราสวนน้ําตอซีเมนตโดยน้าํ หนัก


ที่ 28 วัน, ksc คอนกรีตไมกระจายกักฟองอากาศ คอนกรีตกระจายกักฟองอากาศ
450 0.38 -
400 0.43 -
350 0.48 0.40
300 0.55 0.46
250 0.62 0.53
200 0.70 0.61
150 0.80 0.71

หมายเหตุ คาที่ใชจากตารางนี้ ทําการทดลองจากแทงตัวอยางรูปทรงกระบอกมาตรฐาน เสนผานศูนยกลาง


15 ซม สูง 30 ซม ถาแทงตัวอยางเปนแบบลูกบาศก คากําลังอัดประลัยจะสูงกวาคาในตารางประมาณ 20%
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 11

ตารางที่ 1.10 ปริมาตรของวัสดุผสมหยาบตอหนึ่งหนวยปริมาตรของคอนกรีต

ขนาดโตสุดของหิน ปริมาตรของวัสดุผสมหยาบในสภาพแหงและอัดแนนตอหนวยปริมาตร
ของคอนกรีต สําหรับคาโมดูลัสความละเอียดของทรายตางๆ กัน
นิ้ว มิลลิเมตร 2.40 2.60 2.80 3.00
3
8
10 0.50 0.48 0.46 0.44
1
2
12.5 0.59 0.57 0.55 0.53
3
4
20 0.66 0.64 0.62 0.60
1 25 0.71 0.69 0.67 0.65
1 12 40 0.76 0.74 0.72 0.70
2 50 0.78 0.76 0.74 0.72
3 75 0.81 0.79 0.77 0.75
6 150 0.87 0.85 0.83 0.81
หมายเหตุ คาที่กําหนดให เปนคาสําหรับงานคอนกรีตเสริมเหล็กทั่วๆ ไป สําหรับงานคอนกรีตที่ทําไดงาย
กวา เชน ถนน พื้น เปนตน อาจเพิ่มคาเหลานี้ขึ้นไดอกี 10 เปอรเซ็นต

ตารางที่ 1.11 หนวยน้ําหนักของคอนกรีตสดโดยประมาณ

ขนาดโตสุดของหิน หนวยน้ําหนักของคอนกรีต, kg/m3


นิ้ว มิลลิเมตร คอนกรีตที่ไมใชสารกักกระจาย คอนกรีตที่ใชสารกักกระจาย
ฟองอากาศ ฟองอากาศ
3
8
10 2285 2190
1
2
12.5 2315 2235
3
4
20 2355 2280
1 25 2375 2315
1 12 40 2420 2355
2 50 2445 2375
3 75 2465 2400
6 150 2505 2435
12 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 1.1 ตองการออกแบบสวนผสมคอนกรีตที่มีกําลังขณะอายุ 28 วัน f c'  210 ksc ทรงกระบอก


มาตรฐานเสนผานศูนยกลาง 15 cm สูง 30 cm โดยใหโอกาสที่กอนตัวอยางกอนต่ํากวาที่
ออกแบบไวไดไมเกิน 5% (k = 1.645) และ s = 30 ksc ปูนซีเมนตประเภททีห่ นึ่งมีความ
ถวงจําเพาะ 3.15 มวลรวมขนาดโตที่สุด 20 mm  34"  มีความถวงจําเพาะ 2.70 คาการดูดซึม
0.5% หนวยน้ําหนักแหงและอัดแนน (รวมชองวางระหวางกอน) 1600 kg/m3 มวลรวม
ละเอียดมีความถวงจําเพาะ 2.60 คาการดูดซึม 0.7% และมีโมดูลัสความละเอียด 2.80

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 กําลังที่ตองการใชผลิต (เผื่อความคลาดเคลื่อนแลว)


f ci'  f c'  ks  210  1.645  30  259.35 ksc

ขั้นตอนที่ 2 ลักษณะงานเปน ฐานราก ตอมอ และคาน ดังนั้นใชคายุบตัว (slump test) 10 cm

ขั้นตอนที่ 3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ 20 mm และคาการยุบตัว 8-10 cm ไมตองใชสารกักกระจาย


ฟองอากาศ ตองการปริมาณน้ํา 200 ลิตร หรือ 200 kg

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อตองการกําลังคอนกรีตที่ใชผลิต f ci'  259.35 ksc และไมมีการกระจายฟองอากาศ


ตองการอัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C ratio) เทากับ
W 1.152 1.152 1.152
 1.152e  0.0025f ci  0.0025 259.35  0.648375 
'
 0.6024
C e e 1.912430603

ขั้นตอนที่ 5 ปริมาณซีเมนตที่ตองการ
W 200
C   332 kg
W / C 0.6024

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ เมื่อคาโมดูลัสความละเอียดของทราย 2.80 และขนาดของหิน 20


mm จะไดปริมาณของหินทีแ่ หงและอัดแนน 0.62 m3/m3 ของคอนกรีต
หนวยน้ําหนักของหินคลุก 1600 kg/m3
น้ําหนักของหินที่ใช  1600  0.62  992 kg / m3 ของคอนกรีต
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 13

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมาตรเนื้อแทของสวนผสม
200
ปริมาตรของน้ํา Vw   0.200 m3
1000
332
ปริมาตรของซีเมนต VC   0.1054 m3
3.15  1000
992
ปริมาตรของเนื้อหินตัน Vca   0.3674 m3
2.70  1000
ปริมาตรของฟองอากาศ Vab  0.02  1.0  0.02 m3
ปริมาตรรวมยกเวนทราย V1  0.200  0.1054  0.3674  0.02  0.6928 m3
ปริมาตรของทรายที่ตองใช Vs  1.0  0.6928  0.3072 m3
น้ําหนักของทรายแหง Ws  0.3072  2.60  1000  798.72 kg

สรุปผลการออกแบบสวนผสมคอนกรีตกรณี f c'  210 ksc


ในคอนกรีต 1 ลูกบาศกเมตร ประกอบดวย
ซีเมนตประเภทที่หนึ่ง 332 kg
น้ํา 200 kg
หินขนาด 20 mm 992 kg
ทรายหยาบ FM 2.80 798.72 kg
รวมน้ําหนักทัง้ หมด 2322.72 kg

ตัวอยางที่ 1.2 ตองการออกแบบสวนผสมคอนกรีตที่มีกําลังขณะอายุ 28 วัน f c'  240 ksc ทรงกระบอก


มาตรฐานเสนผานศูนยกลาง 15 cm สูง 30 cm โดยใหโอกาสที่กอนตัวอยางกอนต่ํากวาที่
ออกแบบไวไดไมเกิน 5% (k = 1.645) และ s = 30 ksc ปูนซีเมนตประเภททีห่ นึ่งมีความ
ถวงจําเพาะ 3.15 มวลรวมขนาดโตที่สุด 20 mm  34"  มีความถวงจําเพาะ 2.70 คาการดูดซึม
0.5% หนวยน้ําหนักแหงและอัดแนน (รวมชองวางระหวางกอน) 1600 kg/m3 มวลรวม
ละเอียดมีความถวงจําเพาะ 2.60 คาการดูดซึม 0.7% และมีโมดูลัสความละเอียด 2.80

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 กําลังที่ตองการใชผลิต (เผื่อความคลาดเคลื่อนแลว)

f ci'  f c'  ks  240  1.645  30  289.35 ksc


14 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ลักษณะงานเปน ฐานราก ตอมอ และคาน ดังนั้นใชคายุบตัว (slump test) 10 cm

ขั้นตอนที่ 3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ 20 mm และคาการยุบตัว 8-10 cm ไมตองใชสารกักกระจาย


ฟองอากาศ ตองการปริมาณน้ํา 200 ลิตร หรือ 200 kg

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อตองการกําลังคอนกรีตที่ใชผลิต f ci'  289.35 ksc และไมมกี ารกระจายฟองอากาศ


ตองการอัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C ratio) เทากับ
W 1.152 1.152 1.152
 1.152e  0.0025f ci  0.0025 289.35  0.723375 
'
 0.5588
C e e 2.061378637

ขั้นตอนที่ 5 ปริมาณซีเมนตที่ตองการ
W 200
C   357.88 kg
W / C 0.5588

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ เมื่อคาโมดูลัสความละเอียดของทราย 2.80 และขนาดของหิน 20


mm จะไดปริมาณของหินทีแ่ หงและอัดแนน 0.62 m3/m3 ของคอนกรีต
หนวยน้ําหนักของหินคลุก 1600 kg/m3
น้ําหนักของหินที่ใช  1600  0.62  992 kg / m3 ของคอนกรีต

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมาตรเนื้อแทของสวนผสม
200
ปริมาตรของน้ํา Vw   0.200 m3
1000
357.88
ปริมาตรของซีเมนต VC   0.1136 m3
3.15  1000
992
ปริมาตรของเนื้อหินตัน Vca   0.3674 m3
2.70  1000
ปริมาตรของฟองอากาศ Vab  0.02  1.0  0.02 m3
ปริมาตรรวมยกเวนทราย V1  0.200  0.1136  0.3674  0.02  0.701 m 3
ปริมาตรของทรายที่ตองใช Vs  1.0  0.701  0.299 m3
น้ําหนักของทรายแหง Ws  0.299  2.60  1000  777.4 kg
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 15

สรุปผลการออกแบบสวนผสมคอนกรีตกรณี f c'  240 ksc


ในคอนกรีต 1 ลูกบาศกเมตร ประกอบดวย
ซีเมนตประเภทที่หนึ่ง 358 kg
น้ํา 200 kg
หินขนาด 20 mm 992 kg
ทรายหยาบ FM 2.80 777 kg
รวมน้ําหนักทัง้ หมด 2327 kg

ตัวอยางที่ 1.3 ตองการออกแบบสวนผสมคอนกรีตที่มีกําลังขณะอายุ 28 วัน f c'  250 ksc ทรงกระบอก


มาตรฐานเสนผานศูนยกลาง 15 cm สูง 30 cm โดยใหโอกาสที่กอนตัวอยางกอนต่ํากวาที่
ออกแบบไวไดไมเกิน 5% (k = 1.645) และ s = 30 ksc ปูนซีเมนตประเภททีห่ นึ่งมีความ
ถวงจําเพาะ 3.15 มวลรวมขนาดโตที่สุด 20 mm  34"  มีความถวงจําเพาะ 2.70 คาการดูดซึม
0.5% หนวยน้ําหนักแหงและอัดแนน (รวมชองวางระหวางกอน) 1600 kg/m3 มวลรวม
ละเอียดมีความถวงจําเพาะ 2.60 คาการดูดซึม 0.7% และมีโมดูลัสความละเอียด 2.80

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 กําลังที่ตองการใชผลิต (เผื่อความคลาดเคลื่อนแลว)

f ci'  f c'  ks  250  1.645  30  299.35 ksc

ขั้นตอนที่ 2 ลักษณะงานเปน ฐานราก ตอมอ และคาน ดังนั้นใชคายุบตัว (slump test) 10 cm

ขั้นตอนที่ 3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ 20 mm และคาการยุบตัว 8-10 cm ไมตองใชสารกักกระจาย


ฟองอากาศ ตองการปริมาณน้ํา 200 ลิตร หรือ 200 kg

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อตองการกําลังคอนกรีตที่ใชผลิต f ci'  299.35 ksc และไมมีการกระจายฟองอากาศ


ตองการอัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C ratio) เทากับ
W 1.152 1.152 1.152
 1.152e  0.0025f ci  0.0025 299.35  0.748375 
'
 0.545051257
C e e 2.113562685

ขั้นตอนที่ 5 ปริมาณซีเมนตที่ตองการ
W 200
C   366.94 kg
W / C 0.545051257
16 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ เมื่อคาโมดูลัสความละเอียดของทราย 2.80 และขนาดของหิน 20


mm จะไดปริมาณของหินทีแ่ หงและอัดแนน 0.62 m3/m3 ของคอนกรีต
หนวยน้ําหนักของหินคลุก 1600 kg/m3
น้ําหนักของหินที่ใช  1600  0.62  992 kg / m3 ของคอนกรีต

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมาตรเนื้อแทของสวนผสม
200
ปริมาตรของน้ํา Vw   0.200 m3
1000
366.94
ปริมาตรของซีเมนต VC   0.1165 m3
3.15  1000
992
ปริมาตรของเนื้อหินตัน Vca   0.3674 m3
2.70  1000
ปริมาตรของฟองอากาศ Vab  0.02  1.0  0.02 m3
ปริมาตรรวมยกเวนทราย V1  0.200  0.1165  0.3674  0.02  0.7039 m 3
ปริมาตรของทรายที่ตองใช Vs  1.0  0.7039  0.2961 m3
น้ําหนักของทรายแหง Ws  0.2961  2.60  1000  769.86 kg

สรุปผลการออกแบบสวนผสมคอนกรีตกรณี f c'  250 ksc


ในคอนกรีต 1 ลูกบาศกเมตร ประกอบดวย
ซีเมนตประเภทที่หนึ่ง 367 kg
น้ํา 200 kg
หินขนาด 20 mm 992 kg
ทรายหยาบ FM 2.80 770 kg
รวมน้ําหนักทัง้ หมด 2329 kg

ตัวอยางที่ 1.4 ตองการออกแบบสวนผสมคอนกรีตที่มีกําลังขณะอายุ 28 วัน f c'  280 ksc ทรงกระบอก


มาตรฐานเสนผานศูนยกลาง 15 cm สูง 30 cm โดยใหโอกาสที่กอนตัวอยางกอนต่ํากวาที่
ออกแบบไวไดไมเกิน 5% (k = 1.645) และ s = 30 ksc ปูนซีเมนตประเภททีห่ นึ่งมีความ
ถวงจําเพาะ 3.15 มวลรวมขนาดโตที่สุด 20 mm  34"  มีความถวงจําเพาะ 2.70 คาการดูดซึม
0.5% หนวยน้ําหนักแหงและอัดแนน (รวมชองวางระหวางกอน) 1600 kg/m3 มวลรวม
ละเอียดมีความถวงจําเพาะ 2.60 คาการดูดซึม 0.7% และมีโมดูลัสความละเอียด 2.80
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 17

ขั้นตอนที่ 1 กําลังที่ตองการใชผลิต (เผื่อความคลาดเคลื่อนแลว)


f ci'  f c'  ks  280  1.645  30  329.35 ksc

ขั้นตอนที่ 2 ลักษณะงานเปน ฐานราก ตอมอ และคาน ดังนั้นใชคายุบตัว (slump test) 10 cm

ขั้นตอนที่ 3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ 20 mm และคาการยุบตัว 8-10 cm ไมตองใชสารกักกระจาย


ฟองอากาศ ตองการปริมาณน้ํา 200 ลิตร หรือ 200 kg

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อตองการกําลังคอนกรีตที่ใชผลิต f ci'  329.35 ksc และไมมกี ารกระจายฟองอากาศ


ตองการอัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C ratio) เทากับ
W 1.152 1.152 1.152
 1.152e  0.0025f ci  0.0025329.35  0.823375 
'
 0.505667754
C e e 2.27817572

ขั้นตอนที่ 5 ปริมาณซีเมนตที่ตองการ
W 200
C   395.52 kg
W / C 0.505667754

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ เมื่อคาโมดูลัสความละเอียดของทราย 2.80 และขนาดของหิน 20


mm จะไดปริมาณของหินทีแ่ หงและอัดแนน 0.62 m3/m3 ของคอนกรีต
หนวยน้ําหนักของหินคลุก 1600 kg/m3
น้ําหนักของหินที่ใช  1600  0.62  992 kg / m3 ของคอนกรีต

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมาตรเนื้อแทของสวนผสม
200
ปริมาตรของน้ํา Vw   0.200 m3
1000
395.52
ปริมาตรของซีเมนต VC   0.1256 m3
3.15  1000
992
ปริมาตรของเนื้อหินตัน Vca   0.3674 m3
2.70  1000
ปริมาตรของฟองอากาศ Vab  0.02  1.0  0.02 m3
ปริมาตรรวมยกเวนทราย V1  0.200  0.1256  0.3674  0.02  0.713 m3
ปริมาตรของทรายที่ตองใช Vs  1.0  0.713  0.287 m3
น้ําหนักของทรายแหง Ws  0.287  2.60  1000  746.2 kg
18 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

สรุปผลการออกแบบสวนผสมคอนกรีตกรณี f c'  280 ksc


ในคอนกรีต 1 ลูกบาศกเมตร ประกอบดวย
ซีเมนตประเภทที่หนึ่ง 396 kg
น้ํา 200 kg
หินขนาด 20 mm 992 kg
ทรายหยาบ FM 2.80 746 kg
รวมน้ําหนักทัง้ หมด 2334 kg

ตัวอยางที่ 1.5 ตองการออกแบบสวนผสมคอนกรีตที่มีกําลังขณะอายุ 28 วัน f c'  300 ksc ทรงกระบอก


มาตรฐานเสนผานศูนยกลาง 15 cm สูง 30 cm โดยใหโอกาสที่กอนตัวอยางกอนต่ํากวาที่
ออกแบบไวไดไมเกิน 5% (k = 1.645) และ s = 30 ksc ปูนซีเมนตประเภททีห่ นึ่งมีความ
ถวงจําเพาะ 3.15 มวลรวมขนาดโตที่สุด 20 mm  34"  มีความถวงจําเพาะ 2.70 คาการดูดซึม
0.5% หนวยน้ําหนักแหงและอัดแนน (รวมชองวางระหวางกอน) 1600 kg/m3 มวลรวม
ละเอียดมีความถวงจําเพาะ 2.60 คาการดูดซึม 0.7% และมีโมดูลัสความละเอียด 2.80

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 กําลังที่ตองการใชผลิต (เผื่อความคลาดเคลื่อนแลว)

f ci'  f c'  ks  300  1.645  30  349.35 ksc

ขั้นตอนที่ 2 ลักษณะงานเปน ฐานราก ตอมอ และคาน ดังนั้นใชคายุบตัว (slump test) 10 cm

ขั้นตอนที่ 3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ 20 mm และคาการยุบตัว 8-10 cm ไมตองใชสารกักกระจาย


ฟองอากาศ ตองการปริมาณน้ํา 200 ลิตร หรือ 200 kg

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อตองการกําลังคอนกรีตที่ใชผลิต f ci'  349.35 ksc และไมมกี ารกระจายฟองอากาศ


ตองการอัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C ratio) เทากับ
W 1.152 1.152 1.152
 1.152e  0.0025f ci  0.0025349.35  0.873375 
'
 0.481006046
C e e 2.394980287

ขั้นตอนที่ 5 ปริมาณซีเมนตที่ตองการ
W 200
C   415.80 kg
W / C 0.481006046
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 19

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ เมื่อคาโมดูลัสความละเอียดของทราย 2.80 และขนาดของหิน 20


mm จะไดปริมาณของหินทีแ่ หงและอัดแนน 0.62 m3/m3 ของคอนกรีต
หนวยน้ําหนักของหินคลุก 1600 kg/m3
น้ําหนักของหินที่ใช  1600  0.62  992 kg / m3 ของคอนกรีต

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมาตรเนื้อแทของสวนผสม
200
ปริมาตรของน้ํา Vw   0.200 m3
1000
415.80
ปริมาตรของซีเมนต VC   0.132 m3
3.15  1000
992
ปริมาตรของเนื้อหินตัน Vca   0.3674 m3
2.70  1000
ปริมาตรของฟองอากาศ Vab  0.02  1.0  0.02 m3
ปริมาตรรวมยกเวนทราย V1  0.200  0.132  0.3674  0.02  0.7194 m3
ปริมาตรของทรายที่ตองใช Vs  1.0  0.7194  0.2806 m3
น้ําหนักของทรายแหง Ws  0.2806  2.60  1000  729.56 kg

สรุปผลการออกแบบสวนผสมคอนกรีตกรณี f c'  300 ksc


ในคอนกรีต 1 ลูกบาศกเมตร ประกอบดวย
ซีเมนตประเภทที่หนึ่ง 416 kg
น้ํา 200 kg
หินขนาด 20 mm 992 kg
ทรายหยาบ FM 2.80 730 kg
รวมน้ําหนักทัง้ หมด 2338 kg

ตัวอยางที่ 1.6 ตองการออกแบบสวนผสมคอนกรีตที่มีกําลังขณะอายุ 28 วัน f c'  320 ksc ทรงกระบอก


มาตรฐานเสนผานศูนยกลาง 15 cm สูง 30 cm โดยใหโอกาสที่กอนตัวอยางกอนต่ํากวาที่
ออกแบบไวไดไมเกิน 5% (k = 1.645) และ s = 30 ksc ปูนซีเมนตประเภททีห่ นึ่งมีความ
ถวงจําเพาะ 3.15 มวลรวมขนาดโตที่สุด 20 mm  34"  มีความถวงจําเพาะ 2.70 คาการดูดซึม
0.5% หนวยน้ําหนักแหงและอัดแนน (รวมชองวางระหวางกอน) 1600 kg/m3 มวลรวม
ละเอียดมีความถวงจําเพาะ 2.60 คาการดูดซึม 0.7% และมีโมดูลัสความละเอียด 2.80
20 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 กําลังที่ตองการใชผลิต (เผื่อความคลาดเคลื่อนแลว)

f ci'  f c'  ks  320  1.645  30  369.35 ksc

ขั้นตอนที่ 2 ลักษณะงานเปน ฐานราก ตอมอ และคาน ดังนั้นใชคายุบตัว (slump test) 10 cm

ขั้นตอนที่ 3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ 20 mm และคาการยุบตัว 8-10 cm ไมตองใชสารกักกระจาย


ฟองอากาศ ตองการปริมาณน้ํา 200 ลิตร หรือ 200 kg

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อตองการกําลังคอนกรีตที่ใชผลิต f ci'  369.35 ksc และไมมกี ารกระจายฟองอากาศ


ตองการอัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C ratio) เทากับ
W 1.152 1.152 1.152
 1.152e  0.0025f ci  0.0025369.35  0.923375 
'
 0.457547105
C e e 2.517773552

ขั้นตอนที่ 5 ปริมาณซีเมนตที่ตองการ
W 200
C   437.11 kg
W / C 0.457547105

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ เมื่อคาโมดูลัสความละเอียดของทราย 2.80 และขนาดของหิน 20


mm จะไดปริมาณของหินทีแ่ หงและอัดแนน 0.62 m3/m3 ของคอนกรีต
หนวยน้ําหนักของหินคลุก 1600 kg/m3
น้ําหนักของหินที่ใช  1600  0.62  992 kg / m3 ของคอนกรีต

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมาตรเนื้อแทของสวนผสม
200
ปริมาตรของน้ํา Vw   0.200 m3
1000
437.11
ปริมาตรของซีเมนต VC   0.1388 m3
3.15  1000
992
ปริมาตรของเนื้อหินตัน Vca   0.3674 m3
2.70  1000
ปริมาตรของฟองอากาศ Vab  0.02  1.0  0.02 m3
ปริมาตรรวมยกเวนทราย V1  0.200  0.1388  0.3674  0.02  0.7262 m3
ปริมาตรของทรายที่ตองใช Vs  1.0  0.7262  0.2738 m3
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 21

น้ําหนักของทรายแหง Ws  0.2738  2.60  1000  711.88 kg

สรุปผลการออกแบบสวนผสมคอนกรีตกรณี f c'  320 ksc


ในคอนกรีต 1 ลูกบาศกเมตร ประกอบดวย
ซีเมนตประเภทที่หนึ่ง 437 kg
น้ํา 200 kg
หินขนาด 20 mm 992 kg
ทรายหยาบ FM 2.80 712 kg
รวมน้ําหนักทัง้ หมด 2341 kg
ตัวอยางที่ 1.7 ตองการออกแบบสวนผสมคอนกรีตที่มีกําลังขณะอายุ 28 วัน f c'  350 ksc ทรงกระบอก
มาตรฐานเสนผานศูนยกลาง 15 cm สูง 30 cm โดยใหโอกาสที่กอนตัวอยางกอนต่ํากวาที่
ออกแบบไวไดไมเกิน 5% (k = 1.645) และ s = 30 ksc ปูนซีเมนตประเภททีห่ นึ่งมีความ
ถวงจําเพาะ 3.15 มวลรวมขนาดโตที่สุด 20 mm  34"  มีความถวงจําเพาะ 2.70 คาการดูดซึม
0.5% หนวยน้ําหนักแหงและอัดแนน (รวมชองวางระหวางกอน) 1600 kg/m3 มวลรวม
ละเอียดมีความถวงจําเพาะ 2.60 คาการดูดซึม 0.7% และมีโมดูลัสความละเอียด 2.80

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 กําลังที่ตองการใชผลิต (เผื่อความคลาดเคลื่อนแลว)

f ci'  f c'  ks  350  1.645  30  399.35 ksc

ขั้นตอนที่ 2 ลักษณะงานเปน ฐานราก ตอมอ และคาน ดังนั้นใชคายุบตัว (slump test) 10 cm

ขั้นตอนที่ 3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบ 20 mm และคาการยุบตัว 8-10 cm ไมตองใชสารกักกระจาย


ฟองอากาศ ตองการปริมาณน้ํา 200 ลิตร หรือ 200 kg

ขั้นตอนที่ 4 เมื่อตองการกําลังคอนกรีตที่ใชผลิต f ci'  399.35 ksc และไมมกี ารกระจายฟองอากาศ


ตองการอัตราสวนน้ําตอซีเมนต (W/C ratio) เทากับ
W 1.152 1.152 1.152
 1.152e  0.0025f ci  0.0025399.35  0.998375 
'
 0.424486346
C e e 2.713868208

ขั้นตอนที่ 5 ปริมาณซีเมนตที่ตองการ
W 200
C   471.16 kg
W / C 0.424486346
22 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณของวัสดุผสมหยาบ เมื่อคาโมดูลัสความละเอียดของทราย 2.80 และขนาดของหิน 20


mm จะไดปริมาณของหินทีแ่ หงและอัดแนน 0.62 m3/m3 ของคอนกรีต
หนวยน้ําหนักของหินคลุก 1600 kg/m3
น้ําหนักของหินที่ใช  1600  0.62  992 kg / m3 ของคอนกรีต

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณของวัสดุผสมละเอียด
ปริมาตรเนื้อแทของสวนผสม
200
ปริมาตรของน้ํา Vw   0.200 m3
1000
471.16
ปริมาตรของซีเมนต VC   0.1496 m3
3.15  1000
992
ปริมาตรของเนื้อหินตัน Vca   0.3674 m3
2.70  1000
ปริมาตรของฟองอากาศ Vab  0.02  1.0  0.02 m3
ปริมาตรรวมยกเวนทราย V1  0.200  0.1496  0.3674  0.02  0.737 m3
ปริมาตรของทรายที่ตองใช Vs  1.0  0.7262  0.263 m3
น้ําหนักของทรายแหง Ws  0.263  2.60  1000  683.8 kg

สรุปผลการออกแบบสวนผสมคอนกรีตกรณี f c'  350 ksc


ในคอนกรีต 1 ลูกบาศกเมตร ประกอบดวย
ซีเมนตประเภทที่หนึ่ง 471 kg
น้ํา 200 kg
หินขนาด 20 mm 992 kg
ทรายหยาบ FM 2.80 684 kg
รวมน้ําหนักทัง้ หมด 2347 kg

1.7 เหล็กเสริม
เนื่องจากคอนกรีตรับแรงดึงไดเพียงโมดูลัสแตกราว (modulus of rupture) คือกําลังรับแรงดึง
สูงสุดของคอนกรีต f r  2.0 f c' ละใชงานจริงเพียง 1.6 f c' ดังนั้นสวนใดที่ตองการใหรับแรงดึงจึงตอง
ใชเหล็กกลาละมุนที่รับไดดที ั้งแรงดึงและแรงอัดมารับแรงดึงแทนโดยถือวาคอนกรีตรับแรงดึงไมไดเลย (ที่
จริงรับไดแตนอ ย) ขนาดความยาวมาตรฐาน 10.0 เมตร แตในยุโรปมีความยาวมาตรฐาน 13 เมตร ขนาดเสน
ผานศูนยกลางขึ้นอยูกับชนิดเหล็กดังนี้
โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก 23

เหล็กเสนกลมผิวเรียบ (Round bar : RB) ชนิด SR-24 มีกําลังคราก f y  2400 ksc มีขนาดจาก
เล็กที่สุด RB 6 mm ตอไป RB 9 mm, RB 12 mm, RB 15 mm, RB 19 mm, RB 25 mm ปจจุบันมีเฉพาะ
ขนาด RB 6 mm, RB 9 mm, RB 12 mm สวนขนาดอื่นเลิกผลิต
เหล็กขอออย (Deformed bar : DB) ชนิด SD-30 มีกําลังคราก f y  3000 ksc ขนาดเล็กที่สุด DB
10 mm ตอไป DB 12 mm, DB 16 mm, DB 20 mm, DB 25 mm, DB 28 mm
เหล็กขอออยชนิด SD-40 มีกําลังคราก f y  4000 ksc ขนาดเล็กที่สุด DB 12 mm, DB 16 mm,
DB 20 mm, DB 25 mm, DB 28 mm
เหล็กขอออยชนิด SD-50 มีกําลังคราก f y  5000 ksc ขนาดเล็กที่สุด DB 12 mm, DB 16 mm,
DB 20 mm, DB 25 mm, DB 28 mm, DB 32 mm, DB 36 mm ในประเทศไทยไมคอยพบขนาด DB 32 mm
ขึ้นไป
เนื่องจากมาตรฐาน ACI และ ว.ส.ท. ใหเหล็กเสริมคอนกรีตมีกําลังครากไมเกิน 5600 ksc เพื่อให
กรณีรับน้ําหนักจนวิบัตินนั้ เหล็กเสริมรับแรงดึงตองครากกอนที่คอนกรีตจะแตกที่หนวยการหดตัว 0.003
กําลังดึงประลัยของเหล็กผิวเรียบ f u  4100 ksc สวนเหล็กขอออย f u  4900 ksc

รูปที่ 1.5 ความสัมพันธระหวางหนวยแรงดึงและหนวยการยืดตัวของเหล็กกลาละมุน


24 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1.8 สัญลักษณแทนเหล็กเสริม
เหล็กเสนกลมเรียบ (RB = Round Bar) อาจจะใชสัญลักษณ  แทนขนาดเสนผานศูนยกลาง แต
อาจจะยุงยากในการเขียนแบบ ปจจุบันใชอักษร RB ตามดวยขนาดเสนผานศูนยกลาง แลวตามดวยหนวย
เชน RB 6 mm หมายถึงเหล็กกลมผิวเรียบขนาดเสนผานศูนยกลาง 6 มิลลิเมตร
เหล็กขอออย (DB = Deformed Bar) ปจจุบันนี้ใช DB ตามดวยขนาดเสนผานศูนยกลาง แลวตาม
ดวยหนวย เชน DB 20 mm หมายถึงเหล็กขอออยขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 มิลลิเมตร ในโปรแกรม
คอมพิวเตอรในคายุโรปเชน PROKON ใชอักษร Y แทนเหล็กขอออย เชน Y16 หมายถึงเหล็กขอออยขนาด
เสนผานศูนยกลาง 16 มิลลิเมตร
6-RB 12 mm หมายถึงใหใชเหล็กเสนกลมเรียบขนาดเสนผานศูนยกลาง 12 มิลลิเมตร จัดตามรูป
หรือเรียงหางเทาๆ กัน
#-RB 9 mm @ 200 mm หรือ RB 9 mm @ 200 mm # หมายถึง ใชเหล็กผิวเรียบขนาดเสนผาน
ศูนยกลางขนาด 9 มิลลิเมตร วางเปนตะแกรงตั้งฉากกัน โดยแตละทิศทางระยะเรียง 200 มิลลิเมตร
2-ป-RB 9 mm @ 150 mm หรือ 2-Stirrup RB 9 mm @ 150 mm หมายถึง ใชเหล็กลูกตั้ง (บางที
ภาษาชางเรียกวาเหล็กปลอก) แตละชุดมี 2 วง ขนาดเหล็กเสนผานศูนยกลาง 9 มิลลิเมตร ระยะเรียง 150
มิลลิเมตร
10-DB 20 mm หมายถึง ใชเหล็กขอออยขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 มิลลิเมตร จํานวน 10 เสน จัด
ตามรูปหรือเรียงหางเทาๆ กัน
#-18 DB 25 mm หรือ 18-DB 25 mm # หมายถึง ใชเหล็กขอออยขนาดเสนผานศูนยกลาง 25
มิลลิเมตรวางเปนตะแกรงตั้งฉากกัน แตละทิศทางใช 18 เสน
#-DB 10 mm @ 250 mm ใชเหล็กขอออยขนาดเสนผานศูนยกลาง 10 มิลลิเมตร วางเปนตะแกรง
ตั้งฉากกัน ระยะเรียงแตละทิศทาง 250 มิลลิเมตร
2
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก

การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กจะเริ่มจากออกแบบพื้น บันได หลังคา แลวถายน้ําหนักลง


คาน วิเคราะหและออกแบบคาน ถายน้ําหนักลงบนเสา ออกแบบเสา ถายน้ําหนักลงบนเสาตอมอ ออกแบบ
ตอมอและฐานราก แตการออกแบบคานเปนหลักการพืน้ ฐานที่จะนําไปใชในกรณีอนื่ ๆ ดวย ดังนัน้ จึงนํามา
กลาวในทีน่ ี้กอ น
สิ่งที่ประสบปญหาในระหวางเรียนและทํางานใหมๆ คือการคํานวณน้ําหนักลงบนคานอยางไร
เมื่อเริ่มตนไมไดก็ออกแบบไมได จําเปนตองสอบถามผูรูทําใหเสียเวลา จึงรวบรวมวิธีการตางๆ ดังตอไปนี้

2.1 น้ําหนักบรรทุกบนคาน
ในกรณีของคานอาจจะรับน้ําหนักเปนจุดในหนวย kg หรือ T จากปลายคานที่มาฝากหรือจากเสา
ที่มาฝาก สวนน้ําหนักแผนกระจายตามยาวในหนวย kg/m หรือ T/m จากน้ําหนักตัวคานเอง น้ําหนักพื้นหรือ
บันได และน้ําหนักผนัง
น้ําหนักคอนกรีตเสริมเหล็กประมาณ 2400 kg/m3 ดังนั้นเมื่อประมาณขนาดหนาตัดของคานได
แลว น้ําหนักแผเนื่องจากน้ําหนักของคานในหนวย kg/m คือ 2400 คูณเนื้อทีห่ นาตัดของคานเปนตารางเมตร
หรือ 2400bh ทั้ง b และ h ตองมีหนวยเปนเมตร ดังรูปที่ 2.1

รูปที่ 2.1 การคิดน้ําหนักของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


26 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

การกระจายน้ําหนักจากแผนพื้นสองทาง พิจารณารูปที่ 2.2 เปนแผนพืน้ สี่เหลี่ยมผืนผากวาง S ยาว


L ถาใหน้ําหนักบรรทุกแผสม่ําเสมอจนแตกแลวแนวแตกจะประมาณตามแนวเสนประซึ่งเกิดจากลากเสนทํา
มุม 45 องศากับขอบจากมุมทั้งสี่ไปตัดกับเสนกึ่งกลางทีข่ นานกับดานยาว คาน B1 จะรับน้ําหนักจากพื้นเปน
รูปสามเหลี่ยม และคาน B2 จะรับน้ําหนักจากแผนพื้นเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู

รูปที่ 2.1 การกระจายน้ําหนักจากแผนพืน้ ลงคาน

มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดใหการกระจายน้าํ หนักจากพืน้ ลงคานใหจําลองเปนน้ําหนักแผสม่ําเสมอ


ตลอดความยาว ดังนี้
wS
น้ําหนักจากพืน้ ลงบนคานดานสั้น wS  (2.1ก)
3
wS 3  m 2
น้ําหนักจากพืน้ ลงบนคานดานยาว wL   (2.1ข)
3 2
เมื่อ w น้ําหนักทั้งหมดของแผนพืน้ kg/m2
S
m  อัตราสวนความยาวขอบสั้นตอความยาวขอบยาว โดย 1  m  0.5
L
S ความยาวขอบสั้นของพื้น, m
L  ความยาวขอบยาวของพืน ้ ,m
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 27

wS 2
น้ําหนักจากคานดานสั้นถายลงเสาที่ปลายทั้งสองขางเพียง และคานดานยาวแบงลงบนเสา
8
2  wS 2
1
4 wS 2  1 แตถาคิดจากน้ําหนักแผกระจายในสมการ (2.1) จะไดจากคานสั้น และจากคานยาว
m  6
1
12

wSL 3  m 2  ซึ่งมากกวาหรือตองน้ําหนักในการคํานวณสูงขึ้น จึงอยูใ นดานที่ปลอดภัยมากขึ้น
ขอควรสังเกตประการหนึ่งคือ ถา m  0.5 เรียกวาแผนพื้นทางเดียว การกระจายน้ําหนักลงบน
wS wS
ดานสั้นยังคงเปน แตดานยาวควรจะใช แตในกรณีแผนพื้นยื่นในรูปที่ 2.2 ตองใชน้ําหนักทั้งหมด
3 2
ของแผนพื้นลงบนคาน

รูปที่ 2.2 การกระจายน้ําหนักจากแผนพืน้ ยืน่ ลงบนคาน

การกระจายน้ําหนักจากผนังหรือกําแพงลงบนคาน ใชสมการ

w  w 1h (2.2)

เมื่อ w น้ําหนักลงบนคาน kg/m


2
w 1  หนวยน้ําหนักของผนังหรือกําแพง kg/m
h  ความสูงของกําแพง m

คา w 1 หาไดจากตารางที่ 2.1 เปนน้ําหนักของผนังกําแพงตอหนวยพื้นที่ของผนังกําแพง และคา h


ใหดจู ากรูปแปลนอาคาร (อานสัญลักษณวา เปนกําแพงอะไร) แลวดูจากรูปดานหรือรูปตัด ใชไมสเกลวัด
ความสูงของกําแพงนั้นหรือดูจากตัวเลขความสูงระหวางชั้นแลวลบดวยความลึกคานดานบน
ผูอานบางทานอาจจะสงสัยเกี่ยวกับการกออิฐครึ่งแผนหรือเต็มแผนกันอยางไร ขอใหดจู ากรูปที่
2.3 จะเขาใจไดชัดเจน และขอเพิ่มเติมอีกประการหนึ่งคือ อิฐมอญกอครึ่งแผนและฉาบปูนทั้งสองดานจะได
กําแพงหนา 8-10 เซนติเมตร และถากอเต็มแผนฉาบปูนจะไดกําแพงหนา 15-18 เซนติเมตร ถากอผนังทึบ
ตลอดใชเปนกําแพงกันไฟของตึกแถว ซึ่งทุกๆ 4 คูหาตองมีกําแพงกันไฟ 1 แผงตลอด แตบางแหงจะทําเปน
28 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

กําแพงกออิฐครึ่งแผนสองชั้น ระหวางกําแพงเปนชองอากาศ หรือใสโพลีสไตรีนโฟมเปนฉนวนความรอน


เพื่อปองกันความรอนจากแสงแดดและประหยัดพลังงานของระบบปรับอากาศในอาคารสํานักงาน แตวิธีนี้ก็
จะทําใหคานใหญขึ้นเพราะน้ําหนักมากขึน้ นั่นเอง

ตารางที่ 2.1 น้าํ หนักตอพื้นทีข่ องกําแพงชนิดตางๆ

ชนิดผนัง กําแพง w 1 , kg / m 2
ผนังอิฐมอญกอครึ่งแผนฉาบปูน 180
ผนังอิฐมอญกอเต็มแผนฉาบปูน 360
ผนังคอนกรีตบล็อกหนา 7 ซม 120
ผนังคอนกรีตบล็อกหนา 9 ซม 160
ฝาไม ไมอัด รวมเครา 12-30
ฝาเซลโลกรีตรวมเครา หรือแกนฟางอัด 30
ดินซีเมนตขนาดเทาอิฐบล็อก แตตันทั้งแทง 170
ผนังอิฐ บ.ป.ก. (บางปลากด) กอครึ่งแผน 220
ผนังอิฐ บ.ป.ก. (บางปลากด) กอเต็มแผน 440

รูปที่ 2.3 การกออิฐทํากําแพงแบบตางๆ


คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 29

2.2 การรับน้ําหนักของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 2.4 ลักษณะโมเมนตดดั บวก


พิจารณารูปที่ 2.4 คานยาว L วางบนหมอนสองตัวที่ปลายทั้งสองขาง น้ําหนักบรรทุกแผ w
กระจายเต็มความยาว (ไมไดแสดงเอาไว) คานจะโกงงอลง ขอบ AB บนหลังคานจะหดสั้นลงและขอบ DE
ที่ทองคานจะยืดออก การที่ AB หดสั้นลงแสดงวามีแรงกดหรือแรงอัด และ DE ที่ยดื ออกแสดงวามีแรงดึง
เกิดขึ้น เมื่อตัดคานมาดูจะมีแรงดึง T จากเหล็กเสริมรับแรงดึง และแรงอัด C จากคอนกรีต โดย T = C หาง
กัน jd ประกอบเปนโมเมนตดัดบวก รูปรางการโกงจะเหมือนกับกระทะวางหงายแลวมองดานขาง

โมเมนตดัดบวก = โมเมนตที่ทําใหขอบบนเกิดแรงอัดและขอบลางเกิดแรงดึง

รูปที่ 2.5 เปนคานตอเนื่องหลายชวงละมีคานยื่นดวย ลักษณะการโกงงอของคานดังรูปที่แสดงเกิน


จริง (Exaggerate) สวนยื่นจะมีลักษณะกระทะคว่ํา ดานบนรับแรงดึง ดานลางรับแรงอัด บริเวณหัวเสาจะ
คลายกับสวนยื่นคือเหมือนกระทะคว่ํา เปนโมเมนตลบ แตกลางชวงคานจะเปนแบบกระทะหงายจึงเปน
โมเมนตบวก
โมเมนตดัดลบ = โมเมนตที่ทําใหขอบบนเปนแรงดึงและขอบลางเปนแรงอัด

รูปที่ 2.5 ลักษณะการเกิดโมเมนตดดั บวกและลบในคานตอเนื่องและคานยื่น


30 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ในรูปที่ 2.6 เอาแผนไมกระดานหลายๆ แผนวางซอนกันบนสันไมทปี่ ลายทั้งสอง โดยเริมตนให


ปลายไมยาวเทาๆ กัน เมื่อใชน้ําหนักแผ w (ไมไดแสดงเอาไว) กดลงบนแผนไมจนโกงลง สังเกตการณ
เปลี่ยนแปลงจะพบวาแผนไมที่ซอนกันอยูจ ะเลื่อนจากกัน บริเวณกลางชวงไมมีการเลื่อน แตบริเวณปลายทั้ง
สองจะเลื่อนมาก ถาเจาะรูแผนไมแลวเอาไมเนื้อออนมากๆ เชน ปอกระเจาสอดไวในรูนั้น การเลื่อนของ
แผนไมที่ซอนกันอยูจ ะเฉือนแกนปอกระเจาใหขาดจากกัน ลักษณะการเฉือนแบบนีเ้ รียกวา การเฉือนทาง
นอน (horizontal shear) ซึ่งเปนผลมาจากโมเมนตดดั ในคานทั้งชนิดโมเมนตบวกและโมเมนตลบ ในคาน
คอนกรีตเสริมเหล็กจะตองมีการเสริมเหล็กปลอก (หรือเหล็กลูกตั้ง) เพือ่ รับแรงเฉือนชนิดนี้

รูปที่ 2.6 ลักษณะการเกิดแรงเฉือนทางนอนจากโมเมนตดัด

ในรูปที่ 2.7 ถาเอาแทงไมสวนสั้นๆ เจาะรูรอยเขาดวยกันดวยแกนปอกระเจา ใชมอื หรือประแจ


หนีบไวจับใหแนนวางบนแทนไม ความเสียดทานระหวางผิวแทงไมจะทําใหแทงไมไมหลุดออกมา แตเมื่อ
เพิ่มน้ําหนักบรรทุกใหมากพอ แทงไมจะเฉือนแกนปอจนขาด ลักษณะการเฉือนอยูในแนวดิ่ง เรียกวา แรง
เฉือนทางดิง่ (vertical shear)

รูปที่ 2.8 ลักษณะของแรงเฉือนที่ทําใหเกิดแรงดึงทแยง T และแรงอัดทแยง C


คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 31

ในรูปที่ 2.8 เปนผลรวมรูปที่ 2.6 กับรูปที่ 2.7 คานกําลังรับน้ําหนัก w แผกระจายเต็มคานทําใหเกิด


โมเมนตบวก เกิดแรงเฉือนทางนอนและแรงเฉือนทางดิ่งพรอมๆ กัน ตัดคานเปนแทงสี่เหลีย่ มเล็กๆ มา
พิจารณา แรงเฉือนที่กระทําบนแทงสี่เหลีย่ มนี้จะมีแรงเฉือนทางนอน V11 และ V12 กับแรงเฉือนทางดิ่ง V21
และ V22 แรงทั้งหมดจะอยูใ นสภาพสมดุลจะได V11 = V12 = V21 = V22 ตอไปตัดตามแนวทแยง 45o เปนแทง
ปริซึมตามแนว A-A และ B-B นํามาพิจารณาจะเห็นวาตัดแนว A-A ทําใหเกิดแรงดึงและตัดแนว B-B ทําให
เกิดแรงอัดในแนวตั้งฉากกับรอยตัด

รูปที่ 2.9 ลักษณะการขาดของคานเนื่องจากแรงเฉือน การเสริมเหล็กคอมา และเหล็กทางขวาง

รูปที่ 2.9 เปนแนวโนมที่คานจะขาดจากที่รองรับ เนื่องจากแรงเฉือนทําใหเกิดแรงดึงทแยงและ


คอนกรีตก็รับแรงดึงไดไมดดี วย จุดที่มีโอกาสขาดมากจะหางจากแกนเสาประมาณ ¼ ของระยะระหวางแกน
เสา จึงอาจจะงอเหล็กคอมาขึ้นมาชวยรับและสงใหเปนเหล็กรับแรงดึงบริเวณหลังคาน ในกรณีที่ไมมีการงอ
คอมาก็จะอาศัยเหล็กทางขวางเปนผูหิ้วแขวนไมใหคานขาดออกไป

2.3 การหาโมเมนตดัดและแรงเฉือนในคาน
1. คานชวงเดียววางบนฐานคมมีด พบบอยในกรณีคานฝากชวงเดียว ลักษณะแผนภาพแรงเฉือน
และแผนภาพโมเมนตดัดดังรูปที่ 2.10
L P
สังเกตรูปที่ 2.10(ก) กรณีทพี่ บบอยคือ ab จะได V ทั้งสองปลาย และโมเมนตดัด
2 2
PL wL
สูงสุดกลางคานเปน และในรูปที่ 2.10(ข) แรงเฉือน V ที่ปลายคาน และโมเมนตดัดสูงสุดที่
4 2
2
กลางชวง M  wL จะพบมากที่สุด
8
32 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 2.10 แผนภาพแรงเฉือนและโมเมนตดัดบนคานชนิด simple beam

2. คานตอเนื่องหลายชวง การวิเคราะหหาโมเมนตอาจจะใช Three-moment method หรือ Slope-


deflection method หรือ Moment distribution method หรือใชสัมประสิทธิ์โมเมนตตามคูมือวิศวกรโยธา
หรือใชโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ใช Finite-element method ในขั้นแรกจะยกคูมือของ ว.ส.ท. มาอธิบายใหดู
รูปที่ 2.11 เปนสัมประสิทธิ์ที่ใชคูณหนา wL2 สําหรับน้ําหนักแผสม่ําเสมอ w คาสัมประสิทธิ์จะมี
เครื่องหมายบอกชนิดโมเมนตวาเปนบวกหรือเปนลบ และเขียนบนดานของคานที่เกิดแรงดึงในผิวของคาน
ขอควรสังเกตก็คือ สัมประสิทธิ์ของโมเมนตลบจะมากกวาสัมประสิทธิ์ของโมเมนตบวก และคาที่มากที่สุด
1 1
คือ  แตในการออกแบบทั่วๆ ไปผูเขียนแนะนําใหใช  ทั้งโมเมนตบวกและโมเมนตลบ โมเมนตที่
11 9
wL2 2
ใชออกแบบจึงเปน คาโมเมนตสมดุลควรจะประมาณ ของโมเมนตสูงสุดนี้ จึงจะไดคานที่แข็งแรง
9 3
และประหยัด

รูปที่ 2.11 สัมประสิทธิ์โมเมนตของคานตอเนื่อง

3. คานยืน่ ขอใหพิจารณาในรูปที่ 2.12 ลักษณะแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต อาจจะผสมกันทั้ง


แบบ (ก) และ (ข)
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 33

ในกรณีอื่นๆ ผูอานอาจจะใชความรูทางกลศาสตรวิศวกรรม กําลังวัสดุ ทฤษฎีโครงสรางหรือการ


วิเคราะหโครงสรางมาคํานวณหาแรงเฉือนและโมเมนตดดั ในคานก็ได แตเฉพาะทีก่ ลาวมา 3 แบบนั้นก็
เพียงพอสําหรับการคํานวณออกแบบทั่วๆ ไปแลว

รูปที่ 2.12 แผนภาพแรงเฉือนและแผนภาพโมเมนตดดั ของคานยื่น

2.4 การรับโมเมนตดัดในคานตามทฤษฎียืดหยุน
คานที่รับโมเมนตดัดตามทฤษฎียืดหยุน หนาตัดของคานกอนรับโมเมนตและภายหลังจากรับ
โมเมนตแลวยังคงเปนระนาบไมบิดงอ แสดงวาหนวยการยืดหดในคอนกรีตและเหล็กแปรเปนเสนตรง ให
คอนกรีตเปนตัวรับแรงอัดบริเวณที่เปนแรงดึงถือวาคอนกรีตฉีกยกจนรับแรงดึงไมได จึงตองใหเหล็กเสริม
เปนผูรับแทน

รูปที่ 2.13 พฤติกรรมในการรับโมเมนตดัดของคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


34 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

พิจารณารูปที่ 2.13(ก) เปนซีกซายของคานที่ตัดมาโดยน้ําหนัก w ทําใหเกิดโมเมนตดดั M กระทํา


บนหนาตัดคาน รูปที่ 2.13(ข) เปนดานขางของหนาตัดซึ่งกําลังสรางโมเมนตคูควบ เพื่อตานกับ M แรงอัด C
เกิดในเนื้อคอนกรีตซึ่งหนวยแรงแปรเปนรูปสามเหลี่ยมที่ผิวบนมีคา f c และเปน 0 ทีแ่ กนสะเทิน (N.A. =
Neutral Axis) สวน T เปนแรงดึงในเหล็กรับแรงดึง จากสมการสมดุลของแรงพบวา T = C และหางกันเปน
ระยะ jd เมื่อ d เปนระยะจากจุดเซนทรอยดของกลุมเหล็กเสริมรับแรงดึงถึงผิวที่รับหนวยแรงอัดสูงสุด
ถาหนาตัดคานเปนสี่เหลี่ยมผืนผากวาง b ลึก t ดังรูปที่ 2.13(ค) แลว การกระจายหนวยแรงอัดใน
คอนกรีตจะเปนรูปลิ่มทําใหแรงลัพธ C ซึ่งตองผานจุดเซนทรอยดของลิ่ม ก็จะผานจุดเซนทรอยดของ
kd
สามเหลี่ยมฐาน f c ในรูปที่ 2.13(ข) ดวย ดังนั้นแรง C จึงหางจากผิวบนเปนระยะ เมื่อ kd เปนระยะจาก
3
kd
แกนสะเทินถึงผิวบนรับแรงอัด คา k จึงเรียกพารามิเตอรแกนสะเทิน แขนโมเมนตคูควบคือ jd  d 
3
จะไดโมเมนตคูควบจากแรงอัด C หรือแรงดึง T ดังนี้

M  Cjd  Tjd

ตอไปพิจารณารูปที่ 2.13(ง) แสดงหนวยการหดตัวสูงสุดของคอนกรีต  c และหนวยการยืดตัว


ของเหล็กรับแรงดึง  s ใชความรูเรื่องกําลังวัสดุจะไดหนวยแรงดึงของเหล็ก f s  E s  s และหนวยแรงอัด
สูงสุดในคอนกรีต f c  E c  c เมือ่ E s  2,040,000 ksc เปนโมดูลัสยืดหยุนของเหล็ก ละ
E c  4270 w 1.5 f c'  15,100 f c' เปนโมดูลสั ยืดหยุนของคอนกรีต จากรูปสามเหลี่ยมคลายในรูปที่
2.13(ง) พบวา
 c f c E s nf c kd k
    
s fs Ec fs d  kd 1  k
fs 1 k 1
  1
nf c k k
1 f
 1 s
k nf c
กลับเศษสวนได
1
k (2.3)
f
1 s
nf c

kd
และเนื่องจาก jd  d  หรือ
3
k
j  1 (2.4)
3
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 35

สําหรับอัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
E s 2,040,000 135.0993377
n  
E c 15,100 f c' f c'

อัตราสวน n ไมจําเปนตองเปนจํานวนเต็ม ที่สมัยกอนแนะนําใหใชคา n เปนจํานวนเต็มเพื่อความสะดวกใน


การคํานวณโดยใชไมบรรทัดคํานวณ (slide rule) ปจจุบันเครื่องคํานวณสามารถคํานวณไดละเอียด
แรงดึง T ในเหล็กคือ f s A s แตแรงอัด C ในคอนกรีตตองเอาเนื้อที่รับแรงอัด b  kd คูณกับ
คาเฉลี่ยของหนวยแรงอัด ซึ่งในกรณีหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผานั้นคาเฉลี่ยของหนวยแรงอัดคอนกรีตคือ 12 f c
ดังนั้น โมเมนตที่หนาตัดรับไดเมื่อพิจารณาจากแรงดึงในเหล็กรับแรงดึง
M  Tjd  f s A s jd
ดังนั้น
M
As  (2.5)
f s jd

และโมเมนตทหี่ นาตัดรับไดเมื่อพิจารณาจากแรงอัดในคอนกรีต
1 
M  Cjd   f c b  kd  jd   f c kj  bd 2  Rbd 2
1
2  2
ดังนั้น

M
M  Rbd 2 , d  (2.6)
Rb

1
เมื่อ R f c kj (2.7)
2

ในกรณีกําหนดอัตราสวนเหล็กรับแรงดึงตอเนื้อที่คอนกรีตประสิทธิผล
As

bd
จะได T  f s A s  f s bd แต T  C  1 f c kbd ดังนั้น
2
1
f s bd 
f c kbd
2
fs k

f c 2

แตเนื่องจาก  c f c E s nf c
   
kd

k
หรือ f s  n 1  k  ดังนั้น
s fs E c fs d  kd 1  k fc k
36 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

k n 1  k 

2 k
k 2  2n1  k   2n  2nk
k 2  2nk  2n  0
 2n  2n2  41 2n
k
21
 2n  4n  42n
2

k
2
2n  2 n   2n
2

k
2
k  n  2n  n 
2

เนื่องจากพารามิเตอรแกนสะเทิน k ตองเปนคาบวกเสมอ ดังนั้น


k  2n  n  n (2.8)
2

สมการ (2.3) , (2.4) , (2.7) เปนคาเบื้องตนที่จะตองหา สมการ (2.5) ใชหาเนื้อที่หนาตัดเหล็กเสริม


รับแรงดึง สมการ (2.6) ใชในการประมาณขนาดความลึกของหนาตัดคาน สวนสมการ (2.8) ใชสําหรับการ
วิเคราะหหากําลังรับโมเมนตดัดของคานทีท่ ราบขนาดหนาตัดและปริมาณเหล็กเสริม

ขอกําหนดตามมาตรฐานทีส่ ําคัญ ระยะที่คอนกรีตหุมเหล็กเสริมวัดจากผิวคานถึงผิวนอกของเหล็กลูกตั้ง


หรือเหล็กทางขวาง ระยะขางบนและขางลางอยางนอย 4 ซม และทางซายทางขวาอยางนอย 3.5 ซม

ตัวอยางที่ 2.1 คานคอนกรีตเสริมเหล็กสี่เหลี่ยมผืนผาขนาด 0.20  0.50 m 2 เสริมเหล็กรับแรงดึง 2-DB


20 mm และเหล็กทางขวาง RB 6 mm อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน n = 9.32 มีโมเมนตดัด M = 3000
kg  m จงหาหนวยแรงในคอนกรีตและเหล็กเสริม การพิจารณาใหเปนไปตามทฤษฎียดื หยุน

รูปตัวอยางที่ 2.1
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 37

วิธีทํา
สังเกตวาโจทยใหเฉพาะคา n = 9.32 ไมบอกคา fs และ fc มาให ดังนัน้ ตองใชสมการ 2.8 ในการหา
คา k
ขอบัญญัติ กทม. ขอ 52(7) กําหนดระยะหุมของคอนกรีต 3 ซม แตมาตรฐาน ว.ส.ท.ใหระยะหุม
บนลางของคาน 4 ซม ซายขวา 3.5 ซม จึงจะใชคาตาม ว.ส.ท.
ความลึกประสิทธิผล d = ความลึกคาน h – ระยะหุม 4 ซม – เหล็กทางขวาง 6 มม
– ครึ่งหนึ่งขนาดเหล็ก
2.0
d  50  4  0.6   44.4 cm
2

เนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึง As  2   2.0 2  2  3.14  6.28 cm 2
4
As 6.28
   0.007072072
bd 20  44.4
n  9.32  0.007072072  0.065911711
2n  0.131823423
k  2n  n  n
2

k  0.131823423  0.0659117112  0.065911711


k  0.136167777  0.065911711
k  0.369009183  0.065911711
k  0.303097471  0.303
k 0.303
j  1  1  0.899
3 3
จากสมการ (2.5) M  f s A s jd
3,000  100  f s  6.28  0.899  44.4
3,000  100
fs   1,196.79  1,197 ksc
6.28  0.899  44.4
จากสมการ (2.6) และ (2.7)
1
M  Rbd 2  f c kjbd 2
2
1
3,000  100  f c  0.303  0.899  20  44.4 2
2
2  3,000  100
fc 
0.303  0.899  20  44.4 2
f c  55.867  55.9 ksc
จากตัวอยางนี้ หนวยของโมเมนต M ตองเปน kg  cm และความกวางกับความลึกประสิทธิผลตองมีหนวย
เปน cm
38 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 2.2 คานคอนกรีตเสริมเหล็ก หนาตัดกวาง 0.15 เมตร ความลึก 0.45 เมตร ชวงคาน 4.00 เมตรชวง
เดียว กําหนด f c'  180 ksc, f y  2400 ksc เหล็กเสริม 4-RB 15 mm เหล็กลูกตั้ง RB 6 mm
ใชกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6 แลวหาคา
(1) โมเมนตดัดสูงสุดที่คานสามารถรับได
(2) คานจะรับน้ําหนักแผกระจายไดสูงสุดเทาใด
(3) คานจะรับน้ําหนักจุดเดียวทีก่ ึ่งกลางคานไดสูงสุดเทาใด

ตัวอยางที่ 2.2
วิธีทํา

As  4   1.5 2  7.069 cm 2
4
การหาความลึกประสิทธิผล จะอยูทกี่ ึ่งกลางชองวางระหวางชั้น
2 .5
d  45  4  0.6  1.5   37.65 cm
2
b  15 cm
A 7.069
 s   0.012517042
bd 15  37.65
f c'  180 ksc
Es 2,040,000 2,040,000
n     10.0697101
Ec 15,100 f c' 15,100 180
n  10.0697101  0.012517042  0.126042993
2n  0.252085987
k  2n  n   n
2

k  0.252085987  0.126042993 2  0.126042993


k  0.267972823  0.126042993
k  0.517660915  0.126042993
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 39

k  0.391617922  0.392
k 0.391617922
j  1  1  0.869460692  0.869
3 3
ตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6 ใหใชกําลังคอนกรีต f c  0.375f c'  65 ksc
f c  0.375  180  67.5  65 ksc ใช f c  65 ksc
และกําลังที่ยอมใหของเหล็กเสริมชนิด SR-24 คือ f s  0.5f y  1200 ksc
f s  0.5  2400  1200 ksc

(ก) โมเมนตดัดสูงสุดที่คานสามารถรับไวได

เมื่อหนวยแรงในเหล็กเสริมรับแรงดึงมีคาสูงสุด f s  1200 ksc


M s  f s A s jd  1200  7.069  0.869  37.65  277,538.978 kg  cm
M s  2,775.38978 kg  m
เมื่อหนวยแรงในคอนกรีตมีคาสูงสุด f c  65 ksc
1 1
Mc  f c kjbd 2   65  0.392  0.869  15  37.65 2  235,402.1497 kg  cm
2 2
M c  2,354.021497 kg  m
พิจารณาจากคานอย M c  2,354.021497 kg  m แสดงวาเมื่อเพิ่มโมเมนตขึ้นเรือ่ ยๆ หนวยแรงใน
คอนกรีตถึงขีดจํากัด f c  65 ksc ในขณะทีห่ นวยแรงในเหล็กเสริมยังไมถึงคาสูงสุด f s  1200 ksc แต
เนื่องจากตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 คือเลข 2 ไมใชเลข 1 ตองตอบนัยสําคัญ 3 ตําแหนง (ถาเปนเลข 1 ใช 4
ตําแหนง) กรณีนี้นับจาก 2 ไป 3 ตําแหนงได 235 ถัดไปเปนเลข 4 ตัดทิ้ง (ถาเปน 5 ขึ้นไปใหปด ขึ้น 1) ที่
เหลือแทนดวยเลข 0 ดังนั้นคําตอบของขอนี้คือ

M  2,350 kg  m ตอบ

น้ําหนักของคาน w G  2400bh  2400  0.15  0.45  162 kg / m

(ข) คานจะรับน้ําหนักแผกระจายไดสงู สุดเทาใด

ใหน้ําหนักแผที่ตองรับ w kg/m รวมกับน้ําหนักคานไดน้ําหนักแผ w + 162 kg/m ความยาวชวง


คาน L = 4.00 เมตร ดังนั้น
M
w  162L2
8

2,354.021497 
w  162   4.00 2
8
w  162  1177.010895
w  1015.010895  1,015 kg / m ตอบ
40 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

(ค) คานจะรับน้ําหนักจุดเดียวที่กึ่งกลางคานไดสูงสุดเทาใด
คานมีน้ําหนักแผ w  w G  162 kg / m และมีน้ําหนักจุด P กระทําที่กึ่งกลาง
wL2 PL
M 
8 4
162  4.00 2 P  4.00
2,354.021497  
8 4
P  2030.021497 kg
P  2,030 kg ตอบ

ตัวอยางที่ 2.3 คาน ค.ส.ล. หนาตัดขนาด 0.20  0.60 อยูในสภาพหนาตัดสมดุล จงหาโมเมนตดัดสมดุล MR


เนื้อที่หนาตัดเหล็กเสริมสมดุลรับแรงดึง AsR ใหใช f c'  210 ksc, f y  2400 ksc มาตรฐาน
ว.ส.ท. และกฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6

รูปตัวอยางที่ 2.3
วิธีทํา
คานที่มีหนาตัดสมดุล หนวยแรงในคอนกรีตถึงคา fc ละหนวยแรงในเหล็กถึงคา fs พรอมกัน
E s 2,040,000 2,040,000
n    9.32
E c 15,100 f c 15,100 210
'

f s  0.5f y  0.5  2400  1200 ksc


ตามมาตรฐาน ว.ส.ท.
f c  0.45f c'  0.45  210  94.5 ksc
ดังนั้น
1 1
k   0.423
fs 1200
1 1
nf c 9.32  94.5
k 0.423
j 1 1  0.859
3 3
1 1
R  f c kj   94.5  0.423  0.859  17.169 ksc
2 2
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 41

เขียนรูป (ก) สมมติเหล็กรับแรงดึง RB 19 mm สองชั้น ระยะหางระหวางชั้น 2.5 ซม จุดเซนทรอยดของกลุม


เหล็กอยูก ึ่งกลางของชองวางนี้ เหล็กลูกตั้ง RB 6 mm ระยะหุม 4 ซม ดังนั้นความลึกประสิทธิผล d ดังนี้
2.5
d  60  4  0.6  1.9   52.25 cm
2
โมเมนตดัดสมดุลคือ
M R  Rbd 2  17.169  20  52.252  937,448.8613 kg  cm
M R  9,374.488613 kg  m
กอนตอบตองพิจารณานัยสําคัญ ตัวเลขซายสุดที่ไมใช 0 คือ 9 ใชนัยสําคัญ 3 ตําแหนงคือ 937 ถัดไปเปนเลข
4 ยังไมถึง 5 ตัดทิ้งไปใส 0 แทน ดังนั้นคําตอบคือ

M R  9,370 kg  m

เนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึง
MR 937,448.8613
A sR    17.40551513 cm 2
f s jd 1,200  0.859  52.25
d 2b   1.92
เหล็ก RB 19 mm มีเนื้อทีห่ นาตัด 1 เสน คือ   2.835 cm 2 ตองใชเหล็ก RB 19 mm
4 4
จํานวน
17.40551513
N  6.14  7  8 เสน
2.835
ถาจัดเหล็กตามรูป (ข) พิจารณาระยะชองวางระหวางเสนของเหล็กในแถวเดียวกัน โดยระยะหุม
ทางขางของคานตองไมนอยกวา 3.5 ซม ระยะชองวางระหวางเสนตองไมนอยกวา 3.75 ซม ชองวางระหวาง
เสนจริงคือ
20  3.5  3.5  0.6  0.6  4  1.9
clear   1.4 cm  3.75 cm
4 1
ถาจัดเปน 3 ชัน้ ๆ 3 เสน
20  3.5  3.5  0.6  0.6  3  1.9
clear   3.05 cm  3.75 cm
3 1
ถาจัดเปน 4 ชัน้ ๆ ละ 2 เสน
20  3.5  3.5  0.6  0.6  2  1.9
clear   8 cm  3.75 cm
2 1
ดังนั้นแตละชัน้ จะตองไมเกิน 2 เสน เมื่อจัดเปน 4 ชั้นๆ ละ 2 เสนรวมเปน 8 เสน จุดศูนยถวงจะอยูท ี่กึ่งกลาง
ระหวางชัน้ ที่ 2 กับชั้นที่ 3 ดังนั้นความลึกประสิทธิผล d หาไดจาก
2.5
d  60  4  0.6  1.9  2.5  1.9   47.85 cm
2
M R  Rbd 2  17.169  20  47.852  786,210.5741 kg  cm
M R  7,862.105741 kg  m
42 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เหล็กเสริมรับแรงดึง
MR 786,210.5741
A sR    15.94 cm 2
f s jd 1,200  0.859  47.85
จํานวนเสนของเหล็ก RB 19 mm
15.94
N  5.62  6 เสน
2.835
ดังนั้น จัดเหล็กรับแรงดึงเปน 3 ชั้นๆ ละ 2 เสน
1.9
d  60  4  0.6  1.9  2.5   50.05 cm
2
M R  Rbd 2  17.169  20  50.052  860,167.7585 kg  cm
M R  8,601.677585 kg  m
โมเมนตดัดที่รบั ได M R  8,600 kg  m

กรณีตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6

f c  0.375f c'  0.375  210  78.75 ksc  65 ksc ใช f c  65 ksc


1 1
k   0.335
f 1,200
1 s 1
nf c 9.32  65
k 0.335
j 1 1  0.888
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.335  0.888  9.6681 ksc
2 2
สมมติจัดเหล็ก 3 ชั้นๆ ละ 2 เสน ขนาด RB 19 mm
1.9
d  60  4  0.6  1.9  2.5   50.05 cm
2
M R  Rbd 2  9.6681  20  50.052  484,372.2934 kg  cm
MR 484,372.2934
A sR    9.082 cm 2
f s jd 1,200  0.888  50.05
จํานวนเหล็ก RB 19 mm ที่ตองการคือ
9.082
N  3.203  4 เสน
2.835
จัดเหล็ก RB 19 mm สองชั้นๆ ละ 2 เสน
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 43

2.5 คานซึ่งมีเหล็กเสริมรับแรงดึงและเหล็กรับแรงอัด
คานทั่วๆ ไปจะตองมีเหล็กเสริมรับแรงอัดเพื่อใชยดึ เหล็กลูกตั้งรับแรงเฉือน ตามมาตรฐาน ว.ส.ท.
กําหนดเหล็กตามยาวตองไมเล็กกวา 12 mm ยกเวนในกรณีคานทับหลังใช RB 9 mm ไดเนื่องจากไมใช
โครงสรางรับโมเมนตดัดโดยตรง
หนวยการยืดตัวของเหล็กเสริมรับแรงดึงจะไมเทากับคอนกรีต แตในสวนเหล็กรับแรงอัดนั้น
เหล็กจะหดตัวไปพรอมๆ กับคอนกรีต ดังนั้นหนวยแรงในเหล็กรับแรงอัดจะเพิ่มขึน้ มากกวาปกติ ในกรณี
สวนรับแรงดึง หนวยแรงในเหล็กเปน n เทาของหนวยแรงในคอนกรีต แตในสวนที่รบั แรงอัด หนวยแรงใน
เหล็กจะเปน 2n เทาของคอนกรีต แตตองไมเกินคาหนวยแรงดึงของเหล็ก ดังนั้นในการแปลงเหล็กรับ
แรงอัดไปเปนคอนกรีตจึงตองเพิ่มมากกวากรณีของแรงดึง

รูปที่ 2.14 ลักษณะการรับโมเมนตดัดของคานที่มีทั้งเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด

จากรูปที่ 2.14(ก) หนาตัดคานที่กําลังรับโมเมนตดัดบวก ผิวบนเปนแรงอัด มีเหล็กเสริมรับแรงอัด


Asc ระยะเซนทรอยดหางจากผิวรับแรงอัดเปน d’ ที่คํานวณจากระยะหุม 4 ซม เหล็กลูกตั้ง และระยะถึงเซน
ทรอยดกลุมเหล็ก โดยคาดเดาขนาดเหล็กลูกตั้ง ขนาดเหล็กรับแรงอัด จํานวนชั้น ระยะระหวางชั้น 2.5 ซม
สวนเหล็กรับแรงดึง Ast ระยะเซนทรอยดกลุมเหล็กหางจากผิวรับแรงอัดของคาน (ในกรณีนี้คือผิวบน) เปน
ระยะ d ที่คํานวณจากระยะหุม 4 ซม เหล็กลูกตั้ง และระยะถึงเซนทรอยดกลุมเหล็ก โดยคาดเดาขนาดเหล็ก
ลูกตั้ง ขนาดเหล็กรับแรงดึง จํานวนชั้น ระยะระหวางชั้น 2.5 ซม
1
แบงหนาตัดเปนสวนรูป 2.14(ข) ที่แรงอัดของคอนกรีต C1  f c kbd เทากับแรงดึงในเหล็กรับ
2
 k
แรงดึงสวนหนึ่งและเทากับ T1  A sR f s โดยแรงทั้งสองหางกัน jd  1  d ดังนั้นโมเมนตดัดสวนที่
 3
หนึ่งจึงเปน
1 1
M 1  C 1 jd  f c kbd  jd  f c kjbd 2  Rbd 2  M R
2 2
M 1  M R  T1 jd  A sR f s jd
44 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ดังนั้น
1
k
fs
1
nf c
k
j 1
3
1
R  f c kj (2.9)
2
M R  Rbd 2 (2.10)
MR
A sR  (2.11)
f s jd
โมเมนตที่กระทําสูงสุดในคานคือ M ดังนัน้ โมเมนตสวนเกินทีเ่ หล็กรับแรงดึง A s1 กับเหล็กรับแรงอัด A sc
จะตองรับ คือ
M '  M  M R  A scf s' d  d'  A s1f s d  d' (2.12)
ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงอัดที่ตองการคือ
M  MR
A sc  (2.13)
f s' d  d'
เนื้อที่เหล็กรับแรงดึงที่ใชรับโมเมนตสวนเกิน
M  MR
A s1  (2.14)
f s d  d'
จากสมดุลของแรงในรูปที่ 2.14(ค)
A scf s'  A s1f s
ในชวงยืดหยุน นั้นหนวยแรงในเหล็กเสริมจะเปนปฏิภาคกับระยะจากแกนสะเทิน
f s d  kd

f s' kd  d'
d'
k
kd  d' d
f  fs
'
 fs
d  kd 1 k
s

แตหนวยแรงอัดที่เกิดขึน้ ในเหล็กรับแรงอัดจะเปน 2 เทาของคาที่คํานวณไดตามมาตรฐาน ว.ส.ท. นัน่ คือ


d'
k
f s'  2f s d f (2.15)
1 k
s
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 45

ลําดับขั้นตอนการคํานวณออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  กําลังอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานที่อายุ 28 วัน, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริม, ksc
f y  2400 ksc  กําลังครากของเหล็กกลมผิวเรียบ SR-24
f y  3000 ksc  กําลังครากของเหล็กขอออย SD-30
f y  4000 ksc  กําลังครากของเหล็กขอออย SD-40
f y  5000 ksc  กําลังครากของเหล็กขอออย SD-50
E s 2,040,000 135.0993377
n   ใชทศนิยม 2 ตําแหนง
E c 15,100 f c' f c'
f c  0.45f c'  กําลังที่ยอมใหของคอนกรีตตามมาตรฐาน ว.ส.ท., ksc
f c  0.375f c'  65 ksc  กําลังที่ยอมใหของคอนกรีตตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6, ksc
f s  0.5f y  1200 ksc  กําลังที่ยอมใหของเหล็ก SR-24
f s  0.5f y  1500 ksc  กําลังที่ยอมใหของเหล็ก SD-30
f s  0.5f y  1700 ksc  กําลังที่ยอมใหของเหล็ก SD-40 และ SD-40 มาตรฐานใหใชไมเกิน
1700 ksc
1
k  พารามิเตอรตําแหนงแกนสะเทิน
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณขนาดหนาตัดคาน ใหดจู ากแปลนสถาปตยกรรมวาชวงคานที่ยาวที่สุดเทาใด หาความ


ลึกของหนาตัดคาน h จากคาตอไปนี้
L f 
คานชวงภายใน h  0.4  y  เพื่อไมตองคํานวณระยะโกง
16  7000 
L
ประหยัด h
10
L f 
คานยื่น h   0.4  y  เพื่อไมตองคํานวณระยะโกง
8 7000 
L
ประหยัด h
5
เมื่อ L = ชวงความยาวของคานสูงสุด
46 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จากนั้นเลือกความลึกคานทีค่ าดวาเหมาะสม
ประมาณความกวางคาน b โดยพิจารณาดังนี้
h
b เปนคาแนะนํา ไมใชมาตรฐานกําหนด
5
L
b มาตรฐานกําหนดไว
35
b  20 cm สําหรับคานที่รับฝากคานอื่น เหล็กตองฝงในคานหรือเสา  15 ซม
หาน้ําหนักคาน w G  2400bh เปน kg/m โดย b และ h ตองเปนเมตร
นําน้ําหนักคานไปรวมกับน้าํ หนักอืน่ เชน น้ําหนักผนัง น้ําหนักจากพืน้ หรือบันได แลววิเคราะหหา
โมเมนต M (ที่จริงตองหาแรงเฉือน V ดวย ซึ่งจะกลาวตอไป)

ขั้นตอนที่ 3 สมมติขนาดเหล็กลูกตั้ง ขนาดเหล็กรับแรงดึง จํานวนชัน้ แลวหาความลึกประสิทธิผล d ขนาด


เหล็กรับแรงอัด จํานวนชั้น แลวหาตําแหนงของเหล็กรับแรงอัด d’ หาหนวยแรงอัดที่ยอมให f s'
d'
k
f s'  2f s d f
1 k
s

หาโมเมนตสมดุล
M R  Rbd 2
ขั้นตอนที่ 4 หาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึง A st และเหล็กเสริมรับแรงอัด A sc
ถา M  M R แลว
A sc  0
M
A st 
f s jd
ถา M  M R แลว
M  MR
A sc 
f s' d  d '
MR M  MR
A st  
f s jd f s d  d'
ถา A sc  A st แสดงวาหนาตัดคานเล็กเกินไปใหเพิ่มขนาด แลวออกแบบใหม
ถา A sc  A st แสดงวาหนาตัดรับน้ําหนักได จัดเหล็กลงหนาตัดและตรวจสอบระยะ d และ d’

ขั้นตอนที่ 5 ออกแบบรับแรงเฉือน

ขั้นตอนที่ 6 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 47

ตัวอยางที่ 2.4 จงออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็กใหรับโมเมนตดัด 16,500 kg  m สมมติขนาดหนาตัด


0.25  0.60 m 2 กําลังของวัสดุ f c'  250 ksc, f y  3000 ksc ใชมาตรฐาน ว.ส.ท.

ภาพตัวอยางที่ 2.4

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  250 ksc
f y  3000 ksc
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.54
E c 15,100 f c' 15,100 250
f c  0.45f c'  0.45  250  112.5 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
1 1
k   0.390
fs 1,500
1 1
nf c' 8.54  112.5
0.390
j 1  0.870
3
1 1
R  f c kj   112.5  0.390  0.870  19.086 ksc
2 2

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณขนาดคาน กรณีนี้ทราบขนาดแลว


h  60 cm
b  25 cm
w G  2400bh  2400  0.25  0.60  360 kg / m
ไมตองวิเคราะหใดๆ เนื่องจากโจทยใหโมเมนตมาแลววา
M  16,500 kg  m  1,650,000 kg  cm
48 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 สมมติขนาดเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm เหล็กเสริมรับแรงดึง DB 25 mm หนึ่งชั้น และเหล็กเสริมรับ


แรงอัด DB 25 mm ชั้นเดียวเชนกัน ระยะหุม 4 cm
2 .5
d  60  4  0.9   53.85 cm
2
2 .5
d '  4  0 .9   6.15 cm
2
d' 6.15
k 0.390 
f s'  2f s d  2  1500  53.85  1,356.36 ksc  f  1,500 ksc
1 k 1  0.390
s

M R  Rbd 2  19.086  25  53.852  1,383,650.3 kg  cm

ขั้นตอนที่ 4 หาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึง A st และเหล็กเสริมรับแรงอัด A sc


พบวา M R  1,383,650.3 kg  cm  M  1,650,000 kg  cm
M  M R 1,650,000  1,383,650.3
A sc    4.117 cm 2
f s d  d ' 1,356.36  53.85  6.15
'

MR M  MR 1,383,650.3 1,650,000  1,383,650.3


A st    
f s jd f s d  d ' 1,500  0.870  53.85 1,500  53.85  6.15
A st  19.689  3.723  23.412 cm 2
ตรวจสอบพบวา A st  A sc ใชได จึงจัดเหล็กดังนี้
เหล็กรับแรงดึง ใช DB 25 mm มีเนื้อที่ A s1   d 2b    2.52  4.909 cm 2 ดังนั้นจํานวนเสน
4 4
23.412
ของเหล็กรับแรงดึงคือ  4.77  5 เสน จัดเปนสองชัน ้ ชั้นลางสุด 3-DB 25 mm ชัดถัดขึ้นไป
4.909
2-DB 25 mm ระยะชองวางระหวางเสน  25  3.5  3.5  0.9  0.9  3  2.5  4.35 cm  3.75 cm
3 1
2.5
ชั้นที่หนึ่งเหล็ก 3 เสน หางขอบลาง 4  0.9   6.15 cm ชั้นที่สองเหล็ก 2 เสน หางขอบ
2
2.5
ลาง 4  0.9  2.5  2.5   11.15 cm จุดเซนทรอยดของเหล็กหางจากขอบลางดังนี้
2
3  6.15  2  11.15
y  8.15 cm
3 2
d  60  8.15  51.85 cm

เหล็กรับแรงอัด ใช DB 16 mm มีเนื้อที่ A s1   d 2b    1.62  2.01 cm 2 ดังนั้นจํานวนเสน


4 4
4.117
ของเหล็กรับแรงอัดคือ  2.05  3 เสน จัดเปนชัน
้ เดียว
2.01
1.6
d'  4  0.9   5.7 cm
2
ขั้นตอนที่ 5 ออกแบบรับแรงเฉือน (ยังเวนไวกอน จะออกแบบในหัวขอตอไป)
ขั้นตอนที่ 6 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก รูป (ข) ยังขาดเหล็กทางขวาง
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 49

ตัวอยางที่ 2.5 จากรูปแปลนพื้นและคาน จงออกแบบคาน B1 กําหนดใหแผนพื้น S1 หนา 0.10 เมตร รับ


น้ําหนักบรรทุกจร 200 kg/m2 ผนังกออิฐมอญเต็มแผนเปนผนังกันไฟสูง 3.00 เมตร ทึบตลอด
กําหนดกําลังของคอนกรีตและของเหล็กเสริม ออกแบบเพื่อยื่นขออนุญาตกอสราง

รูปตัวอยางที่ 2.5

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําหนดกําลังอัดประลัยของคอนกรีต
f y  2400 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริมผิวเรียบ
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72
E c 15,100 f c' 15,100 240
f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc ตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6
f s  0.5f y  0.5  2400  1200 ksc
50 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1 1
k   0.321
f 1200
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.321
j 1 1  0.893
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.321  0.893  9.32 ksc
2 2
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณขนาดคาน
คานมีชวงยาวสูงสุด L = 5.00 m ความลึกคานขั้นต่ําที่ไมตองตรวจสอบการโกงงอคือ
L f  5.00  2400 
h  0.4  y    0 .4    0.232 m
16  7000  16  7000 
ความลึกที่ประหยัดเหล็กเสริม
L 5.00
h   0.50 m
10 10
เลือกความลึกคาน h  0.50 m  50 cm
ความกวางคาน
h 0.50
b   0.10 m
5 5
L 5.00
b   0.142 m
35 35
b  20 cm
เลือกใชความกวางคาน b  0.25 m  25 cm
น้ําหนักคาน w G  2400bh  2400  0.25  0.50  300 kg / m
น้ําหนักผนังกออิฐมอญเต็มแผน w w  360H  360  3.00  1,080 kg / m
น้ําหนักของพืน้ S1 หนา 0.10  2400h f  2400  0.10  240 kg / m 2
น้ําหนักบรรทุกจร  200 kg / m 2 รวมกับน้ําหนักพื้นเองได w  240  200  440 kg / m 2
เนื่องจากคาน B1 เปนขอบยาวของพื้นที่มคี วามยาวขอบสั้น S = 4.00 m ความยาวขอบยาว L = 5.00 m
อัตราสวน m  S  4.00  0.8 พืน้ S1 อยูสองขางของคาน B1 ดังนั้นน้ําหนักจากพืน้ S1 บนคาน B1 คือ
L 5.00
wS 3  m 2 440  4.00 3  0.82
ws  2   2   1,384.5  1,385 kg / m
3 2 3 2
น้ําหนักบรรทุกรวมบนคาน
w  300  1,080  1,385  2,765 kg / m
วิเคราะหคานตอเนื่อง ในที่นี้จะใชวิธี slope-deflection และถือเสมือนจุดรองรับหรือเสาเปนจุด
รองรับแบบคมมีดไมมีโมเมนตในเสา (ความจริงมีแตนอ ย) ใหจดุ รองรับเรียงจากซายไปขวาเปน A,B,C,D
หนาตัดคานเทากันตลอด ดังนั้นโมเมนตอนิ เนอรเชีย I จึงเทากันทุกชวง
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 51

โมเมนตที่ปลายยึดแนน (FEM : Fixed End Moment) ของคานที่รับน้ําหนักแผสม่ําเสมอ ตามเข็มนาฬิกาเปน


บวกทวนเข็มนาฬิกาเปนลบ
wL2 2,765  5.00 2
FEM AB  FEM BC  FEM CD     5,760.416667 kg  m
12 12
wL2 2,765  5.00 2
FEM BA  FEM CB  FEM DC    5,760.416667 kg  m
12 12
เขียนสมการ slope-deflection ดังนี้
M NF 
2EI
2 N  F  3 NF   FEM NF
L
ชวง AB
M AB 
2EI
2A  B  3AB   5,760.416667  0.8EIA  0.4EIB  5,760.416667
5.00
M BA 
2EI
2B  A  3BA   5,760.416667  0.4EIA  0.8EIB  5,760.416667
5.00
ชวง BC
M BC 
2EI
2B  C  3BC   5,760.416667  0.8EIB  0.4EIC  5,760.416667
5.00
M CB 
2EI
2C  B  3CB   5,760.416667  0.4EIB  0.8EIC  5,760.416667
5.00
ชวง CD
M CD 
2EI
2C  D  3CD   5,760.416667  0.8EIC  0.4EID  5,760.416667
5.00
M DC 
2EI
2D  C  3DC   5,760.416667  0.4EIC  0.8EID  5,760.416667
5.00
พิจารณาสมดุลของจุดรองรับ
จุด A M AB  0 .........................................................(1)
จุด B M BA  M BC  0 ............................................(2)
จุด C M CB  M CD  0 ............................................(3)
จุด D M DC  0 .........................................................(4)
แทนคาโมเมนตจากสมการ slope-deflection ลงในสมการสมดุล
จากสมการ (1)
0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667  0
0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667 ...........................(1)
จากสมการ (2)
0.4EI A  0.8EI B  5,760.416667  0.8EI B  0.4EIC  5,760.416667  0
0.4EI A  1.6EI B  0.4EIC  0 ................................(2)
52 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จากสมการ (3)
0.4EI B  0.8EIC  5,760.416667  0.8EIC  0.4EI D  5,760.416667  0
0.4EI B  1.6EIC  0.4EI D  0 ................................(3)
จากสมการ (4)
0.4EIC  0.8EI D  5,760.416667  0
0.4EIC  0.8EI D  5,760.416667 .........................(4)
รวมทั้งสี่สมการและจัดใหตรงกัน
0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667 ...........................(1)
0.4EI A  1.6EI B  0.4EIC  0 ....................................................(2)
0.4EI B  1.6EIC  0.4EI D  0 ...................................................(3)
0.4EIC  0.8EI D  5,760.416667 .........................(4)
(1)  2  2   2 
0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667 ...........................(1)
 2.8EI B  0.8EIC  5,760.416667 .............................(2)
0.4EI B  1.6EIC  0.4EI D  0 ...................................................(3)
0.4EIC  0.8EI D  5,760.416667 .........................(4)
2  7  3  3
0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667 ...........................(1)
 2.8EI B  0.8EIC  5,760.416667 .............................(2)
 10.4EIC  2.8EI D  5,760.416667 ...........................(3)
0.4EIC  0.8EI D  5,760.416667 .........................(4)
3  26  4  4
0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667 ...........................(1)
 2.8EI B  0.8EIC  5,760.416667 .............................(2)
 10.4EIC  2.8EI D  5,760.416667 ...........................(3)
 18EI D  155,531.25 ...............................(4)
จากสมการที่ (4)
 18EI D  155,531.25
155,531.25
EI D   8,640.625001
 18
แทนคา EID  8,640.625001 ในสมการที่ (3)
10.4EIC  2.8EI D  5,760.416667
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 53

10.4EIC  2.8   8,640.625001  5,760.416667


5,760.416667  2.8  8,640.625001
EIC   2,880.208334
10.4
แทนคา EIC  2,880.208334 ในสมการที่ (2)
 2.8EI B  0.8EIC  5,760.416667
 2.8EI B  0.8  2,880.208334  5,760.416667
5,760.416667  0.8  2,880.208334
EI B   2,880.208334
 2 .8
แทนคา EIB  2,880.208334 ในสมการที่ (1)
0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667
0.8EI A  0.4   2,880.208334   5,760.416667
5,760.416667  0.4  2,880.208334
EI A   8,640.625001
0 .8
แทนคาหาโมเมนตที่ปลายคานในสมการ slope-deflection ดังนี้
M AB  0.8EI A  0.4EI B  5,760.416667
M AB  0.8  8,640.625001  0.4   2,880.208334  5,760.416667
M AB  0.0000002  0
M BA  0.4EI A  0.8EI B  5,760.416667
M BA  0.4  8,640.625001  0.8   2,880.208334  5,760.416667
M BA  6,912.5 kg  m
M BC  0.8EI B  0.4EIC  5,760.416667
M BC  0.8   2,880.208334  0.4  2,880.208334  5,760.416667
M BC  6,912.500001  6,912.5 kg  m
M CB  0.4EI B  0.8EIC  5,760.416667
M CB  0.4   2,880.208334  0.8  2,880.208334  5,760.416667
M CB  6,912.500001  6,912.5 kg  m
M CD  0.8EIC  0.4EI D  5,760.416667
M CD  0.8  2,880.208334  0.4   8,640.625001  5,760.416667
M CD  6,912.5 kg  m
M DC  0.4EIC  0.8EI D  5,760.416667
M DC  0.4  2,880.208334  0.8   8,640.625001  5,760.416667
M DC  0.0000002  0
หาแรงเฉือนและโมเมนตบวกกลางชวง
wL M AB  M BA 2,765  5.00 0  6,912.5
VAB      5,530 kg
2 L 2 5.00
wL M AB  M BA 2,765  5.00 0  6,912.5
VBA      8,295 kg
2 L 2 5.00
54 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

2
 VAB 5,530 2
M AB  M AB  0  5,530 kg  m
2w 2  2,765
wL M BC  M CB 2,765  5.00  6,912.5  6,912.5
VBC      6,912.5 kg
2 L 2 5.00
wL M BC  M CB 2,765  5.00  6,912.5  6,912.5
VCB      6,912.5 kg
2 L 2 5.00
 V2 6,912.5 2
M BC  M BC  BC  6,912.5   1,728.125 kg  m
2w 2  2,765
wL M CD  M DC 2,765  5.00  6,912.5  0
VCD      8,295 kg
2 L 2 5.00
wL M CD  M DC 2,765  5.00  6,912.5  0
VDC      5,530 kg
2 L 2 5.00
2
 VCD 8,2952
M CD  M CD   6,912.5   5,530 kg  m
2w 2  2,765
คานรับโมเมนตดัดสูงสุด M = 6,912.5 kg  m = 691,250 kg  cm
คานขนาด 0.25  0.50 m 2 มี b = 25 cm , h = 50 cm พารามิเตอรโมเมนตสมดุล R = 9.32 ksc ใหเหล็กทาง
ขวาง RB 6 mm เหล็กเสริมรับแรงดึง RB 19 mm สองชั้น เหล็กรับแรงอัด RB 19 mm ชั้นเดียว
2 .5
d  50  4  0.6  1.9   42.25 cm
2
1 .9
d '  4  0 .6   5.55 cm
2
M R  Rbd 2  9.32  25  42.252  415,919.5625 kg  cm  M  691,250 kg  cm
d' 5.55
k 0.321 
f s'  2f s d  2  1,200  42.25  670.3 ksc  f  1,200 ksc
1 k 1  0.321
s

M  M R 691,250  415,919.5625
A sc  '   11.192 cm 2
f s d  d ' 670.3  42.25  5.55
MR M  MR 415,919.5625 691,250  415,919.5625
A st    
f s jd f s d  d ' 1,200  0.893  42.25 1,200  42.25  5.55
A st  9.186  6.252  15.438 cm 2  A sc O.K.

เหล็ก B 19 mm แตละเสนมีเนื้อที่หนาตัด A s1    1.9 2  2.835 cm 2 ดังนั้นเหล็กรับแรงดึงตองการ


4
15.438 11.192
จํานวน  5.45  6 เสน จํานวนเหล็กรับแรงอัดที่ตองการ  3.95  4 เสน
2.835 2.835
เขียนรายละเอียดคานดังแสดง ปกติเหล็กโตกวา 16 mm จะไมนยิ มงอคอมา โดยอาจจะใชการเสริมพิเศษซึ่ง
ตองใหเลยจุดที่ตองการออกไป b w  d
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 55

2.6 แรงเฉือนและแรงดึงทแยงในคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 2.15 ความสัมพันธระหวางแรงเฉือนกับแรงดึงทแยง

พิจารณารูปที่ 2.15(ก) ถาตัดสี่เหลี่ยมลูกบาศกเล็กๆ บริเวณแกนสะเทินขนาดยาวดานละ a โดย a


เล็กมากจนเกือบเปน 0 นํามาเขียนขยายดังรูปที่ 2.15(ข) เพื่อดูไดสะดวก สังเกตดานดิ่งมีแรงเฉือน V และ
ดานบนมีแรงเฉือน H เมื่อมองดานที่ไมมีแรงเฉือนจะเห็นดังรูปที่ 2.15(ค) ในสมการสมดุลของแรงและ
โมเมนต

 F  0
x Hบน = Hลาง
 F  0
y Vซาย = Vขวา
 M  0 Va = Ha หรือ V = H

หนวยแรงเฉือนทางดิ่งและทางนอนมีคาเทากัน
ตัดตามแนว (1)-(1) เขียนดังรูปที่ 2.15(ง) ดานทแยงมีเนื้อที่ =  
a a 2  a2 2 และมีแรงดึง T
กระทํา เขียนแผนภาพของแรงดังรูปที่ 2.15(จ) ใชสมการสมดุล

 F  0 T2  V2  H2

ถาให v เปนหนวยแรงเฉือน จะไดวา V  va 2 และ H  va 2 และให t เปนหนวยแรงดึงในแนวทแยง จะ


ได T  ta 2 2 แทนคาในสมการสมดุล
56 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ta 2
2   va   va 
2 2 2 2 2

2t 2a 4  v 2a 4  v 2a 4
2t 2a 4  2v 2a 4
t 2  v2
tv
แสดงวาที่บริเวณแกนสะเทิน หนวยแรงดึงทแยง t ในแนว 45 องศากับแกนสะเทิน จะเทากับหนวยแรงเฉือน
v ในแนวดิ่งและแนวนอน

รูปที่ 2.16 แรงเฉือนและแรงดึงทแยงเมื่อมีแรงอัด C

ในกรณีที่ตัดสีเ่ หลี่ยมลูกบาศกจากตําแหนงอื่นนอกแกนสะเทิน จะมีแรงอัด C จากโมเมนตดดั


หรือ C ทําใหเกิดหนวยแรงดัด f อาศัยความรูจากวิชากําลังวัสดุในเรื่องวงกลมของโมฮ จะไดหนวยแรงดึง
สูงสุด
f f2
t   v2
2 4
โดยทํามุม  กับแนวแกนคานหรือแกนสะเทิน หามุม  ไดจาก
2v
tan 2 
f
จากการที่ v = t และคอนกรีตรับแรงดึงไดไมดีจึงทําใหคานราวในแนวประมาณ 45 องศา ที่แกน
สะเทิน ดังนัน้ จึงตองมีเหล็กลูกตั้งหรือเหล็กทางขวาง หรือบางครั้งอาจจะเปนเหล็กคอมมาชวยรับแรงดึง
ทแยงที่เกิดขึ้นจากแรงเฉือนนี้
พิจารณารูปที่ 2.17(ก) เปนสภาพการราวหรือคานขาดเนื่องจากแรงดึงทแยง แตเนือ่ งจาก v = t
ดังนั้นจึงตองหาหนวยแรงเฉือน v จากหนาตัดคานตรงๆ โดยคิดเต็มความกวางคาน b และถึงความลึก
ประสิทธิผล d ดังรูปที่ 2.17(ข) ตามสมการ
V
v หรือ V  vbd (2.16)
bd
หนวยแรงเฉือนรวมนี้ตองไมเกิน v c 2  1.32 f c' โดยในสวนของคอนกรีตจะรับหนวยแรงเฉือน
ไปเพียง v c1  0.29 f c'
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 57

รูปที่ 2.17 การหาหนวยแรงเฉือนทางดิ่งแทนหนวยแรงดึงทแยง

2.7 การหาเหล็กเสริมรับแรงเฉือนในคาน
ในกรณีแรงเฉือน V มากกวาแรงเฉือนที่คอนกรีตรับไวไดหรือ Vc  v c1bd จะมีแรงเฉือน
สวนเกิน V’ ที่ตองใชเหล็กเสริมรับแรงเฉือน โดยที่

V'  V  Vc

ตามความเปนจริงนั้นเหล็กรับแรงเฉือนจะใชรับแรงดึงทแยง ดังนัน้ ถาวางเอียงใหตงั้ ฉากกับแนวที่คานขาด


ในรูปที่ 2.17(ก) เหล็กเสริมรับแรงเฉือนจึงจะทํางานไดเต็มประสิทธิภาพ ดังแสดงในรูปที่ 2.18 แตในทาง
ปฏิบัติทําไดยาก นิยมวางตั้งฉากกับแกนคาน

รูปที่ 2.18 การเสริมเหล็กรับแรงเฉือน

สมมติใหระยะเรียงของเหล็กลูกตั้งรับแรงเฉือนหางกัน s วัดตามแนวแกนสะเทินและเอียงทํามุม
 กับแกนสะเทินดังรูปที่ 2.18(ก) แรงดึง T เปนแรงดึงทแยงทํามุม 45 องศา แรงดึง T1 เปนแรงดึงในเหล็ก
ลูกตั้ง ซึ่งแยกไปทําหนาที่ T ดังรูปที่ 2.18(ข) ดังนั้น

T  T 1 cos 45 o   

T  T 1 cos 45 o cos   sin 45 o sin  
58 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

 1 1 
T  T1  cos   sin  
 2 2 
T  1 cos   sin  
T
2
แต T1  A v f v
Av  เนื้อที่หนาตัดของเหล็กลูกตัง้ คิด 2 ขา , cm 2
f v  f s  หนวยแรงดึงของเหล็กลูกตัง้ , ksc
เหล็กเสริมหางกัน s พิจารณาแทงคอนกรีตสามเหลี่ยมกวาง b ดานตรงกันขามมุมฉากยาว s ดังรูป
ที่ 2.18(ค) จะพบวา H  v' bs เมื่อใชสมการสมดุลจะได
v' bs
T  H cos 45o 
2
โดย v’ เปนหนวยแรงเฉือนสวนเกิน หาไดจาก

V' bs V' s
ดังนั้น T  
bd 2 d 2
แทนคา T และ T1
V' s A v f v
 cos   sin  
d 2 2

s
A vf vd
cos   sin   (2.17)
V'

1 1 2
ถามุม   45o cos   sin   cos 45o  sin 45o     2
2 2 2

A vf vd 2
s (2.18)
V'

กรณีที่นยิ มใชเปนเหล็กลูกตัง้ มุม   90o


cos   sin   cos 90 o  sin 90 o  0  1  1

A vf vd A vf vd
s  (2.19)
V' V  Vc

เหล็กตามยาวคานขนาด 20 mm ลงมาใหใชเหล็กลูกตั้งไมเล็กกวา RB 6 mm แตละวงจะมี 2 ขา



ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือน A v  2   0.6 2  0.565 cm 2 หากคํานวณหาระยะ s ตามสมการ
4
(2.19) และถีก่ วา 0.075 เมตร ใหเพิ่มจํานวนวงในหนึ่งชุดมากขึ้น ระยะเรียงจะมากขึน้ ตามจํานวนวง
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 59

เหล็กตามยาวคานตั้งแต 25 mm ขึ้นไปควรจะใชเหล็กปลอก RB 9 mm แตละวงจะมี 2 ขา ดังนั้น



เนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือน Av  2   0.9 2  1.272 cm 2 หากคํานวณหาระยะ s ตามสมการ (2.19)
4
และถี่กวา 0.075 เมตร ใหเพิม่ จํานวนวงในหนึ่งชุดมากขึน้ ระยะเรียงจะมากขึ้นตามจํานวนวง

ขอกําหนดสําคัญในการเสริมเหล็กรับแรงเฉือน

(1) หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนหางขอบในของที่รองรับระยะ d เหล็กรับแรงเฉือนวงแรกหาง


s d
ขอบที่รองรับไมเกิน และไมเกิน และไมเกิน 30 cm
2 2
(2) หนวยแรงเฉือนรวมไมเกิน 1.32 f c' สวนที่คอนกรีตรับ v c1  0.29 f c'
Av
(3) ระยะเรียงสูงสุดไมเกิน s max  รวมทั้งใชในกรณี v  v c1
0.0015b
กรณีที่ 0  v  0.795 f c' ใหคํานวณระยะเรียงจาก
A vf vd
s
V'
d
s
2
s  60 cm
กรณีที่ 0.795 f c'  v  1.32 f c' ใหคํานวณระยะเรียงจาก
A vf vd
s
V'
d
s
4
s  30 cm
(4) เหล็กคอมาใหพิจารณารับแรงเฉือนไดเพียง 34 ของชวงกลางสวนที่เอียง
(5) เหล็กคอมาทีห่ างจากฐานรองรับเทากัน ใหรับแรงเฉือน V'  A v f v sin 

รูปที่ 2.19 การเสริมเหล็กลูกตั้งรับแรงเฉือนขวางทางรอยขาด


60 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

2.8 แรงยึดเหนี่ยว

รูปที่ 2.20 การพิจารณาแรงยึดเหนี่ยวของคอนกรีตกับเหล็กเสริม

พิจารณารูปที่ 2.20 ตัดคานมายาว x ซึ่งเปนขนาดสั้นมากๆ จนเกือบเปน 0 ทําใหนา้ํ หนัก wx มีคา


นอยจนตัดทิ้งได แรงเฉือน V ทั้งสองขางจึงถือวาเทากัน แตแรงอัด C1 กับ C2 ไมเทากัน แรงดึง T1 กับ T2
ตางกันโดยมีแรงยึดเหนี่ยว ux  O ชวยยึดใหเหล็กไมรูดออกจากเนื้อคอนกรีต ชิ้นสวนของคานนี้อยูใ น
สภาพสมดุล ใหจุด A ซึ่งอยูในแนวของแรง C1 กับ C2 เปนจุดหมุน

 M A 0  Vx  T2  T1  jd  0

แตเนื่องจาก T2  T1  ux  O
เมื่อ u  หนวยแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึน้ , ksc
 O  ผลรวมของเสนรอบวงของเหล็กเสริม, cm
x  O  เนื้อที่ผิวเหล็กเสริมที่คอนกรีตยึดเหนีย่ วอยู, cm 2
แทนคาในสมการสมดุลโมเมนตรอบจุด A
Vx  ux  O  jd
V  ujd  O
ดังนั้น

u
V
หรือ  O  V (2.20)
 Ojd ujd
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 61

สังเกตวา u จะมากในบริเวณที่มีแรงเฉือนมาก ถาผลรวมของเสนรอบวง  O มีคานอยเหล็กจะ


รูดออกจากคอนกรีตและหากเปนเหล็กขอออยสวนของขอจะดันเบงคอนกรีตปริแตก เปรียบเทียบเหล็กโต
กับเหล็กเล็กซึง่ มีเนื้อที่หนาตัดเทากัน เหล็กโตจะมีเสนรอบรูป  O นอยกวาเหล็กเล็ก ดังนั้นบริเวณที่มี
แรงเฉือนมากอยางฐานรากนั้น การใชเหล็กเล็กจะดีกวาเหล็กโต
หนวยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมใหของคอนกรีตที่มีกําลังอัดประลัย f c' และเหล็กเสนผานศูนยกลาง d b
หาไดจากสมการตอไปนี้
'
2.29 f c
เหล็กบนรับแรงดึงผิวเรียบ u (2.21)
2 db
f c'
เหล็กบนรับแรงดึงขอออย u  2.29 (2.21)
db
'
3.23 f c
เหล็กอื่นผิวเรียบ u (2.21)
2 db
f c'
เหล็กอื่นขอออย u  3.23 (2.21)
db
เหล็กบน หมายถึงเหล็กที่มีคอนกรีตอยูขางใตผิวลงไปไมนอยกวา 0.30 เมตร

รูปที่ 2.21 การลวงเหล็กเพื่อใหระยะฝงมากพอที่ยึดเหล็กไมใหรูด

รูปที่ 2.21(ก) และ (ข) เปนการลวงเหล็กเพิ่มระยะฝงโดยฝงเขาภายในใหมากที่สดุ แลวลวงเหล็ก


ใหมากขึน้ แตถาลวงเหล็กชิดผิวเสาดานยื่นจะเกิดการฉีกราวในเสา แตปจจุบันนี้การคํานวณระยะฝงแทน
การคํานวณแรงยึดเหนี่ยวจะใหคําตอบที่ใกลเคียงผลการทดลองดีกวา
ให d b  เสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม
d 2b
เนื้อที่หนาตัดของเหล็กเสริม As 
4
เสนรอบวงเหล็กเสริม  O  d b
62 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

d 2b f s
แรงดึงในเหล็กเสริมสูงสุด Asfs 
4
แรงยึดเหนีย่ วของคอนกรีต u  OL1  d b uL1
จากความสมดุลของแรง แรงดึงในเหล็กเทากับแรงยึดเหนี่ยวในคอนกรีต
d 2b f s
 d b uL1
4
d f
ระยะฝง L1  b s (2.22)
4u
เหล็กขอออยระยะฝงไมนอยกวา 30 cm และเหล็กผิวเรียบระยะฝงไมนอยกวา 60 cm

ตัวอยางที่ 2.6 จากตัวอยางที่ 2.5 จงออกแบบคาน B3 ซึ่งรับเฉพาะพืน้ S1 ไมมีผนัง

รูปตัวอยางที่ 2.6
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 63

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําหนดกําลังอัดประลัยของคอนกรีต
f y  2400 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริมผิวเรียบ
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72
E c 15,100 f c 15,100 240
'

f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc ตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6


f s  0.5f y  0.5  2400  1200 ksc
1 1
k   0.321
f 1200
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.321
j 1 1  0.893
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.321  0.893  9.32 ksc
2 2
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณขนาดคาน
คานมีชวงยาวสูงสุด L = 4.00 m ความลึกคานขั้นต่ําที่ไมตองตรวจสอบการโกงงอคือ
L f  4.00  2400 
h  0.4  y    0 .4    0.186 m
16  7000  16  7000 
ความลึกที่ประหยัดเหล็กเสริม
L 4.00
h   0.40 m
10 10
เลือกความลึกคาน h  0.40 m  40 cm
ความกวางคาน
h 0.40
b   0.08 m
5 5
L 4.00
b   0.114 m
35 35
b  20 cm
เลือกใชความกวางคาน b  0.20 m  20 cm
น้ําหนักคาน w G  2400bh  2400  0.20  0.40  192 kg / m
น้ําหนักของพืน้ S1 หนา 0.10  2400h f  2400  0.10  240 kg / m 2
น้ําหนักบรรทุกจร  200 kg / m 2 รวมกับน้ําหนักพื้นเองได w  240  200  440 kg / m 2
เนื่องจากคาน B3 เปนขอบสั้นของพื้นที่มีความยาวขอบสั้น S = 4.00 m ความยาวขอบยาว L = 5.00 m
64 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

อัตราสวน m  S  4.00  0.8 พืน้ S1 อยูสองขางของคาน B2 ดังนั้นน้ําหนักจากพืน้ S1 บนคาน B3 คือ


L 5.00
wS 440  4.00
ws  2   2  1,173 kg / m
3 3
น้ําหนักบรรทุกรวมบนคาน
w  192  1,173  1,365 kg / m
วิเคราะหคานโดยใชสัมประสิทธิ์โมเมนตสูงสุดที่บริเวณหัวเสา
1 2 1
M wL   1,365  4.00 2  2,427 kg  m  242,700 kg  cm
9 9
สมมติเหล็กรับแรงเฉือน RB 6 mm เหล็กรับแรงดึง RB 15 mm สองชั้น เหล็กรับแรงอัด RB 15
mm หนึ่งชั้น ระยะหุมคอนกรีตบนลาง 4 cm ดังนั้น
2 .5
d  40  4  0.6  1.5   32.65 cm
2
1 .5
d '  4  0 .6   5.35 cm
2
d' 5.35
k 0.321 
f s'  2f s d  2  1,200  32.65  555.43 ksc
1 k 1  0.321
M R  Rbd 2  9.32  20  32.652  198,706.594 kg  cm  M  242,700 kg  m
M  M R 242,700  198,706.594
A sc  '   2.901 cm 2
f s d  d' 555.43  32.65  5.35
M M  MR 198,706.594 242,700  198,706.594
A st  R   
f s jd f s d  d' 1,200  0.893  32.65 1,200  32.65  5.35
A st  5.679  1.343  7.022 cm 2
  1.52
เหล็ก RB 15 mm เนื้อที่หนาตัดเสนละ A s1   1.767 cm 2 เหล็กรับแรงดึงใชจํานวนเสน
4
7.022 2.901
N  3.97  4 เสน ตรงตามที่สมมติไว เหล็กรับแรงอัดใชจํานวนเสน N  1.64  2
1.767 1.767
เสน ตรงตามที่สมมติไว
ออกแบบเหล็กรับแรงเฉือน พิจารณาแรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตตรงระยะ d จากขอบเสา ในกรณีนี้ไมทราบ
ขนาดเสาจึงพิจารณาจากศูนยกลางคาน
wL 1,365  4.00
V  wd   1,365  0.3265  2,284.3275 kg
2 2
Vc  v c1bd  0.29 f c' bd  0.29 240  20  32.65  2,933.707425 kg  V
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 65

ตองเสริมเหล็กรับแรงเฉือนในขั้นต่ํา เมื่อใช RB 6 mm หนึ่งวงจะมี


  0.6 2
Av  2   0.565 cm 2
4
Av 0.565
s   18.84 cm
0.0015b 0.0015  20
d 32.65
s   16.325 cm
2 2
s  60 cm
เสริมเหล็กลูกตั้ง RB 6 mm @ 0.15 m
เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 2.7 จงออกแบบคาน RB10 ในรูป(ก) โดย RB9 เปนกันสาดสูง 2.00 เมตร หนา 0.12 เมตร ฝากบน
คาน RB10 พื้นคอนกรีต S12 หนา 0.10 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกจร 100 kg/m2 คาน RB8 เปนจัว่
ขนาดใหญ 0.25  2.00 m 2 เสา C1 เปนเสากลมเสนผานศูนยกลาง 0.30 เมตร คาน RB7 อยูที่
ระดับบนจัว่ และตางระดับกับ RB10 เหล็กจากคานใหลวงลงในเสา กําหนดระยะฝง สมมติวาขณะ
กอสรางนั้นชางเหล็กลืมเสียบเหล็กของ RB10 ลงในเสาเอาไว หากจะแกปญหานี้โดยไมตองทุบ
เสาแลวหลอใหม ตองทําอยางไร

วิธีทํา หากเปนการออกแบบทั้งระบบ ในแปลนนี้จะตองออกแบบคาน RB9 แลวจึงจะถายน้ําหนักลง


คาน RB10 ตัวอยางนี้ออกแบบเฉพาะ RB10 เทานั้น
แผนพื้น S12 หนา 0.10 เมตร น้ําหนักบรรทุกจร 100 kg/m2 น้ําหนักรวมบนแผนพืน้ คือ
w  2400  0.10  100  340 kg / m 2
อัตราสวน m  S  1.50  0.375 คาน RB10 เปนขอบสั้นของ S12 ละมีสองขาง น้ําหนักจาก
L 4.00
S12 ลงบนคาน RB10 คือ
wS 340  1.50
ws  2   2  340 kg / m
3 3
คาน RB9 เปนขอบยาวของ S12 และมีอยูข างเดียว น้ําหนักจาก S12 ลงบนคาน RB9 คือ
wS 3  m 2 340  1.50 3  0.3752
ws     243 kg / m
3 2 3 2
น้ําหนักของคาน RB9 ซึ่งกวาง 0.12 เมตร ลึก 2.00 เมตร คือ
w G  2400  0.12  2.00  576 kg / m
รวมน้ําหนักแผกระจายบนคาน RB9
w  576  243  819 kg / m
66 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปตัวอยางที่ 2.7

เขียน RB9 ดังรูป (ค) แรงปฏิกิริยาจากคานชวงเดียวคือ


wL 819  4.00
V1    1,638 kg
2 2
คาน RB10 จะรับน้ําหนักแบบจุดจากคาน RB9 สองขาง ดังนั้นน้ําหนักแบบจุดที่ปลายคานคือ
P  2V1  2  1,638  3,276 kg
เลือกคาน RB10 ขนาดกวาง b = 0.25 m, h = 0.50 m ใชเหล็กลูกตั้ง RB 6 mm เหล็กรับแรงดึง RB
19 mm สองชั้น เหล็กรับแรงอัด RB 19 mm ชั้นเดียว ระยะหุมบนลาง 4 cm ดังนั้นความลึกประสิทธิผลและ
ตําแหนงเหล็กรับแรงอัดคือ
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 67

2 .5
d  50  4  0.6  1.9   42.25 cm
2
1 .9
d '  4  0 .6   5.55 m
2
กําหนดกําลังอัดประลัยทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐาน f c'  173 ksc เหล็ก SR-24 มีกําลังคราก
f y  2,400 ksc ดังนั้นพารามิเตอรในการออกแบบดังนี้
E s 2,040,000 2,040,000
n    10.27
E c 15,100 f c' 15,100 173
f c  0.375f c'  0.375  173  64.875 ksc
f s  0.5f y  0.5  2,400  1,200 ksc
1 1
k   0.357
f 1,200
1 s 1
nf c 10.27  64.875
k 0.357
j 1  1  0.881
3 3
1 1
R  f c kj   64.875  0.357  0.881  10.202 ksc
2 2
v c1  0.29 f c'  0.29 173  3.814 ksc
v c 2  0.59 f c'  0.53 173  6.971 ksc
v c3  0.795 f c'  0.795 173  10.456 ksc
v c 4  1.32 f c'  1.32 173  17.362 ksc
v c5  1.65 f c'  1.65 173  21.702 ksc
น้ําหนักของคาน RB10 คือ
w G  2400bh  2400  0.25  0.50  300 kg / m
น้ําหนักแผบนคาน RB10 จากพื้น S12 และน้ําหนักคานเอง คือ
w  300  340  640 kg / m
เขียนรูปคานดังรูป (ง) แลววิเคราะหแรงเฉือนโมเมนตดดั ดังนี้
1
M  PL  wL2
2
1
M  3,276  1.50   640  1.50 2
2
M  5,634 kg  m  563,400 kg  m
V  P  wL  wd
V  3276  640  1.50  640  0.4225
V  3,965.6 kg
68 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

M R  Rbd 2  10.202  25  42.252  455,280.1906 kg.cm  M


d' 5.55
k 0.357 
f s'  2f s d  2  1,200  42.25  842.2 ksc  1,200 ksc
1 k 1  0.357
M  M R 556,650  364,224.1525
A sc  '   6.226 cm 2
f s d  d ' 842.2  42.25  5.55
MR M  MR
A st  
f s jd f s d  d '
455,280.1906 563,400  455,280.1906
A st  
1,200  0.881  42.25 1,200  42.25  5.55
A st  12.648 cm 2
 2 
เหล็ก RB 19 mm มีเนื้อที่หนาตัด A s1  d b   1.9 2  2.835 cm 2 ดังนั้นเหล็กรับแรงดึง
4 4
12.648
ใชจํานวน  4.46  5 เสน จัด 3 เสนหนึ่งชัน้ และ 2 เสนหนึ่งชัน้ และเหล็กรับแรงอัดจํานวน
2.835
6.226
 2.2  3 เสนจัดชั้นเดียว ตรวจสอบระยะหางระหวางผิวเสน โดยระยะหุม 3.5 ซม
2.835
ระยะหางระหวางเสน  25  3.5  2  0.6  2  1.9  3  8.083 cm  3.75 m ใชได
3 1
Vc  v c1bd  3.814  25  42.25  4,028.54 kg  V  3,965.6 kg
ตองเสริมเหล็กปริมาณขั้นต่าํ A v  0.0015bs

 0 .6 2
2
Av 4
s   15.08 cm
0.0015b 0.0015  25
d 42.25
s   21.125 m
2 2
s  60 cm
เขียนรายละเอียดโครงสรางโดยเหล็กรับแรงดึงอยูบนเหล็กรับแรงอัดอยูลาง กรณีทลี่ ืมเสริมเหล็ก
คานลวงลงเสาใหใชวิธีลวงขึน้ ดังรูป (ฉ) ละความลวงเหล็กบนของคาน RB7 เพื่อปองกันการพลิกของคาน
RB8
ในการทํางานจริง จะทําการหลอเสา C1 จนถึงทองคาน RB10 หางลงมา 2.5 ซม เหล็ก 5-RB 19
mm จะตองลวงลงในเสาระยะ 12d b  12  1.9  22.8 m  30 cm ชางมักจะลืมลวงเหล็กหรือเสียบ
เหล็กเอาไว ใหแกไขโดยลวงเหล็กขึ้นในคาน RB8 ดังรูป (ฉ)
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 69

2.9 ความตานทานตอโมเมนตบิด
ในบางกรณีโครงสรางคานคอนกรีตเสริมเหล็กจําเปนตองรับทั้งโมเมนตดัด แรงเฉือน และ
โมเมนตบิดพรอมๆ กัน เชนคานรองรับกันสาดหนาตึกแถว คานโคงในแนวราบ คานรับจั่วหาทายอาคาร
พรอมทั้งกันสาดและแผงตั้งปลายกันสาด บันไดยื่นจากคานที่ฝงในกําแพง บันไดเวียน

รูปที่ 2.22 การกําหนดเวกเตอรและเครื่องหมายของโมเมนตบิด

โมเมนตบิดมีลักษณะที่พยายามทําใหวัตถุบิดเปนเกลียวรอบแกนกลาง ในขณะที่โมเมนตดดั
พยายามทําใหวัตถุดัดโคงโกงงอ ในโมเมนตบิดเปนปริมาณเวกเตอรกําหนดทิศทางตามกฎมือขวา กํามือขวา
ใหนิ้วหัวแมมือเหยียดเต็มที่ชี้ตามลูกศรเวกเตอรโมเมนตบิด นิ้วทัง้ สีท่ ี่กํานั้นจะชี้การวนของโมเมนตบิดจาก
โคนนิ้ววนไปหาปลายนิ้ว ตามรูปที่ 2.22(ก) นอกจากนั้นควรมีขอตกลงเรื่องเครื่องหมายโมเมนตบิดวา ถา
เวกเตอรโมเมนตบิดชี้ออกจากหนาตัดคานใหเปนบวก ตามรูปที่ 2.22(ข) และถาชีเ้ ขาหาหนาตัดคานใหเปน
ลบ ตามรูปที่ 2.22(ค) ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการถายโมเมนตบิดใหคานหรือเสาเปนตัวรับไปอีกทอดหนึ่ง

รูปที่ 2.23 การรับโมเมนตบิดโดยพิจารณาการขาดในระนาบหนาตัด


70 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ลักษณะการวิบัติของคานจากโมเมนตบิดสําหรับวัสดุเปราะจะแตกในแนวทแยง ถาเปนวัสดุ
เหนียวจะขาดตรงๆดังรูปที่ 2.23(ก) โมเมนตบิดทําใหเหล็กเสริมมุมรับแรงเฉือน f s A s แลวเกิดโมเมนตบิด
4f s A s d แตในความเปนจริงจะผสมกันโดยพิจารณาตามรูปที่ 2.23(ค) คา Ac เปนแกนคอนกรีตภายในผิว
นอกของเหล็กลูกตั้ง ดังนั้นเหล็กเสริมมุมแตละมุมหาไดจาก
Mtz
A sa  (2.23)
2A c f s

เมื่อ Mt  โมเมนตบิดกระทําบนหนาตัด , kg  cm
A sa  เนื้อที่หนาตัดเหล็กเสริมมุมแตละมุม, cm 2
x  ดานสั้นหรือดานกวางของหนาตัดคาน, cm
y  ดานยาวหรือดานลึกของหนาตัดคาน, cm
d bs  ขนาดเหล็กลูกตั้ง, cm
b1  x  3.5  3.5  x  7  ระยะภายในผิวนอกเหล็กลูกตั้งทางกวาง, cm
t 1  y  4  4  y  8  ระยะภายในผิวนอกเหล็กลูกตั้งทางลึก, cm
A c  b1t1  เนื้อที่หนาตัดแกนคานภายในผิวนอกของเหล็กลูกตั้ง , cm 2
b1  t1
z  d bs  คาเฉลี่ยระยะหางของเหล็กเสริม, cm
2
f s  0.5f y  หนวยแรงเฉือนของเหล็กเสริม, ksc

รูปที่ 2.24 การเกิดแรงดึงทแยงเนื่องจากโมเมนตบิด


คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 71

พิจารณารูปที่ 2.24(ก) เปนแทงยางที่ขีดสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็กๆ ทุกดาน เมื่อใหโมเมนตบิดที่ปลายทั้ง


สองจนแทงยางบิดเบี้ยวไป พิจารณาการโยของสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ตําแหนงตางๆ จะพบวาจัตุรัสที่กึ่งกลางของ
ทุกดานนั้นโยไปมากที่สุด แลวลดลงจนไมโยเลยตรงมุมทั้งสี่ เอาจัตุรัสสองรูปติดกันตรงกึ่งกลางมาพิจารณา
ดังรูปที่ 2.24(ข) ลักษณะการโยจะพยายามเฉือนใหจัตุรสั ขาดจากกันตามรูปที่ 2.24(ค) แรงเฉือน H และ V
ซึ่งเทากันจะทําใหเกิดแรงดึงทแยง T ดังรูปที่ 2.24(จ) ในขณะที่คอนกรีตเปนวัสดุเปราะรับแรงดึงไดนอยจึง
เกิดการแตกราวเนื่องจากแรงดึงทแยงตามรูปที่ 2.24(ฉ) จําเปนตองเสริมเหล็กทางขวางรับแรงดึงทแยง แลว
ยังตองมีเหล็กเสริมตามยาวกระจายรอบๆ ผิวคานดวย
(1) การคํานวณออกแบบใหรับหนวยแรงเฉือน v t จากโมเมนตบิด M t ใหใชคา M t ที่ระยะ d
จากขอบในของจุดรองรับ หนวยแรงเฉือนตามสมการ
3.5M t
vt  (2.24)
 x2y
เมื่อ Mt  โมเมนตบิดสูงสุดที่ระยะ d จากขอบในของที่รองรับ, kg  cm
v t  หนวยแรงเฉือนที่กึ่งกลางความยาวของหนาตัดคาน, ksc
x  ดานสั้นของสี่เหลี่ยมผืนผาของหนาตัด, cm
y  ดานยาวของสี่เหลี่ยมผืนผาของหนาตัด, cm
ในกรณีของคานรูปตัด T และ L ในรูปที่ 2.25 ความกวางของปกคานที่นํามาใชคํานวณหา
 x 2 y จะตองไมเกิน 3 เทาของความหนาของปกคานและไมเกิน 121 ของชวงคาน

รูปที่ 2.25 ขอกําหนดระยะปกคานในการคํานวณหาหนวยแรงเฉือนจากโมเมนตบิด

(2) หนวยแรงเฉือน ตามสมการ (2.24) จะตองไมเกิน 1.32 f c'


(3) หนวยแรงเฉือนรวมจากแรงเฉือนรวมกับโมเมนตบิดตองไมเกิน 1.65 f c'
3.5M t V
v  vt  vv   (2.25)
 x y bd
2
72 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

(4) หนวยแรงเฉือนที่ตอนทานโดยคอนกรีต v c1  0.29 f c' ksc สําหรับคํานวณเหล็กลูกตั้ง


รับแรงเฉือน ที่กลาวแลวในหัวขอ 2.6
(5) เหล็กลูกตั้งรับแรงเฉือนจากโมเมนตบิดทีพ่ ันครบรอบและเรียงชิดผิวพื้นที่สี่เหลี่ยม ไมนับ
รวมเหล็กลูกตัง้ ที่อยูภายในทีร่ ับเฉพาะแรงเฉือนหาไดจาก
Mt 2A t Mt
At  หรือ  (2.26)
2A c f v s A cf v
(6) เหล็กปลอกเกลียวสําหรับรับหนวยแรงเฉือนจากโมเมนตบิดเพียงอยางเดียว หาไดจาก
At 
M ts
หรือ s  2 2A t A c f v
(2.27)
2 2A c f v Mt
เมื่อ At  เนื้อที่หนาตัดเหล็กทางขวางรับแรงเฉือนขาเดียวขนาดไมเล็กกวา RB 9 mm, cm 2
A c  b1t1  b  7 h  8  เนื้อที่แกนคอนกรีตภายในผิวนอกของเหล็กลูกตั้ง , cm 2
f v  0.5f y , f y  4,200 ksc หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหของเหล็กทางขวาง, ksc
M t  โมเมนตบิดทีห ่ นาตัดวิกฤต, kg  cm
s  ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง, cm

การออกแบบคานที่มีทั้งโมเมนตดดั แรงเฉือนและโมเมนตบิด

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  กําลังประลัยทรงกระบอกคอนกรีตที่อายุ 28 วัน, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริมตามยาว = 2400 ksc (SR-24), = 3000 ksc (SD-30)
= 4000 ksc (SD-40) ไมใช SD-50 ในคาน จะมีใชในเสา
f sy  กําลังครากของเหล็กทางขวางรับแรงเฉือน = 2400 ksc (SR-24), = 3000 ksc (SD-30)
f c  0.375f c'  65 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีตตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6
f c  0.45f c'  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีตตาม ว.ส.ท. หรือ ACI, หนวย ksc
f s  0.5f y  1700 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กเสริมตามยาวคาน
f v  0.5f ys  กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กทางขวาง, ksc
E s 2,040,000 135.0993377
n    อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน ทศนิยม 2 ตําแหนง
E c 15,100 f c' f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 73

v c1  0.29 f c'  หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหสําหรับแรงเฉือนแบบคาน, ksc


v c 2  0.53 f c'  หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหสําหรับแรงเฉือนเจาะทะลุ, ksc
v c3  0.795 f c'  หนวยแรงเฉือนที่ใชควบคุมระยะเรียงเหล็กทางขวาง , ksc
v c 4  1.32 f c'  หนวยรงเฉือนสูงสุดที่ยอมใหสําหรับกรณีไมมีโมเมนตบิด, ksc
v c 4  1.32 f c'  หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหสําหรับแรงเฉือนจากโมเมนตบด ิ , ksc
v c5  1.65 f c'  หนวยแรงเอนสูงสุดที่ยอมใหเมื่อรวมผลของแรงเฉือนและโมเมนตบด ิ ,ksc

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณขนาดคาน ความลึกคานใหประมาณดังนี้


L f   fy 
h  0.4  y  สําหรับคานทั่วไป และ h  L  0.4   สําหรับคานยื่น เปนความ
16  7000  8 7000 
ลึกขั้นต่ําที่ไมตองแสดงการตรวจสอบการโกงตัว
L
h สําหรับคานทั่วไป และ h  L สําหรับคานยื่น เปนความลึกทีท่ ําใหประหยัดเหล็กเสริม
10 5
เลือกความลึก h ที่คาดวาจะใชได ประมาณความกวางคานโดยที่
h
b คานที่ตองรับโมเมนตบิดดวยควรกวางมากกวาคานทั่วๆไป
3
L
b  คานที่ยาวและแบนจะบิดพลิกไดงาย
35
b  0.20 m เผื่อความกวางใหเหล็กของคานฝากฝงไดไมนอยกวา 15 ซม

ขั้นตอนที่ 3 ประมาณขนาดเหล็กลูกตั้ง (ในกรณีรับโมเมนตบิดดวยใหใชคาขั้นต่ํา RB 9 mm) ขนาดเหล็ก


รับแรงดึง และจํานวนชัน้ (ควรประมาณที่ 2 ชั้นไวกอน ระยะหางระหวางชั้น 2.5 cm) ประมาณขนาดเหล็ก
รับแรงอัด และจํานวนชัน้ (ตอนแรกใหเลือก 1 ชั้น) ระยะหุมบนลาง 4 cm ระยะหุมซายขวา 3.5 cm

ความลึกประสิทธิผล d = ความลึก h – ระยะหุม 4 cm – ขนาดเหล็กลูกตัง้ 0.9 แm – เหล็กชั้นที่ 1 –


ครึ่งหนึ่งของชองวางระหวางชั้นที่หนึ่งกับชัน้ ที่สอง

ตําแหนงเหล็กรับแรงอัด d'  ระยะหุม 4 cm + ขนาดเหล็กลูกตั้ง 0.9 cm + ครึ่งหนึ่งของขนาด


เหล็ก
ระยะในผิวนอกของเหล็กทางขวาง ทางกวาง
x 1  x  3.5  3.5  x  7  b  7 cm
ระยะในผิวนอกของเหล็กทางขวาง ทางลึก
y1  y  4  4  y  8  h  8 cm
พื้นที่แกนคอนกรีต
A c  x1 y1
74 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 4 คํานวณกําลังที่รบั ได


โมเมนตสมดุล
M R  Rbd 2 หนวย kg  cm
แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได
Vc  0.29 f c' bd หนวย kg
โมเมนตบิดสูงสุดที่รับได
b2h
M t ,max  1.32 f c' หนวย kg  cm
3

ขั้นตอนที่ 5 หาน้ําหนักบรรทุกแลววิเคราะหหาโมเมนตดัด M สูงสุดที่อาจจะเกิดกลางคานหรือบริเวณจุด


รองรับ แรงเฉือนสูงสุด V และโมเมนตบิดสูงสุด M t ที่ระยะ d จากขอบของที่รองรับ (หากไมทราบขนาด
ที่รองรับใหหาที่ระยะ d จากศูนยกลางที่รองรับ

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบกําลัง
ถาพบวา M t  M t ,max หมายความวาหนาตัดที่เลือกมานัน้ มีขนาดเล็กเกินไปใหปรับขนาดคานโต
ขึ้นจนได M t  2 M t ,max
3

ขั้นตอนที่ 7 ออกแบบรับโมเมนตดัด
กรณีที่ M  M R คานตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึง
A sc  0
M
A st 
f s jd
กรณีที่ M  M R คานตองมีทั้งเหล็กรับแรงดึงและเหล็กรับแรงอัด
d'
k
f s'  2f s d f
1 k
s

M  MR
A sc  '
f s d  d'
MR M  MR
A st  
f s jd f s d  d'
ถาพบวา A sc  A st แสดงวาหนาตัดคานเล็กเกินไปใหเพิ่มขนาดโดยเฉพาะความลึก h ใหมากขึ้นจนกวาจะ
ได A sc  A st
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 75

ขั้นตอนที่ 8 ตรวจสอบหนวยแรงเฉือน
หนวยแรงเฉือนจากแรงเฉือน
V
vv 
bd
ถาตรวจพบวา v v  1.32 f c' แสดงวาคานเล็กเกินไป ใหปรับขนาดคานจนได v v  0.795 f c'
หนวยแรงเฉือนจากโมเมนตบิด
3.5M t
vt 
 x2y
ถาตรวจพบวา v t  1.32 f c' แสดงวาหนาตัดคานเล็กเกินไป ใหปรับขนาดคานจนได v t  1.32 f c'
รวมผลของ v v  v t แลวตรวจสอบผล หากพบวา v v  v t  1.65 f c' แสดงวาหนาตัดคานเล็ก
เกินไป ใหเพิ่มขนาดขึ้นจน v v  v t  1.65 f c'

ขั้นตอนที่ 9 ออกแบบเหล็กทางขวางรับแรงเฉือน ในกรณีที่มีโมเมนตบิดดวยใหใชขนาดเหล็กทางขวางเล็ก


สุดไมเล็กกวา RB 9 mm
ในสวนของแรงเฉือน ใหหา Vc  0.29 f c' bd เปนแรงเฉือนสวนที่คอนกรีตรับได
ถา V  Vc ให
Av
0
s
ถา V  Vc ให
A v V  Vc

s f vd
ในสวนของโมเมนตบิด
2A t Mt

s A cf v
รวมผลของเหล็กลูกตั้ง
A v  2A t  Mt   V  Vc Mt 
  0   or   
s  Acf v   f vd A c f v 
A v  2A t
ปริมาณขั้นต่ําของ ตองไมนอ ยกวา 3.5b ถานอยกวาใหใช A v  2A t  3.5b
s f sy s f sy
แทนคา A v  2A t ดวยเนื้อที่เหล็กทางขวาง 2 ขา เชน RB 9 mm ดังนั้น

A v  2A t  2   0.9 2  1.272 cm 2
4
แลวหาระยะเรียง s จากนัน้ เลือกคาที่เหมาะสม
76 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 10 ออกแบบเหล็กรับแรงเฉือนตามยาว (ดัดแปลงจากวิธี SDM)


ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือนตามยาวทั้งหมด A 
x1  y1
A   2A t
s
แตปริมาณขั้นต่ําคือ
 
 28xs Mt  x y
A     2A t   1 1

 sy M 
f V  s
 t
3C t 
แตไมใหใชเกิน
 
 28xs Mt 3.5bs  x1  y1
A     
 f sy M  V fy  s
 t
3C t 

bd
โดย Ct 
 x2y
เมื่อไดปริมาณเหล็กรับแรงเฉือนตามยาวใหแบงเปนสวนๆ ตามความลึกคาน โดยระยะหางไมเกิน
30 cm สวนทีช่ ิดบนและลางนําไปรวมกับเหล็กรับโมเมนต ขนาดเหล็กเสริมตามยาวรับแรงเฉือนไมเล็กกวา
RB 9 mm สําหรับเหล็กผิวเรียบ และไมเล็กกวา DB 10 mm สําหรับเหล็กขอออย

ตัวอยางที่ 2.8 จงออกแบบคาน B1 ในรูป(ก) ซึ่งรับน้ําหนักจากหลังคา 400 kg/m กันสาด S1 หนา 0.12 m
ครีบหนา 0.10 m สูง 1.20 m น้ําหนักบรรทุกจรลงบน S1 ใหคิด 100 kg/m2

ตัวอยางที่ 2.8
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 77

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc
f y  3,000 ksc
f sy  2,400 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
f v  0.5f sy  0.5  2,400  1,200 ksc
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72
E c 15,100 f c' 15,100 240
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.908
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.908  8.086 ksc
2 2
v c1  0.29 f c'  0.29 240  4.493 ksc
v c 2  0.53 f c'  0.53 240  8.211 ksc
v c3  0.795 f c'  0.795 240  12.316 ksc
v c 4  1.32 f c'  1.32 240  20.449 ksc
v c5  1.65 f c'  1.65 240  25.562 ksc

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณขนาดคาน
L f  7.50  3000 
h  0.4  y    0.4    0.39 m
16  7000  16  7000 
L 7.50
h   0.75 m
10 10
เลือกความลึกคาน h  0.80 m  80 cm ประมาณความกวางคาน
h 0.80
b   0.27 m
3 3
L 7.50
b   0.214 m
35 35
b  0.20 m
เลือกความกวางคาน b  0.30 m  30 cm
78 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักคาน w G  2400bh  2400  0.30  0.80  576 kg / m


ตัดครีบและพืน้ กวาง 1.00 เมตร นํามาเขียน Free-body diagram ดังรูป (ข) เพื่อคํานวณน้ําหนักและโมเมนต
ดัดถายลงคานตอไป
น้ําหนักครีบ  2400  0.10  1.20  288 kg เปนน้ําหนักแบบจุดที่ปลายพืน้
น้ําหนักแผบนพื้น  2400  0.12  100  388 kg / m
แรงเฉือนของพื้นกลายเปนน้ําหนักแผบนคาน  388  1.20  288  753.6  754 kg / m
โมเมนตดัดทีพ่ ื้นกลายเปนโมเมนตบิดที่คาน
1
m t  288  1.20   388  1.20 2  624.96  625 kg  m / m
2
ประมาณเหล็กทางขวาง RB 9 mm เหล็กเสริมเอก DB 25 mm สองชั้น เสริมเหมือนกันทั้งบนและลาง เพื่อ
รับโมเมนตบวกที่กลางชวงคานและรับโมเมนตลบที่จุดรองรับ หาความลึกประสิทธิผลและตําแหนงเหล็ก
รับแรงอัด
2 .5
d  80  4  0.9  2.5   71.35 cm  0.7135 m
2
2 .5
d '  4  0 .9  2 .5   8.65 cm
2
หนาตัดคานมีดานแคบ x  b  30 cm และดานยาว y  h  80 cm
ระยะภายในผิวนอกของเหล็กทางขวางทางดานสั้นจะมีระยะหุมซายขวาขางละ 3.5 cm ได
x 1  30  3.5  3.5  23 cm
ระยะภายในผิวนอกของเหล็กทางขวางทางดานยาวจะมีระยะหุมบนลางขางละ 4 cm ได
y1  80  4  4  72 cm
เนื้อที่ภายในแกนคอนกรีตคือ
A c  x1 y1  23  72  1,656 cm 2
คาเฉลี่ยของเหล็กเสริมที่มุม
x1  y1 23  72
z   47.5 cm
2 2
น้ําหนักบรรทุกแผรวมบนคาน
w  754  576  1,330 kg / m
โมเมนตดัดสูงสุดที่จุดรองรับเปนโมเมนตลบ
1 2 1
M wL   1,330  7.50 2  8,312.5 kg  m / m  831,250 kg  cm / m
9 9
หนาตัดวิกฤตสําหรับโมเมนตบิดที่ระยะ d จากขอบที่รองรับ (ในตัวอยางนีใ้ ชระยะจากศูนยที่รองรับ)
โมเมนตบิดสูงสุดคือ
L   7.50 
M t  m t   d   625    0.7135   1,897.8125 kg  m  189,781.25 kg  cm
2   2 
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 79

แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตทีร่ ะยะ d จากขอบที่รองรับ (ในตัวอยางนี้ใชระยะจากศูนยที่รองรับ) แรงเฉือน


สูงสุดคือ
L   7.50 
V  w   d   1,330    0.7135   4,038.545 kg
2   2 
โมเมนตดัดสมดุล
M R  Rbd 2  8.086  30  71.352  1,234,931.722 kg  cm  M  831,250 kg  cm
แสดงวาตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึง
A sc  0
M 831,250
A st    8.717 cm 2
f s jd 1,500  0.908  71.35
แรงเฉือนที่คอนกรีตรับเอาไว
Vc  0.29 f c' bd  0.29  240  30  71.35  9,616.540189 kg  V  4,038.545 kg
โมเมนตบิดสูงสุดที่หนาตัดนีร้ ับได
1.32 f c'  x 2 y
M t max 
3.5
1.32 240  30 2  80 2
M t max 
3.5
M t max  420,672.3854 kg  cm  M t  189,781.25 kg  cm
ตองการเหล็กทางขวางในการรับโมเมนตบิด แตไมตองการเหล็กทางขวางในการรับแรงเฉือน
Av
0
s
2A t Mt 189,781.25
   0.095501836
s A c f v 1,656  1,200
A v 2A t
  0  0.095501836  0.095501836
s s
แตปริมาณขั้นต่ําของ A v  2A t คือ
s s
A v 2A t 3.5b 3.5  30
    0.04375  0.095501836
s s f sy 2,400

เลือกเหล็ก RB 9 mm มีเนื้อทีห่ นาตัด A s1    0.9 2  0.636 cm 2 ดังนัน้


4
A v  2A t 2  0.636
  0.095501836
s s
2  0.636
s  13.319 cm  12.5 cm
0.095501836
ใช ป-RB 9 mm @ 125 mm
80 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ออกแบบเหล็กตามยาว
ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือนตามยาวทั้งหมด A 
x1  y1 2A t
A   2A t  x1  y1 
s s
2  0.636
A   23  72 
12.5
A   9.6672 cm 2
bd 30  71.35
Ct    0.029729166
 x y 30 2  80
2

แตปริมาณขั้นต่ําคือ
 
 28 xs Mt  x y
A     2A t   1 1

 sy M 
f V  s
 t
3C t 
 
 28  30  12 .5 189 ,781 .25  23  72
A     2  0 .636  
2, 400 4,038 .545 12 .5
 189 ,781 .25  
 3  0 .029729166 

A   17.178 cm 2
แตไมใหใชเกิน
 
 28xs Mt 3.5bs  x1  y1
A     
 f sy M  V fy  s
 t
3C t 
 
 28  30  12.5 189,781.25 3.5  30  12.5  23  72
A     
2,400 4,038.545 2, 400
 189,781.25   12.5
 3  0.029729166 
A   22.689 cm 2
ดังนั้นเนื้อที่หนาตัดเหล็กตามยาวในการรับแรงเฉือน A   17.178 cm 2 ถาแบงเปนสามสวนจะทําให
ระยะหางระหวางชุดเกิน 30 cm ดังนั้นตองแบงเปนสี่สวน แตละสวนจะมีเนื้อทีห่ นาตัด
17.178
  4.2945 cm 2
4
แตละชุดใช 2  DB 20 mm มีเนื้อที่ 2    2.0 2  6.283 cm 2  4.2945 cm 2
4
สําหรับสวนบนนําไปรวมกับเนื้อที่หนาตัดจากโมเมนตซึ่งไมมี ดังนั้นการใช 3-DB 25 mm ซึ่งเผื่อการรับ
โมเมนตลบที่จุดรองรับจึงใชได สวนลางรวมกับเหล็กจากโมเมนตไดเนื้อที่
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 81

A st  8.717  4.2945  13.012 cm 2

ตองการ DB 25 mm จํานวน 13.012  2.65  3 เสน


4.909

2.10 คานแคบ คานลึก


คานคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีชวงยาวมากกวา 30 เทาของความกวางของคานใหถือวาเปนคานแคบ
จะตองลดคาหนวยแรงดัดลงหรือรับโมเมนตดัดนอยกวาปกติ ความลึกที่ใชคํานวณโมเมนตดัดตองไมเกิน 8
เทาของความกวางและใหเหล็กลูกตั้งรับแรงเฉือนทั้งหมด

รูปที่ 2.26 คานแคบ

สมการลดคาหนวยแรงดัด
L
r  1.75  (2.28)
40b
และตองออกแบบใหเสริมเฉพาะเหล็กรับแรงดึงนั่นคือ
M  M R  rRbd 2 (2.29)
สําหรับเหล็กรับแรงเฉือนใหคํานวณเหล็กทางตั้งจาก
A vf vd
s
V
Av
s
0.0015b (2.30)
d
s
5
s  45 cm
เหล็กเสริมรับแรงเฉือนทางนอนหาไดจาก
A vh
s2 
0.0025b
d
s2  (2.31)
3
s  45 cm
82 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 2.27 คานลึกตองมีเหล็กเสริมพิเศษวิ่งขอบขางคาน

ในกรณีที่คานแคบหรือลึกมาก หากมีแรงทางขางมากระทําดังรูปที่ 2.27(ก) คานจะโกงดานขาง


หนาคานมีมีเหล็กทางยาวจะแตกราวทางตัง้ หรือในกรณีที่น้ําหนักไมลงตรงศูนยกลางความกวางคาน คาน
จะบิดพลิก จึงตองมีเหล็กเสริมตามยาวระยะหางไมควรจะเกิน 45 cm ตามรูป 2.27 ระยะหางเหล็กประมาณ
20 cm เศษ

2.11 คานแบบคานเหล็ก
ในกรณีโมเมนตดัด M มีคามากกวาโมเมนตสมดุล MR จนทําใหเหล็กเสริมรับแรงอัด Asc มีคา
ใกลเคียงหรือเทากับเหล็กรับแรงดึง Ast ใหใชเหล็กรับแรงดึงเทากับเหล็กรับแรงอัด แลวเหล็กลูกตัง้ คํานวณ
ตามสมการ 2.30 และเหล็กทางนอนตามสมการ 2.31

ตัวอยางที่ 2.9 จงออกแบบคานชวงยาว 15.00 เมตร ความลึกคานไมเกิน 1.00 เมตร น้ําหนักบรรทุกรวมบน


คาน 2000 kg/m ไมรวมน้ําหนักคาน f c'  240 ksc, f y  4000 ksc, f sy  2400 ksc
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 83

วิธีทํา
เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc
f y  4000 ksc
f s  0.5f y  0.5  4000  2000 ksc  1700 ksc
2,040,000 2,040,000
n   8.72
15,100 f c' 15,100 240
1 1
k   0.25
fs 1700
1 1
nf c 8.72  65
k 0.25
j 1 1  0.917
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.25  0.917  7.451 ksc
2 2
L  15.00 m
ขนาดหนาตัดคาน
ความลึกคาน
L f  15.00  4000 
h  0.4  y    0 .4    0.91 m
16  7000  16  7000 
เลือกใชความลึกคาน h  1.00 m ใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm เหล็กเสริม DB 25 mm จัดสี่ชั้น
2 .5
d  100  4  0.9  2.5  2.5  2.5   86.35 cm
2
2 .5
d '  4  0 .9  2 .5  2 .5  2 .5   13.65 cm
2
ความกวางคาน
h 1.00
b   0.20 m
5 5
L 15.00
b   0.429 m
35 35
b  0.20 m
เลือกความกวางคาน b  0.40 m  40 cm ตรวจสอบความเปนคานแคบ
b  0.40 m    L 
15.00 
 0.50 m 
 30 30 
น้ําหนักคาน
w G  2400bh  2400  0.40  1.00  960 kg / m
84 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกรวม
w  2000  960  2960 kg / m
โมเมนตดัดสูงสุด
wL2 2,960  15.00 2
M   83,250 kg  m  8,325,000 kg  cm
8 8
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตทีร่ ะยะ d จากจุดรองรับ
L   15.00 
V  w   d   2,960    0.8635   19,644.04 kg
2   2 
เนื่องจากเปนคานแคบตองลดกําลังการรับโมเมนตดัดลงดวยตัวคูณ r
L 15.00
r  1.75   1.75   0.8125
40b 40  0.40
โมเมนตดัดสมดุลที่คานรับไดคือ
M R  rRbd 2  0.8125  8.72  40  81.252  1,870,882.813 kg  m
หนวยแรงของเหล็กรับแรงอัด
d' 13.65
k 0.25 
f s'  2f s d  2  1700  81.25  371.73 ksc  1700 ksc
1 k 1  0.25
เนื้อที่หนาตัดเหล็กที่ตองการ
M  M R 8,325,000  1,870,882.813
A sc    256.84 cm 2
f s' d  d ' 371.7381.25  13.65
MR M  MR 1,870,882.813 8,325,000  1,870,882.813
A st    
f s jd f s d  d ' 1700  0.917  81.25 170081.25  13.65
A st  70.933 cm 2  A sc  256.84 cm 2
คานมีหนาตัดเล็กเกินไป ตองเพิ่มความลึกจนกวาจะได A st  A sc
เพิ่มความลึกคานเปน h  1.25 m  125 cm และความกวางคานเปน b  0.50 m  50 cm
2 .5
d  125  4  0.9  2.5  2.5  2.5   111.35 cm
2
2 .5
d '  4  0 .9  2 .5  2 .5  2 .5 
 13.65 cm
2
w  2000  2400  0.50  1.25  3,500 kg / m
wL2 3,500  15.00 2
M   98,437.5 kg  m  9,843,750 kg  cm
8 8
L 15.00
  30 ดังนั้นไมตองลดกําลังดัด r  1.00
b 0.50
M R  rRbd 2  1.00  8.72  50  111.352  5,405,886.61 kg  cm  M
d' 13.65
k 0.25 
f s'  2f s d  2  1700  111.35  577.608 ksc  f  1700 ksc
1 k 1  0.25
s
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 85

หาเนื้อที่ปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ
M  MR 9,843,750  5,405,886.61
A sc    78.64 m 2
f s d  d ' 577.608  111.35  13.65
'

MR M  MR 5,405,886.61 9,843,750  5,405,886.61


A st    
f s jd f s d  d ' 1700  0.917  111.35 1700  111.35  13.65
A st  57.862 cm 2  A sc  78.64 cm 2
เพิ่มความลึกคานเปน h  1.35 m  135 cm และความกวางคานเปน b  0.50 m  50 cm
2 .5
d  135  4  0.9  2.5  2.5  2.5   121.35 cm
2
2 .5
d '  4  0 .9  2 .5  2 .5  2 .5 
 13.65 cm
2
w  2000  2400  0.50  1.35  3,620 kg / m
wL2 3,620  15.00 2
M   101,812.5 kg  m  10,181,250 kg  cm
8 8
L 15.00
  30 ดังนั้นไมตองลดกําลังดัด r  1.00
b 0.50
M R  rRbd 2  1.00  8.72  50  121.352  6,420,458.61 kg  cm  M
d' 13.65
k 0.25 
f s'  2f s d  2  1700  121.35  1,643.263 ksc  f  1700 ksc
1 k 1  0.25
s

หาเนื้อที่ปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ
M  MR 10,181,250  6,420,458.61
A sc    21.25 m 2
f s d  d ' 1,643.263  121.35  13.65
'

MR M  MR 6,420,458.61 10,181,250  6,420,458.61


A st    
f s jd f s d  d ' 1700  0.917  121.35 1700  121.35  13.65
A st  54.48 cm 2  A sc  21.25 cm 2
จํานวนเสน DB 25 mm เหล็กลาง
54.48
  11.1  12 เสน หรือเหล็กลางเปน 12  DB 25 mm
4.909
จํานวนเสน DB 25 mm เหล็กบน
21.25
  4.32  5 เสน
4.909
เหล็กบนจัด 5-DB 25 mm ชั้นเดียว เหล็กลางจัด 5-DB 25 mm สองชั้น และ 2-DB 25 mm ชั้นเดียว ชองวาง
ระหวางเสนเหล็กแตละชั้น
50  2  3.5  2  0.9  5  2.5
cl   7.175 cm  3.75 cm ใชได
5 1
ตําแหนงเซนทรอยดของเหล็กรับแรงดึงจากผิวลางคือ
เหล็กชั้นลางสุด 5 เสน หางผิวลาง y1  4  0.9  2.5  6.15 cm
2
86 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เหล็กชั้นที่สอง 5 เสน หางผิวลาง y 2  4  0.9  2.5  2.5  2.5  11.15 cm


2
เหล็กชั้นที่สาม 2 เสน หางผิวลาง y3  4  0.9  2.5  2.5  2.5  2.5  2.5  16.15 cm
2
เหล็กรับแรงดึงหางขอบลางคานระยะ
y
 Ay  5  6.15  5  11.15  2  16.15  9.9 cm
A 552
ความลึกประสิทธิผล
d  135  9.9  125.1 cm
ตําแหนงเหล็กรับแรงอัด
2.5
d'  4  0.9   6.15 cm
2
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตระยะ d จากจุดรองรับ
L   15.00 
V  w   d   3620    1.251  22,621.38 kg
2   2 
Vc  0.29 f c' bd  0.29 240  50  125.1  28,101.56 kg  V
ตองเสริมเหล็กปริมาณขั้นต่าํ โดยเลือก RB 9 mm มีเนื้อที่รับแรงเฉือนโดยคิดสองขาดังนี้

A v  2   0.9 2  1.272 cm 2
4
Av 1.272
s   16.96 cm
0.0015b 0.0015  50
d 121.35
s   24.27 cm
5 5
s  45 cm
ใชเหล็กทางตัง้ เสริมรับแรงเฉือนเปน ป-RB 9 mm @ 150 mm
เหล็กรับแรงเฉือนทางราบ 2-DB 12 mm มี

A vh  2   1.2 2  2.262 cm 2
4
A vh 2.262
s   18.096 cm
0.0025b 0.0025  50
d 121.35
s   40.45 cm
3 3
s  45 cm
ระยะระหวางเหล็กบนกับเหล็กลาง
h1  135  2  4  2  0.9  4  2.5  115.2 cm
จํานวนชอง
115.2
  6.4  7 ชอง มีเหล็ก = 7 – 1 = 6 ชั้น
18.096
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 87

ระยะเรียงจริง
115.2
s2   16.46 cm  164.6 mm
7
เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็กดังแสดง

2.12 การจัดและแสดงรายละเอียดในคานพิเศษ
กรณีที่คานหักงอ เชนคานจัว่ หลังคาไมมีเสารับตรงกลางดังรูปที่ 2.28(ก) เหล็กเสริมดานในของ
มุมตองพุงผานไปยังฝงตรงกันขามแลวทาบไปตามเหล็กฝงตรงกันขามนั้น 12 เทาของขนาดเหล็ก ถางอแนบ
ตามมุมไปเลย แรงลัพธ R จาก T จะดึงเหล็กหลุดออกจากคอนกรีตดังรูป (ข) และรูป (ค)

รูปที่ 2.28 การเสริมเหล็กในคานหักงอ

การฝงทอเหล็กทะลุคาน ถาทอที่จะฝงทะลุคานมีขนาดไมเกิน 150 mm จะตองไมมีการตัดเหล็ก


เสริมเอกพรอมทั้งใชเหล็ก RB 9 mm หรือ DB 12 mm ยาว 0.60 m ไขวทแยงตามรูปที่ 2.29 ถาทอเล็กลง
อาจจะลดความยาวลงไดแตตองไมนอยกวา 0.30 m แตถาทอโตกวา 150 mm ตองคํานวณหนาตัดและ
พิจารณาเสริมเหล็กใหมนั่ คงแข็งแรง
88 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 2.29 การฝงทอในคาน

การเจาะคานสําหรับทอปรับอากาศ กรณีที่คานลึกมากเพราะชวงยาวทําใหฝาเพดานติดกับทอง
คาน ทอลมปรับอากาศจําเปนตองเจาะทะลุคาน ควรเจาะบริเวณกลางคานและต่ํากวาแกนสะเทิน เสริมเหล็ก
เพิ่มทุกดานๆ ละครึ่งหนึ่งของเหล็กเสริมที่คํานวณจากคานเต็ม และที่มุมมีเหล็กไขวครึ่งหนึ่งของเหล็กเสริม
คานเต็ม ระยะฝงแตละปลาย 0.60 m ดังรูปที่ 2.30

รูปที่ 2.30 การเสริมเหล็กรอบรอยเจาะสําหรับทอลมปรับอากาศ

การลดระดับบริเวณหองน้ํา ในบริเวณหองน้ําจะลดระดับ 0.10 m จากพืน้ ดานนอก เอไมใหน้ําจาก


หองน้ําไหลมาเปรอะเปอน และแนวกําแพงชิดริมนอกของคาน ถาไมลดระดับคานลงตามจะมีสันเปนขอบดู
นาเกลียด เมื่อลดระดับตองคํานวณหนาตัดคานใหม พรอมทั้งเขียนรูปตัดทางยาวแสดงดวย เชนในรูปที่ 2.31
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 89

รูปที่ 2.31 การแสดงรายละเอียดคานที่ตองลดระดับบริเวณหองน้ํา

กรณีที่มีผนังหรือครีบ ค.ส.ล. ตั้งบนหรือหอยจากคาน เหล็กทางตั้งในผนังหรือครีบควรจะเปน


RB 6 mm@ 200 mm หรือ RB 9 mm@ 200 mm เหล็กทางนอนใช RB 6 mm@ 200 mm ยกเวนเสนบนสุด
และลางสุดใช 1-RB 9 mm ตามรูปที่ 2.32

รูปที่ 2.32 การเสริมเหล็กในครีบหรือผนังที่ตั้งหรือหอยจากคาน


90 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

คานดินหรือคานคอดิน เปนคานชั้นที่ติดผิวดินลงไป มีหนาที่รับผนังหรือพื้นในกรณีที่พื้นชัน้ ลาง


ฝากบนคาน ชวยยึดตอมอไมใหเซโดยเฉพาะกรณีที่ตอมอยาว และใชเสาเข็มไมตอกบนดินเหนียวหรือชวย
ขังทรายถมไมใหทะลักออกดานขาง การออกแบบคํานึงถึงน้ําหนักทีฝ่ ากบนคานโดยถือวาดินใตทองคานไม
ชวยรับน้ําหนักใดๆ เลย การแสดงรายละเอียดของเหล็กเสริมเหมือนคานทั่วไป ทีแ่ ปลกไปคือระยะหุมของ
คอนกรีตตองไมนอยกวา 5 cm เนื่องจากเปนคานที่สัมผัสกับดินโดยตรง ปญหาที่พบบอยเปนเทคนิค
กอสรางดูรูปที่ 2.33(ก) เปนแบบคานคอนดินที่ดีที่สดุ เนื่องจากใชไมแบบทําทองคาน แตชางลืมหรือลืม
กระทุงออกทําใหสูญเสียไมแบบซึ่งราคาแพง รูปที่ 2.33(ข) ใชทรายถมเทมอตารทับผิวเปนทองคานมีลูกปูน
หนุน ชางจะทําแบบหลอดานบนใหไดขนาดความกวาง สวนดานลางสอบเขาเล็กนอย เมื่อเทคอนกรีตและ
สั่นดวยเครื่องสั่นคอนกรีตเกิดแรงดันแบบดานลางแบะออกจนไดขนาดซึ่งตองคอยสังเกตขณะทํางานอยา
ใหสั่นนานเกินไปจะแบะอาออก รูปที่ 2.33(ค) ใชทรายถมเปนแบบเหล็กลางจะกดลูกปูนจมทรายทําให
คอนกรีตหุมเหล็กไมพอ รูปที่ 2.33(ง) วิธีแกปญหาการจมของลูกปูนที่ทําใหเหล็กจมทราย หรือกรณีที่ลูกปูน
ไมแข็งแรงถูกเหล็กกดแตก เหล็กจะชิดทองคาน ใหใชไมขนาด 1 12 "3" สอดขวางเหล็กบนหิว้ เหล็กกับ
แบบขางคาน กรณีที่เหล็กชิดทองคานและเปนคานคอนดินซึ่งมองไมเห็นอาจจะยังไมปรากฏการวิบัติในชวง
กอสรางเสร็จใหมๆ แตพอนานไปเหล็กเปนสนิมจนขาดก็จะเกิดการวิบัติไดและแกไขยากดวย

รูปที่ 2.33 การทําแบบหลอคานคอดิน

รูปที่ 2.34 การทําแบบหลอคานคอดินยึดไมดีอาจเกิดการโกงทางขางของคานคอดินได


คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 91

คานยื่น เปนคานที่รับโมเมนตลบ เหล็กรับแรงดึงจะอยูชิดผิวบนและมีปริมาณมากกวาเหล็กรับ


แรงอัดที่ผิวลางปญหาที่พบบอยคือเรื่องการถอดแบบทองคานและค้ํายัน จะตองถอดจากปลายคานไปหา
โคนคานที่จุดรองรับ อยาเหลือค้ํายันตรงปลายเผื่อไวเปนอันขาด คานอาจจะราวหรือหักในชวงกลางจาก
โมเมนตบวก หากผูควบคุมงานของผูวาจางยืนยันจะมีค้ํายันเอาไวตองไมยินยอม หากจะทําใหไดใหถายรูป
และแจงเจาของงานใหทราบ รวมทั้งรายงานไปที่สภาวิศวกรใหทําการสอบสวนผูควบคุมงานผูนั้น

รูปที่ 2.35 การถอดค้ํายันคานยื่นและผลจากการเหลือค้ํายันที่ปลายเอาไว

แบบฝกหัดบทที่ 2
2.1 คานคอนกรีตเสริมเหล็กหนาตัดกวาง 0.20 เมตร ลึก 0.40 เมตร เสริมเหล็กรับแรงดึง 2-DB 16 mm มี
โมเมนตดัดกระทํา 1500 kg  m กําลังคอนกรีต f c'  280 ksc จงหาหนวยแรงสูงสุดในคอนกรีต
และเหล็กเสริมรับแรงดึง
2.2 คานคอนกรีตเสริมเหล็กหนาตัดกวาง 0.30 เมตร ลึก 0.50 เมตร ชวงคานยาว 4.50 เมตร ชวงเดียว
กําหนด f c'  240 ksc, f y  3000 ksc เหล็กเสริม 4-DB 20 mm จัดวางตามรูป ใชกฎกระทรวง
มหาดไทยฉบับที่ 6 จงหา
(ก) โมเมนตดัดสูงสุดที่คานรับได
(ข) คานจะรับน้ําหนักแผกระจายไดสูงสุดเทาใด
(ค) ถาคานตองรับน้ําหนักของผนังกออิฐมอญเต็มแผน จะกออิฐไดสูงกี่เมตร
92 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

2.3 คานคอนกรีตเสริมเหล็กหนาตัดกวาง 0.20 เมตร ความลึก 0.60 เมตร ความลึกประสิทธิผล d = 54.15


cm กําลังคอนกรีต f c'  350 ksc, f y  4,000 ksc ใชตามมาตรฐาน ว.ส.ท. คานอยูใ นสภาพสมดุล
จงหาโมเมนตสมดุล M R และเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึง A sR
2.4 จงออกแบบคาน ค.ส.ล ใหรบั โมเมนตดัด 15,000 kg  m ใชมาตรฐาน ว.ส.ท. คานชวงยาว 6.00 เมตร
ใหกําลังคอนกรีต f c'  210 ksc กําลังครากของเหล็กตามยาวคาน f y  3,000 ksc กําลังคราก
ของเหล็กลูกตัง้ f sy  2,400 ksc

2.5 จงออกแบบคาน B1, B2, B3, B4 และ B5 กําหนดแผนพื้น S1 หนา 0.12 m รับน้ําหนักบรรทุกจร 200
kg/m2 คาน B1 มีครีบหนา 0.08 เมตร ความลึกรวมคาน 0.80 เมตร คาน B2 มีผนังกออิฐมอญครึ่งแผน
สูง 0.75 เมตร สวน B4 และ B5 มีอิฐมอญกอครึ่งแผนสูง 3.50 เมตร ใหออกแบบตามขอบัญญัติ กทม.
คานคอนกรีตเสริมเหล็ก 93

2.6 ในระดับที่ตรงกับชั้นลอยในอาคารเดียวกับขอ 2.5 จําตองทํากันสาดยืน่ ออกมาโดยใช B6 ฝากเสา


ขนาดกวาง 0.25 เมตร ลึก 0.60 เมตร จงออกแบบ B6 ให f c'  240 ksc, f y  3,000 ksc ,
f sy  2,400 ksc และกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6
2.7 จากขอ 2.6 ถาคาน B1 เปลี่ยนเปนครีบหนา 0.08 เมตร สูง 0.80 เมตร และไมมีคาน B6 แลว คาน B8
จะตองรับโมเมนตบิด จงออกแบบคาน B8 ให f c'  240 ksc, f y  3,000 ksc , f sy  2,400 ksc
และกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6
2.8 จงออกแบบคานชวงเดียวยาว 12.00 เมตร น้ําหนักกระทําบนคาน 1500 kg/m ใชขนาดคานกวาง 0.25
เมตร ลึก 1.20 เมตร ให f c'  240 ksc, f y  3,000 ksc , f sy  2,400 ksc และกฎกระทรวงฯ
ฉบับที่ 6
2.9 จงออกแบบคานชวงเดียวของหลังคาโรงภาพยนตร ระยะระหวางเสา 25.00 เมตร ความลึกของคาน
ไมเกิน 1.50 เมตร หลังคาถายน้ําหนักบนคาน 600 kg/m ให f c'  240 ksc, f y  3,000 ksc ,
f sy  2,400 ksc และกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6
2.10 จงออกแบบคาน RB1, RB2 ซึ่งเปนคานหลังคา ใชแปเหล็กตัว [ และกระเบื้องลอนคู ความลาดหลังคา
15 องศา ให f c'  240 ksc, f y  3,000 ksc , f sy  2,400 ksc และกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6
2.11 จงออกแบบ RB3 ใหครีบถายน้ําหนักลงปลายคาน 4 ตัน ขอมูลอื่นเหมือนขอ 2.10
94 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
3
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก

3.1 ชนิดของแผนพื้น
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีคานรองรับสองดานหรือสี่ดาน โดยทั่วๆ ไปจะเปนตามรูปที่ 3.1(ก)
ชนิดหลังเรียบเสมอหลังคาน และตามรูปที่ 3.1(ข) ทองเรียบเสมอทองคาน (สําหรับกันสาดหรือหลังคา) ทั้ง
สองแบบเรียกวา พื้นคอนกรีตแบบตัน ในกรณีรับน้ําหนักคอนขางมากออกแบบตามรูปที่ 3.1(ก) หรือ (ข)
แลวพื้นหนาเกินไปก็อาจจะใชตง (คานซอย) วางหางกัน  0.75 เมตร ดังรูปที่ 3.1(ค) เรียก พื้นระบบตง ใน
กรณีที่ออกแบบใหพื้นถายน้าํ หนักลงบนเสาโดยตรงและไมมีคานรองรับพื้นเลยเรียกวา พืน้ ไรคาน ดังรูปที่
3.1(ง) ซึ่งตองระวังเรื่องแรงเฉือนบริเวณหัวเสา พื้นไรคานอีกแบบหนึ่งชวงยาวมากเปนพื้นระบบตงไขวฉาก
ดังรูปที่ 3.1(จ) ลักษณะคลายขนมวัฟเฟลหรือรังผึ้ง เรียกวา พื้นแบบรังผึ้ง

รูปที่ 3.1 แผนพื้นรูปแบบตางๆ


96 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

3.2 การเกิดโมเมนตดัดในแผนพื้น
พิจารณารูปที่ 3.2(ก) ถาคานรับแรง P ที่กึ่งกลาง สมมติคานยาว L จุดกึง่ กลางโกงลงจากระดับเดิม
h 2h
h (มีคานอยหากเทียบกับ L) มุมการหมุนของคานคือ   tan    โมเมนตดัดทีก่ ึ่งกลางคานจะ
L/2 L
แปรตามมุม  ถามุม  ยิ่งมากโมเมนตยิ่งมาก คามุม  ยิ่งมากหากความยาว L ยิ่งนอย นั่นคือในระยะโกง
h เหมือนกัน ความยาว L ยิ่งนอยมุมหมุน  ยิ่งมาก โมเมนตยิ่งมาก

รูปที่ 3.2 แสดงความสัมพันธของโมเมนตกับมุมการโกง

พิจารณารูปที่ 3.2(ข) จําลองแผนพื้นสี่เหลี่ยมผืนผา ตรงกึ่งกลางพืน้ โกงลง h มุม 1 ของดาน


ขนานขอบสั้น S จะมากกวามุม 2 ของดานขนานขอบยาว L ตามหลักการที่กลาวถึงในรูปที่ 3.2(ก) ดังนั้น
โมเมนตทางดานสั้นจึงมากกวาทางดานยาว หรือ M S  M L
ในสภาพจริงการออกแบบพืน้ จะเปนการรับน้ําหนักแผกระจายเต็มพื้นที่ ไมใชแรงกระทําเปนจุด
โมเมนตดัดทีก่ ลางพื้นเปนบวก คือโกงแบบกระทะหงายแรงดึงผิวลางแรงอัดผิวบน สวนที่หลังคานจะเปน
โมเมนตลบ คือโกงแบบกระทะคว่ําแรงดึงผิวบนแรงอัดผิวลาง เหล็กเสริมขนานขอบสั้นควรชิดผิวพื้นที่สดุ
ถัดเขาไปจึงเปนเหล็กเสริมขนานขอบยาว การงอคอมาจะนิยมงอเสนเวนเสน ตําแหนงงอคอมาเปนจุดดัด
S
กลับ พื้นริมจะเปนระยะ หรือ L เหล็กเสริมพิเศษที่ระยะ S
หรือ L ขอบพื้นที่ตอเนื่องกับพื้นถัดไปจะ
7 7 4 4
S
งอคอมาที่ระยะ หรือ L และเสริมพิเศษระยะ S หรือ L
การเขียนรูปตัดแสดงรายละเอียดการเสริม
4 4 3 3
เหล็กอยางนอยแสดงการตัดขนานขอบสั้น
การออกแบบแผนพื้นวิธีที่ 2 ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. เมื่อมีคานรองรับทั้งสี่ขอบ และน้ําหนักบรรทุก
จรไมเกินสามเทาของน้ําหนักบรรทุกคงที่ แผนพื้นรองรับน้ําหนักบรรทุกแผกระจายเต็มพื้นอยางสม่ําเสมอ
กําหนดให
S = ความยาวขอบสั้นของพื้น
S = คานอยระหวางระยะศูนยกลางคานกับชวงวางบวกสองเทาความหนาพื้น
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 97

L = ความยาวขอบยาวของพืน้
L = คานอยระหวางระยะศูนยกลางคานกับชวงวางบวกสองเทาความหนาพื้น
S
m
L
ถา 0.5  m  1.0 เปนแผนพืน้ สองทาง
ถา m  0.5 เปนแผนพืน้ ทางเดียว
S  f 
ความหนาของแผนพื้นทางเดียว h  0.4  y 
20  7000 
S f 
ความหนาของแผนพื้นยื่น h  0.4  y 
10  7000 
2S  2L S  L
ความหนาของแผนพื้นสองทาง h 
180 90
ระยะหุมของคอนกรีตในแผนพื้นอยางนอย 2 cm
สัมประสิทธิ์โมเมนตของแผนพื้นสองทาง จะขึ้นกับลักษณะความตอเนื่องกับแผนพื้นอื่น ขอบ
พื้นที่พิจารณานั้นจะถือวาเปนขอบตอเนื่องเมื่อมีความตอเนื่องกับแผนพืน้ อื่นอยางนอย 70% ของความยาว
ของแผนพื้นทีพ่ ิจารณานัน้ เชน แผนพืน้ S1 มีขอบหนึ่งติดกับแผนพื้น S2 ขอบที่ติดกันนี้ S1 ยาว 5.00 เมตร
และ S2 ยาว 3.00 เมตร ถาพิจารณา S2 ขอบของ S2 ตอเนื่องกับ S1 ตลอดความยาว 3.00 เมตรของ S2 เอง
3.00
ขอบนี้ของ S2 เปนขอบตอเนื่อง แตถาพิจารณา S1 ขอบนี้ตอเนื่องกับ S2 เปนระยะ 3.00 เมตร หรือ 
5.00
0.60 = 60 % < 70 % ดังนั้นขอบนี้ของ S1 เปนขอบไมตอเนื่อง

รูปที่ 3.3 แสดงการตอเนื่องของขอบแผนพื้นที่พิจารณา


98 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

พิจารณารูปที่ 3.3 ขอบที่ตอเนื่องจะแรเงา ขอบที่ไมตอเนื่องปลอยวางไว แนว 1-2-3 เปนแนวดาน


สั้นหรือขนานของสั้นโดย 1 กับ 2 เปนโมเมนตลบที่หลังคาน และ 3 เปนโมเมนตบวกที่กลางพื้น แนว 4-5-6
เปนแนวดานยาวหรือขนานขอบยาวโดย 4 กับ 6 เปนโมเมนตลบที่หลังคาน และ 5 เปนโมเมนตบวกที่กลาง
พื้น คาสัมประสิทธิ์โมเมนต C ของทางดานสั้นจะแปรตามคาของ m ขณะที่ของทางดานยาวไมแปรตาม m
ลักษณะความตอเนื่องแบบตางๆ จะมีทั้งหมด 9 แบบดังรูปที่ 3.4

รูปที่ 3.4 กรณีความตอเนื่องของขอบแผนพื้นทั้ง 9 กรณี

ตารางที่ 3.1 แสดงคาสัมประสิทธิ์โมเมนต C ของแผนพื้น ดานสั้น C จะแปรตามคา m สวนดาน


ยาวอยูชองขวาสุดไมขึ้นกับคา m
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 99

ตารางที่ 3.1 คาสัมประสิทธิ์แรงดัดในแผนพื้นสองทาง : C


แรงดัดที่ตําแหนงตางๆ ชวงสั้น ชวง
คาตางๆ ของอัตราสวน m ยาว
1.0 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5 สําหรับ
และ m
ต่ํากวา ทุกคา
กรณีที่ 1 ชวงพื้นภายใน
แรงดัดลบ – ที่ดา นซึ่งตอเนื่อง 0.033 0.040 0.048 0.055 0.063 0.083 0.033
- ที่ดานซึ่งไมตอเนือ่ งกัน - - - - - - -
แรงดัดบวกที่กึ่งกลางชวง 0.025 0.030 0.036 0.041 0.047 0.062 0.025
กรณีที่ 2 ไมตอเนือ่ งกันดานเดียว
แรงดัดลบ – ที่ดา นซึ่งตอเนื่อง 0.041 0.048 0.055 0.062 0.069 0.085 0.041
- ที่ดานซึ่งไมตอเนือ่ งกัน 0.021 0.024 0.027 0.031 0.035 0.042 0.021
แรงดัดบวกที่กึ่งกลางชวง 0.031 0.036 0.041 0.047 0.052 0.064 0.031
กรณีที่ 3 ไมตอเนือ่ งกันสองดาน
แรงดัดลบ – ที่ดา นซึ่งตอเนื่อง 0.049 0.057 0.064 0.071 0.078 0.090 0.049
- ที่ดา นซึ่งไมตอเนือ่ งกัน 0.025 0.028 0.032 0.036 0.039 0.045 0.025
แรงดัดบวกที่กึ่งกลางชวง 0.037 0.043 0.048 0.054 0.059 0.068 0.037
กรณีที่ 4 ไมตอเนือ่ งกันสามดาน
แรงดัดลบ – ที่ดา นซึ่งตอเนื่อง 0.058 0.066 0.074 0.082 0.090 0.098 0.058
- ที่ดา นซึ่งไมตอเนือ่ งกัน 0.029 0.033 0.037 0.041 0.045 0.049 0.029
แรงดัดบวกที่กึ่งกลางชวง 0.044 0.050 0.056 0.062 0.068 0.074 0.044
กรณีที่ 5 ไมตอเนือ่ งกันทั้งสี่ดาน
แรงดัดลบ – ที่ดา นซึ่งตอเนื่อง - - - - - - -
- ที่ดานซึง่ ไมตอเนือ่ งกัน 0.033 0.038 0.043 0.047 0.053 0.055 0.033
แรงดัดบวกที่กึ่งกลางชวง 0.050 0.057 0.064 0.072 0.080 0.083 0.050

คาโมเมนตที่ตาํ แหนงขอบหรือกลางแผนพืน้ สองทางคือ

M  CwS2 (3.1)

เมื่อ M = โมเมนตดัดที่ตําแหนงตางๆ , kg  m
C = สัมประสิทธิ์โมเมนตจากตาราง 3.1
w = น้ําหนักบรรทุกแผบนพืน้ , kg / m 2
S = ความยาวขอบสั้นของแผนพื้น, m
สังเกตวาคาโมเมนต M ไมวาจะเปนทางสั้นหรือทางยาวจะใช S เสมอ
100 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เหล็กเสริมในแผนพื้นขนาดไมเล็กกวา 6 mm ระยะเรียงไมเกิน 3 เทาของความหนา


แผนพื้นตองออกแบบใหมีความหนาไมนอ ยกวา 8 cm (แนะนําวาใหไมหนานอยกวา 10 cm จะ
ประหยัดเหล็กเสริม) และตองออกแบบใหตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึง นั่นคือ M  M R
ปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึงขึ้นกับชนิดเหล็กดังนี้
เหล็กเสนกลมผิวเรียบ SR-24 ใช A s min  0.0025bh
เหล็กขอออย SD-30 ใช A s,min  0.0020bh
เหล็กตะแกรงสําเร็จรูป (wiremesh) ใช A s min  0.0018bh
เมื่อ b  100 cm  ความกวางพืน ้ ที่ตัดมาพิจารณากวาง 1.00 เมตร ดังรูปที่ 3.5
h  ความหนาของแผนพื้น , cm
2
A s min  เนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึงที่ตองการ, cm

รูปที่ 3.5 การตัดแถบพื้นกวาง 1.00 เมตรใชออกแบบเชนคานแบน

ลําดับขั้นตอนออกแบบแผนพื้นยื่น

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  กําลังประลัยทรงกระบอกคอนกรีต, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริม, ksc
f c  0.375f c'  65 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  1700 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กเสริม
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
E c 15,100 f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 101

1
R f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2
L ระยะยื่นของแผนพื้นวัดจากขอบคาน (ถาไมทราบใชระยะจากศูนยกลางคาน), m

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาของแผนพื้น
L f 
h  0.4  y   8 cm ความหนาทีไ่ มตองตรวจสอบการโกงตัว
10  7000 
สมมติขนาดเหล็กเสริม เชน RB 6 mm, RB 9 mm, DB 10 mm
โดยทั่วไปใหระยะหุมของคอนกรีต 2 cm ดังนั้นความลึกประสิทธิ d หาไดจาก
d ความหนา h  ระยะหุม 2 cm - 1 ของขนาดเหล็ก
2
เชน L = 2.00 m และใชเหล็ก RB 9 mm มี f y  2400 ksc
L f  2.00  2400 
h  0.4  y    0 .4    0.149 m ใช h  0.15 m
10  7000  10  7000 
0.9
d  15  2   12.55 cm
2
น้ําหนักแผของพื้น
w G  2400bh  2400  1.00h หนวยเปน kg / m 2
นําไปรวมกับน้ําหนักบรรทุกจรและอาจจะมีน้ําหนักวัสดุตกแตงผิวดวยเปน w หนวย kg/m2
ถามีคานหลอกใหคํานวณหาน้ําหนักเปนแรงกระทําเปนจุดที่ปลายพืน้ P
โมเมนตดัดทีข่ อบคาน
wL2
M  PL หนวย kg  m / m
2
โมเมนตดัดทีภ่ าวะสมดุล
M R  Rbd 2
ถา M  M R แสดงวาความหนาพื้นนอยเกินไป ใหหาความหนาใหม
M
d แลวเพิ่มความหนาอีกเล็กนอย
Rb
ถา M  M R แสดงวาความหนาพื้นเพียงพอ เลือกขนาดเหล็กเสริมแลวหาระยะเรียงโดยหาเนือ้ ที่ที่ตองการ
กอนดังนี้
M
As  หนวย cm 2 / m
f s jd

A s1  d 2b  เนื้อที่เหล็กหนึ่งเสน cm 2
4
A s1
s  ระยะเรียงของเหล็กเสริม m
As
102 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก

ลําดับขั้นตอนการออกแบบแผนพืน้ ทางเดียวและสองทาง

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  กําลังประลัยทรงกระบอกคอนกรีต, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริม, ksc
f c  0.375f c'  65 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  1700 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กเสริม
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
E c 15,100 f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2
เขียนแปลนแผนพื้น แสดงขอบสั้น S ขอบยาว L และลักษณะความตอเนื่อง ใสแนว 1 2 3 ขนาน
ขอบสั้น และแนว 4 5 6 ขนานขอบยาว
S  ความยาวขอบสั้นของแผนพื้น (ในขั้นตอนนี้ใชระยะศูนยกลางคาน)
S = คานอยระหวางระยะหางศูนยกลางคานกับระยะชวงวางบวกสองเทาความหนาพื้น
L = ความยาวขอบยาวของแผนพื้น (ในขั้นตอนนี้ใชระยะศูนยกลางคาน)
L = คานอยระหวางระยะหางศูนยกลางคานกับระยะชวงวางบวกสองเทาความหนาพื้น
S
m  อัตราสวนดานสั้นตอดานยาวของพื้น ใชระบุชนิดแผนพื้นทางเดียวหรือสองทาง
L
ตรวจสอบชนิดแผนพื้น
ถา m  0.5 แผนพื้นนัน้ เปนแผนพื้นทางเดียว
ถา m  0.5 แผนพื้นนัน้ เปนแผนพื้นสองทาง

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาและคํานวณน้ําหนักพืน้
S  f 
แผนพืน้ ทางเดียว ตองมีความหนา h   0.4  y   0.08 m แนะนําใหใชความหนา 10
20  7000 
cm ขึ้นไป
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 103

2S  2L S  L
แผนพืน้ สองทาง ตองมีความหนา h   0.08 m แนะนําใหใชความหนา 10
180 90
cm ขึ้นไป
น้ําหนักของแผนพื้นในหนวย kg / m 2 ของแผนพื้นเอง คือ 2400h โดยความหนาพืน้ h ตองมี
หนวยเปนเมตร
ประมาณความลึกประสิทธิผลทางดานสั้นและทางดานยาว เมื่อ d b เปนขนาดเหล็กเสริมหนวย
cm ทั้งสองทิศทาง ระยะหุม 2 cm ขึ้นไป เหล็กขนานขอบสั้นชิดผิวคอนกรีตมากวาเหล็กขนานขอบยาว
ความลึกประสิทธิผลทางดานสั้น
db
dS  h  2 
2
ความลึกประสิทธิผลทางดานยาว
db
dL  h  2  db 
2
โมเมนตสมดุลทางดานสั้น
M RS  Rbd S2  100Rd S2 หนวย kg  cm
โมเมนตสมดุลทางดานยาว
M RL  Rbd 2L  100Rd 2L หนวย kg  cm

ขั้นตอนที่ 3 หาสัมประสิทธิ์โมเมนต คํานวณโมเมนตและปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ


จากตารางที่ 3.1 หาสัมประสิทธิ์โมเมนตดานสั้น C1 , C 2 , C3 แลวเลือกคามากเปน Cs และหา
สัมประสิทธิ์โมเมนตดานยาว C 4 , C5 , C6 แลวเลือกคามากเปน C L
คํานวณโมเมนตสูงสุดทางดานสั้นและดานยาว

M S  C s wS2 หนวย kg  m / m คูณ 100 ใหเปน kg  cm / m


M L  C L wS2 หนวย kg  m / m คูณ 100 ใหเปน kg  cm / m

ตรวจสอบโมเมนตสูงสุดกับโมเมนตสมดุล แผนพื้นตองออกแบบใหตองการเฉพาะเหล็กรับแรง
ดึง ซึ่งก็หมายความวาตองใหโมเมนตที่เกิดขึ้นนอยกวาโมเมนตสมดุลเสมอ นั่นคือ
M S  M RS และ M L  M RL
ถา M S  M RS หรือ M L  M RL แสดงวาความหนาของพื้นนอยไป เพิ่มความหนามากขึน้ โดย
เลือกคามากจาก
MS d
dS  , h  dS  2  b
Rb 2
ML d
dL  , h  dL  2  db  b
Rb 2
104 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เมื่อ M S  M RS และ M L  M RL หาปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ


เหล็กเสริมขนานขอบสั้น
MS
A sS  หนวย cm 2 / m
f s jd S
เหล็กเสริมขนานขอบยาว
ML
A sL  หนวย cm 2 / m
f s jd
หาระยะเรียงเหล็กในหนวยเมตร โดยเนื้อที่หนาตัดเหล็ก 1 เสนคือ
 2
A s1  db
4
ระยะเรียงของเหล็กขนานขอบสั้น
A s1
sS  หนวยเมตร ใชเปนเลขลงตัวที่จัดงาย เชน 0.075, 0.100, 0.125,ฯลฯ
A sS
ระยะเรียงของเหล็กขนานขอบยาว
A s1
sL  หนวยเมตร ใชเปนเลขลงตัวที่จัดงาย เชน 0.075, 0.100, 0.125,ฯลฯ
A sL

ขั้นตอนที่ 4 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก
ให Su  S  b w  ระยะชวงวางระหวางขอบในของคานทิศทางขนานขอบสั้นพื้น
L u  L  b w  ระยะชวงวางระหวางขอบในของคานทิศทางขนานขอบยาวพืน ้
S, L  ระยะระหวางศูนยกลางคานทิศทางขนานขอบสั้นและขอบยาวตามลําดับ
b w  ความกวางของคานในแตละทิศทาง ถาไมเทากันใหหาครึ่งความกวางแตละขางมารวมกัน
ตัดพื้นขนานขอบสั้นมาแสดง เหล็กขนานขอบสั้นจะเปนเสนทึบชิดผิวพื้น สวนเหล็กขนานขอบ
ยาวจะเห็นเปนจุดถัดเขาไปในเนื้อพื้น เหล็กเสริมรับโมเมนตบวกอยูชดิ ผิวลางวางระยะหาง sS สําหรับเหล็ก
ขนานขอบสั้นและระยะหาง s L สําหรับเหล็กขนานขอบยาว แลวงอคอมาเสนเวนเสน ระยะหางเหล็กทั้ง
เหล็กที่ไมงอคอมาและเหล็กที่งอคอมาขึ้นไปชิดผิวบนจะหาง 2sS และ 2s L แตในความเปนจริงนั้นความ
ตองการระยะเรียง sS และ s L เปนของเหล็กบนรับโมเมนตลบ จําเปนตองเสริมแทรกกลางเหล็กคอมาเปน
เหล็กเสริมพิเศษ ทําใหระยะเรียงของเหล็กบนเปน sS และ s L ตามความตองการจริง ตําแหนงงอคอมาและ
ระยะปลายของเหล็กเสริมพิเศษใหพิจารณาดังนี้
Su Lu Su b w
คานริมไมมีพนื้ ยื่น จุดงอคอมาที่ระยะ หรือ จากขอบคาน หรือ  หรือ
7 7 7 2
Lu bw Su Lu
 จากศูนยกลางคาน ปลายเหล็กเสริมพิเศษระหวางคอมาทีร่ ะยะ หรือ จากขอบคาน หรือ
7 2 4 4
Su b w Lu bw
 หรือ  จากศูนยกลางคาน
4 2 4 2
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 105

Su Lu Su b w
คานในหรือคานริมที่มีพื้นยืน่ ดวย จุดงอคอมาที่ระยะ หรือ จากขอบคาน หรือ 
4 4 4 2
Lu bw Su Lu
หรือ  จากศูนยกลางคาน ปลายเหล็กเสริมพิเศษระหวางคอมาที่ระยะ หรือ จากขอบคาน
4 2 3 3
Su b w Lu bw
หรือ  หรือ  จากศูนยกลางคาน
3 2 3 2
มาตรฐาน ว.ส.ท. กําหนดวาเหล็กเสริมรับโมเมนตบวกที่เหลือจากงอคอมาแลว ใหฝงเขาไปในที่
รองรับซึ่งก็คือคาน อยางนอย 15 ซม เผื่อการงอขอและระยะหุมเหล็กอีกอยางนอย 5 ซม ทําใหความกวาง
ของคานอยางนอย 20 ซม นี่คือเหตุผลที่ตอ งกําหนดความกวางของคานเอาไวอยางนอย 20 ซม

ตัวอยางที่ 3.1 จงออกแบบพื้น S1 ซึ่งเปนกันสาดยื่นจากศูนยกลางคานออกไป 1.50 เมตร ปลายพื้นยกขอบ


เปนคานหลอกหนา 0.08 เมตร สูง 0.50 เมตร ความกวางคาน 0.20 เมตร ให f c'  173 ksc และ
f y  2400 ksc ออกแบบตามกฎกระทรวงมหาดไทยฉบับที่ 6

ตัวอยางที่ 3.1
วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  173 ksc
f y  2400 ksc
f c'  173 ksc
f y  2400 ksc
f c  0.375f c'  0.375  173  64.875 ksc  65 ksc
f s  0.5f y  0.5  2400  1200 ksc
E s 2,040,000 2,040,000
n    10.271
E c 15,100 f c' 15,100 173
106 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1 1
k   0.357
fs 1200
1 1
nf c 10.271  64.875
k 0.357
j 1 1  0.881
3 3
1 1
R  f c kj   64.875  0.357  0.881  10.202 ksc
2 2
คานกวาง b w  0.20 m ดังนั้นระยะยื่นจากขอบคาน
b 0.20
L u  L  w  1.50   1.40 m
2 2

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาของแผนพื้น
Lu  f  1.40  2400 
h  0.4  y    0 .4    0.104 m
10  7000  10  7000 
ใชความหนาแผนพื้น h  0.11 m  11 cm
น้ําหนักแผนพืน้
w G  2400bh  2400  1.00  0.11  264 kg / m 2
ตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6 กําหนดน้ําหนักบรรทุกจรสําหรับกันสาดไวที่ w L  100 kg / m 2
ดังนั้นน้ําหนักบรรทุกแผรวมคือ
w  w G  w L  264  100  364 kg / m 2
เมื่อตัดแผนพืน้ กวาง b = 1.00 m = 100 cm เหมือนคานแบน น้ําหนักบรรทุกจะมีหนวยเปน
kg
w  364  1.00 m  364 kg / m
m2
คานหลอกที่ปลายพื้นสูง 0.50 เมตรจากทองพื้น ขณะที่พนื้ หนา 0.11 เมตร ดังนั้นคานหลอกจึงลึกเพียง 0.50
– 0.11 = 0.39 m สวนความกวาง 0.08 m น้ําหนักคอนกรีตเสริมเหล็ก 2400 kg / m 3 ดังนั้นน้ําหนักกระทํา
เปนจุดกระทําที่ปลายพื้น
P  2400  0.08  0.39  74.88  75 kg

สมมติเลือกเหล็กเสริมเอกเปน RB 9 mm มี d b  9 mm, A s1   0.9 2  0.636 cm 2 ดังนั้น
4
ความลึกประสิทธิผลเมื่อใหระยะหุม 2 cm คือ
db d 0.9
d  h2  11  2  b  11  2   8.55 cm
2 2 2
โมเมนตดัดสมดุล
M R  Rbd 2  10.202  100  8.552  74,579.1705 kg  m
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 107

โมเมนตดัดสูงสุดที่ขอบคาน
wL2u 364  1.40 2
M  PL u   75  1.40
2 2
M  461.72 kg  m  46,172 kg  cm
ตรวจสอบพบวา M  M R แสดงวาความหนาแผนพื้นเพียงพอ ปริมาณเหล็กเสริมทางดานสั้น
M 46,172
A sS    5.108 cm 2 / m
f s jd 1,200  0.881  8.55
ระยะเรียงของเหล็ก RB 9 mm ซึ่งมีเนื้อที่หนาตัดเสนละ A s1  0.636 cm 2 คือ
A s1 0.636
sS    0.1245  0.12 m
A sS 5.108
เสริมเหล็กขนานขอบสั้น RB 9 mm@ 120 mm
ปริมาณเหล็กทางยาว เปนปริมาณเหล็กกันราว สําหรับ SR-24 ปริมาณเหล็กขัน้ ต่ําหรือเหล็กกัน
ราวคือ
A sL  0.0025bh  0.0025  100  11  2.75 cm 2 / m
ระยะเรียงของเหล็ก RB 9 mm ซึ่งมีเนื้อที่หนาตัดเสนละ A s1  0.636 cm 2 คือ
A s1 0.636
sL    0.231  0.20 m
A sL 2.75
เสริมเหล็กขนานขอบยาว RB 9 mm@ 200 mm
แสดงรายละเอียดตามรูป (ข) แตในกรณีทพี่ ื้น S1 ลดระดับจนทองพืน้ เสมอทองคาน เหล็กเสริม RB 9 mm
@ 120 mm จะตองคํานวณระยะฝงซึ่งมีผลตอความกวางของคาน B1 ดวยดังนี้
ระยะฝงพืน้ ฐานที่ตองการ
0.08d b f y 0.08  0.9  2400
d    13.14 cm
'
f c
173
ระยะฝงจริง
L d  b w  c  20  3.5  16.5 cm   d  13.14 cm ใชได
เหล็กเสริมวัดระยะเริ่มฝงจากขอบคานเขาไปถึงจุดเริ่มโคงที่เสนผานศูนยกลางโคง 6 เทาของ
ขนาดเหล็กหรือรัศมี 3 เทาของขนาดเหล็ก แลวโคงไปหนึ่งในสี่ของวงกลม จากนั้นตองยื่นปลายไปอีก 12
เทาของขนาดเหล็ก
ระยะฝงจากขอบคานถึงจุดเริ่มโคงจริงคือ
0.9
 20  3.5   3  0.9  13.35 cm
2
จากนั้นโคงภายในรัศมี
 3  0.9  2.7 cm
โคงไปหนึ่งสวนสี่ของวงกลมไดเปนโคงฉาก
108 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ยื่นปลายขึ้นไปอีก
 12  0.9  10.8  11 cm
รายละเอียดดังแสดง

รูปตัดพื้น S1 ที่ระดับตางจาก S2
ตัวอยางที่ 3.2 จงออกแบบแผนพื้น S2 รับน้ําหนักบรรทุกจร 200 kg/m2 เมื่อพื้น S1 หนา 0.11 m ใหกาํ ลัง
คอนกรีต f c'  173 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  2400 ksc คานกวาง 0.20 m

ตัวอยางที่ 3.2
วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  173 ksc
f y  2400 ksc
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 109

f c'  173 ksc


f y  2400 ksc
f c  0.375f c'  0.375  173  64.875 ksc  65 ksc
f s  0.5f y  0.5  2400  1200 ksc
E s 2,040,000 2,040,000
n    10.271
E c 15,100 f c 15,100 173
'

1 1
k   0.357
fs 1200
1 1
nf c 10.271  64.875
k 0.357
j 1 1  0.881
3 3
1 1
R  f c kj   64.875  0.357  0.881  10.202 ksc
2 2
คานกวาง b w  0.20 m
S = 4.50 m = ความยาวขอบสั้นระหวางศูนยกลางคาน
L = 5.00 m = ความยาวขอบยาวระหวางศูนยกลางคาน
S 4.50
m   0.9  0.5 แสดงวาเปนแผนพื้นสองทาง
L 5.00

ขั้นตอนที่ 2 และ 3 หาความหนาและโมเมนตดัด เนื้อที่หนาตัดเหล็ก เขียนแปลนแสดงความยาวขอบและ


ลักษณะความตอเนื่องซึ่งตอเนื่องทุกขอบ

ความหนาของแผนพื้นสองทางตองไมนอยกวา
2S  2L S  L 4.50  5.00
h    0.106  0.11 m
180 90 90
ใชความหนา h  0.11 m  11 cm หาน้ําหนัก ความหนาประสิทธิผลทางดานสั้นและทางดานยาว โดย
ใหระยะหุมของคอนกรีต 2 cm ขนาดเหล็ก RB 9 mm ทั้งสองทิศทาง
110 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักพื้น
w G  2400h  2400  0.11  264 kg / m 2
น้ําหนักบรรทุกรวม
w  w G  w L  264  200  464 kg / m 2
ความหนาประสิทธิผลดานสั้น
db 0.9
dS  h  c   11  2   8.55 cm
2 2
ความหนาประสิทธิผลดานยาว
db 0.9
dL  h  c  db   11  2  0.9   7.65 cm
2 2
ความยาวดานสั้น เลือกจากคานอยระหวางระยะระหวางศูนยกลางคาน 4.50 เมตร กับระยะชวงวาง
บวกสองเทาความหนา 4.50  0.20  0.20  2  0.11  4.52 m ดังนัน้ S = 4.50 m
2 2
ความยาวดานยาว เลือกจากคานอยระหวางระยะระหวางศูนยกลางคาน 5.00 เมตร กับระยะชวง
วางบวกสองเทาความหนา 5.00  0.20  0.20  2  0.11  5.02 m ดังนั้น L = 5.00 m
2 2
ดังนั้นคา m  S  4.50  0.9 สําหรับหาสัมประสิทธิ์โมเมนต C ตางๆ ตามกรณีที่ 1 ตอเนื่อง
L 5.00
ทุกดานในตารางที่ 3.1 สัมประสิทธิ์ดานสั้นดูจากชอง m = 0.9 สวนสัมประสิทธิ์ดานยาวดูจากชองขวาสุด
ไดคาดังนี้
C1  C3  0.040 และ C 2  0.030 ดังนั้นสัมประสิทธิ์โมเมนตดานสั้นคือ CS  0.040
C 4  C 6  0.033 และ C5  0.025 ดังนั้นสัมประสิทธิ์โมเมนตดานยาวคือ C L  0.033
โมเมนตดัดทางดานสั้น

M S  CS wS2  0.040  464  4.50 2


M S  375.84 kg  m / m  37,584 kg  cm / m

โมเมนตดัดดานยาว
M L  C L wS2  0.033  464  4.50 2
M L  310.068 kg  m / m  31,006.8 kg  cm / m

โมเมนตดัดสมดุลทางดานสั้น
M RS  Rbd S2  10.202  100  8.552
M RS  74,579.1705 kg  cm / m  M S  37,584 kg  cm / m OK
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 111

โมเมนตสมดุลทางดานยาว
M RL  Rbd 2L  10.202  100  7.652
M RL  59,704.6545 kg  cm / m  M L  31,006.8 kg  cm / m OK
ปริมาณเหล็กเสริมทางดานสั้น
MS 37,584
A sS    4.158 cm 2 / m
f s jd S 1,200  0.881  8.55
ปริมาณเหล็กเสริมทางดานยาว
ML 31,006.8
A sL    3.834 cm 2 / m
f s jd L 1,200  0.881  7.65
ปริมาณเหล็กเสริมขั้นต่ํา
A s ,min  0.0025bh  0.0025  100  11  2.75 cm 2 / m
ตรวจสอบพบวา A sS  A s ,min และ A sL  A s ,min ใชตามที่คํานวณได เหล็ก RB 9 mm มีเนื้อที่หนาตัด
d 2
  0.9 2
เหล็ก 1 เสนเทากับ A s1  
b
 0.636 cm 2 ดังนั้นระยะเรียงเหล็กทางขนานขอบสั้นละ
4 4
ขนานขอบยาวหาไดดงั นี้
ระยะเรียงเหล็กขนานขอบสัน้
A s1 0.636
sS    0.152 m  0.150 m  150 mmm
A sS 4.158
ระยะเรียงเหล็กขนานขอบยาว
A s1 0.636
sL    0.165 m  0.150 m  150 mm
A sL 3.834

ขั้นตอนที่ 4 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก ดานที่ติดกับ S1 เหล็กเสริมไมตอเนื่องกัน แตอาศัยสติฟเนส


ของคานในการใหความตอเนื่อง
S  b w b w 4.50  0.20 0.20
ตําแหนงงอคอมาจึงเปน     1.175 m
4 2 4 2
ตําแหนงปลายเหล็กเสริมพิเศษ S  b w  b w  4.50  0.20  0.20  1.533 m
3 2 3 2
112 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 3.3 จงออกแบบแผนพื้น S1 น้ําหนักบรรทุกจร 250 กิโลกรัมตอตารางเมตร คานขนาด


0.25  0.60 m 2 ให f c'  240 ksc, f y  2400 ksc

ตัวอยางที่ 3.3

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 113

f y  2400 ksc
f s  0.5f y  0.5  2,400  1,200 ksc
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72
E c 15,100 f c' 15,100 240
1 1
k   0.321
fs 1,200
1 1
nf c 8.72  65
k 0.321
j 1 1  0.893
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.321  0.893  9.316 ksc
2 2
S  2.50 m
L  6.00 m
S 2.50
m   0.417  0.5
L 6.00
เปนแผนพืน้ ทางเดียว และมีความตอเนื่องขอบสั้นขอบเดียว

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาของแผนพื้น
แผนพื้นทางเดียว
S  f  2.50  2,400 
h  0.4  y    0 .4    0.093  0.10 m  10 cm
20  7000  20  7,000 
น้ําหนักแผนพืน้
w G  2400h  2400  0.10  240 kg / m 2
น้ําหนักบรรทุกรวม
w  w G  w L  240  250  490 kg / m 2
ความลึกประสิทธิผล d เมื่อใหระยะหุม 2 cm และเหล็กเสริม RB 9 mm
db 0.9
dS  h  2   10  2   7.55 cm
2 2
d 0.9
d L  h  2  d b  b  10  2  0.9   6.65 cm
2 2
โมเมนตสมดุล
M RS  Rbd S2  8.72  100  7.552  49,706.18 kg  cm / m
M RL  Rbd 2L  8.72  100  6.652  38,562.02 kg  cm / m

ขั้นตอนที่ 3 หาสัมประสิทธิ์โมเมนต และโมเมนตสูงสุด


เมื่อ m  0.417  0.5
สัมประสิทธิ์โมเมนตดานสัน้ C1  C3  0.049 และ C 2  0.074 ดังนั้น CS  0.074
114 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

สัมประสิทธิ์โมเมนตดานยาว C 4  0.058, C5  0.044, C6  0.029 ดังนั้น C L  0.058


โมเมนตดัดสูงสุดทางดานสัน้
M S  CS wS2  0.074  490  2.50 2
M S  226.625 kg  m / m
M S  22,662.5 kg  cm / m  M RS  49,706.18 kg  cm / m

โมเมนตดัดสูงสุดทางดานยาว
M L  C L wS2  0.058  490  2.50 2
M L  177.625 kg  m  17,762.5 kg  cm / m
M L  M RL  38,562.02 kg  cm / m
ปริมาณเหล็กเสริมขั้นต่ํา
A s ,min  0.0025bh  0.0025  100  10  2.5 cm 2 / m
เหล็กเสริมทางดานสั้น
MS 22,662.5
A sS    2.801 cm 2 / m  A s ,min
f s jd S 1,200  0.893  7.55

ระยะเรียงของเหล็ก RB 9 mm ซึ่งมี A s1   d 2b    0.9 2  0.636 cm 2 / m คือ


4 4
A s1 0.636
sS    0.227 m  200 mm
A sS 2.801
เหล็กเสริมทางดานยาว
ML 17,762.5
A sL    2.493 cm 2 / m  A s ,min  2.5 cm 2 / m
f s jd L 1,200  0.893  6.65

ระยะเรียงของเหล็ก RB 9 mm ซึ่งมี A s1   d 2b    0.9 2  0.636 cm 2 / m คือ


4 4
A s1 0.636
sL    0.254 m  250 mm
A sL 2.5
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 115

ตองตรวจสอบปริมาณเหล็กเสริมมุมที่ไมตอเนื่อง ตองไมนอยกวาเหล็กเสริมรับโมเมนตบวกสูงสุด

รูปแสดงการตรวจสอบปริมาณการเสริมเหล็กมุม

สัมประสิทธิ์โมเมนตบวกสูงสุดคือ C 2  CS  0.074 ดังนัน้ ปริมาณเหล็กเสริมมุมจึงไมนอยกวาเหล็กดาน


สั้นคือ A s  A sS  2.801 cm 2 / m
เหล็กบนเสริมมุม
 S L 
A sdiaT  A s1   
 s L S  L s S S2  L2 
2 2

 2.50 6.00 
A sdiaT  0.636    
 0.25 2.50  6.00 0.15 2.50 2  6.00 2 
2 2

A sdiaT  4.892 cm 2 / m  A s  2.801 cm 2 / m


เหล็กลางเสริมมุม
A s1 S L 
A sdiaB    
2  s L S2  L2 s S S2  L2 
0.636  2.50 6.00 
A sdiaB    
2  0.25 2.50  6.00 0.15 2.50 2  6.00 2 
2 2

A sdiaB  2.446 cm 2 / m  A s  2.801 cm 2 / m


ดังนั้นบริเวณมุมจึงไมตองงอคอมาเสนเวนเสน แตเสริมพิเศษที่ดานบนทําใหได
A sdiaB  A sdiaT  4.892 cm 2 / m  A s  2.801 cm 2 / m

เนื่องจากเสริมเหล็กระยะ L  6.00  1.20 เมตร สองขางเกือบเต็มระยะ 2.50 เมตร ดังนัน้ เสริม


5 5
เหล็กเต็มทั้งบนและลาง
116 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

การเสริมเหล็กสองชั้นเพื่อใหเหล็กเสริมมุมพื้นริมนอกเพียงพอ

3.4 พื้นระบบตง
การออกแบบแผนพื้นบนคานนิยมใชความหนาพื้นไมเกิน 0.15 เมตร หากหนากวานี้จะทําให
น้ําหนักของพืน้ เองมากเกินไป อาจจะใชพนื้ ระบบตงที่ชว ยใหพนื้ บางลง การโกงตัวนอย ขอเสียคือแพงที่ไม
แบบ การทําความสะอาดเพดาน การแขวนดวงโคมแสงสวาง ที่ทําใหในปจจุบนั ไมเปนที่นิยม แตควรศึกษา
ไวเผื่อในกรณีจําเปนจะไดทาํ ได

รูปที่ 3.4 ขอกําหนดเกี่ยวกับแผนพืน้ ระบบตง

ขอกําหนดเกีย่ วกับพืน้ ระบบตงที่ควรทราบคือ


1. ความหนาของสวนพื้นตองมากกวาหรือเทากับ 5 ซม h1  5 cm 
2. ระยะหางระหวางศูนยกลางตงตองมากกวาหรือเทากับ 0.90 เมตร L1  0.90 m
3. ความกวางของตงตองมากกวาหรือเทากับ 0.08 เมตร b1  0.08 m 
4. เหล็กเสริมตามยาวตงตองไมเล็กกวา RB 12 mm หรือ DB 12 mm
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 117

ขั้นตอนการคํานวณออกแบบพื้นระบบตง
(1) กําหนดระยะหางตง ปกตินยิ มใช 0.75, 1.00, 1.20 หรือระยะอืน่ ๆ ก็ไดโดยพยายามแบงชวง
ใหลงพอดีระยะระหวางเสา
(2) ตัดแผนพืน้ กวาง 1.00 เมตร ในแนวตั้งฉากกับตงแลวออกแบบเปนแผนพื้นทางเดียวหรือ
แบบพื้นตอเนือ่ งก็ได เหล็กเสริมตามยาวขนานตงใหคํานวณโดยใชเหล็กกันราวคือ 0.0025bh1 คา b = 100
cm สําหรับเหล็ก SR-24 เชน RB 6 mm ใช 0.0020bh1 สําหรับเหล็ก SD-30 เชน DB 10 mm หรือ
0.0018bh1 สําหรับเหล็กตะแกรงสําเร็จรูป (wire mesh) เหล็กเสริมพื้นในทิศทางตั้งฉากตงควรอยูที่กึ่งกลาง
ความหนาพื้นเพื่อใหทําหนาที่รับแรงดึงไดทั้งกรณีรับโมเมนตบวกและรับโมเมนตลบ
(3) ออกแบบตงแบบคานตัว T หรือจะใหงายก็ออกแบบเปนคานสี่เหลี่ยมผืนผา

ตัวอยางที่ 3.4 จงออกแบบแผนพื้นขนาด 4.00  6.00 m 2 รับน้ําหนักบรรทุกจร 500 kg / m 2 กําหนด


กําลังคอนกรีต f c'  240 ksc, กําลังครากของเหล็กผิวเรียบ f y  2400 ksc กําลังครากของ
เหล็กขอออย f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตอายุ 28 วัน
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของคอนกรีต
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72
E c 15,100 f c 15,100 240
'

f y  2,400 ksc  กําลังครากของเหล็กผิวเรียบ


f s  0.5f y  0.5  2,400  1,200 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กผิวเรียบ
1 1
k
f

1,200
 0.321  พารามิเตอรแกนสะเทินกรณีเหล็กผิวเรียบ
1 s 1
nf c 8.72  65
118 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

k 0.321
j 1 1  0.893  พารามิเตอรแขนโมเมนตกรณีเหล็กผิวเรียบ
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.321  0.893  9.316 ksc  พารามิเตอรโมเมนตสมดุลกรณีเหล็กผิว
2 2
เรียบ
f y  3,000 ksc  กําลังครากของเหล็กขอออย SD-30
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหกรณีเหล็กขอออย
1 1
k   0.274  พารามิเตอรแกนสะเทินกรณีเหล็กขอออย
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909  พารามิเตอรแขนโมเมนตกรณีเหล็กขอออย
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc  พารามิเตอรโมเมนตสมดุลกรณีเหล็กขอ
2 2
ออย
w L  500 kg / m 2  น้ําหนักบรรทุกจรบนพื้น

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาและออกแบบพืน้
แบงระยะระหวางตง L1  1.00 m ขนานกับแนว 4.00 เมตร จึงได 6 ชองตามรูป ดังนั้นในพื้น
ระหวางตงจะกวาง S = 1.00 เมตร และยาว L = 4.00 เมตร อัตราสวนดานกวางตอดานยาว
S 1.00
m   0.25  0.5 แสดงวาเปนแผนพื้นทางเดียวตอเนื่องทุกดาน
L 4.00
ความหนาพื้นอยางนอย
S  f  1.00  2400 
h1   0.4  y    0 .4    0.037  0.05 m
20  7000  20  7000 
น้ําหนักพื้น w G  2400h1  2400  0.05  120 kg / m 2
น้ําหนักบรรทุกรวม w  120  500  620 kg / m 2
เปดตาราง 3.1 ไดสัมประสิทธิ์โมเมนต
ดานสั้น C1  C3  0.083, C 2  0.062 ดังนั้น CS  0.083
ดานยาว C 4  C6  0.033, C5  0.025 ดังนั้น C L  0.033
โมเมนตดัดดานสั้น
M S  Cs wS2  0.083  620  1.00 2  51.46 kg  m  5,146 kg  cm
โมเมนตดานยาว
M L  C L wS2  0.033  620  1.00 2  20.46 kg  m  2,046 kg  cm
พื้นหนา 0.05 เมตร ใหเหล็กเสริมอยูที่กึ่งกลางความหนา ดังนั้นความลึกประสิทธิผล
d  0.5h 1  0.5  5  2.5 cm
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 119

โมเมนตสมดุล
M R  Rbd 2  9.316  100  2.52  5,822.5 kg  cm  M S  M L
แสดงวาความหนา 5 ซม นั้นเพียงพอแลว คํานวณหาปริมาณเหล็กเสริม
MS 5,146
A sS    1.921 cm 2 / m
f s jd 1,200  0.893  2.5
ML 2,046
A sL    0.764 cm 2 / m
f s jd 1,200  0.893  2.5
A s ,min  0.0025bh1  0.0025  100  5.0  1.25 cm 2 / m  A sL

เลือก RB 6 mm มี A s1   d 2b    0.6 2  0.283 cm 2


4 4
เหล็กขวางตงมีระยะเรียง
A s1 0.283
sS    0.147 m
A sS 1.921
เหล็กขนานตงมีระยะเรียง
A s1 0.283
sL    0.2264 m  0.20 m
A s ,min 1.25
ออกแบบตง
4.00  3000 
ความลึกตง h  0.4    0.207 m ใช h  0.40 m  40 cm
16  7000 
h 40
ความกวางตง b1    8 cm  10 cm
5 5
น้ําหนักตงไมรวมพื้น w J  2400  0.10  0.40  0.05  84 kg / m
น้ําหนักจากพืน้ ลงตงหนึ่งตัว w S  620  1.00  620 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวม w  84  620  704 kg / m
สมมติเสริมเหล็ก 2-DB 16 mm ระยะหุม 4 ซม เหล็กลูกตั้ง RB 6 mm ความลึกประสิทธิผล
2.5
d  40  4  0.6  1.6   32.55 cm
2
ความลึกเหล็กรับแรงอัด
2.5
d'  4  0.6  1.6   7.45 cm
2
หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กรับแรงอัด
d 7.45
k 0.274 
f s'  2f s d  2  1,500  32.55  186.45 ksc
1 k 1  0.274
โมเมนตสูงสุด
1 2 1
M wL   704  4.00 2  1,251.56 kg  m  125,156 kg  cm
9 9
120 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

โมเมนตสมดุล
M R  Rbd 2  8.095  10  32.552  85,766.73 kg  cm  M
เหล็กเสริมรับแรงอัด
M  MR 125,156  85,766.73
A sc    8.42 cm 2
f s d  d' 186.45  32.55  7.45
'

เหล็กเสริมรับแรงดึง
MR M  MR 85,766.73 125,156  85,766.73
A st    
f s jd f s d  d' 1,500  0.909  32.55 1,50032.55  7.45
A st  2.979 cm 2  A sc  8.42 cm 2
ตองเพิ่มความลึกหรือลดระยะระหวางตง กรณีนี้จะใชการเพิ่มความลึก
M 125,156
d   39.32 cm
Rb 8.095  10
ความลึกประมาณ
h  d  d '  39.32  7.45  46.77  50 cm
เปลี่ยนความลึกเปน h = 50 cm ความกวางคงเดิม
w  2400  0.10  0.50  0.05  620  728 kg / m
1 2 1
M wL   728  4.00 2  1,294.22 kg  m  129,422 kg  cm
9 9
2.5
d  50  4  0.6  1.6   42.55 cm
2
d '  7.45 cm
d' 7.45
k 0.274 
f s'  2f s d  2  1500  42.55  408.73 ksc  1,500 ksc
1 k 1  0.274
M R  Rbd 2  8.095  10  42.552  146,560.1774 kg  m  M
A sc  0
M 129,422
A st    2.23 cm 2
f s jd 1,500  0.909  42.55
L   4.00 
V  w   d   728    0.4255  1,146.236 kg
2   2 
Vc  0.29 f c' bd  0.29 240  10  42.55  1,911.6 kg  V

เลือกเหล็กลูกตั้ง RB 6 mm มี A v   d 2b    0.6 2  0.565 cm 2


4 4
Avfy 0.565  2400
s   38.776 cm
3 .5 b 3.5  10
d 42.55
s   21.275 cm
2 2
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 121

s  60 cm
ใช ป-RB 6 mm @ 200 mm 

3.5 การเจาะพืน้
ในบางครั้งเราอาจจะตองเจาะพื้นเปนรูสําหรับชองแสงบริเวณหลังคาหองน้ํา หรือเจาะรูทําปลอง
ใหทอประปาและทอโสโครกผาน โดยปกติจะเจาะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ปริมาณเหล็กที่หายไปตองเสริม
ขนานขอบสี่เหลี่ยมและทแยงตรงมุมในปริมาณไมนอยกวาเหล็กที่ถูกตัดไป และตองคํานึงถึงระยะฝงของ
เหล็กใหเพียงพอดวย ขนาดเหล็กที่เสริมพิเศษไมควรใหเล็กกวา 12 mm
พิจารณารูปที่ 3.5(ก) ตองการเจาะแผนพื้นหลังคาหองน้ํา แลวมีโคมพลาสติกปดแบบโปรงแสง
เพื่อใหแสงอาทิตยกระจายในหองน้ําเปนการประหยัดพลังงานไฟฟา ขนาดรูเจาะ 0.60  0.60 เมตร ยกขอบ
หนา 0.10 เมตร โดยรอบสูง 0.60 เมตร เพือ่ ไมใหน้ําลนเขาทางรูที่เจาะตามรูปที่ 3.5(ข) จากการออกแบบได
เหล็กทางสั้น RB 9 mm @ 60 mm และเหล็กทางยาว RB 9 mm @ 90 mm ขณะกอสรางจะทําพืน้ เต็มและ
วางเหล็กตามกําหนด แลวใชกรรไกรตัดเหล็กในชวงเปดงอขึ้นตามรูปที่ 3.5(ง) สังเกตวามีการใช RB 9 mm
รัดรอบขอบใหแข็งแรงขึ้นพิจารณาขอบดานสั้นที่มีการตัดเหล็กมากที่สุด
จํานวนเสนเหล็กที่ถูกตัดดานสั้น  0.60  0.10  0.10  13.33 เสน
0.06
เนื้อที่หนาตัดเหล็ก RB 9 mm ที่หายไปจํานวน 13.33 เสนคือ
A s  13.33  0.636  8.48 cm 2

เลือกเหล็ก DB 20 mm มีเนื้อที่หนาตัดเสนละ A s1    2.0 2  3.14 cm 2 ดังนั้นตองใช


4
8.48
จํานวนเหล็ก DB 20 mm =  2.7  3  4 เสนแบงขางละ 2 เสน
3.14
จัดการเสริมเหล็กที่ขอบๆ ละ 2 เสน และทแยงมุม 2 เสนทุดมุมตามรูปที่ 3.5(จ)
พื้นทั่วๆ ไป ชางจะหนุนแบบตรงกลางใหสูงขึ้น S/300 ถึง S/250 เมื่อ S เปนความยาวดานสั้น เมื่อ
ถอดแบบแลวจะแอนลงมาจนเสมอหรือสูงกวาแนวระดับเล็กนอย แตถาเจาะรูใหยก S/150 ถึง S/100
122 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 3.5 การเสริมเหล็กพิเศษรัดรอบรูเจาะในแผนพืน้

3.6 การใชทรายถมเปนแบบพื้นชั้นลาง
ในกรณีออกแบบใหพนื้ ชั้นลางฝากบนคาน ปกติจะใชไมทําแบบพื้นแลวเปดชองสําหรับถอดแบบ
ในภายหลัง แตการสูญเสียไมแบบสูงมากบางจุดตองทิ้งไมแบบไปเลย และยังทําใหการกอสรางในชั้นที่สอง
ชาไปอีกดวยเพราะตองใชคา้ํ ยันฝากบนพืน้ ชั้นลาง ผูรับเหมาจะแกปญหาโดยการใชทรายถมราดน้ําใหชุม
บดอัดจนแนน และปูพลาสติกทําเปนแบบดังรูปที่ 3.6
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 123

รูปที่ 3.6 การใชทรายถมเปนแบบ

วิธีการนี้มีขอควรระวังที่สําคัญคือ
(1) ทรายตองราดน้ําใหชุมและบดอัดใหแนน ตรงขอบติดคานทําใหเปนรองเพื่อไมใหทราย
ขึ้นมากองบนผิวคานที่หลอคางเอาไว และน้ําที่ลางทําความสะอาดกอนเทคอนกรีตจะลงไปตามรองแลวซึม
ลงไปในทราย
(2) ตรงจุดที่จะหนุนลูกปูหรือขาไกควรราดน้าํ ปูนทิ้งไวจนแข็ง ถาใชลูกปูนวางบนพลาสติก
น้ําหนักจากเหล็กและคนงานเหยียบทําใหเหล็กจมลงชิดผิวลาง ชวงแรกที่กอสรางเสร็จใหมๆ อาจจะยังไมมี
ปญหาอะไร แตนานไปเหล็กเกิดสนิมและดินทรุดตัวจะเกิดรอยแตกราวของพื้นได
(3) ถาบดอัดทรายไมแนนพอ เมื่อเทคอนกรีต น้ําหนักคอนกรีตจะกดทรายยุบทําใหพนื้ หนา
เกินไปหรือเพิม่ น้ําหนักบรรทุกคงที่รวมทัง้ สิ้นเปลืองคอนกรีตมากขึ้น

3.7 แผนพื้นชั้นลางวางบนดินถม
พื้นอาคารที่มีอาณาเขตกวาง เชนโรงงานอุตสาหกรรม การออกแบบใหพื้นฝากบนคานจะ
สิ้นเปลืองทั้งคาน ตอมอ และฐานราก หากสภาพดินแนนพออาจจะออกแบบใหพื้นวางบนดินถมอัดแนน
ความหนาของคอนกรีตไมควรนอยกวา 0.10 เมตร เหล็กเสริม # RB 9 mm @ 250 mm จัดใหเหล็กอยู
ประมาณกึ่งกลางความหนาหรือชิดผิวบน ขอบของแผนพื้นทําใหหนาอีกสัก 0.05 เมตร ดังรูปที่ 3.7

รูปที่ 3.7 การเสริมเหล็กกับพื้นชัน้ ลางวางบนทราย


124 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ในบางครั้งที่นา้ํ หนักกดลงบนพื้นมากๆ จนพื้นทรุด อาจตองเทคอนกรีตทับหนาโดยใชตะแกรง


เหล็กวางกอน หรือถาดินถมเปนโพรงเพราะมีน้ําขัง และมีเครื่องจักรวางบนพื้นอยู ยายออกแลวจะเสียหาย
แกไขโดยใชสวานเจาะคอนกรีตขนาดเสนผานศูนยกลาง 25 มิลลิเมตรปลายเปนทังสเตนคารไบดเจาะรู
บริเวณที่ทรุดแลวใชเครื่องอัดไฮดรอลิกส อัด grouting agent แลวจึงปรับระดับพืน้ ซึ่งถาแตกตางกันไมมาก
นักใหใช nonshrink แทนคอนกรีต

รูปที่ 3.8 รายละเอียดถนนภายในบริเวณบานพักอาศัย

ในรูปที่ 3.8(ก) เปนการแสดงรายละเอียดถนนคอนกรีตสําหรับบานพักอาศัยทั่วๆ ไป ซึ่งมีเฉพาะ


รถยนตนั่งวิ่งผานเทานั้น แตถามีรถหนักขึ้นวิ่งผานควรเพิ่มความหนาเปน 0.15 หรือ 0.20 หรือ 0.25 เมตร
แลวแตความเหมาะสม ในรูปที่ 3.8(ข) เปนรายละเอียดของรอยตอระหวางผืนคอนกรีตถนน (แตละผืนไม
ควรกวาง 5.00  5.00 m ) เหล็ก RB 15 mm @ 300 mm ดานหนึ่งเสียบฝงอีกดานหนึ่งเคลือบแอสฟลตให
เลื่อนตามยาวได เหล็กนี้จะปองกันการทรุดตัวแตกตางกัน รายละเอียดการออกแบบถนนคอนกรีตอาจจะเคน
ควาเพิ่มเติมจากเรื่อง Pavement Design ในวิชา Highway Engineering
ในบางครั้งที่วศิ วกรออกแบบใหพื้นวางบนทรายตามรูปที่ 3.7 แตผูควบคุมงานอาจจะสั่งเพิ่มเติม
โดยรูเทาไมถึงการณคือ เพิ่มเหล็กยึดตามรูปที่ 3.8(ข) หรือเสียบเหล็กพื้นฝากบนคานเลย คานจะรับน้ําหนัก
พื้นซึ่งผิดจุดประสงคในการออกแบบของวิศวกร ผลที่เกิดขึ้นในภายหลังคือระบบทรุดตัว หรือคานทรุดตัว
มากเกินไปจนผนังราว

3.8 พื้นสองทางตอเนื่องกับพื้นทางเดียว

ในกรณีที่พื้นสองทางตอเนื่องกับพื้นทางเดียวเชน S2 กับ S1 ในรูปที่ 3.9(ก) โมเมนตลบที่ขอบพื้น


S2 จะถายไปตลอด S1 ดังนั้นเหล็กเสริมของ S2 ที่งอคอมาขึ้นไปรวมกับเหล็กเสริมพิเศษตองวางตลอด S1
ดวย ดังรูปที่ 3.9(ข)
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก 125

รูปที่ 3.9 แผนพื้นสองทางตอเนื่องกับแผนพื้นทางเดียว

3.9 รายละเอียดแผนพื้นสําเร็จรูป
ปจจุบันมีการใชแผนพื้นสําเร็จรูปคอนกรีตอัดแรงทั้งแบบสี่เหลี่ยมตันกวาง 0.35 เมตร หนา 0.05
เมตร หรือแบบมีรูกลวง (Hollow Core) ที่มีความกวาง 0.60 เมตร และ 1.20 เมตร ความหนา 120 mm, 150
mm, 200 mm, และ 250 mm เมื่อวางแผนพื้นสําเร็จรูปบนคานแลวจะมีการหนุนทองพื้นใหเรียบเสมอกัน
จากนั้นผูตะแกรงเหล็ก RB 6 mm @ 300 mm หรือ Wiremesh 4 mm @ 250 mm รูปที่ 3.10 เปนตัวอยางการ
เขียนรายละเอียดแผนพื้น สําหรับวิธีการออกแบบคอนกรีตอัดแรงใหศึกษาจากตําราคอนกรีตอัดแรง เชน
ของ รศ.ดร.นเรศ พันธราธร

รูปที่ 3.10 รายละเอียดพื้นสําเร็จรูป solid plank


126 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แบบฝกหัดบทที่ 3

3.1 จงออกแบบพืน้ S1, S2, S3, S4 ใหน้ําหนักบรรทุกจร 200 kg / m 2 กําลังประลัยของคอนกรีต


f c'  250 ksc, กําลังครากของเหล็กเสริม f y  2,400 ksc
3.2 จงออกแบบพืน้ S3 เปนพื้นระบบตง ใหนา้ํ หนักบรรทุกจร 800 kg / m 2 กําลังประลัยของคอนกรีต
f c'  250 ksc, กําลังครากของเหล็กเสริมพื้น f y  2,400 ksc กําลังครากของเหล็กเสริมตง
f y  3,000 ksc
4
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก
4.1 ชนิดของบันได
บันไดเปนโครงสรางที่สําคัญสําหรับเปนทางติดตอระหวางชั้นตางๆ ของอาคาร ในทีน่ ี้จะอธิบาย
สวนสําคัญของบันไดใหทราบ

รูปที่ 4.1 ชนิดของขั้นบันได

พิจารณารูปที่ 4.1(ก) ทองบันไดแบนเรียบ ความสูงของแตละขั้นเรียก ลูกตั้ง (riser) ตามกฎหมาย


หามสูงกวา 0.20 เมตร สําหรับบานพักอาศัย และ 0.19 เมตร สําหรับอาคารสาธารณะ คาทีพ่ อเหมาะคือ
0.175 เมตรจะทําใหเดินขึน้ ลงสบายที่สุด แตถาเปนโรงเรียนอนุบาลหรือบานพักคนชราควรจะเปน 0.150
เมตร โดยปกติจะทําใหขั้นบันไดยื่นตรงจมูกบันไดออกมา 2.5 เซนติเมตร เพื่อใหสวยงามและระยะทางราบ
ของบันไดมากขึ้น เทาจึงวางไดสะดวก ระยะทางราบจากจมูกบันไดถึงจมูกบันไดหรือจากสวนลึกถึงสวน
ลึกของขั้นบันไดเรียก ลูกนอน (tread) ซึ่งตามกฎหมายตองไมนอยกวา 0.22 เมตร สําหรับบานพักอาศัย และ
0.24 เมตร สําหรับอาคารสาธารณะ คาที่ทาํ ใหเดินสบายคือ 0.25 เมตร (ที่รวมจมูกบันไดจะเปน 27.5 ซม)
หรือระยะ 0.275 เมตร (ที่รวมจมูกบันไดจะเปน 30 ซม) หากกวางเกินไปจะกาวลําบาก ความชันของบันได
หาไดจาก
128 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ลูกตั้ง
ความชันบันได  tan  
ลูกนอน

บันไดจะมีลักษณะของแผนพื้นทางเดียว ดังนั้นการหาความหนาของบันไดจึงหาเหมือนแผนพืน้ ทางเดียว


เทานั้น ตัวขั้นบันไดเปนน้ําหนักบรรทุกฝากบนพื้นทางเดียวนี่เอง
จากรูปที่ 4.1(ข) ขั้นบันไดจะหยักทั้งดานบนและดานลางคลายผาที่พับแบบซิกแซ็ก จึงเรียกวา
บันไดพับผา ระยะตางๆ เหมือนบันไดทองแบนเวนแตความหนา t ตองพิจารณาทั้งทางตั้งและทางนอน
ปจจุบันไมคอยนิยมบันไดชนิดนี้เพราะทําเหล็กยากและหยากไยเกาะตามทองบันไดทําความสะอาดลําบาก

รูปที่ 4.2 ชนิดของบันได

พิจารณารูปที่ 4.2(ก) เปนบันไดที่มแี มบันไดอยูสองขางขนานขอบบันได นิยมใชกับบันไดที่มีราว


บันได ค.ส.ล. หรือวัสดุหนักอื่นตามขอบ เชน บันไดโบสถ ศาลาการเปรียญ รูปที่ 4.2(ข) เปนบันไดที่พาด
บนคานหัวทาย ถือเปนแผนพื้นทางเดียวชวงเดียวซึ่งงายทั้งการออกแบบและการกอสราง แตระยะหาง
ระหวางคานไมควรจะมากเกินไป (ไมควรจะเกิน 4.50 เมตร) รูปที่ 4.2(ค) เปนบันไดที่พาดบนคานถึงสี่คาน
จึงเปนแผนพืน้ ทางเดียวตอเนื่อง ความหนาของบันไดไมมากนัก แตการวิเคราะหพื้นตอเนื่องอาจจะยุงยาก
เล็กนอย รูปที่ 4.2(ง) เปนบันไดที่ยนื่ จากคานซึ่งฝงในผนังหนา โดยออกแบบขั้นบันไดเปนคานยื่นจากคานที่
ฝงในผนัง โมเมนตดัดในขัน้ บันไดแปรเปนโมเมนตบดิ ในคาน รูปที่ 4.2(จ) เปนบันไดที่มีคานขนาดใหญ
ตรงกลางโดยขั้นบันไดไปเกาะอยู กรณีนี้อาจจะตองพิจารณากรณีน้ําหนักบรรทุกจรไปอยูขางใดขางหนึ่งทํา
ใหเกิดโมเมนตบิดในคานกลางนั้น รูปที่ 4.2(ฉ) เปนบันไดเวียนทองแบน การออกแบบตองคํานึงถึงแรง
เฉือน โมเมนตดัด โมเมนตบดิ บันไดเวียนอาจจะเปนคานกลางแลวมีขนั้ บันไดเกาะทีค่ านอีกที
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 129

กฎหมายกําหนดใหความสูงชวงที่มีขั้นบันไดจากพื้นถึงพื้น พืน้ ถึงชานพัก ชานพักถึงชานพัก และ


ชานพักถึงพื้น ตองไมเกิน 3.00 เมตรในบานพักอาศัย และไมเกิน 4.00 เมตร สําหรับอาคารสาธารณะ ทั้งนี้
เพื่อความปลอดภัยในกรณีทมี่ ีการพลัดตกบันไดก็จะมีชว งความสูงในการตกไมมากเกินไป

4.2 บันไดแบบมีคานรับที่ปลาย
เปนแผนพืน้ ทางเดียว การประมาณความหนาเหมือนเปนพื้นทางเดียวทุกประการ น้าํ หนักบรรทุก
จรสําหรับบันไดบานพักอาศัย 300 kg / m 2 ถาเปนอาคารอื่นนอกจากอาคารสรรพสินคา 400 kg / m 2
และสําหรับหางสรรพสินคา 500 kg / m 2 ในการพิจารณาจะตัดบันไดกวาง 1.00 เมตร

รูปที่ 4.3 การคํานวณน้ําหนักของบันไดแบบทองเรียบและพับผา

พิจารณารูปที่ 4.3(ก) บันไดทองเรียบมีคานรับที่ปลาย ตัดบันไดมาพิจารณาหนึ่งขัน้ ตามรูป


h h b
tan   , sin   , cos  
b b h
2 2
b  h2
2

เนื้อที่หนาตัดสวนที่แรเงา
A
1
b  0.025h  bt
2 cos 
A  b  0.025h  t b 2  h 2
1
2
130 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักของขั้นบันไดกวาง 1.00 เมตร คือ


w 1  2400 
1
b  0.025h  2400t b 2  h 2
2
น้ําหนักของบันไดตอหนวยความยาว

w 1 1200b  0.025h  2400 t b 2  h 2


wD   kg/m (4.1)
b b

น้ําหนักของบันไดในสวนของชานพักที่หนา t เทากับบันไดนัน้

w D  2400 t (4.2)

ทั้งนี้หนวยของ b, h, t ตองเปนเมตรทั้งหมด
น้ําหนักบรรทุกจร w L  300 kg / m 2 ,400 kg / m 2 ,500 kg / m 2 ตามชนิดของอาคาร ดังนั้น
น้ําหนักบรรทุกรวมคือ

w  wD  wL (4.3)

ในการออกแบบบันไดอาจจะคํานวณจากน้ําหนักบรรทุกที่แยกสวนบริเวณชานพักกับบริเวณขั้นบันได หรือ
อาจจะประมาณน้ําหนักบรรทุกคงที่ตามสมการ (4.1) กระจายเต็มชวง L ของบันไดทําใหไดโมเมนตดัด
สูงสุดมากกวาจริงไปบางแตก็ตองออกแบบใหปลอดภัยมากขึ้น
การออกแบบบันไดเหมือนออกแบบพื้นทางเดียวที่ตองออกแบบใหตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึง
นั่นคือโมเมนตดัดสูงสุดที่เกิดขึ้นตองไมเกินคาโมเมนตสมดุล ระยะหุม ของคอนกรีตใช 2 cm เชนเดียวกับ
พื้น ถา d b เปนเสนผานศูนยกลางเหล็กเสริมเอกในหนวย cm
ความหนาของบันไดอยางนอย
L f 
t  0.4  y   10 cm
20  7000 
ความลึกประสิทธิผล
db
d  t2
2
โมเมนตดัดสูงสุดกรณีเปนพืน้ ชวงเดียว
wL2
M
8
ทราบกําลังคอนกรีต f c' กําลังครากเหล็กเสริม f y หาพารามิเตอรตางๆ ดังนี้
f c  0.375f c'  65 ksc
f s  0.5f y  1200 ksc ในกรณีเหล็กผิวเรียบ SR-24
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 131

f s  0.5f y  1500 ksc ในกรณีเหล็กขอออย SD-30


f s  0.5f y  1700 ksc ในกรณีเหล็กขอออย SD-40
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน ทศนิยมสามตําแหนง
E c 15,100 f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน ทศนิยมสามตําแหนง
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต ทศนิยมสามตําแหนง
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล ทศนิยมสามตําแหนง
2
โมเมนตดัดสมดุล

M R  Rbd 2  100Rd 2

ถาพบวา M  M R แสดงวาเลือกความหนานอยไปใหประมาณความหนาประสิทธิผลใหม

M M
d 
Rb 100R
d
t  d  2  b เพิ่มความอีกเล็กนอยใหเปนจํานวนเต็ม
2

เมื่อคํานวณแลว M  M R คํานวณหาเนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึงที่ตองการ
M
As  cm 2 / m
f s jd

ใหเนื้อทีห่ นาตัดเหล็กหนึ่งเสน A s1   d 2b ระยะเรียงของเหล็กเสริมเอก


4

A s1
s ปรับระยะใหเปนคาที่กอสรางไดสะดวกและไมเกิน 3t
As

เนื้อที่หนาตัดเหล็กทางขวางบันไดเปนเหล็กกันราว
A s  0.0025bt  0.25t เมื่อเปนเหล็กผิวเรียบ SR-24
A s  0.0020bt  0.20t เมื่อเปนเหล็กขอออย SD-30
A s  0.0018bt  0.18t เมื่อเปนเหล็กขอออย SD-40
132 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ใหเนื้อทีห่ นาตัดเหล็กหนึ่งเสน A s1   d 2b ระยะเรียงของเหล็กกันราว


4
A
s t  s1 ปรับระยะใหเปนคาที่กอสรางไดสะดวกและไมเกิน 3t
As
รูปที่ 4.3(ข) เปนบันไดพับผามีคานรับที่ปลาย ตัดบันไดมาพิจารณา 1 ขั้น ตามรูป จะได
h h b
tan   , sin   , cos  
b b2  h 2 b2  h 2
เนื้อที่หนาตัดสวนที่แรเงา
 t 
A  h  t b  0.025  h  b  0.025  
 cos  
b2  h 2
A  hb  0.025h  tb  0.025t  hb  0.025h  ht 
b
2
h
A  tb  0.025t  ht 1   
b
  h  
2

A  t b  0.025  h 1   
  b  

น้ําหนักขั้นบันไดกวาง 1.00 เมตร คือ
  h  
2

w D  2400A  2400t b  0.025  h 1   
  b  

น้ําหนักของบันไดตอหนวยความยาวคือ
t  
2
w1 h 
wD   2400 b  0.025  h 1   
 
(4.4)
b b
 b 
น้ําหนักของบันไดในสวนของชานพักที่หนา t เทากับบันไดนัน้

w D  2400 t (4.5)

ทั้งนี้หนวยของ b, h, t ตองเปนเมตรทั้งหมด
น้ําหนักบรรทุกจร w L  300 kg / m 2 ,400 kg / m 2 ,500 kg / m 2 ตามชนิดของอาคาร ดังนั้น
น้ําหนักบรรทุกรวมคือ

w  wD  wL (4.6)

ในการออกแบบบันไดอาจจะคํานวณจากน้ําหนักบรรทุกที่แยกสวนบริเวณชานพักกับบริเวณขั้นบันได หรือ
อาจจะประมาณน้ําหนักบรรทุกคงที่ตามสมการ (4.1) กระจายเต็มชวง L ของบันไดทําใหไดโมเมนตดัด
สูงสุดมากกวาจริงไปบางแตก็ตองออกแบบใหปลอดภัยมากขึ้น
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 133

การออกแบบบันไดเหมือนออกแบบพื้นทางเดียวที่ตองออกแบบใหตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึง
นั่นคือโมเมนตดัดสูงสุดที่เกิดขึ้นตองไมเกินคาโมเมนตสมดุล ระยะหุม ของคอนกรีตใช 2 cm เชนเดียวกับ
พื้น ถา d b เปนเสนผานศูนยกลางเหล็กเสริมเอกในหนวย cm
ความหนาของบันไดอยางนอย
L f 
t  0.4  y   10 cm
20  7000 
ความลึกประสิทธิผล
db
d  t2
2
โมเมนตดัดสูงสุดกรณีเปนพืน้ ชวงเดียว
wL2
M
8
ทราบกําลังคอนกรีต f c' กําลังครากเหล็กเสริม f y หาพารามิเตอรตางๆ ดังนี้
f c  0.375f c'  65 ksc
f s  0.5f y  1200 ksc ในกรณีเหล็กผิวเรียบ SR-24
f s  0.5f y  1500 ksc ในกรณีเหล็กขอออย SD-30
f s  0.5f y  1700 ksc ในกรณีเหล็กขอออย SD-40
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน ทศนิยมสามตําแหนง
E c 15,100 f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน ทศนิยมสามตําแหนง
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต ทศนิยมสามตําแหนง
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล ทศนิยมสามตําแหนง
2
โมเมนตดัดสมดุล

M R  Rbd 2  100Rd 2

ถาพบวา M  M R แสดงวาเลือกความหนานอยไปใหประมาณความหนาประสิทธิผลใหม

M M
d 
Rb 100R
d
t  d  2  b เพิ่มความอีกเล็กนอยใหเปนจํานวนเต็ม
2
134 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เมื่อคํานวณแลว M  M R คํานวณหาเนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึงที่ตองการ
M
As  cm 2 / m
f s jd

ใหเนื้อทีห่ นาตัดเหล็กหนึ่งเสน A s1   d 2b ระยะเรียงของเหล็กเสริมเอก


4

A s1
s ปรับระยะใหเปนคาที่กอสรางไดสะดวกและไมเกิน 3t
As

การเสริมเหล็กเสริมเอกนั้นตองมวนเพื่อปองกันแตก
เนื้อที่หนาตัดเหล็กทางขวางบันไดเปนเหล็กกันราว
A s  0.0025bt  0.25t เมื่อเปนเหล็กผิวเรียบ SR-24
A s  0.0020bt  0.20t เมื่อเปนเหล็กขอออย SD-30
A s  0.0018bt  0.18t เมื่อเปนเหล็กขอออย SD-40
เหล็กทางขวางตองเปน RB 9 mm ที่เสริมตรงมุมและตรงมวน หากปริมาณไมเพียงพอใหเสริมระหวางขั้น
ดวย

ขั้นตอนการออกแบบบันไดชนิดวางพาดที่ปลายทั้งสองขาง

ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  กําลังอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริม, ksc
f c  0.375f c'  65 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  1,200 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็ก SR-24
f s  0.5f y  1,500 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็ก SD-30
f s  0.5f y  1,700 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็ก SD-40
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน ทศนิยมสองตําแหนง
E c 15,100 f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน
f
1 s
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล, ksc
2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 135

H ความสูงระหวางชั้นที่ตองการออกแบบ, เมตร
h  ความสูงของลูกตั้ง ตองไมเกิน 0.20 เมตรในบานพักอาศัย ไมเกิน 0.19 เมตร ในอาคาร
สาธารณะ แตคาแนะนําคือ 0.175 เมตร
b  ระยะลูกนอน ตองไมนอยกวา 0.22 เมตร ในบานพักอาศัย ไมนอยกวา 0.24 เมตร ในอาคาร
สาธารณะ แตคาแนะนําคือ 0.25 เมตร
L  ระยะหางระหวางคานที่รองรับปลายบันได, เมตร
H
N1   จํานวนขั้นลูกตั้งระหวางชั้นลางกับชั้นบน ปดขึ้นเปนจํานวนเต็มควรเปนเลขคู
h
H
h  ความสูงลูกตั้งที่จะใชจริง
N1
ในกรณีบานพักอาศัย หาก H > 3.00 เมตร จะตองมีชานพักเพื่อแบงชวงความสูงใหไมเกิน 3.00
เมตร และในกรณีอาคารสาธารณะ หาก H > 4.00 เมตร ตองมีชานพักเพื่อแบงชวงความสูงใหไมเกิน 4.00
เมตร เชนในกรณีบานพักอาศัยที่มีความสูงจากชั้นลางถึงชั้นบน H = 3.50 เมตร มากกวา 3.00 เมตร จะตองมี
ชานพัก 1 ชานพักและคาดวาตองใชความสูงลูกตั้ง h = 0.18 เมตร ดังนั้นจํานวนขั้นลูกตั้งจากชัน้ ลางถึงชั้น
บน
H 3.50
N1    19.44  20 ขั้น
0.18 0.18
ดังนั้นเมื่อใชชานพักแบงครึ่งความสูง จํานวนขั้นบันไดจากชั้นลางถึงชานพัก และจากชานพักถึงชัน้ บนชวง
ละ 10 ขั้น ถาระยะระหวางคานที่ปลายบันได L  3.50 m ถาระยะลูกนอน b  0.25 m ดังนั้นความ
กวางของชานพัก
L1  3.50  10  1  0.25  1.25 m

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาของบันได และคํานวณออกแบบ


L f 
ความหนาขัน้ ต่ํา t  0.4  y   0.10 m เลือกความหนาที่จะใช ระยะหุม 2 cm ขนาดเหล็ก
20  7000 
เสริมที่จะใช d b ความลึกประสิทธิผล
db
d  t2
2
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดทองเรียบ
1200b  0.025h  2400 t b2  h 2
w D kg / m
b
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดพับผา
t 
2
h
w D  2400  b  0.025  h 1     kg / m
b b 
 
136 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกจร w L  300 kg / m สําหรับบันไดบานพักอาศัย w L  400 kg / m สําหรับ


อาคารอื่นที่ไมใชหางสรรพสินคา w L  500 kg / m สําหรับหางสรรพสินคา
หาน้ําหนักบรรทุกรวม
w  wD  wL
โมเมนตดัดสูงสุด
wL2
M kg  m
8
โมเมนตสมดุล
M R  Rbd 2  100Rd 2 kg  cm
ตรวจสอบถาพบวา M  M R แสดงวาบันไดบางเกินไป ใหประมาณใหมโดย
M M
d 
Rb 100R
d
t d2 b
2
แลวยอนกลับไปหาน้ําหนักบรรทุกมาใหม จนกวา M  M R แลวหาปริมาณเหล็กเสริม
M
As 
f s jd
หาระยะเรียงของเหล็กเสริม เมื่อเนื้อที่เหล็กหนึ่งเสน
 2
A s1  db
4
ระยะเรียงเหล็กเสริมเอก
A s1
s
As
ปริมาณเหล็กทางขวาง
A sL  0.0025bt สําหรับเหล็ก SR-24
A sL  0.0020bt สําหรับเหล็ก SD-30
A sL  0.0018bt สําหรับเหล็ก SD-40
หาระยะเรียงของเหล็กเสริม เมื่อเนื้อที่เหล็กหนึ่งเสน
 2
A s1  db
4
ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
A s1
s1 
A sL
ขั้นตอนที่ 3 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 137

ตัวอยางที่ 4.1 จงออกแบบบันได ใหปลองบันไดขนาด 3.00  4.50 ความสูงระหวางชัน้ 4.00 เมตร อาคาร
สํานักงาน ใหออกแบบทั้งบันไดทองเรียบและบันไดพับผา

ตัวอยาง 4.1 บันไดพาดกับคานที่ปลายทัง้ สองขาง

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีต กําหนดเอง
f y  3000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม กําหนดใชเหล็ก SD-30
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc  หนวยแรงอัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กเสริม
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72  อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
E c 15,100 f c' 15,100 240
1 1
k   0.274  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909  พารามิเตอรแขนโมเมนต
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2 2
H  4.00 m  ความสูงระหวางชั้น อาคารสาธารณะแมจะอยูในชวงทีก ่ ฎหมายกําหนดไมตองมี
ชานพัก แตจะจัดใหมีชานพัก 1 ชานพักเพือ่ ลดชวงความยาว และใชสอยไดสะดวก
h  0.19 m  ระยะลูกตั้งตามกฎหมายตองไมเกินคานี้ แตคาดวาจะใช 0.18 เมตร
b  0.24 m  ระยะลูกนอนตามกฎหมายตองไมนอยกวาคานี้ คาดวาจะใช 0.25 เมตร
L  4.50 m  ระยะความยาวของบันได
H 4.00
N1    21.05  22 ขั้น แบงครึ่งสําหรับแตละฟากของชวงชานพัก
h 0.19
N1 22
  11 ขั้น ใหขนาดลูกนอน b = 0.25 เมตร
2 2
138 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ความยาวทางราบในชวงขัน้ บันได
 11  1  0.25  2.50 m
บันไดชวงขึ้นและลงจากชานพักจะไมตรงแนบพอดี ตองมีชองวางเล็กนอย แตอยางนอยตอง 0.10 เมตร
ความกวางของบันไดจึงเปน
3.00  0.10
  1.45 m
2
กฎหมายกําหนดใหความกวางของชานพักตองไมนอยกวาความกวางของบันได ดังนัน้ ความยาวชวง
ขั้นบันไดกับชานพักดวยกันเทากับ
 2.50  1.45  3.95 m
เนื่องจากชวงยาวของบันได L = 4.50 m จึงเหลือสวนบันไดคลายชานพักเปนระยะ
 4.50  3.95  0.55 m
ระยะลูกตั้งที่ใชจริง
4.00
h  0.1818  0.182 m
22

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาของบันได และคํานวณออกแบบ


ความหนาขัน้ ต่ํา
L f  4.50  3000 
t  0.4  y    0 .4    0.186  0.20 m
20  7000  20  7000 
ความลึกประสิทธิผล โดยใหระยะหุม 2 cm ขนาดเหล็กเสริม d b  16 mm
1.6
d  20  2   17.2 cm
2
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดทองเรียบ
1200b  0.025h  2400 t b2  h 2
w  D
b
1200  0.25  0.025  0.182  2400  0.20  0.25 2  0.182 2
wD 
0.25
w D  833.96  834 kg / m
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดพับผา
t h 
2

w D  2400  b  0.025  h 1    
b  b  

0.20   0.182  
2

w D  2400   0.25  0.025  0.182  1   


0.25   0.25  

w D  960.23  961 kg / m
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 139

บันไดนีใ้ ชในอาคารสํานักงาน ดังนั้นน้ําหนักบรรทุกจรจึงเปน


w L  400 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวมกรณีบันไดทองเรียบ
w  w D  w L  834  400  1234 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวมกรณีบันไดพับผา
w  w D  w L  961  400  1361 kg / m
โมเมนตดัดสูงสุดกรณีบันไดทองเรียบ
wL2 1,234  4.50 2
M   3,123.5625 kg  m  312,356.25 kg  cm
8 8
โมเมนตดัดสูงสุดกรณีบันไดพับผา
wL2 1,361  4.50 2
M   3,445.03125 kg  m  344,503.125 kg  cm
8 8
โมเมนตสมดุลของบันไดหนา 0.20 เมตร
M R  Rbd 2  8.095  100  17.2 2  239,482.48 kg  cm  M  344,503.125
พบวาความหนา 0.20 เมตร ยังไมเพียงพอดังนั้นประมาณความหนาใหม
M 344,503.125
d   20.63 cm
Rb 8.095  100
d 1.6
t  d  2  b  20.63  2   23.4  27 cm
2 2
d 1.6
d  t  2  b  27  2   24.2 cm
2 2
ที่จริงไดทดลองความหนาหลายคาจนใชไดเมื่อความหนา 27 cm
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดทองเรียบ
1200b  0.025h  2400 t b 2  h 2
w 
D
b
1200  0.25  0.025  0.182  2400  0.27  0.252  0.182 2
wD 
0.25
w D  1041.8  1042 kg / m
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดพับผา
t h 
2

w D  2400  b  0.025  h 1    
b  b  

0.27   0.182  
2

w D  2400   0.25  0.025  0.182  1   


0.25   0.25  
 
w D  1296.3  1,297 kg / m
140 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

บันไดนีใ้ ชในอาคารสํานักงาน ดังนั้นน้ําหนักบรรทุกจรจึงเปน


w L  400 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวมกรณีบันไดทองเรียบ
w  w D  w L  1,042  400  1,442 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวมกรณีบันไดพับผา
w  w D  w L  1,297  400  1,697 kg / m
โมเมนตดัดสูงสุดกรณีบันไดทองเรียบ
wL2 1,442  4.50 2
M   3,650.0625 kg  m  365,006.25 kg  cm
8 8
โมเมนตดัดสูงสุดกรณีบันไดพับผา
wL2 1,697  4.50 2
M   4,295.53125 kg  m  429,553.125 kg  cm
8 8
โมเมนตสมดุลของบันไดหนา 0.27 เมตร
M R  Rbd 2  8.095  100  24.2 2  474,075.58 kg  cm  M  429,553.125
หาปริมาณเหล็กเสริมที่ตองใชสําหรับบันไดชนิดทองเรียบ
M 365,006.25
As    11.062 cm 2 / m
f s jd 1,500  0.909  24.2
หาปริมาณเหล็กเสริมที่ตองใชสําหรับบันไดชนิดพับผา
M 429,553.125
As    13.018 cm 2 / m
f s jd 1,500  0.909  24.2
เหล็ก DB 16 mm มีเนื้อที่หนาตัดเสนละ
 2 
A s1  d b   1.6 2  2.01 cm 2
4 4
ระยะเรียงของเหล็กสําหรับบันไดทองเรียบ
A s1 2.01
s   0.1817 m  0.18 m
A s 11.062
ระยะเรียงของเหล็กสําหรับบันไดพับผา
A s1 2.01
s   0.1544 m  0.15 m
A s 13.018
เหล็กทางขวางเปนเหล็กกันราว และใช RB 9 mm เปนเหล็กชนิด SR-24 ดังนั้น
A stemp  0.0025bt  0.0025  100  27  6.75 cm 2 / m
เหล็ก RB 9 mm มีเนื้อที่หนาตัดเสนละ
 2 
A s1  d b   0.9 2  0.636 cm 2
4 4
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 141

ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
A s1 0.636
s   0.0942 m  0.09 m
A stemp 6.75
เหล็ก DB 12 mm มีเนื้อที่หนาตัดเสนละ
 2 
A s1  d b   1.2 2  1.131 cm 2
4 4
ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
A s1 1.131
s   0.1676 m  0.15 m
A stemp 6.75

ขั้นตอนที่ 3 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก

บันไดแบบทองเรียบ
142 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

บันไดแบบพับผา

ตัวอยางที่ 4.2 จงออกแบบบันได ใหปลองบันไดขนาด 3.00  6.00 ความสูงระหวางชั้น 4.00 เมตร มีคาน
รองรับที่ชานพักรวมคานทีป่ ลายดวยเปนสี่คาน ชนิดอาคารสํานักงาน ใหออกแบบทั้งบันไดทอง
เรียบและบันไดพับผา

ตัวอยางที่ 4.2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 143

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีต กําหนดเอง
f y  3000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม กําหนดใชเหล็ก SD-30
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc  หนวยแรงอัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กเสริม
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72  อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
E c 15,100 f c 15,100 240
'

1 1
k   0.274  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs 1,500
1  1 
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909  พารามิเตอรแขนโมเมนต
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2 2
H  4.00 m  ความสูงระหวางชั้น อาคารสาธารณะแมจะอยูในชวงทีก ่ ฎหมายกําหนดไมตองมี
ชานพัก แตจะจัดใหมีชานพัก 1 ชานพักเพือ่ ลดชวงความยาว และใชสอยไดสะดวก
h  0.19 m  ระยะลูกตั้งตามกฎหมายตองไมเกินคานี้ แตคาดวาจะใช 0.18 เมตร
b  0.24 m  ระยะลูกนอนตามกฎหมายตองไมนอยกวาคานี้ คาดวาจะใช 0.25 เมตร
H 4.00
N1    21.05  22 ขั้น แบงครึ่งสําหรับแตละฟากของชวงชานพัก
h 0.19
N1 22
  11 ขั้น ใหขนาดลูกนอน b = 0.25 เมตร
2 2
ความยาวทางราบในชวงขัน้ บันได ซึ่งเปนความยาวชวงกลาง
L 2  11  0.25  2.75 m
บันไดชวงขึ้นและลงจากชานพักจะไมตรงแนบพอดี ตองมีชองวางเล็กนอย แตอยางนอยตอง 0.10 เมตร
ความกวางของบันไดจึงเปน
3.00  0.10
  1.45 m
2
กฎหมายกําหนดใหความกวางของชานพักตองไมนอยกวาความกวางของบันได ใหมีชานพักทั้งสองปลาย
ดังนั้นความกวางของชานพักคือ
6.00  2.75
L1   1.625 m
2
ระยะลูกตั้งที่ใชจริง
4.00
h  0.1818  0.182 m
22
144 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณความหนาของบันได และคํานวณออกแบบ


ความหนาขัน้ ต่ํา
L f  2.75  3000 
t  0.4  y    0 .4    0.114  0.15 m
20  7000  20  7000 
ความลึกประสิทธิผล โดยใหระยะหุม 2 cm ขนาดเหล็กเสริม d b  12 mm
1.2
d  15  2   12.4 cm
2
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดทองเรียบ
1200b  0.025h  2400 t b2  h 2
w 
D
b
1200  0.25  0.025  0.182  2400  0.15  0.252  0.182 2
wD 
0.25
w D  685.5  686 kg / m
น้ําหนักบรรทุกคงที่ของบันไดพับผา
t   h  
2

w D  2400 b  0.025  h 1   
b  b  

0.15   0.182  
2

w D  2400   0.25  0.025  0.182  1   


0.25   0.25  
 
w D  720.17  721 kg / m

น้ําหนักบรรทุกคงที่ในสวนของชานพัก
w D  2400 t  2400  0.15  360 kg / m
บันไดนีใ้ ชในอาคารสํานักงาน ดังนั้นน้ําหนักบรรทุกจรจึงเปน
w L  400 kg / m
ให w 1 เปนน้ําหนักในสวนของชานพัก และ w 2 เปนน้ําหนักในสวนของขั้นบันได
น้ําหนักบรรทุกบนบันไดทองเรียบ
w 1  360  400  760 kg / m
w 2  686  400  1,086 kg / m

น้ําหนักบรรทุกบนบันไดพับผา
w 1  360  400  760 kg / m
w 2  721  400  1,121 kg / m
ทําการวิเคราะหบันไดเหมือนเปนคานตอเนื่อง ใหคานทั้งสี่เปนจุดรองรับแบบคมมีดเรียง A, B, C, D จาก
ซายไปขวา ใชวิธี Slope-deflection ที่ไดผลการวิเคราะหที่แมนตรงกวาวิธี Moment distribution
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 145

หาโมเมนตทปี่ ลายยึดแนน ตามเข็มนาฬิกาเปนบวก ทวนเข็มนาฬิกาเปนลบ


ชวง AB
wL2 760  1.625 2
FEM AB     167.2395833
12 12
wL2 760  1.6252
FEM BA    167.2395833
12 12
ชวง BC กรณีบันไดทองเรียบ
wL2 1,086  2.752
FEM BC    684.40625
12 12
wL2 1,086  2.752
FEM CB    684.40625
12 12
ชวง BC กรณีบันไดพับผา
wL2 1,121  2.75 2
FEM BC    706.4635417
12 12
wL2 1,121  2.75 2
FEM CB    706.4635417
12 12
และชวง CD
wL2 760  1.6252
FEM CD     167.2395833
12 12
wL2 760  1.6252
FEM DC    167.2395833
12 12
เขียนสมการ slope-deflection
M NF 
2EI
2 N  F  3 NF   FEM NF
L
ชวง AB
M AB 
2EI
2A  B  3  0  167.2395833
1.625
4EI A 2EI B
M AB    167.2395833
1.625 1.625
M BA 
2EI
2B  A  3  0  167.2395833
1.625
2EI A 4EI B
M BA    167.2395833
1.625 1.625
ชวง BC ทองเรียบ
M BC 
2EI
2B  C  3  0  684.40625
2.75
4EI B 2EIC
M BC    684.40625
2.75 2.75
146 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

M CB 
2EI
2C  B  3  0  684.40625
2.75
2EI B 4EIC
M CB    684.40625
2.75 2.75
ชวง BC พับผา
M BC 
2EI
2B  C  3  0  706.4635417
2.75
4EI B 2EIC
M BC    706.4635417
2.75 2.75
M CB 
2EI
2C  B  3  0  706.4635417
2.75
2EI B 4EIC
M CB    706.4635417
2.75 2.75
ชวง CD
M CD 
2EI
2C  D  3  0   167.2395833
1.625
4EIC 2EI D
M CD    167.2395833
1.625 1.625
M DC 
2EI
2D  C  3  0   167.2395833
1.625
2EIC 4EI D
M DC    167.2395833
1.625 1.625
พิจารณาสมการสมดุล
ที่จุด A M AB  0 .......................................................(1)
ที่จุด B M BA  M BC  0 .......................................................(2)
ที่จุด C M CB  M CD  0 .......................................................(3)
ที่จุด D M DC  0 ........................................................(4)
แทนคาจากสมการ slope-deflection
4EI A 2EI B
จากสมการ (1) M AB    167.2395833  0
1.625 1.625
2EI A  EI B  135.8821614 ...........................(1)
จากสมการ (2) แบบทองเรียบ
2EI A 4EI B 4EI B 2EIC
  167.2395833    684.40625  0
1.625 1.625 2.75 2.75
2EI A 4EI B 4EI B 2EIC
    517.1666667
1.625 1.625 2.75 2.75
คูณตลอดดวย 1.625  2.75
5.5EI A  11EI B  6.5EI B  3.25EIC  2311.088542
5.5EI A  17.5EI B  3.25EIC  2311.088542 ..........................(2)
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 147

จากสมการ (2) แบบพับผา


2EI A 4EI B 4EI B 2EIC
  167.2395833    706.4635417  0
1.625 1.625 2.75 2.75
2EI A 4EI B 4EI B 2EIC
    539.2239584
1.625 1.625 2.75 2.75
คูณตลอดดวย 1.625  2.75
5.5EI A  11EI B  6.5EI B  3.25EIC  2409.657064
5.5EI A  17.5EI B  3.25EIC  2409.657064 ..........................(2)
จากสมการ (3) แบบทองเรียบ
2EI B 4EIC 4EIC 2EI D
  684.40625    167.2395833  0
2.75 2.75 1.625 1.625
2EI B 4EIC 4EIC 2EI D
    517.1666667
2.75 2.75 1.625 1.625
คูณตลอดดวย 1.625  2.75
3.25EI B  6.5EIC  11EIC  5.5EI D  2311.088542
3.25EI B  17.5EIC  5.5EI D  2311.088542 …………………(3)
จากสมการ (3) แบบพับผา
2EI B 4EIC 4EIC 2EI D
  706.40625    167.2395833  0
2.75 2.75 1.625 1.625
2EI B 4EIC 4EIC 2EI D
    539.2239584
2.75 2.75 1.625 1.625
คูณตลอดดวย 1.625  2.75
3.25EI B  6.5EIC  11EIC  5.5EI D  2409.657064
3.25EI B  17.5EIC  5.5EI D  2409.657064 …………………(3)
จากสมการ (4)
2EIC 4EI D
M DC    167.2395833  0
1.625 1.625
2EIC 4EI D
  167.2395883
1.625 1.625
คูณตลอดดวย 1.625
EIC  2EI D  135.8821655 ..................................(4)
148 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รวมสมการ (1) ถึง (4) สําหรับทองเรียบ


2EI A  EI B  135.8821614 ...........................(1)
5.5EI A  17.5EI B  3.25EIC  2311.088542 ..........................(2)
3.25EI B  17.5EIC  5.5EI D  2311.088542 …………………(3)
EIC  2EI D  135.8821655 ..................................(4)
แกสมการวิธี Gauss-Jordan Elimination กําจัดเทอมใตแนวทแยง
สมการ (1) คงเดิม สมการ (2) เกิดจาก 5.51  22 สมการ (3) คงเดิม และสมการ (4) คงเดิม
2EI A  EI B  135.8821614 ...........................(1)
 29.5EI B  6.5EIC  3874.825196 ..........................(2)
3.25EI B  17.5EIC  5.5EI D  2311.088542 …………………(3)
EIC  2EI D  135.8821655 ..................................(4)
สมการ (1) และ (2) คงเดิม สมการ (3) เกิดจาก 3.252  29.53 สมการ (4) คงเดิม
2EI A  EI B  135.8821614 ...........................(1)
 29.5EI B  6.5EIC  3874.825196 ..........................(2)
495.125EIC  162.25EI D  80770.29388 …………………(3)
EIC  2EI D  135.8821655 ..................................(4)
สมการ (1) สมการ (2) และสมการ (3) คงเดิม สมการ (4) เกิดจาก 3  495.1254
2EI A  EI B  135.8821614 ...........................(1)
 29.5EI B  6.5EIC  3874.825196 ..........................(2)
495.125EIC  162.25EI D  80770.29388 …………………(3)
 828EI D  13491.63668 ..................................(4)
จากสมการ (4)
 13491.63668
EI D   16.2942472
 828
จากสมการ (3)
 80770.29388  162.25  16.2942472
EIC   168.4706599
495.125
จากสมการ (2)
 3874.825196  6.5 168.4706599
EI B   168.4706605
 29.5
จากสมการ (1)
135.8821614  168.4706605
EI A   16.29424956
2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 149

แทนคาในสมการ slope-deflection
4EI A 2EI B
M AB    167.2395833
1.625 1.625
4 16.29424956 2168.4706605
M AB    167.2395833
1.625 1.625
M AB  0.000000038  0
2EI A 4EI B
M BA    167.2395833
1.625 1.625
2 16.29424956 4168.4706605
M BA    167.2395833
1.625 1.162
M BA  561.8821328
4EI B 2EIC
M BC    684.40625
2.75 2.75
4168.4706605 2 168.4706599
M BC    684.40625
2.75 2.75
M BC  561.8821328   M BA
2EI B 4EIC
M CB    684.40625
2.75 2.75
2168.4706605 4 168.4706599
M CB    684.40625
2.75 2.75
M CB  561.8821341
4EIC 2EI D
M CD    167.2395833
1.625 1.625
4 168.4706599 216.2942472
M CD    167.2395833
1.625 1.625
M CD  561.8821342  M CB
2EIC 4EI D
M DC    167.2395833
1.625 1.625
2 168.4706599  416.2942472 
M DC    167.2395833
1.625 1.625
M DC  0.000005015  0
ชวง AB
w 1L1 M AB  M BA
VAB  
2 L1
760  1.625 0  561.8821328
VAB    271.7263798 kg
2 1.625
VBA  VAB  w 1L1  271.7263798  760  1.625
VBA  963.2736202 kg
150 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

M AB  0
2
 VAB 271.72637982
M  M AB  0  48.57580624 kg  m
2  760
AB
2w1
M BA  561.8821328 kg  m
ชวง BC
w 2 L 2 M BC  M CB
VBC  
2 L2
1086  2.75  561.8821328  561.8821328
VBC    1,493.25 kg
2 2.75
VCB  VBC  w 2 L 2  1,493.25  1,086  2.75
VBA  1,493.25 kg
M BC  561.8821328
2
 VBC 1,493.252
M BC  M BC   561.8821328   464.7272422 kg  m
2w 2 2  1,086
M CB  561.8821328 kg  m
ชวง CD
w 1L1 M CD  M DC
VCD  
2 L1
760  1.625  561.8821342  0
VCD    963.2736202 kg
2 1.625
VDC  VCD  w 1L1  963.2736202  760  1.625
VDC  271.7263798 kg
สําหรับบันไดทองเรียบหนา 0.15 เมตร โมเมนตสูงสุด
M  56,188.21342 kg  cm
M R  Rbd 2  8.095  100  12.4 2  124,468.72 kg  cm  M
M 56,188.21342
As    3.323 cm 2 / m
f s jd 1,500  0.909  12.4
เหล็กกันราว
A stemp  0.0020bt  0.0020  100  15  3 cm 2 / m

สมมติใชเหล็กเสริม DB 10 mm มี A s1   d 2b    1.0 2  0.785 cm 2


4 4
ระยะเรียงของเหล็กเสริมหลัก
A s1 0.785
s   0.236 m  0.20 m
A s 3.323
ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
A s1 0.785
s1    0.262 m  0.25 m
A stemp 3
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 151

เขียนรายละเอียดบันไดดังนี้
152 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รวมสมการ (1) ถึง (4) สําหรับบันไดพับผา


2EI A  EI B  135.8821614 ………………………………(1)
5.5EI A  17.5EI B  3.25EIC  2409.657064 ...............(2)
3.25EI B  17.5EIC  5.5EI D  2409.657064 ...............(3)
EIC  2EI D  135.8821655 .............................................(4)
สมการ (1) คงเดิม สมการ (2) ไดจาก 5.51  22 สมการ (3) และ (4) คงเดิม
2EI A  EI B  135.8821614 ………………………………(1)
 29.5EI B  6.5EIC  4071.96224 .................................(2)
3.25EI B  17.5EIC  5.5EI D  2409.657064 ...............(3)
EIC  2EI D  135.8821655 .............................................(4)
สมการ (1) และ (2) คงเดิม สมการ (3) ไดมาจาก 3.252  29.53 สมการ (4) คงเดิม
2EI A  EI B  135.8821614 ………………………………(1)
 29.5EI B  6.5EIC  4071.96224 .................................(2)
495.125EIC  162.25EI D  84,318.76067 .....................(3)
EIC  2EI D  135.8821655 .............................................(4)
สมการ (1) , (2) และ (3) คงเดิม สมการ (4) ไดมาจาก 3  495.1254
2EI A  EI B  135.8821614 ………………………………(1)
 29.5EI B  6.5EIC  4071.96224 .................................(2)
495.125EIC  162.25EI D  84,318.76067 .....................(3)
 828EI D  17,040.10348 .................................................(4)
จากสมการ (4)
 17,040.10348
EI D   20.57983512
 828
จากสมการ (3)
 84,318.76067  162.2520.57983512
EIC   177.0418357
495.125
จากสมการ (2)
 4,071.96224  6.5 177.0418357 
EI B   177.0418363
 29.5
จากสมการ (1)
135.8821614  177.0418363
EI A   20.57983747
2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 153

แทนคาในสมการ slope deflection


ชวง AB
4EI A 2EI B
M AB    167.2395833
1.625 1.625
4 20.57983747  2177.0418363
M AB    167.2395833
1.625 1.625
M AB  0.000000038  0
2EI A 4EI B
M BA    167.2395833
1.625 1.625
2 20.57983747  4177.0418363
M BA    167.2395833
1.625 1.625
M BA  577.705842 kg  m
ชวง BC
4EI B 2EIC
M BC    706.4635417
2.75 2.75
4177.0418363 2 177.0418357 
M BC    706.4635417
2.75 2.75
M BC  577.7058421 kg  m   M BA
2EI B 4EIC
M CB    706.4635417
2.75 2.75
2177.0418363 4 177.0418357 
M CB    706.4635417
2.75 2.75
M CB  577.7058434 kg  m
ชวง CD
4EIC 2EI D
M CD    167.2395833
1.625 1.625
4 177.0418357  220.57983512
M CD    167.2395833
1.625 1.625
M CD  577.7058434 kg  m   M CB
2EIC 4EI D
M DC    167.2395833
1.625 1.625
2 177.0418357  420.57953512 
M DC    167.2395833
1.625 1.625
M DC  0.000005007  0
154 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

คํานวณแรงเฉือนและโมเมนตบวกกลางชวง
ชวง AB
w 1L1 M AB  M BA
VAB  
2 L1
760  1.625 0  577.705842
VAB    261.9887126 kg
2 1.625
VBA  VAB  w 1L1  261.9887126  760  1.625
VBA  973.0112874 kg
M AB  0
2
 VAB 261.9887126 2
M AB  M AB  0  45.15663522 kg  m
2w1 2  760
M BA  577.705842 kg  m
ชวง BC
w 2 L 2 M BC  M CB
VBC  
2 L2
1,121  2.75  577.705842  577.7058434
VBC    1,541.375 kg
2 2.75
VCB  VBC  w 2 L 2  1,541.375  1,121  2.75
VBA  1,541.375 kg
M BC  577.705842
2
 VBC 1,541.3752
M  M BC   577.705842   481.9894705 kg  m
2  1,121
BC
2w 2
M CB  577.7058434 kg  m
ชวง CD
w 1L1 M CD  M DC
VCD  
2 L1
760  1.625  577.7058434  0
VCD    973.0112882 kg
2 1.625
VDC  VCD  w 1L1  973.0112885  760  1.625
VDC  261.9887118 kg
สําหรับบันไดพับผาหนา 0.15 เมตร โมเมนตสูงสุด
M  57,770.58434 kg  cm
M R  Rbd 2  8.095  100  12.4 2  124,468.72 kg  cm  M
M 57,770.58434
As    3.417 cm 2 / m
f s jd 1,500  0.909  12.4
เหล็กกันราว
A stemp  0.0020bt  0.0020  100  15  3 cm 2 / m
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 155

สมมติใชเหล็กเสริม DB 10 mm มี A s1   d 2b    1.0 2  0.785 cm 2


4 4
ระยะเรียงของเหล็กเสริมหลัก
A s1 0.785
s   0.2397 m  0.20 m
A s 3.417
ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
A s1 0.785
s1    0.262 m  0.25 m
A stemp 3
ขั้นตอนที่ 3 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก
156 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

สังเกตการณเสริมเหล็กที่มุมเวาเขาตองมวนเหล็กเพื่อปองกันเหล็กดึงคอนกรีตจนฉีกหลุดออกมา
นอกจากนั้นยังตองออกแบบคาน B10, B11 และ B1 ดวย ซึ่งก็เหมือนกับการออกแบบคานธรรมดานั่นเอง

รูปที่ 4.4 บันไดแบบเวียนรอบโถงบันได

บางครั้งอาจจะทําชานพักเปนสี่เหลี่ยมจัตุรสั โดยชวงแรกมี 2-3 ขั้น ชวงที่สองมีมากขึ้นดังรูปที่ 4.4


อาจจะใหบันได ST-1 ฝากบนคาน B1 แลวให ST-2 ฝากบนชานพักอีกที การออกแบบใหคํานวณ ST-2 กอน
แลวจึงคํานวณ ST-1 ในภายหลัง โดยกระจายน้ําหนักของ ST-2 ลงบนชานพัก ถาจํานวนขัน้ ไมมากนัก (ไม
เกิน 5 ขั้น) ก็ไมจําเปนตองคิดน้ําหนักของ ST-2 ลงบนชานพัก เนื่องจากการหาคาของ w D ไดเผื่อเอาไวแลว
เหล็กเสริมในชานพักจะเปนตะแกรงสองชั้นบน-ลาง วิธีที่สองใหบันได ST-2 ฝากบนคาน B2 แลวให ST-1
ฝากบนชานพัก การคํานวณใหออกแบบ ST-1 ถึงกลางชานพัก กระจายน้ําหนัก ST-1 ลงบนชานพักแลว
ออกแบบ ST-2 วิธีที่สามใหชานพักฝากบน B1 และ B2 ออกแบบ ST-1 และ ST-2 แยกกันไปเลย แตวิธีนแี้ ม
จะงายก็สิ้นเปลืองและกอสรางยาก

4.3 บันไดยื่น (Cantilever Stair)


พิจารณารูปที่ 4.2(ง) เปนลักษณะที่ขั้นบันไดยื่นออกมาจากคานใหญซึ่งฝงในผนัง การออกแบบ
บันไดชนิดนี้ใหคิดขั้นบันไดแตละขั้นเปนคานเล็กยื่นจากคานใหญ ปญหาที่นักศึกษาพบอยูเสมอคือคิด
น้ําหนักอยางไร พิจารณาสวนไหนเปนคาน
พิจารณารูปที่ 4.5(ก) เปนการตัดบันไดพับผามาหนึ่งขั้น สมมติคาความหนา t อยูระหวาง 0.10 ถึง
0.15 เมตร เนื้อที่หนาตัดขัน้ บันได
  h  
2

A  t b  0.025  h 1    ตารางเมตร โดย b, h, t หนวยเมตร
  b  

บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 157

รูปที่ 4.5 บันไดยื่นพับผา

น้ําหนักของบันไดหนึ่งขั้นคือ
  h  
2

w G  2400A  2400t b  0.025  h 1    หนวย kg/m
  b  

น้ําหนักวัสดุแตงผิวเชน หินขัด กระเบื้องยาง แกรนิต แกรนิตโต ฯลฯ ตองพิจารณาตามความเหมาะสม
สมมติเปนหินขัดหนาประมาณ 3 cm จะหนักประมาณ 2400  0.03  72 kg / m 2 ดังนั้นน้ําหนักบรรทุก
คงที่
w D  w G  72b หนวย kg/m
น้ําหนักบรรทุกจร w L b หนวย kg/m ดังนั้นน้ําหนักบรรทุกรวมคือ
w  w G  72b  w L b หนวย kg/m
จากรูปที่ 4.5(ง) แรงเฉือนและโมเมนตดดั ทีศ่ ูนยกลางคานคือ
V  wL หนวย kg
1
M wL2 หนวย kg  m คูณ 100 ใหเปน kg  cm
2
รูปที่ 4.5(ข) สวนที่แรเงาทําหนาที่เปนคานซึ่งจําลองเปนคานสี่เหลี่ยมผืนผาตามรูปที่ 4.5(ค) ความ
กวาง t ลึก h + t เหล็กรับแรงดึง Ast เสนเดียวอยูบน เหล็กรับแรงอัด Asc เสนเดียวอยูลางสวนเหล็กลูกตั้งจะ
เปนขาเดียว (ไมแสดงไว) จุดศูนยถว งเหล็กหางขอบขั้นบันไดประมาณ 6 cm ซึ่งเปนระยะ d’ ของ Asc ดวย
เมื่อทราบขอมูลเบื้องตนแลว หาแรงเฉือนและโมเมนตดัดสมดุลที่รับไดดังนี้
Vc  0.29 f c' td หนวย kg
M R  Rtd 2 หนวย kg  cm
พิจารณาปรับเพิ่มคา t จน V  Vc และ M  M R แลวคํานวณหาปริมาณเหล็กเสริม
M
A st  ไมควรจะเล็กกวา DB 10 mm
f s jd
A sc  ไมควรจะเล็กกวา DB 10 mm
158 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ระยะเรียงของเหล็กทางขวางใชปริมาณขั้นต่ําคือ
A v f sy
s
3.5t
ระยะฝงของเหล็ก Ast เมื่องอฉากและหางจากขางคานใหญ 5 cm
0.08d b f y
d 
f c'
จากนั้นจึงออกแบบคานใหญที่ฝงผนังโดยรับ V จากขั้นบันไดไปเปนน้ําหนักแผนบนคานรวมกับน้ําหนัก
คานและผนัง และโมเมนตดดั M จากขั้นบันไดเปนโมเมนตบิดในคาน

รูปที่ 4.6 บันไดยื่นทองเรียบ

รูปที่ 4.6 เปนขั้นบันไดยื่นทองเรียบ ความแตกตางจากบันไดยื่นพับผาเพียงเนื้อทีห่ นาตัดที่มีผลตอ


น้ําหนักบรรทุกคงที่ สวนอื่นๆ เหมือนกับบันไดพับผา
รูปที่ 4.6 (ก) พื้นที่แรเงาเปนบันไดหนึ่งขัน้ เนื้อที่แรเงาคือ
h b  0.25  t b 2  h 2
1
A โดย b, h ,t มีหนวยเปนเมตร
2
น้ําหนักบรรทุกของขั้นบันไดรวมพื้นบันได
w G  2400A  1200h b  0.025  2400t b2  h 2 หนวย kg/m
ตอจากนีก้ ็เหมือนกับแบบพับผา

รูปที่ 4.7 แสดงรายละเอียดการเสริมเหล็กในขั้นบันไดยื่น


บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 159

ตัวอยางที่ 4.3 จงออกแบบบันได ใหปลองบันไดขนาด 3.00  6.00 เมตร ความสูงระหวางชัน้ 4.00 เมตร
อาคารสํานักงาน ใหออกแบบทั้งบันไดพับผาและบันไดทองเรียบ ขั้นและชานพักบันไดฝากอยูกบั
คานใหญฝากในผนังโดยความกวางคานไมเกิน 0.30 เมตร

ตัวอยางที่ 4.3 บันไดยื่นจากคานในผนัง

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีต กําหนดเอง
f y  3000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม กําหนดใชเหล็ก SD-30
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc  หนวยแรงอัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กเสริม
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72  อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
E c 15,100 f c 15,100 240
'

1 1
k   0.274  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909  พารามิเตอรแขนโมเมนต
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2 2
H  4.00 m  ความสูงระหวางชั้น อาคารสาธารณะแมจะอยูในชวงทีก ่ ฎหมายกําหนดไมตองมี
ชานพัก แตจะจัดใหมีชานพัก 1 ชานพักเพือ่ ลดชวงความยาว และใชสอยไดสะดวก
h  0.19 m  ระยะลูกตั้งตามกฎหมายตองไมเกินคานี้ แตคาดวาจะใช 0.18 เมตร
160 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

b  0.24 m  ระยะลูกนอนตามกฎหมายตองไมนอยกวาคานี้ คาดวาจะใช 0.25 เมตร


L  6.00 m  ระยะความยาวของบันได
H 4.00
N1    21.05  22 ขั้น แบงครึ่งสําหรับแตละฟากของชวงชานพัก
h 0.19
N1 22
  11 ขั้น ใหขนาดลูกนอน b = 0.25 เมตร
2 2
ความยาวทางราบในชวงขัน้ บันได
 11  1  0.25  2.50 m
บันไดชวงขึ้นและลงจากชานพักจะไมตรงแนบพอดี ตองมีชองวางเล็กนอย แตอยางนอยตอง 0.10 เมตร
ความกวางของบันไดจึงเปน
3.50  0.10
  1.70 m
2
กฎหมายกําหนดใหความกวางของชานพักตองไมนอยกวาความกวางของบันได ถาใหมีสวนของชานพักทั้ง
สองปลายของบันได ดังนั้นความกวางของชานพักแตละขางเทากับ
6.00  2.50
  1.75 m  1.70 m
2
ระยะลูกตั้งที่ใชจริง
4.00
h  0.1818  0.182 m
22

ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบขั้นบันได สมมติใหความหนา t = 0.15 เมตร


น้ําหนักขั้นบันไดแบบพับผา
  h  
2

w G  2400A  2400t b  0.025  h 1   
  b  

  0.1818  
2

w G  2400  0.15   0.25  0.025  0.1818 1   


  0.25  
 
w G  179.9  180 kg / m
น้ําหนักขั้นบันไดแบบทองเรียบ
w G  2400A  1200h b  0.025  2400 t b 2  h 2
w G  1200  0.1818  0.25  0.025  2400  0.15 0.25 2  0.1818 2
w G  171.27  172 kg / m
เลือกน้ําหนักแบบพับผาซึ่งมากกวามาใชออกแบบ ทําผิวบันไดเปนหินขัดหนา 3 cm อาคารสาธารณะ
น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg / m 2 ลูกนอน b = 0.25 เมตร ดังนั้น
w  w G  72b  400b  180  72  0.25  400  0.25  298 kg / m
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 161

ความลึกรวม
h  t  0.1818  0.15  0.3318 m  33.18 cm
ความลึกประสิทธิผล
d  33.18  6  27.18 cm  0.2718 m
แรงเฉือนสูงสุด
V  w L  d   298  1.70  0.2718  425.6 kg
กําลังรับแรงเฉือนของขั้นบันได
Vc  0.29 f c' td  0.29 240  15  27.18  1,832 kg  V  425.6 kg
บันไดรับแรงเฉือนไดปลอดภัย
โมเมนตดัดสูงสุด
1 1
M wL2   298  1.70 2  430.61 kg  m  43,061 kg  cm
2 2
โมเมนตดัดสมดุล
M R  Rtd 2  8.095  15  27.182  89,703 kg  cm  M  43,061 kg  m
ปริมาณเหล็กรับแรงดึงที่ตองการ
M 43,061
A st    1.162 cm 2
f s jd 1,500  0.909  27.18

เลือก DB 16 mm มี A st  A b   1.6 2  2.01 cm 2  1.162 cm 2 ใชทั้งเหล็กรับแรงดึงและเหล็กรับ
4
แรงอัด
ระยะเรียงของเหล็กทางขวางใชปริมาณขั้นต่ําคือ
A v f sy 0.636  2400
s   29.07 cm  25 cm
3.5t 3.5  15
นั่นคือเหล็กทางขวาง RB 9 mm @ 250 mm
ตรวจสอบระยะฝงของเหล็กรับแรงดึงเมื่องอฉาก
0.08d b f y 0.08  1.6  3000
d    24.8  25 cm
'
f c
240
เผื่องอฉากและระยะหุม 5 cm ดังนั้นความกวางคานอยางนอย
b w   d  5  25  5  30 cm

พื้นชานพักมีลกั ษณะพืน้ ทางเดียว ความหนาขั้นต่ําคือ


L f  3.50  2400 
hf   0.4  y    0 .4    0.13  0.15 m
20  7000  20  7000 
162 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แตงผิวดวยหินขัดหนา 3 cm น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg / m 2


w  2400h f  72b  400b
w  2400  0.15  72  0.25  400  0.25
w  478 kg / m
โมเมนตดัดสูงสุด
wL2 478  3.50 2
M   731.9375 kg  m / m  73,193.75 kg  cm / m
8 8
ใหระยะหุมคอนกรีต 2 cm ใชเหล็กเสริม DB 16 mm ความลึกประสิทธิผล
1.6
d  15  2   12.2 cm
2
โมเมนตสมดุล
M R  Rbd 2  8.095  100  12.2 2  120,485.98 kg  cm / m  M
แสดงวาความหนาที่เลือกมานั้นใชได ปริมาณเหล็กเสริม
M 73,193.75
As    4.40 cm 2 / m
f s jd 1,500  0.909  12.2

เหล็ก DB 16 mm มี A s1    1.6 2  2.01 cm 2 ดังนั้นระยะเรียงของเหล็ก


4
A 2.01
s  s1   0.457 m
A s 4.40

จะเห็นวาเหล็กมีขนาดโตเกินไป เปลี่ยนไปใช DB 10 mm ที่มี A s1    1.0 2  0.785 cm 2 ระยะเรียง


4
เหล็กคือ
A s1 0.785
s   0.178 m  0.175 m
As 4.40
ใชเหล็กเสริมใหแผนพืน้ ชานพัก DB 10 mm @ 175 mm

ออกแบบคานฝงในผนัง
ความกวางของคานที่ประมาณไวในครั้งออกแบบขั้นบันได b w  0.30 m  30 cm
L f  6.00  3000 
ความลึกคานขัน้ ต่ํา h   0.4  y    0.4    0.31 m
16  7000  16  7000 
L 6.00
ความลึกคานที่แนะนํา h    0.60 m
10 10
เลือกใชความลึกของคาน h  0.60 m  60 cm
น้ําหนักคาน
w G  2400b w h  2400  0.30  0.60  432 kg / m
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 163

น้ําหนักจากขัน้ บันได
w 425.6
ws    1,702.4  1,703 kg / m
b 0.25
ประมาณวามีผนังกออิฐมอญเต็มแผนสูง 2.50 เมตร น้ําหนักผนัง
w w  360h w  360  2.50  900 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวม
w  w G  w s  w w  432  1,703  900  3,035 kg / m
สมมติระยะหุม บนลาง 4 cm เหล็กลูกตั้ง RB 9 mm เหล็กเสริม DB 25 mm สองชั้นทั้งเหล็กรับแรงดึงและ
เหล็กรับแรงอัด
2 .5
d  60  4  0.9  2.5   51.35 cm
2
2 .5
d '  4  0 .9  2 .5   8.65 cm
2
โมเมนตบิดจากขั้นบันได
430.61
mt   1,722.44  172,244 kg  cm / m
0.25
โมเมนตดัดสูงสุดที่กลางคาน
wL2 3,035  6.00 2
M   13,657.5 kg  m  1,365,750 kg  cm
8 8
โมเมนตสมดุลของหนาตัด
2
M R  Rb w d 2  8.095  30  51.352  640,352.3441 kg  cm  M
3
เพิ่มความลึกคานเปน h  0.80 m  80 cm น้ําหนักคาน
w G  2400b w h  2400  0.30  0.80  576 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวม
w  w G  w s  w w  576  1,703  900  3,179 kg / m
สมมติระยะหุม บนลาง 4 cm เหล็กลูกตั้ง RB 9 mm เหล็กเสริม DB 25 mm สองชั้นทั้งเหล็กรับแรงดึงและ
เหล็กรับแรงอัด
2 .5
d  80  4  0.9  2.5   71.35 cm
2
2 .5
d '  4  0 .9  2 .5   8.65 cm
2
โมเมนตดัดสูงสุดที่กลางคาน
wL2 3,179  6.00 2
M   14,305.5 kg  m  1,430,550 kg  cm
8 8
164 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

โมเมนตสมดุลของหนาตัด
2
M R  Rb w d 2  8.095  30  71.352  1,236,306.244 kg  cm  M
3
หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กรับแรงอัด
d' 8.65
k 0.274 
f s'  2f s d  2  1,500  71.35  631.27 ksc  f  1,500 ksc
1 k 1  0.274
s

เหล็กเสริมรับแรงดึง
MR M  MR
A st  
f s jd f s d  d'
1,236,306.244 1,430,550  1,236,306.244
A st  
1,500  0.909  71.35 1,500  71.35  8.65
A st  14.773 cm 2
เหล็กเสริมรับแรงอัด
M  M R 1,430,550  1,236,306.244
A sc    4.908 cm 2
f s' d  d' 631.27  71.35  8.65
แรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤตซึ่งระยะ d = 0.7135 m จากปลายคาน
L   6.00 
V  w   d   3,179    0.7135   7,268.7835 kg
2   2 
แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได
Vc  0.29 f c' b w d  0.29 240  30  71.35  9,616.54 kg  V
ดังนั้นปริมาณเหล็กเสริมรับแรงเฉือน
A v V  Vc
 0 เปน 0 เมื่อ Vc  V
s f vd
โมเมนตบิดทีห่ นาตัดสมดุลที่ระยะ d = 0.7135 m
L   6.00 
M t  m t   d   172,244    0.7135   393,835.906 kg  cm
2   2 
หนาตัดคานมีดานสั้น x  b w  30 cm และดานยาว y  h  80 cm
ระยะทางสั้นของผิวนอกเหล็กลูกตั้ง
x 1  x  3.5  3.5  30  7  23 cm
ระยะทางยาวของผิวนอกเหล็กลูกตั้ง
y1  y  4  4  80  8  72 cm
เนื้อที่หนาตัดแกนคอนกรีต
A c  x1 y1  23  72  1,656 cm 2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 165

โมเมนตบิดสูงสุดที่คานรับได
b 2w h 30 2  80
M t ,max  1.32 f c'  1.32 240   490,784.4496 kg  cm  M t
3 3
หนวยแรงเฉือนจากโมเมนตบิด
3.5M t 3.5  393,835.906
vt    19.145 ksc
 x2y 30 2  80
หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหจากโมเมนตบิด
v ct  1.32 f c'  1.32 240  20.449 ksc  v t  19.145 ksc ใชได
เหล็กทางขวางรับโมเมนตบิดเปน RB 9 mm มี A t    0.9 2  0.636 cm 2 มี f v  2,400  1,200 ksc
4 2
ดังนั้น
2A t Mt 393,835.906
   0.1982 cm 2 / cm
s A c f v 1,656  1,200
รวมผลของเหล็กรับแรงเฉือนและเหล็กรับโมเมนตบิด
A v  2A t
 0  0.1982  0.1982 cm 2 / cm
s
ปริมาณขั้นต่ําของเหล็กรับแรงเฉือนและแรงบิด
A v  2A t 3.5b w 3.5  30
   0.04375 cm 2 / cm  0.1982 cm 2 / cm
s f sy 2,400
สําหรับเหล็ก RB 9 mm มี
A v  2A t  2  0.636  1.272 cm 2
หาระยะเรียงของเหล็กรับแรงเฉือน
1.272
 0.1982
s
1.272
s  6.42 cm
0.1982
นอยเกินไป เปลี่ยนไปใช 2-RB 9 mm ทําใหระยะเรียงเพิม่ ขึ้นเปนสองเทา
s  2  6.42  12.84 cm  12.5 cm  125 mm
ใชเหล็กลูกตั้ง 2-ป RB 9 mm @ 125 mm
ออกแบบเหล็กตามยาว
เหล็กรับแรงเฉือนตามยาวทัง้ หมด
x1  y1 2A t
A   2A t  x1  y1   2  0.636  23  72  9.6672 cm 2
s s 12.5
bd 30  71.35
Ct    0.029729166
 x 2 y 30 2  80
166 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แตปริมาณขั้นต่ํา
 
 28xs Mt  x y
A     2A t   1 1

 f sy M  V  s
 t
3C t 
 
 28  30  12.5 393,835.906  23  72
A     2  0.636 
2,400 7,268.7835
 393,835.906   12.5
 3  0.029729166 
A   27.549 cm 2

แตไมควรใชเกิน
 
 28xs Mt 3.5bs  x 1  y1
A     
 f sy M  V fy  s
 t
3C t 

 
 28  30  12.5 393,835.905 3.5  30  23  72
A     
2, 400 7,268.7835 2, 400
 393,835.906   12.5
 3  0.029729166 
A   27.217 cm 2

ดังนั้นตองใช A   27.549 cm 2 โดยแบงเปนหาสวน มีหนึ่งสวนที่นําไปรวมเหล็กรับแรงดึงดานลาง และ


หนึ่งสวนไปรวมกับเหล็กรับแรงอัดดานบน เหลืออีกสามสวนนํามากระจายสองขางคาน
A  27.217
  5.4434 cm 2
5 5
เหล็กรับแรงดึง
A st  14.773  5.4434  20.2164 cm 2

จํานวนเหล็ก DB 25 mm ซึ่งมี A s1    2.52  4.909 cm 2 คือ


4
A st 20.2164
  4.12  5 เสน
A s1 4.909
เหล็กรับแรงอัด
A sc  4.908  5.4434  10.3514 cm 2

จํานวนเหล็ก DB 25 mm ซึ่งมี A s1    2.52  4.909 cm 2 คือ


4
A sc 10.3514
  2.11  3 เสน
A s1 4.909
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 167

เหล็กสองขางคานสามชั้นๆ ละสองเสน ดังนั้นแตละเสนจะมีเนื้อทีห่ นาตัด


5.4434
A sL   2.7217 cm 2
2

เหล็ก DB 20 mm มีเนื้อทีห่ นาตัด A s1   2.0 2    3.14 cm 2  2.7217 cm 2 ดังนัน้ แตละชัน้ คือ
4
2-DB 20 mm จํานวนสามชั้น
เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก
168 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

4.4 บันไดแบบมีคานแมบันไดสองขาง
บันไดแบบนี้มกั จะเปนบันไดโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ ที่ตองทําราวบันไดน้ําหนักมากเชน
ราวบันไดนาค การคํานวณออกแบบใหบันไดแตละขัน้ เปนคานแบบบันไดยืน่ โดยคิดโมเมนตที่กึ่งกลางเปน
wL2
M และใหขั้นบันไดที่ติดชานพัก (ถามีชานพัก) เปนคานรับชานพักดวย โมเมนตดัดของขั้นบันไดที่
8
ตรงคานขอบมีขนาดนอยจนไมตองคิดเปนโมเมนตบิดในคานแมบันได เหล็กเสริมบันไดอาจจะเปน 1-DB
12 mm ที่มุมบนและลาง สวนเหล็กที่ถักตามขั้นบันไดทําหนาที่รับแรงเฉือนอาจจะเปน RB 9 mm @ 200
mm
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 169

รูปที่ 4.8 บันไดแบบมีคานแมบันไดสองขาง

4.5 บันไดแบบยื่นจากคานกลาง
หากยอนไปดูรูปที่ 4.2(จ) จะเปนบันไดทีม่ ีคานตรงกลางแลวมีขั้นบันไดแตละขัน้ ฝากกับคานแลว
ยื่นออกทั้งสองขาง ขั้นบันไดจะรับโมเมนตลบสูงสุดที่ขอบคานกลาง แตเพื่อความสะดวกจะพิจารณาตรง
กึ่งกลางความกวางของคานซึ่งในขั้นแรกจะยังไมทราบขนาดคานกลาง คานกลางอาจจะขึ้นตรงๆ หรือขด
เปนบันไดเวียนก็ได ลักษณะขั้นบันไดดังรูปที่ 4.9

รูปที่ 4.9 บันไดแบบมีคานกลาง

รูปที่ 4.9(ก) เปนรูปตัดตามยาวของขั้นบันได ปลายขั้นบันไดจะเปนสี่เหลี่ยมผืนผาหนา 5 cm และ


ที่หนาตัด (1)-(1) จะหนาประมาณ 12-15 cm แลวแตความยาว 2L จะมากหรือนอย หนาตัดสวนนี้อาจจะเปน
ตามรูปที่ 4.9(ข) หรือ 4.9(ค) การคิดน้ําหนักขั้นบันไดใหใชคาเฉลี่ย เชนลูกนอนกวาง 0.25 เมตร ความหนาที่
0.05  0.15
ปลาย 0.05 เมตร และที่โคนประมาณ 0.15 เมตร ดังนั้นความหนาเฉลี่ย  0.10 เมตร ดังนัน้
2
น้ําหนักขั้นบันได w D  2400  0.25  0.10  60 kg / m สมมติใหความกวางบันได 2L = 2.00 เมตร
170 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

บันไดนีเ้ ปนอาคารสาธารณะ น้ําหนักบรรทุกจร w L  400  0.25  100 kg / m ดังนั้นน้ําหนักบรรทุก


รวม w  w D  w L  60  100  160 kg / m โมเมนตดัดที่กึ่งกลาง

wL2 160  1.00 2


M   80 kg  m  8,000 kg  cm
2 2

ถา f c'  240 ksc, f y  2400 ksc

f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc


E s 2,040,000 2,040,000
n    8.72
E c 15,100 f c' 15,100 240
f s  0.5f y  0.5  2400  1200 ksc
1 1
k   0.321
fs 1,200
1 1
nf c 8.72  65
k 0.321
j 1 1  0.893
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.321  0.893  9.316 ksc
2 2

ความลึกประสิทธิผลเมื่อคิดเซนทรอยดของเหล็กหางผิวขั้นบันได 3 cm ได

d  t  3  15  3  12 cm

โมเมนตสมดุลของคานที่โคนขั้นบันไดติดขอบคาน

M R  Rbd 2  9.316  25  12 2  33,537.6 kg  cm  M  8,000 kg  cm

ปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ
M 8,000
As    0.622 cm 2
f s jd 1,200  0.893  12

ปริมาณเหล็กขั้นต่ําที่ตองการสําหรับ SR-24 คือ

A s ,temp  0.0025bt  0.0025  25  15  0.9375 cm 2

ใชเหล็กเสริม 3-RB 9 mm มี A s  3    0.92  3  0.636  1.908 cm 2  0.9375 cm 2


4
โดยมีเหล็กลูกโซ RB 6 mm @ 200 mm ยึดไว
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 171

น้ําหนักที่ถายลงคานคิดจากสองขางหารดวยลูกนอนคือ
2.00  160
w  1,280 kg / m
0.25

ถายน้ําหนักลงคาน แลวก็ออกแบบคานธรรมดา แตถาเปนบันไดเวียนใหออกแบบตามหัวขอถัดไป

4.6 บันไดเวียน (Helical Stair)


บันไดเวียนอาจจะเปนบันไดทองเรียบดังรูปที่ 4.2(ฉ) หรือมีคานเวียนกลางแลวมีขันบันไดเกาะอยู
ดังรูปที่ 4.2(จ) ขอดีของบันไดแบบนี้คือความสวยงาม แตขอเสียมีมากคือออกแบบและกอสรางยาก ใชเหล็ก
เสริมปริมาณมาก ปลายของบันไดจะมีโมเมนตดัดถายไปเปนโมเมนตบิดของคานรองรับ และโมเมนตบิด
จากบันไดถายไปเปนโมเมนตดัดของคานรองรับ

รูปที่ 4.10 บันไดเวียน

พิจารณารูปที่ 4.10(ก) ถามีทรงกระบอกสวมตามแนวของเสนกึ่งกลางของบันไดเวียนหรือแนว


คานเวียน เสน (1) หมายถึงแนวคานชัน้ ลาง เสน (2) หมายถึงแนวคานชัน้ บน เมื่อขึ้นไปมองลงมาจากที่สูงจะ
เห็นดังรูปที่ 4.10(ข) เสน (1) กับ (2) ทํามุม 2 โดย 0  2  360o หรือ 0    180o หรือบันไดเวียน
ครบหนึ่งรอบ ในกรณีทบี่ ันไดเวียนมี 2  360o ใหใชคานยึดเปนชวงๆไมใหมุมเกินกวาที่กําหนด
เนื่องจากวิธีการคํานวณทีใ่ ชนั้นจํากัดชวงมุมเอาไว หาก 2  360o วิธีดังกลาวจะใชไมได ในการพิจารณา
ออกแบบจะใชมุมที่วัดจากแนวกึ่งกลางออกไปหาเสน (1) และ (2) ในรูปที่ 4.10(ค) แสดงมุม  วัดจากแนว
กึ่งกลางของบันได
172 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ยอนไปที่รูปที่ 4.10(ข) รัศมีขอบใน Ri และรัศมีขอบนอก Ro ความกวางของบันไดคือ


Ri  Ro
b1  R o  R i แนวกึ่งกลางบันไดมีรัศมี R กฎหมายกําหนดใหลูกนอนที่แคบที่สุดตองไม
2
นอยกวา 10 cm หรือ 0.10 เมตร การแบงขั้นบันไดใหเริม่ จากความสูงระหวางชัน้ ลางกับชั้นบน เชนความสูง
ระหวางชัน้ ลางกับชั้นบน 3.00 เมตร แนวคาน (1) กับ (2) ทํามุม 2  180o หรือครึ่งวงกลม ลูกตั้งไมเกิน
0.19 เมตร
3.00
จํานวนลูกตั้ง   15.8 ขั้น ใช 20 ขั้น
0.19
3.00
ความสูงลูกตั้ง   0.15 เมตร เปนความสูงที่เดินสบายทุกวัย
20
จํานวนลูกนอนจะนอยกวาจํานวนลูกตั้ง 1 ขั้นเสมอ ดังนัน้ จํานวนลูกนอนในกรณีนี้คอื 19 ขั้น โดย
ขอบในแตละลูกนอนตองกวาง 0.10 เมตรเปนอยางนอย นั่นคือ
19  0.10  2R i
แตเนื่องจากมุม 2  180o   เรเดียน แทนคาเพื่อหารัศมีขอบใน
19  0.10  R i
19  0.10
Ri   0.605 m

เลือกใชรัศมีขอบใน R i  0.65 m ถาความกวางของบันได b = 1.50 เมตร ดังนั้นรัศมีขอบนอกบันไดคือ
R o  R i  b1  0.65  1.50  2.15 m
รัศมีแนวกึ่งกลางบันได
b1 R i  R o 0.65  2.15
R  Ri     1.40 m
2 2 2
ทราบขนาดลูกตั้ง h  0.15 m หาขนาดลูกนอนทีแ่ นวกึ่งกลางบันได เพื่อใชคํานวณน้ําหนัก
ขั้นบันได แลวนําไปรวมกับน้ําหนักของพืน้ บันได จํานวนขั้นบันได n  20 ขั้น
R i 90  0.65
ลูกนอนที่ขอบใน bi    0.1075 m
90n  1 9020  1
R 90  1.40
ลูกนอนที่กึ่งกลาง b   0.2315 m
90n  1 9020  1
R o 90  2.15
ลูกนอนที่ขอบนอก bo    0.3555 m
90n  1 9020  1
0.15 0.15
มุมเอียงของบันได  โดย tan   โดย sin  
0.2315 0.152  0.23152
0.2315
 0.543777265 และ cos    0.839229578
0.152  0.23152
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 173

สมมติความหนาของพื้นบันได 0.20 เมตร


1
2400   0.2315  0.15
น้ําหนักขั้นบันได  2  1.50  270 kg / m
0.2315
2400tb1 2400  0.20  1.50
น้ําหนักพื้นบันได    858 kg / m
cos  0.839229578
ใหเปนอาคารสาธารณะ น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg / m 2
น้ําหนักบรรทุกจร  w L b1  400  1.50  600 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวม w  270  858  600  1,728 kg / m
ดังนั้น
wR  1,728  1.40  2,419.2 kg
wR 2  1,728  1.40 2  3,386.88 kg  m
คาโมเมนตดัด โมเมนตบิด และ แรงเฉือน ที่มีผลตอการออกแบบคือ
(ก) โมเมนตดัด
ที่มุม  จากแนวแบงกลาง M  wR 2 U cos   1 (4.7)
ที่   0 หรือแนวแบงกลาง M c  wR 2 U  1 (4.8)
(ข) โมเมนตบิด
  
ที่มุม  จากแนวแบงกลาง M t  wR 2  U sin    (4.9)
 180 
ที่   0 หรือแนวแบงกลาง Mt  0 (4.10)
(ค) แรงเฉือนทางดิ่ง
wR
ที่มุม  จากแนวแบงกลาง V (4.11)
180
เมื่อ  มุมจากเสนแบงกลางมายังจุดที่พิจารณา, องศา
w  น้ําหนักตอความยาวเสนกลางบันได, kg/m
R  รัศมีกลางบันได, m
360K  1 sin   2K cos 
U
K  1  180K  1 sin  cos 
  มุมแบงกลางระหวางคานชัน ้ ลางกับคานชั้นบน, องศา
EI I
K  2.35  อัตราสวนของสติฟเนสการดัดตอสติฟเนสการบิด หาไดจากตาราง 4.1
GJ J
b1  ความกวางของบันไดหรือคานกลาง, m
t  ความหนาของบันไดหรือความลึกของคานกลาง, m
174 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

b1 t t
เมื่อเขียนกราฟระหวาง K กับ และ จะพบวาชวง 1.0   3.0 และ 1.0  b1  4.0
t b1 b1 t
b1
การเปลี่ยนแปลงของเสนโคงมีมาก แตเมือ่  4.0 เสนกราฟเกือบเปนเสนตรงซึ่งอาจจะ interpolate หา
t
t
คาไดงาย และเมื่อ  3.0 เสนกราฟมีความโคงนอย เมื่อทําการ interpolate จะไดคา K มากกวาความจริง
b1
เล็กนอย ขอใหพิจารณารูปที่ 4.11 ประกอบดวย แตปจ จุบัน (พ.ศ.2555 ที่ทําการปรับปรุง) สามารถใช Excel
หาสมการของเสนโคงไดโดยงาย
b1 t
ตารางที่ 4.1 คา K ตามคา และ
t b1

เมื่อ b1  t เมื่อ t  b1
b1 b1 b1 b1 b1 b1
t
K t
K t
K t
K t
K t
K
1.0 1.390 2.0 0.860 3.0 0.750 4.0 0.700 1.0 1.390 2.0 3.420
1.1 1.275 2.1 0.845 3.1 0.745 4.5 0.690 1.1 1.525 2.2 3.975
1.2 1.180 2.2 0.825 3.2 0.740 5.0 0.680 1.2 1.700 2.4 4.600
1.3 1.120 2.3 0.815 3.3 0.735 5.5 0.673 1.3 1.850 2.6 5.200
1.4 1.055 2.4 0.800 3.4 0.730 6.0 0.665 1.4 2.030 2.8 5.910
1.5 1.000 2.5 0.790 3.5 0.725 6.5 0.658 1.5 2.250 3.0 6.700
1.6 0.960 2.6 0.785 3.6 0.720 7.0 0.650 1.6 2.560 3.5 8.900
1.7 0.930 2.7 0.775 3.7 0.715 9.0 0.637 1.7 2.675 4.0 11.150
1.8 0.900 2.8 0.760 3.8 0.710 10.0 0.630 1.8 2.925 4.5 13.600
1.9 0.880 2.9 0.755 3.9 0.705  0.59 1.9 3.175 5.0 16.850

เมื่อ 1.0  b1  3.0 สมการสําหรับหาคา K


t
4 3 2
b  b  b  b 
K  0.0783 1   0.7693 1   2.8686 1   4.9211 1   4.1298 (4.12)
 t   t   t   t 

เมื่อ 3.0  b1  10.0 สมการสําหรับหาคา K


t
4 3 2
b  b  b  b 
K  0.0001 1   0.0044 1   0.0493 1   0.2551 1   1.1796 (4.13)
 t   t   t   t 
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 175

เมื่อ 10.0  b1  50.0 สมการสําหรับหาคา K


t
b 
K  5.2732 1   2.7321 (4.14)
 t 
เมื่อ 1.0  t  5.0 สมการสําหรับหาคา K
b1
4 3 2
 t   t   t   t 
K  0.0139   0.1597   1.2257   0.7262   1.0398 (4.15)
 b1   b1   b1   b1 

b1 t
รูปที่ 4.11 ความสัมพันธระหวาง K กับ และ
t b1
176 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

คํานวณหาคา U สําหรับคา K ในตารางที่ 4.1 ดังตารางที่ 4.2


360K  1 sin   2K cos 
U (4.16)
K  1  180K  1 sin  cos 

ตารางที่ 4.2 คา U สัมพันธกบั K และ 

, องศา
K
0o 30o 60o 90o 120o 150o 180o
0.590 1.000 1.044 1.159 1.273 1.266 1.070 0.742
0.630 1.000 1.044 1.159 1.273 1.273 1.092 0.773
0.637 1.000 1.044 1.159 1.273 1.275 1.096 0.778
0.650 1.000 1.044 1.158 1.273 1.277 1.103 0.788
0.658 1.000 1.044 1.158 1.273 1.278 1.107 0.794
0.665 1.000 1.044 1.158 1.273 1.280 1.111 0.799
0.673 1.000 1.044 1.158 1.273 1.281 1.115 0.805
0.680 1.000 1.044 1.158 1.273 1.282 1.118 0.810
0.690 1.000 1.044 1.158 1.273 1.284 1.123 0.817
0.700 1.000 1.044 1.158 1.273 1.286 1.128 0.824
0.705 1.000 1.044 1.158 1.273 1.287 1.131 0.827
0.710 1.000 1.044 1.158 1.273 1.287 1.133 0.830
0.715 1.000 1.044 1.158 1.273 1.288 1.135 0.834
0.720 1.000 1.044 1.157 1.273 1.289 1.138 0.837
0.725 1.000 1.044 1.157 1.273 1.290 1.140 0.841
0.730 1.000 1.044 1.157 1.273 1.291 1.142 0.844
0.735 1.000 1.044 1.157 1.273 1.291 1.145 0.847
0.740 1.000 1.044 1.157 1.273 1.292 1.147 0.851
0.745 1.000 1.044 1.157 1.273 1.293 1.149 0.854
0.750 1.000 1.044 1.157 1.273 1.294 1.151 0.857
0.755 1.000 1.044 1.157 1.273 1.295 1.154 0.860
0.760 1.000 1.044 1.157 1.273 1.295 1.156 0.864
0.775 1.000 1.044 1.157 1.273 1.298 1.163 0.873
0.785 1.000 1.044 1.157 1.273 1.299 1.167 0.880
0.790 1.000 1.044 1.157 1.273 1.300 1.169 0.883
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 177

ตารางที่ 4.2 คา U สัมพันธกบั K และ 

, องศา
K
0o 30o 60o 90o 120o 150o 180o
0.800 1.000 1.044 1.156 1.273 1.301 1.173 0.889
0.815 1.000 1.044 1.156 1.273 1.303 1.180 0.898
0.825 1.000 1.044 1.156 1.273 1.305 1.184 0.904
0.845 1.000 1.044 1.156 1.273 1.308 1.192 0.916
0.860 1.000 1.044 1.156 1.273 1.310 1.198 0.925
0.880 1.000 1.044 1.155 1.273 1.312 1.205 0.936
0.900 1.000 1.044 1.155 1.273 1.315 1.213 0.947
0.930 1.000 1.044 1.155 1.273 1.319 1.224 0.964
0.960 1.000 1.044 1.154 1.273 1.322 1.234 0.980
1.000 1.000 1.044 1.154 1.273 1.327 1.248 1.000
1.055 1.000 1.044 1.153 1.273 1.333 1.266 1.027
1.120 1.000 1.044 1.153 1.273 1.340 1.285 1.057
1.180 1.000 1.044 1.152 1.273 1.345 1.302 1.083
1.275 1.000 1.043 1.151 1.273 1.354 1.326 1.121
1.390 1.000 1.043 1.150 1.273 1.363 1.353 1.163
1.525 1.000 1.043 1.149 1.273 1.372 1.381 1.208
1.700 1.000 1.043 1.147 1.273 1.383 1.412 1.259
1.850 1.000 1.043 1.146 1.273 1.390 1.435 1.298
2.030 1.000 1.043 1.145 1.273 1.399 1.460 1.340
2.250 1.000 1.042 1.144 1.273 1.407 1.487 1.385
2.560 1.000 1.042 1.142 1.273 1.418 1.518 1.438
2.675 1.000 1.042 1.141 1.273 1.421 1.528 1.456
2.925 1.000 1.042 1.140 1.273 1.427 1.547 1.490
3.175 1.000 1.041 1.139 1.273 1.433 1.564 1.521
3.420 1.000 1.041 1.138 1.273 1.438 1.579 1.548
3.975 1.000 1.041 1.136 1.273 1.447 1.607 1.598
4.600 1.000 1.040 1.134 1.273 1.455 1.631 1.643
5.200 1.000 1.040 1.133 1.273 1.461 1.650 1.677
178 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตารางที่ 4.2 คา U สัมพันธกบั K และ 

, องศา
K
0o 30o 60o 90o 120o 150o 180o
5.910 1.000 1.039 1.131 1.273 1.467 1.667 1.711
6.700 1.000 1.039 1.130 1.273 1.472 1.683 1.740
8.900 1.000 1.037 1.127 1.273 1.482 1.713 1.798
11.150 1.000 1.036 1.125 1.273 1.488 1.732 1.835
13.600 1.000 1.035 1.123 1.273 1.492 1.746 1.863
16.850 1.000 1.035 1.122 1.273 1.496 1.759 1.888

สมการการออกแบบที่ใชนี้ทาํ ใหคาโมเมนตดัดทั้งสองปลายมากกวาคาจริง แตก็งายและทําให


ปลอดภัยมากขึ้น

ลําดับขั้นตอนการออกแบบบันไดเวียน

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริมเอก, ksc
f sy  กําลังครากของเหล็กรับแรงเฉือน,ksc
f c  0.375f c'  65 ksc  กําลังดัดที่ยอมใหของคอนกรีต, ksc
f s  0.5f y  1,200 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็ก SR-24
f s  0.5f y  1,500 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็ก SD-30
f s  0.5f y  1,700 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็ก SD-40
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุนเหล็กตอคอนกรีต
E c 15,100 f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล, ksc
2
v cb  0.29 f c'  หนวยแรงเฉือนแบบคานทีย่ อมให, ksc
v cbm  0.795 f c'  หนวยแรงเฉือนแบบคานทีแ่ บงชวงระยะเรียงของเหล็กรับแรงเฉือน,ksc
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 179

v ct  1.32 f c'  หนวยแรงเฉือนรวมที่ยอมใหจากโมเมนตบิด หรือหนวยแรงเฉือนรวมที่ยอม


ใหหากไมมีโมเมนตบิด, ksc
หนวยแรงเฉือนรวมที่ยอมใหเมื่อรวมผลโมเมนตบิด, ksc
v ct  1.65 f c' 
H  ความสูงระหวางชั้น, m
b1  ความกวางของบันได
2  มุมระหวางคานปลายบันไดเวียน, องศา

ขั้นตอนที่ 2
หาจํานวนลูกตั้ง n โดยความสูงลูกตั้งไมเกิน 0.20 เมตร สําหรับอาคารพักอาศัย ไมเกิน 0.19 เมตร
สําหรับอาคารสาธารณะ แตความสูงลูกตั้งที่เดินสบายควรจะเปน 0.175 เมตร และอาคารโรงเรียนอนุบาล
และบานพักคนชราลูกตั้งไมควรเกิน 0.15 เมตร ในกรณีทจี่ ะใชคากลางๆ คือ 0.18 เมตร
H
จํานวนลูกตั้ง n  โดยปดขึ้นเปนจํานวนเต็ม
0.18

ความสูงลูกตั้ง h  H หนวยเมตร แปลงเปนเซนติเมตรโดยคูณดวย 100


n

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณหารัศมีขอบใน โดยใหลูกนอนในขอบในไมนอยกวา 10 cm


2R i
0.1n  1 
180
9n  1
รัศมีขอบใน Ri  หนวยเมตร

b
รัศมีกลางบันได R  R i  1 หนวย เมตร
2
รัศมีขอบนอก R o  R  b1 หนวย เมตร
R i
ลูกนอนที่ขอบใน bi  หนวย เมตร
90n  1
R
ลูกนอนที่กลางพื้น b หนวย เมตร
90n  1
R o
ลูกนอนที่ขอบนอก bo  หนวยเมตร
90n  1
มุมเอียงของบันได  โดย
h
tan  
b
h
sin  
b2  h 2
180 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

b
cos  
b  h2
2

ขั้นตอนที่ 4 สมมติความหนาของพื้นบันได t ในหนวยเมตร


1
2400  bhb1
น้ําหนักขั้นบันได w step  2  1200hb1 หนวย kg/m
b
2400tb1
น้ําหนักพื้นบันได w slab  หนวย kg/m
cos 
น้ําหนักบรรทุกจร w live  w L b1 หนวย kg/m
น้ําหนักบรรทุกรวม w  w step  w slab  w live หนวย kg/m
เตรียมคา
wR
wR 2
b1
เมื่อ b1  t ซึ่งเปนบันไดทองเรียบไมมีคานกลาง เตรียมคา แตถามีคานกลาง ความลึกตาน t จะ
t
t
มากกวาความกวางคาน b1 กรณีนี้ใหเตรียมคา
b1

เมื่อ 1.0  b1  3.0 สมการสําหรับหาคา K


t
4 3 2
b  b  b  b 
K  0.0783 1   0.7693 1   2.8686 1   4.9211 1   4.1298 (4.12)
 t   t   t   t 

เมื่อ 3.0  b1  10.0 สมการสําหรับหาคา K


t
4 3 2
b  b  b  b 
K  0.0001 1   0.0044 1   0.0493 1   0.2551 1   1.1796 (4.13)
 t   t   t   t 
เมื่อ 10.0  b1  50.0 สมการสําหรับหาคา K
t
b 
K  5.2732 1   2.7321 (4.14)
 t 
เมื่อ 1.0  t  5.0 สมการสําหรับหาคา K
b1
4 3 2
 t   t   t   t 
K  0.0139   0.1597   1.2257   0.7262   1.0398 (4.15)
 b1   b1   b1   b1 
คํานวณหาคา U จาก
360K  1 sin   2K cos 
U (4.16)
K  1  180K  1 sin  cos 
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 181

ขั้นตอนที่ 5
ใหระยะหุมของคอนกรีต 2 cm ขนาดเหล็กรับแรงเฉือน RB 9 mm ประมาณขนาดเหล็กเสริมเอกไมเกิน DB
20 mm ดังนั้นความลึกประสิทธิผลของแผนพื้นบันได
2.0
d  t  2  0.9   t  3.9 cm
2
โดยความหนา t เปน cm และให b1 มีหนวยเปน cm ดวย จะไดโมเมนตสมดุล
M R  Rb1d 2 kg  cm
คํานวณโมเมนตดัด แรงเฉือน โมเมนตบดิ จากสมการ (4.7) ถึง (4.11)
(ก) โมเมนตดัด
ที่มุม  จากแนวแบงกลาง M  wR 2 U cos   1 (4.7)
ที่   0 หรือแนวแบงกลาง M c  wR 2 U  1 (4.8)
(ข) โมเมนตบิด
  
ที่มุม  จากแนวแบงกลาง M t  wR 2  U sin    (4.9)
 180 
ที่   0 หรือแนวแบงกลาง Mt  0 (4.10)
(ค) แรงเฉือนทางดิ่ง
wR
ที่มุม  จากแนวแบงกลาง V (4.11)
180
คาตางๆ จะติดในรูปมุม  และมุม  มากที่สุดเทากับ 
ใหตรวจสอบวา M R  3M c โดยระวังเรื่องหนวยใหมาก หากพบวา M R  3M c แสดงวาความ
หนา t นอยเกินไป ใหประมาณคา t ใหมโดย
3M c
d
Rb1
t  d  3.9

ขั้นตอนที่ 6
ที่    หาคา M  , M t , V คํานวณปริมาณเหล็กเสริมเนื่องจากโมเมนตดดั
ที่   0 กึ่งกลางบันได โมเมนตดดั บวก M c ทําใหตองการเหล็กเสริมลาง
Mc
As  เสริมตลอดความยาวบันได
f s jd
ที่    ปลายบันได โมเมนตดดั ลบ M  ทําใหตองการเหล็กเสริมบน
M
A s  เสริมเลยจุดดัดกลับไป b1 แลวลดลงเหลือครึ่งเดียวตลอดกลาง
f s jd

จุดดัดกลับอยูท ี่ d  cos 1  1  หาก d   ใหเสริมเต็มความยาว


U
182 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 7
ตรงตําแหนง d  cos 1  1  อาจจะทําใหเกิดโมเมนตบิดสูงสุด
U
  
M td  wR 2  U sin d  d 
 180 
โมเมนตบิดทีป่ ลายพื้นบันได
  
M t  wR 2  U sin   
 180 
เลือกคา  ที่ทําใหเกิดโมเมนตบิดสูงสุด M t max แลวคํานวณแรงเฉือนในตําแหนงเดียวกัน
wR
V
180
หนวยแรงเฉือนเนื่องจากโมเมนตบิด
3.5M t max
vt 
b1t 2
ถาพบวา v t  v ct  1.32 f c' แสดงวาความหนา t นอยเกินไป ใหเพิ่มคา t มากขึ้นแลวยอนไปทํามาใหม
หนวยแรงเฉือนเนื่องจากแรงเฉือน
V
vv 
b1d
โดยปกติแลวหากความหนา t เพียงพอนั้นจะได v v  0.29 f c' ถาพบวา v v  0.29 f c' ใหเพิ่มคา t แลว
ยอนกลับไปทํามาใหม
หนวยแรงเฉือนรวม
v  vt  vv
ถาพบวา v  1.65 f c' แสดงวาความหนา t นอยเกินไป ใหเพิ่มคา t มากขึ้นแลวยอนไปทํามาใหม

เลือกขนาดเหล็กทางขวาง เชน RB 9 mm มี At   0.9 2  0.636 cm 2 และ f v  0.5f sy  1200 ksc
4
ระยะเรียงของทางขวางคือ
2A t A c f v
s
Mt

ขั้นตอนที่ 8
คาเฉลี่ยภายในเหล็กรับแรงเฉือน
z 1
b  2  3.9  t  2  3.9  b1  t  4  3.9
2 2
เนื้อที่แกนคอนกรีตภายในวงเหล็กรับแรงเฉือน
A c  b1  2  3.9t  2  3.9
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 183

หาเหล็กเสริมมุมเพื่อนําไปรวมกับเหล็กบนและเหล็กลาง
Mtz
A scor 
2A c f s
เหล็กบนและลางตางมีคนละสองมุม ดังนัน้ ตองรวมเหล็กบนเหล็กลางดวย 2A scor

ขั้นตอนที่ 9 เขียนรายละเอียด โดยยึดแนวกลางบันไดยืดออกเปนสองมิติ และแสดงรูปตัดขวางอยางนอย


สองตําแหนงที่มีเหล็กเสริมบนตางกัน สวนเหล็กยึดขัน้ บันไดหากจะเสริมก็มีเหล็กเสริมมุมตรงจมูกบันได
1-RB 9 mm และเหล็กยึดตามขอบขั้นบันได RB 6 mm @ 200 mm

ในงานจริงจะมีแบบสถาปตยกรรมที่ทําใหทราบ R , , b1 , n จึงเริม่ จากการสมมติความหนาพืน้


บันได อยางไรก็ตามควรจะตรวจสอบลูกนอนขอบในไมนอยกวา 0.10 เมตรดวย

กรณีคานเวียนกลางบันได ตัวขั้นบันไดอาจจะเปนขั้นแยกเปนขั้นๆ ยืน่ จากตัวคานกลาง หรือเปน


แบบพับผา หรือเปนแบบทองเรียบ คํานวณออกแบบขั้นบันไดแลวถายน้ําหนักลงคานกลาง คํานวณ
ออกแบบคานกลางที่ตองรับทั้งโมเมนตดัด แรงเฉือน โมเมนตบิด โดยอาศัยคา K และ U ในกรณีที่ t  b1
สวนการออกแบบเหมือนคานที่ตองรับโมเมนตบิดดวยนัน่ เอง

ตัวอยางที่ 4.4 จงออกแบบบันไดเวียนกวาง 1.25 เมตร สําหรับบานพักอาศัย มุมระหวางคานลางและคานบน


ปลายบันได 180 องศา ความสูงระหวางชัน้ ลางกับชั้นบน 3.50 เมตร
วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของคอนกรีตทรงกระบอกมาตรฐานอายุ 28 วัน
f y  3,000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริมเอก SD-30
f sy  2,400 ksc  กําลังครากของเหล็กรับแรงเฉือน
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กเสริมเอก
f v  0.5f sy  0.5  2,400  1,200 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กรับแรงเฉือน
2,040,000 2,040,000
n   8.72  อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
15,100 f c' 15,100 240
1 1
k   0.274  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909  พารามิเตอรแขนโมเมนต
3 3
184 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1 1
R f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2 2
v cb  0.29 f c'  0.29 240  4.493 ksc  หนวยแรงเฉือนแบบคานทีย่ อมให
v cbm  0.795 f c'  0.795 240  12.316 ksc  หนวยแรงเฉือนแบงระยะเรียง
v ct  1.32 f c'  1.32 240  20.449 ksc  หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหจากโมเมนตบิด
v ct  1.65 f c'  1.65 240  25.562 ksc  หนวยแรงเฉือนรวมที่ยอมให
H  3.50 m  350 cm  ความสูงระหวางชั้น
b1  1.25 m  125 cm  ความกวางบันได
2  180o  มุมระหวางปลายบันไดทั้งสองปลาย
180
  90 o  มุมจากแนวกึง่ กลางถึงปลายบันได
2

ขั้นตอนที่ 2 อาคารพักอาศัย กฎหมายกําหนดใหลูกตั้งไมเกิน 20 cm แตลูกตั้งที่เดินสบายที่สุดสําหรับผูใหญ


ทั่วไปคือ 0.175 เมตร หาจํานวนลูกตั้ง n
H 3.50
n   20 ขั้น
0.175 0.175
ความสูงลูกตั้ง
H 3.50
h   0.175 m  17.5 cm
n 20

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณรัศมีและขนาดลูกนอน
รัศมีขอบใน
9n  1 920  1
R    0.605 m  1.00 m
 90
i

เลือกรัศมีขอบใน 1.00 เมตร รัศมีกลางบันได


b1 1.25
R  Ri   1.00   1.625 m
2 2
รัศมีขอบนอก
R o  R i  b1  1.00  1.25  2.25 m
ลูกนอนที่ขอบใน
R i 90  1.00
bi    0.1653 m  0.10 m
90n  1 9020  1
ลูกนอนที่กลางพื้น
R 90  1.625
b   0.2687 m  0.22 m
90n  1 9020  1
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 185

ตามกฎหมายลูกนอนตองไมนอยกวา 0.22 เมตรในอาคารพักอาศัย และไมนอยกวา 0.24 เมตรใน


อาคารสาธารณะ ดังนั้นลูกนอนที่กลางพืน้ บันไดใชไดดี
ลูกนอนที่ขอบนอก
R o 90  2.25
bo    0.37203 m
90n  1 9020  1
มุมเอียงของบันได
h 0.175
tan     0.651283959
b 0.2687
  tan 1 0.651283959  33.07555284 o
sin   0.54574447
cos   0.837951653
ขั้นตอนที่ 4 สมมติความหนาของแผนพืน้ t  0.25 m  25 cm
น้ําหนักขั้นบันได
w step  1200hb1  1200  0.175  1.25  262.5 kg / m
น้ําหนักพื้นบันได
2400tb1 2400  0.25  1.25
w slab    895 kg / m
cos  0.837951653
น้ําหนักบรรทุกจรอาคารพักอาศัย w L  300 kg / m 2 คิดตามยาวแนวกลางบันได
w live  w L b1  300  1.25  375 kg / m
น้ําหนักบรรทุกรวม
w  w step  w slab  w live  262.5  895  375  1,532.5 kg / m
เตรียมคา
wR  1,532.5  1.625  2,490.3125 kg
wR 2  1,532.5  1.6252  4,046.757813 kg  m
เนื่องจาก b1  1.25 m   t  0.20 m  ดังนั้น
b1 1.25
 53
t 0.25
4 3 2
 b1   b1   b1  b 
K  0.0001   0.0044   0.0493   0.2551 1   1.1796
 t   t   t   t 
K  0.0001  54  0.0044  53  0.0493  52  0.2551  5  1.1796
K  0.6491
คํานวณคา U
360K  1 sin   2K cos 
U
K  1  180K  1 sin  cos 
186 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

3600.6491  1 sin 90 o  20.649190  cos 90 o


U
90 0.6491  1  1800.6491  1 sin 90 o cos 90 o
U  1.27324

ขั้นตอนที่ 5 ความลึกประสิทธิผล
d  t  3.9  25  3.9  21.1 cm
โมเมนตสมดุล
M R  Rb1d 2  8.095  125  21.12  450,496.8688 kg  cm
โมเมนตดัดทีม่ ุม  จากกึ่งกลางพื้นบันได โดย 0    135o
M  wR 2 U cos   1  4,046.7578131.27324 cos   1
โมเมนตบิดทีม่ ุม  จากกึ่งกลางพื้นบันได โดย 0    135o
     
M t  wR 2  U sin     4,046.7578131.27324 sin   
 180   180 
แรงเฉือนที่มุม  จากกึ่งกลางพื้นบันได โดย 0    135o
wR 2,490.3125
V 
180 180
คํานวณคาของ M, M t , V จาก   0 ถึง   90 o โดยเพิ่มคราวละ 5o ดังนี้

o M, kg  m M t , kg  m V, kg
0 1,105.74 0 0
5 1,086.13 95.92 217.32
10 1,027.46 188.43 434.64
15 930.17 274.12 651.96
20 795.00 349.67 869.28
25 622.99 411.81 1,086.60
30 415.43 457.37 1,303.92
35 173.92 483.33 1,521.25
40 -99.72 486.79 1,738.57
45 -403.39 465.05 1,955.89
50 -734.80 415.58 2,173.21
55 -1,091.41 336.07 2,390.53
60 -1,470.51 224.44 2,607.85
65 -1,869.22 78.84 2,825.17
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 187

o M, kg  m M t , kg  m V, kg
70 -2,284.50 -102.29 3,042.49
75 -2,713.19 -320.27 3,259.81
80 -3,152.04 -576.12 3,477.13
85 -3,597.69 -870.60 3,694.45
90 -4,046.76 -1,204.14 3,911.77

โมเมนตดัดสูงสุดอยูที่ปลายบันได M  4,046.76 kg  m  404,676 kg  cm  M R

ขั้นตอนที่ 6
ที่กึ่งกลางบันไดโมเมนตบวกตองการเหล็กรับแรงดึงเปนเหล็กลาง
M 110,574
As    3.843 cm 2
f s jd 1,500  0.909  21.1
ปริมาณเหล็กขั้นต่ํา
14 14
A stemp  b1d   125  21.1  12.308 cm 2
fy 3000

ใชเหล็ก DB 16 mm มี A s1    1.6 2  2.01 cm 2 ใชเหล็กจํานวน 12.308  6.12  7 เสน


4 2.01
ที่ปลายบันไดเปนโมเมนตลบตองการเหล็กรับแรงดึงเปนเหล็กบน
M 404,676
As    14.066 cm 2  A stemp
f s jd 1,500  0.909  21.1
 14.066
ใชเหล็ก DB 16 mm มี A s1   1.6 2  2.01 cm 2 ใชเหล็กจํานวน  6.998  7 เสน
4 2.01

ขั้นตอนที่ 7
โมเมนตบิดสูงสุด M t  120,414 kg  cm
หนวยแรงเฉือนสูงสุดจากโมเมนตบิด
3.5M t 3.5  120,414
vt    5.395 ksc  1.32 f c'  20.449 ksc
b1t 2 125  252
แรงเฉือนสูงสุด V  3,911.77 kg
หนวยแรงเฉือนสูงสุดจากแรงเฉือน
V 3,911.77
vv    1.483 ksc  0.29 f c'  4.493 ksc
b1d 125  21.1
หนวยแรงเฉือนรวม
v  v v  v t  1.483  5.395  6.878 ksc  1.65 f c'  25.562 ksc
188 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เลือกเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm มี A t    0.9 2  0.636 cm 2


4
ขั้นตอนที่ 8
b1  t  4  3.9 125  25  4  3.9
z   67.2 cm
2 2
เนื้อที่แกนคอนกรีตภายในวงเหล็กรับแรงเฉือน
A c  b1  2  3.9t  2  3.9  125  7.825  7.8  2,015.84 cm 2
ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
2A t A c f v 2  0.636  2,015.84  1,200
s   25.55 cm  25 cm
Mt 120,414
หาเหล็กเสริมมุมไปรวมกับเหล็กรับโมเมนตดัด
Mtz 120,414  67.2
A scor    1.34 cm 2
2A c f s 2  2,015.84  1,500
เหล็กลางตองการ
A s  3.843  2  1.34  6.523 cm 2  A stemp  12.308 cm 2
ดังนั้นเหล็กลางยังคงใช 7-DB 16 mm
เหล็กบนตองการ
A s  14.066  2  1.34  16.746 cm 2  A stemp  12.308 cm 2

ใชเหล็ก DB 16 mm จํานวน 16.746  8.33  9 เสน


2.01
เพื่อความสะดวกและการเทคอนกรีตไมเกิดโพรงไดงายจึงใช 9-DB 16 mm ทั้งเหล็กบนและเหล็กลาง

ขั้นตอนที่ 9 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็กดังรูปในหนาถัดไป

ตัวอยางที่ 4.5 จงออกแบบบันไดเวียนกวาง 1.50 เมตร สําหรับอาคารสาธารณะ มุมระหวางปลายบันไดชั้น


ลางกับชั้นบน 180 องศา ความสูงระหวางชั้นลางกับชั้นบน 4.20 เมตร ใหบันไดเปนแบบพับผามี
คานกลาง
วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของคอนกรีตทรงกระบอกมาตรฐานอายุ 28 วัน
f y  3,000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริมเอก SD-30
f sy  2,400 ksc  กําลังครากของเหล็กรับแรงเฉือน
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กเสริมเอก
f v  0.5f sy  0.5  2,400  1,200 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กรับแรงเฉือน
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 189

ตัวอยางที่ 4.4
190 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

2,040,000 2,040,000
n
'
  8.72  อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
15,100 f c
15,100 240
1 1
k   0.274  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909  พารามิเตอรแขนโมเมนต
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
2 2
v cb  0.29 f c'  0.29 240  4.493 ksc  หนวยแรงเฉือนแบบคานทีย่ อมให
v cbm  0.795 f c'  0.795 240  12.316 ksc  หนวยแรงเฉือนแบงระยะเรียง
v ct  1.32 f c'  1.32 240  20.449 ksc  หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหจากโมเมนตบิด
v ct  1.65 f c'  1.65 240  25.562 ksc  หนวยแรงเฉือนรวมที่ยอมให
H  4.20 m  420 cm  ความสูงระหวางชั้น
b1  1.50 m  150 cm  ความกวางบันได
2  180o  มุมระหวางปลายบันไดทั้งสองปลาย
180
  90 o  มุมจากแนวกึง่ กลางถึงปลายบันได
2

ขั้นตอนที่ 2 อาคารสาธารณะ กฎหมายกําหนดใหลกู ตั้งไมเกิน 19 cm แตลูกตั้งที่เดินสบายทีส่ ุดสําหรับ


ผูใหญทั่วไปคือ 0.175 เมตร หาจํานวนลูกตั้ง n
H 4.20
n   24 ขั้น
0.175 0.175
ความสูงลูกตั้ง
H 4.20
h   0.175 m  17.5 cm
n 20

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณรัศมีและขนาดลูกนอน
รัศมีขอบใน
9n  1 924  1
R    0.732 m  1.00 m
 90
i

เลือกรัศมีขอบใน 1.00 เมตร รัศมีกลางบันได


b1 1.50
R  Ri   1.00   1.75 m
2 2
รัศมีขอบนอก
R o  R i  b1  1.00  1.50  2.50 m
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 191

ลูกนอนที่ขอบใน
R i 90  1.00
bi    0.1366 m  0.10 m
90n  1 9024  1
ลูกนอนที่กลางพื้น
R 90  1.75
bm    0.23903 m  0.24 m
90n  1 9020  1
ตามกฎหมายลูกนอนตองไมนอยกวา 0.22 เมตรในอาคารพักอาศัย และไมนอยกวา 0.24 เมตรใน
อาคารสาธารณะ ดังนั้นลูกนอนที่กลางพืน้ บันไดใชไดดี
ลูกนอนที่ขอบนอก
R o 90  2.50
bo    0.34148 m
90n  1 9020  1
มุมเอียงของบันได
h 0.175
tan     0.732125674
b m 0.23903
  tan 1 0.732125674  36.20881588o
sin   0.590729824
cos   0.806869428

ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบขั้นบันไดแบบพับผา สมมติความหนา t = 0.10 เมตร


น้ําหนักขั้นบันไดแบบพับผา ขนาดลูกตั้ง h = 0.175 m ขนาดลูกนอน b = b1 = 0.23903 m
  h  
2

w G  2400A  2400t b  0.025  h 1   
  b  

  0.175  
2

w G  2400  0.10  0.23903  0.025  0.175 1   
  0.23903  
 
w G  115.4  116 kg / m
สมมติทําผิวหินขัดหนา 3 cm อาคารสาธารณะ น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg / m 2 ขนาดลูกนอน b = b1 =
0.23903 m
w  w G  72b  400b
w  115.4  72  0.23903  400  0.23903
w  228.2 kg / m
ความลึกรวม
h  t  0.175  0.10  0.275 m  27.5 cm
ความลึกประสิทธิผล
d  27.5  6  21.5 cm  0.215 m
192 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แรงเฉือนสูงสุด
b   1.50 
V  w  1  d   228.2  0.215   122.087 kg
2   2 
กําลังรับแรงเฉือนของขั้นบันได
Vc  0.29 f c' td  0.29 240  10  21.5  965.9 kg  V  122.087 kg
บันไดรับแรงเฉือนไดโดยปลอดภัย
โมเมนตดัดสูงสุด
2
1  b1 
M w 
2 2
2
1  1.50 
M   228.2   
2  2 
M  64.18125 kg  m  6,418.125 kg  cm
โมเมนตดัดสมดุล
M R  Rtd 2  8.095  10  21.52  37,419.1375 kg  cm  M
ปริมาณเหล็กรับแรงดึงที่ตองการ
M 6,418.125
As    0.219 cm 2
f s jd 1,500  0.909  21.5

เลือก 1-DB 10 mm ทุกมุม มี A s1    1.0 2  0.785 cm 2  0.219 cm 2 และใช RB 6 mm @ 200 mm


4
ถักซิกแซ็กตามขั้นบันไดแทนเหล็กลูกตั้งรับแรงเฉือน

ขั้นตอนที่ 5 ออกแบบคานกลาง เลือกคานกลางขนาดกวาง b = 0.30 เมตร ลึก h = 0.60 เมตร


น้ําหนักจากขัน้ บันได
wb1 228.2  1.50
w step    1,432 kg / m
bm 0.23903
น้ําหนักจากคานกลาง
2400bh 2400  0.30  0.60
wG    536 kg / m
cos  0.806869428
น้ําหนักบรรทุกรวม
w  1,432  536  1,968 kg / m
เนื่องจาก h  0.60 m   b  0.30 m  ดังนั้น
h 0.60
 2
b 0.30
4 3 2
h h h h
K  0.0139   0.1597   1.2257   0.7262   1.0398
b b b b
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 193

K  0.01392   0.15972  1.22572  0.72622   1.0398


4 3 2

K  3.435
คํานวณหาคา U จาก
360K  1 sin   2K cos 
U
K  1  180K  1 sin  cos 
3603.435  1 sin 90 o  2  3.435  90 cos 90 o
U
  903.435  1  1803.435  1 sin 90 o cos 90o
U  1.27324
ใหระยะหุมบนลาง 4 cm ซายขวา 3.5 cm ไดระยะตางๆ ดังนี้
ระยะทางสั้นของหนาตัด x = 30 cm ระยะทางยาวของหนาตัด y = 60 cm
ระยะทางสั้นภายในเหล็กลูกตั้ง
x 1  30  3.5  3.5  23 cm
ระยะทางยาวภายในเหล็กลูกตั้ง
y1  60  4  4  52 cm
คาเฉลี่ยระยะเหล็กเสริม
x1  y1 23  52
z   37.5 cm
2 2
เนื้อที่แกนคอนกรีตภายในเหล็กลูกตั้ง
A c  x1 y1  23  52  1,196 cm 2
สมมติใชเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm เหล็กเสริมเอก DB 25 mm สองชั้นทั้งเหล็กรับแรงดึงและเหล็กรับแรงอัด
2 .5
d  60  4  0.9  2.5   51.35 cm
2
2 .5
d '  4  0 .9  2 .5   8.65 cm
2
d' 8.65
k 0.274 
f s'  2f s d  2  1,500  51.35  436.1 ksc  f  1,500 ksc
1 k 1  0.274
s

M R  Rbd 2  8.095  30  51.352  640,352.3441 kg  cm  6,403.523441 kg  m


wR  2,146  1.75  3,755.5 kg
wR 2  2,146  1.752  6,572.125 kg  m
M  wR 2 U cos   1  6,572.1251.27324 cos   1
     
M t  wR 2  U sin     6,572.1251.27324 sin   
 180   180 
wR 3,755.5
V 
180 180
คํานวณคาของ M, M t , V จาก   0 ถึง   90o โดยเพิ่มคราวละ 5o ดังนี้
194 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

o M, kg  m M t , kg  m V, kg
0 1,795.77 0 0
5 1,763.93 155.78 327.73
10 1,668.64 306.02 655.46
15 1,510.64 445.19 983.19
20 1,291.12 567.88 1,310.92
25 1,011.76 668.79 1,638.65
30 674.68 742.79 1,966.38
35 282.45 784.94 2,294.10
40 -161.95 790.57 2,621.83
45 -655.13 755.26 2,949.56
50 -1,193.35 674.92 3,277.29
55 -1,772.50 545.79 3,605.02
60 -2,388.18 364.49 3,932.75
65 -3,035.70 128.05 4,260.48
70 -3,710.14 -166.12 4,588.21
75 -4,406.36 -520.13 4,915.94
80 -5,119.06 -935.65 5,243.67
85 -5,842.82 -1,413.89 5,571.40
90 -6,572.125 -1,955.58 5,899.13

โมเมนตดัดบวกสูงสุดที่กลางคาน M  1,795.77 kg  m โมเมนตลบสูงสุดที่ปลายคาน M  6,572.125


kg  m แรงเฉือนสูงสุดที่ปลายคาน V  5,899.13 kg
เหล็กเสริมที่กลางคาน M  179,577 kg  cm  M R  640,352.3441 kg  cm
เหล็กบน
A st  0
เหล็กลาง
M 179,577
A sb    2.565 cm 2
f s jd 1,500  0.909  51.35
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 195

เหล็กเสริมที่ปลายคาน M  657,212.5 kg  cm  M R  640,352.3441 kg  cm


เหล็กบน
MR M  MR
A st  
f s jd f s d  d'
640,352.3441 657,212.5  640,352.3441
A st  
1,500  0.909  51.35 1,50051.35  8.65
A st  9.409 cm 2
เหล็กลาง
M  M R 657,212.5  640,352.3441
A sb    0.905 cm 2
f s d  d'
'
436.151.35  8.65
แรงเฉือนสูงสุด V  5,899.13 kg แรงเฉือนทีค่ อนกรีตรับได
Vc  0.29 f c' bd  0.29 240  30  51.35  6,920.94 kg  V
A v V  Vc
 0 เนื่องจาก V  Vc
s f vd
หนวยแรงเฉือนที่เกิดขึน้ จากแรงเฉือน
V 5,899.13
vv    3.829 ksc  0.29 f c'  0.29 240  4.493 ksc
bd 30  51.35
หนวยแรงเฉือนจากโมเมนตบิด
3.5M t 3.5  195,558
v1  
 x 2 y 302  60
v1  12.675 ksc  1.32 f c'  1.32 240  20.449 ksc
หนวยแรงเฉือนรวม
v  v v  v t  3.829  12.675  16.504 ksc  1.65 f c'  25.562 ksc

เลือกเหล็กลูกตั้ง RB 9 mm มี A t    0.9 2  0.636 cm 2 และ f v  1,200 ksc


4
2A t Mt 195,558
   0.13626
s A c f v 1,196  1,200
A v  2A t
 0  0.13626
s
ปริมาณขั้นต่ําของเหล็กรับแรงเฉือนและแรงบิด
A v  2A t 3.5b w 3.5  30
   0.04375  0.13626
s f sy 2,400
สําหรับเหล็ก RB 9 mm มี
A v  2A t  0  2  0.636  1.272 cm 2
196 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หาระยะเรียงของเหล็กรับแรงเฉือน
1.272
 0.13626
s
1.272
s  9.33 cm
0.13626
ระยะเรียงอาจจะนอยเกินไป เพิ่มเปน 2-RB 9 mm จะทําใหระยะเรียงเพิ่มขึ้นเปนสองเทาคือ
s  2  9.33  18.67  17.5 cm
ใชเหล็กลูกตั้ง 2-ป RB 9 mm @ 175 mm
ออกแบบเหล็กตามยาว
เหล็กรับแรงเฉือนตามยาวทัง้ หมด
x1  y1 23  52
A   2A t  2  2  0.636   10.903 cm 2
s 17.5
bd 30  51.35
Ct    0.028527777
 x y 30 2  60
2

แตปริมาณขั้นต่ํา
 
 28xs Mt  x y
A     2A t   1 1

 f sy M  V  s
 t
3C t 

 
 28  30  30  23  52
 2  2  0.636 
195,558
A   
5,899.13
 2,400 195,558   17.5
 3  0.028527777 
A   22.37 cm 2

แตไมควรใชเกิน
 
 28xs Mt 3.5bs  x 1  y1
A     
 f sy M  V f sy  s
 t
3C t 
 
 28  30  30 195,558 3.5  30  17.5  23  52
A     
5,899.13
 2,400 195,558  2,400  17.5
 3  0.028527777 
A   29.991 cm 2

ใชเหล็กเสริมตามยาว A   22.37 cm 2 แบงเปนสามชั้นๆ ละ 22.37  7.457 cm 2 ชั้นบนรวมกับเหล็ก


3
บน และชั้นลางรวมกับเหล็กลาง สวนชั้นกลางใช 2-DB 25 mm ไดเนื้อที่ 2  4.909  9.818 cm 2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 197

เหล็กลางเพิ่มที่กลางคาน
A sb  2.565  7.457  10.022 cm 2
เสริมเหล็กลาง 3-DB 25 mm มี A sb  3  4.909  14.727 cm 2 ตลอดความยาวคาน
เหล็กบนเพิ่มทีป่ ลายคาน
A st  9.409  7.457  16.866 cm 2
เสริมเหล็กบน 5-DB 25 mm มี A st  5  4.909  24.545 cm 2 โดยเสริมถึงมุม   30o ในชวงกลาง
เสริม 3-DB 25 mm
เขียนรายละเอียดดังแสดงในหนาถัดไป
198 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 199

4.7 บันไดชานพักลอย (FREE-STANDING STAIR)

รูปที่ 4.12 บันไดชานพักลอย

รูปที่ 4.12 เปนบันไดชานพักลอย (Free-standing stair) หากมองทางขางจะคลายขาสุนัข ชานพัก


เปนสวนขอศอกของขาสุนัข บางครั้งจึงเรียก dog-leg stair ในสวนของชานพักไมมีคานมารองรับ ตัวพื้น
บันไดและชานพักจึงตองเกาะเกีย่ วกันใหทรงตัวอยูได ตัวขั้นบันไดเปนสวนที่มาเกาะอยูก ับพื้นบันไดเทานั้น
การวิเคราะหหาแรงและโมเมนตทําไดยากมาก ปจจุบนั มีโปรแกรมคอมพิวเตอรทใี่ ชทฤษฎีไฟไนตอิลิเมนต
จึงจะไดคาที่เชือ่ ถือได เชน SAP 2000, ROBOT, ฯลฯ ในที่นี้จะอธิบายวิธีประมาณที่พอจะคํานวณดวยเครื่อง
คิดเลขวิทยาศาสตรดังนี้
Cusens และ Kuang สองทานนี้ไดใชหลักการพลังงานความเครียด (strain-energy principle) หา
ความสัมพันธระหวางแรงยึดในแนวนอน H กับโมเมนตดัด Mo ตรงจุดกึ่งกลางของชานพักลอยนัน้ ๆ แลวใช
H กับ Mo ในการหาแรงและโมเมนตที่ตําแหนงอื่นๆ ของบันไดตอไป
เนื่องจากวิธีการของ Cusens และ Kuang นั้นยุงยากพอสมควร ถาตัดบางเทอมที่มีผลนอยออกไป
บาง จะทําใหสามารถหาคาของ H และ Mo ไดโดยตรง และจากการทดลองวิเคราะหดว ยคอมพิวเตอรพบวา
ผลใกลเคียงกันมาก และในการออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กที่ความคลาดเคลื่อนคอนขางสูงแลว
ผลการวิเคราะหโดยวิธีประมาณนี้ถือวามีความละเอียดเพียงพอแลว
สําหรับบันไดชานพักลอยทีว่ ิเคราะหโดยวิธีประมาณนี้ มีขอสังเกตและเปนขอจํากัดในการ
ออกแบบบันไดชนิดนี้คือ
200 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1. ความกวางของตัวบันไดกับความกวางของชานพักจะตองเทากัน
2. ชวงขึ้นและลงจากชานพักจะตองมีมุมเอียง  เทากันและควรจะมีความยาวเทากันคือจํานวน
ขั้นบันไดเทากันทั้งชวงขึ้นและลง หรือจํานวนลูกตั้งรวมเปนเลขคูเพือ่ จะไดแบงครึง่ ได แตถา
ไมเทากันใหเลือกตัวยาวกวามาออกแบบ

พิจารณารูปที่ 4.13 กําหนดให


a = ความยาวตามแนวเอียงของสวนที่เปนขั้นบันไดจากขอบชานพักถึงคานยึด , เมตร
b = ความกวางของบันได และความกวางของชานพักเทากัน , เมตร
b1 = ระยะหางระหวางแนวกึง่ กลางของบันได , เมตร
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 201

H = แรงในแนวราบที่กึ่งกลางของชานพัก ตามแนวแกน X , kg/m


M0 = โมเมนตดัดทีก่ ึ่งกลางชานพัก เวกเตอรตามแนวราบหรือแกน X , kg.m/m
hf = ความหนาของพื้นรองรับสวนที่เปนขั้นบันได , เมตร
hL = ความหนาของชานพัก , เมตร
Mh = โมเมนตดัดในแนวราบ , kg.m/m
Mv = โมเมนตดัดในแนวดิ่ง , kg.m/m
T = โมเมนตบิด , kg.m/m
nf = น้ําหนักตอหนึง่ หนวยความยาวบนสวนที่เปนขั้นบันได , kg/m
nL = น้ําหนักตอหนึง่ หนวยความยาวบนชานพัก , kg/m
x = ระยะวัดตามแนวเอียงของบันไดจากขอบชานพักที่ B ไปทางคานยึด , เมตร
y = ระยะวัดตามแกน Y บนชานพัก วัดจากจุด O , เมตร
 = ความเอียงของขั้นบันไดทํากับแนวราบ , องศา
สําหรับคาของ nf และ nL อาจจะใชหนวย kg/m2 แทน kg/m ก็ไดเพราะผลจะเหมือนกัน เนื่องจาก
หนวย kg/m เปนการมองเมือ่ ตัดบันไดมาพิจารณากวาง 1.00 เมตร นั่นเอง

ตอไปเปนการคํานวณคาของ H และ M0 ที่จุดกึ่งกลางของชานพัก


ถาจุดยึดของบันไดที่ A และ A’ เปนแบบหมุนไดแลว
 1b 
n L  b1 b 1 sec n f a cos
H  2a 
2tan

ถาจุดยึดของบันไดที่ A และ A’ เปนแบบตรึงแนนแลว (การออกแบบทั่วไปจะเปนแบบนี้)


 
n L  b1 b  43 sec 3n f a cos
b
H  a 
 
 2 
 b  
3 1 
  a  
2tan  4
0.72 1
 2
 
  hf  K 
 1  b  
   
1

Hb1 tan  n L b12 b 2
4

M0 
1.44K
2 2
 hf 
1 
 b 
202 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

3
h   b1  2
เมื่อ K   f   sec 
 hL  a 
ในชวง OB จุดใดๆ ที่หางจากจุด O เปนระยะทาง y
1
M v  M 0  n L y 2
2
M h  H y
1
T   n L by
2

ในชวง BC จุดใดๆ ที่หางจากจุด O เปนระยะทาง y


2
1 1 
M v   n L   b1 b  y 
2 2 
M h 0
1 
T   n L b b1 b  y 
1
2 2 

ในชวง AB จุดใดๆ ที่หางจากจุด B เปนระยะทาง x

 1  1
M v  H xsin  n L  b1 b  xcos  b  n f x 2 cos 2 
1
2  2  2
1  1
M h   Hb1 cos  M 0  n L b12 b 2  sin
2  8 
1  1

T   Hb1 sin   M 0  n L b12 b 2 cos
2  8 

วิธีการวิเคราะหโดยประมาณดังกลาวนี้ กําหนดใหใช G/E = 0.4 ตามขอกําหนดมาตรฐานของ


อังกฤษ CP110 (มาตรฐาน BS-8110 ใหใช G/E = 0.42 ซึ่งผลตางกันไมมากมายอะไร) และกําหนดคา C เปน
ครึ่งหนึ่งของคา St. Venant สําหรับคอนกรีต และทาน Cusens กับทาน Kuang ประมาณคาโมเมนตความ
เฉื่อยหนาตัดชานพักโดยคิดความกวางชานพักเพียงครึ่งเดียว
ตอไปเปนการทําความเขาใจกับทิศทางของโมเมนต Mv , Mh และ T วาเปนอยางไร ซึง่ จะมีผลใหเรา
ทราบถึงลักษณะการเสริมเหล็กที่ควรจะเปนตอไปดวย
จากรูปที่ 4.13 พิจารณาชวง OB ดังรูปที่ 4.14
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 203

รูปที่ 4.14 แสดงทิศทางบวกของแรงและโมเมนต


Mv เปนโมเมนตดัด กระทํากับคานแบนกวาง b หนา hL ทําใหเหล็กเสริมกระจายเต็มตลอดความ
กวาง b ของชานพัก ซึ่งในการออกแบบแมจะพยายามใหมีเฉพาะเหล็กเสริมรับแรงดึง (Singly reinforced
design) แตในการปฏิบัติจริงจะนิยมเสริมเหล็กทั้งบนและลางเทากัน ที่บอกวา Mv เปนโมเมนตในแนวดิง่
ขอใหสังเกตระนาบการหมุนของ Mv จะอยูในแนวดิ่งหรือตั้งฉากกับพื้นชานพัก (ในขณะที่ตวั เวกเตอรของ
Mv ขนานกับชานพัก) จึงเรียกโมเมนตดดั ในแนวดิ่ง
Mh เปนโมเมนตดัดที่ตวั เวกเตอรตั้งฉากกับผิวของชานพัก แตระนาบการหมุนจะอยูขนานกับผิวของ
ชานพักจึงเรียกวาเปนโมเมนตดัดในแนวราบหรือแนวนอน ลักษณะจะคลายกับคานลึกคือกวาง hL ลึก b
เหล็กเสริม (รับแรงดึง) จะไปรวมเปนกระจุกที่ขอบนอกของชานพัก แตเราจะคิดเหล็กรับแรงอัดเทากับเหล็ก
รับแรงดึงไปเลย จึงใหพื้นทีเ่ หล็กที่คํานวณไดไปอยูที่บริเวณจุด O และขอบนอกของชานพัก แนวของเหล็ก
เสริมจากผลของ Mv และ Mh จะวางตัวขนานขอบยาวของชานพักหรือขนานเสนมิติ b1
204 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

T เปนโมเมนตบิดที่พยายามทําใหชานพักบิดโคง (Warping) คลายกับตัดกระดาษแข็งเปนแผน


สี่เหลี่ยมยาว จับปลายทั้งสองขางบิดสวนทางกัน การบิดงอของกระดาษจะเหมือนกับการบิดงอของชานพัก
และบันได เหล็กเสริมตานโมเมนตบิดจะมีสองสวน สวนแรกเปนเหล็กเสริมที่มุมทั้งสี่มุมไปรวมกับผลจาก
Mv กับ Mh สวนที่สองเปนเหล็กปลอกหรือเหล็กที่เสริมในระนาบของการหมุนซึ่งจะไปตั้งฉากกับเหล็กที่มุม
ในสวนแรก
ในตัวบันได เวกเตอร Mv จะขนานกับพืน้ บันได เวกเตอรของ Mh จะตั้งฉากกับพื้นบันได สวน
เวกเตอรของ T จะขนานกับพื้นบันไดเพียงแตจะชี้เขาหรือออกจากหนาตัดเทานัน้ หรือจะมองแบบชานพักก็
ไดโดยจินตนาการวางบันไดใหอยูใ นแนวราบ แลวดูเชนเดียวกับชานพัก
อนึ่งเพื่อไมใหสับสนในเรื่องเวกเตอรของแรงกับเวกเตอรของโมเมนต มีหลายทานไมทราบจึงขอ
เรียนอธิบายไวในทีน่ ี้ กลาวคือ เวกเตอรของแรงจะเปนลูกศรหัวเดียว เชน H ในรูปที่ 2 สวนเวกเตอรของ
โมเมนตจะเปนลูกศรสองหัว เชน M0 ในรูปที่ 4.13 ซึ่งการกําหนดทิศทางของเวกเตอรโมเมนต (ลูกศรสอง
หัว) สัมพันธกบั ลักษณะการหมุนของโมเมนตตามกฎมือขวาที่วา

กํามือขวา ใหนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วกอย สี่นิ้วชิดติดกัน และใหนิ้วหัวแมมือเหยียดตรง ตัง้ ฉากกับ


ระนาบของนิ้วทั้งสี่ที่กําอยูนนั้ ถาทิศการหมุนของโมเมนตวนในทิศทางเชนเดียวกับนิ้วทั้งสี่จากโคนนิ้วไป
หาปลายนิ้วแลว นิ้วหัวแมมือจะชี้ทิศทางของเวกเตอรโมเมนตนนั้

ในทางตรงกันขาม เมื่อเห็นเวกเตอรโมเมนต (ลูกศรสองหัว) และตองการทราบการหมุนของ


โมเมนตวาเปนอยางไร ใหกํามือขวารอบเวกเตอรโมเมนตนั้น (จินตนาการเอา) ใหหวั แมมือชี้ไปตามทิศทาง
คือหัวลูกศรของเวกเตอร นิว้ ทั้งสี่ที่กํานั้นจะบอกทิศทางการหมุนวนของโมเมนตจากโคนนิ้วไปหาปลายนิว้
สังเกตรูปที่ 4.14 ประกอบดวยจะเขาใจไดดีขึ้น

ตัวอยางที่ 4.6 จงออกแบบบันไดชานพักลอยสําหรับอาคารสาธารณะ ซึ่งน้ําหนักบรรทุกจร 500 kg/m2


ความสูงระหวางชั้น 4.00 เมตร ขนาดลูกนอน 0.30 เมตร สวนขนาดลูกตั้งหามเกิน 0.18 เมตร
ความกวางบันไดและชานพัก 1.50 เมตร แนวศูนยกลางบันไดหางกัน 1.90 เมตร ประมาณความ
หนาบันไดในขั้นตนนี้ 0.15 เมตร และความหนาที่ชานพัก 0.20 เมตร ให fc’ = 240 ksc., เหล็ก
ขอออย SD-40 ออกแบบดวยทฤษฎีอิลาสติก มาตรฐาน วสท.

วิธีทํา ออกแบบทางสถาปตยกรรมกอนเพื่อทราบขนาดของลูกตั้ง มุมเอียง  และน้ําหนักบนบันได


กับชานพัก ขนาดลูกตั้งที่เดินสบายที่สุดคือ 0.175 เมตร และลูกนอนไมควรจะเล็กกวา 0.25
เมตร แตตามโจทยใหลูกนอน 0.30 เมตร ก็ถือวาใชได
ความสูงระหวางชั้น = 4.00 เมตร
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 205

ขนาดลูกตั้งไมเกิน = 0.18 เมตร


จํานวนลูกตั้ง = 04..18
00
= 22.2 ปดขึ้นเปน = 23 ขั้น
เนื่องจากบันไดตองขึ้นลงจากชานพักเทากันหรือมุมเอียงเทากัน จํานวนขัน้ บันไดควรจะเปน
เลขคูเพื่อใหแบงไดเทากัน จํานวนขัน้ บันไดจึงควรจะเปน 24 ขั้น
24
แตละชวงขึน้ ลงมีจํานวนลูกตั้ง = = 12 ขั้น
2
4.00
ขนาดลูกตั้ง = = 0.167 เมตร
24
ระยะทางนอน = 12  0.30 = 3.60 เมตร
4.00
ระยะทางดิ่ง = = 2.00 เมตร
2

a = 4.118
2.00

3.60

ความยาวบันได a  2.00 2 3.60 2 = 4.118 เมตร


2.00
มุมเอียงบันได   tan 1 = 29.055 องศา
3.60
tan  = 0.5556 , sin  = 0.4856 , cos  = 0.8742

รูปบันไดชานพักลอยตามตัวอยางที่ 4.6
206 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

0.30

0.167

1
2400 0.300.167
น้ําหนักของคอนกรีต 1 ขั้น = 2
0.167 2 0.30 2
= 175 kg/m2
บันไดหนา 0.20 เมตร หนัก = 2400  0.20
= 480 kg/m2
น้ําหนักบรรทุกตายตัวของบันได = 175 + 480
= 655 kg/m2
ชานพักหนา 0.20 เมตร น้ําหนักตายตัว = 2400  0.20
= 480 kg/m2
การวิเคราะหตอ งทําเปน 3 กรณีคือ
กรณีที่ 1 มีน้ําหนักจรทั้งบนบันไดและชานพัก
กรณีที่ 2 มีน้ําหนักจรบนบันไดเทานั้น
กรณีที่ 3 มีน้ําหนักจรบนชานพักเทานั้น
สรุปขอมูลเพื่อทําการวิเคราะห
a = 4.118 m. , b = 1.50 m. , b1 = 1.90 m. , hf = 0.15 m.
hL = 0.20 m. ,  = 29.055 องศา
tan  = 0.5556 , sin  = 0.4856 , cos  = 0.8742
กรณีที่ 1 nf = 655 + 500 = 1155 kg/m2
nL = 480 + 500 = 980 kg/m2
กรณีที่ 2 nf = 655 + 500 = 1155 kg/m2
nL = 480 = 480 kg/m2
กรณีที่ 3 nf = 655 = 655 kg/m2
nL = 480 + 500 = 980 kg/m2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 207

3
h   b1  2  0.20   1.90  1
3

คาคงที่ K   f   sec     
 a   0.20   4.118  0.8742
2
 hL
K = 0.6037
พิจารณากรณีที่ 1 , nf = 1155 kg/m2 , nL = 980 kg/m2
 
n L  b1 b  43 sec 3n f a cos
b
H  a 
 
 2 
  b1  
3 
  a  
2tan  4
0.72 1
 2
 
  hf  K 
 1 b  
   
 1 
9801.901.50  43
1.50
 31155 4.1180.8742
H  4.118 0.8742 
 
 2 
  1.90  
3 
  4.118  
20.5556 4
0.72 1 
 2
 
 1 0.20  0.6037 
   
  1.50  
H  6,725.41 kg/m
1

Hb1 tan n L b12 b 2
4

M0 
1.44K
2
2
 hf 
1 
 b 
1

6,725.41 1.900.5556  980 1.90 2 1.50 2
4

M0 
1.440.6037
2
2
 0.20 
1 
 1.50 
M 0  2,370.73 kg.m/m
พิจารณาชวง OB ระยะ y วัดจากจุด O
1
M v  M 0  n L y 2
2
M h   Hy
1
T   n L by
2
208 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ที่จุด O คา y = 0 ได


M v  M 0 2,370.73 kg  m / m
Mh 0
T 0
ที่จุด B คา y  b1  1.90  0.95 m.
2 2
1
M v  2,370.73 9800.952 = -2,812.96 kg.m/m
2
M h  6,725.410.95 = -6,389.14 kg.m/m
1
T   9801.500.95 = -698.25 kg.m/m
2
พิจารณาชวง BC ระยะ y วัดจากจุด O
2
1 1 
M v   n L   b1 b  y 
2 2 
Mh 0
1 
T   n L b  b1 b  y 
1
2 2 
ที่จุด B คา y = b1 =0.95 m.
2
2
1 1 b 
M v   n L   b1 b  1   n L b 2   9801.50 2
1 1
2 2 2 8 8
M v   275.625 kg  m / m
Mh 0
1 b  1
T   n L b  b1 b  1    n L b 2  980 1.50 2
1 1
2 2 2 4 4
T   551.25 kg  m / m

ที่จุด C คา y  b1  b  1  b1 b 
2 2 2
2
1 1 
M v   n L   b1 b   b1 b   0
1
2 2 2 
Mh 0
1 
T   n L b  b1 b   b1 b   0
1 1
2 2 2 
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 209

พิจารณาชวง AB ระยะ x วัดจาก B


 b 1
M v  H xsin  n L  b1 b  xcos   n f x 2 cos 2 
1
2  2 2
1  1

M h   Hb1 cos  M 0  n L b12 b 2 sin
2  8 
1  1
 
T   Hb1 sin    M 0  n L b12 b 2 cos
2  8 
 1.50 
M v  6,725.41x  0.4856   980  1.90  1.50    0.8742 x 
1

2  2 
1
  1155x 2  0.8742
2
M v  3,265.86 x  1,6660.8742 x  0.75  504.85x 2
Mh และ T ไมขึ้นกับระยะ x ดังนั้นคาของ Mh และ T จะสม่ําเสมอตลอดความยาว
1  1
 

M h   6,725.41 1.900.8742 2370.73  980 1.90 2 1.50 2 0.4856
2  8   
M h  6,817.51 kg  m / m

T   6,725.411.900.4856  2,370.73 9801.90 2 1.50 2 0.8742


1  1 
2  8 
T   884.43 kg.m / m
ที่จุด B คา x = 0
M v 3,265.86 0 1,666 0.8742  0  0.75  504.8  0 2   1249.5 kg  m / m

ที่จุด D คา x  a  4.118  2.059 m


2 2
M v  3,265.86x  1,6660.8742x  0.75  504.8x 2
M v  3,265.86  2.059  1,666  0.8742  2.059  0.75  504.8  2.059 2
M v  336.05 kg  m / m
ที่จุด A คา x = a = 4.118 m
M v  3,265.86x  1,6660.8742 x  0.75  504.8x 2
M v  3,265.86  4.118  1,666  0.8742  4.118  0.75  504.8  4.1182
M v  2,358.57 kg  m / m
210 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

สรุปผลเปนตารางไดดังนี้
ผลการวิเคราะหกรณีที่ 1 , nf = 1155 kg/m2 , nL = 980 kg/m2
จุดที่พิจารณา Mv Mh T
kg.m/m kg.m/m kg.m/m
ชวง OB จุด O -2,370.73 0 0
จุด B -2,812.96 -6,389.14 -698.25
คาเฉลี่ย ที่ B -1,544.29
ชวง BC จุด B -275.625 0 -551.250
จุด C 0 0 0
ชวง BA จุด B -1249.5 -6,817.51 -884.43
จุด D 336.05 -6,817.51 -884.43
จุด A -2,358.57 -6,817.51 -884.43

 2,812.96  275.625
ที่จุด B ชวง OB กับ BC เฉลี่ย =   1,544.29 kg.m/m
2
พิจารณากรณีที่ 2 , nf = 1,155 kg/m2 , nL = 480 kg/m2
 1 
4801.901.50  43
1.50
 311554.1180.8742
H  4.118 0.8742 
 
 2 
  1.90  
3 
  4.118  
20.5556 4
0.72 1 
 2
 
  0.20  0.6037 
 1 1.50  
 
H  2,971.76 kg / m
1

Hb1 tan n L b12 b 2
4

M0 
1.44K
2
2
 hf 
1 
 b 
1

2971.761.900.5556 480 1.90 2 1.50 2
4

M0 
1.440.6037
2
2
 0.20 
1 
 1.50 
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 211

M 0 1,041.96 kg.m / m
พิจารณาชวง OB
จุด O , Mv = -1,041.96 kg.m/m
Mh = 0
T =0
1
จุด B , M v  1041.96 4800.952   1,258.56 kg  m / m
2
M h  2971.960.95   2,823.36 kg  m / m
1
T   4801.500.95   342 kg  m / m
2
พิจารณาชวง BC
1
จุด B , M v   4801.50 2   135 kg  m / m
8
Mh 0
1
T   4801.50 2   270 kg  m / m
4
จุด C , Mv = 0 , Mh = 0 , T = 0
พิจารณาชวง BA
 b 1
M v  H xsin  n L  b1 b  xcos   n f x 2 cos 2 
1
2  2 2
1  1

M h   Hb1 cos  M 0  n L b12 b 2 sin
2  8 
1  1
 
T   Hb1 sin    M 0  n L b12 b 2 cos
2  8 
 1.50 
M v  2971.76 x  0.4856   480  1.90  1.50    0.8742 x 
1

2  2 
1
  1155x 2  0.8742
2
M v  1,443.09 x  8160.8742 x  0.75  504.85x 2
1  1

M h   2971.76 1.900.87421041.96 480 1.90 2 1.50 2 0.4856
2  8 
M h   3,013.62 kg  m / m
1  1

T   2971.761.900.4856 1041.96 480 1.90 2 1.50 2 0.8742
2  8 
T   388.72 kg  m / m
212 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ที่จุด B , x = 0
M v  1,443.09x  8160.8742x  0.75  504.85x 2
M v  1,443.09  0  816  0.8742  0  0.75  504.85  0 2
M v  612 kg  m / m
ที่จุด D , x = 2.059 m. กึ่งกลางระยะ AB พอดี
M v  1,443.09x  8160.8742x  0.75  504.85x 2
M v  1,443.09  2.059  8160.8742  2.059  0.75  504.85  2.059 2
M v  1,249.76 kg  m / m
ที่จุด A , x = 4.118 m.
M v  1,443.09x  8160.8742x  0.75  504.85x 2
M v  1,443.09  4.118  816  0.8742  4.118  0.75  504.85  4.118 2
M v  6,168.13 kg  m / m
สรุปผลเปนตารางไดดังนี้
ผลการวิเคราะหกรณีที่ 2 nf = 1,155 kg/m2 , nL = 480 kg/m2
จุดที่พิจารณา Mv Mh T
kg.m/m kg.m/m kg.m/m
ชวง OB จุด O -1,041.96 0 0
จุด B -1,258.56 -2,823.36 -342
คาเฉลี่ยที่ B -696.78
ชวง BC จุด B -135 0 -270
จุด C 0 0 0
ชวง BA จุด B -612 -3,013.62 -388.72
จุด D -1,249.76 -3,013.62 -388.72
จุด A -6,168.13 -3,013.62 -388.72

1,258.56135
ที่จุด B ชวง OB กับ BC เฉลี่ย Mv    696.78 kg  m / m
2
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 213

พิจารณากรณีที่ 3 , nf = 655 kg/m2 , nL = 980 kg/m2


 1 
9801.901.50  43
1.50
 3 6554.1180.8742
H  4.118 0.8742 
 
 2 
  1.90  
3 
  4.118  
20.5556 4
0.72 1 
 2
 
  0.20  0.6037 
 1 1.50  
 
H  5,177.43 kg / m
1

Hb1 tan n L b12 b 2
4

M0 
1.44K
2
2
 hf 
1 
 b 
1

5177.43 1.900.5556 980 1.90 2 1.50 2
4

M0 
1.440.6037
2
2
 0.20 
1 
 1.50 
M 0 1,798.19 kg  m / m
พิจารณาชวง OB
จุด O , Mv = -1,798.19 kg.m/m
Mh = 0
T =0
1
จุด B , M v  1798.19 9800.952   2,240.42 kg  m / m
2
M h  5177.430.95   4,918.56 kg  m / m
1
T   9801.500.95   698.25 kg  m / m
2
พิจารณาชวง BC
1
จุด B , M v   9801.50 2   275.63 kg  m / m
8
Mh 0
1
T   9801.50 2   551.25 kg  m / m
4
จุด C , Mv = 0 , Mh = 0 , T = 0
214 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

พิจารณาชวง BA
 b 1
M v  H xsin  n L  b1 b  xcos   n f x 2 cos 2 
1
2  2 2

M h   Hb1 cos  M 0  n L b12 b 2 sin


1  1 
2  8 

T   Hb1 sin    M 0  n L b12 b 2 cos


1  1 
2  8 
 1.50 
M v  5177.43x  0.4856   980  1.90  1.50    0.8742 x 
1

2  2 
1
  655x 2  0.8742
2
M v  1,443.09 x  1,6660.8742 x  0.75  286.3x 2

M h   5177.43 1.900.87421798.19 9801.90 2 1.50 2 0.4856


1  1 
2  8 
M h   5,253.91 kg  m / m

T   5177.431.900.48561798.19 9801.90 2 1.50 2 0.8742


1  1 
2  8 
T   670.83 kg  m / m

ที่จุด B ชวง OB กับ BC เฉลี่ย M v   2,240.42275.63  1,258.03 kg  m / m


2
ที่จุด B , x = 0
M v  1,443.09x  8160.8742x  0.75  286.3x 2
M v  1,443.09  0  816  0.8742  0  0.75  286.3  0 2
M v  612 kg  m / m
ที่จุด D , x = 2.059 m. กึ่งกลางระยะ AB พอดี
M v  1,443.09x  8160.8742x  0.75  286.3x 2
M v  1,443.09  2.059  8160.8742  2.059  0.75  286.3  2.059 2
M v  323.22 kg  m / m
ที่จุด A , x = 4.118 m
M v  1,443.09x  8160.8742x  0.75  286.3x 2
M v  1,443.09  4.118  816  0.8742  4.118  0.75  286.3  4.1182
M v  2,461.97 kg  m / m
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 215

สรุปผลไดดังตารางตอไปนี้
ผลการวิเคราะหกรณีที่ 3, nf = 655 kg/m2 , nL = 980 kg/m2
จุดที่พิจารณา Mv Mh T
kg.m/m kg.m/m kg.m/m
ชวง OB จุด O -1,798.19 0 0
จุด B -2,240.42 -4,918.56 -698.25
คาเฉลี่ย -1,258.03
ชวง BC จุด B -275.63 0 -551.25
จุด C 0 0 0
ชวง BA จุด B -612 -5,253.91 -670.83
จุด D -323.22 -5,253.91 -670.83
จุด A -2,461.97 -5,253.91 -670.83
เปรียบเทียบทัง้ สามกรณีแลว
ชานพัก จุด O , Mv = -2,370.73 kg.m/m
Mh = 0 , T = 0
จุด B , Mv = -1,544.29 kg.m/m
Mh = -6,389.14 kg.m/m
T = -698.25 kg.m/m
จุด C , Mv = 0 , Mh = 0 , T = 0
บันได จุด B , Mv = -1,249.5 kg.m/m
Mh = -6,817.51 kg.m/m
T = -884.43 kg.m/m
จุด D , Mv = 1,249.76 kg.m/m
Mh = -6,817.51 kg.m/m
T = -884.4 kg.m/m
จุด A , Mv = -6,168.13 kg.m/m
Mh = -6,817.51 kg.m/m
T = -884.43 kg.m/m
ในชานพักออกแบบใหรับคาโมเมนต
Mv = -2,370.73 kg.m/m
Mh = -6,389.14 kg.m/m
216 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

T = -884.43 kg.m/m
ในบันไดออกแบบใหรับคาโมเมนต
Mv = -6,168.13 kg.m/m
Mh = -6,817.51 kg.m/m
T = -884.43 kg.m/m
แตเนื่องจากทัง้ บันไดและชานพักตางก็กวาง 1.50 เมตร คาโมเมนตจึงตองคูณดวยความกวาง
ดังกลาว นัน่ คือ
ในชานพัก
Mv = -1.50  2,370.73 = -3,556.10 kg.m
Mh = -1.50  6,389.14 = -9,583.71 kg.m
T = -1.50  884.43 = -1,326.65 kg.m
ในบันได
Mv = -1.50  6,168.13 = -9,252.20 kg.m
Mh = -1.50  6,817.51 = -10,226.27 kg.m
  T  =  ‐1.50  884.43  =  ‐1,326.65  kg.m 

คํานวณพารามิเตอรในการออกแบบ
กําหนด fc’ = 240 ksc
fy = 4000 ksc
fc = 0.45fc’ ksc
fc = 0.45  240 = 108 ksc
vc(beam) = 0.29 f c' 0.29 240  4.493 ksc
vc(punching) = 0.53 f c' 0.53 240  8.211 ksc
vc(torsion) = 1.32 f c' 1.32 240  20.449 ksc
E s 2,040,000 2,040,000
n =    8.72
E c 15100 f c' 15,100 240

fs = 0.5fy  1700 ksc


fs = 0.5  4000 = 2000 > 1700 ksc ใช fs = 1700 ksc
1 1
k   0.356
fs 1700
1 1
nf c 8.72108
k 0.356
j 1 1  0.881
3 3
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 217

1 1
R  f c k j  108 0.356 0.88116.936 ksc
2 2

ออกแบบชานพัก
ผลของ Mv เปนคานแบนกวาง 1.50 เมตร

 
ลึก 0.20 เมตร ความลึกประสิทธิผล d = 0.20 - 0.04
= 0.16 m และ d’ = 0.04 m
M = Mv = 3,556.10 kg.m
MR = Mc = Rbd2 =16.936  1.50  162
MR = 6,503.424 kg.m > M
d'
k
f s'  2f s d f
1k
s

4
0.356
f s'  21700 16  559.63 ksc
10.356
M 355,610
A st    14.834 cm 2
f s jd 1700  0.881  16
A sc  0
สําหรับชานพักตองตรวจสอบ Mh = -9,583.71 kg.m เปนคานกวาง 0.20 m. (ขนาดใหม) ลึก 1.50
m. , d = 1.40 m. , d’ = 0.10 m.
MR = 16.936  0.20  1402 = 66,389.12 kg.m >> 9,583.71 kg.m OK
M 958,371
A st    4.571 cm 2
f s jd 1700  0.881  140
นําผลไปรวมโดยคิดเพียงครึง่ เดียวคือ
4.571
A st  14.834   17.119 cm 2 ใชเหมือนกันทั้งเหล็กบนและลาง
2
ผลของ T จะตองพิจารณาแรงเฉือน
3.5M t 3.5132,665
vt    7.739 ksc.
 x 2 y 20 2150
vc(torsion) = 1.32 f c' 1.32 240  20.449 ksc. > 7.739 ksc. OK
หาเหล็กเสริมแตละมุม
Mt z
As 
2A c f s
Mt = T = 132,665 kg.cm
218 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

z = 20 4 4 15044  = 77 cm.


2
Ac = ( 20 - 4 - 4 ) ( 150 - 4 - 4 ) = 1,704 cm2
fs = 1700 ksc.
132,665 77
As  = 1.763 cm2
21,7041,700
รวมผลกับเหล็กเสริมจากโมเมนตดัด
A s  17.119  2  1.763  20.645 cm 2

เลือก DB 16 mm มี A s1    1.6 2  2.01 cm 2 จึงใชจาํ นวน 20.645  10.27  11 เสน ระยะเรียง


4 2.01
150
โดยประมาณ  13.64 cm เสริมเหล็ก 11-DB 16 mm ทั้งสองชั้น
11
สําหรับเหล็กทางขวางของชานพักจะเกิดจากเหล็กตามยาวของตัวบันได แตอาจจะคํานวณออกแบบ
เผื่อไวกอนดังนี้
สมมติใช DB 12 mm เปนเหล็กทางขวางของตัวชานพัก

Av   1.2 2  1.131 cm 2
4
f v  1700 ksc
A c  20  4  4 150  4  4   1,704 cm 2
M t  132,665 kg cm
ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
2 2A v A c f v 2 2  1.131  1,704  1,700
s   69.85 cm  15 cm
Mt 132,665
ออกแบบพื้นบันได
ผลของ M v  925,220 kg  cm เปนคานแบนกวาง b  150 m หนา h f  20 cm ความลึก
ประสิทธิผล d  16 cm และความลึกเหล็กรับแรงอัด d'  4 cm
M R  Rbd 2  16.936  150  16 2  650,342 kg  m  M
d' 4
k 0.356 
f s'  2f s d  2  1700  16  559.63 ksc  f  1,700 ksc
1 k 1  0.356
s

M M  MR 650,342 925,220  650,342


A st  R   
f s jd f s d  d' 1,700  0.881  16 1,70016  4 
A st  40.614 cm 2
M  M R 925,220  650,342
A sc  '   40.932 cm 2  A st
f s d  d' 559.6316  4 
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 219

การที่ A sc  A st แสดงวาแผนพื้นสวนบันไดเล็กเกินไป แตเนื่องจากมีคาใกลเคียงกันมากจึงไมคํานวณใหม


แตจะเพิ่มความหนาเปน 22 cm ทั้งชานพักและตัวบันได (ถาเปลี่ยนความหนาขึน้ มาก น้ําหนักแผนพื้นจะ
เปลี่ยนไปมากควรจะคํานวณใหม)

ผลของ M h  1,022,627 kg  cm เปนคานวางตัวแนวนอน กวาง b  22 cm ลึก h  150 m ความลึก


ประสิทธิผล d = 146 cm ความลึกของเหล็กรับแรงอัด d’ = 4 cm
d' 4
k 0.356 
f s'  2f s d  2  1,700  146  1,735 ksc  f  1,700 ksc
1 k 1  0.356
s

M R  Rbd 2  16.936  22  146 2  7,942,171 kg  cm  M  1,022,627 cm 2


ดังนั้น
A sc  0
M 1,022,627
A st    4.677 cm 2
f s jd 1,700  0.881  146
นําผลเพียงครึ่งเดียวไปรวมกับผลของโมเมนตดัด M v
4.677
A s  40.932   43.27 cm 2
2
ผลของโมเมนตบิด M t  T  132,665 kg  cm ตองพิจารณาแรงเฉือน
3.5M t 3.5  132,665
vt    6.396 ksc  1.32 f c'  1.32 240  20.449 ksc
 x y 22  150
2 2

หาเหล็กเสริมแตละมุม
Mtz
As 
2A c f s
M t  T  132,665 kg  cm

z
22  4  4  150  4  4  78 cm
2
A c  22  4  4 150  4  4   1,988 cm 2
f s  1,700 ksc
132,665  78
As   1.531 cm 2
2  1,988  1,700
นําไปรวมกับผลของโมเมนตดัดโดยคิดสองมุม
A s  43.27  2  1.531  46.332 cm 2

เลือก DB 16 mm มี A s1    1.6 2  2.01 cm 2 ใชจํานวนเสน  46.332  23.05  24 เสน ระยะ


4 2.01
เรียง s  150  6.25 cm ซึ่งคอนขางถี่ แตคอนกรีตยังเทผานได
24
220 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

สมมติใช DB 12 mm เปนเหล็กทางขวางของตัวพื้นบันได

Av   1.2 2  1.131 cm 2
4
f v  1700 ksc
A c  22  4  4 150  4  4   1,988 cm 2
M t  132,665 kg cm
ระยะเรียงของเหล็กทางขวาง
2 2A v A c f v 2 2  1.131  1,988  1,700
s   81.49 cm  15 cm
Mt 132,665
เหล็กทางขวางพื้นบันได DB 12 mm @ 150 mm
แสดงรายละเอียดโครงสรางดังรูป
บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก 221
222 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แบบฝกหัดบทที่ 4
ในการออกแบบบันไดตอไปนี้ใหออกแบบตามมาตรฐาน วสท. โดยใหกําลังประลัยของคอนกรีต
ทรงกระบอกมาตรฐานอายุ 28 วัน f c'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม SD-30 , f y  3,000 ksc
เหล็กทางขวางอาจจะเลือก SR-24 , f sy  2,400 ksc

[1] ใหออกแบบบันไดทองเรียบวางพาดบนคานที่ปลายทั้งสองขาง ความสูงระหวางชัน้ 3.50 เมตร ชวง


ยาวบันได ความกวางสุทธิของบันได 1.50 เมตร ชองวางระหวางตัวบันไดที่กลางชานพัก 0.20 เมตร
ความกวางของเสา 0.30 เมตร ทําใหปลองบันไดกวาง 3.50 เมตร วัดระหวางศูนยกลางเสา ความยาว
ของบันไดระหวางคานทีพ่ าดปลายบันได 4.00 เมตร คานปลายบันได กวาง 0.25 เมตรทั้งสองปลาย
ขนาดลูกตั้ง 0.175 เมตร ลูกนอน 0.25 เมตร มี 1 ชานพัก อาคารสาธารณะ น้ําหนักบรรทุกจร 400
kg/m2
[2] ใหออกแบบบันไดพับผาวางพาดบนคานทีป่ ลายทั้งสองขาง ความสูงระหวางชั้น 3.50 เมตร ชวงยาว
บันได ความกวางสุทธิของบันได 1.50 เมตร ชองวางระหวางตัวบันไดที่กลางชานพัก 0.20 เมตร
ความกวางของเสา 0.30 เมตร ทําใหปลองบันไดกวาง 3.50 เมตร วัดระหวางศูนยกลางเสา ความยาว
ของบันไดระหวางคานทีพ่ าดปลายบันได 4.00 เมตร คานปลายบันได กวาง 0.25 เมตรทั้งสองปลาย
ขนาดลูกตั้ง 0.175 เมตร ลูกนอน 0.25 เมตร มี 1 ชานพัก อาคารสาธารณะ น้ําหนักบรรทุกจร 400
kg/m2
[3] ใหออกแบบบันไดแบบมีคานกลาง ความกวางบันได 2.00 เมตร ความสูงระหวางชัน้ 3.50 เมตร ลูกตั้ง
0.175 เมตร ลูกนอน 0.25 เมตร มีชานพักทั้งสองปลายความยาวบันได 5.25 เมตร อาคารสาธารณะ
น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg/m2
[4] ใหออกแบบบันไดแบบยื่นจากคานในผนัง ความกวางบันได 1.50 เมตร ความสูงระหวางชั้น 3.50
เมตร ลูกตั้ง 0.175 เมตร ลูกนอน 0.25 เมตร มีชานพักทัง้ สองปลายความยาวบันได 5.25 เมตร อาคาร
สาธารณะ น้ําหนักบรรทุกจร 400 kg/m2
[5] ใหออกแบบบันไดแบบมีแมบันไดสองขาง ความกวางบันได 3.00 เมตร ราวบันไดกออิฐหนา 0.30
เมตรสูง 1.00 เมตร น้ําหนัก 720 kg/m น้ําหนักบรรทุกจร 500 kg/m2 ความสูง 1.35 เมตร ลูกตั้ง 0.15
เมตร ลูกนอน 0.30 เมตร ไมมีชานพัก
[6] ใหออกแบบบันไดเวียนกวาง 1.50 เมตร ความสูงระหวางชั้น 3.50 เมตร ทั้งแบบทองเรียบ และแบบมี
คานกลาง น้ําหนักบรรทุกจร 300 kg/m2 มุมระหวางคานลางกับคานบน 120 องศา
5
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
5.1 การถายน้ําหนักจากคานและพื้นลงเสา
เสาเปนองคอาคารที่รับน้ําหนักในแนวดิ่ง แรงเฉือนจากแรงทางขางเชนแรงลม แผนดินไหว
โมเมนตดัด และสวนนอยจากโมเมนตบิดที่เกิดจากการไมสมมาตรของรูปทรงอาคารทําใหเกิดการบิดตัว
ขณะรับแรงทางขาง ในขั้นตนจะเสนอแนะวิธีถายน้ําหนักแนวดิ่งจากคานและพืน้ ลงเสาซึ่งมีสองวิธีตามรูปที่
5.1

รูปที่ 5.1 การถายน้ําหนักจากคานและพื้นลงเสา

วิธีแบงพื้นทีเ่ ปนวิธีแรกทีน่ ยิ มใชดังรูปที่ 5.1(ก) โดยโยงเสนแบงครึ่งระหวางแนวเสาตามแนว


เสนประ โดยไมแบงระหวางคาน B2 กับ B4 เนื่องจาก B4 ไมสามารถทรงตัวลอยในอากาศไดตองฝากผาน
4.00 4.00 4.00
คาน B3 ไปไวที่เสา C1 พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผากวาง  1.50  3.50 m ยาว   4.00 m
2 2 2
คาน B2 และ B4 ยาว 4.00 เมตร คาน B3 ยาว 3.50 เมตร น้ําหนักทั้งหมดในสี่เหลีย่ มนี้จะถายลงเสา C1 ถา
พื้น S1 และ S2 หนา 0.10 เมตร รับน้ําหนักบรรทุกจร 200 kg/m2 คาน B2 และ B3 มีขนาด 0.20  0.50
โดยมีผนังอิฐมอญครึ่งแผนสูง 2.50 เมตร คาน B4 ขนาด 0.20  0.40 มีครีบขนาด 0.10  0.70 ตั้งอยูโดย
ไมรวมความลึกของคาน หาน้ําหนักลงเสา C1 ไดดังนี้
พื้น S1 และ S2 ตางมีความหนา 0.10 เมตร น้ําหนักของคอนกรีตพื้นเอง 2400  0.10  240
kg / m 2 น้ําหนักบรรทุกจรอีก 200 kg / m 2 รวมเปน 440 kg / m 2 พื้นที่กวาง 3.50 เมตร ยาว 4.00 เมตร
น้ําหนักลงเสา C1 จากพื้นคือ
224 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

w s  440  3.50  4.00   6,160 kg


คาน B2 ยาว 4.00 เมตร กวาง 0.20 เมตร ลึก 0.50 เมตร ผนังอิฐมอญครึ่งแผนสูง 2.50 เมตร มี
น้ําหนักลงเสา C1 คือ
w B 2  2400  0.20  0.50  4.00  180  2.50  4.00  2,760 kg
คาน B3 ยาว 3.50 เมตร กวาง 0.20 เมตร ลึก 0.50 เมตร มีผนังอิฐมอญครึ่งแผนสูง 2.50 เมตร มี
น้ําหนักลงเสา C1 คือ
w B3  2400  0.20  0.50  3.50  180  2.50  3.50  2,415 kg
คาน B4 ยาว 4.00 เมตร กวาง 0.20 เมตร ลึก 0.40 เมตร มีครีบ คสล. หนา 0.10 เมตร สูง 0.70 เมตร
น้ําหนักลงเสา C1 คือ
w B 4  2400  0.20  0.40  4.00  2400  0.10  0.70  4.00  1,400 kg
รวมน้ําหนักลง C1
PC1  6,160  2,760  2,415  1,440  12,775 kg
วิธีนี้แมจะดูยุงยากและใชเวลามาก คาทีไ่ ดจะใกลเคียงกับคาที่คํานึงถึงการกระจายซ้ําแลว มี
ประโยชนในอาคารสูงหลายๆ ชั้น ที่ขอบัญญัติอนุญาตใหลดน้ําหนักบรรทุกจรเพื่อเปนการประหยัดฐานราก
วิธีที่สองตามรูปที่ 5.1(ข) น้ําหนักจากเสาชัน้ บนถายรวมกันลงมา 12,000 kg มีคาน B1 สี่ตัวมาฝาก
เสา (โดยดูจากแปลนของแตละชั้นที่ออกแบบไวแลว) จากรายการคํานวณไดแรงปฏิกิริยาที่ปลายคาน B1
เปน 3,000 kg เสาชั้นลางมีคาน B2 สามตัวมาฝากที่เสา แรงปฏิกิริยาที่ปลายคาน B2 เปน 6,000 kg ขียน
แผนภาพการถายน้ําหนักดังรูปขวาสุด น้ําหนักลงเสา 24,000 kg ไดมาจาก 12,000 + 4  3,000 และน้ําหนัก
42,000 kg ไดมาจาก 24,000 + 3  6,000 สังเกตวาไมไดคดิ น้ําหนักของตัวเสาเนื่องจากน้ําหนักที่เสาจะตอง
รับมากกวาน้ําหนักของตัวเสาเองและคาทีน่ ํามาคํานวณก็เปนคาที่มากเกินจริงอยูบางแลว วิธีนี้เร็วกวาวิธีแรก
ละสื่อความหมายดีกวา ตรวจสอบงายกวา
ในการปฏิบัติงานจริงนั้นทั้งสองวิธีก็ยังชา แตถาจะใหไดผลจริงควรใชทั้งสองวิธีผสมกันและ
ดัดแปลงอีกเล็กนอยดังนี้
1. หลังจากวิเคราะหออกแบบพืน้ และคานรวมทั้งโครงหลังคาเรียบรอยแลว ขณะนีม้ ีแปลน
โครงสรางในกระดาษลอกลายทุกชั้นแลว มีรายการคํานวณออกแบบพืน้ คาน บันได ครีบ หองมั่นคง ถังเก็บ
น้ํา ฯลฯ ใหใชกระดาษลอกลายทาบบนแบบ ลอกเฉพาะหัวเสาทุกตนที่มี ควรจะลอกจากแบบชั้นลางสุด จะ
มีหัวเสาครบทุกตน
2. เอาแปลนหัวเสาเทียบกับแปลนแตละชั้นโดยเริ่มจากหลังคาลงมา ในแปลนแตละชั้นจะมีคาน
ตางๆ ไปฝากเสาที่กําลังพิจารณา ดูรายการคํานวณของคานที่ฝากเสาอยูน ั้นจะมีแรงปฏิกิรยิ า หรืออาจจะระบุ
แรงเฉือนที่ตองแปลงเครื่องหมายใหเปนแรงปฏิกิริยา รวมน้ําหนักจากปลายคานลงเสาเขียนไวใตหรือขางๆ
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 225

3. ในเสาชั้นถัดลงไป เมื่อรวมน้ําหนักจากปลายคานแลว ใหรวมกับน้ําหนักในเสาบนดวย ทํา


จนถึงฐานราก เสร็จแลวจึงจะทําการคํานวณออกแบบเสาตอไป

รูปที่ 5.2 การถายน้ําหนักลงเสา

พิจารณารูปที่ 5.2(ก) เปนแปลนชั้นสองของอาคารหลังหนึ่ง ตองกาหาน้ําหนักลงบนเสา ในรูปที่


5.2(ข) เปนแปลนหัวเสาไมแสดงคาน ยอนกลับไปดูรูปที่ 5.2(ก) เสา C1 มีคาน B1 สามตัว และคาน B3 หนึ่ง
ตัวมาฝาก รูปที่ 5.2(ค) ไดจากรายการคํานวณคาน สมมติชั้นหลังคามีน้ําหนักลงเสา C1 จํานวน 14,163 kg
เขียนในรูปที่ 5.2(ข) และ (ง) เสาระหวางชั้นสองกับหลังคาเปนผูรับเอาไว รูป 5.2(ก) น้ําหนักจากคาน B1
และ B3 ถายลงเสา C1 คือ 3  6,750  13,260  33,510 kg รวมกับน้ําหนักหลังคาเปน 14,163 + 33,510
= 47,673 kg .สังเกตคาน B3 ในรูปที่ 5.2(ก) มีคาน B2 มาฝากคอนมาทาง C1 เมื่อดูที่รปู 5.2(ค) จึงใชน้ําหนัก
13,216 kg แทนที่จะใช 7,380 kg เขียนน้าํ หนักชัน้ 2 ในรูปที่ 5.2(ข) เปน 47,673 kg เสาระหวางชัน้ สองกับ
ชั้นหนึ่งเปนผูรับน้ําหนักชัน้ สองดังรูปที่ 5.2(ง) ทําเชนเดียวกันนี้กับชัน้ หนึ่ง สมมติน้ําหนักจากคานชั้นหนึ่ง
ถายลงเสา C1 เปน 60,018 kg ตามรูปที่ 68(ง) รวมกับน้าํ หนักระหวางเสาชั้นหนึ่งกับชั้นสองเปน 60,018 +
47,673 = 107,691 kg เขียนในแปลนหัวเสาตามรูปที่ 5.2(ข) โดยตอมอระหวางฐานรากกับชั้นหนึง่ เปนผูรับ
ไวดังรูปที่ 5.2(ง) ในกรณีตัวอยางนี้ไมมีชั้นใตดนิ หรือถังเก็บน้ําใตดิน จึงเขียนน้ําหนักลงฐานรากเปน
107,691 kg ตามรูปที่ 5.2(ข) เสาตนอื่นๆ ก็หาไดในทํานองเดียวกัน
226 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

5.2 ประเภทเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 5.3 ประเภทของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก

เสาปลอกเดี่ยว เปนเสาคอนกรีตเสริมเหล็กยืนโดยมีปลอกรัดเปนวงๆ เหล็กปลอกที่รัดอาจจะเปน


วงเดียวหรือหลายๆ วงก็ได ลักษณะของเหล็กปลอกควรจะงอฉากคลองเหล็กยืน โดยที่เหล็กยืนหางกันไม
เกิน 15 cm ใหคลองอยางนอยเสนเวนเสน แตถาหางเกิน 15 cm ตองคลองเหล็กยืนทุกเสน ใชในงานอาคาร
ทั่วไป ดังรูปที่ 5.3(ก)
เสาปลอกเกลียว เปนเสาคอนกรีตเสริมเหล็กยืนมีปลอกเปนเกลียวรัดตอเนื่อง เสาแบบนีร้ ับ
น้ําหนักไดมากกวาเสาปลอกเดียวประมาณ 15 % นิยมใชกับเสากลมหรือเสาหลายเหลี่ยม ที่แกนในเปน
ทรงกระบอก ดังรูปที่ 5.3(ข)
เสาปลอกเกลียวเสริมแกนเหล็ก ดังรูปที่ 5.3(ค) เหมือนเสาปลอกเกลียว แตมเี หล็กรูปพรรณ H
เสริมแกนกลาง เนื้อที่หนาตัดแกนเหล็กจะมีขนาดไมมากนักหากเทียบกับหนาตัดเสา แตถาเนื้อที่หนาตัด
ของเหล็กรูปพรรณมีขนาดโตมากพอๆ กับขนาดเสา จะเปนเสาเหล็กโดยมีคอนกรีตเปนวัสดุหุมกันไฟและ
สนิม เสาชนิดนี้นิยมใชกับการที่ตองการลดขนาดหนาตัดเสาใหเหมาะกับรูปแบบทางสถาปตยกรรม
เสาเหล็กหุมดวยคอนกรีต ดังรูปที่ 5.3(ง) คลายกับเสาปลอกเกลียวเสริมแกนเหล็ก แตเสาเหล็กที่
เปนแกนนิยมประกอบขึ้นจากแผนเหล็กหนา (built-up section) พันรอบดวยตะแกรงเหล็กเบอร 10 AS&W
Gage และมีคอนกรีตกําลังสูงหุมไมนอยกวา 6 cm ที่ใชวธิ ีพนคอนกรีตหุม เสาชนิดนีน้ ยิ มใชในกรณีตองการ
หนาตัดเล็กแตรับน้ําหนักมากๆ
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 227

เสาคอนกรีตหุมดวยทอเหล็ก ดังรูปที่ 5.3(จ) เปนเสาที่รับน้ําหนักไมมาก เชน ค้ํายันชายคา ปลาย


ลางที่ฝงในพื้นคอนกรีตหรือฐานรากตองมีแผนเหล็กนาไมนอยกวา 9 mm เชื่อมติดเพื่อกระจายน้าํ หนักหรือ
แรงเฉือนเจาะทะลุใหพอเหมาะ

รูปที่ 5.4 ลักษณะการจัดเหล็กในเสา


รูปที่ 5.4 แสดงการจัดเหล็กยืนในเสาแบบตางๆ สังเกตวาเหล็กปลอกจะงอฉากคลางเหล็กทุกเสน
หากหางกันเกิน 15 cm แตจะเสนเวนเสนถาหางกันไมเกิน 15 cm รวมทั้งการรวบเปนกํา (bundle)
228 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

5.3 เสาสั้นรับน้ําหนักตามแกน
ในอาคารขนาดเล็กหรืออาคารที่มีความกวางยาวมากแตความสูงนอย เชนหางสรรพสินคาสูง 1-3
ชั้น คาโมเมนตที่เกิดขึ้นในเสามีคานอย ขนาดหนาตัดโตพอที่จะมีความชะลูดไมมากเกินขีดจํากัด ถือวาเปน
เสาสั้น น้ําหนักตามแกนที่เสารับไดดังนี้

เสาปลอกเกลียว

 
P  A g 0.25f c'  f s  t  0.25A g f c'  f s A st (5.1)

เสาปลอกเดี่ยว

 
P  0.85A g 0.25f c'  f s  t  0.2125A g f c'  0.85f s A st (5.2)

เมื่อ P กําลังรับน้ําหนักปลอดภัยตามแนวแกน, kg
2
A g  เนื้อที่หนาตัดเสาคอนกรีต (ไมรวมปูนฉาบ) , cm
f c'  กําลังอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน , ksc
2
A st  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืนทั้งหมด, cm
A st
t   อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอหนาตัดเสา โดยตอง 0.01   t  0.08
Ag
Ag
ในกรณีที่  t  0.01 ใหลด A g เหลือเพียง แลวคํานวณใหม
2
f s  0.4f y  2100 ksc  หนวยแรงอัดที่ยอมใหของเหล็กยืน
f s  1200 ksc สําหรับเหล็กผิวเรียบ SR-24

ในการออกแบบนั้นจะสมมติคา  t  0.04 แทนคา P ดวยน้ําหนักที่ลงเสา แลวหาคาหนาตัดเสา


A g แลวจัดหนาตัดใหมีเนื้อที่หนาตัดมากกวา A g จะทําใหได  t  0.04 เมื่อนําไปหาหนาตัดเหล็กจะทํา
ใหเหล็กไมแนนเกินไป จัดงาย เชนน้ําหนักลงเสา 248 ตัน f c'  280 ksc, f y  5000 ksc ออกแบบเสา
ปลอกเดี่ยว
ให  t  0.04 คา f s  0.4f y  0.4  5,000  2,000 ksc  2,100 ksc

P  0.85A g 0.25f c'  f s  t 
248,000  0.85A g 0.25  280  2,000  0.04   127.5A g
248,000
Ag   1,945 cm 2
127.5
b  t  1,945  44.1 cm
ถาอาคารอยูในบริเวณแผนดินไหว ขนาดดานแคบของคานและเสาหามเล็กกวา 0.30 เมตร (UBC-1997)
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 229

เลือกหนากวางเสา 0.40 เมตร ดังนั้นดานลึกอยางนอย 1,945  48.625 cm ใช 0.50 เมตร


40
A g  40  50  2,000 cm 2
248,000  0.85  2,0000.25  280  2,000 t 
1  248,000 
t    0.25  280 
2,000  0.85  2,000 
 t  0.037941176
0.01   t  0.08
A st   t A g  0.037941176  2,000  75.882 cm 2
 75.882
เหล็ก DB 25 mm แตละเสนมี A s1   2.52  4.909 cm 2 ตองใชจํานวน  15.45  16 เสน
4 4.909
ควรเปนเลขทีห่ ารดวย 4 ลงตัว หรืออยางนอยหารดวย 2 ลงตัว
เหล็กยืนขนาดไมเล็กกวา 12 mm เหล็กปลอกเดี่ยวใชขนาดไมเล็กกวา 6 mm เมื่อเหล็กยืนไมเกิน
20 mm ถาเกินกวานัน้ เหล็กปลอกตองมีขนาดไมเล็กกวา 9 mm

เสาปลอกเกลียวเสริมแกนเหล็ก นิยมใชกบั เสาที่มีแปนหูชาง เปนเสาปลอกเกลียวธรรมดา เสริม


เหล็กหลอหรือเหล็กรูปเปนแกนกลางเสา กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหดงั สมการ

P  0.225A g f c'  f s A st  f r A r (5.3)

เมื่อ P กําลังรับน้ําหนักปลอดภัยตามแกน, kg
A g  เนื้อที่หนาตัดเสาสวนที่เปนคอนกรีต , cm 2
A st  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน , cm 2
A  A g  A st  A r  เนื้อที่หนาตัดเสา , cm 2
A r  0.2A  เนื้อที่หนาตัดเหล็กแกนเสา , cm 2
f s  0.4f y  หนวยแรงอัดที่ยอมใหของเหล็กยืน , ksc
f s  1,200 ksc สําหรับเหล็กผิวเรียบ SR-24
f s  0.4f y  2,100 ksc สําหรับเหล็กขอออย
f r  1,250 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กแกน ASTM A36
f r  1,100 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กแกน ASTM A7
f r  700 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กแกนที่เปนเหล็กหลอ

ตองใหเสามีสมบัติตามสมการ 5.3 ตลอดทั้งตน สวนที่เปนคอนกรีตเสริมเหลกตองออกแบบใหรับ


น้ําหนักบรรทุกจากแปนหูชา งที่เชื่อมติดกับเหล็กแกน โดยหนวยแรงของสวนนี้ไมเกิน 0.35f c' เมื่อเทียบกับ
หนาตัด A g
230 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เนื้อที่หนาตัดของเหล็กเสริมแกนตองไมเกิน 20% ของหนาตัดเสา หรือ A r  0.2A ถาแกนเปน


ทอกลวงตองเทคอนกรีตใหเต็ม ชองวางระหวางเหล็กปลอกเกลียวกับเหล็กเสริมแกนตองมากกวา 7.5 cm
แตถาเหล็กเสริมแกนเปนตัว H ชองวางสวนที่แคบที่สุดตองมากกวา 5 cm แปนหูชางเชื่อมติดกับเหล็กเสริม
แกนดานบนใหตรงกับกึ่งกลางความหนาของพื้น เหล็กเสริมแกนตองรับน้ําหนักตางๆ ระหวางการกอสราง
ไดอยางปลอดภัยกอนเทคอนกรีตหุม

เสาเหล็กหุมดวยคอนกรีต เปนเสาเหล็กรูปที่มีคอนกรีตหุมไมนอยกวา 6 cm (ไมรวมหัวหมุดย้าํ


หรือ strut) คอนกรีตตองมีกําลัง f c'  200 ksc ที่ระยะ 2.5 m จากผิวคอนกรีตตองเสริมตาขายเบอร 10
AS&W Gage รอบเสาและเหลื่อมซอนกันมากกวา 40 เทาของขนาดลวด เหล็กทีพ่ นั รอบเสาหางกันไมเกิน
10 cm เหล็กยืนหางกันไมเกิน 20 cm ศูนยกลางถึงศูนยกลาง ตองออกแบบเหล็กรูปใหรับน้ําหนักบรรทุก
ตางๆ ไดอยางปลอดภัยกอนเทคอนกรีตหุม กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมใหสําหรับเสาประเภทนี้คอื

 Ag 
P  A r f r' 1   (5.4)
 100A r 

เมื่อ P กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให, kg
2
A r  เนื้อที่หนาตัดเหล็กรูป, cm
2
A g  เนื้อที่หนาตัดทั้งหมดของเสา, cm
f r'  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กรูป ตามสมการ (5.6)

เสาคอนกรีตหุมดวยทอเหล็ก เปนเสาที่รับน้ําหนักไมมากนัก โดยเทคอนกรีตลงในทอใหเต็ม


ปลายลางมีแผนเหล็กหนา 6-10 mm แผนํา้ หนักแบกทานแกคอนกรีตไดอยางปลอดภัย กําลังรับน้ําหนัก
บรรทุกปลอดภัยของเสาประเภทนี้คือ
 1  h   '
2

P  0.25f A c 1 
'
c
    f r A r (5.5)
 40,000  K c  

2
 h 
เมื่อ f  1,195  0.0342
r
'
 (5.6)
 s
K
h
โดยที่ตองให  120
Ks
กําลังอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน, ksc
f c' 
h  ความยาวของเสา, cm
K c  รัศมีไจเรชันของสวนที่เปนคอนกรีต, cm
K s  รัศมีไจเรชันของทอเหล็กหรือเหล็กรูป, cm
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 231

f r' หนวยแรงทีย่ อมใหของทอเหล็กหรือเหล็กรูป, ksc


2
A c  เนื้อที่หนาตัดเสาสวนที่เปนคอนกรีต, cm
2
A r  เนื้อที่หนาตัดทอหรือเหล็กรูปสวนที่เปนเหล็ก, cm
P = กําลังรับน้ําหนักปลอดภัยของเสา, kg

5.4 ขอกําหนดเกี่ยวกับเสา

รูปที่ 5.5 ขอกําหนดเกี่ยวกับเสา


h
(1) อัตราสวน ของความยาวปราศจากการยึดรั้งตอดานแคบของหนาตัดเสาสี่เหลี่ยมหรือตอ
t
เสนผานศูนยกลางเสาหนาตัดกลม ตองไมเกิน 15 ถาเกิน 15 จะเปนเสายาวตองลดกําลังรับน้ําหนักของเสาลง
(2) เนื้อที่หนาตัดรวมของเหล็กยืนตองไมนอยกวา 0.01 และไมมากกวา 0.08 ของเนื้อที่หนาตัด
เสา เหล็กยืนตองมีขนาดไมเล็กกวา 12 mm (ยกเวนเสาเอ็น คานทับหลัง และเสารั้ว) เสาสี่เหลี่ยมตองมีเหล็ก
ยืนไมนอยกวา 4 เสน สวนเสากลมตองมีเหล็กยืนไมนอยกวา 6 เสน
(3) ชองวางระหวางเหล็กยืนของเสาตองไมนอ ยกวา 1.5 เทาของขนาดเหล็กยืน หรือ 1.34 เทา
ของหินที่โตทีส่ ุด หรือ 4 cm และระยะมากสุดของชองวางระหวางเหล็กยืนไมเกิน 15 cm ในกรณีเหล็กแนน
มากอาจจะจัดเหล็กเปนสองชั้นตามรูปที่ 5.6 แตควรใชในกรณีจําเปนจริงๆ เทานั้น

รูปที่ 5.6 การจัดเหล็กในเสาเปนสองชั้นเมือ่ เหล็กแนนมาก


232 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

(4) เสาปลอกเกลียวหรือเสาปลอกเดีย่ ว คอนกรีตหุมทีห่ ลอเปนเนื้อเดียวกับแกนคอนกรีตตอง


หนาไมนอยกวา 3.5 cm หรือ 1.34 เทาของหินที่โตที่สุด
(5) เหล็กปลอกของเสาปลอกเดี่ยวตองไมเล็กกวา 6 mm สําหรับเหล็กยืนไมเกิน 20 mm และ
ขนาดไมเล็กกวา 9 mm สําหรับเหล็กยืน 25 mm กับ 28 mm และไมเล็กกวา 12 mm สําหรับเหล็กยืน 32 mm ,
36 mm, 40 mm และเหล็กมัดรวมเปนกํา ระยะหางของเหล็กปลอกไมเกิน 16 เทาของขนาดเหล็กยืน ไมเกิน
48 เทาของขนาดเหล็กปลอก และไมเกินดานแคบของหนาตัดเสาหรือเสนผานศูนยกลางเสา ในกรณีเหล็ก
ยืนตั้งแต 25 mm ขึ้นไป ระยะเรียงเหล็กปลอกไมเกิน 15 cm ตองจัดใหเหล็กปลอกงอฉากคลองเหล็กยืนทุก
เสนที่ระยะหางระหวางเหล็กยืนเกิน 15 cm และคลองเสนเวนเสนเมือ่ ระยะหางระหวางเหล็กยืนไมเกิน 15
cm
(6) เสาปลอกเดี่ยวขนาดใหญมากเนื่องจากขอกําหนดทางสถาปตยกรรม ทําใหคา  t  0.01 ให
ลดเนื้อที่หนาตัดเสาเหลือเพียง 0.5A g แลวคํานวณใหม เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืนทีไ่ ดใหเพิม่ เปนสองเทาแลว
กระจายเต็มเนือ้ ที่หนาตัดเสา
เหล็กปลอกเกลียวตองมีขนาดไมเล็กกวา 9 mm พันตอเนื่องสม่ําเสมอ ระยะเรียงของเกลียว
ไมเกิน 7 cm และไมนอยกวา 3 cm หรือ 1.34 เทาของหินที่โตที่สุด ปริมาตรของเหล็กปลอกเกลียวตองไม
นอยกวา

 Ag  f'
s  0.45  1 c (5.7)
 Ac  f sy

ให D เสนผานศูนยกลางของเสา, cm
c  3.5 cm  ระยะหุมคอนกรีตจากผิวนอกเสาถึงผิวนอกเหล็กปลอก
d bs  เสนผานศูนยกลางของเหล็กปลอก, cm
D c  D  2c  d bs  เสนผานศูนยกลางของแกนคอนกรีตที่อยูใ นแนวศูนยกลางเหล็กปลอก,cm
 2 2
Ag  D  เนื้อที่หนาตัดเสา ,cm
4
 2
A c  D c2  เนื้อที่หนาตัดแกนคอนกรีต ,cm
4
 3
Vsp  D c  d 2bs  ปริมาตรของเหล็กปลอกเกลียวในหนึ่งวงรอบ ,cm
4
 2 3
Vco  A cs  D c s  ปริมาตรแกนคอนกรีตในหนึ่งวงรอบ ,cm
4
 2
Vsp D c  4 d bs d 2bs
s     อัตราสวนปริมาตรเหล็กปลอกตอปริมาตรแกนคอนกรีต
Vco  2 D s
Dc s c
4
f c'  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน ,ksc
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 233

f sy  กําลังครากของเหล็กปลอกเกลียว , ksc
 2
Ag D  D
2

 4    อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเสาตอหนาตัดแกนคอนกรีต
A c  D 2  D c 
c
4
ดังนั้นแทนคาได
d 2bs  D  2  f ' D 2  D c2 f c'
 0.45   1 c  0.45
D cs  D c   f sy D c2 f sy
d 2bs D c2 f sy
s  7 cm และ s  3 cm

0.45D c D 2  D c2 f c' 
เชนเสาปลอกเกลียวเสนผานศูนยกลาง D  50 cm ใชเหล็กปลอกเกลียว RB 9 mm มีกําลัง
คอนกรีต f c'  240 ksc และกําลังครากของเหล็กปลอกเกลียว f sy  2400 ksc ระยะหุม c  3.5 cm
ดังนั้น
D c  D  2c  d bs  50  2  3.5  0.9  42.1 cm
ระยะเรียงเหล็กปลอกเกลียว
d 2bs D c2 f sy   0.9 2  42.12  2400
s   3.27 cm
0.45D c D 2  D c2 f c' 0.45  42.1  50 2  42.12  240
ถาเปลี่ยนไปใชเหล็กปลอกเกลียว DB 10 mm มี f sy  3000 ksc ขอมูลอื่นคงเดิม
D c  D  2c  d bs  50  2  3.5  1.0  42 cm
ระยะเรียงเหล็กปลอกเกลียว
d 2bs D c2 f sy   1.0 2  42 2  3000
s   4.98 cm
0.45D c D 2  D c2 f c' 0.45  42  50 2  42 2  240

ตัวอยางที่ 5.1 จงออกแบบเสาปลอกเกลียวรับน้ําหนักตามแกน 200 ตัน ความยาวเสา 6.00 เมตร


วิธีทํา
กําหนด f c'  210 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน
f y  f sy  3000 ksc  กําลังครากของเหล็กยืนและเหล็กปลอกเกลียว
ขอจํากัดการเปนเสาสั้นคือ
h h
  15
t D
h 6.00
D   0.40 m ใช D  50 cm
15 15
จากสมการเสาสั้นปลอกเกลียว
 
P  A g 0.25f c'  f s  t  0.25f c' A g  f s A st
234 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก


200,000  0.25  210   50 2  0.4  3,000A st
4
A st  80.764 cm 2

สมมติใชเหล็กยืน DB 25 mm แตละเสนมี A s1    2.52  4.909 cm 2 ดังนั้นตองใชเหล็กยืนจํานวน


4
80.764
  16.45  17  18 เสน
4.909
A st  18  4.909  88.362 cm 2
A st 88.362
t    0.045  0.08
A g   50 2
4
เสนผานศูนยกลางที่ศูนยกลางเหล็กยืน  50  2  3.5  2  1.0  2.5  38.5 cm เมื่อใชเหล็กปลอก
เกลียว DB 10 mm ระยะชองวางระหวางเสนเหล็กยืน
  38.5  18  2.5
  4.22 cm  4 cm
18
เสนผานศูนยกลางแกนคอนกรีตที่ศูนยกลางเหล็กปลอกเกลียว
D c  D  2c  d bs  50  2  3.5  1.0  42 cm
ระยะเรียงของเหล็กปลอกเกลียว
d 2bs D c2 f sy
s

0.45D c D 2  D c2 f c' 
  1.0 2  42 2  3000
s  5.69 cm

0.45  42  50 2  42 2  210 
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 235

ตัวอยางที่ 5.2 จงออกแบบเสาปลอกเกลียวรับน้ําหนักปลอดภัย 60 ตัน เสายาว 4.00 เมตร กําลังประลัยของ


คอนกรีต f c'  210 ksc เหล็กขอออย SD-40 มีกําลังคราก f y  4,000 ksc เหล็กปลอกเกลียว
RB 9 mm มีกําลังคราก f sy  2400 ksc
วิธีทํา
ขนาดเสนผานศูนยกลางขั้นต่ําที่ยังมีสภาพเปนเสาสั้นคือ
h 4.00
D   0.27 m ใช D  0.30 m
15 15
กําลังรับน้ําหนักของเสาปลอกเกลียว
 
P  A g 0.25f c'  f s  t  0.25f c' A g  f s A st

60,000  0.25  210   30 2  0.4  4,000A st
4
A st  14.306 cm 2

สมมติใชเหล็กยืน DB 20 mm แตละเสนมี A s1    2.0 2  3.14 cm 2 ดังนั้นตองใชเหล็กยืนจํานวน


4
14.306
  4.56  5  6 เสน
3.14
A st  6  3.14  18.84 cm 2
A st 18.84
t    0.0266  0.08
A g   30 2
4
เสนผานศูนยกลางที่ศูนยกลางเหล็กยืน  30  2  3.5  2  0.9  2.0  19.2 cm เมื่อใชเหล็กปลอก
เกลียว RB 9 mm ระยะชองวางระหวางเสนเหล็กยืน
  19.2  6  2.0
  8.053 cm  4 cm
6
เสนผานศูนยกลางแกนคอนกรีตที่ศูนยกลางเหล็กปลอกเกลียว
D c  D  2c  d bs  30  2  3.5  0.9  22.1 cm
ระยะเรียงของเหล็กปลอกเกลียว
d 2bs D c2 f sy
s

0.45D c D 2  D c2 f c' 
  0.9 2  22.12  2400
s  3.47 cm  3.5 cm

0.45  22.1  30 2  22.12  210 
236 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 5.3 จงออกแบบเสาปลอกเดี่ยวรับน้ําหนักตามแกน 150 ตัน ความยาวเสาแตละชั้น 3.50 เมตร

วิธีทํา

กําหนด f c'  240 ksc  กําลังประลัยทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน


f y  3000 ksc  กําลังครากของเหล็กยืน
กําลังรับน้ําหนักของเสาปลอกเดี่ยว
 
P  0.85A g 0.25f c'  f s  t  0.2125A g f c'  0.34A st f y
สมมติให  t  0.04
150,000  0.85A g 0.25  240  0.4  3000  0.04
A g  1,634 cm 2
เลือกหนาตัดเสากวาง 40 cm ลึก 50 cm มี A g  40  50  2000 cm 2 และ
h 3.50
  8.75  15 ใชได และเปนเสาสั้น
t 0.40
หาปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ
 A 
150,000  0.85  2000   0.25  240  0.4  3000  st 
 2000 
2000  150,000 
A st    0.25  240 
0.4  3000  0.85  2000 
A st  47.06 cm 2

เลือกเหล็กยืน DB 20 mm แตละเสนมี A s1    2.0 2  3.14 cm 2 ดังนั้นใชเหล็กยืนจํานวน


4
47.06
  14.99  15  16 เสน
3.14
ขนาดเหล็กยืน 20 mm ใชเหล็กปลอก RB 6 mm ดังนั้นระยะเรียงของเหล็กปลอกไมเกิน
16 เทาเหล็กยืน
s  16  2.0  32 cm
48 เทาของเหล็กปลอก
s  48  0.6  28.8 cm
ดานแคบของหนาตัดเสา
s  40 cm
คาที่นอยสุดคือ s  28.8 cm ใชจริง 3-ป RB 6 mm @ 250 mm
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 237

ตัวอยางที่ 5.4 จงออกแบบเสาปลอกเดี่ยวใหรับน้ําหนักตามแนวแกน 69 ตัน ให f c'  210 ksc, f y  3000


ksc เสายาว 6.00 เมตร
วิธีทํา ใชขอกําหนดความชะลูดในการหาดานแคบของหนาตัดเสา
h 6.00
  15
t t
6.00
t  0.40 m
15
สมมติเสาขนาดหนาตัด 0.40  0.40 m2 หาปริมาณเหล็กเสริม

P  0.85A g 0.25f c'  f s  t 
69,000  0.85  40  40   0.25  210  0.4  3000 t 
1  69,000 
t    0.25  210 
0.4  3000  0.85  40  40 
 t  0.001470588
การที่ได  t เปนลบนั้นแสดงวาทางทฤษฎีนั้นคอนกรีตรับน้ําหนักไดมากเกินพอ (แตตองมีเหล็กยืนและ
เหล็กปลอกอยูด วย) ในกรณีนี้จะเลือกใชคา  t ขั้นต่ําคือ 0.01 หาปริมาณเหล็กยืนได
A st   t A g  0.01  40  40   16 cm 2

เลือกเหล็ก DB 16 mm เนื้อที่หนาตัดแตละเสน A s1    1.6 2  2.01 cm 2 จํานวนเสนของเหล็กยืนคือ


4
16
 7.96  8 เสน
2.01
เลือกใช ป-RB 6 mm หาระยะเรียงไดจาก
16 เทาขนาดเหล็กยืน
s  16d b  16  1.6  25.6 cm
48 เทาของเหล็กปลอก
238 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

s  48d bs  48  0.6  28.8 cm


ขนาดดานแคบของหนาตัด
s  40 cm
ใชเสาขนาด 0.40  0.40 m 2 เหล็กยืน 8-DB 16 mm เหล็กปลอก 2-RB 6 mm@ 250 mm เนื่องจากเหล็ก
หางกันเกิน 15 cm ตองคลองฉากทุกเสน

ตัวอยางที่ 5.5 จงออกแบบเสาสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีเหล็กรูปเสริมแกน รับน้ําหนักปลอดภัยตามแนวแกน 150


ตัน แกนเหล็กเปน H ชนิด ASTM A36 เหล็กยืน SD-30 มีกําลังคราก f y  3000 ksc เหล็ก
ปลอก SR-24 มีกําลังคราก f sy  2400 ksc กําลังคอนกรีต f c'  240 ksc
วิธีทํา
เปดตารางเหล็กปกกวางเลือก W  150  150  7  10  11 mm  31.5 kg / m มีเนื้อที่หนาตัด 40.14 cm2
เหล็ก ASTM A36 มี fr = 1250 ksc มาตรฐานกําหนดวาเนื้อที่หนาตัดเหล็กรูปตองไมเกิน 0.2 เทาของเนื้อที่
หนาตัดเสา
A r  0 .2 A
A r 40.14
A   200.7 cm 2
0 .2 0 .2
เลือกขนาดเสา 0.35  0.35 m2 มีเนื้อที่หนาตัดเต็ม A  35  35  1225 cm 2  200.7 cm 2 เนื้อที่
หนาตัดสวนทีเ่ ปนคอนกรีต
A g  A  A r  A st  1,225  40.14  A st  1,184.86  A st cm 2
เหล็กยืนมี f y  3,000 ksc หนวยแรงที่ยอมให
f s  0.4f y  0.4  3,000  1,200 ksc  2,100 ksc
กําลังรับน้ําหนักของเสาลอกเกลียวแกนเหล็กรูป
P  0.225f c' A g  f s A st  f r A r
150,000  0.225  240  1,184.86  A st   1,200A st  1,250  40.14
150,000  63,982.44  54A st  1,200A st  50,175
1,146A st  35,842.56
35,842.56
A st   31.28 cm 2
1,146
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 239

เลือกเหล็กยืน DB 20 mm มี A s1    2.0 2  3.14 cm 2 ดังนั้นตองใชเหล็กจํานวน


4
31.28
  9.96  10 เสน
3.14
มาตรฐานกําหนดใหเสาชนิดนี้มีระยะหุมจากผิวนอกทีใ่ กลสุดของเสาถึงศูนยกลางของเหล็กปลอก 6 cm
ดังนั้น กําหนดให
d bs  0.9 cm  ขนาดเหล็กปลอกเกลียว
D  35 cm  เสนผานศูนยกลางเสากลม
D c  D  2c  d bs   35  6  6  23 cm  เสนผานศูนยกลางแกนคอนกรีตในปลอกเกลียว
f c'  240 ksc  กําลังประลัยทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน
f sy  2,400 ksc  กําลังครากของเหล็กปลอกเกลียว
ดังนั้นระยะเรียงของเหล็กปลอกเกลียว
d 2bs D c2 f sy
s

0.45D c D 2  D c2 f c' 
  0.9  23  2,400
2 2
s

0.45  23  352  232  240 
s  1.87 cm  3 cm
เปลี่ยนใช 2-RB 9 mm จะทําใหระยะเรียงเพิ่มเปนสองเทา
s  2  1.87  3.74 cm
เปลี่ยนไปใช DB 10 mm จะมี d bs  1.0 cm, f sy  3,000 ksc
d 2bs D c2 f sy
s

0.45D c D 2  D c2 f c' 
  1.0  23  3,000
2 2
s

0.45  23  352  232  240 
s  2.88 cm  3 cm
เลือกใช 2ป-RB 9 mm @ 37 mm
240 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 5.6 จงออกแบบเสาเหล็กรูปหุมดวยคอนกรีต ความยาวเสา 4.00 เมตร รับน้ําหนักปลอดภัย 75 ตัน


เหล็กรูปพรรณ ASTM A36 กําลังคอนกรีต f c'  240 ksc
วิธีทํา การออกแบบเสาชนิดนี้จะลองเลือกหนาตัดเหล็กรูปจนระยะหางจากผิวเสาถึงผิวเหล็กไมนอยกวา
2.5 cm และไมควรจะมากกวา 7.5 cm
จากตารางเหล็กของ บริษัท เหล็กสยามยามาโตะ จํากัด
เลือก W  150  150  7  10  11 mm  31.5 kg / m มีเนื้อที่หนาตัด A r  40.14 cm 2
รัศมีไจเรชันทีน่ อยที่สุด K s  i y  3.75 cm ความยาวของเสา h  400 m จากสมการ (5.6) หาหนวย
แรงที่ยอมใหของเหล็ก
h 400
  106.7  120
K s 3.75
2
 h 
f r  1,195  0.0342 
 Ks 
f r  1,195  0.0342  106.7 2
f r  805.88 ksc
จากสมการ (5.4)
 Ag 
P  A r f r' 1  
 100A r 
 Ag 
75,000  40.14  805.88  1  
 100  40.14 
Ag 75,000
1   2.318534259
4,014 40.14  805.88
A g  4,0142.318534259  1  5,293 cm 2
b  t  5,293  72.75 cm
เมื่อเลือก W  150  150  7  10  11 mm  31.5 kg / m ตองใชเสาหนาตัด 0.75  0.75 m 2 ดังนั้น
ระยะจากหนาตัดเหล็กถึงขอบเสายาว
75  15
  30 cm  10 cm
2
แสดงวาเลือกหนาตัดเหล็กเล็กเกินไป เลือกใหม
เลือก W  200  200  8  12  13 mm  49.9 kg / m มีเนื้อที่หนาตัด A r  63.53 cm 2
รัศมีไจเรชันทีน่ อยที่สุด K s  i y  5.02 cm ความยาวของเสา h  400 m จากสมการ (5.6) หาหนวย
แรงที่ยอมใหของเหล็ก
h 400
  79.681  120
K s 5.02
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 241

2
 h 
f  1,195  0.0342
r
'

 Ks 
f r'  1,195  0.0342  79.6812
f r'  977.86 ksc
จากสมการ (5.4)
 Ag 
P  A r f r' 1  
 100A r 
 Ag 
75,000  63.53  977.86  1  
 100  63.53 
Ag 75,000
1   1.207273663
6,353 63.53  977.86
A g  6,3531.207273663  1  1,316.8 cm 2
b  t  1,316.8  36.29 cm  40 cm
เมื่อเลือก W  200  200  8  12  13 mm  49.9 kg / m ตองใชเสาหนาตัด 0.40  0.40 m 2 ดังนั้น
ระยะจากหนาตัดเหล็กถึงขอบเสายาว
40  20
  10 cm
2
แสดงวาเลือกหนาตัดเหล็กพอสมควร ใชไดแลว
เขียนรายละเอียดหนาตัดเสา
242 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 5.7 จงออกแบบเสาคอนกรีตหุม ดวยทอเหล็ก ใหรับน้ําหนักปลอดภัย 10 ตัน เสายาว 4.00 เมตร


การเทคอนกรีตลงในเสาอาจจะไดคุณภาพไมดีนักจึงใช f c'  100 ksc
วิธีทํา การออกแบบเสาคอนกรีตในทอเหล็กตองคํานึงถึงการเทคอนกรีตวาสามารถเทไดหรือไม ขนาด
ของทอที่จะเทคอนกรีตไดไมควรจะเล็กกวา 4 นิว้
จากตารางทอของสามชัย สตีล อินดัสทรี ทอขนาด 4 นิ้ว หนา 3.2 mm มีเสนผานศูนยกลาง
ภายนอก 114.3 mm หนัก 8.77 kg/m เนื้อที่หนาตัด A r  11.17 cm 2 รัศมีไจเรชัน K s  3.93 cm
ตรวจสอบขีดจํากัดในการใชงาน
h 400
  101.78  120 ใชได
K s 3.93
2
 h 
f  1,195  0.0342
r
'
  1,195  0.0342  101.782  840.71 ksc
 Ks 
เสนผานศูนยกลางแกนคอนกรีต
D c  D  2t p  114.3  2  3.2  107.9 mm  10.79 cm
เนื้อที่หนาตัดแกนคอนกรีต
 '2 
Ac  D c   10.79 2 cm 2
4 4
รัศมีไจเรชันแกนคอนกรีต
D c 10.79
Kc    2.6975 cm
4 4
น้ําหนักที่เสารับไดหรือกําลังรับน้ําหนักของเสาคอนกรีตหุมดวยทอเหล็ก
 1  h   '
2

P  0.25f A c 1 
'
c
    f r A r
 40000  K c  

  1  400  
2

P  0.25  100   10.79  1 


2
    840.71  11.17
4  40000  2.6975  
P  10,420 kg  10,000 kg
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 243

5.5 เสาสั้นรับน้ําหนักเยื้องศูนย
เสาอาคารทั่วไปมักจะรับน้ําหนักเยื้องศูนยหรือรับทั้งน้ําหนักตามแกนและโมเมนตดดั สวนของ
โมเมนตดัดสวนมากเกิดจากแรงทางขางเชนแรงลมหรือแผนดินไหว แรงทางดิ่งที่ทําใหเกิดโมเมนตที่พบ
มากเชนแรงจากหูชางในโรงงาน

รูปที่ 5.7 เสาสั้นรับน้ําหนักเยื้องศูนย

พิจารณารูปที่ 5.7(ก) เปนเสาสั้นรับแรงตามแนวแกน P ความกวาง b ขนานแกน x ความลึก t


ขนานแกน y จุดเซนทรอยดของหนาตัดตรงกุบจุดศูนยถวงพลาสติกของหนาตัดเนื่องจากการพิจารณาของ
เสาอยูในชวงอิลาสติก โมเมนต Mx และ My ทําใหเกิดระยะเยื้องศูนย ex และ ey และระยะจากแกน x และ y
ถึงขอบของหนาตัดเปน cx ละ cy โดย

t b My
cx  , cy  และ e x  M x , e y 
2 2 P P

เมื่อเสาตองรับน้ําหนักเยื้องศูนยหรือแรงตามแกนรวมกับโมเมนต จะเกิดหนวยแรงทั้งจากแรง P
และโมเมนต Mx กับ My แตจะรวมหนวยแรงแบบพีชคณิตไมไดเนือ่ งจากคาที่ยอมใหจากแรงตามแกนและ
จากโมเมนตไมเหมือนกัน สิ่งที่จะใชตรวจสอบจึงเปนการรวมผลของอัตราสวนหนวยแรงที่เกิดขึน้ ตอหนวย
แรงที่ยอมให ผลรวมตองนอยกวา 1.0 จึงจะปลอดภัย ถาผลรวมอัตราสวนดังกลาวมากกวา 1.0 ถือวาเสาเกิด
การวิบัติ
f a f bx f by
   1.0 (5.8)
Fa Fbx Fby
P P
เมื่อ fa    หนวยแรงอัดตามแนวแกนที่เกิดขึ้น, ksc
A g bt
Fa  0.341   t m f c'  หนวยแรงอัดตามแนวแกนที่ยอมให, ksc
244 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

M x c x Pe x c x
f bx    หนวยแรงดัดรอบแกน x ที่เกิดขึ้น , ksc
Ix Ix
Fbx  0.45f c'  หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกน x, ksc
M yc y Pe y c y
f by    หนวยแรงดัดรอบแกน y ที่เกิดขึ้น, ksc
Iy Iy
Fby  0.45f c'  หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกน y, ksc
f c'  กําลังอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน , ksc
f y  กําลังครากของเหล็กยืน, ksc
2
A st  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืนของเสา, cm
A st
A s  A s'   เนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึงและเหล็กรับแรงอัด, cm2
2
fy
m  อัตราสวนกําลังของเหล็กยืนตอกําลังคอนกรีต
0.85f c'
b ความยาวขอบที่ขนานแกน x ของหนาตัดเสา, cm
t  ความยาวขอบที่ขนานแกน y ของหนาตัดเสา, cm
bt 3
Ix   โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดรอบแกน x
12
tb 3
Iy   โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดรอบแกน y
12
A
 t  st  อัตราสวนเนือ ้ ที่หนาตัดเหล็กเสริมตอคอนกรีต
bt
d
d'  co  3.5  d bs  b  ระยะจากผิวเสาไปยังศูนยกลางเหล็กยืน, cm
2
d x  t  co  ความลึกประสิทธิผลของการดัดรอบแกน x, cm
d y  b  co  ความลึกประสิทธิผลของการดัดรอบแกน y, cm
As A
  s  อัตราสวนเหล็กรับแรงดึงตอคอนกรีตประสิทธิผล
bd x td y
A s' A'
'   s  อัตราสวนเหล็กรับแรงอัดตอคอนกรีตประสิทธิผล
bd x td y

ระยะเยื้องศูนยสมดุล ถาแรงตามแนวแกนและโมเมนตดัดทําใหหนวยแรงที่เกิดขึ้นเทากับคาที่
ยอมใหทั้งเหล็กและคอนกรีตตามลําดับ เรียกวา สภาพสมดุล ระยะเยื้องศูนย e bx และ e by เปนระยะเยื้อง
ศูนยสมดุลซึ่งคํานวณจากสูตรตอไปนี้
หนาตัดสี่เหลีย่ มจัตุรัส เสริมเหล็กสองดานเหมือนกัน
เสาปลอกเกลียว e bx  e by  0.43 t mDs  0.14t (5.9)
เสาปลอกเดี่ยว e bx  e by  0.67 t m  0.17 t  d' (5.10)
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 245

หนาตัดกลม เสริมเหล็กกระจายสม่ําเสมอ
เสาปลอกเกลียว e bx  e by  0.43 t mDs  0.14D (5.11)

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เสริมเหล็กสองดานเหมือนกัน


เสาปลอกเดี่ยว e bx  0.67 t m  0.17 t  d ' (5.12ก)
e by  0.67 t m  0.17 b  d' (5.12ข)

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เสริมเหล็กสองดานไมเหมือนกัน


' mt  2d   0.1t  d'
เสาปลอกเดี่ยว e bx  (5.13ก)
'm  0.6
' mb  2d   0.1b  d'
e by  (5.13ข)
'm  0.6

สมบัติของหนาตัด ตามรูปที่ 5.8 สมบัติของหนาตัดแบบตางๆ

รูปที่ 5.8 สมบัติของหนาตัด

หนาตัดสี่เหลีย่ มจัตุรัส เรียงเหล็กยืนเปนวงกลม


t4 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix  Iy   2n  1A st s
12 8
t
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  t 2 ระยะ c x  c y 
2
หนาตัดวงกลม เรียงเหล็กยืนเปนวงกลม
D 4 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix  Iy   2n  1A st s
64 8
246 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

 2
เนื้อที่หนาตัดเสา Ag  D ระยะ c x  c y  D
4 2

หนาตัดสี่เหลีย่ มจัตุรัส เรียงเหล็กเทากันทุกดาน


t4 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix  Iy   2n  1A st s
12 6
t
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  t 2 ระยะ c x  c y 
2

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เรียงเหล็กเทากันทุกดาน


bt 3 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix   2n  1A st t
12 6
3
D2
 2n  1A st b
tb
Iy 
12 6
t b
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  bt ระยะ c x  , c y 
2 2

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เรียงเหล็กตางกันสองดาน


bt 3 D 2t
โมเมนตอินเนอรเชีย I x   2n  1A st
12 4
3
D2
 2n  1A st b
tb
Iy 
12 4
t b
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  bt ระยะ c x  , c y 
2 2
ในกรณีหนาตัดเปนอยางอืน่ ใหแปลงหนาตัดเหล็ก A t  2n  1A st แลวพิจารณาคํานวณตาม
ความเหมาะสม กรณีนี้พบยาก
E s 2,040,000
เมื่อ n 
E c 15,100 f c'
db
d'  co  3.5  d bs   ระยะจากผิวเสาไปยังศูนยกลางเหล็กยืน, cm
2
D s  t  2d'  D  2d'
D t  t  2d '
D b  b  2d'
ขอบเขตในการออกแบบเสา เมื่อเสามีน้ําหนักตามแกน P และโมเมนตดัดกระทํา M ระยะเยื้อง
ศูนย e  M แบงการพิจารณาออกแบบเสาเปนสามชวงดังรูปที่ 5.9
P
ชวงที่ 1 เมื่อ e  ea ใหออกแบบเสารับน้ําหนักตามแกนอยางเดียวตามสมการ (5.1) หรือ (5.2)
ทั้งนี้มี
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 247

รูปที่ 5.9 ขอบเขตการออกแบบเสารับโมเมนต

1 1
ระยะเยื้องศูนย e a  M s    (5.14)
 Pa Po 
Pa  P ตามสมการ (5.1) หรือ (5.2)
Po  Fa A g (5.15)
M s  FbS (5.16)
I
โมดูลัสหนาตัด S
c

ชวงที่ 2 เมื่อ e a  e  e b เปนชวงแรงอัดเปนหลัก ใหออกแบบโดยใชสมการ (5.8) ระยะเยื้อง


ศูนยสมดุล e b คํานวณจากสมการ (5.9) ถึง (5.13)

ชวงที่ 3 เมื่อ e  e b ใหออกแบบโยมีแรงดึงเปนหลัก คาโมเมนต M ใหถือวาเปนสัดสวนกับ M o


(ที่ P  0 ) และคา M b  Pb e b ระยะเยื้องศูนยสมดุล e b คํานวณจากสมการ (5.9) ถึง (5.13) คา Pb คํานวณ
จากสมการ (5.8) สวนคา M o คํานวณจากสมการตอไปนี้

เสาหนาตัดกลมและสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหล็กยืนเรียงกลมปลอกเกลียว

M ox  M oy  0.12A st f y D s (5.17)
248 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เสาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาปลอกเดี่ยว

M ox  0.40A s f y t  2d' (5.18)


M oy  0.40A s f y b  2d' (5.19)

เสาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาปลอกเกลียวเหล็กสองดานไมเหมือนกัน

M ox  0.40A s f y jx t  d' (5.20)


M oy  0.40A s f y jy b  d' (5.21)

เมื่อ A st  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืนทั้งหมด, cm2


As  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืนรับแรงดึง, cm2
k
jx  j y  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3

ในกรณีที่มีทั้ง M x และ M y เสาทุกแบบตองสอดคลองกับสมการ

Mx M
 y  1.0 (5.22)
M ox M oy

ลําดับขั้นตอนออกแบบเสารับโมเมนตดัด
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
P  น้ําหนักตามแนวแกน, kg
M x  โมเมนตดัดรอบแกน x , kg  cm
M y  โมเมนตดัดรอบแกน y, kg  m
f c'  กําลังอัดประลัยตัวอยางทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กยืน, ksc
f sy  กําลังครากของเหล็กปลอก, ksc
f c  0.45f c'  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต, ksc
f s  0.5f y  1700 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กยืน
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน
E c 15,100 f c'
1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs
1
nf c
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 249

k
j 1  พารามิเตอรแขนโมเมนต
3

ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบขั้นตนโดยเพิ่มน้ําหนักตามแกนขึ้นอีก 20% คือคูณ P ดวย 1.2 แลวออกแบบเสารับแรง


ตามแนวแกนที่เพิ่มขึ้นนั้น โดยให  t  0.04
เสาปลอกเกลียว สมการ (5.1)

1.2P  A g 0.25f c'  0.4f y  t 
1 .2 P
Ag 
0.25f c'  0.4f y  t
เสาปลอกเดี่ยว สมการ (5.2)

1.2P  0.85A g 0.25f c'  0.4f y  t 
1 .2 P
Ag 

0.85 0.25f c'  0.4f y t 
จัดหนาตัดเสาที่เหมาะสม ปกติใหเนื้อทีห่ นาตัดมากกวา Ag ที่คํานวณไดขางตน จากนั้นหาปริมาณเหล็ก
เสริม
เสาปลอกเกลียวสมการ (5.1)
 0.4f y A st 
1.2P  A g  0.25f c'  
 Ag 
 
A g  1.2P 
A st    0.25f c' 
0.4f y  A g 

เสาปลอกเดี่ยว
 0.4f y A st 
1.2P  0.85A g  0.25f c'  
 Ag 
 
A g  1.2P 
A st    0.25f c' 
0.4f y  0.85A g 

จัดเหล็กลงหนาตัด จะมีขอมูลตอไปนี้
b  ดานแคบหนาตัดเสาเหลี่ยม, cm
t  ดานลึกของหนาตัดเสาเหลีย่ ม, cm
D  เสนผานศูนยกลางของเสากลม, cm
 2
A g  bt  D  เนื้อที่หนาตัดเสา, cm2
4
A st  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน, cm2
d b  เสนผานศูนยกลางของเหล็กยืน, cm
d bs  เสนผานศูนยกลางของเหล็กปลอก, cm
250 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

P P
fa    หนวยแรงอัดตามแนวแกนที่เกิดขึ้น, ksc
A g bt
Fa  0.341   t m f c'  หนวยแรงอัดตามแนวแกนที่ยอมให, ksc
M x c x Pe x c x
f bx    หนวยแรงดัดรอบแกน x ที่เกิดขึ้น , ksc
Ix Ix
Fbx  0.45f c'  หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกน x, ksc
M yc y Pe y c y
f by    หนวยแรงดัดรอบแกน y ที่เกิดขึ้น, ksc
Iy Iy
Fby  0.45f c'  หนวยแรงดัดที่ยอมใหรอบแกน y, ksc
A st
A s  A s'   เนื้อที่หนาตัดเหล็กรับแรงดึงและเหล็กรับแรงอัด, cm2
2
fy
m  อัตราสวนกําลังของเหล็กยืนตอกําลังคอนกรีต
0.85f c'
bt 3
Ix   โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดรอบแกน x
12
tb 3
Iy   โมเมนตอินเนอรเชียของหนาตัดรอบแกน y
12
A
 t  st  อัตราสวนเนือ ้ ที่หนาตัดเหล็กเสริมตอคอนกรีต
bt
d
d'  co  3.5  d bs  b  ระยะจากผิวเสาไปยังศูนยกลางเหล็กยืน, cm
2
d x  t  co  ความลึกประสิทธิผลของการดัดรอบแกน x, cm
d y  b  co  ความลึกประสิทธิผลของการดัดรอบแกน y, cm
As A
  s  อัตราสวนเหล็กรับแรงดึงตอคอนกรีตประสิทธิผล
bd x td y
A s' A'
'   s  อัตราสวนเหล็กรับแรงอัดตอคอนกรีตประสิทธิผล
bd x td y
หนาตัดสี่เหลีย่ มจัตุรัส เสริมเหล็กสองดานเหมือนกัน
เสาปลอกเกลียว e bx  e by  0.43 t mDs  0.14t (5.9)
เสาปลอกเดี่ยว e bx  e by  0.67 t m  0.17 t  d' (5.10)
หนาตัดกลม เสริมเหล็กกระจายสม่ําเสมอ
เสาปลอกเกลียว e bx  e by  0.43 t mDs  0.14D (5.11)

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เสริมเหล็กสองดานเหมือนกัน


เสาปลอกเดี่ยว e bx  0.67 t m  0.17 t  d ' (5.12ก)
e by  0.67 t m  0.17 b  d' (5.12ข)
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 251

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เสริมเหล็กสองดานไมเหมือนกัน


' mt  2d   0.1t  d'
เสาปลอกเดี่ยว e bx  (5.13ก)
'm  0.6
' mb  2d   0.1b  d '
e by  (5.13ข)
'm  0.6
หนาตัดสี่เหลีย่ มจัตุรัส เรียงเหล็กยืนเปนวงกลม
t4 D s2
โมเมนตอินเนอรเชีย I x  I y   2n  1A st
12 8
t
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  t 2 ระยะ c x  c y 
2
หนาตัดวงกลม เรียงเหล็กยืนเปนวงกลม
D 4 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix  Iy   2n  1A st s
64 8
 2 D
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  D ระยะ c x  c y 
4 2

หนาตัดสี่เหลีย่ มจัตุรัส เรียงเหล็กเทากันทุกดาน


t4 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix  Iy   2n  1A st s
12 6
t
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  t 2 ระยะ c x  c y 
2

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เรียงเหล็กเทากันทุกดาน


bt 3 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix   2n  1A st t
12 6
3
D 2b
 2n  1A st
tb
Iy 
12 6
t b
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  bt ระยะ c x  , c y 
2 2

หนาตัดสี่เหลีย่ มผืนผา เรียงเหล็กตางกันสองดาน


bt 3 D2
โมเมนตอินเนอรเชีย Ix   2n  1A st t
12 4
3
D2
 2n  1A st b
tb
Iy 
12 4
t b
เนื้อที่หนาตัดเสา A g  bt ระยะ c x  , c y 
2 2
E s 2,040,000
n 
E c 15,100 f c'
252 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

db
d'  co  3.5  d bs   ระยะจากผิวเสาไปยังศูนยกลางเหล็กยืน, cm
2
D s  t  2d'  D  2d'
D t  t  2d '
D b  b  2d'
ขอบเขตในการออกแบบเสา เมื่อเสามีน้ําหนักตามแกน P และโมเมนตดัดกระทํา M ระยะเยื้อง
ศูนย e  M แบงการพิจารณาออกแบบเสาเปนสามชวงดังรูปที่ 5.9
P
ชวงที่ 1 เมื่อ e  ea ใหออกแบบเสารับน้ําหนักตามแกนอยางเดียวตามสมการ (5.1) หรือ (5.2)
ทั้งนี้มี
1 1
ระยะเยื้องศูนย e a  M s    (5.14)
 Pa Po 
Pa  P ตามสมการ (5.1) หรือ (5.2)
Po  Fa A g (5.15)
M s  FbS (5.16)
I
โมดูลัสหนาตัด S
c

ชวงที่ 2 เมื่อ e a  e  e b เปนชวงแรงอัดเปนหลัก ใหออกแบบโดยใชสมการ (5.8) ระยะเยื้อง


ศูนยสมดุล e b คํานวณจากสมการ (5.9) ถึง (5.13)

ชวงที่ 3 เมื่อ e  e b ใหออกแบบโยมีแรงดึงเปนหลัก คาโมเมนต M ใหถือวาเปนสัดสวนกับ M o


(ที่ P  0 ) และคา M b  Pb e b ระยะเยื้องศูนยสมดุล e b คํานวณจากสมการ (5.9) ถึง (5.13) คา Pb คํานวณ
จากสมการ (5.8) สวนคา M o คํานวณจากสมการตอไปนี้

เสาหนาตัดกลมและสี่เหลี่ยมจัตุรัสเหล็กยืนเรียงกลมปลอกเกลียว

M ox  M oy  0.12A st f y D s (5.17)

เสาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาปลอกเดี่ยว

M ox  0.40A s f y t  2d' (5.18)


M oy  0.40A s f y b  2d' (5.19)
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 253

เสาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผาปลอกเกลียวเหล็กสองดานไมเหมือนกัน

M ox  0.40A s f y jx t  d' (5.20)


M oy  0.40A s f y jy b  d' (5.21)

เมื่อ A st  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืนทั้งหมด, cm2


As  เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืนรับแรงดึง, cm2
k
jx  j y  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3

ในกรณีที่มีทั้ง M x และ M y เสาทุกแบบตองสอดคลองกับสมการ

Mx M
 y  1.0 (5.22)
M ox M oy

ขั้นตอนที่ 3 หากเงื่อนไขไมไดอยูใ นชวงที่ยอมให ก็ขยายขนาดเสาโตขึ้นแลวยอนไปตรวจสอบมาใหม หาก


ตรวจสอบผานก็เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 5.8 จงออกแบบเสากลมใหรับน้ําหนักตามแนวแกน 30 ตัน และโมเมนตดัด 1.5 ตัน  เมตร ใหใช


กําลังอัดประลัยของคอนกรีต f c'  145 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc แลว
เขียนแผนภาพแสดงสมบัติของหนาตัด
วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
P  30,000 kg  น้ําหนักตามแนวแกน
M  150,000 kg  cm  โมเมนตดัด
f c'  145 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีต
f y  3,000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม
f c  0.45f c'  0.45  145  65.25 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  หนวยแรงทีย่ อมใหของเหล็กเสริม
E s 2,040,000 2,040,000
n    11.22
E c 15,100 f c 15,100 145
'

1 1
k   0.328
f 1,500
1 s 1
nf c 11.22  65.25
k 0.328
j 1 1  0.891
3 3
254 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบเสาโดยเพิ่มน้ําหนักตามแกนประมาณ 15% เสาปลอกเกลียว ให  t  0.04



1.15P  A g 0.25f c'  0.4f y  t 
1.15P
Ag 
0.25f c'  0.4f y  t
1.15  30,000
Ag 
0.25  145  0.4  3,000  0.04

A g  409.5 cm 2  D 2
4
4  409.5
D  22.8 cm  25 cm

เลือกใชเสากลมเสนผานศูนยกลาง D  25 cm  0.25 m
 
A g  D 2   252  490.87 cm 2
4 4
 
1.15P  A g 0.25f c'  0.4f y  t  0.25f c' A g  0.4f y A st
1.15  30,000  0.25  145  490.87  0.4  3,000A st
1.15  3,000  0.25  145  490.87
A st   13.922 cm 2
0.4  3,000
เลือกเหล็กยืนขนาด DB 20 mm มี A s1    2.0 2  3.14 cm 2 จํานวนเสน
4
13.922
  4.43  5  6 เสน
3.14
เหล็กยืน 6-DB 20 mm
A st  6  3.14  18.84 cm 2
A st 18.84
t    0.03838  0.08
A g 490.87
ทราบ d b  2.0 cm  ขนาดเสนผานศูนยกลางเหล็กยืน
d bs  0.9 cm  ขนาดเสนผานศูนยกลางเหล็กปลอก
2 .0
d '  3 .5  0 .9   5.4 cm
2
D s  D  2d '  25  2  5.4  14.2 cm
หาสมบัติของหนาตัด
D 4 D2
I  2n  1A st s
64 8
  25 4
14.2 2
I  2  11.22  1  18.84 
64 8
I  29,356 cm 4
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 255

D 25
cx  cy    12.5 cm
2 2
ระยะเยื้องศูนย
M 150,000
e   5 cm
P 30,000
P 30,000
fa    61.116 ksc  หนวยแรงอัดที่เกิดขึ้น
A g 490.87
fy 3,000
m   24.341
0.85f '
c 0.85  145
A st
t   0.03838
Ag
Mc 150,000  12.5
fb    63.871 ksc  หนวยแรงดัดที่เกิดขึ้น
I 29,356
Fa  0.341   t m f c'  0.34  1  0.03838  24.341  145  95.356 ksc  หนวยแรงอัด
ที่ยอมให
Fb  0.45f c'  0.45  145  65.25 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมให
f a f b 61.116 63.871
    1.62  1.0 ใชไมได
Fa Fb 95.356 65.25
เขียนรูปแสดงสมบัติของหนาตัด
หาระยะเยื้องศูนยสมดุล
e b  0.43 t mDs  0.14D  0.43  0.03838  24.341  14.2  0.14  25  9.204 cm
I 29,356
S   2348.48 cm 3
c 12.5
M s  FbS  65.25  2348.48  153,238.32 kg  cm  1,532.38 kg  m
Po  Fa A g  95.356  490.87  46,807.4 kg
 
Pa  A g 0.25f c'  0.4f y t  490.870.25  145  0.4  3,000  0.03838
Pa  40,401.5 kg
ให P  Pb
P Pb
fa   ksc
A g 490.87
Fa  95.356 ksc
Pb e b c Pb  9.204  12.5
fb  
I 29,356
Fb  65.25 ksc
fa fb Pb P  9.204  12.5
   b 1
Fa Fb 490.87  95.356 29,356  65.25
0.000021364 Pb  0.000060063 Pb  1
256 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

0.000081427Pb  1
1
Pb   12,280.9 kg
0.000081427
M b  Pb e b  12,280.9  9.204  113,033.1 kg  cm  1,130.33 kg  m
1 1  1 1 
e a  M s     153,238.32    0.519 cm
 Pa Po   40,401.5 46,807.4 
M a  Pa e a  40,401.5  0.519  20,971.67 kg  cm  209.72 kg  m
M o  0.12A st f y D s  0.12  18.84  3,000  14.2  96,310.08 kg  cm  963.1 kg  m

ตัวอยางที่ 5.8

จะเห็นวาจุด (1.5,30) อยูนอกขอบเขตของกราฟเสาเสนผานศูนยกลาง 25 cm จึงรับน้ําหนักบรรทุกนี้ไมได


ใหขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.30 , 0.35 , 0.40 , 0.45 , จนกระทั่งรับน้ําหนักได
เสาขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.30 เมตร
P  30,000 kg
M  150,000 kg  cm
f c'  145 ksc
f y  3,000 ksc
f c  65.25 ksc
f s  3,000 ksc

n  11.22
k  0.328
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 257

j  0.891
D  30 cm

A g   30 2  706.86 cm 2
4
1.5P  0.25f c' A g 1.5  30,000  0.25  145  706.86
A st    16.147 cm 2
0 .4 f y 0.4  3,000
เลือก 6-DB 20 mm มี

A st  6   2.0 2  18.85 cm 2
4
A 18.85
 t  st   0.026667232  0.01  0.08
A g 706.86
d b  2.0 cm
d bs  0.9 cm
2.0
d'  3.5  0.9   5.4 cm
2
D s  D  2d'  30  2  5.4  19.2 cm
D 4 D 2   30 4 19.2 2
I  2n  1A st s   2  11.22  1  18.85   58,383.7 cm 4
64 8 64 8
D 30
cx  cy    15 cm
2 2
M 150,000
e   5 cm
P 30,000
P 30,000
fa    42.441 ksc
A g 706.86
fy 3000
m   24.341
0.85f 0.85  145
'
c

Mc 150,000  15
fb    38.538 ksc
I 58,383.7
Fa  0.341   t m f c'  0.341  0.026667232  24.341  145  81.301 ksc
Fb  0.45f c'  0.45  145  65.25 ksc
f a f b 42.441 38.538
    1.113  1.0 ใชไมได
Fa Fb 81.301 65.25
เตรียมขอมูลสําหรับเขียนกราฟ
e b  0.43 t mDs  0.14D  0.43  0.026667232  24.341  19.2  0.14  30
e b  9.559 cm
I 58,383.7
S   3,892.25 cm 3
c 15
M s  FbS  65.25  3,892.25  253,969 kg  cm  2,539.69 kg  m
258 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

Po  Fa A g  81.301  706.86  57,468.4 kg


Pa  A g 0.25f c'  0.4f y t   706.860.25  145  0.4  3,000  0.026667232 
Pa  48,243.7 kg
fa fb P Pe c  1 e c
  b  b b  Pb   b  1
Fa Fb A g Fa IFb  A F IF 
 g a b 

 1 9.559  15 
Pb    1
 706.86  81.301 58,383.7  65.25 
Pb  18,168.84 kg
M b  Pb e b  18,168.84  9.559  173,675.9 kg  cm  1,736.759 kg  m
1 1  1 1 
e a  M s     253,969    0.845 cm
 Pa Po   48,243.7 57,468.4 
M a  Pa e a  48,243.7  0.845  40,766.54 kg  cm  407.66 kg  m
M o  0.12A st f y D s
M o  0.12  18.85  3,000  19.2  130,291.2 kg  cm  1,302.912 kg  m

เสาขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.35 เมตร


P  30,000 kg
M  150,000 kg  cm
f c'  145 ksc
f y  3,000 ksc
f c  65.25 ksc
f s  3,000 ksc

n  11.22
k  0.328
j  0.891
D  35 cm

A g   352  962.11 cm 2
4
1.5P  0.25f c' A g 1.5  30,000  0.25  145  962.11
A st    8.436 cm 2
0 .4 f y 0.4  3,000
เลือก 6-DB 20 mm มี

A st  6   2.0 2  18.85 cm 2
4
A 18.85
 t  st   0.019592354  0.01  0.08
A g 962.11
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 259

d b  2.0 cm
d bs  0.9 cm
2.0
d'  3.5  0.9   5.4 cm
2
D s  D  2d'  35  2  5.4  24.2 cm
D 4 D 2   354 24.2 2
I  2n  1A st s   2  11.22  1  18.85   103,247 cm 4
64 8 64 8
D 35
cx  cy    17.5 cm
2 2
M 150,000
e   5 cm
P 30,000
P 30,000
fa    31.181 ksc
A g 962.11
fy 3000
m   24.341
0.85f 0.85  145
'
c

Mc 150,000  17.5
fb    25.424 ksc
I 103,247
Fa  0.341   t m f c'  0.341  0.019592354  24.341  145  72.811 ksc
Fb  0.45f c'  0.45  145  65.25 ksc
f a f b 31.181 25.424
    0.818  1.0 ใชได
Fa Fb 72.811 65.25
เตรียมขอมูลสําหรับเขียนกราฟ
e b  0.43 t mDs  0.14D  0.43  0.019592354  24.341  24.2  0.14  35
e b  9.863 cm
I 103,247
S   5,899.83 cm 3
c 17.5
M s  FbS  65.25  5,899.83  384,964 kg  cm  3,849.64 kg  m
Po  Fa A g  72.811  962.11  70,052.2 kg
 
Pa  A g 0.25f c'  0.4f y  t  962.110.25  145  0.4  3,000  0.019592354 
Pa  57,496.5 kg
fa fb P Pe c  1 e c
  b  b b  Pb   b  1
Fa Fb A g Fa IFb  A F IF 
 g a b 

 1 9.863  17.5 
Pb    1
 962.11  72.811 103,247  65.25 
Pb  25,065.4 kg
M b  Pb e b  25,065.4  9.863  247,220 kg
260 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1 1  1 1 
e a  M s     247,220    0.7707 cm
 Pa Po   57,496.5 70,052.2 
M a  Pa e a  57,496.5  0.7707  44,310 kg  cm  443.1 kg  m
M o  0.12A st f y D s
M o  0.12  18.85  3,000  24.2  164,221.2 kg  cm  1,642.212 kg  m
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 261

ออกแบบเหล็กปลอก
D  35 cm
d bs  0.9 cm
D c  35  2  3.5  0.9  27.1 cm
f sy  2400 ksc
d 2bs D c2 f sy   0.9 2  27.12  2400
s   5.17 cm
  
0.45D c D 2  D c2 f c' 0.45  27.1  352  27.12  145 
เขียนรายละเอียดเสา

ตัวอยางที่ 5.9 จงออกแบบเสารูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผา รับน้ําหนักตามแกน 150 ตัน โมเมนตดัดรอบแกนหลัก 3


ตัน.เมตร โมเมนตดัดรอบแกนรอง 1.8 ตัน.เมตร กําลังคอนกรีต f c'  280 ksc กําลังครากเหล็ก
เสริม f y  4,000 ksc กําลังครากเหล็กปลอก f sy  2,400 ksc
วิธีทํา
ประมาณอัตราสวนเหล็กตอคอนกรีต  t  0.01

P  0.85A g 0.25f c'  0.4f y  t 
150,000  0.85A g 0.25  280  0.4  4,000  0.01
150,000
Ag   2052 cm 2
0.85  0.25  280  0.4  4,000  0.01
b  t  A g  2052  45.3 cm
เลือกใชความกวาง b  45 cm และความลึก t  75 cm
P  150,000 kg  น้ําหนักตามแกน
M x  3,000 kg  m  300,000 kg  cm
M y  1,800 kg  m  180,000 kg  cm
262 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

f c'  280 ksc


f y  4,000 ksc
f c  0.45f c'  0.45  280  126 ksc
f s  0.5f y  0.5  4,000  2,000  1,700 ksc
E s 2,040,000 2,040,000
n    8.074
E c 15,100 f c' 15,100 280
1 1
k   0.374
fs 1,700
1 1
nf c 8.074  126
k 0.374
j 1 1  0.875
3 3
b  45 cm
t  90 cm
A g  bt  45  90  4,050 cm 2
สมมติปริมาณเหล็กเสริมมากพอที่จะให  t  0.04
A st   t A g  0.04  4,050  162 cm 2
กําหนด d b  2.5 cm
d bs  0.9 cm
2.5
d'  3.5  0.9   5.65 cm
2
d x  90  5.65  84.35 cm
d y  45  5.65  39.35 cm

เลือกเหล็กยืน DB 25 mm มี A s1    2.52  4.909 cm 2 จํานวนเสนทีต่ องการโดยประมาณ


4
162
  33  34 เสน
4.909
เขียนรูปตัดเสากวาง 0.45 เมตร ลึก 0.90 เมตร ระยะหุม 3.5 cm ทุกดาน เหล็กปลอก 9 mm ใสเหล็กทีม่ ุมทั้งสี่
กอน เหลือเหล็ก 30 เสน แบงครึ่งสําหรับดานแคบหนึ่งดานและดานยาวหนึ่งดาน เหลือครึ่งละ 15 เสน ดาน
ยาว 2 เทาของดานสั้นรวมเปน 3 เทา ดังนัน้ ดานสั้นใสเหล็กอีก 15/3 = 5 เสน ดานยาว 10 เสน
A st  34  4.909  166.906 cm 2
A 166.906
A s  A s'  st   83.453 cm 2
2 2
bt 3 45  903
Ix    2,733,750 cm 4
12 12
tb 3 90  453
Iy    683,437.5 cm 4
12 12
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 263

As 83.453
x    0.021985905
bd x 45  84.35
A 83.453
y  s   0.023564308
td y 90  39.35
A s' 83.453
'x    0.021985905
bd x 45  84.35
A s' 83.453
'y    0.023564308
td y 90  39.35
M x 300,000
ex    2.0 cm
P 150,000
M y 180,000
ey    1.2 cm
P 150,000
A 166.906
 t  st   0.041211358
Ag 4,050
fy 4,000
m   16.80672269
0.85f '
c 0.85  280
t 90
cx    45 cm
2 2
b 45
cy    22.5 cm
2 2
P 150,000
fa    37.03703704 ksc
Ag 4,050
Fa  0.341   t m f c'  0.34  1  0.041211358  16.80672269   280
Fa  161.1381728 ksc
M c 300,000  45
f bx  x x   4.938271605 ksc
Ix 2,733,750
M c 180,000  22.5
f by  y y   5.925925926 ksc
Iy 683,437.5
264 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

Fbx  Fby  0.45f c'  0.45  280  126 ksc


e bx  0.67 t m  0.17 t  d'
e bx  0.67  0.041211358  16.80672269  0.17 90  5.65
e bx  54.48301751 cm
e by  0.67 t m  0.17 b  d'
e by  0.67  0.041211358  16.80672269  0.17 45  5.65
e by  24.95028736 cm
M ox  0.40A s f y t  2d'  0.40  83.453  4000  90  2  5.65
M ox  11,262,816.88 kg  cm  112,628.1688 kg  m
M oy  0.40A s f y b  2d '  0.40  83.453  4000  45  2  5.65
M oy  4,499,785.76 kg  cm  44,997.8576 kg  m
ตรวจสอบ
f a f bx f by
   1.0
Fa Fbx Fby
37.03703704 4.938271605 5.925925926
   1 .0
161.1381728 126 126
0.31607024  1.0 OK
และตรวจสอบโมเมนต
Mx My
  1.0
M ox M oy
3,000 1,800
  1.0
112,628.1688 44,997.8576
0.066638224  1.0 OK
ระยะเรียงของเหล็กปลอก
s  16d b  16  2.5  40 cm
s  48d bs  48  0.9  43.2 cm
s  b  45 cm
ใชระยะเรียง s = 150 mm
เสาขนาด 0.45  0.90 m 2 เหล็กยืน 34  DB 25 mm เหล็กปลอก 5-ป RB 9 mm @ 150 mm
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 265

5.6 เสายาว
ที่ผานมานั้นไดมีการศึกษาเรื่องเสาสั้นโดยกําหนดวา ถา h เปนความสูงของเสาที่ปราศจากการยึด
รั้งดวยโครงสรางแข็งแรงเชนคาน แกงแนง t เปนดานแคบของหนาตัดเสาเหลี่ยม หรือ D เปนเสนผาน
ศูนยกลางของเสากลม เสานั้นจะเปนเสาสั้นถา
h h
 15 หรือ  15
t D

h h
ดังนั้นถา  15 หรือ  15 นั้น ถือวาเปนเสายาว ตองลดกําลังรับน้ําหนักของเสาลงไปจาก
t D
กําลังของเสาสั้น คาความชะลูด (slenderness ratio : SR) ของเสาวัดจาก
h
SR 
r

เมื่อ h ความสูงของเสาปราศจากการยึดรั้งตามรูปที่ 5.5, cm


t  หนากวางรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผาบนระนาบที่พิจารณา, cm
b  ดานตั้งฉากกับ t ของเสาสี่เหลี่ยมผืนผา, cm
D  เสนผานศูนยกลางของเสากลม, cm
bt 3 4
I  โมเมนตอินเนอรเชียของเสาสี่เหลี่ยมผืนผา, cm
12
D 4 4
I  โมเมนตอินเนอรเชียของเสาหนาตัดกลม, cm
64
2
A  bt  เนื้อที่หนาตัดเสาสี่เหลี่ยมผืนผา, cm
D 2
A  เนื้อที่หนาตัดเสากลม, cm2
4
I bt 3 t
r    0.288675134t  0.3t  รัศมีไจเรชันของเสาสี่เหลี่ยมผืนผา,cm
A 12bt 2 3
I D 4 4 D
r     0.25D  รัศมีไจเรชันของเสากลม, cm
A 64 D 2
4

ความยาวประสิทธิผล เสาที่มีความยาวอิสระ h และมีสิ่งยันทางขางอยางเพียงพอ เชนกําแพง


คอนกรีตเสริมเหล็ก (กําแพงอิฐไมนับเปนสิ่งค้ํายันทางขาง) แกงแนง คสล. ใหถือวา

ความยาวประสิทธิผล h'  h

แตเมื่อการยันทางขางไมดีพอ ตองหาความยาวประสิทธิผล h ' โดยคํานวณจากตัวคูณของจุดตอ rj' ซึ่งเปน


อัตราสวนของผลรวมสติฟเนสของเสาตอผลรวมสติฟเนสของคานบนระนาบพิจารณา ณ จุดตอ j
266 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

rj' 
K c
(5.23)
K b

เมื่อ rj'  ตัวคูณความยาวประสิทธิผล


2EI c
K   c
h
 ผลรวมสติฟเนสของเสาที่อยูเหนือและใตจุด j
2EI
 K b   L b  ผลรวมของสติฟเนสของคานซายขวาของจุด j
h  ความสูงปราศจากการยึดรัง้ ของเสา, cm
L ความยาวของคาน, cm
E  15,100 f c'  โมดูลัสยืดหยุน
 ของคอนกรีต, ksc
I  Ar 2  โมเมนตอินเนอรเชียของเสาและคาน
r  0.3t  รัศมีไจเรชันของเสาและคานรูปตัดสี่เหลีย่ มผืนผา, cm
r  0.25D  รัศมีไจเรชันของเสาหนาตัดกลม, cm
t  ขนาดหนาตัดคานดานที่เห็นในระนาบการดัด, cm
D  เสนผานศูนยกลางหนาตัดเสากลม, cm

รูปที่ 5.10 การหาความยาวประสิทธิผล h’


เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 267

รูปที่ 5.10 แสดงรูปตัดที่แสดงเสาและคาน ตองการหา rT' ของจุดหัวเสา T คาน B2 มีความกวาง b


3
25  50 3
= 25 cm ความลึก t = 50 cm โมเมนตอินเนอรเชีย I  bt   260,416.6667 cm 4 ความยาว L
12 12
= 4.50 m = 450 cm มีคานซายขวา
2EI b 2E  260,416.6667 2E  260,416.6667
    1,157.4074082E 
L 450 450
เสา C1 มีความกวาง b = 35 cm ความลึก t = 40 cm โมเมนตอินเนอรเชีย I  bt  35  40 
3 3

12 12
186,666.6667 cm ความยาว h = 4.00 – 0.50 = 3.50 m = 350 cm
4

bt 3 30  30 3
เสา C2 มีความกวาง b = 30 ความลึก t = 30 cm โมเมนตอินเนอรเชีย I  
12 12
67,500 cm 4 ความยาว h = 4.00 – 0.50 = 3.50 m = 350 cm
2EI c 2E  186,666.6667 2E  67,500
    726.19047632E 
h 350 350
ดังนั้นตัวคูณ
2EI c

h  726.19047632E   0.627  1.0
rT' 
2EI 1,157.4074082E 
 Lb
ถาทราบคา rT' ของปลายบนของเสา และ rB' ของปลายลางเสา จะไดคาเฉลี่ย

r' 
2

1 '
rT  rB'  (5.24)

ถาได r '  25 ใหถือวาปลายเสามีสภาพยึดหมุน (ไมรับโมเมนต)


r '  0 หรือ 1 ในทางปฏิบัติใหถือวาปลายเสามีสภาพยึดแนน (รับโมเมนต)
h'
การลดกําลังของเสาเนื่องจากความชะลูด ในกรณีเสายาวมีความชะลูด จะตองลด
r
h'
ความสามารถในการรับน้ําหนักและโมเมนตของเสาสั้นลงโดยมีตัวคูณลดกําลัง R ซึ่งเปนฟงกชนั ของ
r
และ R  1.0 โดยที่

PLC  RPSC (5.25ก)


M LC  RM SC (5.25ข)

เมื่อ PLC  กําลังรับน้ําหนักตามแกนของเสายาว, kg


PSC  กําลังรับน้ําหนักตามแกนของเสาสั้น, kg
M LC  กําลังรับโมเมนตดัดของเสายาว, kg  m
M SC  กําลังรับโมเมนตดัดของเสาสั้น, kg  m
268 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

R ตัวคูณลดกําลัง ซึ่งหาคาไดดงั นี้

(1) เมื่อเสารับน้ําหนักตามแนวแกนอยางเดียว หรือ P กับ M อยูในบริเวณที่ 1 ตามรูปที่ 5.9 หรือ


e  ea

h
R  1.07  0.008 (5.26)
r

(2) เมื่อรับแรงอัดเปนหลัก หรือ P กับ M อยูในชวงที่ 2 ตามรูปที่ 5.9 หรือ ea  e  eb ให


พิจารณาตัวคูณลดกําลัง R ตามรูปที่ 5.11

รูปที่ 5.11 ลักษณะการโกงตัวที่มีผลตอตัวคูณลดกําลัง R

จากรูปที่ 5.11(ก) ปลายเสาไมเซ เสาโกงสองทาง ( M T และ M B ทิศเหมือนกัน)


h
R  1 .0 เมื่อ
 60 (5.27ก)
r
 h
R  1.32  0.006   1.0 เมื่อ 60  h  100 (5.27ข)
 r r

จากรูปที่ 5.11(ข) ปลายเสาไมเคลื่อน เสาโกงทางเดียว ( M T และ M B ทิศสวนทางกัน)


 h
R  1.07  0.008   1.0 (5.28)
 r
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 269

จากรูปที่ 5.11(ค) ปลายเสาเคลื่อน เสาโกงสองทาง ( M T และ M B ทิศสวนทางกัน)


 h' 
R  1.07  0.008   1.0 (5.29ก)
 r' 
เมื่อ h '  0.78  0.22r 'h  h (5.29ข)
และ r' 
2

1 '
rT  rB'  (5.29ค)

จากรูปที่ 5.11(ง) ปลายเสามีการเซ เสาโกงทางเดียว)


 h' 
R  1.07  0.008   1.0 (5.30ก)
 r
 
h '  2h 0.78  0.22rT'  2h (5.30ข)

จากรูปที่ 5.11(จ) ปลายเสามีการเซ โกงแบบเสายื่น


 h' 
R  1.07  0.008   1.0 (5.31ก)
 r
h '  2h (5.31ข)

(3) เมื่อรับแรงดึงเปนหลัก หรือ P กับ M อยูในชวงที่ 3 ตามรูปที่ 5.9 หรือ e  e b ตัวคูณลดคา R’


จะแปรเปนเสนตรงกับแรงตามแนวแกน จากสภาพสมดุลจนเปน 1.0 เมื่อแรงตามแนวแกนเปนศูนย คือ

R '  1  1  R 
eb
R (5.32)
e

เมื่อ R' ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด เมื่อแรงดึงเปนหลัก


R  ตัวคูณลดกําลังเนื่องจากความชะลูด เมื่อแรงอัดเปนหลัก ตามสมการ 5.27 ถึง 5.31
e b  ระยะเยื้องศูนยสมดุล
M
e  ระยะเยื้องศูนยจริง
P

ตัวอยางที่ 5.10 จงหาคาตัวคูณลดกําลังของเสา R ของเสาที่แสดง เสาโกงสองทาง ปลายเสาเซได


วิธีทํา
ที่ปลายบนของเสามี rT' 
K c

95  110
 0.854  25
K b 120  120

ที่ปลายลางของเสามี rB' 
K c

95  110
 0.683  25
K b 120  180
270 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แบบฝกหัดที่ 5.10

ปลายเสามีการเซ เสาโกงสองทางตามรูปที่ที่ 5.11(ค) สมการ 5.29


r' 
2
 
rT  rB'   0.854  0.683  0.7685
1 ' 1
2
h '  h 0.78  0.22r '  3.50  0.78  0.22  0.7685  3.321745 m  h
ใช h '  h  3.50 m
h' 3.50
R  1.07  0.008  1.07  0.008   1.034  1.0
r' 0.7685
ใช R  1 .0

5.7 การคํานวณแรงลม
การคํานวณแรงลมตามกฎกระทรวงมหาดไทยฉบับที่ 6 พ.ศ.2527 และขอบัญญัติของกรุงเทพ
มหานคร เปนคาขั้นต่ําที่ตอ งใช ตอมาป พ.ศ.2550 กรมโยธาธิการและผังเมืองไดมีมาตรฐาน มยผ.1311
ออกมาใชบังคับ ทําใหการคํานวณออกแบบแรงลมมีความชัดเจนมากขึ้น
ตารางที่ 5.1 เปนแรงดันของลมตามความสูงจากพื้นดินตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6
พิจารณาจากรูปที่ 5.12(ข) เปนอาคารสูง 15 ชั้น แตละชัน้ สูง 4.00 เมตร ดานหนามีสามชวงเสา แต
ละชวงหาง 5.00 เมตร ดานลึกมีสี่ชวง แตละชวงยาว 6.00 เมตร รูปที่ 5.12(ก) เปนแผนภาพของแรงลมที่
กระทํากับอาคารโดย 10 เมตรแรกมีแรงดัน 50 kg/m2 (ถึง 1 12 ชั้น) ชวง 10 เมตรถึง 20 เมตร มีแรงดัน 80
kg/m2 ชวง 20 เมตร ถึง 40 เมตร มีแรงดัน 120 kg/m2 และชวง 40 เมตร ถึง 60 เมตร มีแรงดัน 160 kg/m2 แรง
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 271

ดันของลมอาจจะกระทําดานขางหรือดานหนาดานหลังก็ได เมื่อตัดระนาบแบงครึง่ ชวงเสาดานขางเปน


ระนาบขนานดานหนา เนื้อที่รับลมดานขางจะกวาง 6.00 เมตร แรงดันดานขางคือ 50  6.00  300 kg/m ,
80  6.00  480 kg/m , 120  6.00  720 kg/m , 160  6.00  960 kg/m โครงดานนี้จะออนแอกวา
โครงที่ตัดดวนระนาบซึ่งขนานดานขาง จึงนํามาวิเคราะหดังรูปที่ 5.12(ค)

ตารางที่ 5.1 ขอกําหนดของแรงลมต่ําสุด ตามกฎกระทรวงฯ ฉบับที่ 6

ความสูงของอาคารหรือสวนอาคาร หนวยแรงดันลมต่ําสุด, kg/m2


สวนของอาคารจากพื้นดินจนถึงความสูง 10 เมตร 50
สวนของอาคารที่สูง 10 เมตร ถึง 20 เมตร 80
สวนของอาคารที่สูง 20 เมตร ถึง 40 เมตร 120
สวนของอาคารที่สูง 40 เมตร ขึ้นไป 160

รูปที่ 5.12 การคิดแรงลมตามกฎกระทรวงฯ

เมื่อทราบขนาดแรงลมที่กระทําตอโครงแตละชุด เชน รูปที่ 5.12(ค) แลวตองหาแรงเฉือนและ


โมเมนตดัดในเสาและคาน วิธีหามีหลายวิธี Stiffness, Slope deflection, Moment distribution สามวิธีตองใช
คอมพิวเตอรชว ยคํานวณ วิธี Stiffness ถือวาใหผลลัพธถูกตองที่สุด อีกสองวิธีคือ Portal และ Cantilever ใช
เครื่องคํานวณธรรมดาก็ได
วิธีที่เสนอในที่นี้คือ Portal ซึ่งถือวาจุดดัดกลับของเสาอยูที่จุดกึ่งกลางของความสูงของเสาแตละ
ชั้น (แตชนั้ ลางๆ ชั้น 1 หรือ 2 จุดดัดกลับจะอยูเ หนือจุดกึ่งกลาง และบางครั้งอยูเหนือปลายบนของเสาขึ้น
272 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ไป) พิจารณารูปที่ 5.13

รูปที่ 5.13 ตัวอยางการคํานวณแรงลมวิธี Portal

สมมติฐาน เสาตนริมนอกจะรับแรงเฉือนและโมเมนตไดเพียงครึ่งหนึง่ ของเสาตนใน


N T  จํานวนเสาของโครงแตละชั้น
n 1
1
P  2 P i n
 hn 
Mn  i 1
  โมเมนตสูงสุดในเสาในชั้นที่ n นับจากชัน้ บนลงมา
NT 1  2 
M Bn 
1
M n  M n 1  โมเมนตสูงสุดในคานชัน้ ที่ n ตรงจุดตอกับเสา
2
n 1
1
 Pi  Pn
2
Vn  i1 แรงเฉือนสูงสุดที่กลางเสา
N T 1
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 273

ในรูปที่ 5.13 แสดงแผนภาพโมเมนตของเสาและคานรับแรงลม มีขอสังเกตดังนี้


(1) เนื้อที่ของแผนภาพโมเมนตจะอยูบนผิวคานและเสาดานที่รับแรงอัดซึ่งเปนวิธีที่ไทยคุน เคย
แตปจจุบนั จะอยูดานรับแรงดึง
(2) โมเมนตดัดของเสาชั้นบนจะมีคานอย แลวมากขึ้นในชัน้ ลางๆ ลงมา
(3) โมเมนตดัดของเสาที่อยูขอบนอกทั้งดานรับลมและดานที่หลังลมเหมือนกัน และมีคาเปน
ครึ่งหนึ่งของเสาตนใน
(4) โมเมนตดัดในคานแตละชั้นเหมือนกันทุกชวง และพิจารณาจากเสาตนในโดยมีคาเปนครึ่ง
หนึ่งของผลบวกของโมเมนตในเสาที่อยูเหนือและอยูใตคาน

เมื่อหาแรงลมและและตัดโครงมาพิจารณาเชนในรูปที่ 5.12(ค) ใหแบงแรงที่กระทําตอหัวเสาและ


โคนเสาดังรูปที่ 5.13 หาแรงเฉือนและโมเมนตดัดทีละครึ่งชั้นจากหลังคาลงมาขางลางโดย
แรงลมทั้งหมดเหนือจุดกึ่งกลางเสา
แรงเฉือนเสาตนใน =
จํานวนเสาในชั้น - 1
1
แรงเฉือนเสาตนนอก =  แรงเฉือนเสาตนใน
2
โมเมนตดัดเสาตนใน = แรงเฉือนเสาตนใน  1  ความยาวของเสา
2
โมเมนตดัดของเสาตนนอก = 1  โมเมนตดัดของเสาตนใน
2
โมเมนตดัดในคาน = 1  (โมเมนตดัดโคนเสาเหนือคาน + โมเมนตดัดโคนเสาใตคาน) ของตนใน
2

ตัวอยางที่ 5.11 จากรูปที่ 5.12 ถาอาคารสูง 7 ชั้น จงเขียนแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนตดัดในคานและเสา


วิธีทํา
จากรูปที่ (ก) เปนแผนภาพของแรงลมกระทําดานขางของอาคาร เขียนแผนภาพแรงเฉือนดังรูป
(ข) โดยแบงแรงลมดังนี้
1
ชั้น 7-หลังคา แรงลมที่ปลายเสาและโคนเสา =  0.720  4  1.44 ตัน
2
1
ชั้น 6-ชั้น 7 แรงลมที่ปลายเสาและโคนเสา =  0.720  4  1.44 ตัน
2
1
ชั้น 5-ชั้น 6 แรงลมที่ปลายเสาและโคนเสา =  0.480  4  0.96 ตัน
2
1
ชั้น 4-ชั้น 5 แรงลมที่ปลายเสาและโคนเสา =  0.480  4  0.96 ตัน
2
ชั้น 3-ชั้น 4 แรงลมที่ปลายเสา = 0.48012  10   0.96 ตัน
แรงลมที่โคนเสา = 0.30010  8  0.60 ตัน
1
ชั้น 2-ชั้น 3 แรงลมที่ปลายเสาและโคนเสา =  0.300  4  0.60 ตัน
2
274 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1
ชั้น 1-ชั้น 2 แรงลมที่ปลายเสาและโคนเสา =  0.300  4  0.60 ตัน
2

ตัวอยาง 5.11 การคํานวณแรงลมอาคาร 7 ชั้น


เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 275

หาแรงเฉือนจากหลังคาลงมาโดยคิดแรงลมเหนือจุดกึ่งกลางเสาขึ้นไป จํานวนเสาแตละชั้น 4 ตัน


ตนริมสองขางรับเพียงครึ่งเดียว ดังนั้นเสมือนวามีเสารับแรงเฉือนเพียง 4-1 = 3 ตนใน
ชั้น 7-หลังคา แรงเฉือนเสาตนใน  1.44  0.48 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1  0.48  0.24 ตัน
2
ชั้น 6-ชั้น 7 แรงเฉือนเสาตนใน  1.44  1.44  1.44  1.44 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1 1.44  0.96 ตัน
2
4  1.44  0.96
ชั้น 5-ชั้น 6 แรงเฉือนเสาตนใน   2.24 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1  2.24  1.12 ตัน
2
ชั้น 4-ชั้น 5 แรงเฉือนเสาตนใน  4 1.44  3  0.96  2.48 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1  2.48  1.24 ตัน
2
4  1.44  5  0.96
ชั้น 3-ชั้น 4 แรงเฉือนเสาตนใน   3.12 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1  3.12  1.56 ตัน
2
ชั้น 2-ชั้น 3 แรงเฉือนเสาตนใน  4 1.44  5  0.96  2  0.60  3.52 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1  3.52  1.76 ตัน
2
4  1.44  5  0.96  4  0.60
ชั้น 1-ชั้น 2 แรงเฉือนเสาตนใน   3.92 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1  3.92  1.96 ตัน
2
ฐานราก-ชั้น 1 แรงเฉือนเสาตนใน  4 1.44  5  0.96  5  0.60  4.12 ตัน
4 1
แรงเฉือนเสาตนนอก  1  4.12  2.06 ตัน
2
เขียนแผนภาพแสดงคาแรงเฉือนของเสาแตละชั้นดังรูป (ข) คาแรงเฉือนตามวิธีนจี้ ะใกลเคียงกับ
วิธี Stiffness เมื่อออกแบบเสาแตละชั้นและหาแรงเฉือนจากแรงลมไดแลว หาเหล็กปลอกเดีย่ วของเสาโดย
โดยถือวาเหล็กปลอกเปนผูร ับแรงลมทั้งหมด เชนในตัวอยางนีเ้ สาระหวางชั้น 1 กับชั้น 2 รับแรงเฉือน 3.92
ตัน ขนาดเสา 0.60  0.60 m 2 ถาใชเหล็กปลอก RB 9 mm หาระยะเรียงเหล็กปลอก
A f d 2  0.6361200  60  6 
s v v   21 cm
V 3,920
ใช 2-ป RB 9 mm@ 200 mm
276 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หาโมเมนตดดั ในเสาแตละชัน้ จากหลังคาลงมา โดยเอาแรงเฉือนของแตละชัน้ คูณความยาว


h 4.00
ครึ่งหนึ่งของเสาในชั้นนัน้ สําหรับขอนี้   2.00 เมตร ทุกชั้น และเนื่องจากแรงเฉือนในเสาตน
2 2
นอกเปนครึ่งหนึ่งของเสาตนใน โมเมนตดัดจึงเปนครึ่งหนึ่งดวยดังรูป (ค) เปนโมเมนตดัดของเสาตนนอก
และรูป (ง) เปนโมเมนตดดั ของเสาตนใน นําไปเขียนแผนภาพของโมเมนตในรูป (จ)
Vh
M
2

ตําแหนงเสา โมเมนตเสานอก โมเมนตเสาตนใน


ชั้น 7-หลังคา 0.24  2.00  0.48 T  m 0.48  2.00  0.96 T  m
ชั้น 6-ชั้น 7 0.72  2.00  1.44 T  m 1.44  2.00  2.88 T  m
ชั้น 5-ชั้น 6 1.12  2.00  2.24 T  m 2.24  2.00  4.48 T  m
ชั้น 4-ชั้น 5 1.24  2.00  2.46 T  m 2.48  2.00  4.96 T  m
ชั้น 3-ชั้น 4 1.56  2.00  3.12 T  m 3.12  2.00  6.24 T  m
ชั้น 2-ชั้น 3 1.76  2.00  3.52 T  m 3.52  2.00  7.04 T  m
ชั้น 1- ชั้น 2 1.96  2.00  3.92 T  m 3.92  2.00  7.84 T  m
ฐานราก-ชั้น 1 2.06  2.00  4.12 T  m 4.12  2.00  8.24 T  m

ตําแหนงคาน โมเมนตเสาเหนือคาน โมเมนตเสาใตคาน โมเมนตคาน


ตัน  เมตร ตัน  เมตร ตัน  เมตร
คานหลังคา 0 0.96 1
2 0  0.96  0.48
2 0.96  2.88  1.92
คานชั้น 7 0.96 2.88 1

2 2.88  4.48  3.68


คานชั้น 6 2.88 4.48 1

2 4.48  4.96   4.72


คานชั้น 5 4.48 4.96 1

2 4.96  6.24   5.60


คานชั้น 4 4.96 6.24 1

2 6.24  7.04   6.64


คานชั้น 3 6.24 7.04 1

2 7.04  7.84   7.44


คานชั้น 2 7.04 7.84 1

2 7.84  8.24   8.04


คานชั้น 1 7.84 8.24 1

นําผลลัพธของโมเมนตที่ไดเขียนแผนภาพโมเมนตดังรูป (จ)
6
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.1 ฐานราก
ฐานรากเปนโครงสรางสวนที่อยูใตผิวดินเพื่อทําหนาที่รบั น้ําหนักจากเสาถายลงดิน ฐานราก
คอนกรีตเสริมเหล็กเปนทีน่ ิยมมากเนื่องจากกอสรางไดสะดวก กําลังรับน้ําหนักสูง และทนทานตอดินฟา
อากาศไดดกี วาไม การออกแบบเกี่ยวกับฐานรากจําเปนตองมีความรูท างปฐพีกลศาสตรเขามาประกอบดวย
จึงจะสมบูรณ ถาพื้นที่ทําการกอสรางอยูบนภูเขาซึ่งชั้นดินลึกเพียงเล็กนอยก็ถึงหินภูเขาเลย ใหทําฐานราก
ฝากบนหิน แตถาบริเวณนั้นอยูบนที่ราบเชิงเขาหรือมีดินลูกรังมาก เชน ทางภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ดินจะแนนรับแรงกดไดสูง บางครั้งสูงเกิน 30 ตันตอตารางเมตร ขอควรระวังสําหรับ
ดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เม็ดดินมีลกั ษณะแบนๆ อาจจะไหลไปกับน้ําใตดินจนเกิดโพรงใตฐานราก
เปนเหตุใหทรุดตัวได บริเวณภาคใตของไทยรวมทั้งมาเลเซียมีสภาพดินแนนมาก รับน้ําหนักไดสงู มากดวย
มีการทดสอบสภาพดินทีห่ าดใหญเพื่อกอสรางอาคารสูง 13 ชั้น พบวาดินรับแรงกดไดเกิน 35 ตันตอตาราง
เมตร ในกรณีที่ชั้นดินแข็งอยูตื้นจะทําเปนฐานรากแผหรือฐานรากตื้น (shallow footing) ถายน้ําหนักลงดิน
โดยตรง แรงกดปลอดภัยของดินสําหรับบริเวณภาคตะวันออกประมาณ 6 ตันตอตารางเมตร ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือประมาณ 8 ตันตอตารางเมตร ภาคใตอาจจะ 10-15 ตันตอตารางเมตร

พื้นที่ภาคกลางบริเวณลุมแมน้ําเจาพระยา-บางปะกงตั้งแตอยุธยาลงมาถึงทะเลนั้น สันนิษฐานวา
เปนทะเลมากอนและเกิดการทับถมของดินเหนียวและทรายสลับกันเปนชั้นๆ ลักษณะของชั้นดินคลายกับ
สปริงที่เคยเขาใจวาชวยลดการสั่นสะเทือนจากแผนดินไหว แตเหตุการณแผนดินไหวที่เม็กซิโกซิตีซึ่งมีชั้น
ดินคลายกรุงเทพมหานครแลวเมืองทั้งเมืองแทบถลมทลาย จึงตองปรับความเขาใจใหมวาชั้นดินลักษณะนี้
เปนตัวขยายแรงแผนดินไหว การออกแบบอาคารตานแผนดินไหวตามกฎกระทรวงฯ ฉบับ 49 ตอมาได
ยกเลิกและออกใหมป 2550 กรมโยธาธิการและผังเมือง ออกมาตรฐาน มยผ. 1302 มีขอเสนอแนะวิธีการ
ออกแบบที่มีประโยชนมาก บริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเคยมีระดับสูงจากน้ําทะเลปานกลางไม
เกิน 1.50 เมตร ปจจุบันบางบริเวณเสมอหรือต่ํากวาระดับน้ําทะเลแลว ระดับน้ําใตดินต่ําสุดลึกไมเกิน 2
เมตรจากผิวดิน ซึ่งเสาเข็มไมจะตองแชในน้ําตลอดเวลาจึงจะคงทน (ในอิตาลีมีอายุเปนพันป) แตถาเปยก
สลับแหงจะผุพังเร็วมาก ดินลึก 0-2 เมตร เปนดินเหนียวออนที่แปรเปลี่ยนไปตามทองที่ซึ่งบางที่ถึงกับเปน
278 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เลนเหลว ความลึก 2 ถึง 14 เมตร เปนดินเหนียวออนอุมน้ํามาก ความลึก 14 ถึง 21 เมตรเปนดินเหนียวแข็ง


ปานกลาง และจาก 21 เมตรลงไปเปนดินปนทรายซึ่งรับน้ําหนักไดมาก เมื่อลึกลงไปอีกเปนชัน้ ดินเหนียว
แข็งมากสลับกับชั้นทราย ชั้นดินเหนียวน้ําจะซึมผานยากในขณะที่ชนั้ ทรายน้ําซึมงาย ในชั้นทรายบางชั้น
เปนน้ําจืดที่ขุดเจาะทําน้ําบาดาล แตบางชัน้ จะเปนน้ําเค็มจัด บางครั้งที่ใชเสาเข็มตอกหยั่งจะใหถึงชั้นทราย
กลับพบชั้นเปลือกหอยขวางตอกไมลง แตก็รับน้ําหนักไมไดตามตองการเนื่องจากชัน้ เปลือกหอยเปนชั้นหิน
ผุ สําหรับความหนาของชัน้ ทรายจากปลายเสาเข็มถึงรอยตอกับชั้นดินเหนียวแข็ง ตองมีความหนาไมนอย
กวาสามเทาของขนาดเสาเข็ม ซึ่งดูไดจากผลการเจาะสํารวจดิน
เสาเข็มที่ใชรับน้ําหนักของฐานรากมีสองชนิดคือ เสาเข็มสั้นซึ่งมีความยาว 4, 6, 7, 8, 10, 12, 14
เมตร ทั้งเสาเข็มไม และคอนกรีตอัดแรง ดินรับน้ําหนักจากเสาเข็มโดยอาศัยความเสียดทานรอบๆ ผิวเสาเข็ม
อีกชนิดคือ เสาเข็มยาว จะมีความยาว 16, 18, 20, 21, 22, 23, 24, 25, 26 เมตร เมื่อตอกลงไปในดินจนปลาย
เสาเข็มจิกกับชั้นทรายที่ความลึกประมาณ 21 เมตรหรือมากกวาแลว เสาเข็มจะรับน้ําหนักโดยอาศัยความ
เสียดทานรอบๆ ผิวเสาเข็ม รวมกับ แรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม ถาแรงเสียดทานมากกวาแรงแบกทานเรียก
เสาเข็มนั้นวา เสาเข็มเสียดทาน (friction pile) แตถาแรงแบกทานมากกวาแรงเสียดทานเรียกเสาเข็มนั้นวา
เสาเข็มแบกทาน (bearing pile)
อัตราการทรุดตัวของฐานรากทั่วๆ ไปทั้งชนิดฐานรากตืน้ และฐานรากลึกหรือฐานรากบนเสาเข็ม
ในขณะรับน้ําหนักบรรทุกใชงานจะทรุดลงอยางรวดเร็วในสองปแรก จากนั้นจะทรุดลงอยางชาๆ เสาเข็มสั้น
จะทรุดมากและเร็วกวาเสาเข็มยาว ทั้งนีย้ ังขึ้นกับอัตราสวนน้ําหนักลงฐานรากตอกําลังตานทานของฐานราก
ตองมีคานอยกวา 1 ถามากกวา 1 ฐานรากจะวิบัติ ควรพยายามออกแบบใหมีคาใกลเคียงกันเพื่อใหอัตราการ
ทรุดตัวใกลเคียงกัน อัตราสวนดังกลาวมีคามากจะมีอัตราการทรุดตัวมากกวาที่มีคานอย จึงเกิดการทรุดตัว
ตางกันเปนเหตุใหอาคารแตกราวได นอกจากนี้ หามใชเสาเข็มที่มคี วามยาวแตกตางกันมากในอาคารหลัง
เดียวกัน เนื่องจากทําใหมีการทรุดตัวแตกตางกันมากจนอาคารแตกราวได แตกย็ กเวนกรณีไหลเขาที่มีชั้นหิน
อยูลึกลงไป เสาเข็มที่ใชตองมีการติดหัวเหล็ก (shoe) ที่ใชจิกกับชัน้ หินไมใหเลื่อนไหลไปกับความเอียง
ความยาวของเสาเข็มอาจจะแตกตางกันได

6.2 แบบของฐานราก
ฐานรากทั้งชนิดฐานตื้นและฐานรากบนเสาเข็ม อาจจะแบงไดหลายแบบตามรูปราง การใชงาน
ขอบเขตที่ดิน และสภาพฐานรากของอาคารเดิมที่ขุดออกไมได ลวนแลวแตมีผลตอการออกแบบฐานราก
พิจารณาฐานรากในรูปที่ 6.1
1. ฐานใตกาํ แพง (Wall Footing) รูปที่ 6.1(ก) เปนฐานรากตอเนื่องตามความยาวของกําแพง ความ
กวางของฐานรากมากกวาความกวางของกําแพง นิยมใชกับกําแพงหรือถาเปนบริเวณทีด่ ินแข็งมาก เชน
ภาคใตของไทยและมาเลเซีย บานชั้นเดียวจะทําฐานรากแบบนี้บนผิวดินและใหตวั ฐานรากเปนพืน้ ไปในตัว
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 279

รูปที่ 6.1 ฐานรากชนิดตางๆ

2. ฐานเดี่ยว (isolated footing) รูปที่ 6.1(ข) ในกรณีที่เสาหางๆ กัน หรือเสาดานในของอาคาร เมื่อ


ออกแบบแยกเสาละหนึ่งฐานรากแลวนําไปเขียนแบบลงในแปลนฐานรากแลวฐานรากไมเกยกัน ก็จะแยก
เสาหนึ่งตนกับฐานรากหนึ่งฐาน รูปรางอาจจะเปนสี่เหลีย่ มจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา สามเหลี่ยม หาเหลี่ยม หก
เหลี่ยม แปดเหลี่ยม หรือฐานรากกลม สําหรับฐานรากกลมมักจะเปนฐานรากของไซโล หอสูงเก็บน้าํ
280 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

3. ฐานรากรวม (combined footing) รูปที่ 6.1(ค) เปนฐานรากที่ใชรับน้ําหนักจากเสาสองตน หรือ


เสามากกวาสองตนแตอยูใ นแนวเสนตรงเดียวกัน สังเกตวาจะออกแบบเปนฐานรากชนิดนี้เมื่อพบวา
ออกแบบฐานรากเดี่ยวสําหรับเสาแตละตนแลวเขียนลงในแปลนฐานรากพบวาฐานรากมีการเกยกันในแนว
เสนตรง หรือกรณีที่เสาตอมอชิดเขตที่ดนิ (ปจจุบันกฎหมายไมอนุญาตใหกอสรางชิดเขตที่ดินแลว) หรือ
อาจจะชิดอาคารเดิมในเขตทีด่ ินเดียวกัน จําเปนตองกอสรางใหเปนฐานรากรวม ทั้งแบบมีคาน (strap beam)
หรือไมมีคาน ในบางกรณีเสาไปตรงกับตําแหนงของฐานรากเกาที่ทุบทิ้งไมได ก็อาจจะตอกเข็มทําฐานราก
ในชองวางระหวางฐานรากและทําคานยื่นไปรับเสาทั้งสองขางเอาไว กรณีหลังนี้ตองมีอาคารเดิมประคอง
เอาไวไมใหพลิกลม เชนการตอเติมตึกแถวเพื่อทําหองมั่นคงของธนาคารสาขาที่ซื้อตึกแถวมาดัดแปลง

4. ฐานรากปูพรม (mat footing) หรือฐานเสือ่ (mat = เสื่อ) รูปที่ 6.1(ง) เปนฐานรากทีม่ ีเสาตั้งแต 3
ตนขึ้นไปและอาจจะมีปลองลิฟตอยูดวย โดยเสาและปลองลิฟตไมไดวางตัวอยูใ นแนวเสนตรงเดียวกัน เกิด
จากการที่ออกแบบแยกเปนฐานรากเดีย่ ว และเขียนแบบลงในแปลนฐานรากแลวพบวาฐานรากเกยกันไป
หลายๆ ฐาน พบในอาคารสูง การวิเคราะหออกแบบใชหลักการวา หาจุดศูนยถวงของกลุมน้ําหนักแลวจัด
ฐานรากใหศูนยถวงไปตรงกับศูนยถวงของน้ําหนัก ความหนาฐานรากใชเทากับความหนาสูงสุดของฐาน
รากเดี่ยวที่เคยออกแบบไวแลว เหล็กเสริมใชเหมือนกับฐานรากเดีย่ วที่เสริมเหล็กถี่ที่สุดแลวจัดเปนสองชั้น
เหมือนกัน วิธีนี้จะสิ้นเปลืองบางแตปลอดภัย ถาตองการใหประหยัดตองวิเคราะหออกแบบโดยโปรแกรม
คอมพิวเตอรเชน SAFE หรือ MIDAS หรือโปรแกรมอื่นๆ ที่สามารถวิเคราะหแบบ thick plate ได

5. ฐานตีนเปด รูปที่ 6.1(จ) เปนฐานรากทีร่ ับน้ําหนักจากเสาตนเดียวริมขอบฐานราก ทําใหเกิด


การเยื้องศูนย เชน ฐานรากรับกําแพงรัว้ ชิดเขตที่ดิน ฐานรากรับหลังคารถแบบหลังคายื่น ฐานรากแบบนี้รับ
น้ําหนักไมมากนักจึงไมควรใชกับอาคารทัว่ ไป เนื่องจากเสาตอมออาจจะหักได ยกเวนวาจะทําตอมอลึก
เทากับความกวางฐานราก คาโมเมนตดัดจากการเยื้องศูนยจะไปถายใหคานคอดินเปนโมเมนตลบ การทําปก
ค้ํายันดังแสดงก็ไมชวยปองกันการหักของตอมอได สําหรับฐานรากรัว้ แบบตีนเปดใหมีการฝงมากพอที่ดิน
ถมมีน้ําหนักถวงการพลิกลมของกําแพงได

6.3 การกระจายน้ําหนัก
ฐานแผ รูปที่ 6.2 เมื่อฐานรากวางบนดินและรับน้ําหนักบรรทุกตามแนวแกนตอมอ ฐานรากมี
ความหนามากพอที่จะไมโกงตัวมาก ฐานรากจะกดลงในดินประมาณวาสม่ําเสมอตลอดฐานราก แรง
ตานทานของดินก็จะสม่ําเสมอ (แตถาฐานรากบางจะโกงที่ขอบมาก จึงกดดินนอย แรงตานของดินจะมาก
ตรงตอมอและนอยที่สุดตรงขอบฐานราก) โดยที่
P
q (6.1)
BL
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 281

P น้ําหนักบรรทุกลงตามแกนเสาตอมอ, kg
B  ดานกวางของฐานราก, m
L  ดานยาวของฐานราก, m
q  แรงตานเฉลี่ยของดิน, kg/m2

รูปที่ 6.2 ฐานรากแผรับน้ําหนักตามแนวแกน

รูปที่ 6.3 ฐานรากแผรับน้ําหนักเยื้องศูนย

ในกรณีฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา ตอมอรับน้ําหนักบรรทุกตามแกน P และโมเมนตดดั M จากแรง


ทางขาง ซึ่งทิศทางไมแนนอน หนวยแรงแบกทานจากดินดันขึ้นจะไมเทากัน ดังรูปที่ 6.3(ก) และ (ข) ได
282 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

P 6M
q1   2 (6.2)
BL BL
P 6M
q2   2 (6.2)
BL BL
P  BLq1  q 2 
1
(6.2)
2
M  BL2 q 2  q1 
1
(6.2)
12

จากรูปที่ 6.3(ค) และ (ง)


P 6M
q3   (6.3)
BL LB2
P 6M
q4   (6.3)
BL LB2
P  BLq 3  q 4 
1
(6.3)
2
M  LB2 q 4  q 3 
1
(6.3)
12

ในกรณีที่ตอมอรับน้ําหนักตามแนวแกนกับโมเมนตดัดที่แนนอน อาจจะออกแบบเปนสี่เหลี่ยม
M
คางหมูโดยระยะเยื้องศูนย e ตําแหนงของจุดศูนยถวงฐานรากตรงกับระยะเยื้องศูนย ทําใหความดัน
P
ของดินสม่ําเสมอ ถาฐานรากยาว L กวาง B1 กับ B2 ตามรูปที่ 6.3(จ) และ (ฉ) จะได

P  qLB1  B 2 
1
(6.4)
2
M  qL2 B 2  B1 
1
(6.4)
12
M L B 2  B1
e   (6.4)
P 6 B 2  B1

คาแรงแบกทาน q จากสมการ 6.1 คา q2 จากสมการ 6.2 และคา q4 จากสมการ 6.3 ตองไมเกินคา
ในตารางที่ 6.1
ตารางที่ 6.1 กําลังแบกทานปลอดภัยของดิน
กําลังแบกทานปลอดภัย
บริเวณ
T/m2
กรุงเทพมหานคร, ลุมน้ําเจาพระยา-บางปะกง,ริมฝงแมน้ําที่เปนดินเหนียว 2
พื้นที่ทั่วๆ ไป ยกเวนที่ลุมภาคกลาง 6-12
บริเวณดินแข็งใกลภูเขา มาเลเซียตอนบน 12-15
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 283

ฐานรากบนเสาเข็ม เปนฐานรากลึก หากความหนาของฐานรากมากเพียงพอจนการโกงตัวนอย


มาก ถือวาฐานรากทรุดตัวเทากันทุกจุด เสาเข็มจึงรับน้ําหนักจากฐานรากเทาๆ กัน ดังรูปที่ 6.4
P
q (6.5)
N

เมื่อ P น้ําหนักจากฐานรากถายลงเสาเข็ม, kg
N  จํานวนเสาเข็ม, ตน
q  แรงแบกทานของเสาเข็ม, kg/ตน

รูปที่ 6.4 ฐานรากบนเสาเข็มรับน้ําหนักตามแกน

รูปที่ 6.5 ฐานรากบนเสาเข็มรับน้ําหนักเยื้องศูนย


284 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ในกรณีฐานรากรับน้ําหนักตามแกนรวมกับโมเมนตดัด ดังรูปที่ 6.5 เสาเข็มจะรับน้ําหนักไม


เทากัน ในการออกแบบใหพยายามออกแบบใหเสาเข็มรับแรงกดทั้งหมด ถามีกรณีที่เปนแรงดึงและเสาเข็ม
เปนเสาเข็มเสียดทาน (แรงเสียดทานรอบผิวมากกวาแรงแบกทานที่ปลาย เปนเสาเข็มยาว) กําลังตานทาน
ของเสาเข็มในการรับแรงถอนไมเกินครึ่งหนึ่งของกําลังแบกทานรับแรงกด
P Md i
qi   (6.6)
N N 2
 di
i 1

เมื่อ P น้ําหนักตามแนวแกน, kg
M  โมเมนตดัดรอบแกนผานศูนยกลางตอมอ, kg  m
N  จํานวนเสาเข็ม, ตน
d i  ระยะตั้งฉากจากศูนยกลางเสาเข็มถึงแกนหมุน, m
q i  แรงแบกทานของเสาเข็มแตละตน ถาเปนลบหมายถึงแรงถอน, kg

6.4 เสาเข็ม
เสาเข็มที่ใชรับน้ําหนักจากฐานรากมีหลายชนิด เชน เสาเข็มไม เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาเข็ม
คอนกรีตอัดแรง เสาเข็มเจาะ เสาเข็มแรงเหวีย่ ง (spun pile) เสาเข็มเหล็ก (HP) ปจจุบันเสาเข็มไมไมนิยมทํา
ฐานรากอาคารแตจะใชงานชั่วคราว เชนแผงกันดินตืน้ ๆ
เสาเข็มไม เปนไมเบญจพรรณหรือไมสน เมื่อลอกเปลือกแลวตองไมคดงอหรือแตกราว การระบุ
ขนาดจะกําหนดเสนผานศูนยกลางที่กึ่งกลางตนเปนนิว้ และบอกความยาวเปนเมตร เชน 2"2.00 m ,
3"3.00 m, 4"4.00 m, 5"5.00 m, 6"6.00 m, และ 8"8.00 m ขนาดที่นิยมใชคือ
4"4.00 m ถึง 6"6.00 m สําหรับขนาด 8"8.00 m ปจจุบันหาไมไดแลว

รูปที่ 6.6 เสาเข็มไมและการบอกขนาด


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 285

เดินนัน้ เสาเข็มไมมีราคาถูกกวาเสาเข็มคอนกรีตครึ่งตอครึ่ง แตมีปญหาขนาดเสนผานศูนยกลาง


เล็กกวาขนาดที่ระบุในแบบ โดยความยาวไดตามระบุ ในกรณีนี้ใหยืนยันที่ขนาดเสนผานศูนยกลางตองได
ตามแบบสวนความยาวจะมากกวาเปนผลดี เสาเข็มรับน้ําหนักไดมากขึ้น ระดับฐานรากจะตองระบุให
เพียงพอที่เสาเข็มจะจมในน้ําตลอดเวลา เชนในบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จะกําหนดใหหวั
เสาเข็ม (ซึ่งคือทองฐานราก) ตองใหหวั เสาเข็มต่ํากวาระดับดินเดิม (ไมรวมดินถม) ประมาณ 2 เมตร ซึ่งเปน
ระดับน้ําใตดนิ ต่ําสุด ถาเสาเข็มไมเปยกสลับแหงจะผุพังอยางรวดเร็วและรับน้ําหนักไมได

เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง เปนเสาเข็มที่นิยมใชกันมากในปจจุบัน ผลิตโดยวิธี pre-tension หรือดึง


เหล็กกอน หลอคอนกรีตจนมีกําลังประมาณ 80 % ของกําลังที่ออกแบบแลวตัดเหล็กใหอัดกลับ ถาใช
คอนกรีตกอตัวเร็วก็จะใชเวลาเพียง 7 วันก็นําไปใชงานได กําลังคอนกรีตที่ใชในคอนกรีตอัดแรงตองสูง
มากกวาคอนกรีตที่ใชงานทั่วไป เนื่องจากธรรมชาติของคอนกรีตอัดแรงที่ถาใชคอนกรีตกําลังต่ําก็จะไมได
ประโยชนจากการอัดแรง เหตุที่ทําเปนคอนกรีตอัดแรงเพื่อประโยชนในการขนสงและยกขึ้นตอก เหล็ก
ปลอกในเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงทําหนาทีส่ ลายพลังงานจากการตอก ซึ่งจะมีมากบริเวณหัวเสาเข็มทั้งที่ถูก
ตอกและทีแ่ ทรกลงดิน เหล็กปลอกจึงถี่บริเวณปลายเสาเข็ม สวนชวงกลางจะไมถี่มาก เสาเข็มที่สงถึง
สถานที่กอสรางหากพบที่ราว คดงอ ใหขนกลับทันที อยารับฝากทิ้งไวเพราะมักไมนํากลับคืน

รูปที่ 6.7 รูปตัดเสาเข็มที่มีใชงาน

รูปที่ 6.7 เปนรูปตัดเสาเข็มที่เคยผลิตขาย บางรูปตัดก็เลิกผลิตไปแลว รูป (ก) สี่เหลี่ยมตัน รูป (ข)


สี่เหลี่ยมมีรูกลวงขางใน รูป (ค) เปนเสาเข็ม DH หรือ Double Halfmoon ตอนนี้เลิกผลิตไปแลว รูป (ง)
เสาเข็ม I ยังคงนิยมใช รูป (จ) รูป Y เลิกผลิตไปนานมากเนื่องจากรูปทรงนี้เสียหายจากการขนสงมาก รูป (ฉ)
หกเหลี่ยมกลวง (HP) มักจะเปนเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก รูป (ช) หนาตัดกลมตัน ปจจุบันไมนยิ ม
เนื่องจากผลิตยากตนทุนสูง รูป (ซ) เสากลมกลวง มักจะเปนเสาเข็มแรงเหวีย่ ง เมื่อหมุนแบบดวยความเร็วสูง
เนื้อคอนกรีตจะแนนมาก หยุดหมุนแกะแบบหลอไดเลยทําใหผลิตไดรวดเร็ว รูป (ญ) เปนเสาเข็มเขื่อนที่มีบา
รับแผงคอนกรีต ใชทําเขื่อนกันดินริมคลองหรือแมน้ํา
เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก เปนเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กที่หลอขึ้นใชเอง ความยาวไมเกิน 10
เมตร การคํานวณตองคํานึงถึงจุดยก ซึ่งอยูประมาณ 0.207 ของความยาวเสาจากปลายเสา ปองกันการหัก
ระหวางยกขึน้ ตอก ปริมาณเหล็กเสริมควรอยูที่รอยละ 4 ของหนาตัดเสา เหล็กปลอกปลายเสาทั้งสองขางใช
ป-RB 9 mm @ 50 mm ระยะ 1.00 เมตรจากปลายเสา ชวงกลาง ป-RB 9 mm @ 150 mm
286 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เสาเข็มเจาะ (bore pile) มีหนาตัดวงกลมขนาดใหญ วิธีการทํามีสองรูปแบบ คือแบบเจาะแหง


สําหรับพื้นที่ไกลจากแหลงน้ํา และความลึกไมมากนัก ตอกปลอกเหล็กดวยสามขา (tri-pod) และขุดเอาดิน
ในปลอกเหล็กออก ตอปลอกแลวตอกลงไปอีก ทําซ้ําๆ จนถึงระดับชั้นดินเหนียวแข็งก็ใชวิธีขุดดินขึ้นมา แต
พอถึงชั้นทรายหนาทีจ่ ะใหเปนปลายเสาเข็มอาจจะมีนา้ํ ทะลักขึ้นมา ใชหินคลุกผสมซีเมนตแบบแหงเทลงไป
และตําดวยลูกตุมอยางรวดเร็ว หยอนเหล็กเสริมที่เตรียมไว ความยาวประมาณ 10 เมตรและขัดไวไมใหหลน
ลงไป เทคอนกรีตโดยใชทอผาใบลดการแยกตัว เมื่อเทคอนกรีตถึงระดับปลอกเหล็กใหถอนปลอกพรอมกับ
เทคอนกรีตประสานอยางสอดคลองกันจนเต็มหลุม แบบที่สองเรียกวา แบบเจาะเปยก เปนเสาเข็มทีย่ าวมาก
อาจจะถึง 60 เมตร แนวการเจาะผานชัน้ ทรายหลายชัน้ ที่มักจะพังทลายไปทําใหเสาเข็มสั้นกวาที่ตองการ
หรืออุดรูเจาะไปหมด วิธีปอ งกันจะใชสารละลายเบนโทไนตที่ผลิตจากแรแบไรต เปนสารละลายที่มีความ
ถวงจําเพาะสูงจึงมีแรงยันผนังดินและทรายไมใหทลายได ระหวางการเจาะจะมีดนิ และทรายปนเขาไปใน
สารละลายจึงตองมีการสูบขึ้นมากรองและตรวจสอบความถวงจําเพาะ และคอยเติมผงแบไรตอยูเสมอ
หลังจากเจาะถึงระดับที่ตองการแลว หยอนทอเทคอนกรีตลงไปใหอยูเ หนือกนหลุมประมาณ 0.60 เมตร ใส
ลูกบอลสําหรับไลน้ําลงไปแลวเทคอนกรีตๆ จะกดลูกบอลไลน้ําหรือเบนโทไนตจนหลุดออกที่กน หลุมและ
ลอยขึ้นดานบนปากหลุม สวนคอนกรีตก็เขาไปเต็มทอและไหลออกทางปลายเรื่อยๆ พรอมกันนั้นก็คอยๆ
ยกทอเทคอนกรีตขึ้น เบนโทไนตที่ลอยขึน้ มาก็สูบกลับไปกรองเก็บในถัง จังหวะทีจ่ ะถอดทอใหปลายทอจม
ในคอนกรีตเล็กนอยคอนกรีตจะหยุดไหล รีบถอดทอออกและเทคอนกรีตตอไป จนถึงระดับที่ตองการจึง
หยุดการเท คอนกรีตที่ดานบนจะเปนคอนกรีตที่ผสมดิน ทราย และเบนโทไนต จึงเปนคอนกรีตคุณภาพต่าํ
ตองสกัดออก บางครั้งตองสกัดออกยาวถึง 2 เมตรก็มี
การเจาะเสาเข็มเจาะมีความสั่นสะเทือนเกิดขึ้น จึงมีกฎเหล็กวาเมือ่ เทคอนกรีตเสาเข็มเจาะเสร็จ
ใหม หามทําใหเกิดการสั่นสะเทือนใกลๆ จึงมักจะรอใหคอนกรีตเซ็ตตัวกอนอยางนอย 8 ชั่วโมง แลวจึงเจาะ
ตนตอไปและใหหางจากตนที่หลอใหมนนั้ ไมนอยกวา 7 เทาของขนาดเสาเข็ม หรือไมนอยกวา 4 เมตร

เสาเข็มเหล็ก (HP) เปนหนาตัดรูปตัว H ที่ความหนามากกวาเหล็กรูปพรรณทั่วไป ราคาแพงมาก


เหมาะกับกรณีที่ตองการเสาเข็มยาวมากและความรวดเร็วในการตอกเสาเข็ม ความหนาที่มากพอทําใหการ
กัดกรอนใตดนิ ที่เกิดขึน้ ชามาก อายุการใชงานประมาณ 50 ปหรือมากกวา

6.5 การรับน้ําหนักของเสาเข็ม
เสาเข็มสั้นจะอาศัยความเสียดทานของดินรอบๆ เสาเข็มเปนตัวรับน้ําหนัก ถาในบริเวณลุมน้ํา
เจาพระยา-บางประกง ความยาวเสาเข็มทีป่ ลายจิกลงชั้นทรายที่เปนชั้นรับน้ําหนักไดมากจะมีแรงแบกทานที่
ปลายเสาเข็มเพิ่มเขามา โดยบริเวณชัยนาทลงมาอยุธยาจะลึกประมาณ 11-17 เมตร กรุงเทพมหานคร
นนทบุรี ปทุมธานี จะอยูที่ความลึกประมาณ 21 เมตร สวนดานลางไปยังอาวไทยเชน บางนา บางพลี จังหวัด
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 287

สมุทรปราการ อาจจะลึกถึง 30 เมตร น้ําหนักที่เสาเข็มรับไดจึงไดมาจากแรงเสียดทานรอบๆ เสาเข็ม รวมกับ


แรงแบกทานที่ปลายลางของเสาเข็ม

รูปที่ 6.8 การรับน้ําหนักของเสาเข็มสั้นและเสาเข็มยาว

กําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม สามารถคํานวณจากผลการเจาะสํารวจดินบริเวณไซตงาน (Boring log)


แลวทดสอบกําลังที่อาจจะใช การทดสอบกําลังรับน้ําหนักแบบสถิต (Static pile load test) หรือ การทดสอบ
แบบจลน (Dynamic pile load test) แบบสถิตใหคาที่แมนตรงกวาแบบจลน แตราคาก็แพงกวามาก ในขั้น
แรกจะอธิบายคาประมาณทีย่ ังไมมีผลการเจาะสํารวจดิน
ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ขอ 67 กําหนดความฝดของดินที่ยอมใหดังนี้
(1) ดินที่อยูใ นระดับลึกไมเกิน 7 เมตรจากระดับน้าํ ทะเลปานกลาง (กรุงเทพมหานครสูงจาก
ระดับน้ําทะเลปานกลางประมาณ 1 เมตร ดังนั้นความลึกจากผิวดินประมาณ 8 เมตรคือกรณีนี้) ใชหนวยแรง
ฝดของดินไมเกิน 600 kg/m2
(2) ดินที่อยูใ นระดับลึกเกินกวา 7 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง ใหคํานวณหนวยแรงฝดของ
ดินเฉพาะสวนที่ลึกเกินกวา 7 เมตรลงไป ดังนี้
หนวยแรงฝด  800  200 , kg/m2
เมื่อ   ความยาวของเสาเข็มสวนที่เกินกวา 7 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง
288 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.9

รูปที่ 6.10 เสนรอบรูปของเสาเข็มคอนกรีต


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 289

ในการคํานวณหากําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มโดยอาศัยความเสียดทานของดินใหใชสมการตอไปนี้

P  fpL

เมื่อ P กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็ม, kg หรือ tone


2 2
f  หนวยแรงฝดเฉลี่ยที่ยอมให, kg/m หรือ T/m ตามรูปที่ 6.9 หรือขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร
p  ความยาวเสนรอบรูป (perimeter) ของเสาเข็มตามรูปที่ 6.10, m
L  ความยาวของเสาเข็มในชวงของ f ที่คํานวณ, m
สําหรับเสาเข็มไมใหใชคา p เปนเสนรอบวงของเสาที่กึ่งกลางความยาว แตถาเปนเสาเข็มคอนกรีตใหเอา
เชือกพันรอบหนาตัดเสาเข็มแลวคลี่ออกจะเปน p ตามรูปที่ 6.10

ตัวอยางที่ 6.1 จงหากําลังรับน้ําหนักปลอดภัยของเสาเข็มไมทุกขนาดตั้งแต 2"2.00 m, 3"3.00 m,


4"4.00 m, 5"5.00 m, 6"6.00 m, 8"8.00 m พื้นที่ดินบริเวณกรุงเทพมหานคร หัว
เสาเข็มตองจมลงใตระดับผิวดิน 2.00 เมตร

วิธีทํา
เลือกใชการคํานวณตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร และรูปที่ 6.9
เสาเข็มไมขนาด 2"2.00 m
 2  2.54 
p  D     0.1596 m
 100 
ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร ปลายเสาเข็มอยูล ึก 4.00 เมตร นอยกวา 8.00 เมตร
ดังนั้นหนวยแรงฝด f = 600 kg/m2 ความยาวของเสาเข็ม L = 2.00 m กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็มคือ

P  fpL  600  0.1596  2.00  191.5 kg  0.192 tonne

ตามรูปที่ 6.9 หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร คือระดับ 0.00 หนวยแรงฝด f = 0.394 tonne/m2 ปลายเสาเข็มอยูลึก
4.00 เมตร หนวยแรงฝด f = 0.514 tonne/m2 ความยาวเสาเข็ม L = 2.00 m กําลังรับน้ําหนักทีย่ อมใหของ
เสาเข็มคือ
0.394  0.514
P  fpL   0.1596  2.00  0.145 tonne
2

เสาเข็มไมขนาด 3"3.00 m

 3  2.54 
p  D     0.2394 m
 100 
290 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร ปลายเสาเข็มอยูล ึก 5.00 เมตร นอยกวา 8.00 เมตร
ดังนั้นหนวยแรงฝด f = 600 kg/m2 ความยาวของเสาเข็ม L = 3.00 m กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็มคือ

P  fpL  600  0.2394  3.00  430.92 kg  0.431 tonne

ตามรูปที่ 6.9 หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร คือระดับ 0.00 หนวยแรงฝด f = 0.394 tonne/m2 ปลายเสาเข็มอยูลึก
5.00 เมตร หนวยแรงฝด f = 0.571 tonne/m2 ความยาวเสาเข็ม L = 3.00 m กําลังรับน้ําหนักทีย่ อมใหของ
เสาเข็มคือ
0.394  0.571
P  fpL   0.2394  3.00  0.347 tonne
2

เสาเข็มไมขนาด 4"4.00 m

 4  2.54 
p  D     0.3192 m
 100 

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร ปลายเสาเข็มอยูล ึก 6.00 เมตร นอยกวา 8.00 เมตร
ดังนั้นหนวยแรงฝด f = 600 kg/m2 ความยาวของเสาเข็ม L = 4.00 m กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็มคือ

P  fpL  600  0.3192  4.00  766.08 kg  0.766 tonne

ตามรูปที่ 6.9 หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร คือระดับ 0.00 หนวยแรงฝด f = 0.394 tonne/m2 ปลายเสาเข็มอยูลึก
6.00 เมตร หนวยแรงฝด f = 0.634 tonne/m2 ความยาวเสาเข็ม L = 4.00 m กําลังรับน้ําหนักทีย่ อมใหของ
เสาเข็มคือ
0.394  0.634
P  fpL   0.3192  4.00  0.656 tonne
2

เสาเข็มไมขนาด 5"5.00 m

 5  2.54 
p  D     0.399 m
 100 

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร ปลายเสาเข็มอยูล ึก 7.00 เมตร นอยกวา 8.00 เมตร
ดังนั้นหนวยแรงฝด f = 600 kg/m2 ความยาวของเสาเข็ม L = 5.00 m กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็มคือ

P  fpL  600  0.399  5.00  1,197 kg  1.197 tonne


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 291

ตามรูปที่ 6.9 หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร คือระดับ 0.00 หนวยแรงฝด f = 0.394 tonne/m2 ปลายเสาเข็มอยูลึก
7.00 เมตร หนวยแรงฝด f = 0.691 tonne/m2 ความยาวเสาเข็ม L = 5.00 m กําลังรับน้ําหนักทีย่ อมใหของ
เสาเข็มคือ
0.394  0.691
P  fpL   0.399  5.00  1.082 tonne
2

เสาเข็มไมขนาด 6"6.00 m

 6  2.54 
p  D     0. 4788 m
 100 

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร ปลายเสาเข็มอยูลกึ 8.00 เมตร เทากับ 8.00 เมตร พอดี
ดังนั้นหนวยแรงฝด f = 600 kg/m2 ความยาวของเสาเข็ม L = 6.00 m กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็มคือ

P  fpL  600  0.4788  6.00  1,724 kg  1.724 tonne

ตามรูปที่ 6.9 หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร คือระดับ 0.00 หนวยแรงฝด f = 0.394 tonne/m2 ปลายเสาเข็มอยูลึก
8.00 เมตร หนวยแรงฝด f = 0.749 tonne/m2 ความยาวเสาเข็ม L = 6.00 m กําลังรับน้ําหนักทีย่ อมใหของ
เสาเข็มคือ
0.394  0.749
P  fpL   0.4788  6.00  1.641 tonne
2

เสาเข็มไมขนาด 8"8.00 m

 6  2.54 
p  D     0. 4788 m
 100 

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร ปลายเสาเข็มอยูล ึก 10.00 เมตร มากกวา 8.00 เมตร
สวนแรกยาว L = 6.00 เมตร หนวยแรงฝด f = 600 kg/m2 ความยาวที่เหลือ L = 8.00 – 6.00 = 2.00 m หนวย
แรงฝดชวงบนคือ 800 kg/m2 และที่ปลายเสาเข็มจะมีหนวยแรงฝด

f  800  200  2.00  1200 kg / m 2


800  1200
P  fpL  600  0.4788  6.00   0.4788  2.00
2
P  2,681 kg  2.681 tonne
292 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตามรูปที่ 6.9 หัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร คือระดับ 0.00 หนวยแรงฝด f = 0.394 tonne/m2 ปลายเสาเข็มอยูลึก
10.00 เมตร หนวยแรงฝด f = 0.869 tonne/m2 ความยาวเสาเข็ม L = 8.00 m กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของ
เสาเข็มคือ
0.394  0.869
P  fpL   0.4788  8.00  2.419 tonne
2

เสาเข็มไมมีคาความคลาดเคลื่อนคอนขางสูง เชนขนาดเสนผานศูนยกลางเล็กกวาทีร่ ะบุไว ดังนัน้


ควรใชกําลังประมาณ 78% ของคาที่คํานวณได ตารางตอไปนี้แสดงกําลังของเสาเข็มโดยที่ P1 เปนกําลังของ
เสาเข็มตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานครซึ่งมีคาสูงกวา P2 ที่ไดจากรูปที่ 15 สวน P3 เปนกําลังของเสาเข็มไมที่
แนะนําใหใช

รูปที่ 6.11 กําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มไม

ในการผลิตเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงจะใชคอนกรีตกําลังสูงถึง f c'  350 ksc สวนคอนกรีตฐาน


รากกลับนอยกวามากเชนเพียง f c'  210 ksc แรงแบกทานระหวางผิวทองฐานรากกับหัวเสาเข็มจะทําให
คอนกรีตปนเปนผงได โดยหัวเสาเข็มรับแรงแบกทานเต็มหนาตัดของเสาเข็ม แตทองฐานรากรับแรงแบก
ทานไมเต็มหนาตัดของทองฐานราก จึงมีกาํ ลังตางกันตองตรวจสอบดวย
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 293

รูปที่ 6.12 เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง


294 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.12 เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง (ตอ)


พิจารณารูปที่ 6.14 เปนลักษณะการถายน้ําหนักจากตอมอลงฐานรากหรือการตานทานของเสาเข็ม
ตอฐานราก เนือ้ ที่ A2 จะเปน 4 เทาของ A1 สมมติเสาเข็มสี่เหลี่ยมตันขนาด 0.40  0.40 m2 ขอมูลทั่วไปมี
ดังนี้

P  1.7  80  136 tonne  136,000 kg  แรงตานทานจากเสาเข็ม ตัวคูณ 1.7 สําหรับ


น้ําหนักบรรทุกจรเนื่องจากไมมีขอมูลแบงแยกวาน้ําหนักบรรทุกคงที่เทาใด น้ําหนักบรรทุกจรเทาใด จึง
เลือกตัวคูณของน้ําหนักบรรทุกจรที่มากกวาตัวคูณน้ําหนักบรรทุกคงที่ (ตัวคูณ 1.4)
A 1  1600 cm 2  เนื้อที่หนาตัดของเสาเข็ม
A 2  4A 1  6400 cm 2  เนื้อที่กระจายแรงแบกทานในฐานราก สําหรับเสาเข็มตนริม
f cc'  350 ksc  กําลังของคอนกรีตในเสาเข็ม
f cf'  210 ksc  กําลังคอนกรีตของฐานราก
  0.70  ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงแบกทาน
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 295

รูปที่ 6.13 ตารางเสาเข็มเหล็กรูปตัด H

หนวยแรงแบกทานในเสาเข็ม
P
 0.85f cc'
A1
136,000
 0.85  0.70  350
1600
85  208.25
296 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

พบวาเปนจริง การวิบัติจากแรงแบกทานจะไมเกิดขึน้ ที่หวั เสาเข็ม


หนวยแรงแบกทานที่ทองฐานราก
P A2
 0.85f cf'  1.70f cf'
A1 A1
136,000 6400
 0.85  0.70  210  1.70  0.70  210
1600 1600
85  249.9  249.9
พบวาเปนจริง การวิบัติจากแรงแบกทานจะไมเกิดขึน้ ที่ทอ งฐานราก

รูปที่ 6.14 พื้นที่รับการกระจายของแรงแบกทานในเสากับฐานรากหรือพื้น

ตัวอยางที่ 6.2 จงหากําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็มของเสาเข็ม S  0.40  0.40  23 m โดย


ใชขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร และกําลังประลัยตามรูปที่ 6.9 แลวใชสวนปลอดภัย 2.5 ในการหา
กําลังรับน้ําหนักที่ยอมให กําลังอัดประลัยของคอนกรีตเสาเข็ม f cc'  350 ksc และกําลังอัดประลัย
คอนกรีตฐานราก f cf'  280 ksc
วิธีทํา สมมติหัวเสาเข็มจมอยูใตระดับดินเดิม 2 เมตร จะอยูใตระดับน้ําทะเลปานกลาง 1 เมตร สวนที่จมใต
ระดับน้ําทะเลปานกลาง 7.00 เมตร จึงยาว 7-1 = 6 เมตร ความยาวที่จมลึกกวาคือ 23 – 6 = 17 เมตร
จากสมการกําลังเสาเข็ม

P  fpL

เสนรอบรูปเสาเข็ม p  160 cm  1.6 m


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 297

ขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร ชวงความยาว L = 6 เมตร มีหนวยความฝด f = 600 kg/m2 ที่เหลือ 17 เมตร


หนวยความฝดปลายบน 800 kg/m2 และหนวยความฝดปลายลาง

f  800  200L  800  200  17  4200 kg / m 2

800  4200
หนวยความฝดเฉลี่ย f  2500 kg / m 2
2
กําลังรับแรงแบกทานที่ยอมใหของเสาเข็มคือ

P  fpL  600  1.6  6.00  2500  1.6  17  73,760 kg  73.76 tonne

จากรูปที่ 6.9 จากระดับ  0.00 ลึกจากผิวดิน 2 เมตร มีหนวยกําลังฝดประลัย 0.82 T/m2 จนถึงความลึก 12
เมตร มีหนวยกําลังฝดประลัย 2.30 T/m2 เฉลี่ยคาได
0.82  2.30
f  1.56 T / m 2
2

โดยความชวงนี้ L = 12 m เหลือความยาวอีก = 23 – 12 = 11 m ชวงลึกลงไปอีก L = 3 เมตร มีหนวยกําลังฝด


ประลัย f = 5.60 T/m2
เหลือความยาว L = 11 – 3 = 8 m มีหนวยกําลังฝดประลัย f = 9.40 T/m2
กําลังรับแรงแบกทานประลัยของเสาเข็ม

Pu  fpL  1.56  1.6  12.00  5.60  1.6  3.00  9.40  1.6  8.00  177.152 tonne

สวนปลอดภัย FS = 2.5 ดังนัน้ กําลังรับแรงแบกทานทีย่ อมให


Pu 177.152
P   70.86 tonne
FS 2 .5

กําลังรับแรงแบกทานของคอนกรีตเสาเข็ม
Pu
 0.85f cc'
A1
Pu
 0.85  0.70  350
1600
Pu  1600  0.85  0.70  350  333,200 kg  333.2 tonne
P
P  u  133.28 tonne
FS
298 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

กําลังรับแรงแบกทานของฐานราก
Pu A2
 0.85f cf'  1.70f cf'
A1 A1
Pu 6400
 0.85  0.70  280  1.70  0.70  280
1600 1600
Pu
 333.2  333.2
1600
Pu  1600  333.2  533,120 kg  533.12 tonne
P 533.12
P u   213.25 tonne
FS 2 .5
กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหเลือกจากคานอยคือ 70.86 ตัน

6.6 การคํานวณกําลังรับน้ําหนักจากผลการเจาะสํารวจดิน
กําลังรับแรงแบกทานของเสาเข็มบนดินไมยึดเหนี่ยว (Bearing Capacity for Cohesionless Soil)
กําลังแบกทานที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing Pile or Pier) สมการของเตอซากิเมื่อสมมติวาหนาตัด
เสาเข็มเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส (B=L) และแรงยึดเหนี่ยว c = 0 เชน ทราย และกรวด กําลังรับแรงแบกทานประลัย
qult คือ
Qp
q ult   0.4 t BN    t D f N q
B2

ความกวาง B ของหนาตัดเสาเข็มนอยกวาความลึกปลายเสาเข็ม Df อยางมาก ดังนั้นพจน 0.4 t BN  นอย


กวาพจน  t D f N q จนอาจจะตัดพจน 0.4 t BN  ทิ้งไปได
พจน  t D f คือหนวยแรงทางดิ่ง  v ตรงปลายเสาเข็ม สําหรับดินไมยดึ เหนี่ยวและใชการวิเคราะห
หนวยแรงประสิทธิผลนั้น ตองพิจารณาผลของระดับน้ําใตดิน ดังนั้นตองใชหนวยแรงทางดิ่งประสิทธิผล
 'v แทนคาของ  v สมการของเตอซากิจึงลดรูปลงเปน
เมื่อเสาเข็มมีหนาตัดเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส
Qp
q ult  2
  'v N q
B

เมื่อเสาเข็มมีหนาตัดเปนวงกลม
Qp
q ult    'v N q
r2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 299

เมื่อ q ult  กําลังแบกทานที่ปลายเสาเข็ม, T/m2


Q p  แรงแบกทานประลัยที่ปลายเสาเข็ม, tone
B  ความกวางของหนาตัดเสาเข็มจัตุรัส, m
r  รัศมีของเสากลม, m
2
 'v  หนวยแรงอัดทางดิ่งประสิทธิผลที่ปลายเสาเข็ม , T/m
N q  ตัวประกอบกําลังแบกทาน, ไมมีหนวย
เสาเข็มเจาะหรือเสาเข็มแบบเจาะเสียบ คาของ Nq ขึ้นกับมุมเสียดทาน  ของกรวดหรือทรายที่
ปลายเสาเข็ม แตเสาเข็มตอกคา Nq ตองหาจากรูปที่ 6.15 โดย Vesic’ (1967) จัดทําขึน้ คาของ Nq จะบอกเปน
ชวง เชนขณะ   30 o คา Nq อยูระหวาง 30 ถึง 150 และขณะ   40 o คา Nq อยูระหวาง 100 ถึง 1000
อยางไรก็ตามคาในรูปที่ 6.15 ยังเปนทฤษฎี

รูปที่ 6.15 ตัวประกอบกําลังแบกทานที่เสนอแนะจากนักวิจัยหลายทาน


300 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

มีความเชื่อวาเสาเข็มตอกหนาตัดตันทําใหตัวประกอบกําลังแบกทาน Nq มีคามากกวาเสาเข็มเจาะ
หรือเสาเข็มที่มีรูกลวง เนื่องจากการตอกจะอัดใหทรายแนนขึ้นทั้งจากการแทนทีแ่ ละการสั่นสะเทือนในการ
ตอกทําใหเม็ดทรายเรียงอัดตัวแนนขึ้น

ตัวอยางที่ 6.3 เสาเข็มเสนผานศูนยกลาง 0.30 เมตร ยาว 6.00 เมตร ตอกลงในทรายปนรวนที่มีคา แรงเฉือน
เปน c  0, '  30 o ระดับน้าํ ใตดินลึก 3 เมตรจากผิวดิน หนวยน้ําหนักของดินสวนที่อยูเหนือน้ําใต
ดิน 1900 kg/m3 และหนวยน้ําหนักลอยตัวของดินใตระดับน้ําใตดิน  b  990 kg / m 3 ใหใชคาตาม
สมการของเตอซากิในรูปที่ 6.15 หากําลังแบกทานที่ยอมใหที่ปลายเสาเข็ม โดยใชสว นปลอดภัย
เทากับ 3
วิธีทํา หนวยแรงทางดิ่งประสิทธิผล  'v ที่ปลายเสาเข็ม

   
 s'  3 m  1900 kg / m 3  3 m  990 kg / m 3  8670 kg / m 2

จากรูปที่ 6.15 ใชกราฟความสัมพันธของเตอซากิ เมื่อ   ' 30 o เสนกราฟทางตั้งเปนสเกลล็อกการิธึม


จะไดตัวประกอบกําลังแบกทาน Nq = 30
เสาเข็มมีหนาตัดกลมเสนผานศูนยกลาง 0.30 เมตร รัศมี r  0.30  0.15 m
2

Qp
q ult    'v N q
r 2
Q p  r 2  'v N q    0.15 2  8670  30  18,385 kg

เมื่อใชสวนปลอดภัย FS = 3 จะไดกําลังแบกทานที่ยอมใหตรงปลายเสาเข็มเทากับ
Qp 18,385
Q ba    6,128 kg
FS 3

กําลังรับแรงเสียดทานของผิวรอบเสาเข็ม ที่เห็นชัดคือเสาเข็มที่รับแรงถอนจะอาศัยแรงเสียดทานรอบๆ
เสาเข็มเพียงอยางเดียว ขณะเดียวกันเสาเข็มที่รับแรงกดก็จะมีทั้งแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็มและแรงเสียด
ทานรอบเสาเข็ม คากําลังเสียดทานประลัย (qult) ไดดังนี้
สําหรับเสาเข็มหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส
Qs
q ult    'h tan  w   'v k tan  w
4BL

สําหรับเสาเข็มหนาตัดกลม
Qs
q ult    'h tan  w   'v k tan  w
2rL
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 301

เมื่อ q ult  กําลังเสียดทานประลัยเฉลี่ยรอบผิวเสาเข็ม, kg/m2 หรือ T/m2


Q s  แรงเสียดทานประลัยรอบผิวเสาเข็ม, kg หรือ T
B  ความกวางของเสาเข็มจัตุรัส, m
r  รัศมีของเสาเข็มกลม, m
L  ความยาวของเสาเข็ม, m
2 2
 'h  คาเฉลี่ยของหนวยแรงทางราบประสิทธิผลตลอดความยาวของเสาเข็ม, kg/m หรือ T/m
2 2
 'v  คาเฉลี่ยของหนวยแรงทางดิง่ ประสิทธิผลตลอดความยาวของเสาเข็ม, kg/m หรือ T/m
 'h
k  มีคาอยูระหวาง 1 ถึง 2 สําหรับเสาเข็มตอกใหใช k = 1
 'v
w  มุมความเสียดทานระหวางทรายกับผิวเสาเข็ม หากเปนเสาเข็มไมกับเสาเข็มคอนกรีตใหใช
3
w   แตถาเปนเสาเข็มเหล็กใหใช  w  20 o
4

ตัวอยางที่ 6.4 จากตัวอยางที่ 6.3 เสาเข็มเสนผานศูนยกลาง 0.30 เมตร ยาว 6.00 เมตร ตอกลงในทรายปน
รวนที่มีคาแรงเฉือนเปน c  0, '  30 o ระดับน้ําใตดินลึก 3 เมตรจากผิวดิน หนวยน้ําหนักของดิน
สวนที่อยูเหนือน้ําใตดนิ 1900 kg/m3 และหนวยน้ําหนักลอยตัวของดินใตระดับน้ําใตดนิ
 b  990 kg / m 3 ใหใชคาตามสมการของเตอซากิในรูปที่ 6.15 หากําลังเสียดทานทีย่ อมใหรอบๆ
ผิวเสาเข็ม โดยใชสวนปลอดภัยเทากับ 3 ทั้งนี้เสาเข็มตอกใหใช k = 1

วิธีทํา เนื่องจากการหาความเสียดทานรอบผิวเสาเข็มจะหาคาเฉลี่ยที่ถือวาแปรเปนเสนตรง ดังนั้นชวงบนที่


03
ลึก 0-3 เมตร จะพิจารณาที่ความลึก  1.5 เมตร และชวงลางความลึก 3-6 เมตร จะพิจารณาที่ความลึก
2
36
 4.5 เมตร โดยคิดผลของ 3 เมตรดานบน รวมกับผลของดานลางอีก 1.5 เมตร ดังนี้
2

ที่ระดับ 1.50 เมตรจากผิวดิน

 v  1.5 m 1900 kg / m 3   2,850 kg / m 2

ที่ระดับ 4.50 เมตรจากผิวดิน

 'v  3 m 1900 kg / m 3   1.5 m 990 kg / m 3   7,185 kg / m 2

3 3
สําหรับเสาเข็มคอนกรีตนั้น  w     30  22.5 o
4 4
Qs
เสาเข็มหนาตัดกลม q ult    'h tan  w   'v k tan  w
2rL
Q s  2rL 'v k tan  w
302 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

0.30
โดย r  0.15 m
2
k 1
 w  22.5 o

ชวงความลึก 0-3 เมตร มีความยาว L  3.00 m,  'v   v  2,850 kg / m 2

Q s  20.153.002,8501 tan 22.5 o  3,338 kg

ชวงความลึก 3-6 เมตร มีความยาว L  3.00 m,  'v  7,185 kg / m 2

Q s  20.153.007,1851 tan 22.5 o  8,415 kg

ดังนั้นเสาเข็มรับความเสียดทานรอบผิวเสาเข็ม

Q s  3,338  8,415  11,753 kg

สวนปลอดภัย FS = 3 ดังนั้นกําลังเสียดทานที่ยอมใหคือ
Q s 11,753
Q sa    3,918 kg
FS 3

เสาเข็มตามตัวอยางที่ 6.3 รับแรงแบกทานที่ปลายได Q ba  6,128 kg และตัวอยางที่ 6.4 รับแรงเสียดทาน


รอบเสาเข็มได Q sa  3,918 kg กําลังของเสาเข็มทั้งสองอยางรวมกันคือ

Q a  Q ba  Q sa  3,918  6,128  10,046 kg

กําลังรับแรงแบกทานของเสาเข็มบนดินเหนียว (Bearing Capacity for Cohesive Soil)

กําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มในชั้นดินเหนียวหาไดยากกวาบนทราย มาตรฐาน AASHTO, 1996 ให


ขอสังเกตในการพิจารณาดังนี้
เสาเข็มกลุมจะรับน้ําหนักเฉลี่ยตอตนนอยกวาเสาเข็มเดี่ยว
ตองคํานึงถึงการทรุดตัวของเสาเข็มที่จมในชั้นดินเหนียว
คลื่นสั่นสะเทือนจากการตอกเสาเข็มจะกระทบตอโครงสรางขางเคียงได ดินเหนียวออนและดิน
เหนียวชุมน้ําจะเกิดการบุมตัวตามเสาเข็ม
ดินดานบนที่เคยชุมน้ํา พอแหงจะหดตัวลงและรูดเสาเข็มลงเรียกวา Negative skin friction ทําให
กําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มลดลง
มีแรงยกขึ้นจากการพองตัวของดินเหนียวเมื่อดูดซึมน้ํา
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 303

กําลังรับแรงเฉือนของดินเหนียวลดลงเนื่องจากเทคนิคกอสราง เชนสภาพดินเหนียวที่ถูกรบกวน
การเพิ่มของความดันหยดน้าํ ระหวางเม็ดดินจากการตอกเสาเข็ม หากตอกเสาเข็มในดินเหนียวไมเสร็จทิ้ง
ขามวันแลวมาตอกตออาจจะตอกไมลง เนื่องจากระหวางการตอกอยูนนั้ ดินเหนียวถูกเขยาและปลอยให
เสาเข็มแทรกลงไปได พอหยุดเขยาดินก็จะเคลื่อนตัวมาจับผิวเสาเข็มจนแนน ดังนัน้ การตอกเสาเข็มตองตอก
ใหเสร็จทั้งตน
ระดับน้ําใตดนิ ที่แปรเปลี่ยนไปนั้นทําใหการวิเคราะหกาํ ลังเสาเข็มในดินเหนียวโดยใชหนวยแรง
ประสิทธิผลจะไดคาที่ไมถูกตอง

การวิเคราะหหนวยแรงทั้งหมด (Total Stress Analysis) วิธีนี้เหมาะกับเสาเข็มในดินเหนียว เนื่องจากน้ําหนัก


วิกฤตบนเสาเข็มที่เกิดจากแรงลมหรือแผนดินไหวจะเปนแรงกระทําในชวงเวลาสั้นๆ กําลังรับแรงเฉือน
แบบน้ํายังไมออกจากดิน (undrained shear strength) su หรือคายึดเหนี่ยว c ที่ไดจากการทดลองสามแกน
(unconsolidated undrained triaxial compression test) ซึ่งเปนภาวะที่   0
กําลังรับน้ําหนักประลัยของเสาเข็มในดินเหนียว ไดจากผลรวมแรงแบกทานประลัยที่ปลายเสาเข็ม
และแรงยึดเหนี่ยวประลัยรอบๆ ผิวเสาเข็ม
การหาแรงแบกทานประลัยของเสาเข็ม จะพิจารณาจากสมการ
 B
q ult  cN c 1  0.3   0.4 t BN    t D f N q
 L

เมื่อ B = L มุม 0 ทําให N c  5.5, N   0 และ Nq  1 (ดูจากรูปที่ 10) พจน  t Df Nq   t Df


 B
เนื่องจาก 0 แลว Nq  1 คานี้จะพอๆ กับน้ําหนักเสาเข็มจึงตัดพจนนี้ออกไป พจน cN c 1  0.3 
 L
 1.3cN c  1.3c5.5  7.2cหรือเทียบเคียงวา N c  7.2 แตคาที่แนะนําใหใชคือ Nc  9 ดังนัน้ กําลัง
รับน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มในดินเหนียวคือ

Q ult  แรงแบกทานที่ปลาย + แรงยึดเหนี่ยวรอบเสาเข็ม


Q ult  cN c (เนื้อที่ปลายเสาเข็ม) + c A (เนือ
้ ที่ผิวรอบๆ เสาเข็ม)
Q ult  c9R 2   c A 2Rz   9cR 2  2c A Rz

เมื่อ Q ult กําลังรับน้ําหนักประลัยของเสาเข็ม , T


2
c  คาความยึดเหนี่ยวของดินเหนียวที่ปลายเสาเข็ม, T/m
R  รัศมีของเสาเข็ม ถาที่ปลายเสาเข็มมีกระเปาะ หรือเสี้ยมปลาย รัศมีที่ปลายก็จะตางจากรัศมี
ของตัวเสาเข็ม, m
z  ความยาวที่เสาเข็มจมในดิน, m
304 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

cA  ความยึดเหนีย่ วระหวางดินกับผิวรอบๆเสาเข็มที่แยกตามสภาพชั้นดินและชนิดเสาเข็ม, T/m2


เมื่อเสาเข็มยกตัวจากการดูดซึมน้ําของดินเหนียวแลวพองตัว แรงแบกทานที่ปลายเสาเข็มจะไมมี
เหลือแตแรงเสียดทานรอบๆ ผิวเสาเข็ม
Tult  2c A Rz

รูปที่ 6.16 กําลังรับน้ําหนักเสาเข็มเดี่ยวในดินเหนียวและทรายปนเหนียว


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 305

รูปที่ 6.17 กําลังรับน้ําหนักของกลุมเสาเข็มในดินเหนียวและทรายปนเหนียว

การหากําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มที่ไดจากรายงานเจาะสํารวจดิน
การคํานวณคาการรับน้ําหนักบรรทุกของฐานราก ทําไดหลายวิธีตามลักษณะของชัน้ ดิน การระบาย
น้ําของดิน ทั้งแบบไมระบายน้ํา (ในดินเม็ดละเอียด เชน ดินเหนียว) และแบบระบายน้ํา (ดินเม็ดหยาบ เชน
ทราย) เพื่อความงายในการคํานวณกําลังรับน้ําหนักบรรทุกของดินทั้งฐานรากตื้นและฐานรากลึกดังนี้
ดินเม็ดละเอียด (ดินเหนียว ดินตะกอนแบบทรายปนที่มีความเหนียว) วิเคราะหหนวยแรงรวม
(Total stress analysis) โดย c  S u ,   0
306 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ดินเม็ดหยาบ (ทรายปนไมเหนียว ทราย กรวด) วิเคราะหหนวยแรงประสิทธิผล (Effective stress


analysis) มีคา c  c'  0,   '
วิธีการทดสอบหาคุณสมบัติของดิน ดินเหนียวออนที่สามารถเก็บตัวอยางคงสภาพ (undisturbed
sample) ทําการทดสอบแรงเฉือนแบบไมถูกจํากัด (Unconfined compression test) ทําใหได Su จาก
ความสัมพันธ
qu
Su 
2
ดินเหนียวแข็งและทราย ไมสามารถเก็บตัวอยางดินแบบคงสภาพ ทดสอบไดจากการตอกทะลวง
แบบมาตรฐาน (Standard Penetration Test : SPT) ในสนามไดคา SPT หรือคา N ที่นํามาใชหาคา Su ของดิน
เหนียว และคา ' ของทรายดวยใชกราฟตางๆ โดยสรุปสูตรที่ใชคํานวณดังนี้

การรับน้ําหนักบรรทุกของฐานรากตื้น (Spread Footing)


1. ดินเม็ดละเอียด เชนดินเหนียว (clay) ดินตะกอนหรือทรายปนมีความเหนียว (plastic silt)
คาน้ําหนักบรรทุกแบบไมระบายน้ํา (undrained)
ในสถานะ   0

q u  N cSu   t D f T/m2

เมื่อ qu  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของดิน, T/m2


Su  คาหนวยแรงเฉือนแบบไมระบายน้าํ (undrained shear strength), T/m2
2
เฉลี่ยของชั้นดินที่ระดับฐานรากถึงความลึก 1 เทาของความกวางฐานราก
3
1
Su  ของหนวยแรงเฉือนแบบไมถูกจํากัด (unconfined compressive strength, qu ), T/m2
2
Nc  ตัวประกอบกําลังแบกทาน (bearing capacity factor) มีคา = 5.7 เมื่อ   0
D f  ความลึกของทองฐานรากจากผิวดิน, m
3
 t  หนวยน้ําหนักของดิน, T/m

ในกรณีที่ไมไดเก็บตัวอยางดินมาทดลอง ใหสมมติคา  t ดังนี้


ดินเหนียวออน  t  1.5  1.6 T / m 3
ดินเหนียวแข็ง  t  1.7  1.9 T / m 3
ทราย  t  2.0  2.2 T / m 3
คา Su ของดินเม็ดละเอียด อาจจะแปลงคาจากคาของ N และ Nc ดังนี้
N
Su 
1.5
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 307

Nc
N
1 .5
เมื่อ Su  คาหนวยแรงเฉือนแบบไมระบายน้าํ (undrained shear strength), T/m2
N  คาทดสอบตอกทะลวงแบบมาตรฐาน SPT , ครั้ง/30 ซม
N c  คาทดสอบตอกทะลวงแบบพลศาสตร (dynamic cone penetration test), ครั้ง/30 ซม

2. ดินเม็ดหยาบ เชน ดินตะกอนหรือทรายปนไมเหนียว (non plastic silt) ทราย (sand) กรวด (gravel)
2.1 สูตรเชิงประสบการณ (empirical formula) จากการทดสอบ SPT (Mayerhof, 1956)
ฐานรากตื้น คาน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให
เมื่อความกวาง B  1.20 m

q a  49.21NSa T/m2

เมื่อความกวาง B  1.20 m

q a  109.36 NSa
B  0.092 T/m2
B

เมื่อ qa  กําลังรับน้ําหนักแบกทานของดิน , T/m2


S a  คาทรุดตัวที่ยอมให 0.0127-0.0254 เมตร
N  คาทดสอบตอกทะลวงมาตรฐาน (SPT), ครั้ง/30 ซม
B  ความกวางฐานราก, เมตร

2.2 คากําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มจากวิธีสถิตศาสตร

คากําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็ม

Q u  Qs  Q b  W

เมื่อ Qu  น้ําหนักบรรทุกประลัย, ตัน


Q s  น้ําหนักบรรทุกประลัยเสียดทาน (shaft friction), ตัน
Q b  น้ําหนักแบกทานประลัยทีป ่ ลายเสาเข็ม (end bearing) , ตัน
W  น้ําหนักของเสาเข็ม, ตัน
308 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกประลัยเสียดทาน (Shaft friction)


ดินเหนียว (Clay) และทรายปนเหนียว (Plastic silt) ใชวิธีหนวยแรงทั้งหมด (Total stress
analysis) โดย   0, c  S u

Q s  p q s
q s   S u L 

เมื่อ Qs  น้ําหนักบรรทุกประลัยเสียดทาน, ตัน


L  ความยาวเสาเข็มชวงที่นํามาคํานวณ, เมตร
p  เสนรอบรูปเสาเข็ม (perimeter), เมตร
  องคประกอบยึดเกาะ (adhesion factor) ดูรูปที่ 6.24
2
S u  กําลังรับแรงเฉือนแบบไมระบายน้าํ (undrained shear strength), T/m
1
Su  qu
2
qu  กําลังเฉือนแบบไมถูกจํากัด (unconfined compressive strength), T/m2
A sh  p L  เนื้อที่รอบเสาเข็มรับแรงเสียดทาน, ตารางเมตร

รูปที่ 6.18 กราฟหาคาตัวประกอบการยึดเกาะ (adhesion factor),  ของดินเหนียว


(Tomlinson, 1957; Holmberg, 1970)
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 309

รูปที่ 6.19 กราฟสําหรับหากําลังรับแรงเฉือน Su จากคา N


(Terzaghi and Peck, 1967)

ทรายปนไมเหนียว (non-plastic silt) ทราย (sand) และ กรวด (gravel) ใชวิธีหนวยแรง


ประสิทธิผล (effective stress analysis) โดยคา   ' , c  c'  0

 
q s   p 'o K tan ' L 

เมื่อ qs  หนวยแรงประสิทธิผล, T/m2


K = สัมประสิทธิ์ความดันของดิน (coefficient earth pressure) โดยดูจากตาราง
'  มุมเสียดทานประสิทธิผลระหวางเสาเข็มกับดิน (effective wall friction angle), องศา
2
p 'o  ความดันประสิทธิผลเหนือความลึกที่คํานวณ (effective overburden pressure), T/m
L  ชวงความลึกที่นํามาคํานวณ, m
310 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตารางคา K สําหรับเสาเข็มตอก
N, ครั้ง/30 ซม K
0-4 0.50
4-10 0.60
10-30 0.70
30-50 0.80
> 50 1.00

ในกรณีของเสาเข็มเจาะ ใหใชคาเพียง 0.5-0.75 ของคา K ในตาราง เพื่อปรับคาจากผลการเจาะ

สูตรเชิงประสบการณ (Empirical formula) จากผลการทดสอบตอกทะลวงแบบมาตรฐาน (Standard


Penetration Test, SPT) Thornburn and Mc Vicar (1971)
ทราย (sand)
คาน้ําหนักบรรทุกเสียดทาน

Q s  0.21A sh N

ทรายปนไมเหนียว (non-plastic silt)


คาน้ําหนักบรรทุกเสียดทาน

Q s  0.178A sh N

เมื่อ Qs  คาน้ําหนักบรรทุกประลัยเสียดทาน, ตัน


A sh  p L  เนื้อที่รอบเสาเข็มรับแรงเสียดทาน, m
2

N = คา SPT เฉลี่ย ชวงที่คิดความยาว L , ครั้ง/30 ซม


L  ชวงความยาวที่คํานวณ, m

น้ําหนักบรรทุกประลัยแบกทาน (End bearing)


ดินเหนียว (clay) ใชวิธวี ิเคราะหหนวยแรงทั้งหมด (total stress analysis) มี   0, c  S u
คาน้ําหนักบรรทุกประลัยแบกทาน

Q b  N cScS u A p
Q b  9S u A p
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 311

เมื่อ Qb  คาน้ําหนักบรรทุกประลัยแบกทาน, ตัน


2
Ap  เนื้อที่หนาตัดเสาเข็ม, m
1
Su  qu  คาหนวยแรงเฉือนแบบไมระบายน้าํ (undrained shear strength), T/m2
2
qu  หนวยแรงอัดแบบไมถูกจํากัด (unconfined compressive strength), T/m2
Sc  คาคงที่สําหรับลักษณะฐานราก
เมื่อ   0, B  1.0, D  5
L B
คา N c S c  9.0 สําหรับฐานรากลึก (ฐานรากบนเสาเข็ม)

ทราย (Sand) ใชวิธีวเิ คราะหหนวยแรงประสิทธิผล (effective stress analysis) คากําลังแบก


ทาน

q b  p 'e N q  1
Q b  p 'e N q  1A p

เมื่อ qb  หนวยแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม, T/m2


Q b  แรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม, ตัน
N q  ตัวประกอบกําลังแบกทาน (bearing capacity factor) จากรูปที่ 6.20
2
p 'e  ความดันประสิทธิผลเหนือปลายเสาเข็ม (effective overburden pressure), T/m
2
A p  เนื้อที่หนาตัดเสาเข็ม, m

ทราย (Sand) ใชสูตรเชิงประสบการณ (Empirical formula) Thornburn and Mc Vicar,


1971 คาแรงแบกทาน
Q b  42.8NA p
และมาตรฐานญี่ปุน
Q b  30 NA p  1000A p

ทรายปนไมเหนียว (non-plastic silt) คาแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม


Q b  26.7 NA p
และแรงเสียดทานรอบผิวเสาเข็ม
Q s  0.178A sh N
คากําลังแบกทานตามสูตรเชิงประสบการณ
q b  30 N  1000
312 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.20 กราฟสําหรับหาคาตัวประกอบน้ําหนักบรรทุก Nq และ N  จากคา N สําหรับทรายและกรวด


(Peck, Hanson and Thornbun, 1974)
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 313

รูปที่ 6.21 กราฟหาดัชนีพลาสติกสําหรับดินเม็ดละเอียดและฝุนที่แยกจากดินเม็ดหยาบ (ASTM D-2487)

รูปที่ 6.22 กราฟคาตัวประกอบน้ําหนักบรรทุก Nc สําหรับวิเคราะหแบบไมระบายน้ําของดินเหนียว


(Skempton, 1951)
314 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รายการคํานวณคาน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็ม
วิศวกร................................................
(นายXXXXX XXXXX)
สย. YYYY
1. คาน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็ม

Q u  Qs  Q b

Q s  p   S u L (สําหรับดินเหนียว) + p 0.21NL  (สําหรับทราย)


Q s  คาน้ําหนักบรรทุกแรงเสียดทาน, ตัน
Q b  9S u A p  400A p = คาแรงแบกทานปลายเสาเข็มกรณีดินเหนียว, ตัน
Q b  30 NA p  1000A p  คาแรงแบกทานปลายเสาเข็มกรณีทราย, ตัน
คาน้ําหนักบรรทุกปลอดภัย
Qu Qu
Qa  
FS 2.5

เสาเข็มเจาะ คิดผลกระทบการเจาะ 50 % สําหรับ Q b กรณีเปนชั้นทราย


คาน้ําหนักเสาเข็มไดคิดไวในสูตรของการคํานวณ Q b แลว

อาคารเรียนรวม 7 ชั้น 1 หลัง ขอกําหนดตามแบบฐานรากระบุวา ใชเสาเข็มกลมแรงเหวีย่ ง (spun


pile) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.60 เมตร ความยาว 23.00 เมตร สงหัวเสาเข็ม 2.0 เมตร จากผิวดิน รับคา
น้ําหนักบรรทุกปลอดภัยตนละไมนอยกวา 80 ตัน ใชสวนปลอดภัยเทากับ 2.5
ในการกอสรางจริงจะใชเสาเข็มกลมแรงเหวี่ยง (spun pile) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.60 เมตร
ความยาว 23.00 เมตร สงหัวเสาเข็ม 2.0 เมตร จากผิวดินเดิม (ไมมีดนิ ถม) มีสมบัติดังนี้

เนื้อที่หนาตัดเสาเข็ม Ap   0.60 2  0.282 m 2
4
เสนรอบรูป p    0.60  1.88 m
หลุมเจาะ BH-1
ระดับปากหลุมเจาะ ที่ผิวดินเดิม
ความลึกปลายเสาเข็ม 25.00 เมตร จากผิวดินเดิม สงหัวเสาเข็มลึก 2.00 เมตร
Q s   S u L   0.21NLp  85.82  1.88  161.3416 ตัน
Q b  9S u A p  228  0.282  64.296 ตัน
Q u  Q s  Q b  161.3416  64.296  225.6376 ตัน
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 315

Q u 225.6376
Qa    90.25 ตัน > 80 ตัน ใชได
FS 2 .5

รูปที่ 6.23 ผลการเจาะสํารวจดินอาคารเรียนรวม ราชมงคลบพิตรพิมขุ


316 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.24 ผลการเจาะสํารวจดินอาคารเรียนรวม ราชมงคลบพิตรพิมขุ (ตอ)


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 317

ตารางคํานวณกําลังของเสาเข็ม
หนวยแรงเสียดทาน (shaft friction) หลุมเจาะ BH-1 (ดินเหนียว)
ชั้นดิน ความลึก S u  1 q u N Su 
N หนวยแรงเสียดทาน
2 1.5
เมตร ครั้ง/30 (shaft friction) ดินเหนียว
T/m2 T/m2 
ซม S u L  S u L
T/m T/m
ดินเหนียว 1.50-1.95 - - - - - -
3.00-3.50 1.44 - - 1.00 2.16 2.16
6.00-6.50 1.55 - - 1.00 4.65 6.81
9.00-9.50 1.70 - - 1.00 5.10 11.91
12.00-12.50 1.97 - - 1.00 5.91 17.82
15.00-15.45 - 20 13.33 0.40 16.00 33.82
16.50-16.95 - 17 11.33 0.40 6.80 40.62
18.00-18.45 - 21 14.00 0.40 8.40 49.02
19.50-19.95 - 18 12.00 0.40 7.20 56.22
21.00-21.45 - 17 11.33 0.40 6.80 63.02
22.50-22.95 - 36 24.00 0.40 14.40 77.42
24.00-24.45 - 21 14.00 0.40 8.40 85.82
25.50-25.95 - 38 25.33 0.40 15.20 101.02
ทราย 27.00-27.45 - 41 - - - -
28.50-28.95 - 43 - - - -
30.00-30.45 - 31 - - - -
31.50-31.95 - 39 - - - -
33.00-33.45 - 51 - - - -
34.50-34.95 - 53 - - - -
36.00-36.45 - 40 - - - -
ดินเหนียว 37.50-37.95 - 35 23.33 0.40 14.00 115.02
ทราย 39.00-39.45 - 92 - - - -
รูปที่ 6.25 ตารางคํานวณกําลังเสียดทานของเสาเข็ม สภาพดินเหนียว
318 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตารางคํานวณกําลังของเสาเข็ม
หนวยแรงแบกทาน (end bearing) ดินเหนียว หลุมเจาะ BH-1
ชั้นดิน ความลึก N หนวยแรงแบกทาน
เมตร ครั้ง/30 ซม (end bearing)
ดินเหนียว
9S u  6 N, T / m 2

ดินเหนียว 1.50-1.95 - -
3.00-3.50 - -
6.00-6.50 - -
9.00-9.50 - -
12.00-12.50 - -
15.00-15.45 20 -
16.50-16.95 17 -
18.00-18.45 21 -
19.50-19.95 18 -
21.00-21.45 17 -
22.50-22.95 36 -
24.00-24.45 21 126
25.50-25.95 38 228
ทราย 27.00-27.45 41 -
28.50-28.95 43 -
30.00-30.45 31 -
31.50-31.95 39 -
33.00-33.45 51 -
34.50-34.95 53 -
36.00-36.45 40 -
ดินเหนียว 37.50-37.95 35 -
ทราย 39.00-39.45 92 -
รูปที่ 6.26 ตารางคํานวณกําลังแบกทานของเสาเข็ม สภาพดินเหนียว
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 319

ตารางคํานวณกําลังของเสาเข็ม
หลุมเจาะ BH-1
ชั้นดิน ความลึก N Shaft friction, sand End bearing,
เมตร ครั้ง/30 ซม 0.21NL  0.21NL sand
ตัน/เมตร ตัน/เมตร 30N ตัน/ม2
ดินเหนียว 1.50-1.95 - - - -
3.00-3.50 - - - -
6.00-6.50 - - - -
9.00-9.50 - - - -
12.00-12.50 - - - -
15.00-15.45 20 - - -
16.50-16.95 17 - - -
18.00-18.45 21 - - -
19.50-19.95 18 - - -
21.00-21.45 17 - - -
22.50-22.95 36 - - -
24.00-24.45 21 - - -
25.50-25.95 38 - - -
ทราย 27.00-27.45 41 12.30 12.30 1000
28.50-28.95 43 12.90 25.20 1000
30.00-30.45 31 9.30 34.50 930
31.50-31.95 39 11.70 46.20 1000
33.00-33.45 51 15.00 61.20 1000
34.50-34.95 53 15.00 76.20 1000
36.00-36.45 40 12.00 88.20 1000
ดินเหนียว 37.50-37.95 35 - - -
ทราย 39.00-39.45 92 15.00 103.20 1000
รูปที่ 6.27 ตารางคํานวณกําลังของเสาเข็ม
320 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รายละเอียดการคํานวณ
ชวงความลึก 1.50-1.95 ไมมีผลอะไร เนือ่ งจากหัวเสาเข็มสงลงไปที่ระดับความลึก 2.00 เมตร จาก
ผิวดิน ในรูปที่ 6.25 ถึง 6.27 ชวงนี้ไมมีขอมูล
ชวง 2-3.50 เมตร มี L  3.50  2  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ความลึกประมาณ 3.5 เมตร มีคา
1
Su  q u  1.44 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  2 นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   1.00
2
ดังนั้น S u L  1.00  1.44  1.50  2.16 T / m เหนือขึ้นไปยังไมมีคา ดังนั้น
 S u L  0  2.16  2.16 T/m ดังรูปที่ 6.25
ชวง 3.50-6.50 เมตร มี L  6.50  3.50  3.00 m จากรูปที่ 6.24 ความลึกประมาณ 6.50 เมตร
1
มีคา S u  q u  1.55 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  2 นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   1.00
2
ดังนั้น S u L  1.00  1.55  3.00  4.65 T / m เหนือขึ้นไปมี  S u L  2.16 T / m อยูแลว
ดังนั้น  S u L  2.16  4.65  6.81 T / m ดังรูปที่ 6.25
ชวง 6.50-9.50 เมตร มี L  9.50  6.50  3.00 m จากรูปที่ 6.24 ความลึกประมาณ 9.50 เมตร
1
มีคา S u  q u  1.70 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  2 นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   1.00
2
ดังนั้น S u L  1.00  1.70  3.00  5.10 T / m เหนือขึ้นไปมี  S u L  6.81 T / m อยูแลว
ดังนั้น  S u L  6.81  5.10  11.91 T / m ดังรูปที่ 6.25
ชวง 9.50-12.50 เมตร มี L  12.50  9.50  3.00 m จากรูปที่ 6.24 ความลึกประมาณ 12.50
1
เมตร มีคา Su  q u  1.97 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  2 นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา
2
  1.00 ดังนั้น S u L  1.00  1.97  3.00  5.91 T / m เหนือขึ้นไปมี  S u L  11.91 T / m
อยูแลว ดังนั้น  S u L  11.91  5.91  17.82 T / m ดังรูปที่ 6.25
ชวง 12.50-15.50 เมตร มี L  15.50  12.50  3.00 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 15.45 เมตร
N 20
มีคา SPT N = 20 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u    13.33 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  13.33
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนัน
้ S u L  0.40  13.33  3.00  16.00 T / m เหนือ
ขึ้นไปมี  S u L  17.82 T / m อยูแลว ดังนัน้  S u L  17.82  16.00  33.82 T / m ดังรูป
ที่ 6.25
ชวง 15.50-17.00 เมตร มี L  17.00  15.50  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 16.95 เมตร มี
N 17
คา SPT N = 17 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u    11.33 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  11.33
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น Su L  0.40  11.33  1.50  6.798 
6.80 T / m เหนือขึ้นไปมี  S u L  33.82 T/m อยูแ ลว ดังนั้น  Su L  33.82  6.80 
40.62 T / m ดังรูปที่ 6.25
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 321

ชวง 17.00-18.50 เมตร มี L  18.50  17.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 18.45 เมตร มี
N 21
คา SPT N = 21 ครั้ง/30 ซม ดังนัน้ S u    14.00 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  14.00
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  14.00  1.50  8.40 T / m เหนือขึ้น
ไปมี  S u L  40.62 T / m อยูแลว ดังนั้น  S u L  40.62  8.40  49.02 T / m ดังรูปที่
6.25
ชวง 18.50-20.00 เมตร มี L  20.00  18.50  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 19.95 เมตร
N 18
มีคา SPT N = 18 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u    12.00 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  12.00
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  12.00  1.50  7.20 T / m เหนือขึ้น
ไปมี  S u L  49.02 T / m อยูแลว ดังนั้น  S u L  49.02  7.20  56.22 T / m ดังรูปที่
6.25
ชวง 18.50-20.00 เมตร มี L  20.00  18.50  1.50 m จากรูปที่ 24 ทีค่ วามลึก 19.95 เมตร มี
N 18
คา SPT N = 18 ครั้ง/30 ซม ดังนัน้ S u    12.00 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  12.00
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  12.00  1.50  7.20 T / m เหนือขึ้น
ไปมี  S u L  49.02 T / m อยูแลว ดังนั้น  S u L  49.02  7.20  56.22 T / m ดังรูปที่
6.25
ชวง 20.00-21.50 เมตร มี L  21.50  20.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 21.45 เมตร
N 17
มีคา SPT N = 17 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u    11.33 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  11.33
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  11.33  1.50  6.80 T / m เหนือขึ้น
ไปมี  S u L  56.22 T / m อยูแลว ดังนั้น  S u L  56.22  6.80  63.02 T / m ดังรูปที่
6.25
ชวง 21.50-23.00 เมตร มี L  23.00  21.50  1.50 m จากรูปที่ 24 ที่ความลึก 22.95 เมตร มี
N 36
คา SPT N = 36 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u   24.00 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  24.00
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  24.00  1.50  14.40 T / m เหนือ
ขึ้นไปมี  S u L  63.02 T / m อยูแลว ดังนั้น  S u L  63.02  14.40  77.42 T/m ดังรูป
ที่ 6.35
322 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ชวง 23.00-24.50 เมตร มี L  24.50  23.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 24.45 เมตร

มีคา SPT N = 21 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u  N  21  14.00 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  14.00


1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  14.00  1.50  8.40 T / m เหนือขึ้น
ไปมี  S u L  77.42 T / m อยูแ ลว ดังนั้น  S u L  77.42  8.40  85.82 T / m ดังรูปที่
6.25
ชวง 24.50-26.00 เมตร มี L  26.00  24.50  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 25.95 เมตร
N 38
มีคา SPT N = 38 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u    25.33 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  25.33
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  25.33  1.50  15.20 T / m เหนือ
ขึ้นไปมี  S u L  85.82 T / m อยูแลว ดังนั้น  S u L  85.82  15.20  101.02 T / m ดัง
รูปที่ 6.25
ชวง 26.00-27.50 เมตร มี L  27.50  26.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 27.45 เมตร
มีคา SPT N = 41 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  41  1230  1000 ใช 30 N  1000 ดังนั้น
แรงเสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  41  1.50  12.915 ลดคาลงโดยหารดวย 1.05 ได
0.21NL
12.915
 12.30 T / m และกอนหนามีคา  0 ดังนั้น  0.21NL  0  12.30 
1.05 1.05 1.05
12.30 T / m ดังรูปที่ 6.27
ชวง 27.50-29.00 เมตร มี L  29.00  27.50  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 28.95 เมตร
มีคา SPT N = 43 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  43  1290  1000 ใช 30 N  1000 ดังนั้น
แรงเสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  43  1.50  13.545 ลดคาลงโดยหารดวย 1.05 ได
0.21NL
13.545
 12.90 T / m และกอนหนามีคา   12.30 ดังนัน้  0.21NL  12.30 
1.05 1.05 1.05
12.90  25.20 T / m ดังรูปที่ 6.27
ชวง 29.00-30.50 เมตร มี L  30.50  29.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 30.45 เมตร
มีคา SPT N = 31 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  31  930  1000 ใช 30 N  930 ดังนั้นแรง
เสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  31  1.50  9.765 ลดคาลงโดยหารดวย 1.05 ได
9.765
 9.30 T / m และกอนหนามีคา  0.21NL  25.20 ดังนั้น  0.21NL  25.20 
1.05 1.05 1.05
9.30  34.50 T / m ดังรูปที่ 6.27
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 323

ชวง 30.50-32.00 เมตร มี L  32.00  30.50  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 31.95 เมตร
มีคา SPT N = 39 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  39  1170  1000 ใช 30 N  1000 ดังนั้น
แรงเสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  39  1.50  12.285 ลดคาลงโดยหารดวย 1.05 ได
0.21NL
12.285
 11.70 T / m และกอนหนามีคา   34.50 ดังนัน้  0.21NL  34.50 
1.05 1.05 1.05
11.70  46.20 T / m ดังรูปที่ 6.27
ชวง 32.00-33.50 เมตร มี L  33.50  32.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 33.45 เมตร
มีคา SPT N = 51 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  51  1530  1000 ใช 30 N  1000 ตองใช
คา N ไมเกิน 50 ดังนั้นแรงเสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  50  1.50  15.75 ลดคาลงโดยหาร
15.75 0.21NL
ดวย 1.05 ได
1.05
 15.00 T / m และกอนหนามีคา  1.05
 46.20 ดังนั้น
0.21NL
 1.05
 46.20  15.00  61.20 T / m ดังรูปที่ 6.27

ชวง 33.50-35.00 เมตร มี L  35.00  33.50  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 34.95 เมตร
มีคา SPT N = 53 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  53  1590  1000 ใช 30 N  1000 ตองใช
คา N ไมเกิน 50 ดังนั้นแรงเสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  50  1.50  15.75 ลดคาลงโดยหาร
0.21NL
15.75
ดวย 1.05 ได  15.00 T / m และกอนหนามีคา   61.20 ดังนั้น  0.21NL 
1.05 1.05 1.05
61.20  15.00  76.20 T / m ดังรูปที่ 6.27
ชวง 35.00-36.50 เมตร มี L  36.50  35.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 36.45 เมตร
มีคา SPT N = 40 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  40  1200  1000 ใช 30 N  1000 ดังนั้น
แรงเสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  40  1.50  12.6 ลดคาลงโดยหารดวย 1.05 ได
12.6
 12.00 T / m และกอนหนามีคา  0.21NL  76.20 ดังนั้น  0.21NL  76.20 
1.05 1.05 1.05
12.00  88.20 T / m ดังรูปที่ 6.27
ชวง 36.50-38.00 เมตร มี L  38.00  36.50  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 25.95 เมตร
N 35
มีคา SPT N = 35 ครั้ง/30 ซม ดังนั้น S u    23.33 T / m 2 จากรูปที่ 6.15 ขณะที่ S u  23.33
1.5 1.5
นั้นกราฟของ Holmberg ใหคา   0.40 ดังนั้น S u L  0.40  23.33  1.50  14.00 T / m เหนือ
ขึ้นไปมี  S u L  101.02 T/m อยูแลว ดังนั้น  S u L  101.02  14.00  115.02 T/m ดัง
รูปที่ 6.25
324 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ชวง 38.00-39.50 เมตร มี L  36.50  35.00  1.50 m จากรูปที่ 6.24 ที่ความลึก 39.45 เมตร
มีคา SPT N = 92 ครั้ง/30 ซม เปนชั้นทราย คา 30 N  30  92  2760  1000 ใช 30 N  1000 ตองใช
N ไมเกิน 50 ดังนั้นแรงเสียดทานรอบเสาเข็ม 0.21NL  0.21  50  1.50  15.75 ลดคาลงโดยหารดวย
1.05 ได 15.75
 15.00 T / m และกอนหนามีคา  0.21NL  88.20 ดังนั้น  0.21NL 
1.05 1.05 1.05
88.20  15.00  103.20 T / m ดังรูปที่ 6.27

แรงแบกทานที่ปลายเสาเข็มที่ระดับความลึก 25 เมตร พิจารณาชวง 24.00-24.50 เมตร มี N = 21


N 21 N
ครั้ง/30 ซม ได S u   T / m2 แลว q b  9S u  9   6 N  6  21  126 T / m 2
1.5 1.5 1.5
พิจารณาชวง 24.50-26.00 เมตร มี N = 38 ครั้ง/30 ซม ได S u  N  38 T / m 2 แลว
1.5 1.5
N
q b  9S u  9   6 N  6  38  228 T / m 2 ปลายเสาเข็มอยูในชวงนี้
1.5
แรงแบกทานมีรายการคํานวณตามรูปที่ 6.27

6.7 การตอกเสาเข็ม
การตอกเสาเข็มลงไปในดิน หากเปนเสาเข็มไมหรือคอนกรีตที่ยาวไมเกิน 4 เมตร อาจจะตอกดวย
สามเกลอโดยใชเสียมขุดนําแลวนําเสาเข็มเสียบ จากนั้นจึงขยมแลวสงตอดวยสามเกลอ เสาเข็มที่ยาวมากกวา
4 เมตร ขึ้นไป นิยมตอกดวยปนจัน่ ซึ่งเปนโครงเหล็กหอสูงมีตะเกียบเปนเหล็กรางสําหรับนําแนวลูกตุม
เหล็ก ดานลางมีเครื่องยนตดีเซลขับเคลื่อนเคเบิลสองสาย สายหนึ่งใชหิ้วและตอกลูกตุม อีกสายหนึ่งใชห้วิ
เสาเข็มและใชเคลื่อนยายปนจั่น การตอกเสาเข็มอาจจะใชคอนลม ไอน้ํา ไฮดรอลิกส โดยแบบหลังนี้นําเขา
จากตางประเทศมีราคาสูง ปนจั่นใชเทคนิคต่ํา ผลิตในประเทศไทย ราคาถูก ปจจุบันมีรถปนจั่นที่ใชงาน
สะดวกไมตองรื้อประกอบปนจั่นทําใหลดคาใชจายลงไปได
น้ําหนักของลูกตุม ลูกตุมเหล็กที่ใชตอกเสาเข็มควรมีน้ําหนักอยูระหวาง 0.7 ถึง 2.5 เทาของน้ําหนัก
เสาเข็ม เชนเลือกใชเสาเข็มหนาตัดสี่เหลี่ยมตันความยาวดานละ 0.30 เมตร ความยาวเสาเข็ม 21 เมตร จากรูป
ที่ 6.12 เสาเข็มหนัก 216 kg/m ดังนั้น
น้ําหนักเสาเข็ม Wpi  216  21  4,536 kg  4.536 tonne
น้ําหนักลูกตุมไมนอยกวา 0.7  4.536  3.175 tonne
น้ําหนักลูกตุมไมควรจะเกินกวา 2.5  4.536  11.34 tonne
ในกรณีที่มีเสาเข็มหลายขนาด ควรจะเลือกลูกตุมที่ใชงานไดกับทุกขนาด ลูกตุมที่เบาระยะยกตอก
จะมาก ลูกตุมที่หนักระยะยกตอกจะนอย ลูกตุมหนักแตยกสูงเกินไป หัวเสาเข็มแตกกอนจะจมลงไดระยะ
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 325

จํานวนครั้งในการตอก (blow-count) ในชวง 3.00 เมตรสุดทาย ใหขดี แบงชวงละ 0.30 เมตรหรือ


ประมาณ 1 ฟุต กรณีที่เสาเข็มตอกลงยากใหแบงระยะดวยชอลคที่ตัวเสาเข็ม แตถาเสาเข็มตอกงายแลวตอง
สงหัวเสาเข็มลงไปอีกใหแบงระยะที่เสาสง นับจํานวนครั้งในการตอกแตละชวงแลวจดบันทึกในระเบียน
รายงาน ความสูงในการยกลูกตุมอยูระหวาง 0.30 ถึง 1.20 เมตร แลวแตน้ําหนักของลูกตุม ผูควบคุมการตอก
เสาเข็มควรสังเกตการปลอยลูกตุมวาแตละครั้งสายเคเบิลหยอนหรือไม หากหยอนก็แสดงวาชางตอกเสาเข็ม
ปลอยลูกตุมใหตกอยางอิสระ แตถาสายเคเบิลตึงแสดงวาชางตอกเสาเข็มรั้งเพื่อใหลกู ตุมไมมีแรงกระแทก
สงหัวเสาเข็ม จํานวนครั้งในการตอกจะมากกวาจริง ใน 10 ชวงนี้ชางอาจจะยกลูกตุม สูงไมสม่ําเสมอบางซึ่ง
ไมเปนไร เนื่องจากคาที่ใชจะหาจาก last ten blow หรือระยะทรุดตัวจากการตอก 10 ครั้งสุดทาย โดยใหหยุด
การตอกแลวขีดเสนไวที่เสาเข็ม (หากเสาเข็มยังโผลพนดิน) หรือขีดเสนไวที่เสาสง (หากสงหัวเสาเข็มลงดิน
ไปแลว) จากนั้นใหชางตอกเสาเข็มอยางประณีต กลาวคือระยะยกตองใกลเคียงทีก่ ําหนดที่สุด แลวไมตอง
เรงเร็ว ตอกลงไป 10 ครั้งก็หยุดแลวขีดเสนใหมในมุมการขีดเดียวกัน วัดระยะหางระหวางขีดทัง้ สอง เมื่อ
หารดวยจํานวนครั้งในการตอก 10 จะไดระยะทรุดตัวของเสาเข็มตอครั้งการตอกนําไปใชคํานวณหากําลังรับ
น้ําหนักเสาเข็ม
สูตรในการตอกเสาเข็ม สูตรในการคํานวณกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มจากจํานวนครั้งในการตอกมี
หลายสูตรมากดังรูปที่ 6.28 และรูปที่ 6.29
เมื่อ A  เนื้อที่หนาตัดของเสาเข็ม, m2
E  โมดูลัสยืดหยุน  ของวัสดุที่ใชทําเสาเข็ม, T/m2
E  152,000 f cp'  โมดูลัสยืดหยุน  เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง, T/m2
2
f cp'  350 ksc  กําลังประลัยของคอนกรีตเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง, ksc = kg/cm
E  20,400,000 T / m 2  โมดูลัสยืดหยุน  ของเสาเข็มเหล็ก
E  800,000  1,200,000 T / m 2  โมดูลัสยืดหยุน  ของเสาเข็มไม
h  ระยะยกของลูกตุม, m
L  ความยาวของเสาเข็มที่ฝงในดิน, m
  ความหนาของที่รองหัวเสาเข็ม, m
n  สัมประสิทธิ์การคืนสภาพ
R  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็ม, T
s  ระยะทรุดตัวเฉลี่ยของเสาเข็มจากการตอก 10 ครั้งสุดทาย , m/blow
0.30
s  ระยะทรุดตัวเฉลี่ยของเสาเข็มของฟุตสุดทาย (กรณีไมไดทํา last ten blow), m/blow
N
N  จํานวนการตอกในฟุตสุดทาย , ครั้ง (blow)
W น้ําหนักของลูกตุมตอกเสาเข็ม, ตัน
w  น้ําหนักของเสาเข็ม, ตัน
326 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.28 ตารางสูตรการตอกเสาเข็ม


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 327

รูปที่ 6.29 ตารางสูตรการตอกเสาเข็ม (ตอ)

สูตรการตอกเสาเข็มสําหรับเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงหนาตัด DH , I และสี่เหลี่ยมตัน ที่ปรับปรุงโดย


รศ.วิเชียร เต็งอํานวย และสนิท พิพิธสมบัติ ตีพิมพในวิศวกรรมสาร ปที่ 33 เลมที่ 4 ตุลาคม 2523 สรุปได
ดังนี้
ในพื้นทีก่ รุงเทพมหานครและพื้นทีใ่ กลเคียง เสาเข็มหนาตัด DH และ I รับน้ําหนักบรรทุกประลัย
ได
 t 
R  Wh 44.6 log   8.22
 s 

เสาเข็มหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรสั จะรับน้ําหนักบรรทุกประลัยได
2.14Wh
R
Ks  0.5ab

เมื่อ R กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็ม, T
W  น้ําหนักของลูกตุมที่ใชตอกเสาเข็ม, T
w  น้ําหนักของเสาเข็ม, ตัน
h  ระยะยกของลูกตุม, m
t  สวนที่แคบทีส ่ ุดของหนาตัด, m
328 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

A เนื้อที่หนาตัดของเสาเข็ม, m2
L  ความยาวของเสาเข็มที่ฝงในดิน, m
N  จํานวนการตอกในฟุตสุดทาย , ครั้ง (blow)
s  ระยะทรุดตัวเฉลี่ยของเสาเข็มจากการตอก 10 ครั้งสุดทาย , m/blow
0.30
s  ระยะทรุดตัวเฉลี่ยของเสาเข็มของฟุตสุดทาย (กรณีไมไดทํา last ten blow), m/blow
N
 
K  C 1  
 C
w
C  0.75  0.15
W
WhL
 2
โดยใช E  1,800,000 T / m 2
AEs
a  eWh โดยใชประสิทธิผล e = 0.80
L
b โดยใช E  2,000,000 T / m 2
AE
สูตรคํานวณกําลังรับน้ําหนักบรรทุกเสาเข็มที่นิยมใชในปจจุบันคือ สูตร Danish โดย
eWh
Qu 
sC
Q
Qa  u
FS
eWhL
C
2AE

เมื่อ Qa  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมใหของเสาเข็ม, ตัน


Q u  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็ม, ตัน
FS  2.5  สวนปลอดภัย คาปกติเทากับ 2.5
W  น้ําหนักของลูกตุม, ตัน
h  ระยะยกลูกตุม  , ซม
e  0.80  ประสิทธิภาพของลูกตุม ปกติ 0.80 หรือ 80 %
2
A  เนื้อที่หนาตัดเสาเข็ม, ซม
L  ความยาวของเสาเข็ม, ซม
E  15.2 f cp'  โมดูลัสยืดหยุน  ของคอนกรีตเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง, ตัน/ซม2
2
f cp'  350 ksc  กําลังประลัยของคอนกรีตอัดแรง, กิโลกรัม/ซม
s  ระยะทรุดตัวของเสาเข็มตอการตอกหนึ่งครั้ง, ซม
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 329

ตัวอยางที่ 6.4 ลูกตุมเหล็กสําหรับตอกเสาเข็มมีปริมาตร 0.814 m3 ความถวงจําเพาะของเหล็ก 7.85 เสาเข็ม


สี่เหลี่ยมตันหนาตัด 0.40 เมตร ยาว L = 20.00 m = 2,000 cm เนื้อที่หนาตัดเสาเข็ม A = 1600 cm2 ให
หากําลังรับน้ําหนักปลอดภัยของเสาเข็มตั้งแต s = 0.05, 0.10, 0.15, 0.20, …., 1.00 cm โดยระยะยก h
= 30, 40, 50, 60 cm ใหสวนปลอดภัย FS = 2.5 กําลังประลัยของคอนกรีตที่ผลิตเสาเข็ม
f cp'  350 ksc
วิธีทํา หาขอมูลพื้นฐาน
เหล็กมีความถวงจําเพาะ 7.85 หมายความวา เมื่อปริมาตรของเหล็ก 1 m3 จะมีน้ําหนัก

Ws  Ss  w  7.85  1,000  7,850 kg  7.85 tonne

W  7.85  0.814  6.39 tonne  น้ําหนักของลูกตุม


e  0.80  ประสิทธิภาพของปนจั่น
A  1,600 cm 2  เนื้อที่หนาตัดของเสาเข็ม
L  20 m  2,000 cm  ความยาวของเสาเข็ม
f cp'  350 ksc  กําลังประลัยของคอนกรีตที่ทําเสาเข็ม
E  15.2 f cp'  15.2 350  284.37 T / cm 2  โมดูลัสยืดหยุน ของคอนกรีตทําเสาเข็ม
FS  2.5  สวนปลอดภัยสําหรับหากําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให
h  30,40,50,60 cm  ระยะยกลูกตุม 
s  0.05,0.10,0.15,0.20,0.25,0.30,0.35,0.40,0.45,0.50,0.55,0.60,0.65,0.70,0.75,0.80,
0.85,0.90,0.95,1.00 cm
s ระยะทรุดตัวตอการตอกหนึ่งครั้ง
eWhL 0.8  6.39h  2,000
C   0.011235362h
2AE 2  1600  284.37
eWh 0.8  6.39h 5.112h
Qu   
s  C s  0.011235362h s  0.011235362h
เมื่อ h  30 cm, s  0.05 cm
5.112  30
Qu   243.2 tonne
0.05  0.011235362  30
Q 243.2
Qa  u   97.3 tonne
FS 2.5
330 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.5 เสาเข็มหนาตัดสี่เหลี่ยมตัน S  0.40  0.40  24.00 m ลูกตุมหนัก 9 ตัน ระยะยกสูง 50


ซม สวนปลอดภัย 2.5 กําลังคอนกรีตเสาเข็ม 350 ksc ถากําลังรับน้ําหนักทีย่ อมให 80 ตัน จงหาคา
blow-count ที่จะสั่งใหผูควบคุมตรวจสอบ
วิธีทํา เตรียมขอมูล
W  9 tonne  น้ําหนักลูกตุม 
e  0.80  ประสิทธิภาพของปนจั่น
A  40  40  1600 cm 2  เนื้อที่หนาตัดเสาเข็ม
L  24.00 m  2400 cm  ความยาวเสาเข็ม
f cp'  350 ksc  กําลังคอนกรีตเสาเข็ม
E  15.1 f c'  15.1 350  282.5 T / m 2  โมดูลัสยืดหยุน  ของคอนกรีตเสาเข็ม
FS  2.5  สวนปลอดภัย
h  50 cm  ระยะยกลูกตุม 
s  ระยะทรุดตัวของเสาเข็มในตอกแตละครั้ง, cm
eWhL 0.8  9  50  2400
C   0.977625803
2AE 2  1600  282.5
Q a  80 tonne  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมใหของเสาเข็ม
Q u  FS  Q a  2.5  80  200 tonne  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็ม

จาก Q u  eWh จะหาคา s ไดดังนี้


sC
eWh 0.8  9  50
s C   0.977625803  0.8224 cm /ครั้ง
Qu 200
ดังนั้น Last ten blow = 10s  10  0.8224  8.224 cm
30.48
และ blow-count =  37.06  38 ครั้ง
0.8224
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 331

โปรแกรม Excel ชื่อ DANISH.XLS ที่แนบมานั้นเพียงปอนขอมูลในสวนสีแดง สวนสีน้ําเงินเปน


ผลการคํานวณ
DANISH FORMULA, known Qa find s & blow-count
กําลังรับน้ําหนักที่ยอมให Qa = 80 ตัน
สวนปลอดภัย FS ปกติใช 2.5 2.5
กําลังรับน้ําหนักประลัย Qu=FS.Qa= 200 ตัน
น้ําหนักของลูกตุมตอกเสาเข็ม W = 9 ตัน
ประสิทธิภาพของลูกตุม e = (0.8) 0.8
เนื้อที่หนาตัดของเสาเข็ม A = 1600 cm^2
ความยาวของเสาเข็ม L = 2400 cm
กําลังคอนกรีตเสาเข็ม f'cp = 350 ksc
โมดูลัสยืดหยุน ของคอนกรีต E = 15.1sqrt(f'cp) = 282.5 T/cm^2
ระยะยกของลูกตุม h = 50 cm
สัมประสิทธิ์ C=sqrt(eWhL/(2AE)) = 0.978
ระยะทรุดตัวครั้งละ s=eWh/Qu-C = 0.822 cm
Last ten blow = ระยะทรุดตัวตอก 10 ครั้งสุดทาย = 8.224 cm
blow-count = 30.48/s 38 ครั้ง

รูปที่ 6.30 โปรแกรม Excel คํานวณหา blow-count ในการตอกเสาเข็ม

6.8 ลักษณะการวิบัติของฐานราก
หากพิจารณาฐานรากเดียว จะตองออกแบบใหฐานรากมีคุณสมบัติ 3 ประการ โดยเนนที่ความลึก
ประสิทธิผล d
1 คา d ของฐานรากตองมากเพียงพอตานทานไมใหเสาตอมอดันทะลุลงไป เรียก แรงเฉือนเจาะ
ทะลุ (punching shear) และในกรณีฐานรากบนเสาเข็มตองออกแบบไมใหเสาเข็มดันทะลุฐานรากขึ้นมาดวย
2 คา d ของฐานรากตองมากเพียงพอไมใหฐานรากแตกแบบคานกวาง เรียกแรงเฉือนแบบคาน
(beam shear) หรือแรงเฉือนทางเดียว
3 คา d ตองมากเพียงพอทีจ่ ะใหปริมาณเหล็กเสริมไมเกิน  max  0.75 b จึงตองการเฉพาะเหล็ก
เสริมรับแรงดึง ทั้งนี้เพื่อใหการโกงตัวของฐานรากนอย เพราะหากฐานรากบางเกินไปหรือตองเสริมเหล็ก
รับแรงอัดดวยนั้นฐานรากจะโกงมาก ทําใหดินใตฐานรากบริเวณใตตอมอเกิดแรงดันมากกวาขอบของฐาน
332 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รากจนดินอาจจะวิบัติ และหากเปนฐานรากบนเสาเข็ม แลวฐานรากบางเกินไปจะทําใหเสาเข็มใตตอมอรับ


แรงมากกวาเสาเข็มริมขอบตอมอเนื่องจากการหอตัวของฐานรากบาง
คา d ที่ตองการดวยผลของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุจะมากกวากรณีแรงเฉือนแบบคาน และกรณีของ
โมเมนต จึงนิยมเรียกวา แรงเฉือนเจาะทะลุเปนตัวควบคุม (punching shear control)
รูปที่ 6.31 เปนลักษณะแรงเฉือนและการกลายเปนแรงดึงทแยง โดยมีขนาดเทากัน v = t
รูปที่ 6.32 ลักษณะแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ โดยแทนแรงเฉือนดวยแรงดึงทแยง
เมื่อพิจารณาการแตกแบบเจาะทะลุ ใหแรงลัพธที่กดตอมอ P = V เปนแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ แนว
เจาะทํามุม 45 องศาลงไป ถาตอมอมีหนาตัดสี่เหลี่ยมขนาด a  b แนวแตกจะเปนรูปปรามิดปลายตัด a  b
และฐานขนาด a  2d   b  2d  ที่ผิวของปรามิดจะมีแรงดึงทแยงทิศทางตัง้ ฉากกับผิว เมือ่ มองตามแนว
(1) กับแนว (2) จะไดดังรูปที่ 6.56 ซึ่งผิวของปรามิดทํามุม 45 องศากับแนวราบ แรง vA1 และ vA 2 ทํามุม
45 องศากับแนวดิ่ง ความสูงเอียงของ A 1 กับ A 2 คือ d 2 ตามคุณสมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากฐาน
45 องศา พื้นที่ A1 กับ A 2 เปนสี่เหลี่ยมคางหมู จึงหาไดดังรูปที่ 6.32 พิจารณาสมดุลของแรงในแนวดิ่ง
 F y 0  V  vA1 cos 45 o  vA1 cos 45 o  vA 2 cos 45 o  vA 2 cos 45 o
V  2vA1 cos 45 o  2vA 2 cos 45 o
V  2vA 1  A 2  cos 45 o

 
V  2v d 2 a  d   d 2 b  d  
1
2
V  2 2 vda  b  2d  
1
2
V  2 vda  b  2d 

แทน v ดวย vp ซึ่งหมายถึงหนวยแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ


V V V
vp   
2a  b  2d d b o d A vp
เปนสูตรหาหนวยแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ (punching shear stress, vp)
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 333

รูปที่ 6.31 ลักษณะแรงเฉือนและแรงดึงทแยงในฐานราก


334 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.32 การพิจารณาการวิบัติของฐานรากจากแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 335

รูปที่ 6.33 แบบจําลองหนาตัดวิกฤตแบบเจาะทะลุ


d
หากพิจารณารูปที่ 6.33 ถาตัดฐานรากรอบตอมอโดยใหหางจากขอบตอมอระยะ เมื่อเจาะมาดูจะ
2
เห็นเปนกลองสี่เหลี่ยมมุมฉาก พิจารณาสมดุลของแรงในแนวดิ่ง

 F y 0  V  vA1  vA1  vA 2  vA 2  2 vA 1  A 2 

แต A 1  d a  d  และ A 2  db  d  แทนคาในสมการสมดุล


V  2vda  d   db  d 
V  2vda  b  2d 
แทน v ดวย vp และจัดรูปสมการ
V V V
vp   
2a  b  2d d b o d A vp

จะเห็นวาเหมือนที่พิสูจนตอนแรก ดังนั้น หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุจะอยูหางจาก


d
ขอบตอมอเปนระยะ โดยรอบ และแรงเฉือน V จะหาจากแรงตานของดินหรือเสาเข็มนอกหนาตัดวิกฤต
2
รูปที่ 6.34 แสดงหนาตัดวิกฤตแบบตางๆ ประกอบไปดวย
d
(1) = หนาตัดวิกฤตแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ หางขอบตอมอ
2
(2),(3) = หนาตัดวิกฤตแรงเฉือนแบบคาน หางขอบตอมอระยะ d
(4),(5) = หนาตัดวิกฤตแรงดัดและระยะฝงยึด อยูตรงขอบตอมอ
336 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.34 แบบจําลองหนาตัดวิกฤตแบบเจาะทะลุ

เมื่อพิจารณาจากการแตกแบบแรงเฉือนแบบคาน สมดุลของแรงในแนวดิ่ง
 F y 0  V  vA cos 45 o  vBd 2 
1
 vBd
2
เมื่อแทน v ดวย vb จะได
V
vb 
Bd

รูปที่ 6.35 ลักษณะการแตกเนื่องจากแรงเฉือนแบบคาน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 337

รูปที่ 6.36 ลักษณะการหักเนื่องจากแรงดัดที่ขอบตอมอ

รูปที่ 6.36 เปนหนาตัดวิกฤตสําหรับแรงดัดและฝงยึดเหล็กเสริม


ในการออกแบบฐานราก ในขั้นแรกจะตองประมาณขนาดฐานรากแผบนดินแนน หรือจํานวนเสาเข็ม
และจัดวางเสาเข็มและขนาดรูปรางแปลนฐานราก จากนัน้ จะตองหาแรงดัดแรงเฉือน ตรวจสอบคาไมใหเกิน
กวาคาที่ยอมให หาปริมาณเหล็กเสริมรับแรงดึง (ไมมีเหล็กเสริมรับแรงอัดในฐานราก) หาระยะฝงยึด การหา
คาขางตนตองพิจารณาที่ตําแหนงวิกฤตของแรงนั้นๆ ดังนี้

หนาตัดวิกฤตสําหรับแรงดัดและระยะฝงยึดเหล็กเสริม
1. หนาตัดวิกฤตอยูที่ขอบของเสา ตอมอ หรือกําแพง สําหรับฐานรากที่รองรับเสาตอมอ หรือ
กําแพงคอนกรีต
2. หนาตัดวิกฤตอยูที่กึ่งกลางระหวางขอบและศูนยกลางของกําแพง สําหรับฐานรากที่รองรับ
กําแพงอิฐ
3. หนาตัดวิกฤตอยูที่กึ่งกลางระหวางขอบของเสา หรือตอมอ กับขอบของแผนเหล็กรองใตเสา
สําหรับฐานรากที่รองรับเสาโดยใชแผนเหล็ก

หนาตัดวิกฤตสําหรับแรงเฉือน
แรงเฉือนแบบคาน (beam shear) หนาตัดวิกฤตหางขอบของตอมอ หรือกําแพง ออกไปเทากับความ
ลึกประสิทธิผล d แตถามีแผนเหล็กรองใตเสาใหวัดระยะจากกึ่งกลางระหวางขอบเสากับขอบแผนเหล็ก
ออกไประยะ d หากความกวางของหนาตัดวิกฤตเปน B เนื้อที่รับแรงเฉือนแบบคานคือ
A v  Bd
338 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

d
แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ (punching shear) หนาตัดวิกฤตหางจากขอบตอมอเทากับ โดยรอบ ถา
2
ตอมอขนาด a กับ b เนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือนคือ
A v  2da  d   2db  d 
A v  2da  b  2d 

ถาตอมอเปนวงกลมเสนผานศูนยกลาง a เนื้อที่หนาตัดรับแรงเฉือนคือ

A v  a  d d

แรงเฉือนจากเสาเข็ม ขึ้นกับระยะหางจากหนาตัดวิกฤต ดังนี้


ให P  แรงตานเฉลี่ยของเสาเข็ม, kg
P '  แรงเฉือนจากเสาเข็ม, kg
d p  เสนผานศูนยกลางเสาเข็มหรือดานแคบของเสาเข็ม, cm
x  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงหนาตัดวิกฤต, cm
ถาเสาเข็มอยูระหวางตอมอกับหนาตัดวิกฤต x เปน – ถาเสาเข็มเลยหนาตัดวิกฤตออกไปทาง
ขอบฐานราก x เปน + ดังรูปที่ 6.37

รูปที่ 6.37 แรงจากเสาเข็มกับแรงเฉือนที่หนาตัดวิกฤต


1 x 
P '  P    P
2 d 
 p 
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 339

ในบางกรณีทอี่ าจจะเกิดการเฉือนเจาะทะลุรอบหัวเสาเข็มได และหากเสาเข็มใกลกนั มาก หนาตัด


วิกฤตการเจาะทะลุอาจจะเกยกันดังรูปที่ 6.38

รูปที่ 6.38 หนาตัดวิกฤตรอบเสาเข็มที่ชิดกัน

6.9 กําลังตานทานแรงเฉือนของคอนกรีตในฐานราก
การออกแบบฐานรากวิธหี นวยแรงใชงานนั้น ตองใหคอนกรีตรับแรงเฉือนทั้งหมดไว

V  Vc

เมื่อ V เปนแรงเฉือนที่เกิดขึ้นจริง, kg
Vc เปนกําลังรับแรงเฉือนที่คอนกรีตรับได ,kg
การออกแบบฐานรากนิยมใหคอนกรีตเปนผูรับแรงเฉือนทั้งหมด เพือ่ ใหความหนาของฐานรากมีมาก
พอจนไมแอนโคงมากเกินไป ที่จะทําใหการกระจายแรงลงดินหรือเสาเข็มไมสม่ําเสมอ แตถาฐานรากหนา
เกิน 0.25 เมตรขึ้นไปจะออกแบบใหมีเหล็กรับแรงเฉือนดวยได ลักษณะเหล็กรับแรงเฉือนในฐานรากมักจะ
เปนเหล็กคอมา หรือปกนกทีก่ ําลังยกขึ้นบิน ในที่นแี้ นะนําใหคอนกรีตเปนผูรับแรงเฉือนทั้งหมดไป ดังนั้น
แรงเฉือนแบบคาน (beam shear) หรือแรงเฉือนทางเดียว (one-way action)
แรงเฉือนแบบคานที่รับได Vcb  0.29 f c' b w d
แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ (punching shear) หรือแรงเฉือนสองทาง (two-way action)
หนวยแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่รับได Vcp  0.53 f c' b o d
f c'  กําลังคอนกรีตทรงกระบอกมาตรฐานอายุ 28 วัน, ksc
d  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก, cm
b w  ความกวางฐานรากดานรับแรงเฉือนแบบคาน, cm
340 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

bo  เสนรอบรูปของหนาตัดวิกฤตแบบเจาะทะลุ, cm
b o  2a  d   2b  d   2a  b  2d  สําหรับเสาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา
b o  a  d  สําหรับเสาหนาตัดกลม
a  ดานสั้นของหนาตัดเสาสี่เหลี่ยมผืนผา หรือเสนผานศูนยกลางเสากลม, cm
b  ดานยาวของหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา, cm

6.10 การเสริมเหล็กรับแรงดัดในฐานราก
การเสริมเหล็กรับแรงดัดในฐานราก ใหดําเนินการดังนี้

1. ฐานรากรับแรงทางเดียว เชนฐานรากบนเสาเข็มสองตน ตองเสริมเหล็กใหมีปริมาณเพียงพอใน


การรับแรงดัดและมีระยะฝงยึดเพียงพอ กระจายเหล็กสม่ําเสมอตลอดความกวางของฐานราก ทั้งนี้ตองให
ระยะหุมเพียงพอดวย สวนเหล็กดานทีไ่ มรับแรงดัดใหใชเหล็กกันราว คือ

เหล็ก SR-24 A s , temp  0.0025bh


เหล็ก SD-30 A s , temp  0.0020bh
เหล็ก SD-40 A s , temp  0.0018bh

โดยที่ b เปนความกวางของฐานรากในทิศทางที่จะหาเหล็กกันราว (มักเปนดานยาวของฐานราก) และ h เปน


ความหนาฐานราก (ไมใชความลึกประสิทธิผล d)

2. ฐานรากรับแรงสองทาง เชนฐานแผบนดินแนน ฐานรากบนเสาเข็มตั้งแต 3 ตนขึ้นไป ตองเสริม


เหล็กในแตละทิศทางใหสามารถตานทานแรงดัดและระยะฝงยึดเพียงพอ กระจายเหล็กสม่ําเสมอตลอดความ
กวางโดยคํานึงถึงระยะหุมดวย

3. ฐานรากสี่เหลีย่ มจัตุรัสรับแรงสองทาง ตองเสริมเหล็กทั้งสองทางในปริมาณที่เทากัน แมวา


ตอมอสี่เหลี่ยมผืนผาทําใหปริมาณเหล็กตางกัน ใหเลือกคามากเปนเกณฑในการเสริมทั้งสองทาง เหล็กตอง
ตานแรงดัดและมีระยะฝงยึดพอเพียง

4. ฐานรากแปลนสี่เหลี่ยมผืนผารับแรงกระทําสองทาง เหล็กเสริมขนานขอบยาวใหจดั เรียง


สม่ําเสมอเต็มความกวางโดยระยะหุมพอเพียง สวนเหล็กเสริมขนานขอบสั้นใหกระจายเรียงถีใ่ นบริเวณแถบ
กลาง ที่เหลือเรียงหางในบริเวณแถบริม
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 341

จากรูปที่ 6.39 แสดงการกระจายของเหล็กเสริมในฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา ซึ่งตองดําเนินการดังนี้


ให A SB เปนเนื้อทีห่ นาตัดเหล็กเสริมขนานขอบสั้นที่คํานวณได ,cm2
B เปนความกวางของฐานราก และเปนความยาวของแถบกลาง, m
L เปนความยาวของฐานราก, m
L
 อัตราสวนดานยาวตอดานสัน้ ของฐานราก
B
2 2B
A SB,Mid  A SB  A SB ปริมาณเหล็กเสริมในแถบกลาง, cm2
 1 LB

รูปที่ 6.39 การกระจายเหล็กเสริมในฐานรากสี่เหลี่ยมผืนผา

` แตเพื่อความสะดวกทั้งในการเขียนแบบ การกอสรางที่นิยมเรียงเหล็กใหหางสม่ําเสมอ หากเพิ่มเหล็ก


เสริมแถบริมใหเรียงเทากันกับแถบกลาง จะตองเพิ่มเหล็กเสริมขนานขอบสั้นใหมากขึ้นเปน
L 2 2L
A SB, New  A SB,Mid  A SB  A SB
B  1 LB

นํา A SB,New มาจัดเรียงระยะหางเทาๆ กันบนดานยาวของฐานราก

6.11 การถายแรงจากเสาตอมอ หรือผนังกําแพง สูฐานราก


การถายแรงอัดและแรงดัดจากเสาตอมอ หรือผนังกําแพงลงสูฐานรากจะอาศัยแรงแบกทาน (bearing)
ของคอนกรีตทั้งสวนที่ถายแรงลง และสวนที่รองรับคือคอนกรีตฐานราก รวมทั้งเหล็กยืนในเสา หรือเหล็ก
เดือย (dowel bars) การคํานวณออกแบบจะตองใชวิธีกําลัง ซึ่งอาจจะประมาณแรงกดอัดเพิ่มคาอยูท ี่ 1.6 เทา
ของแรงกดอัดใชงาน
ในการกอสรางจริงนั้น จะเทคอนกรีตฐานรากกอนโดยโผลเหล็กยืนในเสาหรือโผลเหล็กเดือยไว
จากนั้นจึงจะประกอบแบบเสาและเทคอนกรีต ดังนั้นกําลังคอนกรีตในฐานรากกับในเสาอาจจะไมเทากัน
342 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ให P แรงกดอัดจากตอมอลงบนฐานราก, kg (ประมาณ 1.6 เทาของแรงกดอัดใชงาน)


f cc'  กําลังประลัยของคอนกรีตในเสาตอมอ, ksc
f cf'  กําลังประลัยของคอนกรีตในฐานราก, ksc
2
A 1  เนื้อที่หนาตัดเสาตอมอที่ทําหนาที่รับแรงแบกทาน, cm
A 2  เนื้อที่บนระนาบที่ขยายจาก A 1 อัตรา 2 : 1 จนชนขอบที่ใกลสุด ดูรูปที่ 6.10
  0.70  ตัวคูณลดกําลังสําหรับแรงแบกทาน

รูปที่ 6.40 แสดงการคํานวณแรงกดอัดบนฐานราก


ดังนั้นหนวยแรงแบกทานในเสาตอมอ
P
 0.85f cc'
A1
หนวยแรงแบกทานในฐานราก
P A2
 0.85f cf'  1.70f cf'
A1 A1
ในกรณีที่ฐานรากกวางมากจนแนวเอียง 2 : 1 ไมตัดขอบดิ่งของฐานรากเลย ใหหาคา A 2 ที่ระดับ
ความลึกประสิทธิผล d ซึ่งเปนบริเวณเหล็กเสริมรับแรงดัดอยูนนั่ เอง
หากพบวาหนวยแรงแบกทานเกินกวาที่คอนกรีตจะรับได หรือมีแรงดึงจากแรงดัดเกิดขึ้น ใหคิดผล
ของเหล็กยืนหรือเหล็กเดือย ระยะฝงที่เหล็กยืนหรือเหล็กเดือยวัดจากขอบบนฐานรากลงไปตองไมนอยกวา
ระยะฝงยึดของเหล็กเสริมนั้น กลาวคือ ใหเลือกคามากจากสามคาตอไปนี้
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 343

fy
 d  0.075d b
f c'
 d  0.0043f y d b
 d  20 cm
เมื่อ d  ระยะฝงยึดเหล็กเสริม, cm
d b  เสนผานศูนยกลางเหล็กยืนหรือเหล็กเดือย, cm
f y  กําลังครากของเหล็กยืนหรือเหล็กเดือย, ksc
f c'  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานของฐานรากหรือเสา โดยเลือกคาที่นอยกวา

รูปที่ 6.41 เหล็กเดือยในฐานราก


เหล็กยืนในเสาตอมอหรือเหล็กเดือยในฐานรากที่ยื่นเขาไปในเสาตอมอ ตองมีคาดังนี้
1. จํานวนไมนอยกวา 4 เสน ขนาดไมเล็กกวา 12 mm
2. เนื้อที่หนาตัดเหล็กเดือยไมนอ ยกวา 0.005 เทาของหนาตัดเสา
3. ขนาดของเหล็กเดือยโตกวาเหล็กยืนในเสาตอมอไมเกิน 3 mm
4. ระยะทาบระหวางเหล็กยืนในเสาตอมอกับเหล็กเดือยไมนอยกวาระยะฝงยึดที่คิดจากเหล็กที่
โตกวา กลาวคือ
 d  0.007f y d b
 d  30 cm
f y  4000 ksc
f c'  210 ksc

ในทางปฏิบัตนิ ั้นนิยมฝงเหล็กยืนหรือเหล็กเดือยจนถึงเหล็กเสริมรับแรงดัดดานลางฐานราก แลวแผออกไม


นอยกวา 12 เทาของขนาดเหล็ก ทั้งนี้เพือ่ ปองกันไมใหเหล็กยืนหรือเหล็กเดือยถอนหลุดจากคอนกรีตฐาน
รากหากมีแรงดึงเกิดขึน้
344 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.12 คอนกรีตหยาบกนหลุมฐานราก
เมื่อขุดดินจนถึงระดับที่ตองการแลว ถาเปนฐานรากบนดินแนน การเตรียมดินใตฐานรากใหแนนเปน
เรื่องสําคัญมาก ใสลูกรังหรืออิฐหักหรือหินยอย หนา 10-15 cm กระทุง ใหแนน ทับดวยทรายหยาบประมาณ
10 cm กระทุงใหแนน แลวจึงทับดวยคอนกรีตหยาบหนาประมาณ 5-10 cm สําหรับฐานรากบนเสาเข็ม ไม
จําเปนตองลงลูกรังหรืออิฐหักหรือหินยอย ใหลงทรายหยาบกระทุงใหแนน เททับดวยคอนกรีตหยาบหนา
ประมาณ 5-10 cm
คอนกรีตหยาบ (Lean concrete) มีอัตราสวนผสม ซีเมนต : ทรายหยาบ : หิน ประมาณ 1:3:5 หนาที่
ของคอนกรีตหยาบคือปองกันความสกปรกจากกนหลุมไมใหโดนเหล็กเสริม และมีความแข็งพอที่จะหนุน
เหล็กเสริมเอาไวโดยใชลูกปูนทําจากปูนทรายหนา 7.5-10 cm ตามระยะหุมวาบริเวณกัดกรอนนอยใหใช 7.5
cm ถากัดกรอนมาก เชนริมทะเล ใช 10 cm วางเหล็กเสริมฐานราก เหล็กเดือยหรือเหล็กตอมอและค้ํายึดให
อยูในตําแหนง ทําแบบขางฐานราก อุดรอยรั่วระหวางแบบขางกับคอนกรีตหยาบแลวจึงเทคอนกรีตฐานราก
ตอไป สังเกตวาการวางเหล็กยืนหรือเหล็กเดือยติดเหล็กฐานรากจะทํางานงาย

6.13 ขั้นตอนการออกแบบฐานรากบนดินแนน
การออกแบบฐานรากรองรับกําแพงหรือเสาตอมอโดยวางฐานรากบนดินแนนตามวิธีหนวยแรงใช
งาน มีลําดับขั้นตอนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานที่อายุ 28 วัน , ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริม, ksc
2
q a  กําลังตานทานปลอดภัยของดิน, kg/m
DL  น้ําหนักบรรทุกคงที่ลงตอมอ, kg
LL  น้ําหนักบรรทุกจรลงตอมอ, kg
P  DL  LL  น้ําหนักบรรทุกรวมลงตอมอ, kg
a  ความยาวขอบสั้นของเสาตอมอสี่เหลี่ยมผืนผา, cm
b  ความยาวขอบยาวของเสาตอมอสี่เหลี่ยมผืนผา, cm
f c  0.45f c' ตาม วสท. หรือ f c  0.375f c'  65 ksc ตามกฎกระทรวงฯ = หนวยแรงดัดทีย่ อม
ใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  1,700 ksc  หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กเสริม
E s 2,040,000
n   อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุนเหล็กตอคอนกรีต
E c 15,100 f c'
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 345

1
k  พารามิเตอรแกนสะเทิน
fs
1
nf c
k
j  1   พารามิเตอรแขนโมเมนต
3
1
R  f c kj  พารามิเตอรโมเมนตสมดุล, ksc
2
v cb  0.29 f c'  หนวยแรงเฉือนแบบคานทีย่ อมให , ksc
v cp  0.53 f c'  หนวยแรงเฉือนเจาะทะลุที่ยอมให , ksc

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานรากและดินถม 0.15-0.30 เทาของน้ําหนักที่ลงตอมอ คือคูณ


น้ําหนักลงตอมอดวย 1.15 ถึง 1.30 จากนั้นหาเนื้อที่ฐานรากที่ตองการ เชน
1.3P
A req 
qa
คา A req เปนตารางเมตร ประมาณขนาดแปลนฐานรากใหมีเนื้อที่ A มากกวา Areq จากนัน้ หาหนวยแรงดัน
ขึ้นสุทธิของดิน
P
q
A
เมื่อ q หนวยแรงดันขึ้นสุทธิของดิน, kg/m2
B = ความยาวขอบสั้นของฐานราก, m
L = ความยาวขอบยาวของฐานราก, m
A = BL = เนื้อที่ฐานราก, m2

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณแรงเฉือน V4, V5 และแรงดัด M4, M5 เนื่องจากแรงดันสุทธิตรงหนาตัดวิกฤตแรงดัดและ


ระยะยึดฝงซึ่งอยูตรงขอบตอมอทั้งสองทิศทาง เชน
La
V4  qB 
 2 
 L  a  L  a 
M 4  qB
L  a  2

   qB
 2  4  8
Bb
V5  qL 
 2 
 B  b  B  b 
M 5  qL
B  b  2

   qL
 2  4  8
346 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หาความลึกประสิทธิผลจากผลของโมเมนต

M4
d4 
RB
M5
d5 
RL

เลือกคามากและเพิ่มคาขึ้นอีกใหสามารถรับแรงเฉือนได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vp  V1  qBL  a  d b  d 
b o  2a  d   2b  d   2a  b  2d 
Vp
vp 
bod

ตรวจสอบถาพบวา v p  v cp  0.53 f c' แสดงวาคา d นอยเกินไปใหเพิ่มคา d จนกวา v p  0.53 f c' คา


d เปนคาที่จะใชคํานวณตอไป

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน
L a 
Vb 2  qB   d 
2 2 
V qL a 
v b 2  b 2     d   0.29 f c'
Bd d  2 2 
B b 
Vb 3  qL   d 
2 2 
V qB b 
v b 3  b 3     d   0.29 f c'
Ld d  2 2 

ถาพบ v b 2  0.29 f c' หรือ v b3  0.29 f c' ใหเพิ่มคา d และคํานวณจนกวา v b 2  0.29 f c' และตอง
ให v b3  0.29 f c' โดยปกติถาทดสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุผานแลว แรงเฉือนแบบคานผานเสมอ
ยกเวนกรณีที่ฐานรากเรียวยาวมากจะวิบัติแบบคานมากกวาแบบเจาะทะลุ

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบแรงตานเฉลี่ยของดินวาไมเกินกวาคาที่ยอมให
หาน้ําหนักจริงของตอมอ ฐานราก ดินถม รวมกับน้ําหนักลงตอมอ หารดวยเนื้อที่ฐานรากตองไมเกิน
คาที่ยอมให
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 347

P  Wp  WF  WBF
q  qa
BL

เมื่อ q หนวยแรงดันขึ้นของดินที่เกิดขึ้นจริง, kg/m2


2
q a  หนวยแรงตานทานของดินที่ยอมให, kg/m
B = ความกวางของฐานราก, m
L = ความยาวของฐานราก, m
a = ความกวางของตอมอขนานขอบยาวของฐานราก, m
b = ความยาวของตอมอขนานขอบสั้นของฐานราก, m
d = ความลึกประสิทธิผลของฐานราก, m
H = ความลึกของทองฐานรากวัดจากระดับดิน, m
HF = ความหนาของฐานราก (ไมรวมคอนกรีตหยาบ), m
HP = H-HF = ความยาวของตอมอและความหนาของดินถม, m
P = น้ําหนักจากโครงสรางดานบนถายลงตอมอ, kg
WF  2400BLH F  น้ําหนักของฐานราก, kg
Wp  2400abH p  น้ําหนักของตอมอ, kg
WBF  1690H p BL  ab   น้ําหนักดินถม, kg
ถาตรวจสอบพบวา q  q a ใหปรับคาของ B และ L เชนอาจจะเพิ่มคาขึ้นอีกอยางละ 10 cm ยอนไป
ตรวจสอบคา q จากขั้นตอนที่ 2 มาใหม

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณเหล็กเสริม จากขัน้ ตอนที่ 3 ทราบคาของ V4 , M 4 , V5 , M 5 ใหประมาณขนาดเหล็ก


เสริมที่ตองใช d b คํานวณหาหนวยแรงยึดเหนี่ยว u

f c'
u  3.23  35 ksc
db

เหล็กเสริมขนานขอบยาวของฐานราก
M4
A s4  cm 4
f s jd
V4
O 4 
ujd
cm
348 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เหล็กเสริมขนานขอบสั้นของฐานราก
M5
A s5  cm 2
f s jd
V5
O 5 
ujd
cm

 2
เหล็กแตละเสนมีเนื้อที่หนาตัด A s1  db และเสนรอบรูป  O1  d b หาจํานวนเสนที่ตอ งใชในแต
4
ละทิศทางโดยการคํานวณและปดขึ้นเปนจํานวนเต็มแลวเลือกคามาก
เหล็กขนาดขอบยาว เลือกจากคามากของผลการคํานวณที่ปดขึ้นเปนจํานวนเต็ม
กับ N 42  
A s4 O4
N 41 
A s1 O 1

เหล็กขนานขอบสั้น เลือกจากคามากของผลการคํานวณที่ปดขึ้นเปนจํานวนเต็ม
กับ N 52  
A s5 O5
N 51 
A s1 O 1

2L
สําหรับเหล็กขนานขอบสั้นใหปรับจํานวนเสนมากขึ้นโดยคูณดวย
LB

ขั้นตอนที่ 8 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.6 จงออกแบบฐานรากตื้นวางบนดินแข็งรูปสี่เหลี่ยมผืนผา รับน้ําหนักบรรทุกใชงานจากตอมอ


โดยเปนน้ําหนักบรรทุกคงที่ 120 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจร 80 ตัน ขนาดของเสาตอมอ
0.40  0.60 m 2 ทองฐานรากวางอยูที่ระดับความลึกประมาณ 2.00 เมตร จากผิวดินเดิม กําลัง
ตานทานที่ยอมให 10 ตัน/ตารางเมตร f c'  210 ksc, f y  3000 ksc

วิธีทํา
การออกแบบโดยวิธีหนวยแรงใชงาน (WSD)
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  210 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานที่อายุ 28 วัน

f y  3,000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม

q a  10,000 kg / m 2  กําลังตานทานปลอดภัยของดิน

DL  120,000 kg น้ําหนักบรรทุกคงที่ลงตอมอ

LL  80,000 kg น้ําหนักบรรทุกจรลงตอมอ

P  DL  LL  120,000  80,000  200,000 kg น้ําหนักบรรทุกรวมลงตอมอ

a  40 cm ความยาวขอบสั้นของเสาตอมอสี่เหลี่ยมผืนผา
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 349

b  60 cm ความยาวขอบยาวของเสาตอมอสี่เหลี่ยมผืนผา
f c  0.45f c'  0.45  210  94.5 ksc ตาม วสท. หรือ f c  0.375f c'  65 ksc ตามกฎกระทรวงฯ =

หนวยแรงดัดที่ยอมใหของคอนกรีต
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc หนวยแรงดัดที่ยอมใหของเหล็กเสริม

n
E s 2,040,000

E c 15,100 f '

2,040,000
 9.32 อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุนเหล็กตอคอนกรีต
c
15,100 210

k
1
fs

1
1,500
 0.37 พารามิเตอรแกนสะเทิน
1 1
nf c 9.32  94.5
k
j  1
3
 1
0.37
3
 0.877 พารามิเตอรแขนโมเมนต
1 1
R  f c kj   94.5  0.37  0.877  15.332 ksc
2 2
พารามิเตอรโมเมนตสมดุล
v cb  0.29 f c'  0.29 210  4.202 ksc หนวยแรงเฉือนแบบคานทีย่ อมให
v cp  0.53 f c'  0.53 210  7.68 ksc หนวยแรงเฉือนเจาะทะลุที่ยอมให

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานรากและดินถม 0.15-0.30 เทาของน้ําหนักที่ลงตอมอ คือคูณ


น้ําหนักลงตอมอดวย 1.15 ถึง 1.30 จากนั้นหาเนื้อที่ฐานรากที่ตองการ เชน
1.3P 1.3  200,000
A req    26 m 2
qa 10,000

คา A req เปนตารางเมตร ประมาณขนาดแปลนฐานรากใหมีเนื้อที่ A มากกวา Areq จากนัน้ หาหนวยแรงดัน


ขึ้นสุทธิของดิน
สมมติใหฐานรากกวาง 5.75 เมตร ยาว 6.00 เมตร เนื้อทีฐ่ านราก

A  BL  5.75  6.00  34.5 m 2  26 m 2


P 200,000
q   5,797.1 kg / m 2
A 34.5

เมื่อ q หนวยแรงดันขึ้นสุทธิของดิน, kg/m2


B = ความยาวขอบสั้นของฐานราก, m
L = ความยาวขอบยาวของฐานราก, m
A = BL = เนื้อที่ฐานราก, m2
350 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณแรงเฉือน V4, V5 และแรงดัด M4, M5 เนื่องจากแรงดันสุทธิตรงหนาตัดวิกฤตแรงดัดและ


ระยะยึดฝงซึ่งอยูตรงขอบตอมอทั้งสองทิศทาง เชน
 La   6.00  0.40 
V4  qB   5,797.1 5.75   93,333.33 kg
 2   2 

M 4  qB
L  a 2  5,797.1 5.75 
6.00  0.402
 130,666.634 kg  m
8 8
 Bb   5.75  0.60 
V5  qL   5,797.1 6.00     89,565.195 kg
 2   2 

M 5  qL
B  b 2  5,797.1 6.00 
5.75  0.602  115,315.1886 kg  m
8 8

หาความลึกประสิทธิผลจากผลของโมเมนต
M4 130,666.634 100
d4    38.5 cm
RB 15.332  575
M5 115,315.1886 100
d5    35.4 cm
RL 15.332  600

เลือกคามากคือ 38.5 cm ใหความหนาฐานราก H F  1.00 m ระยะหุมของคอนกรีต 10 cm ขนาดเหล็ก


DB 25 mm หรือ d b  2.5 cm ดังนั้นความลึกประสิทธิผล
2.5
d  100  10  2.5   86.25 m
2

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vp  V1  qBL  a  d b  d 
Vp  5,797.1 5.75  6.00  0.40  0.86250.60  0.8625
Vp  189,296.1483 kg
b o  2a  d   2b  d   2a  b  2d 
b o  2  40  60  2  89.25
b o  557 m
Vp 189,296.1483
vp    3.94 ksc  v cp  7.68 ksc
bod 557  86.25

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน
L a   6.00 0.40 
Vb 2  qB   d   5,797.1 5.75     0.8625 
2 2   2 2 
Vb 2  64,583.31719 kg
Vb 2 64,583.31719
vb2    1.302 ksc  v cb  4.202 ksc
Bd 575  86.25
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 351

B b   5.75 0.60 
Vb3  qL   d   5,797.1 6.00     0.8625 
2 2   2 2 
Vb3  59,565.2025 kg
Vb3 59,565.2025
v b3    1.151 ksc  v cb  4.202 ksc
Ld 600  86.25
ฐานรากหนาเพียงพอที่จะรับแรงเฉือนทั้งแบบเจาะทะลุและแบบคาน

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบแรงตานเฉลี่ยของดินวาไมเกินกวาคาที่ยอมให
หาน้ําหนักจริงของตอมอ ฐานราก ดินถม รวมกับน้ําหนักลงตอมอ หารดวยเนื้อที่ฐานรากตองไมเกิน
คาที่ยอมให
P  Wp  WF  WBF
q  qa
BL

เมื่อ q หนวยแรงดันขึ้นของดินที่เกิดขึ้นจริง, kg/m2


q a  10,000 kg / m 2 หนวยแรงตานทานของดินที่ยอมให

B  5.75 m = ความกวางของฐานราก

L  6.00 m = ความยาวของฐานราก

a  0.40 m  ความกวางของตอมอขนานขอบยาวของฐานราก

b  0.60 m  ความยาวของตอมอขนานขอบสั้นของฐานราก

d  0.8625 m  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

H  2.00 m  ความลึกของทองฐานรากวัดจากระดับดิน

H F  1.00 m  ความหนาของฐานราก (ไมรวมคอนกรีตหยาบ)

H p  2.00  1.00  1.00 m  ความยาวของตอมอและความหนาของดินถม

P  200,000 kg  น้ําหนักจากโครงสรางดานบนถายลงตอมอ

WF  2400BLH F  2400  5.75  6.00 1.00  82,800 kg น้ําหนักฐานราก

Wp  2400abH p  2,400  0.40  0.60 1.00  576 kg น้ําหนักของตอมอ

WBF  1690H p BL  ab   1,690  1.00  5.75  6.00  0.40  0.60   57,899.4 kg น้ําหนักดินถม
200,000  82,800  576  57,899.4
q  9,892.04 kg / m 2  q a
5.75  6.00

แรงตานของดินไมเกิน 10,000 kg/m2 ปลอดภัย


352 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 7 หาปริมาณเหล็กเสริม จากขัน้ ตอนที่ 3 ทราบคาของ V4 , M 4 , V5 , M 5 ใหประมาณขนาดเหล็ก


เสริมที่ตองใช d b คํานวณหาหนวยแรงยึดเหนี่ยว u
f c'
u  3.23  35 ksc
db
V4  93,333.33 kg
M 4  13,066,663.4 kg  cm
V5  89,565.195 kg
M 5  11,531,518.86 kg  cm

เลือกใชเหล็ก DB 25 mm มี
210
u  3.23   18.723 ksc  35 ksc
2.5

A s1   2.52  4.909 cm 2
4
 O1    2.5  7.854 cm
M4 13,066,663.4
As 4    115.163 cm 2
f s jd 1,500  0.877  86.25

 O4  ujd4  18.723  0.877  86.25  65.903 cm


V 93,333.33

115.163
N 41   23.46  24 bars
4.909
65.903
N 42   8.39  9 bars
7.854
M 11,531,518.86
A s5  5   101.633 cm 2
f s jd 1,500  0.877  86.25

 O5  ujd5  18.723  0.877  86.25  63.242 cm


V 89,565.195

101.633
N 51   20.7  21 bars
4.909
63.242
N 52   8.05  9 bars
7.854

เหล็กขนานขอบสั้น ตองปรับจํานวนเสน
2L 2  6.00
N5  N 51   21  21.45  22 เสน ใชจริง 25-DB 25 mm
LB 6.00  5.75

เหล็กขนานขอบยาว ใชตามที่คํานวณไดคอื 24-DB 25 mm

ขั้นตอนที่ 8 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็กในหนาถัดไป
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 353

รูปที่ 6.42 รายละเอียดฐานรากบนดินแนนตามตัวอยางที่ 6.10


354 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.7 ใหตรวจสอบการถายแรงระหวางเสากับฐานรากในตัวอยางที่ 6.6 จากนั้นพิจารณาการใช


เหล็กเดือย เสาตอมอขนาด 0.40  0.60 m2 รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 120 ตัน และน้ําหนัก
บรรทุกจรใชงาน 80 ตัน ฐานรากขนาด 5.75  6.00 1.00 m3 ความลึกประสิทธิผล d = 0.90 m กําลัง
คอนกรีตทั้งเสาและฐานรากที่ใชจริง fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc
วิธีทํา
ตรวจสอบแรงแบกทานที่เสา
น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคา
Pu  1.4DL  1.7 LL
Pu  1.4 120,000  1.7  80,000
Pu  304,000 kg

เนื้อที่หนาตัดเสารับแรงกด

A1  ab  40  60  2400 cm 2

กําลังรับน้ําหนักของเสา
Pnb  0.85f c' A1
Pnb  0.85  0.70  240  2400
Pnb  342,720 kg  Pu  304,000 kg

แสดงวาคอนกรีตเสารับแรงแบกทานได

ตรวจสอบแรงแบกทานที่ฐานราก

จากขอบของตอมอลากลงไป 1 สวนถึงเหล็กเสริม ลึก d = 0.90 m แลวลากออกไปทางขอบฐานรากยาว 2


สวน คือ 2  0.90  1.80 m ทางดานขอบสั้น ระยะจากขอบตอมอถึงขอบฐานรากยาว
A  a 5.75  0.40
   2.675 m  1.80 m
2 2

แสดงวาพืน้ ที่ A 2 อยูตรงเหล็กเสริมฐานราก เปนสี่เหลี่ยมผืนผากวาง a  2d  0.40  2  0.9  2.20 m


ยาว b  2d  0.60  2  0.90  2.40 m ดังนั้น
A 1  40  60  2400 cm 2
A 2  220  240  52,800 cm 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 355

หนวยแรงแบกทานในฐานรากคือ
A2
f bF  0.85f c '  1.70f c'
A1
A2 52,800
f bF  0.85f c '  0.85  240  956.84 ksc
A1 2400

f bF  1.70f c'  1.70  240  408 ksc  956.84 ksc

ดังนั้นใช f bF  408 ksc


กําลังรับแรงแบกทานของฐานราก
Pnb  f bFA1
Pnb  0.70  408  2400
Pnb  685,440 kg  Pu  304,000 kg

แสดงวาการถายแรงระหวางเสาตอมอกับฐานรากผานคอนกรีตไดอยางปลอดภัย
ในกรณีที่ตองฝงเหล็กเดือยในฐานรากแลวฝงเขาไปในเสาตอมอ จะตองหาระยะฝงในฐานราก และ
ระยะทีต่ องทาบกับเหล็กในเสา
ปริมาณเหล็กเดือยไมนอยกวา 0.005 ของหนาตัดเสา ขนาดไมเล็กกวา 12 mm และไมนอยกวา 4
เสน

A s, min  0.005A1  0.005  2400  12 cm 2

ปริมาณเหล็กเสริมในเสารับน้ําหนักตามแนวแกน

Pu  0.56 0.85f c' A g  f y A st 
304,000  0.560.85  240  2400  3000A st 
1  304,000 
A st    0.85  240  2400  17.75 cm 2
3000  0.56 
min A st  0.01A g  0.01 2400  24 cm 2

วิศวกรผูออกแบบใช 14-DB 25 mm เพื่อใหระยะหางระหวางเสนเหล็กยืนไมเกิน 15 cm และใหถือวาเหล็ก


ยืนเปนเหล็กเดือย

A st  14  4.909  68.726 cm 2  12 cm 2

หาระยะฝงในฐานราก
fy 3000
 d  0.075d b  0.075  2.5   36.3 cm  d  86.25 cm
f c' 240
356 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หาระยะทาบระหวางเหล็กเดือยกับเหล็กเสา เปนกรณีที่โผลเหล็กเดือยเหนือผิวบนฐานรากแลวจึงเสริมเหล็ก
เสาโดยการทาบ
fy 3000
 d  0.075d b  0.075  2.5   36.3 cm
f c' 240
 d  0.007f y d b  0.007  3000  2.5  52.5 cm

คามากคือ 52.5 cm และ f c'  240 ksc  210 ksc จึงไมตองเพิ่มคามากขึ้นอีก 1 ในสาม
ใชระยะทาบในเสา  d  55 cm

ตัวอยางที่ 6.8 จงออกแบบฐานรากแผรับน้ําหนักใชงานตามแนวแกน DL = 12,000 kg และ LL = 8,000


kg และแรงดัดใชงาน MD = 1,500 kg.m และ ML = 1,000 kg.m หนวยแรงแบกทานของดินที่
ยอมให 10,000 kg/m2 ให fc'  200 ksc, และ f y  3000 ksc ทองฐานรากลึก 1.50 m เสาขนาด
0.35  0.35 m 2

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  200 ksc
f c  0.375f c'  0.375  200  75  65 ksc
f y  3000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3000  1500 ksc
E s 2,040,000 135.099
n    9.55
E c 15,100 f ' 200
c
1 1
k   0.293
fs 1500
1 1
nf c 9.55  65
k 0.293
j 1  1  0.902
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.293  0.902  8.59 ksc
2 2
DL  12,000 kg
LL  8,000 kg
P  DL  LL  12,000  8,000  20,000 kg
M D  1,500 kg.m
M L  1,000 kg.m
M  M D  M L  1,500  1,000  2,500 kg.m
a  b  0.35 m  35 cm
q a  10,000 kg / m 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 357

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักของตอมอ ฐานราก ดินถม ประมาณ 20% ของน้ําหนักตามแกน


1.20P 1.20  20,000
A req    2.4 m 2
qa 10,000

แตเนื่องจากฐานรากตองรับแรงดัดดวยจึงตองเผื่อใหมากขึ้นไปอีก
ใชฐานรากขนาด 2.00  2.00 m2
B  L  2.00 m  200 cm

ตรวจสอบแรงดันดินโดยใชแรงตามแนวแกนที่เผื่อ 20% แลว


358 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หนวยแรงดันดินดานมาก
1.20P 6M
q max   2
BL BL
1.20  20,000 6  2,500
q max  
2.00  2.00 2.00  2.002
q max  7,875 kg / m 2  10,000 kg / m 2

ขั้นตอนที่ 3 หาหนวยแรงดันขึ้นสุทธิจากน้ําหนักบรรทุก
P  DL  LL  12,000  8,000  20,000 kg
M  M D  M L  1,500  1,000  2,500 kg.m

หนวยแรงดันสุทธิขางมาก
P 6M
q max  
BL BL2
20,000 6  2,500
q max  
2.00  2.00 2.00  2.00 2
q max  6,875 kg / m 2

หนวยแรงดันสุทธิขางนอย
P 6M
q min  
BL BL2
20,000 6  2,500
q min  
2.00  2.00 2.00  2.00 2
q min  3,125 kg / m 2

2.00  0.35
ระยะจากขอบตอมอถึงขอบฐานราก 
2
 0.825 m และหางอีกขอบ เปนระยะ
 2.00  0.825  1.175 m หาหนวยแรงดันดินที่ขอบตอมอขางมากโดยใชสามเหลี่ยมคลาย
q 4  3,125 6,875  3,125

1.175 2.00
q 4  3,125 
1.175
6,875  3,125
2.00
q 4  5,328.125 kg / m 2

ขั้นตอนที่ 4 ประมาณความหนาฐานรากจากแรงดัดที่ขอบเสา
La  L  a  q max  q 4  L  a 
V4  qB   q 4 B  B 
 2   2  2  2 
2.00  0.35 6,875  5,328.125 2.00  0.35
V4  5,328.125  2.00    2.00 
2 2 2
V4  8,791.40625  1,276.171875
V4  10,067.57813 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 359

 L  a  L  a  q max  q 4  L  a  2  L  a 
M 4  q 4 B   B   
 2  4  2  2  3  2 
 2.00  0.35  2  2.00  0.35 
M 4  8,791.40625     1,276.171875    
 4  3  2 
M 4  3,626.455078  701.8945313
M 4  4,328.349609 kg.m
M 4,328.349609  100
d   15.87 cm
Rb 8.59  200
เลือกฐานรากหนา 0.25 เมตร ใชเหล็ก DB 20 mm. ระยะหุม 7.5 cm ไดความลึกประสิทธิผลดังนี้
2.0
d  25  7.5   16.5 cm  0.165 m
2

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
หนวยแรงดันขึ้นเฉลี่ยที่ศูนยกลางตอมอ หาไดจากสามเหลี่ยมคลาย
q  3,125 6,875  3,125

1.00 2.00
q  3,125 
1.00
6,875  3,125
2.00
q  5,000 kg / m 2

หนาตัดวิกฤตหางจากขอบตอมอ 
d 0.165
2

2
 0.0825 m เมื่อดูทแี่ ปลนฐานราก จะเปนสี่เหลีย่ มจัตุรัสยาว
ดานละ 0.35 + 0.0825 = 0.4325 m.
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  qBL  0.4325  0.4325
Vp  5,000  2.00  2.00  0.4325  0.4325
Vp  19,064.71875 kg

เสนรอบรูปของหนาตัดวิกฤต
b o  4  43.25  173 cm

หากําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีต
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 200  173  16.5  21,395.42485 kg  Vp  19,064.71875 kg

แสดงวารับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน
หนาตัดวิกฤตหางจากขอบตอมอเทากับความลึกประสิทธิผล d = 0.165 m หางจากดานที่มีหนวยแรงอัดนอย
กวาเปนระยะ 0.825 + 0.35 + 0.165 = 1.34 cm หาหนวยแรงดันดินดวยสามเหลี่ยมคลาย
q  3,125 6,875  3,125

1.34 2.00
q  3,125 
1.34
6,875  3,125
2.00
q  5,637.5 kg / m 2
360 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

พื้นที่รับแรงดันดินกวาง 0.825 – 0.165 = 0.66 m ยาว 2.00 m ดังนั้นแรงเฉือนแบบคาน


5,637.5  6,875
Vb 2   0.66  2.00  8,258.25 kg
2

แรงเฉือนที่รับได
Vc 2  0.29 f c' Bd
Vc 2  0.29 200  200  16.5
Vc 2  13,534.02379 kg  Vb 2  8,258.25 kg OK

แสดงวารับแรงเฉือนแบบคานได

ขั้นตอนที่ 7 ตรวจสอบแรงตานเฉลี่ยของดิน
ฐานรากหนา 0.25 เมตร เสาตอมอยาว 1.50 – 0.25 = 1.25 m. = ความหนาดินถม
WF  2400BLHF  2400  2.00  2.00  0.25  2,400 kg
Wp  2400abH p  2400  0.35  0.35  1.25  367.5 kg
WBF  1690BL  ab   1690  2.00  2.00  0.35  0.35
WBF  6,552.975 kg
P  WF  Wp  WBF 6M
q  2
BL BL
20,000  2,400  367.5  6,552.975 6  2,500
q 
2.00  2.00 2.00  2.00 2
q  9,205.12 kg / m  10,000 kg / m 2

ขั้นตอนที่ 8 หาปริมาณเหล็กเสริม
V4  10,067.578135 kg
M 4  4,328.349609 kg.m
M 432,834.9609
As    19.39 cm 2
f s jd 1,500  0.902  16.5

เลือกใชเหล็ก DB 16 mm. มี A b  2.01 cm 2 ,  O1  5.03 cm จํานวนเสนจากผลของโมเมนต


 9.6  10 เสน
19.39
N1 
2.01
f c' 200
u  2.29  2.29  20.24 ksc  25 ksc
db 1.6

 O  ujd  20.24  0.902  16.5  33.421 cm


V 10,067.578135

จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
33.421
5.03
 6.64  7 เสน
ใช #10 DB 16 mm
ขั้นตอนที่ 9 เขียนรายละเอียดฐานรากดังแสดงในตอนแรก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 361

6.14 ลักษณะการรับแรงของเสาเข็ม
เสาเข็ม รับน้ําหนักจากฐานรากแลวถายลงดินในรูปของแรงเสียดทานรอบๆ ผิวเสาเข็ม และแรง
แบกทานที่ปลายเสาเข็มซึ่งจิกลงในชั้นดินแข็งหรือชั้นหิน ดังรูปที่ 70

รูปที่ 6.43 การรับน้ําหนักของเสาเข็ม รูปที่ 6.44 การจัดระยะหางระหวางเสาเข็มกลุม

พิจารณารูปที่ 6.43

Pc  Pf  Pbr

เมื่อ Pc  กําลังของเสาเข็ม, ตัน


Pf  กําลังจากความเสียดทานรอบๆ ผิวเสาเข็ม, ตัน
Pbr  กําลังแบกทานที่ปลายเสาเข็ม, ตัน

ถา Pf  Pbr เรียกวา เสาเข็มแรงเสียดทาน (friction pile)


ถา Pbr  Pf เรียกวา เสาเข็มแรงแบกทาน (bearing pile)
362 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จากรูปที่ 6.44 แสดงการวางตําแหนงเสาเข็มกลุมโดยจัดใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็มที่ใกล


กันนั้นไมนอยกวา 1.5-3 เทาของขนาดเสาเข็ม แนะนําวาใหใชระยะหาง 3 เทาของขนาดเสาเข็ม ระยะหาง
นอยกวา 3 เทาก็ควรใชในกรณีจําเปนจริงๆ เทานั้น การที่ระยะหางระหวางเสาเข็มมากพอจะมีผลใหกําลัง
ของเสาเข็มแตละตนในกลุมเสาเข็มรับน้ําหนักไดเต็มที่ กลาวคือในสวนของความเสียดทาน รอบๆ ผิวของ
เสาเข็มจะมีกระเปาะความเสียดทานรอบๆ ผิวเสมือนมีดนิ เกาะอยูรอบๆ เสาเข็ม ถาระยะหางระหวางเสาเข็ม
มากพอ กระเปาะความเสียดทานจะไมเกยกัน แตถาหางกันนอยเกินไป กระเปาะความเสียดทานจะเกยเขาหา
กันทําใหดินบริเวณนั้นรับแรงเสียดทานเปนสองเทาของสวนที่ไมเกยและอาจจะวิบัตไิ ด
สวนที่สองของรูปที่ 6.44 ที่ควรพิจารณาคือแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็มแตละตน เปนแรงที่เหลือ
จากแรงเสียดทานรอบเสาเข็มแลว เนื้อที่ดินบริเวณปลายเสาเข็มจะเทากับเนื้อที่หนาตัดของเสาเข็มแลวบาน
ออก มุมการบานจะประมาณคา  ของดินใตปลายเสาเข็ม ยิ่งลึกลงไปเนื้อที่จะยิ่งมาก เอาไปหารแรงแบก
ทานก็จะเหลือนอยลง แนวการบานนี้เมื่อถึงความลึกที่สามารถคํานวณไดจากระยะหางระหวางเสาเข็มกับมุม
 ก็จะเกิดการเกยกัน หนวยแรงแบกทานก็จะเพิ่มขึน ้ เปนสองเทาของสวนที่ไมเกยกันทันที แตหาก
ระยะหางมากพอ หนวยแรงแบกทานสวนที่เกยกันซึ่งลดนอยลงแลวแมวาจะเพิ่มเปนสองเทาก็ยังไมเกินกวา
หนวยแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม การวิบตั ิจากแรงเสียดทานก็จะไมเกิดขึ้น

6.15. การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน (Pile cap)


ลักษณะการวิบัติของฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตนที่เสริมเหล็กไมเหมาะสม พิจารณาจากรูปที่ 6.45 เมื่อ
น้ําหนักที่ลงตอมอนอยกวากําลังของเสาเข็ม ฐานรากนัน้ จึงตองการเสาเข็มเพียงตนเดียว รูปที่ 6.45(ก) เปน
การเสริมเหล็กในฐานรากเหมือนกับฐานรากที่มีเสาเข็ม 2 ตนขึ้นไป คือ บนหัวเสาเข็มมีตะแกรงเหล็กแลว
ใหเหล็กของตอมอยื่นลงไปถึงเหล็กตะแกรง ฐานรากจึงตั้งบนหัวเสาเข็มแบบหมิ่นเหม หากตอกเสาเข็มใน
บริเวณดินออนมากเชนบริเวณบางนา สวนบนเสาเข็มจะออนไหวตอแรงทางขางเสมอ เมื่อรถบรรทุกวิ่งบน
ถนนใกลๆ จะกดลงบนถนนใหจมลงและเกิดแรงทางขางไปในแนวนอน ดันเสาเข็มจนเซพาเอาฐานรากโย
ตาม ปลายเสาเข็มที่จมเขาไปในฐานรากนอยก็งัดเนื้อคอนกรีตปริแตก ตอมอซึ่งมีขนาดเล็กรับไดเฉพาะแรง
ตามแนวแกนแตรับโมเมนตไมไหวก็จะหัก สภาพเยือ้ งศูนยจากการเซของเสาเข็มยิ่งทําใหเกิดแรงดัดขั้นที่
สอง (secondary moment) หรือ P   effect ทําใหตอมอหักมากยิ่งขึ้น สุดทายอาคารสวนนี้จะลมลงดังรูป
ที่ 6.45 (ข) อาคารตึกแถวที่บางนาเกิดอาการลมดานหนาที่ใกลถนน เสาเข็มแถวหนาหลุดแนวจากแรงทาง
ขางทั้งหมดแตเสาเข็มแถวในเขาไปไมหลุดตอมอไมหัก จึงมีอาการลมหนา
รูปที่ 6.45(ค) เสริมเหล็กกลับหัวกับรูปที่ 6.45(ก) ทําใหเหล็กเสริมในตอมอไปชิดกับผิวบนฐานราก
เกินไป เมื่อรับแรงทางขางดังรูปที่ 6.45(ง) หัวเสาเข็มกับฐานรากยึดกันไดแนนจึงเคลือ่ นไปพรอมๆ กัน การ
ที่เหล็กชิดผิวบนมากเกินไป ระยะฝงยึดไมเพียงพอ เสาตอมอหักพรอมกันนั้นเหล็กเสริมในตอมอจะลากเอา
เหล็กเสริมฐานรากโกงและปริแตกได จากนั้นการวิบัติเกิดขึ้นเชนเดียวกับรูปที่ 6.45(ข)
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 363

รูปที่ 6.45 ลักษณะการวิบัตจิ ากแรงทางขางของฐานรากเสาเข็ม 1 ตน เนื่องจากเสริมเหล็กไมเหมาะสม


364 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ในรูปที่ 6.45 แสดงการวิบตั ิจากการออกแบบและเสริมเหล็กไมเหมาะสม ดังนัน้ หากเสริมคลายๆ


รูปที่ 6.45(ค) แตใหเหล็กจากตอมออยูลึกลงมามากพอ ดังรูปที่ 6.46(ก) เปนรูปตัดตามยาวของฐานรากบน
เสาเข็ม 1 ตนที่มีประสิทธิภาพสูง รูปที่ 6.46(ข) เปนรูปตัดตามขวางของฐานราก ให D เปนขนาดของเสาเข็ม
ระยะทีห่ วั เสาเข็มฝงเขาไปในฐานรากตองไมนอยกวาระยะ D เพื่อปองหันไมใหหวั เสาเข็มงัดเนื้อฐานรากปริ
แตก ขณะเดียวกันตอมอตองมีขนาดใหญพอที่จะไมหักโดยงาย อยางนอยตอมอตองรับแรงดัดที่เกิดการเยื้อง
ศูนยเทาระยะ kern ของตอมอ ถา P เปนแรงลงตอมอตามแนวแกน และ C แทนขนาดแคบสุดของตอมอหรือ
PC
เสนผานศูนยกลางตอมอ แรงดัดที่ตอมอตองรับไดไมนอ ยกวา Mc  เหล็กเสริมในตอมอตองหยั่งลึก
6
ลงมาไมนอยกวาระยะ D เพื่อปองกันการฉีกของฐานรากแบบรูปที่ 6.45(ง)

รูปที่ 6.46 การเสริมเหล็กในฐานรากเสาเข็ม 1 ตนที่ถูกตอง

เนื่องจากคอนกรีตเปนวัสดุเปราะรับแรงดึงไดนอย หากตอมอมีความแข็งแรงมากพอและยึดฐาน
รากเอาไวไดแนนหนา การวิบัติของฐานรากจะเกิดจากการงัดของหัวเสาเข็มที่จมในเนื้อฐานราก ทําใหเกิด
แรงดึงในเนื้อคอนกรีต และอาจจะฉีกออก การปองกันการฉีกคือหาอะไรกอดรัดเอาไว ในที่นใี้ ชเหล็กปลอก
วางถี่ๆ เหล็กปลอกจะทํางานนี้ไมไดหากไมมีหลักยึดทีแ่ ข็งแรง รูปที่ 6.46(ข) จะเห็นเหล็กยืนทีน่ ิยมใชคือ
เหล็ก 8-DB 25 mm สวนเหล็กปลอกจะเปน 2-ป RB 9 mm @ 0.10 m เหล็กปลอกหากวางถี่กวานี้อาจจะทํา
ใหเกิดโพรงและการจับยึดระหวางเหล็กกับคอนกรีตไมดีกําลังก็จะนอยลง ระยะหางระหวางเหล็กยืนไมเกิน
45 cm ตามลักษณะการรับแรงเฉือนในคานลึก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 365

ลักษณะการเสริมเหล็กในฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน จะเหมือนกับการเสริมเหล็กในเสาที่ใชเหล็ก


ปลอกสองวงในหนึ่งชุดไมทาํ เปนตะแกรงเหมือนฐานรากทั่วไป การกอสรางจริง ชางเหล็กจะผูกเหล็กฐาน
รากกับเหล็กตอมอใหติดกันแลวยกลงสวมครอบหัวเสาเข็ม หนุนดวยลูกปูนใหเหล็กตอมอหางจากหัว
เสาเข็มไมนอยกวา 2.5 cm
ประเด็นปญหาในการออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน มิใชความสามารถในการรับแรงตาม
แนวแกนหรือแรงดัดแรงเฉือน แตกลายเปนการปองกันการกัดกรอนจากสารเคมี ทั้งนี้เนื่องจากคอนกรีตที่
ใชผลิตเสาเข็ม โดยเฉพาะเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง จะใช f c'  350 ksc จากตัวอยางทรงกระบอกมาตรฐาน
(ผูผลิตหลายรายมักจะสงผลการทดสอบตัวอยางลูกบาศกมาตรฐานซึ่ง f c' จะมากกวาตัวอยางทรงกระบอก
หากไดผล f c' ของตัวอยางลูกบาศกมาใหคูณดวย 56 จะใกลเคียงกับ f c' ของตัวอยางทรงกระบอก
กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 และที่แกไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ.2543) กําหนดไววา กําลังของคอนกรีตหมายถึงกําลังของตัวอยางทรงกระบอก
มาตรฐาน (เสนผานศูนยกลาง 15 ซม สูง 30 ซม) อายุ 28 วัน ปจจุบันนี้เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงนิยมใช
f c'  350 ksc กําลังของคอนกรีตฐานรากอาจจะเพียง f c'  250 ksc ซึ่งแตกตางกับของเสาเข็ม แลวกอน
เทคอนกรีตฐานรากก็ไมไดทาํ ใหผิวของเสาเข็มขรุขระเพื่อใหคอนกรีตฐานรากจับเสาเข็มไดแนน ดังนั้นรอย
สัมผัสระหวางเสาเข็มกับคอนกรีตฐานรากจึงจับกันไมสนิทมีชองวางเปนฟลมบางๆ ทําใหเกิดผลคาปลลารี
ที่จะดึงดูดเอาน้ําสกปรกหรือมีสารเคมีละลายอยูซึมขึ้นไปตามชองวางนี้ได ถาเหล็กปลอกวงในอยูช ิดมุมของ
เสาเข็มนอยกวาระยะหุม (covering) น้ําสารเคมีซึมเขาถึงเหล็กปลอกวงในจนเปนสนิม (การ oxidation จน
เปนสนิมของเหล็กไมจําเปนตองมีอากาศสัมผัส ขอเพียงแตมีตัวใหออกซิเจนหรือ oxidizer ก็เปนสนิมได
แลว) เหล็กทีเ่ ปนสนิมจะพองตัวขึ้น แรงดันจากการพองตัวจะเบงจนคอนกรีตแตก น้ําสารเคมีก็จะยิ่งเขาไป
ทําปฏิกิริยาไดมากและเร็วขึน้ ทํานองเดียวกัน ระยะหุมดานผิวนอกของฐานรากก็ตองเพียงพอดวย

มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ของ วสท. กําหนดเรื่องระยะหุมเอาไววา


ระยะหุมขององคอาคารที่สัมผัสหรือจมในดิน บริเวณที่ไมมีการกัดกรอนหรือมีแตไมรุนแรง ใหใช
ระยะหุมของคอนกรีตไมนอ ยกวา 7.5 ซม
ระยะหุมขององคอาคารที่สัมผัสหรือจมในดิน บริเวณที่มีการกัดกรอนรุนแรง (ชายทะเล นิคม
อุตสาหกรรม บริเวณดินเค็มเชน อ.พิมาย มีหินเกลือ) ใหใชระยะหุมของคอนกรีตไมนอยกวา 10 ซม
จากรูปที่ 6.47 เสาเข็มหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส (แมจะระบุเปนหนาตัด I แตสวนหัวเสาเข็มที่ติดกับ
ฐานรากจะเปนสี่เหลี่ยมจัตุรสั ) เมื่อพยายามหมุนใหมุมของเสาเข็มอยูใกลเหล็กปลอกวงในมากที่สดุ ไดดังรูป
ใหระยะหางจากผิวนอกของฐานรากถึงผิวนอกของเหล็กยืน (ทีจ่ ริงตองเหล็กปลอก แตประมาณที่ผิวนอก
เหล็กยืน โดยจะมีการชดเชยตอไป) เทากับระยะหุม C ตามมาตรฐาน และจากมุมเสาเข็มถึงเหล็กปลอกวงใน
เทากับ C ดวย ระยะ C = 7.5 cm หรือ 10 cm ตามมาตรฐานของ วสท. ที่กลาวแลว
366 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ในโครงสรางสวนอื่นๆ ที่อาจจะสัมผัสดินบาง ถูกแดดถูกฝนบาง ระยะหุมไมนอยกวา 4 cm ใน


เหล็กที่โตกวา 16 mm ขึ้นไป และระยะหุมไมนอยกวา 3 cm ในเหล็กขนาด 16 mm ลงมา
รูปที่ 6.47 หนาตัดขวางของฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน กวางดานละ B ขนาดของเสาเข็ม D อยู
กึ่งกลางพอดี แบงหนาตัดนี้ออกเปน 8 สวนเทาๆ กันโดยใชเสนทแยงมุมกับเสนแบงครึ่งดาน ขอบของ
เสาเข็มใหขนานกับขอบของฐานรากเพื่อใหมุมของเสาเข็มอยูใกลกับเหล็กปลอกวงในที่สุด ระยะหางจากมุม
เสาเข็มถึงเหล็กปลอกวงในเทากับระยะหุม C สวนดานนอกระยะหุม ก็เทากับ C ซึ่งตามมาตรฐานคา C =
0.075 m ในสภาพดินทั่วไปไมกัดกรอนหรือถึงมีก็นอย และ C = 0.10 m เมื่อดินมีการกัดกรอนรุนแรงเชน
ชายทะเล

รูปที่ 6.47 แสดงการจัดวางตําแหนงใหระยะหุม C นอยที่สุด


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 367

รูปที่ 6.48 แสดงซีกลางของมุมบนขวา


B
นําซีกลางของมุมบนขวามาขยายดังรูปที่ 6.48 ระยะขอบลางและขอบขวายาว ระยะจากเหล็ก
2
เสริมถึงขอบนอกทางขวาคือระยะหุม C รูปตัดนี้จะเห็นเสาเข็มเปนหนึง่ เสี้ยวรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดานยาว
D
สองดานจึงมีมุมที่ฐาน 45 องศา ความยาวสวนที่เหลือเมื่อหักเสาเข็มกับระยะหุมนอกออกไปแลวเทากับ
2
B D B
  C แตความยาวจากมุมซายสุดไปหาเหล็กเสริมจะเปน  C เหล็กปลอกวงในลากตั้งฉากกับ
2 2 2
เสนทแยงมุมที่เปนดานตรงกันขามมุมฉากของสามเหลี่ยมใหญ จากสามเหลี่ยมมุมฉากที่มุมอีกสองมุม 45
B 1 B 
องศา ดานตรงกันขามมุมฉากยาว C ดานประกอบมุมฉากจะยาว   C ยอนไปดูสามเหลี่ยม
2 22 
368 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

D D
มุมฉากของเสาเข็ม ดานประกอบมุมฉากยาว ดานตรงกันขามมุมฉากยาว 2 รวมกับ C เทากับ
2 2
1 B 
  C เนื่องจากเปนความยาวเดียวกัน เพียงคิดจากสองทางแตกตางกัน ดังนั้น
22 
1 B  D
  C  2 C
22  2
คูณตลอดดวย 2
B D
 C   2  2C
2 2
B
 D  C  2C
2
ไดสมการทั่วไปในการหาขนาดหนาตัดของฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตนดังนี้

B  2D  2 1  2 C 
กระจายคาใหงายตอการใชงาน
B  2D  21  1.414 C
B  2D  4.828C
ประมาณคาใหงายขึ้น
B  2D  5C
ในกรณีทั่วไป ฐานรากหางทะเลมาก การกัดกรอนนอย คา C = 0.075 m แทนคาได
B  2D  0.375 m
ในกรณีการกัดกรอนมาก เชนใกลทะเล มีหินเกลือ คา C = 0.10 m แทนคาได
B  2D  0.50 m
ฐานรากในกรณีไมกดั กรอนใหใชอยางนอย 2 เทาของขนาดเสาเข็มสี่เหลี่ยมจัตุรัสบวกอีก 0.375 เมตร และ
ในกรณีที่อยูใ นพื้นที่กดั กรอนสูง ใหใชขนาด 2 เทาของขนาดเสาเข็มสี่เหลี่ยมจัตุรัสบวกอีก 0.50 เมตร
ในกรณีของเสาเข็มกลมเชน เสาเข็มแรงเหวี่ยง (spun pile) ขนาดเสนผานศูนยกลาง D ดังรูปที่ 76
เปนหนาตัดของฐานราก แบงเปน 8 สวน แลวนําซีกลางของมุมบนขวามาพิจารณาโดยขยายออกดังรูปที่ 77
ลักษณะการพิจารณาระยะเดียวกันจากสองวิธีจะไดดังนี้
1 B  D
  C   C
22  2
คูณตลอดดวย 2
B D 2
C  C 2
2 2
คูณตลอดดวย 2
B  2C  D 2  2 2 C
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 369

สมการทั่วไปในการหาขนาดฐานรากเสาเข็มกลมเดี่ยว

B  D 2  21 2 C 
หาคาประมาณดังนี้
B  1.414D  21  1.414 C
B  1.414D  4.828C
จัดคาใหมใหเหมาะสม
B  1.5D  5C
ในกรณีทั่วไป การกัดกรอนนอย (ไกลทะเล นิคมอุสาหกรรม หินเกลือ) คา C = 0.075 m แทนคาได
B  1.5D  0.375 m
ในกรณีที่การกัดกรอนมาก คา C = 0.10 m แทนคาได
B  1.5D  0.50 m
สรุปไดวา เมือ่ เสาเข็มมีหนาตัดกลมสําเร็จรูปเสนผานศูนยกลาง D ในบริเวณที่ไมกัดกรอน ขนาดฐานราก
เปน 1.5 เทาของขนาดเสาเข็มบวกอีก 0.375 เมตร แตถาอยูในบริเวณกัดกรอนสูง ขนาดฐานรากเปน 1.5 เทา
ของขนาดเสาเข็มบวกอีก 0.50 เมตร

รูปที่ 6.49 ฐานรากบนเสาเข็มกลมเดี่ยว หาขนาดฐานราก B


370 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.50 นําซีกลางของมุมบนขวามาพิจารณา

ในกรณีของเสาเข็มเจาะ ตองมีการสกัดหัวเสาเข็มสวนบนที่คอนกรีตมีคุณภาพต่ําออกทิ้งไปจน
เหล็กเสริมโผลแลวหลอคอนกรีตใหมตอขึ้นมาเปนตอมอ ดังนั้นจึงไมตองใชหลักการเดียวกับเสาเข็ม
สําเร็จรูป ดูรูปที่ 6.51 ให Ds เปนขนาดเหล็กเสริมในเสาเข็มเจาะทีจ่ ะใหลวงเขาไปในฐานราก ขณะเดียวกัน
เหล็กในเสาตอมอก็ตองลวงเขาไปในเสาเข็มสวนที่สกัดทิ้งไป ลักษณะการผูกเหล็กเสาตอมอมีลักษณะที่ทํา
ใหการยึดเกาะกับคอนกรีตดีกวาเหล็กในเสาเข็ม หากจะวิบัติจากแรงยึดเหนีย่ วก็จะเกิดที่เหล็กเสาเข็มคือรูด
จากคอนกรีต (กรณีรับแรงดึง) ดังนั้นควรใหระยะทีเ่ หล็กเสาเข็มโผลขึ้นในสวนที่สกัดอยางนอย H > 40Ds
ตอนสกัดใหเอาเหล็กปลอกเสาเข็มทิ้งไปกอน เหล็กปลอกใหมควรมีขนาดที่โตและเรียงถี่เชน RB 9 mm @
0.10 m การกอสราง เอาเหล็กปลอกเสาเข็มที่จะใชทกุ วงสวมลงไปไวกอน สอดเหล็กตอมอลงไปจัดใหอยูใน
ตําแหนงทีต่ องการและถูกตองแลวเลื่อนเหล็กปลอกเสาเข็มขึ้นผูกจากบนลงลางใหระยะเรียง 0.10 เมตร
รอยตอจะทําแบบหลอเปนกลองสี่เหลี่ยมเพราะทํางายและราคาถูก ทั้งยังเปนที่หมายวาเปนจุดตอระหวาง
เสาเข็มกับตอมอ เทคอนกรีตใหประสานรอยตอจนเต็ม
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 371

รูปที่ 6.51 การตอตอมอกับเสาเข็มเจาะโดยตรงเมื่อใชเสาเข็ม 1 ตน

เนื่องจากเหล็กยืนไมใชเหล็กรับน้ําหนักอยางเสา เพียงทําหนาที่เปนหลักใหเหล็กปลอกยึดเกาะได
อยางมั่นคงเทานั้น ดังนั้นจึงมีเพียง 8 เสนก็เพียงพอ แตระยะหางระหวางเสนอยาใหเกิน 45 ซม ขนาดเหล็ก
หามเล็กกวา 12 มม แนะนําวาเหล็กยืนทั้ง 8 เสนควรจะเปน DB 25 mm

ลําดับขั้นตอนการออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน
ขั้นตอนที่ 1 ทราบขอมูลดังนี้
D = ขนาดเสาเข็ม อาจจะเปนความกวางของหนาตัดสี่เหลี่ยม เสนผานศูนยกลางเสาเข็มกลม, m
Pc = กําลังของเสาเข็ม, ตัน/ตน
a = ขนาดหนาตัดตอมอหรือเสนผานศูนยกลางตอมอ, m
b = ขนาดหนาตัดตอมอ, m
P = DL + LL =น้ําหนักลงตอมอ, ตัน
DL = น้ําหนักบรรทุกคงที่, ตัน
LL = น้ําหนักบรรทุกจร, ตัน
ทราบชนิดของเสาเข็ม
372 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1. เสาเข็มเจาะ
2. เสาเข็มสําเร็จรูป หนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัส, I
3. เสาเข็มสําเร็จรูปชนิดหนาตัดกลม เชนเสาเข็มแรงเหวีย่ ง (spun pile)

กรณีเสาเข็มเจาะ

ขั้นตอนที่ 2 ทราบขนาดเหล็กยืนในเสาเข็ม , Ds
ขั้นตอนที่ 3 หาความสูงชวงรอยตอที่ตองสกัดหัวเสาเข็มใหเหล็กโผล H  40D s
ขั้นตอนที่ 4 เลือกเหล็กปลอก อาจจะใช ป-RB 6 mm @ 0.10 m หรือ ป-RB 9 mm @ 0.10 m หรือ ป-DB 12
mm @ 0.10 m แลวแตขนาดเสาเข็มเจาะนั้น หากขนาดเสาเข็มเล็กเชน เสนผานศูนยกลาง 0.35 เมตร
ถึง 0.50 เมตร ก็ใชเหล็กปลอกขนาดเล็ก คือ ป-RB 6 mm @ 0.10 m ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.60
เมตร ถึง 0.80 เมตร ใชเหล็กปลอก ป-RB 9 mm @ 0.10 m โตกวานั้นใชเหล็กปลอก ป-DB 12 mm @
0.10 m
ตรวจสอบน้ําหนักลงเสาเข็มตองไมเกินกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม หากเกินก็จะเปนการ
ออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตนขึ้นไป
ขั้นตอนที่ 5 แสดงผลลัพธในการออกแบบ คือขนาดของฐานรากหรือจุดตอ B=D, ความสูงของรอยตอ
H  40D s และเหล็กปลอกที่ใช
ขั้นตอนที่ 6 เขียนรายละเอียดแบบฐานราก

กรณีเสาเข็มสําเร็จรูปหนาตัดสี่เหลี่ยมจัตุรัสและหนาตัดกลม

ขั้นตอนที่ 2 หาระยะที่หวั เสาเข็มฝงในฐานราก  D


หาระยะจากหัวเสาเข็มถึงโคนตอมอ  D
หาความสูงของฐานราก = ผลบวกของระยะที่หวั เสาเข็มฝงกับระยะจากหัวเสาเข็มถึงโคนตอมอ

H  2D

ขั้นตอนที่ 3 ทราบสถานะของพื้นที่นั้นเปนประเภทไมกัดกรอนหรือกัดกรอนรุนแรงเชนริมทะเล มีหิน


เกลือจากการสังเกตวามีการผลิตเกลือสินเธาว หรืออาจจะกัดกรอนรุนแรงไดในอนาคต เชนเขตนิคม
อุตสาหกรรมหรือใกลเคียง หรือเปนบริเวณที่มีประกาศใหเปนอีสเทอรนซีบอรด ทํานองนี้
ขั้นตอนที่ 4 หาขนาดฐานราก B ตามเงื่อนไขดังนี้
หนาตัดเสาเข็มเปนสี่เหลี่ยมผืนผา พื้นที่ไมมีการกัดกรอน
B  2D  0.375 m
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 373

หนาตัดเสาเข็มเปนสี่เหลี่ยมผืนผา พื้นที่มีการกัดกรอนรุนแรง
B  2D  0.50 m
หนาตัดเสาเข็มวงกลม พื้นที่ไมมีการกัดกรอน
B  1.5D  0.375 m
หนาตัดเสาเข็มวงกลม พื้นที่มีการกัดกรอน
B  1.5D  0.50 m
ขั้นตอนที่ 5 กําหนดปริมาณเหล็กยืน ในขั้นตนใหเลือก 8-DB 25 mm แลวตรวจสอบระยะหางระหวางเสน
ตามขอบฐานรากวาหางกันเกิน 45 cm หรือไม หากเกินใหปรับใหมเปน 16-DB 20 mm
เหล็กปลอกใหใช 2-ป-RB 9 mm @ 0.10 m ทุกกรณี
ขั้นตอนที่ 6 เขียนรายละเอียด แบบฐานราก

ตัวอยางที่ 6.9 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม I  0.30  0.30  21 m กําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มที่ยอม


ให 40 ตัน/ตน ตอมอขนาด 0.30  0.30 m 2 รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 18 ตัน และน้ําหนัก
บรรทุกจรใชงาน 14 ตัน กําลังคอนกรีต f c'  240 ksc และกําลังครากเหล็กเสริม f y  4000 ksc
หัวเสาเข็มลึกจากผิวดิน 2.00 เมตร

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
D  0.30 m  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม กรณีนค ี้ ือความกวางของจัตุรัสหนาตัดเสาเข็ม
Pc  40 T / pile  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมใหของเสาเข็ม
a  b  0.30 m  ขนาดหนาตัดตอมอ
DL  18 tonne  น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน (serviced dead load)
LL  14 tonne  น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน (serviced live load)
P  DL  LL  32 tonne  น้ําหนักบรรทุกใชงานรวมลงตอมอ
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของคอนกรีตทรงกระบอกที่ 28 วัน
f y  4000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม
ชนิดของเสาเข็มเปนเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงหนาตัดสี่เหลี่ยมตัน
จํานวนเสาเข็มโดยประมาณ
1.1P 1.1  32
N   0.88  1 ตน
Pc 40
เปนฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน
374 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ระยะทีห่ วั เสาเข็มฝงในฐานราก  D  0.30 m ใช 0.30 เมตร


ระยะจากหัวเสาเข็มถึงโคนตอมอ  D  0.30 m ใช 0.30 เมตร
ความสูงหรือความหนาของฐานราก H F  0.30  0.30  0.60 m
ขั้นตอนที่ 3 ทราบสถานะของพื้นที่กอสราง โจทยไมระบุวาเปนพื้นที่กัดกรอนสูง และไดไปตรวจพื้นที่จริง
แลว แนใจวาไมมีการกัดกรอนสูงแนนอน ดังนั้นระยะหุม คอนกรีต C = 7.5 cm = 0.075 m
ขั้นตอนที่ 4 ขนาดของฐานราก
B  2D  0.375  2  0.30  0.375  0.975  1.00 m
ระยะครึ่งหนึ่งของขนาดฐานราก
B 1.00
  0.50 m
2 2
ความยาวของเสาตอมอ
H p  2.00  0.30  1.70 m
น้ําหนักตอมอ
Wp  2400abH p  2400  0.30  0.30  1.70  367.2 kg
น้ําหนักฐานราก
WF  2400B 2 H F  2400  1.00 2  0.60  1440 kg
น้ําหนักดินถม
   
WBF  1690 B 2  ab H p  1690  1.00 2  0.30  0.30  1.70
WBF  2614.43 kg
น้ําหนักบรรทุกรวมจริงถายลงเสาเข็ม
P  32,000  367.2  1440  2614.43  36,421.63 kg  Pc  40,000 kg
น้ําหนักที่กดลงไมเกินกําลังของเสาเข็ม ใชได
ขั้นตอนที่ 5 กําหนดปริมาณเหล็กยืนและเหล็กปลอก สําหรับเหล็กยืนใช 8-DB 25 mm ตรวจสอบระยะหาง
ระยะหุมสองขางๆ ละ 7.5 cm ขนาดเหล็ก 2.5 cm ระยะหางของศูนยกลางเหล็กยืนทอนริม
เทากับ 100 – 7.5 – 7.5 – 2.5 = 82.5 cm ชวงหางระหวางเสน 2 ชวง ดังนั้นเหล็กยืนหางกัน
82.5
  41.25 cm  45 cm ใชได
2
ดังนั้นใชเหล็กยืน 8-DB 25 mm และเหล็กปลอก 2-ป RB 9 mm @ 0.10 m
ขั้นตอนที่ 6 เขียนรายละเอียดของฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 375

รูปที่ 6.52 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน ตัวอยางที่ 6.9


376 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.10 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็มแรงเหวีย่ ง Spun 0.60  26.00 m กําลังรับน้ําหนักของ


เสาเข็มที่ยอมให 80 ตัน/ตน ตอมอขนาด 0.50  0.50 m 2 รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 38 ตัน และ
น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 30 ตัน กําลังคอนกรีต f c'  240 ksc และกําลังครากเหล็กเสริม
f y  4000 ksc หัวเสาเข็มลึกจากผิวดิน 2.00 เมตร เปนพืน
้ ที่ใกลทะเล

วิธีทํา

ขั้นตอนที่ 1 รวบรวมขอมูล
D  0.60 m  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม กรณีนค ี้ ือเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มแรงเหวีย่ ง
Pc  80 T / pile  กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมใหของเสาเข็ม
a  b  0.50 m  ขนาดหนาตัดตอมอ
DL  38 tonne  น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน (serviced dead load)
LL  30 tonne  น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน (serviced live load)
P  DL  LL  68 tonne  น้ําหนักบรรทุกใชงานรวมลงตอมอ
f c'  240 ksc  กําลังประลัยของคอนกรีตทรงกระบอกที่ 28 วัน
f y  4000 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม
ชนิดของเสาเข็มเปนเสาเข็มแรงเหวีย่ งคอนกรีตอัดแรง
จํานวนเสาเข็มโดยประมาณ
1.1P 1.1  68
N   0.935  1 ตน
Pc 80
เปนฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน
ขั้นตอนที่ 2 ระยะทีห่ วั เสาเข็มฝงในฐานราก  D  0.60 m ใช 0.60 เมตร
ระยะจากหัวเสาเข็มถึงโคนตอมอ  D  0.60 m ใช 0.60 เมตร
ความสูงหรือความหนาของฐานราก H F  0.60  0.60  1.20 m
ขั้นตอนที่ 3 ทราบสถานะของพื้นที่กอสราง โจทยระบุวาเปนพืน้ ทีใ่ กลทะเลจึงมีการกัดกรอนสูง ดังนั้น
ระยะหุมคอนกรีต C = 10 cm = 0.10 m
ขั้นตอนที่ 4 ขนาดของฐานราก
B  1.5D  0.50  1.5  0.60  0.50  1.40 m
ระยะครึ่งหนึ่งของขนาดฐานราก
B 1.40
  0.70 m
2 2
ความยาวของเสาตอมอ
H p  2.00  0.60  1.40 m
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 377

น้ําหนักตอมอ
Wp  2400abH p  2400  0.50  0.50  1.40  840 kg
น้ําหนักฐานราก
WF  2400B 2 H F  2400  1.40 2  1.20  5644.8 kg
น้ําหนักดินถม
  
WBF  1690 B 2  ab H p  1690  1.40 2  0.50  0.50  1.40 
WBF  4045.86 kg
น้ําหนักบรรทุกรวมจริงถายลงเสาเข็ม
P  68,000  840  5644.8  4045.86  78,530.66 kg  Pc  80,000 kg
น้ําหนักที่กดลงไมเกินกําลังของเสาเข็ม ใชได
ขั้นตอนที่ 5 กําหนดปริมาณเหล็กยืนและเหล็กปลอก สําหรับเหล็กยืนใช 8-DB 25 mm ตรวจสอบระยะหาง
ระยะหุมสองขางๆ ละ 10 cm ขนาดเหล็ก 2.5 cm ระยะหางของศูนยกลางเหล็กยืนทอนริม
เทากับ 140 – 10 – 10 – 2.5 = 117.5 cm ชวงหางระหวางเสน 2 ชวง ดังนั้นเหล็กยืนหางกัน
117.5
  58.75 cm  45 cm ใชไมได
2
เพิ่มเหล็กยืนเปน 16-DB 25 mm ชวงหางระหวางเสน 4 ชวง ดังนัน้ เหล็กยืหางกัน
117.5
  29.375 cm  45 cm ใชได
4
ดังนั้นใชเหล็กยืน 16-DB 25 mm และเหล็กปลอก 2-ป RB 9 mm @ 0.10 m
ขั้นตอนที่ 6 เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็กฐานราก
378 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.53 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็มแรงเหวี่ยง


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 379

รูปที่ 6.54 เขียนเพิ่มเหล็กเสริมยืนใหเปน 16 เสน


380 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.11 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็มเจาะขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.35 เมตร ยาว 21 เมตร กําลัง


รับน้ําหนักทีย่ อมใหของเสาเข็ม 35 ตัน/ตน เสาตอมอเปนเสากลมเสนผานศูนยกลาง 0.30 เมตร รับ
น้ําหนัก 27 ตัน เหล็กเสริมในเสาเข็มสั่งพิเศษ 12-DB 12 mm (ปกติใชเพียง 6-DB 12 mm) กําลัง
คอนกรีตเสาเข็ม f c'  210 ksc กําลังคอนกรีตในฐานรากและเสาตอมอ f c'  240 ksc และกําลัง
ครากของเหล็กเสริมทั้งในเสาเข็มเจาะ ฐานราก และเสาตอมอ f y  3000 ksc
วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไป
D  0.35 m  เสนผานศูนยกลางเสาเข็ม
Pc  35 T / pile  กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็ม
a  b  0.30 m  เสาตอมอกลมเสนผานศูนยกลาง 0.30 เมตร
P  27 tonne  น้ําหนักบรรทุกใชงานลงตอมอ
ประมาณจํานวนเสาเข็ม
1.1P 1.1  27
N   0.85  1 ตน
Pc 35

ขั้นตอนที่ 2 ขนาดเหล็กยืนในเสาเข็ม D s  12 mm

12
ขั้นตอนที่ 3 ระยะที่ตองสกัดหัวเสาเข็ม H  40D s  40   0.45 m ใช 0.60 เมตร
1000

ขั้นตอนที่ 4 แมวาเสาเข็มจะขนาดเล็กและเหล็กยืนก็มีขนาดเล็ก แตก็เสนอแนะใหใชเหล็กปลอกขนาดใหญ


และวางถี่ โดย ป-RB 9 mm @ 0.10 m ทําฐานรากสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 0.35  0.35  0.60 คือสูง 0.60
เมตร ความยาวของตอมอประมาณ 1.50 เมตร

น้ําหนักของตอมอ Wp  2400   0.30 2  1.50  254.5 kg
4
น้ําหนักฐานราก WF  2400  0.35  0.35  0.60  176.4 kg
  
น้ําหนักดินถม WBF  1690   0.35  0.35   0.30 2   1.50  131.3 kg
 4 
น้ําหนักรวมลงเสาเข็ม  27,000  254.5  176.4  131.3  27,562.2 kg  35,000 kg
แสดงวาฐานรากและเสาเข็มรับน้ําหนักได

ขั้นตอนที่ 5 ไดผลลัพธฐานรากขนาด 0.35  0.35  0.60

ขั้นตอนที่ 6 เขียนรายละเอียดฐานรากไดดงั รูปที่ 6.55 ซึ่งตองเขียนเอง โปรแกรมไมไดเตรียมกรณีนเี้ อาไว


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 381

รูปที่ 6.55 ฐานรากบนเสาเข็มเจาะตนเดียว


382 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.16. การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน

รูปที่ 6.56 ฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

พิจารณารูปที่ 6.56 เปนฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน ขนาดหนาตัดหรือเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม D


ความลึกประสิทธิผล d ดังรูปที่ 6.56(ข)
การทํางานของโครงสรางประเภทฐานรากนั้นจะตองตานทานแรงอยูส ามอยางคือ แรงเฉือนแบบ
คาน (beam shear) ที่หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบนี้จะหางจากขอบตอมอออกไปเทากับระยะความลึก
ประสิทธิผล d แรงอยางที่สองคือคือแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ (punching shear) ที่หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือน
d
แบบนี้อยูรอบๆ ตอมอ หางจากขอบของตอมอเปนระยะ ดังแสดงในรูปที่ 6.56(ก) และสุดทายคือแรงดัด
2
ที่ขอบตอมอ M คาความลึกประสิทธิผล d ตองมากพอที่จะทําใหอัตราสวนเหล็กเสริมตอคอนกรีตไมเกิน
คาสูงสุดหรือ   0.75 b จึงตองการเฉพาะเหล็กรับแรงดึง การโกงตัวจึงนอย หากฐานรากบางเกินไปจน
ตองอาศัยเหล็กรับแรงอัดมาชวย แมจะไมหักจากแรงดัดแตการโกงตัวมาก เสาเข็มดานขอบฐานรากรับแรง
นอยกวาเสาเข็มใกลตอมอ การรับแรงโดยรวมของเสาเข็มจะนอยลง
ระยะ C1 ในรูปที่ 6.56 (ก) คือระยะหางจากหนาตัดวิกฤตแบบเจาะทะลุถึงขอบฐานราก ซึ่งตองอยู
ในบริเวณที่มีเหล็กเสริมอยู นั่นคือ C1 ตองไมนอ ยกวาระยะหุม เหล็กเสริม ในบริเวณที่ไมกัดกรอน
C1  0.075 m แตถามีการกัดกรอนเชนริมทะเล ใช C1  0.10 m ดังนั้นเพื่อความสะดวกกับการใชงาน
ไดทั้งสองกรณีจึงใช C1  0.10 m
B
ความกวางฐานราก B จึงตองพิจารณาจากเหตุผลสองประการคือ ระยะ ตองไมนอ ยกวาขนาด
2
ของเสาเข็ม D และ B ตองเทากับหรือมากกวา b  d  2C1 ดังนั้น
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 383

B
D หรือ B  2D
2

และ

B  b  d  2C 1

ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม D1 ควรจะอยูระหวาง 1.5D ถึง 3D ระยะ 3D ไดผลดีที่สุดซึ่งจะ


ควบคุมดวยระยะ 3D นี้

D1  3D

เมื่อ C เปนระยะหางจากศูนยกลางเสาเข็มตนริมถึงขอบฐานราก ตองไมนอยกวาขนาดเสาเข็ม D

CD

ความยาวขอบยาวของฐานราก A จะเกิดจากผลรวมของ D1 กับ C สองขาง ดังนั้น

A  D 1  2C

การพิจารณาแรงเฉือนจากเสาเข็ม

รูปที่ 6.57 การพิจารณาแรงเฉือนจากเสาเข็มที่หางจากหนาตัดวิกฤตตางๆ กัน


384 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จากรูปที่ 6.57 แรงตานเฉลี่ยของเสาเข็ม P ถือวาเทากันทุกตน ซึ่งเกิดจากการที่ฐานรากมีความหนา


มากเพียงพอใหการทรุดตัวของเสาเข็มลงพรอมๆ เทาๆ กัน หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนไมวาจะเปนแบบเจาะ
ทะลุหรือแบบคานจะแบงเสาเข็มวาเปนดานนอกกับดานใน วิธีพิจารณาใหเสมือนไปยืนตรงหนาตัดวิกฤต
หากหันไปมองที่เสาตอมอ เสาเข็มที่อยูจากหนาตัดวิกฤตไปหาเสาตอมอ เรียกวา เสาเข็มดานใน เชนเสาเข็ม
หมายเลข (1) และ (2) แลวหากมองออกไปที่ขอบฐานราก เสาเข็มจากหนาตัดวิกฤตไปยังขอบฐานราก
เรียกวา เสาเข็มดานนอก เชนเสาเข็มหมายเลข (3) และหมายเลข (4)
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มไปยังหนาตัดวิกฤต หากเปนเสาเข็มดานนอกจะเปนบวก เชน x3 และ
x4 หากเปนเสาเข็มดานในจะเปนลบ เชน x1 และ x2
กําหนดให V  แรงเฉือนจากเสาเข็ม, kg
P  แรงตานทานเฉลี่ยของเสาเข็มที่ยอมให , kg/ตน
D  ขนาดหนาตัดหรือเสนผานศูนยกลางของเสาเข็ม, m
x  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงหนาตัดวิกฤต, m เสาเข็มดานนอกเปนบวก ดานในเปนลบ
D
เมื่อ x แรงเฉือนจากเสาเข็มไมมี V  0
2
เมื่อ 
D
x
D
แรงเฉือนจากเสาเข็ม V  P 1  x 
2 2 2 D
D
เมื่อ x แรงเฉือนจากเสาเข็ม V  P
2
หากพิจารณาจากรูปที่ 6.57 แรงจากเสาเข็มหมายเลข (1) อาจจะไมมีผลเปนแรงเฉือน V เพราะ
อาจจะมีคา x 1  D แรงจากเสาเข็มหมายเลข (2) อาจจะมีผลบาง อยูระหวาง 0 กับ P
เมื่อ  D  x 2  0
2 2 2
P D
แรงจากเสาเข็มหมายเลข (3) อาจจะมีผลบางอยูระหวาง กับ P เมื่อ 0  x 3  แรงจากเสาเข็ม
2 2
D
หมายเลข (4) อาจจะมีผลเต็มที่หาก x4  สังเกตวาเมื่อศูนยกลางเสาเข็มอยูตรงหนาตัดวิกฤตนั้นแรง
2
เฉือน V  P
2
ยอนกลับไปดูรูปที่ 6.56 ศูนยกลางเสาเข็มหางจากหนาตัดวิกฤต x เทากันทั้งสองตน ตามรูปนัน้
เสาเข็มทั้งสองตนเปนเสาเข็มภายนอก ระยะ x หาไดดังนี้
D1 a d D1  a  d
x   
2 2 2 2
คา x ที่คํานวณไดอาจจะเปนลบก็ได เมื่อทราบคา x แลวนําไปคํานวณหาแรงเฉือนตอไป และเนือ่ งจากมี
เสาเข็มสองตน
ถา x   D แรงเฉือนแบบเจาะทะลุคือ V  0
2
ถา  D  x  D แรงเฉือนแบบเจาะทะลุคือ V  2P 1  x 
2 2 2 D
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 385

ถา x  D แรงเฉือนแบบเจาะทะลุคือ V  2P
2

รูปที่ 6.58 หนาตัดวิกฤตสําหรับแรงเฉือนและแรงดัด


d
จากรูปที่ 6.58 หนาตัดวิกฤต (1) สําหรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุหางจากขอบตอมอระยะ ใชใน
2
การคํานวณหาคาความลึกประสิทธิผล d
หนาตัดวิกฤต (2) สําหรับแรงเฉือนแบบคานเนื่องจากเสาเข็ม 1 ตนทางขวา หนาตัดวิกฤตหางขอบ
ตอมอระยะทาง d ใชในการคํานวณหาคาความลึกประสิทธิผล d
หนาตัดวิกฤต (3) สําหรับแรงเฉือนแบบคาน แตไมมแี รงจากเสาเข็มเลย จึงไมตองพิจารณา
หนาตัดวิกฤต (4) ตรงขอบของตอมอ ใชในการหาแรงดัด M 4 จากแรงตานของเสาเข็ม
D1  a
M4  P  RBd 2
2
ความลึกประสิทธิผลที่ตองการ
M4
d  30 cm
RB
ปริมาณเหล็กเสริมที่ตองใช
M4
A s1 
f s jd
386 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เหล็กเสริม SR-24 มี  temp  0.0025


เหล็กเสริม SD-30 มี  temp  0.0020
เหล็กเสริม SD-40 มี  temp  0.0018
ใหความหนาฐานรากเปน T
ปริมาณเหล็กเสริมขั้นต่ํา

A s1   temp Bt

สําหรับเหล็กทางขวางขนานขอบ B นั้นใหใชเหล็กเสริมขั้นต่ํา กลาวคือ

A s 2   temp At

จัดเหล็กเสริมลงฐานราก ระยะหางระหวางเหล็กเสริมไมเกิน 45 cm
ตองตรวจสอบระยะฝงของเหล็กเสริม A s1 ที่วางตัวขนานขอบยาว A โดยวัดจากหนาตัดวิกฤต (4)
ถึงหางจากขอบขวาของฐานรากระยะ 0.10 เมตร ที่เปนระยะหุม นัน่ คือระยะฝงจริงคือ
Aa
Ld   0.10 m
2
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy
 db  0.06A b
f c'
ตรวจสอบให L d   db หากพบวา L d   db ใหเพิ่มระยะ D1 มากขึ้น หรือปรับลดขนาดเหล็กใหเล็กลง
เหล็กเสริม A s1 เปนเหล็กเสริมเอกจึงตองพยายามจัดใหอยูลางสุดเพื่อใหระยะความลึกประสิทธิผล
d มากที่สุด สวนเหล็ก A s 2 เปนเหล็กกันราววางซอนถัดขึน้ มา ควรเลือกใชเหล็กเล็กๆ แตถาถี่เกินไปให
เลือกเหล็กที่โตขึ้น
หากการออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน ใชความกวางของฐานราก B = 2D หรือสองเทาของ
ขนาดเสาเข็มแลว ฐานรากอาจจะมีสภาพเปนคานลึก โดยเหล็กขนานขอบยาว A เปนเหล็กรับแรงดัด เหล็ก
รับแรงเฉือนจะมีทั้งเหล็กทางตั้งที่งอเหล็กขนานขอบกวาง B ขึ้นมา และเหล็กทางนอนซึ่งตองการมากกวา
เหล็กทางตั้งเสียอีก
ถากําหนดความกวาง B  2D และ B  b  d  2C1 ใหหนาตัดวิกฤตแบบเจาะทะลุครอบอยูใน
เหล็กเสริมของฐานราก ก็จะไมมีสภาพของคานลึกอีก สามารถออกแบบไดดังอธิบายมาแลว
ฐานรากวางบนเสาเข็ม 2 ตน จะมีแนวโนมในการพลิกทางดานขาง หากมีเหล็กสมอ (dowel) ที่เปน
เหล็กเสริมธรรมดาก็ใหลวงฝงเขาในเนื้อฐานรากโดยทําใหบานออกจะรูดไดยากขึน้ แตถาไมมีเหล็กสมอมี
แตลวดอัดแรง ใหสะกัดหัวเสาเข็มแลวเชื่อมเหล็กสมอเขากับลวดอัดแรงแทน
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 387

ลําดับขั้นตอนการออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน
ขั้นตอนที่ 1 ตรวจสอบขอมูลที่ทราบกอนแลว
f c'  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐาน, ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริม, ksc
Pc  กําลังตานทานที่ยอมใหของเสาเข็ม, kg/ตน
DL  น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน, kg
LL  น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน, kg
P  DL  LL  น้ําหนักบรรทุกใชงานบนตอมอ, kg
a  ขนาดหนาตัดตอมอสี่เหลี่ยม แนวนอนตามรูปที่ 82, m
b  ขนาดหนาตัดตอมอสี่เหลี่ยม แนวตั้งตามรูปที่ 82, m
กรณีที่ตอมอเปนเสากลม a  b  เสนผานศูนยกลางเสาตอมอ, m
L  ความลึกของทองฐานรากทีส ่ มมติที่ระดับหัวเสาเข็ม, m
D  ขนาดของเสาเข็มสี่เหลี่ยมหรือเสนผานศูนยกลางเสาเข็มกลม
C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต
C  D  ระยะหางจากเสาเข็มตนริมถึงขอบฐานราก
คํานวณคาเบื้องตนตอไปนี้
f c  0.375f c'  65 ksc
f s  0.5f y  1700 ksc
E s 2,040,000 135.099
n  
E c 15,100 f ' f c'
c
1
k
fs
1
nf c
k
j 1
3
1
R f c kj
2
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมกันแลว 1.10 ถึง 1.20 ของน้ําหนักที่ลงตอมอ
จากนั้นหาจํานวนเสาเข็มที่ตอ งการโดยประมาณดังนี้
1.1P
Np  ปดขึ้นเปนจํานวนเต็มเสมอ
Pc
ถา N p  1 ใหไปออกแบบเปนฐานรากบนเสาเข็ม 1 ตน
ถา N p  2 ใหดําเนินการตอไป
ถา N p  2 ใหไปออกแบบตามกรณีนั้นๆ
388 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เขียนแปลนฐานรากตามรูปที่ 6.59

รูปที่ 6.59 ฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน

ระยะ C  D ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานรากไมนอยกวาขนาดเสาเข็ม
ระยะ D1  3D ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็มไมนอยกวา 3 เทาของขนาดเสาเข็ม (อาจจะนอยกวาได)
ดังนั้นระยะ A  D1  2C ซึ่งอาจจะเพิ่มขึน้ บางใหเปนตัวเลขลงตัว
ความหนาของฐานรากบนเสาเข็มอยางนอย 0.40 เมตร โดยระยะหุม C1 = 0.10 เมตร ดังนั้นความลึก
ประสิทธิผลขั้นต่ําคือ 0.40 – 0.10 = 0.30 m = 30 cm
ความกวางขั้นต่ํา B หาจากคามากของ
B  2D
B  b  d  2C1

B  b  0.30  2  0.10  b  0.50


หาน้ําหนักสุทธิ
P  DL  LL
แรงตานเฉลี่ยสุทธิของเสาเข็ม
P P
Pr  
Np 2

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณแรงเฉือน V4  Pr และแรงดัด M 4  V4 D12 a


หาความลึกประสิทธิผลจากการดัด
M4
d  30 cm
RB
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 389

คา d ที่ไดหากนอยกวา 30 cm ใหใช d = 30 cm ถามากกวาใหเลือกคามากนั้น อยาลืมปรับความกวางฐานราก


ใหมตาม B  b  d  2C1

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
d
หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบเจาะทะลุนั้นจะหางจากขอบตอมอเปนระยะ โดยรอบ ดังนั้นหา
2
ระยะหาง x จากศูนยกลางเสาเข็มแตละตนไปยังหนาตัดวิกฤต ถาเสาเข็มคอนไปดานในเลยหนาตัดวิกฤตไป
ทางตอมอ คา x จะเปน ลบ แตถาเลยหนาตัดวิกฤตออกไปดานขอบฐานราก คา x จะเปนบวก หาแรงเฉือน
แบบเจาะทะลุจากเสาเข็มแตละตนดังนี้
ถา x   D q1  0
2
1 x 
ถา  D  x  D q 1  Pr   
2 2 2 D
ถา x  D q 1  Pr
2
โดยที่ Pr  แรงตานของเสาเข็มแตละตน , kg/ตน
q 1  แรงตานของเสาเข็มตามระยะหางจากหนาตัดวิกฤต, kg/ตน
D  ขนาดเสาเข็ม, cm
Vp   q 1  2q 1  แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ, kg
เมื่อไดแรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มทุกตน Vp แลว หากําลังที่คอนกรีตรับได

Vcp  0.53 f c' b o d

เมื่อ Vcp  แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได, kg


f c'  กําลังคอนกรีตทรงกระบอกมาตรฐานอายุ 28 วัน, ksc
d  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก, cm
b w  B  ความกวางฐานรากดานรับแรงเฉือนแบบคาน, cm
b o  เสนรอบรูปของหนาตัดวิกฤตแบบเจาะทะลุ, cm
b o  2a  d   2b  d   2a  b  2d  สําหรับเสาหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา
b o  a  d  สําหรับเสาหนาตัดกลม
a  ดานสั้นของหนาตัดเสาสี่เหลี่ยมผืนผา หรือเสนผานศูนยกลางเสากลม, cm
b  ดานยาวของหนาตัดสี่เหลี่ยมผืนผา, cm
ถาตรวจสอบพบวา Vcp  Vp แสดงวาความหนาของฐานรากเพียงพอที่จะรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ได
390 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ถาตรวจสอบพบวา Vcp  Vp แสดงวาความหนาของฐานรากไมเพียงพอ ใหเพิม่ คา d ขึ้นอีกเชนคราว


ละ 5 cm แลวตรวจสอบใหมจนกวาจะพบ Vcp  Vp จึงจะไปขั้นตอนถัดไปได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน
หนาตัดวิกฤตจะหางจากขอบตอมอเปนระยะ d
หนาตัดวิกฤตขนานขอบกวางของฐานราก
หนาตัดวิกฤตของแรงเฉือนแบบคานนั้นจะหางจากขอบตอมอเปนระยะ d ดังนั้นหาระยะหาง x จาก
ศูนยกลางเสาเข็มแตละตนไปยังหนาตัดวิกฤต ถาเสาเข็มคอนไปดานในเลยหนาตัดวิกฤตไปทางตอมอ คา x
จะเปน ลบ แตถาเลยหนาตัดวิกฤตออกไปดานขอบฐานราก คา x จะเปนบวก หาแรงเฉือนแบบคานจาก
เสาเข็มแตละตนดังนี้
ถา x   D2 q1  0

1 x 
ถา  D2  x  D2 q1  Pr   
 2 Dp 
 
ถา x  D2 q1  Pr

โดยที่ Pr  แรงตานของเสาเข็มแตละตน , kg/ตน


q1  แรงตานของเสาเข็มตามระยะหางจากหนาตัดวิกฤต, kg/ตน

D  ขนาดเสาเข็ม, cm

Vb 2   q1  q1  แรงเฉือนแบบคาน, kg

แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได Vc 2  0.29 f c' Bd ระยะตางๆ หนวยเซนติเมตร

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบแรงตานเฉลี่ยของเสาเข็มวาไมเกินกวาคาทีย่ อมให


หาน้ําหนักจริงของตอมอ ฐานราก ดินถม รวมกับน้ําหนักลงตอมอ หารดวยจํานวนเสาเข็มตองไมเกิน
คาที่ยอมให
P  Wp  WF  WBF
q  Pc
Np

เมื่อ q แรงตานของเสาเข็มที่เกิดขึน้ จริง, kg/ตน


Pc  แรงตานทานของเสาเข็มที่ยอมให, kg/ตน

N p  2  จํานวนเสาเข็ม, ตน

a = ความกวางของตอมอขนานขอบยาวของฐานราก, m
b = ความยาวของตอมอขนานขอบสั้นของฐานราก, m
d = ความลึกประสิทธิผลของฐานราก, m
H = ความลึกของทองฐานรากวัดจากระดับดิน, m
HF = ความหนาของฐานราก (ไมรวมคอนกรีตหยาบ), m
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 391

HP = H-HF = ความยาวของตอมอและความหนาของดินถม, m
P = น้ําหนักจากโครงสรางดานบนถายลงตอมอ, kg
WF  2400BLH F  น้ําหนักของฐานราก, kg
Wp  2400abH p  น้ําหนักของตอมอ, kg
WBF  1690H p BL  ab   น้ําหนักดินถม, kg
ถาตรวจสอบพบวา q  q a ใหเพิ่มจํานวนเสาเข็มแลวไปออกแบบฐานรากบนเสาเข็มมากกวา 2 ตน

ขั้นตอนที่ 7 หาเหล็กเสริม
เมื่อ p r  แรงตานเฉลี่ยสุทธิของเสาเข็ม, kg
D1  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม, cm

a  ขนาดหนาตัดตอมอขนานขอบยาว, cm

H F  ความหนาของฐานราก, cm

d  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก , cm (ประมาณ H F  10

V4  p r  แรงเฉือนที่ขอบตอมอ, kg
D a
M 4  pr  1   โมเมนตดัดทีข
่ อบตอมอ, kg  cm
 2 
หาเหล็กขนานขอบยาวของฐานราก
M4
As  cm 2
f s jd

เลือกขนาดเหล็ก ทราบ As1,  O1 ซึ่งเปนเนื้อที่หนาตัดเหล็กหนึ่งเสน และเสนรอบรูปเหล็กหนึ่งเสน


ตามลําดับ หาหนวยแรงยึดเหนี่ยว
f c'
กรณีเหล็กขอออย u  3.23
db
 35 ksc

'
กรณีเหล็กผิวเรียบ u
3.23 f c
2 db
 11 ksc

หาเสนรอบรูปรวมที่ตองการ
 O  ujd4
V

หาจํานวนเสนขนานขอบยาว
N1  s ปดขึ้นเปนจํานวนเต็มเสมอ
A
A s1

N2 
 O ปดขึ้นเปนจํานวนเต็มเสมอ
 O1
เลือกคามากระหวาง N1 กับ N 2 ตรวจสอบระยะเรียงอยาใหเกิน 45 ซม โดยเสนริมหางขอบฐานราก 10 ซม
โดยปกติคาที่เหมาะสมสําหรับระยะเรียงคือ 15 ซม
392 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

A b B  2  0.10
s
As4
หนวย m
หาระยะฝงพื้นฐาน
fy
 db  0.06A b  30 cm
f c'

ระยะฝงพืน้ ฐานจริง
L db 
A a
  0.10
2 2
หนวย m
ถา Ldb   db แสดงวาเลือกเหล็กโตเกินไปใหลดขนาดเหล็กลงจนกวา L db   db หรือเพิ่มระยะ D1  3D
แลวตรวจสอบใหม
หาเหล็กขนานขอบสั้นของฐานราก
เหล็กเสริม SR-24 มี temp  0.0025
เหล็กเสริม SD-30 มี temp  0.0020
เหล็กเสริม SD-40 มี temp  0.0018
ใหความหนาฐานรากเปน t
ปริมาณเหล็กเสริมขั้นต่ํา

A s1   temp Bt

สําหรับเหล็กทางขวางขนานขอบ B นั้นใหใชเหล็กเสริมขั้นต่ํา กลาวคือ

A s 2   temp At

ปรับเนื้อที่หนาตัดเหล็กเสริมใหม
2A
A sB  As 2
AB
จัดเหล็กเสริมลงฐานราก ระยะหางระหวางเหล็กเสริมไมเกิน 45 cm

ตัวอยางที่ 16 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม I  0.26  0.26  21 m รับน้ําหนักที่ยอมให 25 ตัน/ตน ตอมอ


ขนาด 0.25  0.25 m 2 รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 25 ตัน และน้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 15 ตัน หัว
เสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมประมาณ 1.50 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  210 ksc กําลังครากของเหล็ก
เสริม f y  4000 ksc
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  210 ksc
f c  0.375f c'  0.375  210  78.75  65 ksc
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 393

f y  4000 ksc
f s  0.5f y  0.5  4000  2000  1700 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     9.32
E c 15,100 f ' f ' 210
c c
1 1
k   0.263
fs 1700
1 1
nf c 9.32  65
k 0.263
j 1  1  0.912
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.263  0.912  9.372 ksc
2 2
Pc  25,000 kg / pile
DL  25,000 kg
LL  15,000 kg
P  DL  LL  25,000  15,000  40,000 kg

a  b  0.25 m  25 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนัก น้ําหนักตอมอ น้ําหนักดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวน


เสาเข็ม
1.2P 1.2  40,000
Np    1.92  2 ตน
P c 25,000

จัดแปลนฐานรากโดยใหระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

D1  3D  3  0.26  0.78  0.80 m

ระยะหางจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

C  D  0.26  0.30 m

ขอบยาวของฐานราก

A  D1  2C  0.80  2  0.30  1.40 m

ใหฐานรากหนา t = 0.40 m ความลึกประสิทธิผล d = 0.40 – 0.10 = 0.30 m = 30 cm


พิจารณารูปที่ 6.60 ขนาดหนาตัดตอมอ a = b = 0.25 m = 25 cm ความกวางของฐานรากพิจารณา
จากคามากในสองคาตอไปนี้
B  2D  2  0.26  0.52 m

B  a  d  2C1  0.25  0.30  2  0.10  0.75 m

ใหความกวางเริ่มตนของฐานรากอยูที่ B = 0.75 m และแบงครึ่งที่ระยะ B


2
 0.375 m
394 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักสุทธิ
P  DL  LL  25,000  15,000  40,000 kg

แรงตานเฉลี่ยสุทธิของเสาเข็ม
P 40,000
Pr    20,000 kg / pile
Np 2

ขั้นตอนที่ 3 คํานวณแรงเฉือน
V4  Pr  20,000 kg

แรงดัดที่ขอบตอมอ
D1  a
M 4  V4
2
0.80  0.25
M 4  20,000   5,500 kg.m
2

รูปที่ 6.60 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน ตัวอยางที่ 6.12

หาความลึกประสิทธิผลจากการดัด
M4 5,500  100
d   27.97 cm  35 cm
Rb 9.372  75
ความหนาฐานรากรวมระยะหุมแลว H F  d  10  35  10  45 cm
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 395

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ระยะจากหนาตัดวิกฤตถึงศูนยกลางเสาเข็ม
D1 a d 0.80 0.25 0.35
x       0.10 m
2 2 2 2 2 2

ครึ่งหนึ่งของขนาดเสาเข็ม
D 0.26
  0.13
2 2

พบวา  D2  x  D2 ดังนั้นแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

1 x   1 0.10 
Vp  2Pr     2  20,000      35,384.61538 kg
2 D  2 0.26 

เสนรอบรูปของหนาตัดวิกฤตแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

b o  2a  b  2d   2  25  25  2  35  240 cm

แรงเฉือนเจาะทะลุที่คอนกรีตรับได

Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 210  240  35  64,515.60927 kg  Vp  35,384.61538 kg ใชได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน หนาตัดวิกฤตหางจากขอบตอมอระยะ d


ระยะจากหนาตัดวิกฤตถึงศูนยกลางเสาเข็ม
D1 b 0.80 0.25
x  d    0.35  0.075 m
2 2 2 2
ครึ่งหนึ่งของขนาดเสาเข็ม
D 0.26
  0.13
2 2
พบวา D
 x
2
D
2
ดังนั้นแรงเฉือนแบบคาน
1 x   1  0.075 
Vb  Pr     20,000      4,230.769231 kg
2 D 2 0.26 
แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 210  75  35  11,031.56055 kg  Vb  4,230.769231 kg ใชได

ขั้นตอนที่ 6 ตรวจสอบแรงตานเฉลี่ยของเสาเข็มวาไมเกินกวาคาที่ยอมให
ตอมอยาว H p  1.50  0.45  1.05 m
น้ําหนักตอมอ Wp  2400abH p  2400  0.25  0.25 1.05  158 kg
396 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักฐานราก WF  2400ABt  2400 1.40  0.75  0.45  1593 kg


น้ําหนักดินถม WBF  1690AB  abH p  1690  1.40  0.75  0.25  0.251.05  1752 kg
น้ําหนักบรรทุกรวม P  Wp  WF  WBF  40,000  158  1593  1752  43,503 kg
แรงตานเฉลี่ยของเสาเข็ม
P  Wp  WF  WBF
q
Np

43,503
2
 21,751.5 kg  Pc  25,000 kg ใชได

ขั้นตอนที่ 7 หาเหล็กเสริม
หาเหล็กขนานขอบยาว
M4 5,500  100
As4    10.136 cm
f s jd 1,700  0.912  35
min A s 4  0.0018BH F  0.0018  75  45  6.075 cm

เลือก DB 16 mm มี As1  2.01 cm 2 ,  O1  1.6    5.026 cm มีหนวยแรงยึดเหนี่ยว


f c' 210
u  3.23  3.23  29.25 ksc  35 ksc
db 1.6

 O  ujd4  29.25  0.912  35  21.421 cm


V 20,000

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต N1  AAs4  102..136


01
 5.04  6 เสน DB 16 mm
s1

จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน  O  21.421  4.26  5 เสน DB 16 mm


N2 
 O1 5.026
เหล็กเสริมขนานขอบยาวคือ 6  DB 16 mm ระยะหางระหวางเสน
B  2  0.10 75  0.20
s   11 cm  45 cm
N 1 6 1

หาเหล็กขนานขอบสั้น

A s, temp   temp At  0.0018  140  45  11.34 cm 2

สมมติใชเหล็กเสริม DB 16 mm แตละเสนมี A b  2.01 cm2 หาระยะเรียงของเหล็ก


A b A  2  0.10  2.01 1.40  2  0.10 
s   0.212 m
A s, temp 11.34

หรือใชเหล็ก DB 16 mm จํานวน 112..01


34
 5.64  6 เสน

ตรวจสอบระยะฝงของเหล็กเสริมขนานขอบยาว
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 4000
 db  0.06A b  0.06  2.01  33.3 cm
f c' 210
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 397

ระยะฝงพืน้ ฐานจริง
A a 1.40 0.25
L db    0.10    0.10  0.625 m  62.5 cm   db  33.3 cm
2 2 2 2
แสดงวาระยะฝงเพียงพอ
ขั้นตอนที่ 8 เขียนรายละเอียดฐานราก

รูปที่ 6.61 ฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตน


398 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.62 ฐานรากบนเสาเข็ม 2 ตนที่เติมเหล็กสมอจากเสาเข็ม


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 399

6.17 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 3 ตน


การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 3 ตน ยุงยากในการหาแรงเฉือน ความกวางของหนาตัดวิกฤต
โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อตอมอเปนสี่เหลี่ยม ดังนั้นในขั้นแรกตองแปลงหนาตัดจากสี่เหลี่ยมผืนผาไปเปน
วงกลมโดยใหเนื้อที่เทากัน

รูปที่ 6.62 การแปลงเสาตอมอสี่เหลี่ยมไปเปนวงกลมโดยใหเนื้อที่เทากัน


 2
D p  ab
4
ab
Dp  2

เมื่อ D ขนาดหนาตัดเสาเข็ม หรือเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม
C  D :  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มตนริมถึงขอบฐานราก ไมนอยกวาขนาดเสาเข็ม

D1  3D :  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม ไมนอยกวา 3 เทาขนาดเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm :  ระยะหุมของคอนกรีตจากผิวนอกถึงเหล็กเสริม

d  0.30 m :  ความลึกประสิทธิผล ฐานรากบนเสาเข็มไมนอยกวา 30 cm

t  d  C1 :  ความหนาของฐานราก ฐานรากบนเสาเข็มไมนอยกวา 40 cm

การเขียนแปลนฐานรากบนเสาเข็ม 3 ตน

เขียนสามเหลีย่ มดานเทาความยาวแตละดานเทากับ D1  3D
ลากเสนขนานดานทั้งสามหางออกไป C และจากมุมก็ลากขนานดานหางออกไป C เปนรูป 6 เหลี่ยม
จากแตละมุมตอดานออกไปเปนสามเหลี่ยมเล็กๆ 3 รูป เพื่อชวยการคํานวณ
ผลการเขียนแปลงไดดังรูปที่ 6.64
400 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.64 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 3 ตนเพื่อการพิสูจนสูตร

หนาตัดวิกฤต (1) สําหรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ จะหางจากขอบตอมอไประยะครึ่งหนึ่งของความ


ลึกประสิทธิผล d ดังนั้นรัศมีของวงกลม (1) จึงเปน
Dp d Dp  d
  
2 2 2

แนวของหนาตัดวิกฤต (1) ตองวางบนเหล็กเสริม นั่นคือระยะหางขอบฐานรากตองไมเกินคาระยะหุม C1

ระยะจากศูนยกลางตอมอถึงขอบลางฐานรากคิดไดจากสองทางซึ่งตองเทากันเพราะเปนระยะเดียวกัน
Dp  d D1
 C1  C
2 2 3
ดังนั้น
D1 Dp  d
C1  C
2 3 2

หากผลการคํานวณพบวา C1  0.10 m  10 cm ตองเพิ่มระยะ D1 โดยใหคา C1  0.10 m แลวหาคา D1


ดังนี้
 Dp  d 
D1  2 3   C1  C 
 2 
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 401

ผลการคํานวณจะไดคาของ D1 เปนทศนิยมที่ไมเหมาะสมในการกอสรางจริงใหปรับขึน้ เหมาะกับการ


ทํางานจริง
น้ําหนักบรรทุกลงบนตอมอ

P  DL  LL

เมื่อ P น้ําหนักบรรทุกเพิ่มคาบนเสาตอมอ, kg
DL  น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน, kg

LL  น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน, kg

แรงตานเฉลี่ยสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P
Pr 
3

หาแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ระยะ x จากหนาตัดวิกฤตไปยังศูนยกลางเสาเข็ม
D1 Dp  d
x 
3 2

ถา x
D
2
แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา 
D
x
D
แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  3Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  3Pr

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต

 Dp  d 
b o  2   D p  d 
 2 

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุของฐานรากคือ

Vcp  0.53 f c' b o d

ถาพบวา Vcp  Vp แสดงวาขนาดและความหนาของฐานรากเพียงพอที่จะรับแรงเฉือนแบบเจาะ


ทะลุไดอยางปลอดภัย ขามไปตรวจสอบแรงเฉือนแบบคานและแรงดัด ระยะฝง
402 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ถาพบวา Vcp  Vp แสดงวาขนาดและความหนาของฐานรากไมเพียงพอที่จะรับแรงเฉือนแบบเจาะ


ทะลุ ตองเพิ่มความลึกประสิทธิผล d แลวยอนไปตรวจสอบมาใหม การหาคา d โดยประมาณทําดังนี้
ใหแรงเฉือนเจาะทะลุสูงสุดเทากับแรงลงตอมอ Vp  3Pr
ใหเทากับแรงเฉือนที่รับได Vcp  0.53 f c' bod
ดังนั้น
0.53 f c' b o d  3Pr

แต 
bo   Dp  d  แทนคา
 
0.53 f c'  D p  d d  3Pr
3Pr
d 2  Dpd  0
0.53 f c'
12Pr
 D p  D 2p 
0.53 f c'
d
2

Dp 1 12Pr
d  D 2p 
2 2 0.53 f c'

สมการนี้ใชประมาณคาสูงสุดของความลึกประสิทธิผลจากแรงเฉือนแบบเจาะทะลุเมื่อไมคิดลดผลของ
ระยะหางของเสาเข็มจากหนาตัดวิกฤต

ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤตแรงเฉือนแบบคานหางจากขอบของตอมอระยะ d หรือหางจากศูนยกลางตอมอ
Dp
2
d แลวหางจากมุมยอดดานบนของสามเหลี่ยมใหญ
D1  Dp  D Dp
  2C    d   1  2C  d
3  2  3 2

ใชสมบัติของสามเหลี่ยมคลายหาความยาวของหนาตัดวิกฤต B1
สามเหลี่ยมสองรูปคลายกันอัตราสวนของดานสมนัยยอมเทากัน
D1 Dp
 2C  d
B1 2
 3
D1  2 3C 3D1
 3C
2 3

 D

D1  2 3C  1  2C 
Dp 
 d 
B1   3 2 
 3D1 
  3C 
2 3 
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 403

ระยะหนาตัดวิกฤตถึงศูนยกลางเสาเข็ม x
D1 Dp
x  d
3 2

ถา x   D2 แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

1 x 
ถา  D2  x  D2 แรงเฉือนแบบคาน Vb  Pr   
2 D
ถา x  D2 แรงเฉือนแบบคาน Vb  Pr

คํานวณหากําลังรับแรงเฉือนแบบคาน

กําลังรับแรงเฉือนแบบคาน

Vc  0.29 f c' B1d

คาของ B1 และ d ตองมีหนวยเปน cm


ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือนแบบคานที่รับไดจริง Vcb กับแรงเฉือนแบบคาน Vp
ถา Vcb  Vb แสดงวาขนาดและความหนาของฐานรากสามารถรับแรงเฉือนแบบคานไดอยาง
ปลอดภัย
ถา Vcb  Vb แสดงวาความหนาของฐานรากรับแรงเฉือนแบบคานไมได ตองหาความลึก
ประสิทธิผลใหม โดยที่
Vb
d
0.29 f c' B1

จัดคา d ที่เหมาะสมกับการกอสราง แลวยอนไปทําตั้งแตตรวจสอบระยะฝง C1  0.10 m มาใหม

ตรวจสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม
เนื้อที่เสาตอมอ
 2
Ap  Dp
4

เนื้อที่ฐานรากประกอบจากสามเหลี่ยมใหญฐานยาว D1  2 3C สูง 2
3
D1  3C ลบดวยสามเหลี่ยมเล็ก 3 รูป
ฐานยาว 2C
สูง C ดังนั้น
3

AF 
1
2
 
 3
D1  2 3C 

 1 2C
D1  3C   3  

C
 2  2 3

AF 
1
2
 
 3
D1  2 3C 


D1  3C   3C 2

 2 
404 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เมื่อ H ความลึกของหัวเสาเข็มและทองฐานราก, m
H F  t  d  0.10  ความหนาของฐานราก, m

H p  H  H F  ความยาวของตอมอและความหนาของดินถม, m

P  DL  LL  น้ําหนักบรรทุกรวมลงตอมอ

Wp  2400A p H p  น้ําหนักของเสาตอมอ, kg

WF  2400A F H F  น้ําหนักของฐานราก, kg

WBF  1690A F  A p H p  น้ําหนักของดินถม, kg

Pa  กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็ม, kg/ตน

แรงตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึ้น Pact
P  Wp  WF  WBF
Pact 
3
ถา Pact  Pa แสดงวาฐานรากตองใชเสาเข็ม 4 ตนขึ้นไป ไปออกแบบตามฐานรากนั้นๆ
ถา Pact  Pa แสดงวาฐานรากยังคงตองการเสาเข็ม 3 ตนเชนเดิม ไปหาปริมาณเหล็กเสริมและตรวจสอบ
ระยะฝงตอไป
หาปริมาณเหล็กเสริม
หนาตัดวิกฤต (4) สําหรับแรงดัด หางจากมุมยอดสามเหลีย่ มใหญ
D1 Dp
  2C 
3 2

ใชสามเหลี่ยมคลายหาระยะ B2
D1 Dp
 2C 
B2 2 3

D1  2 3C 3
D1  3C
2

 D

D1  2 3C  1  2C 
Dp 

2 
B2   3
 3 
 D  3C 
 2 1 
 

แรงดัดที่ขอบตอมอ
D Dp 
M 4  Pr  1  

 3 2 
M
As  4
f s jd
min A s   temp B2 H F

จัดเหล็กแตละชั้นเทากับคาทีค่ ํานวณได โดยจัดเปน 3 ชั้น เหล็กแผคลายพัดทั้ง 3 ชั้น


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 405

ตรวจสอบระยะฝง

ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy
 db  0.06A b
f c'

ระยะฝงจริง
D1 D1
L db   C  C1   C  0.10 m
3 3
ถา Ldb   db แสดงวาเลือกเหล็กขนาดโตเกินไปใหลดขนาดเหล็กลง หรืออาจจะเพิ่มคา C มากขึ้น แตตอง
ระวังวาอาจจะทําใหน้ําหนักฐานรากและดินถมมากขึ้นจนเสาเข็มรับน้าํ หนักไมได
ขั้นตอนสุดทาย เขียนรายละเอียดการเสริมเหล็กฐานราก

ตัวอยางที่ 6.13 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให


75 ตัน/ตน รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 100 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 80 ตัน ตอมอขนาด
0.40  0.60 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง
คอนกรีต f c'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc
f y  3000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3000  1500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f ' 240
c c
1 1
k   0.274
f 1500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  100,000 kg
LL  80,000 kg
P  DL  LL  180,000 kg
a  40 cm
b  60 cm
406 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2 180,000
Np 
75,000
 2.88  3 ตน
เมื่อจํานวนเสาเข็ม 3 ตน ตองแปลงเสาตอมอเปนเสากลมเสนผานศูนยกลาง Dp
 2
D p  ab
4
ab 40  60
Dp  2 2  55.279 cm  0.55279 m
 
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต

สมมติให d  0.30 m  30 cm  ความลึกประสิทธิผล


t  d  C1  0.30  0.10  0.40 m  40 cm  ความหนาฐานราก

ตรวจสอบระยะหุมวาไมนอยกวา 0.10 เมตร


D1 Dp  d 1.20 0.55279  0.30
C1  C   0.40   0.32 m  0.10 m
2 3 2 2 3 2

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  100,000  80,000  180,000 kg
P 180,000
Pr    60,000 kg
3 3

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากหนาตัดวิกฤตไปยังศูนยกลางเสาเข็ม
D1 Dp  d
1.20 0.55279  0.30
x     0.2664 m
3 2 3 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
D
x
2
ดังนั้น
Vp  3Pr  3  60,000  180,000 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  D p  d   55.279  30  267.91 cm

ขอมูลอื่น
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 407

หากําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีต
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  267.91  30  65,992 kg  Vp

ตองเพิ่มความหนาใหมากขึน้ โดยพิจารณาจากคา
Dp 1 12Pr
d  D 2p 
2 2 0.53 f c'
55.279 1 12  60,000
d  55.279 2   156.8 cm
2 2 0.53 240

ประมาณคา d
156.8
2
 78.4  80 cm

ยอนกลับไปตรวจสอบระยะหุม
t  d  C1  0.80  0.10  0.90 m
D1 Dp  d 1.20 0.55279  0.80
C1  C   0.40   0.07 m  0.10 m
2 3 2 2 3 2

ปรับเปลี่ยน D1
 Dp  d   0.55279  0.80 
D1  2 3   C1  C   2 3   0.10  0.40 
 2   2 
D1  1.304 m  1.35 m

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  100,000  80,000  180,000 kg
P 180,000
Pr    60,000 kg
3 3

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากหนาตัดวิกฤตไปยังศูนยกลางเสาเข็ม
D1 Dp  d 1.35 0.55279  0.80
x     0.103 m
3 3 2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
D D
 x
2 2
ดังนั้น
1 x   1 0.103 
Vp  3Pr     3  60,000      136,350 kg
 2 D   2 0.40 
หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  D p  d   55.279  80   424.99 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  424.99  80  279,158.071 kg  Vp  136,350 kg ใชได
408 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ความหนาประสิทธิผลที่เหมาะสมคือ 0.80 เมตร ความหนาฐานรากคือ 0.90 เมตร


แสดงวาฐานรากรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

ความยาวของหนาตัดวิกฤต
D  2 3C D3  2C  D2
1
1 p 
 d 
B1   
 3D1 
  3C 
2 3 

1.35  2  1.35
3  0.40  
 2  0.40 
0.55279 
 0.80 
B1   3 2 
 3 1.35 
  3  0.40 
 2 3 
B1  0.580846544 m  58.08 cm
ระยะหนาตัดวิกฤตถึงศูนยกลางเสาเข็ม x
D1 Dp 1.35 0.55279
x  d    0.80  0.29 m
3 2 3 2
D 0.40
  0.20 m
2 2

พบวา x   D ดังนั้นแรงเฉือนแบบคานคือ
2
Vb  0

หากําลังรับแรงเฉือนแบบคาน
Vcb  0.29 f c' B1d  0.29  240  58.08  80  20,874.7 kg  Vb

รับแรงเฉือนแบบคานได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม

เนื้อที่เสาตอมอ
 2 
Ap  D p   0.552792  0.24 m 2
4 4
เนื้อที่ฐานราก
AF 
1
2
  3
 D1  2 3C 

 
D1  3C   3C 2

 2 
1
  3
A F   1.35  2 3  0.40 
2 
 
 1.35  3  0.40   3  0.40 2

 2 
A F  2.9634 m 2
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 409

H F  t  d  0.10  0.80  0.10  0.90 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  0.90  1.10 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  100,000  80,000  180,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400A p H p  2400  0.24 1.10  633.6 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400A F H F  2400  2.9634  0.90  6400.9 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690A F  A p H p  1690  2.9634  0.24  1.10  5062.8 kg  น้ําหนักดินถม

Pa  75,000 kg / pile  กําลังรับน้ําหนักที่ยอมใหของเสาเข็ม

แรงตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึ้น
P  Wp  WF  WBF
Pa 
3
180,000  633.6  6400.9  5062.8
Pa 
3
Pa  64,032.4 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด

ความยาวของหนาตัดวิกฤต (4) ที่ขอบตอมอ


D  2 3C D3  2C  D2 
1
1 p

B2   
 3 
 D  3C 
 2 1 
 

  1.35
1.35  2 3  0.40    2  0.40 
0.55279 

B2   3 2 
 3 
  1.35  3  0.40 
 2 
 
B2  1.504606795 m  150.46 cm
แรงดัดที่ขอบตอมอ
D Dp   1.35 0.55279 
M 4  Pr  1    60,000  
    30,181.6718 kg.m
 3 2   3 2 
M 4  30,181,67.18 kg.cm
M4 3,018,167.18
As    27.67 cm 2
f s jd 1,500  0.909  80
min A s   temp B 2 t  0.0020  150.46  90  27.08 cm 2

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี A s1  4.909 cm 2 ตองจํานวนเสน


 5.64  6 เสน
27.67

4.909
410 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240
ระยะฝงจริง
D1 135
L db   C  C1   40  10  107.94 cm   db  57.04 cm
3 3
ระยะฝงเพียงพอ
ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก

รูปที่ 6.65 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 3 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 411

6.18 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 4 ตน

รูปที่ 6.66 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 4 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  D1  2C  ความกวางยาวของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

t  ความหนาของฐานราก

d  t  C1  t  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
412 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.14 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 120 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 80 ตัน ตอมอขนาด
0.40  0.60 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc
f y  3000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3000  1500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
DL  120,000 kg
LL  80,000 kg
P  DL  LL  200,000 kg
a  40 cm
b  60 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  200,000
Np 
75,000
 3.2  4 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต

สมมติให d  0.30 m  30 cm  ความลึกประสิทธิผล


A  D1  2C  1.20  2  0.40  2.00 m

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  120,000  80,000  200,000 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 413

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 200,000
Pr    50,000 kg / pile
Np 4

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มถึงหนาตัดวิกฤต
D1  a  d 1.20  0.40  0.30
x   0.25 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D

ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr  4  50,000  200,000 kg


หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  40  60  2  30   320 cm

แรงเฉือนเจาะทะลุที่รับได
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  320  30  78,823 kg  Vp

ให Vp  Vcp แลวหาความลึกประสิทธิผล


200,000  0.53 240  2  40  60  2d d


200,000  4  0.53 240 50d  d 2 
200,000
d 2  50d   6,089.596456
4  0.53 240
d 2  50d  6,089.596456  0
 50  50 2  4  6,089.596456
d
2
 50  163.8852825 113.8852825
d   56.94 cm
2 2
เลือกใชความลึกประสิทธิผล d  60 cm  0.60 m
ความหนาฐานราก t  d  0.10  0.60  0.10  0.70 m
หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด

b o  2a  b  2d   2  40  60  2  60   440 cm


414 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มถึงหนาตัดวิกฤต
D1  a  d 1.20  0.40  0.60
x   0.10 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
1 x   1 0.10 
Vp  4Pr     4  50,000      150,000 kg
2 D  2 0.40 
แรงเฉือนเจาะทะลุที่รับได
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  440  60  78,823216,763.1319 kg  Vp

ฐานรากรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม


D1 a 1.20 0.40
x  d    0.60  0.20 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29  240  200  60  53,911.92818 kg  Vb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม


D1 b 1.20 0.60
x  d    0.60  0.30 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29  240  200  60  53,911.92818 kg  Vb  0

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 415

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  0.60  0.10  0.70 m  ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  0.70  1.30 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  120,000  80,000  200,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.40  0.60  1.30  748.8 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400A 2  ab H F  2400  2.00 2  0.40  0.60  0.70  6316.8 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690A 2  ab H p  1690  2.00 2  0.40  0.60 1.30  8260.7 kg  น้ําหนักดินถม

ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
4
200,000  748.8  6316.8  8260.7
Pa 
4
Pa  53,832 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
D1  a 1.20  0.40
M 4  2Pr  2  50,000   40,000 kg.m  4,000,000 kg  cm
2 2
M 4,000,000
As4  4   48.89 cm
f s jd 1,500  0.909  60

min A s 4  0.0020  200  70  28 cm 2

ใช DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23
 20.02 ksc  35 ksc
db 2.5
V4  2Pr  2  50,000  100,000 kg

 O  ujd4  20.02  0.909  60  91.58


V 100,000
cm

จํานวน DB 25 mm จากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 48.89

A s1 4.909
 9.96  10 เสน
จํานวน DB 25 mm จากผลของแรงเฉือน
N2 
 O 4  91.58  11.66  12 เสน
 O1 7.854
416 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

D1  b 1.20  0.60
M 5  2Pr  2  50,000   30,000 kg.m  3,000,000 kg.cm
2 2
M 3,000,000
A s5  5   36.67 cm 2
f s jd 1,500  0.909  60
min A s   temp AH F  0.0020  200  70  28 cm 2  36.67 cm 2

ใช DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23  20.02 ksc  35 ksc
db 2.5
V5  2Pr  2  50,000  100,000 kg

 O5  ujd5  20.02  0.909  60  91.58


V 100,000
cm

จํานวน DB 25 mm จากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 36.67

A s1 4.909
 7.47  8 เสน
จํานวน DB 25 mm จากผลของแรงเฉือน
N2 
 O5  91.58  11.66  12 เสน
 O1 7.854
ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
D1 b 120 60
L db   C   C1   40   10  60 cm   db  57.04 cm
2 2 2 2
ระยะฝงเพียงพอ
ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 417

รูปที่ 6.67 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 4 ตน


418 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.19 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 5 ตน

รูปที่ 6.68 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 5 ตน

กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

เนื่องจาก 2D2  2D1 ใหคํานวณคา D2 แลวปรับคาใหมากขึ้นและเหมาะตอการกอสราง


A  2D 2  2C  ความกวางยาวของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 419

ตัวอยางที่ 6.15 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให


75 ตัน/ตน รับน้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 190 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 100 ตัน ตอมอขนาด
0.50  0.75 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง
คอนกรีต f c'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72 ksc
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  190,000 kg
LL  100,000 kg
P  DL  LL  290,000 kg
a  50 cm
b  75 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  290,000
Np 
75,000
 4.64  5 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


2D 2  2 D1
2 2
D2  D1   1.20  0.8485 m  0.85 m
2 2
A  2D 2  2C  2  0.85  2  0.40  2.50 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
420 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

สมมติให d  0.30 m  30 cm  ความลึกประสิทธิผล


น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  190,000  100,000  290,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 290,000
Pr    58,000 kg / pile
5 5

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางตรงกับตอมอไมมีผลเกี่ยวกับแรงเฉือนในฐานราก
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มตนริมถึงหนาตัดวิกฤต
 ad  0.50  0.30 
x  2  D2    2  0.85    0.636 m
 2   2 
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vu  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vu  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vu  4Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr  4  58,000  232,000 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  50  75  2  30  370 cm
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  370  30  91,139.0441 ksc  232,000 ksc

ประมาณความหนาฐานราก h F  0.70 m ระยะหุม 10 ซม ดังนั้นความลึกประสิทธิผล


d  70  10  60 cm
 ad  0.50  0.60 
x  2  D2    2  0.85    0.424 m
 2   2 
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vu  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vu  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vu  4Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr  4  58,000  232,000 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 421

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  50  75  2  60   490 cm
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  490  60  241,395.306 ksc  232,000 ksc

ฐานรากรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม


a 0.50
x  D2   d  0.85   0.60  0 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
1 x  1 0 
Vb  2Pr     2  58,000      58,000 kg
2 D  2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  250  60  67,389.91022 kg  Vb  58,000 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม
b 0.75
x  D2   d  0.85   0.60  0.125 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
1 x   1  0.125 
Vb  2Pr     2  58,000      21,750 kg
2 D 2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  250  60  67,389.91022 kg  Vb  21,750 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  0.60  0.10  0.70 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  0.70  1.30 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  190,000  100,000  290,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.50  0.75  1.30  1170 kg  น้ําหนักตอมอ


422 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

WF  2400A 2 H F  2400  2.50 2  0.70  10,500 kg  น้ําหนักฐานราก


   
WBF  1690 A 2  ab H p  1690  2.50 2  0.50  0.75  1.30  12,907 kg  น้ําหนักดินถม
แรงตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึ้น
P  Wp  WF  WBF
Pa 
5
290,000  1,170  10,500  12,907
Pa 
5
Pa  62,915 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a
M 4  2Pr  D 2  
 2
 0.50 
M 4  2  58,000   0.85  
 2 
M 4  69,600 kg.m  6,960,000 kg.cm
M4 6,960,000
As4    85.075 cm 2
f s jd 1,500  0.909  60

เลือก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23 
 20.01 ksc  35 ksc
db 2.5
V4  2Pr  2  58,000  116,000 kg
V 116,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  60  106.29 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
85.075
4.909
 17.33  18 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
106.29
7.854
 13.53  14 เสน
ใช 18 DB 25 mm
 b
M 5  2Pr  D 2  
 2
 0.75 
M 5  2  58,000   0.85  
 2 
M 5  43,500 kg.m  4,350,000 kg.cm
M5 4,350,000
A s5    53.172 cm 2
f s jd 1,500  0.909  60

เลือก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc  35 ksc
db 2.5
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 423

V5  2Pr  2  58,000  116,000 kg


V 116,000
 O5  ujd4  20.01  0.909  60  106.29 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
53.172
4.909
 10.83  11 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
106.29
7.854
 13.53  14 เสน
ใช 14 DB 25 mm
ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
'
f c
240
ระยะฝงจริง
b 75
L db  D 2  C   C1  85  40   10  77.5 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
424 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.69 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 5 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 425

6.20 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 6 ตน

รูปที่ 6.70 ฐานรากบนเสาเข็ม 6 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  2D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ
C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

t  ความหนาของฐานราก

d  t  C1  t  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
426 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.16 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 200 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 160 ตัน ตอมอขนาด
0.60  0.80 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90 ksc  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  200,000 kg
LL  160,000 kg
P  DL  LL  360,000 kg
a  60 cm
b  80 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  360,000
Np 
75,000
 5.76  6 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


A  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m
B  D1  2C  1.20  2  0.40  2.00 m

C1  0.10 m  10 cm ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  0.30 m  30 cm  ความลึกประสิทธิผล
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 427

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  200,000  160,000  360,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 360,000
Pr    60,000 kg / pile
6 6

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางถึงหนาตัดวิกฤต
D1  b  d 1.20  0.80  0.30
x   0.05
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณีที่  D2  x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1 0.05 
Vp  2  36,000      45,000 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ตนมุมถึงหนาตัดวิกฤต
ad 0.60  0.30 D 0.40
x  D1   1.20   0.75    0.20 m
2 2 2 2

เปนกรณี x  D และเสาเข็มมี 4 ตน แรงเฉือนเจาะทะลุ


2
Vp  4Pr  4  36,000  144,000 kg

แรงเฉือนเจาะทะลุรวม
Vu  45,000  144,000  189,000 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  60  80  2  30   400 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  400  30  98,528.69633 kg  Vp  189,000 kg

รับแรงเฉือนไมได หาความหนาประสิทธิผลโดยประมาณจากการใหแรงเฉือนที่เกิดเทากับที่รับได
0.53 240  260  80  2d d  189,000

2d 2  140d  11,509.3373  0
428 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

d 2  70d  5,754.668651  0
 70  70 2  4  5,754.668651
d  48.54 cm
2
เลือกใชความลึกประสิทธิผล d  80 cm  0.80 m
ความหนาฐานราก H F  d  0.10  0.80  0.10  0.90 m

ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุใหม
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางถึงหนาตัดวิกฤต
D1  b  d 1.20  0.80  0.80
x   0.20
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  0

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ตนมุมถึงหนาตัดวิกฤต


ad 0.60  0.80 D 0.40
x  D1   1.20   0.50    0.20 m
2 2 2 2
เปนกรณี x  D2 และเสาเข็มมี 4 ตน แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  4Pr  4  60,000  240,000 kg

แรงเฉือนเจาะทะลุรวม
Vu  0  240,000  240,000 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด

b o  2a  b  2d   2  60  80  2  80   600 cm

Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  600  80  394,114.7853 kg  Vp  240,000 kg

ฐานรากรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 429

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มคูขวา


a 0.60
x  D1   d  1.20   0.80  0.10 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
 1 x  1 0.10 
Vb  2Pr     2  60,000      90,000 kg
2 D  2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29  240  200  80  71,882.57091 kg  Vb  90,000 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานไมได เพิ่มความลึกประสิทธิผล d โดยไมตองตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะ


ทะลุซ้ํา
0.29 f c' Bd  Vb
Vb 90,000
d   100.16 cm  100 cm  1.00 m
0.29 f c' B 0.29  240  200

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม


D1 b 1.20 0.80
x  d    1.00  0.80 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
D
เมื่อ x   แรงเฉือนแบบคาน
2
Vu  0
แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.00  0.10  1.10 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.10  0.90 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  200,000  160,000  360,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.60  0.80  0.90  1036.8 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  3.20  2.00 1.10  16,896 kg  น้ําหนักฐานราก


430 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

WBF  1690AB  ab H p  1690  3.20  2.00  0.60  0.80  0.90  9,004.32 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
6
360,000  1036.8  16,896  9004.32
Pa 
6
Pa  64,490 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a
M 4  2Pr  D1  
 2
 0.60 
M 4  2  60,000  1.20  
 2 
M 4  108,000 kg.m  10,800,000 kg.cm
M4 10,800,000
As4    79.208 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100

เลือก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm และ


f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc  35 ksc
db 2.5
V4  2Pr  2  60,000  120,000 kg
V 120,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  100  65.974 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 79.208
A s1

4.909
 16.14  17 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
 O4 
65.974
 8.4  9 เสน
 O1 7.854

เลือกคามาก ดังนั้นเหล็กขนานขอบยาวของฐานรากคือ 17-DB 25 mm


D b
M 5  3Pr  1 
 2 
 1.20  0.80 
M 5  3  60,000   
 2 
M 5  36,000 kg.m  3,600,000 kg.cm
M5 3,600,000
A s5    26.403 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100

เลือก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm และ


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 431

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc  35 ksc
db 2.5
V5  3Pr  3  60,000  180,000 kg
V 180,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  100  98.96 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 26.403
A s1

4.909
 5.4  6 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
 O4 
98.96
 12.6  13 เสน
 O1 7.854

เลือกคามาก ดังนั้นเหล็กขนานขอบสั้นของฐานรากคือ 13-DB 25 mm


ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
D1 b 120 80
L db   C   C1   40   10  50 cm   db  57.04 cm
2 2 2 2
ระยะฝงไมเพียงพอ เพิ่มความกวางฐานรากอีกขางละ 10 cm เปนความกวาง 2.20 เมตร
ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
432 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.71 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 6 ตน ยังไมปรับแกความกวาง


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 433

รูปที่ 6.72 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 6 ตน ปรับแกความกวางแลว


434 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.21 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 7 ตน

รูปที่ 6.73 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 7 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  2D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 435

HF  ความหนาของฐานราก
d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.17 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 240 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 160 ตัน ตอมอขนาด
0.70 1.00 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  240,000 kg
LL  160,000 kg
P  DL  LL  400,000 kg
a  70 cm
b  100 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  400,000
Np 
75,000
 6.4  7 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


A  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m
B  2D1  2C  2 1.20  2  0.40  3.20 m
436 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

C1  0.10 m  10 cm ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  0.30 m  30 cm  ความลึกประสิทธิผล
น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  240,000  160,000  400,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 400,000
Pr    57,142.85714 kg / pile
7 7

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางตรงตอมอไมผลตอแรงเฉือนและแรงดัด
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.00  0.30
x  D1   1.20   0.55
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณีที่ x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  2  57,142.85714  114,285.7143 kg

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ตนบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


ad 0.70  0.30 D 0.40
x  D1   1.20   0.70    0.20 m
2 2 2 2
เปนกรณี x  D2 และเสาเข็มมี 4 ตน แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  4Pr  4  57,142.85714  228,571.4286 kg

แรงเฉือนเจาะทะลุรวม
Vp  0  114,285.7143  228,571.4286  342,857.1429 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  70  100  2  30   460 cm

แรงเฉือนเจาะทะลุที่รับได
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  460  30  113,308.0008 kg  Vp  342,857.1429 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 437

ประมาณความหนาฐานรากใหมโดยใหกําลังรับแรงเฉือนเทากับคาที่เกิดขึ้นเดิม
0.53 f c'  2a  b  2d d  Vp
0.53 240  2  70  100  2d d  342,857.1429

dd  85 
342,857.1429
4  0.53 240
d  85d  10,439.30821  0
2

 85  852  4  10,439.30821
d  68.16 cm
2
เลือกใชความลึกประสิทธิผล d  100 cm  1.00 m
ความหนาฐานราก H F  d  0.10  1.00  0.10  1.10 m
ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุใหม
เสาเข็มตนกลางตรงตอมอไมผลตอแรงเฉือนและแรงดัด
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.00  1.00
x  D1   1.20   0.20
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  2  57,142.85714  114,285.7143 kg

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ตนบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


ad 0.70  1.00 D 0.40
x  D1   1.20   0.35    0.20 m
2 2 2 2
เปนกรณี x  D2 และเสาเข็มมี 4 ตน แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  4Pr  4  57,142.85714  228,571.4286 kg

แรงเฉือนเจาะทะลุรวม
Vu  114,285.7143  228,571.4286  342,857.1429 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  70  100  2  100  740 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  740  100  607,593.6274 kg  Vp  342,857.1429 kg
438 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ฐานรากรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มริมขวาสุด


a 0.70
x  D1   d  1.20   1.00  0.15 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
1 x   1  0.15 
Vb  Pr     57,142.85714      7,142.857145 kg
2 D  2 0.40 
หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มคูขวาใกลตอมอ
D1 a 1.20 0.70
x  d    1.00  0.75 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vb  0

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  7,142.857145  0  7,142.857145 kg

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vp  7,142.857145 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็มคูบน
b 1.00
x  D1   d  1.20   1.00  0.30 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.00  0.10  1.10 m  ความหนาฐานราก


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 439

H p  H  H F  2.00  1.10  0.90 m ความยาวตอมอและความหนาดินถม


P  DL  LL  240,000  160,000  400,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.70 1.00  0.90  1,512 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  3.20  3.20 1.10  27,033.6 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  3.20  3.20  0.70 1.00  0.90  14,510.34 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
7
400,000  1,512  27,033.6  14,510.34
Pa 
7
Pa  63,294 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
D a  a
M 4  2Pr  1    Pr  D1    Pr 2D1  1.5a 
 2 2   2
M 4  57,142.85714  2  1.20  1.5  0.70 
M 4  77,142.85714 kg.m  7,714,285.714 kg.cm
V4  3Pr  3  57,142.85714  171,428.5714 kg
M 7,714,285.714
As4  4   56.577 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100

เลือกเหล็กขนาด DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm และหนวยแรงยึดเหนีย่ ว


f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc  35 ksc
db 2.5
V 171,428.5714
 O 4  ujd4  20.01  0.909  100  94.248 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 56.577
A s1

4.909
 11.5  12 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
 O4 
94.248
 12  13 เสน
 O1 7.854

ใช 15-DB 25 mm
ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240
440 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ระยะฝงจริง
b 100
L db  D1  C   C1  120  40   10  100 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ
ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก

รูปที่ 6.74 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 7 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 441

6.20 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 8 ตน

รูปที่ 6.75 ฐานรากบนเสาเข็ม 8 ตน

กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  2D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ
442 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต
H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.18 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 280 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 195 ตัน ตอมอขนาด
0.80 1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y 0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j  1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  280,000 kg
LL  195,000 kg
P  DL  LL  475,000 kg
a  80 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  475,000
Np 
75,000
 7.6  8 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 443

A  2D1  2C  2 1.20  2  0.40  3.20 m


B  2D1  2C  2 1.20  2  0.40  3.20 m

ระยะหุมของคอนกรีต
C1  0.10 m  10 cm 

สมมติให d  1.00 m  100 cm  ความลึกประสิทธิผล


น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  280,000  195,000  475,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 475,000
Pr    59,375 kg / pile
8 8

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต
ad 0.80  1.00
x  D1   1.20   0.30
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  2  59,375  118,750 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.00
x  D1   1.20   0.10
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
 1 0.10 
Vu  2  59,375      89,062.5 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ที่มุมถึงหนาตัดวิกฤต
x  0.10 2  0.30 2  0.316 m
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนที่มุม
Vp  4Pr  4  59,375  237,500 kg
444 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แรงเฉือนเจาะทะลุรวม
Vp  118,750  89,062.5  237,500  445,312.5 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  80  120  2  100   800 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  800  100  656,857.9755 kg  Vp  445,312.5 kg

รับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา


a 0.80
x  D1   d  1.20   1.00  0.20 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vu  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vu  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็มบน
b 1.20
x  D1  d  1.20   1.00  0.40 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vu  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vu  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.00  0.10  1.10 m 

H p  H  H F  2.00  1.10  0.90 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  280,000  195,000  475,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 445

Wp  2400abH p  2400  0.80 1.20  0.90  2,073.6 kg น้ําหนักตอมอ


WF  2400ABH F  2400  3.20  3.20 1.10  27,033.6 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  3.20  3.20  0.80 1.20  0.90  14,114.88 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
8
475,000  2,073.6  27,033.6  14,114.88
Pa 
8
Pa  64,777.76 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a
M 4  3Pr  D1  
 2
 0.80 
M 4  3  59,375  1.20  
 2 
M 4  142,500 kg.m  14,250,000 kg.cm
V4  3Pr  3  59,375  178,125 kg
M 14,250,000
As4  4   104.51 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100

เลือก DB 25 mm ซึ่งมี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 178,125
 O 4  ujd4  20.01  0.909  100  96.28 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 104.51
A s1

4.909
 21.3  22 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
 O4 
96.28
 12.3  13 เสน
 O1 7.854

ใช 22-DB 25 mm
 b
M 5  3Pr  D1  
 2
 1.20 
M 5  3  59,375  1.20  
 2 
M 5  106,875 kg.m  10,687,500 kg.cm
V5  3Pr  3  59,375  178,125 kg
M5 10,687,500
A s5    78.383 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100
446 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เลือก DB 25 mm ซึ่งมี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 178,125
 O5  ujd5  20.01  0.909  100  96.28 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 78.383
A s1

4.909
 15.97  16 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือน
N2 
 O4 
96.28
 12.3  13 เสน
 O1 7.854

อาจจะใช 16-DB 25 mm
ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ
ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 447

รูปที่ 6.76 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 8 ตน


448 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.19 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 9 ตน

รูปที่ 6.77 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 9 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  2D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 449

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต
H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.19 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 320 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 220 ตัน ตอมอขนาด
0.80 1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  320,000 kg
LL  220,000 kg
P  DL  LL  540,000 kg
a  80 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  540,000
Np 
75,000
 8.64  9 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


450 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

A  2D1  2C  2 1.20  2  0.40  3.20 m


B  2D1  2C  2 1.20  2  0.40  3.20 m

ระยะหุมของคอนกรีต
C1  0.10 m  10 cm 

สมมติให d  1.00 m  100 cm  ความลึกประสิทธิผล


น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  320,000  220,000  540,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 540,000
Pr    60,000 kg / pile
9 9

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต
ad 0.80  1.00
x  D1   1.20   0.30
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉื อนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณีที่ x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  2  60,000  120,000 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.00
x  D1   1.20   0.10
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณี  D2  x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุ
 1 0.10 
Vp  2  60,000      90,000 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ที่มุมถึงหนาตัดวิกฤต
x  0.10 2  0.30 2  0.316 m
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนที่มุม
Vp  4Pr  4  60,000  240,000 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 451

แรงเฉือนเจาะทะลุรวม
Vu  120,000  90,000  240,000  450,000 kg

หากําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ความยาวเสนรอบรูปหนาตัด
b o  2a  b  2d   2  80  120  2  100  800 cm

กําลังรับแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  800  100  656,857.9755 kg  Vp  450,000 kg

รับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา


a 0.80
x  D1   d  1.20   1.00  0.20 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vu  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็มบน
b 1.20
x  D1  d  1.20   1.00  0.40 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vu  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vu  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.00  0.10  1.10 m 

H p  H  H F  2.00  1.10  0.90 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม


452 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

P  DL  LL  320,000  220,000  540,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ


Wp  2400abH p  2400  0.80 1.20  0.90  2,073.6 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  3.20  3.20 1.10  27,033.6 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  3.20  3.20  0.80 1.20  0.90  14,114.88 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
9
540,000  2,073.6  27,033.6  14,114.88
Pa 
9
Pa  64,802 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a
M 4  3Pr  D1  
 2
 0.80 
M 4  3  60,000  1.20  
 2 
M 4  144,000 kg.m  14,400,000 kg.cm
V4  3Pr  3  60,000  180,000 kg
M 14,400,000
As4  4   105.61 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2 .5
V 180,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  100  98.96 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 105.61
A s1

4.909
 21.5  22 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
98.96
 12.6  13 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 22-DB 25 mm
 b
M 5  3Pr  D1  
 2
 1.20 
M 5  3  60,000  1.20  
 2 
M 5  108,000 kg.m  10,800,000 kg.cm
V5  3Pr  3  60,000  180,000 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 453

M5 10,800,000
A s5    79.21 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 180,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  100  98.96 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 79.21

A s1 4.909
 16.1  17 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
98.96
 12.6  13 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 17-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
454 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.78 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 9 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 455

6.20 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 10 ตน

รูปที่ 6.79 ฐานรากบนเสาเข็ม 10 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  3D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
456 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.20 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 360 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 255 ตัน ตอมอขนาด
0.80 1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  360,000 kg
LL  255,000 kg
P  DL  LL  615,000 kg
a  80 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  615,000
Np 
75,000
 9.84  10 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m
B  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m

C1  0.10 m  10 cm ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.00 m  100 cm  ความลึกประสิทธิผล
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 457

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  360,000  255,000  615,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 615,000
Pr    61,500 kg / pile
10 10

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็มคูกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต
D1 a  d 1.20 0.80  1.00
x     0.30
2 2 2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  0 kg

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ตนที่มมุ ในถึงหนาตัดวิกฤต


x  1.20 2  1.20 2  0.90 2  1.10 2  0.276 m
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนที่มุม
Vp  4Pr  4  61,500  246,000 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


bd 1.20  1.00
x  1.5D1   1.5  1.20   0.70
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 2 ตนริมซายขวา
Vp  4Pr  4  61,500  246,000 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  246,000  246,000  492,000 kg
458 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   280  120  2  100   800 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  800  100  656,857.9755 kg  Vp  492,000 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 3 ตนใกลตอมอ


D1 a 1.20 0.80
x  d    1.00  0.80 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากเสาเข็ม 2 ตนริมขวาสุด


a 0.80
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.00  0.40 m
2 2
เปนกรณี x  D2 แรงเฉือนแบบคาน
Vb  2Pr  2  61,500  123,000 kg

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  100  143,765.1418 kg  Vb  123,000 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนบน
b 1.20
x  D1  d  1.20   1.00  0.40 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  440  100  197,677.07 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 459

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.00  0.10  1.10 m 

H p  H  H F  2.00  1.10  0.90 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  360,000  255,000  615,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.80 1.20  0.90  2,073.6 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  4.40  3.20  1.10  37,171.2 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  4.40  3.20  0.80  1.20   0.90  19,955.52 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
10
615,000  2,073.6  37,171.2  19,955.52
Pa 
10
Pa  67,420 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
D a  a
M 4  3Pr  1    2Pr 1.5D1  
 2 2  2
 3D 3a 
M 4  Pr  1   3D1  a   Pr 4.5D1  2.5a 
 2 2 
M 4  61,500  4.5  1.20  2.5  0.80
M 4  209,100 kg.m  20,910,000 kg.cm
V4  5Pr  5  61,500  307,500 kg
M 16,605,000
As4  4   121.782 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 307,500
 O 4  ujd4  20.01  0.909  100  169.057 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 121.782
A s1

4.909
 24.8  25 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
169.057
 21.5  22 เสน
 O1 7.854
460 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 25-DB 25 mm
 b
M 5  4Pr  D1  
 2
 1.20 
M 5  4  61,500  1.20  
 2 
M 5  147,600 kg.m  14,760,000 kg.cm
V5  4Pr  4  61,500  246,000 kg

M5 14,760,000
A s5    108.25 cm 2
f s jd 1,500  0.909  100
2L 2  4.40
A s5  A s5   108.25  125.343 cm 2
BL 3.20  4.40
เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 246,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  100  135.246 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 125.343
A s1

4.909
 25.5  26 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
135.246
 17.22  18 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 26-DB 25 mm ใชเหมือนกันทั้งสองทิศทาง

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 461

รูปที่ 6.80 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 10 ตน


462 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.21 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 11 ตน

รูปที่ 6.81 ฐานรากบนเสาเข็ม 11 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  3D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 463

ตัวอยางที่ 6.21 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 390 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 290 ตัน ตอมอขนาด
0.80 1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  390,000 kg
LL  290,000 kg
P  DL  LL  680,000 kg
a  80 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  680,000
Np 
75,000
 10.88  11 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m
B  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.30 m  130 cm  ความลึกประสิทธิผล
464 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  390,000  290,000  680,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 680,000
Pr    61,818.18182 kg / pile
11 11

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางตรงกับศูนยกลางตอมอ ไมมีผลตอแรงเฉือนเจาะทะลุ
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนใน ถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.30
x  D1   1.20   0.05
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1 0.05 
Vp  4  61,818.18182      92,727.27273 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต
ad 0.80  1.30
x  1.5D1   1.5  1.20   0.75
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  61,818.18182  247,272.7273 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  92,727.27273  247,272.7273  340,000 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   280  120  2  130   920 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  920  130  982,002.6734 kg  Vp  340,000 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 465

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 2 ตนใกลตอมอ


D1 a 1.20 0.80
x  d    1.30  1.10 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากเสาเข็ม 3 ตนริมขวาสุด


a 0.80
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.30  0.10 m
2 2
เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
1 x   1 0.10 
Vb  3Pr     3  61,818.18182      139,090.9091 kg
2 D  2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  130  186,894.6844 kg  Vb  139,090.9091 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนบน
b 1.20
x  D1   d  1.20   1.30  0.70 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  440  130  256,980.191 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.30  0.10  1.40 m 

H p  H  H F  2.00  1.40  0.60 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  390,000  290,000  680,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.80  1.20  0.60  1,382.4 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  4.40  3.20  1.40  47,308.8 kg  น้ําหนักฐานราก


466 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

WBF  1690AB  ab H p  1690  4.40  3.20  0.80  1.20  0.60  13,303.68 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
11
680,000  1,382.4  47,308.8  13,303.68
Pa 
11
Pa  67,454.08 kg / pile  75,000 kg / pile
เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
D a  a
M 4  2Pr  1    3Pr 1.5D1  
 2 2   2
M 4  Pr D1  a  4.5D1  1.5a   Pr 5.5D1  2.5a 
M 4  61,818.18182  5.5  1.20  2.5  0.80 
M 4  284,363.6364 kg.m  28,436,363.64 kg.cm
V4  5Pr  5  61,818.18182  309,090.9091 kg
M 28,436,363.64
As4  4   160.426 cm 2
f s jd 1,500  0.909  130

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 307,500
 O 4  ujd4  20.01  0.909  130  130.717 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 160.426
A s1

4.909
 32.7  33 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
130.717
 16.6  17 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 33-DB 25 mm
 b
M 5  4Pr  D1  
 2
 1.20 
M 5  4  61,818.18182  1.20  
 2 
M 5  148,363.6364 kg.m  14,836,363.64 kg.cm
V5  4Pr  4  61,818.18182  247,272.7273 kg

M5 14,836,363.64
A s5    83.7 cm 2
f s jd 1,500  0.909  130
2L 2  4.40
A s5  A s5   83.7  96.92 cm 2
BL 3.20  4.40
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 467

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 247,272.7273
 O5  ujd5  20.01  0.909  130  104.574 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 96.92

A s1 4.909
 19.7  20 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
104.574
 13.3  14 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 20-DB 25 mm ใชเหมือนกันทั้งสองทิศทาง

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
468 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.82 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 11 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 469

6.22 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 12 ตน

รูปที่ 6.83 ฐานรากบนเสาเข็ม 12 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  3D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
470 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตัวอยางที่ 6.22 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 430 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 320 ตัน ตอมอขนาด
0.80  1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  430,000 kg
LL  320,000 kg
P  DL  LL  750,000 kg
a  80 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  750,000
Np 
75,000
 12  12 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m
B  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.30 m  130 cm  ความลึกประสิทธิผล
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 471

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  430,000  320,000  750,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 750,000
Pr    62,500 kg / pile
12 12

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต


D1 a  d 1.20 0.80  1.30
x     0.45 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนใน ถึงหนาตัดวิกฤต


bd 1.20  1.30
x  D1   1.20   0.05
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1 0.05 
Vp  4  62,500      187,500 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 6 ตนนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต
ad 0.80  1.30
x  1.5D1   1.5  1.20   0.75
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  6Pr  6  62,500  375,000 kg
472 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  187,500  375,000  562,500 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   280  120  2  130   920 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  920  130  982,002.6734 kg  Vp  562,000 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 3 ตนใกลตอมอ


D1 a 1.20 0.80
x  d    1.30  1.10 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากเสาเข็ม 3 ตนริมขวาสุด


a 0.80
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.30  0.10 m
2 2
เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
1 x   1 0.10 
Vb  3Pr     3  62,500      140,625 kg
 2 D   2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  130  186,894.6844 kg  Vb  140,625 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนบน
b 1.20
x  D1   d  1.20   1.30  0.70 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เมื่อ x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  440  130  256,980.191 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 473

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.30  0.10  1.40 m 

H p  H  H F  2.00  1.40  0.60 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  430,000  320,000  750,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.80  1.20  0.60  1,382.4 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  4.40  3.20  1.40  47,308.8 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  4.40  3.20  0.80  1.20  0.60  13,303.68 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
12
750,000  1,382.4  47,308.8  13,303.68
Pa 
12
Pa  67,666.24 kg / pile  75,000 kg / pile
เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
D a  a
M 4  3Pr  1    3Pr 1.5D1  
 2 2  2
M 4  Pr 1.5D1  1.5a  4.5D1  1.5a   Pr 6D1  3a 
M 4  62,500  6  1.20  3  0.80 
M 4  300,000 kg.m  30,000,000 kg.cm
V4  6Pr  6  62,500  375,000 kg
M 30,000,000
As4  4   169.248 cm 2
f s jd 1,500  0.909  130

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 375,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  130  158.59 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 169.248
A s1

4.909
 34.5  35 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
158.59
 20.2  21 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 35-DB 25 mm
474 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

 b
M 5  4Pr  D1  
 2
 1.20 
M 5  4  62,500  1.20  
 2 
M 5  150,000 kg.m  15,000,000 kg.cm
V5  4Pr  4  62,500  250,000 kg

M5 15,000,000
A s5    84.624 cm 2
f s jd 1,500  0.909  130
2L 2  4.40
A s5  A s5   84.624  97.986 cm 2
BL 3.20  4.40
เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 250,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  130  105.727 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 97.986
A s1

4.909
 19.96  20 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
105.727
 13.46  14 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 20-DB 25 mm ใชเหมือนกันทั้งสองทิศทาง

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 475

รูปที่ 6.84 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 12 ตน


476 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.23 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 13 ตน

รูปที่ 6.85 ฐานรากบนเสาเข็ม 13 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 477

ตัวอยางที่ 6.23 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 460 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 350 ตัน ตอมอขนาด
0.90  1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  460,000 kg
LL  350,000 kg
P  DL  LL  810,000 kg
a  90 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  810,000
Np 
75,000
 12.96  13 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.40 m  140 cm  ความลึกประสิทธิผล
478 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  460,000  350,000  810,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 810,000
Pr    62,307.69231 kg / pile
13 13

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ตนกลางตรงตอมอไมมีผลตอแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต
ad 0.90  1.40
x  D1   1.20   0.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
1 x   1 0.05 
Vp  2Pr     2  62,307.69231      77,884.61538 kg
2 D  2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.40
x  D1   1.20   0.10 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
1 x   1  0.10 
Vp  2Pr     2  62,307.69231      31,153.84615 kg
2 D 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนบนลางซายขวาใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต
2 2 2 2
ad bd  0.90  1.40   1.20  1.40 
x  2 D1       2  1.20       0.03859922 m
 2   2   2   2 
D 0.40
  0.20 m
2 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 479

ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา 
D
x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1  0.03859922 
Vp  4  62,307.69231      100,565.1008 kg
2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต
2 2
ad bd
x 2D1 2  D12       5D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  5  1.20 
1
0.90  1.402  1.20  1.402  0.9476 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  62,307.69231  249,230.7692 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  77,884.61538  31,153.84615  100,565.1008  249,230.7692  458,834.3316 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   290  120  2  140   980 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  980  140  1,126,511.428 kg  Vp  458,834.3316 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 3 ตนใกลตอมอ


a 0.90
x  D1   d  1.20   1.40  0.65 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากเสาเข็ม 2 ตนริมขวาสุด


a 0.90
x  2D1   d  2  1.20   1.40  0.55 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
480 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เปนกรณี x  D2 แรงเฉือนแบบคาน
Vb  2Pr  2  62,307.69231  124,615.3846 kg

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  140  201,271.1985 kg  Vb  124,615.3846 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็มบน 5 ตน
b 1.20
x  D1   d  1.20   1.40  0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  560  140  352,224.5974 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.40  0.10  1.50 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.50  0.50 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  460,000  350,000  810,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.90  1.20  0.50  1,296 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  3.20  1.50  64,512 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  3.20  0.90  1.20  0.50  14,229.8 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
13
810,000  1,296  64,512  14,229.8
Pa 
13
Pa  68,464.44615 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 481

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  3Pr  D1    2Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 3D1  1.5a  4D1  a   Pr 7D1  2.5a 
M 4  62,307.69231  7  1.20  2.5  0.90 
M 4  383,192.3077 kg.m  38,319,230.77 kg.cm
V4  5Pr  5  62,307.69231  311,538.4615 kg
M 38,319,230.77
As4  4   200.74 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2 .5
V 311,538.4615
 O 4  ujd4  20.01  0.909  140  122.341 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 200.74
A s1

4.909
 40.9  41 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
122.341
 15.6  16 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 41-DB 25 mm
 b  1.20 
M 5  5Pr  D1    5  62,307.69231  1.20  
 2  2 
M 5  186,923.0769 kg  m  18,692,307.69 kg  cm
V5  5Pr  5  62,307.69231  311,538.4615 kg
M 18,692,307.69
A s5  5   97.922 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

ปรับปริมาณตามมาตรฐานกําหนด
2L 2  5.60
A s5  A s5   97.922  124.628 cm 2
BL 3.20  5.60
เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 311,538.4615
 O5  ujd5  20.01  0.909  140  122.341 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 124.628
A s1

4.909
 25.4  26 เสน
482 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
122.341
 15.6  16 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 26-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริงทางขนานขอบสั้น
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 90
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  225 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 483

รูปที่ 6.86 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 13 ตน


484 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.24 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 14 ตน

รูปที่ 6.87 ฐานรากบนเสาเข็ม 14 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 485

ตัวอยางที่ 6.24 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 480 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 380 ตัน ตอมอขนาด
0.90  1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  480,000 kg
LL  380,000 kg
P  DL  LL  860,000 kg
a  90 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  860,000
Np 
75,000
 13.76  14 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.40 m  140 cm  ความลึกประสิทธิผล
486 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  480,000  380,000  860,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 860,000
Pr    61,428.57143 kg / pile
14 14

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต


ad 0.90  1.40
x  D1   1.20   0.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
1 x   1 0.05 
Vp  2Pr     2  61,428.57143      76,785.71429 kg
 2 D   2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.40
x  D1   1.20   0.10 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
1 x   1  0.10 
Vp  2Pr     2  61,428.57143      30,714.28571 kg
2 D 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนบนลางซายขวาใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต
2 2 2 2
ad bd  0.90  1.40   1.20  1.40 
x  2 D1       2  1.20       0.03859922 m
 2   2   2   2 
D 0.40
  0.20 m
2 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 487

ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา 
D
x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1  0.03859922 
Vp  4  61,428.57143      99,146.19343 kg
2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต
2 2
ad bd
x 2D1 2  D12       5D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  5  1.20 
1
0.90  1.402  1.20  1.402  0.9476 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวาสุดถึงหนาตัดวิกฤต
a 0.90
x  2D1   d  2  1.2   1.40  0.55
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด และ 2 ตนกลางสุดซายขวา
Vp  6Pr  6  61,428.57143  368,571.4286 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  76,785.71429  30,714.28571  99,146.19343  368,571.4286  575,217.622 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   290  120  2  140   980 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  980  140  1,126,511.428 kg  Vp  575,217.622 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 3 ตนใกลตอมอ


a 0.90
x  D1   d  1.20   1.40  0.65 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0
488 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากเสาเข็ม 3 ตนริมขวาสุด


a 0.90
x  2D1   d  2  1.20   1.40  0.55 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vb  3Pr  3  61,428.57143  184,285.7143 kg

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  140  201,271.1985 kg  Vb  184,285.7143 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็มบน 5 ตน
b 1.20
x  D1   d  1.20   1.40  0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  560  140  352,224.5974 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.40  0.10  1.50 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.50  0.50 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  480,000  380,000  860,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.90  1.20  0.50  1,296 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  3.20  1.50  64,512 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  3.20  0.90  1.20   0.50  14,229.8 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
14
860,000  1,296  64,512  14,229.8
Pa 
14
Pa  67,145.55714 kg / pile  75,000 kg / pile
เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 489

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  3Pr  D1    3Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 3D1  1.5a  6D1  1.5a   Pr 9D1  3a   3Pr 3D1  a 
M 4  3  61,428.57143  3  1.20  0.90 
M 4  497,571.4286 kg.m  49,757,142.86 kg.cm
V4  6Pr  6  61,428.57143  368,571.4286 kg
M 49,757,142.86
As4  4   260.6587189 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 368,571.4286
 O 4  ujd4  20.01  0.909  140  144.738 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 260.659
A s1

4.909
 53.1  54 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
144.738
 18.4  19 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 54-DB 25 mm
 b  1.20 
M 5  5Pr  D1    5  61,428.57143  1.20  
 2  2 
M 5  184,285.7143 kg  m  18,428,571.43 kg  cm
V5  5Pr  5  61,428.57143  307,142.8571 kg
M 18,428,571.43
A s5  5   96.54 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

ปรับปริมาณตามมาตรฐานกําหนด
2L 2  5.60
A s5  A s5   96.54  122.869 cm 2
BL 3.20  5.60
เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 307,142.8571
 O5  ujd5  20.01  0.909  140  120.615 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 122.869
A s1

4.909
 25.02  26 เสน
490 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
122.869
 15.6  16 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 26-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริงทางขนานขอบสั้น
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 90
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  225 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 491

รูปที่ 6.88 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 14 ตน


492 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.25 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 15 ตน

รูปที่ 6.89 ฐานรากบนเสาเข็ม 15 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  2D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 493

ตัวอยางที่ 6.25 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 500 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 410 ตัน ตอมอขนาด
0.90  1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  500,000 kg
LL  410,000 kg
P  DL  LL  910,000 kg
a  90 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  910,000
Np 
75,000
 14.56  15 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  2D1  2C  2  1.20  2  0.40  3.20 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.40 m  140 cm  ความลึกประสิทธิผล
494 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  500,000  410,000  914,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 910,000
Pr    60,666.66667 kg / pile
15 15

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางไมมีแรงเฉือนแบบเจาะทะลุรอบตอมอ Vp  0
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวาถึงหนาตัดวิกฤต
ad 0.90  1.40
x  D1   1.20   0.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
 1 x  1 0.05 
Vp  2Pr     2  60,666.66667      75,833.33333 kg
2 D  2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.40
x  D1   1.20   0.10 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
1 x   1  0.10 
Vp  2Pr     2  60,666.66667      30,333.333333 kg
 2 D  2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนบนลางซายขวาใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต
2 2 2 2
ad bd  0.90  1.40   1.20  1.40 
x  2 D1       2  1.20       0.03859922 m
 2   2   2   2 
D 0.40
  0.20 m
2 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 495

ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา 
D
x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1  0.03859922 
Vp  4  60,666.66667      97,916.4732 kg
2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต
2 2
ad bd
x 2D1 2  D12       5D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  5  1.20 
1
0.90  1.402  1.20  1.402  0.9476 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวาสุดถึงหนาตัดวิกฤต
a 0.90
x  2D1   d  2  1.2   1.40  0.55
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด และ 2 ตนกลางสุดซายขวา
Vp  6Pr  6  60,666.66667  364,000 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  75,833.33333  30,333.33333  97,916.4732  364,000  568,083.1399 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   290  120  2  140   980 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  980  140  1,126,511.428 kg  Vp  568,083.1399 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 3 ตนใกลตอมอ


a 0.90
x  D1   d  1.20   1.40  0.65 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0
496 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากเสาเข็ม 3 ตนริมขวาสุด


a 0.90
x  2D1   d  2  1.20   1.40  0.55 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน
Vb  3Pr  3  60,666.66667  182,000 kg

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  320  140  201,271.1985 kg  Vb  182,000 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากศูนยกลางเสาเข็มบน 5 ตน
b 1.20
x  D1   d  1.20   1.40  0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

แรงเฉือนแบบคานที่ฐานรากรับได
Vc  0.29 f c' Ad  0.29  240  560  140  352,224.5974 kg  Vb  0 kg

สามารถรับแรงเฉือนแบบคานได

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.40  0.10  1.50 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.50  0.50 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  500,000  410,000  910,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.90  1.20  0.50  1,296 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  3.20  1.50  64,512 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  3.20  0.90  1.20   0.50  14,229.8 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
15
910,000  1,296  64,512  14,229.8
Pa 
15
Pa  66,002.52 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 497

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  3Pr  D1    3Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 3D1  1.5a  6D1  1.5a   Pr 9D1  3a   3Pr 3D1  a 
M 4  3  60,666.66667  3  1.20  0.90 
M 4  491,400 kg.m  49,140,000 kg.cm
V4  6Pr  6  60,666.66667  364,000 kg
M 49,140,000
As4  4   257.426 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 364,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  140  142.943 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 257.426
A s1

4.909
 52.4  53  54 เสนจัด 2 ชั้นๆ ละ 27 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
142.943
 18.2  19 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 54-DB 25 mm จัดเปน 2 ชั้นๆ ละ 27 เสน


 b  1.20 
M 5  5Pr  D1    5  60,666.66667  1.20  
 2   2 
M 5  182,000 kg  m  18,200,000 kg  cm
V5  5Pr  5  60,666.66667  303,333.3333 kg
M 18,200,000
A s5  5   95.343 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

ปรับปริมาณตามมาตรฐานกําหนด
2L 2  5.60
A s5  A s5   95.343  121.345 cm 2
BL 3.20  5.60
เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 303,333.3333
 O5  ujd5  20.01  0.909  140  119.119 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 121.345
A s1

4.909
 24.7  25  26 เสน
498 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
119.119
 15.2  16 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 26-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริงทางขนานขอบสั้น
b 120
L db  D1  C   C1  120  40   10  90 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 90
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  225 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 499

รูปที่ 6.90 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 15 ตน


500 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.26 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 16 ตน

รูปที่ 6.91 ฐานรากบนเสาเข็ม 16 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  3D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  3D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 501

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต
H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.26 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 520 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 440 ตัน ตอมอขนาด
0.90  1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  520,000 kg
LL  440,000 kg
P  DL  LL  960,000 kg
a  90 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  960,000
Np 
75,000
 15.36  16 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
502 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

A  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m


B  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.40 m  140 cm  ความลึกประสิทธิผล

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  520,000  440,000  960,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 960,000
Pr    60,000 kg / pile
16 16

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนกลางใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


D1 a  d 1.20 0.90  1.40
x     0.55 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


bd 1.20  1.40
x  1.5D1   1.5  1.20   0.50 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  4Pr  4  60,000  240,000 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 503

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนกลางซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 0.90  1.40
x  1.5D1   1.5  1.20   0.65 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  4  60,000  240,000 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  1.5D1 2       1.5 2 D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  1.5 2  1.20 
1
0.90  1.402  1.20  1.402  0.809928916 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  60,000  240,000 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  240,000  240,000  240,000  720,000 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   290  120  2  140   980 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  980  140  1,126,511.428 kg  Vp  720,000 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 4 ตนใกลตอมอ


D1 a 1.20 0.90
x  d    1.40  1.25 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0
504 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 4 ตน


a 0.90
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.40  0.05 m
2 2
เปนกรณี D
 x
2
D
2
ดังนั้น
 1 0.05 
Vb  4  60,000      90,000 kg
 2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  90,000  90,000 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  440  140  276,747.898 kg  Vb  90,000 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


D1 b 1.20 1.20
x  d    1.40  1.40 m
2 2 2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนริมบนสุด


b 1.20
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.40  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x   D2 ดังนั้น Vb  0
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  0  0 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  440  140  276,747.898 kg  Vb  0 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.40  0.10  1.50 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.50  0.50 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  500,000  410,000  910,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  0.90  1.20  0.50  1,296 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  4.40  4.40  1.50  69,696 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  4.40  4.40  0.90  1.20   0.50  15,446.6 kg  น้ําหนักดินถม
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 505

ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
16
960,000  1,296  69,696  15,446.6
Pa 
16
Pa  65,402.4125 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
D a  a
M 4  4Pr  1    4Pr 1.5D1  
 2 2  2
M 4  Pr 2D1  2a  6D1  2a   Pr 8D1  4a   4Pr 2D1  a 
M 4  4  60,000  2  1.20  0.90
M 4  360,000 kg.m  36,000,000 kg.cm
V4  8Pr  8  60,000  480,000 kg
M 36,000,000
As4  4   188.59 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 480,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  140  188.496 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 188.59
A s1

4.909
 38.4  39  40 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
188.496
 24 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 40-DB 25 mm
D b  b
M 5  4Pr  1    4Pr 1.5D1  
 2 2  2
M 5  Pr 2D1  2b  6D1  2b   Pr 8D1  4b   4Pr 2D1  b 
M 5  4  60,000  2  1.20  1.20 
M 5  288,000 kg  m  28,800,000 kg  cm
V5  8Pr  8  60,000  480,000 kg
M5 28,800,000
A s5    150.872 cm 2
f s jd 1,500  0.909  140

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm


506 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 480,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  140  188.496 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 150.872
A s1

4.909
 30.7  31 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
188.496
 24 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 31-DB 25 mm เสริมจริง 40-DB 25 mm ทั้งสองทิศทาง

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  1.5D1  C   C1  1.5  120  40   10  150 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 90
L db  1.5D1  C   C1  1.5  120  40   10  165 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 507

รูปที่ 6.92 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 16 ตน


508 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.27 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 17 ตน

รูปที่ 6.93 ฐานรากบนเสาเข็ม 17 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  3D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 509

ตัวอยางที่ 6.27 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 540 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 470 ตัน ตอมอขนาด
1.00  1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  540,000 kg
LL  470,000 kg
P  DL  LL  1,010,000 kg
a  100 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,010,000
Np 
75,000
 16.16  17 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.50 m  150 cm  ความลึกประสิทธิผล
510 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  540,000  470,000  1,010,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,010,000
Pr    59,411.76471 kg / pile
17 17

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางตอมอไมมีผลกับแรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวาใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต
ad 1.00  1.50
x  D1   1.20   0.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
 1 0.05 
Vp  2  59,411.76471      44,558.82353 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.50
x  1.5D1   1.5  1.20   0.45 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  59,411.76471  118,823.5294 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลาง ถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  D12       3.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  3.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.20  1.502  0.323493816 m
2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 511

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  4  59,411.76471  237,647.0588 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนริมนอกสุดซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.50
x  2D1   2  1.20   1.15 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  59,411.76471  237,647.0588 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  2D1 2       6.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  6.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.20  1.502  1.160163051 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  59,411.76471  237,647.0588 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  44,558.82353  118,523.5294  237,647.0588  237,647.0588  237,647.0588
Vp  876,323.5294 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2100  120  2  150   1,040 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,040  150  1,280,873.052 kg  Vp  876,323.5294 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได
512 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 3 ตนใกลตอมอ


a 1.00
x  D1   d  1.20   1.50  0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 4 ตน


a 1.00
x  2D1   d  2  1.20   1.50  0.40 m
2 2
เปนกรณี x  D2 ดังนั้น
Vb  4  59,411.76471  237,647.0588 kg

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  237,647.0588  237,647.0588 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  440  150  296,515.605 kg  Vb  237,647.0588 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 2 ตนใกลตอมอ


D1 b 1.20 1.20
x  d    1.40  1.40 m
2 2 2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.20
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.40  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x   D2 ดังนั้น Vb  0
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  0  0 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  150  377,383.4973 kg  Vb  0 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.50  0.10  1.60 m 

H p  H  H F  2.00  1.60  0.40 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  500,000  410,000  910,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 513

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.20  0.40  1,152 kg น้ําหนักตอมอ


WF  2400ABH F  2400  5.60  4.40  1.60  94,617.6 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  4.40  1.00  1.20   0.40  15,845.44 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
17
1,010,000  1,152  94,617.6  15,845.44
Pa 
17
Pa  65,977.35529 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  3Pr  D1    4Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 3D1  1.5a  8D1  2a   Pr 11D1  3.5a 
M 4  59,411.76471  11  1.20  3.5  1.00 
M 4  576,294.1176 kg.m  57,629,411.76 kg.cm
V4  7Pr  7  59,411.76471  415,882.3529 kg
M 57,629,411.76
As4  4   281.772 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 415,882.3529
 O 4  ujd4  20.01  0.909  150  152.429 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 281.772
A s1

4.909
 57.4  58 เสน จัด 2 ชั้นๆ ละ 29 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
152.429
 19.4  20 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 58-DB 25 mm จัด 2 ชั้นๆ ละ 29 เสน


D b  b
M 5  2Pr  1    5Pr 1.5D1  
 2 2   2
M 5  Pr D1  b  7.5D1  2.5b   Pr 8.5D1  3.5b 
M 5  59,411.76471  8.5  1.20  3.5  1.20
M 5  356,470.5882 kg  m  35,647,058.82 kg  cm
V5  7 Pr  7  59,411.76471  415,882.3529 kg
M5 35,647,058.82
A s5    174.292 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150
514 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 415,882.3529
 O5  ujd5  20.01  0.909  150  152.429 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 174.292
A s1

4.909
 35.5  36 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
152.429
 19.4  20 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 36-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  1.5D1  C   C1  1.5  120  40   10  150 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 515

รูปที่ 6.94 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 17 ตน


516 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.28 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 18 ตน

รูปที่ 6.95 ฐานรากบนเสาเข็ม 18 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  3D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 517

ตัวอยางที่ 6.28 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 570 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 500 ตัน ตอมอขนาด
1.00  1.20 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  570,000 kg
LL  500,000 kg
P  DL  LL  1,070,000 kg
a  100 cm
b  120 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,070,000
Np 
75,000
 17.12  18 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.50 m  150 cm  ความลึกประสิทธิผล
518 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  570,000  500,000  1,070,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,070,000
Pr    59,444.44444 kg / pile
18 18

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนกลางซายขวาใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.50
x  D1   1.20   0.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
 1 0.05 
Vp  4  59,444.44444      89,166.66667 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.20  1.50
x  1.5D1   1.5  1.20   0.45 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  59,444.44444  118,888.8889 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลาง ถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  D12       3.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  3.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.20  1.502  0.323493816 m
2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 519

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  4  59,444.44444  237,777.7778 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนริมนอกสุดซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.50
x  2D1   2  1.20   1.15 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  59,444.44444  237,777.7778 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  2D1 2       6.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  6.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.20  1.502  1.160163051 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  59,444.44444  237,777.7778 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  89,166.66667  118,888.8889  237,777.7778  237,777.7778  237,777.7778
Vp  921,388.8889 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2100  120  2  150  1,040 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,040  150  1,280,873.052 kg  Vp  921,388.8889 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได
520 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 4 ตนใกลตอมอ


a 1.00
x  D1   d  1.20   1.50  0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 4 ตน


a 1.00
x  2D1   d  2  1.20   1.50  0.40 m
2 2
เปนกรณี x  D2 ดังนั้น
Vb  4  59,444.44444  237,777.7778 kg

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  237,777.7778  237,777.7778 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  440  150  296,515.605 kg  Vb  237,777.7778 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


D1 b 1.20 1.20
x  d    1.50  1.50 m
2 2 2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.20
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.50  0.30 m
2 2
เปนกรณีที่ x   D2 ดังนั้น Vb  0
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  0  0 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  150  377,383.4973 kg  Vb  0 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.50  0.10  1.60 m 

H p  H  H F  2.00  1.60  0.40 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  570,000  500,000  1,070,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 521

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.20  0.40  1,152 kg น้ําหนักตอมอ


WF  2400ABH F  2400  5.60  4.40  1.60  94,617.6 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  4.40  1.00  1.20   0.40  15,845.44 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
18
1,070,000  1,152  94,617.6  15,845.44
Pa 
18
Pa  65,645.28 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  4Pr  D1    4Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 4D1  2a  8D1  2a   Pr 12D1  4a 
M 4  59,444.44444  12  1.20  4  1.00
M 4  618,222.2222 kg.m  61,822,222.22 kg.cm
V4  8Pr  8  59,444.44444  475,555.5556 kg
M 61,822,222.22
As4  4   302.272 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 475,555.5556
 O 4  ujd4  20.01  0.909  150  174.3 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 302.272
A s1

4.909
 61.6  62 เสน จัด 2 ชั้นๆ ละ 31 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
174.3
 22.2  23 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 62-DB 25 mm จัด 2 ชั้นๆ ละ 31 เสน


D b  b
M 5  4Pr  1    5Pr 1.5D1  
 2 2   2
M 5  Pr 2D1  2b  7.5D1  2.5b   Pr 9.5D1  4.5b 
M 5  59,444.44444  9.5  1.20  4.5  1.20 
M 5  356,666.6667 kg  m  35,647,058.82 kg  cm
V5  9Pr  9  59,444.44444  535,000 kg
M5 35,647,058.82
A s5    174.388 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150
522 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 535,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  150  196.088 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 174.388
A s1

4.909
 35.5  36 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
196.088
 24.97  25 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 36-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 120
L db  1.5D1  C   C1  1.5  120  40   10  150 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 523

รูปที่ 6.96 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 18 ตน


524 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.29 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 19 ตน

รูปที่ 6.97 ฐานรากบนเสาเข็ม 19 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  3D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 525

ตัวอยางที่ 6.29 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 600 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 530 ตัน ตอมอขนาด
1.00  1.50 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  600,000 kg
LL  530,000 kg
P  DL  LL  1,130,000 kg
a  100 cm
b  150 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,130,000
Np 
75,000
 18.08  19 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.50 m  150 cm  ความลึกประสิทธิผล
526 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  600,000  530,000  1,130,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,130,000
Pr    59,473.68421 kg / pile
19 19

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางตอมอไมมีผลกับแรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนกลางซายขวาใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต
ad 1.00  1.50
x  D1   1.20   0.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
 1 0.05 
Vp  4  59,473.68421      89,210.52632 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.50  1.50
x  1.5D1   1.5  1.20   0.30 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  59,473.68421  118,947.3684 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลาง ถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  D12       3.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  3.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.50  1.502  0.210768346 m
2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 527

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  4  59,473.68421  237,894.7368 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนริมนอกสุดซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.50
x  2D1   2  1.20   1.15 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  59,473.68421  237,894.7368 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  2D1 2       6.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  6.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.50  1.502  1.047437581 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  59,473.68421  237,894.7368 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  89,210.52632  118,947.3684  237,894.7368  237,894.7368  237,894.7368
Vp  921,842.1053 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2100  150  2  150   1,100 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,100  150  1,354,769.575 kg  Vp  921,842.1053 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได
528 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 4 ตนใกลตอมอ


a 1.00
x  D1   d  1.20   1.50  0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 4 ตน


a 1.00
x  2D1   d  2  1.20   1.50  0.40 m
2 2
เปนกรณี x  D2 ดังนั้น
Vb  4  59,473.68421  237,894.7368 kg

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  237,894.7368  237,894.7368 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  440  150  296,515.605 kg  Vb  237,894.7368 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


D1 b 1.20 1.20
x  d    1.50  1.50 m
2 2 2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.50
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.50  0.45 m
2 2
เปนกรณีที่ x   D2 ดังนั้น Vb  0
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  0  0 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  150  377,383.4973 kg  Vb  0 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.50  0.10  1.60 m 

H p  H  H F  2.00  1.60  0.40 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  600,000  530,000  1,130,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 529

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.50  0.40  1,440 kg น้ําหนักตอมอ


WF  2400ABH F  2400  5.60  4.40  1.60  94,617.6 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  4.40  1.00  1.50   0.40  15,642.64 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
19
1,130,000  1,440  94,617.6  15,642.64
Pa 
19
Pa  65,352.64421 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  4Pr  D1    4Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 4D1  2a  8D1  2a   Pr 12D1  4a 
M 4  59,473.68421  12  1.20  4  1.00 
M 4  618,526.3158 kg.m  61,852,631.58 kg.cm
V4  8Pr  8  59,473.68421  475,789.4737 kg
M 61,852,631.58
As4  4   302.421 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 475,789.4737
 O 4  ujd4  20.01  0.909  150  174.386 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 302.421
A s1

4.909
 61.6  62 เสน จัด 2 ชั้นๆ ละ 31 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
174.386
 22.2  23 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 62-DB 25 mm จัด 2 ชั้นๆ ละ 31 เสน


เนื่องจาก b  1.50 m   D1  1.20 m  ดังนั้น
 b
M 5  5Pr 1.5D1  
 2
 1.50 
M 5  5  59,473.68421  1.5  1.20  
 2 
M 5  312,236.8421 kg  m  31,223,684.21 kg  cm
V5  5Pr  5  59,473.68421  297,368.4211 kg
530 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

M5 31,223,684.21
A s5    152.664 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 297,368.4211
 O5  ujd5  20.01  0.909  150  108.991 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 152.664
A s1

4.909
 31.1  32 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
108.991
 13.9  14 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 32-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 150
L db  1.5D1  C   C1  1.5  120  40   10  135 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 531

รูปที่ 6.98 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 19 ตน


532 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.30 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 20 ตน

รูปที่ 6.99 ฐานรากบนเสาเข็ม 20 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  3D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b

b  ขนาดทางตั้งของตอมอ

C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 533

ตัวอยางที่ 6.30 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 640 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 560 ตัน ตอมอขนาด
1.00  1.50 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  640,000 kg
LL  560,000 kg
P  DL  LL  1,200,000 kg
a  100 cm
b  150 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,200,000
Np 
75,000
 19.2  20 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  3D1  2C  3  1.20  2  0.40  4.40 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.50 m  150 cm  ความลึกประสิทธิผล
534 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  640,000  560,000  1,200,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,200,000
Pr    60,000 kg / pile
20 20

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

ระยะ x จากเสาเข็มคูกลางอทในตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


D1 b  d 1.20 1.50  1.50
x     0.90 m
2 2 2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนกลางซายขวาใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.50
x  D1   1.20   0.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณี D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
 1 0.05 
Vp  4  60,000      90,000 kg
 2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต
bd 1.50  1.50
x  1.5D1   1.5  1.20   0.30 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  60,000  120,000 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลาง ถึงหนาตัดวิกฤต


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 535

2 2
ad bd
x 1.5D1 2  D12       3.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  3.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.50  1.502  0.210768346 m
2

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  4Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  4  60,000  240,000 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนริมนอกสุดซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.50
x  2D1   2  1.20   1.15 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  60,000  240,000 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  2D1 2       6.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  6.25  1.20 
1
1.00  1.502  1.50  1.502  1.047437581 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  60,000  240,000 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  90,000  120,000  240,000  240,000  240,000
Vp  930,000 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2100  150  2  150   1,100 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,100  150  1,354,769.575 kg  Vp  930,000 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได
536 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 4 ตนใกลตอมอ


a 1.00
x  D1   d  1.20   1.50  0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 4 ตน


a 1.00
x  2D1   d  2  1.20   1.50  0.40 m
2 2
เปนกรณี x  D2 ดังนั้น
Vb  4  60,000  240,000 kg

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  240,000  240,000 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  440  150  296,515.605 kg  Vb  240,000 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


D1 b 1.20 1.20
x  d    1.50  1.50 m
2 2 2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.50
x  1.5D1   d  1.5  1.20   1.50  0.45 m
2 2
เปนกรณีที่ x   D2 ดังนั้น Vb  0
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  0  0 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  150  377,383.4973 kg  Vb  0 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

ความหนาฐานราก
H F  t  d  0.10  1.50  0.10  1.60 m 

H p  H  H F  2.00  1.60  0.40 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  640,000  560,000  1,200,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 537

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.50  0.40  1,440 kg น้ําหนักตอมอ


WF  2400ABH F  2400  5.60  4.40  1.60  94,617.6 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  4.40  1.00  1.50   0.40  15,642.64 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
20
1,200,000  1,440  94,617.6  15,642.64
Pa 
20
Pa  65,585.012 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  4Pr  D1    4Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 4D1  2a  8D1  2a   Pr 12D1  4a 
M 4  60,000  12  1.20  4  1.00 
M 4  624,000 kg.m  62,400,000 kg.cm
V4  8Pr  8  60,000  480,000 kg
M 62,400,000
As4  4   305.097 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 480,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  150  175,93 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 305.097
A s1

4.909
 62.15  63  64 เสน จัด 2 ชั้นๆ ละ 32 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
175.93
 22.4  23 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 64-DB 25 mm จัด 2 ชั้นๆ ละ 32 เสน


เนื่องจาก b  1.50 m   D1  1.20 m  ดังนั้น
 b
M 5  5Pr 1.5D1  
 2
 1.50 
M 5  5  60,000  1.5  1.20  
 2 
M 5  315,000 kg  m  31,500,000 kg  cm
V5  5Pr  5  60,000  300,000 kg
538 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

M5 31,500,000
A s5    154.015 cm 2
f s jd 1,500  0.909  150

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 300,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  150  109.956 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 154.015
A s1

4.909
 31.4  32 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
109.956
 14 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 32-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 150
L db  1.5D1  C   C1  1.5  120  40   10  135 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 539

รูปที่ 6.100 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 20 ตน


540 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.31 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 21 ตน

รูปที่ 6.101 ฐานรากบนเสาเข็ม 21 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  4D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 541

b ขนาดทางตั้งของตอมอ
C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.31 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 680 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 600 ตัน ตอมอขนาด
1.00  1.50 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f ' 240
c c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  680,000 kg
LL  600,000 kg
P  DL  LL  1,280,000 kg
a  100 cm
b  150 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,280,000
Np 
75,000
 20.48  21 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


542 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.70 m  170 cm  ความลึกประสิทธิผล

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  680,000  600,000  1,280,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,280,000
Pr    60,952.38095 kg / pile
21 21

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางตอมอไมมีผลตอแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0
ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต
x  2 D1 
1
a  d 2  b  d 2  2  1.20  1 1.00  1.702  1.50  1.702
2 2
x  0.396385866
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.70
x  2D1   2  1.20   1.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2  60,652.38095  121,904.7619 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


bd 1.50  1.70
x  2D1   2  1.20   0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 543

1 x 
ถา 
D
x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  60,952.38095  121,904.7619 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลางรวม 8 ตน แนวกลางถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  D12       3.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  3.25  1.20 
1
1.00  1.702  1.50  1.702  0.0698886923 m
2

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1 0.069888623 
Vp  8  60,952.38095    329,007.0842 kg
2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต
2 2
ad bd
x 2D1 2  2D1 2       8D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  8  1.20 
1
1.00  1.702  1.50  1.702  1.300670408 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  60,952.38095  243,809.5238 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  0  121,904.7619  121,904.7619  329,007.0842  243,809.5238
Vp  816,626.1318 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2100  150  2  150   1,100 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,100  150  1,354,769.575 kg  Vp  816,626.1318 kg
544 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 4 ตนใกลตอมอ


a 1.00
x  D1   d  1.20   1.70  1.00 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 5 ตน


a 1.00
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.20 m
2 2
เปนกรณี x  D2 ดังนั้น
Vb  5  60,952.38095  304,761.9048 kg

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  304,761.9048  304,761.9048 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  560  170  427,701.2968 kg  Vb  304,761.9048 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


b 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้นVb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.50
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.05 m
2 2
เปนกรณีที่ D
 x 1
2
D
2
ดังนั้น
1 x   1 0.05 
Vb  5Pr     5  60,952.38095      114,285.7143 kg
 2 D   2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  114,285.7143  114,285.7143 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  170  427,701.2969 kg  Vb  114,285.7143 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 545

H F  t  d  0.10  1.70  0.10  1.80 m  ความหนาฐานราก

H p  H  H F  2.00  1.80  0.20 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม


P  DL  LL  680,000  600,000  1,280,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.50  0.20  720 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  5.60  1.80  135,475.2 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  5.60  1.00  1.50   0.20  10,092.68 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
21
1,280,000  720  135,475.2  10,092.68
Pa 
21
Pa  67,918.47048 kg / pile  75,000 kg / pile
เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  4Pr  D1    5Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 4D1  2a  10D1  2.5a   Pr 14D1  4.5a 
M 4  60,952.38095  14  1.20  4.5  1.00 
M 4  749,714.2857 kg.m  74,971,428.57 kg.cm
V4  9Pr  9  60,952.38095  548,571.4286 kg
M 74,971,428.57
As4  4   323.438 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 548,571.4286
 O 4  ujd4  20.01  0.909  170  177.408 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 323.438
A s1

4.909
 65.9  66 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
177.408
 22.6  23 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 66-DB 25 mm
546 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

 b  b
M 5  4Pr  D1    5Pr  2D1    Pr 4D1  2b  10D1  2.5b   Pr 14D1  4.5b 
 2  2
M 5  60,952.38095  14  1.20  4.5  1.50
M 5  612,571.4285 kg  m  61,257,142.85 kg  cm
V5  9Pr  9  60,952.38095  548,571.4286 kg
M 61,257,142.85
A s5  5   264.273 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 548,571.4286
 O5  ujd5  20.01  0.909  170  177.408 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 264.273
A s1

4.909
 53.8  54 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
177.408
 22.6  23 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 54-DB 25 mm ใชจริง 66-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 150
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  195 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 547

รูปที่ 6.102 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 21 ตน


548 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.32 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 22 ตน

รูปที่ 6.103 ฐานรากบนเสาเข็ม 22 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  4D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 549

b ขนาดทางตั้งของตอมอ
C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.32 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 720 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 620 ตัน ตอมอขนาด
1.00  1.50 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  720,000 kg
LL  620,000 kg
P  DL  LL  1,340,000 kg
a  100 cm
b  150 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,340,000
Np 
75,000
 21.44  22 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


550 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.70 m  170 cm  ความลึกประสิทธิผล

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  720,000  620,000  1,340,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,340,000
Pr    60,909.09091 kg / pile
22 22

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็ม 2 ตนกลางบนลาง หางจากหนาตัดวิกฤต


bd 1.50  1.70
x  D1   1.20   0.40 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้นแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


x  2 D1 
1
a  d 2  b  d 2  2  1.20  1 1.00  1.702  1.50  1.702
2 2
x  0.396385866
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.00  1.70
x  2D1   2  1.20   1.05 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2  60,909.09091  121,818.1818 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 551

bd 1.50  1.70


x  2D1   2  1.20   0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  60,909.09091  121,818.1818 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลางรวม 8 ตน แนวกลางถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 1.5D1 2  D12       3.25D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  3.25  1.20 
1
1.00  1.702  1.50  1.702  0.0698886923 m
2

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr

เปนกรณีที่ D
 x
2
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
 1 0.069888623 
Vp  8  60,909.09091    328,773.4135 kg
2 0.40 
ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต
2 2
ad bd
x 2D1 2  2D1 2       8D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  8  1.20 
1
1.00  1.702  1.50  1.702  1.300670408 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  60,909.09091  243,636.3636 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  0  121,818.1818  121,818.1818  328,773.4135  243,636.3636
Vp  816,046.1408 kg
552 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2100  150  2  170   1,180 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,180  170  1,647,071.374 kg  Vp  816,046.1408 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 4 ตนใกลตอมอ


a 1.00
x  D1   d  1.20   1.70  1.00 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 5 ตน


a 1.00
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.20 m
2 2
เปนกรณี x  D2 ดังนั้น
Vb  5  60,909.09091  304,545.4545 kg

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  304,545.4545  304,545.4545 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  560  170  427,701.2968 kg  Vb  304,545.4545 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


b 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้นVb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.50
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.05 m
2 2
เปนกรณีที่ D
 x 1
2
D
2
ดังนั้น
 1 x   1 0.05 
Vb  5Pr     5  60,909.09091      114,204.5455 kg
2 D  2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  114,204.5455  114,204.5455 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 553

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  170  427,701.2969 kg  Vb  114,204.5455 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.70  0.10  1.80 m  ความหนาฐานราก

H p  H  H F  2.00  1.80  0.20 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม


P  DL  LL  720,000  620,000  1,340,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.50  0.20  720 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  5.60  1.80  135,475.2 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  5.60  1.00  1.50   0.20  10,092.68 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
22
1,340,000  720  135,475.2  10,092.68
Pa 
22
Pa  67,558.54 kg / pile  75,000 kg / pile
เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  4Pr  D1    5Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 4D1  2a  10D1  2.5a   Pr 14D1  4.5a 
M 4  60,909.09091  14  1.20  4.5  1.00
M 4  749,181.8182 kg.m  74,918,181.82 kg.cm
V4  9Pr  9  60,909.09091  548,181.8182 kg
M 74,918,181.82
As4  4   323.209 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 548,181.8182
 O 4  ujd4  20.01  0.909  170  177.282 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 323.209
A s1

4.909
 65.84  66 เสน
554 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
177.282
 22.6  23 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 66-DB 25 mm
 b  b
M 5  5Pr  D1    5Pr  2D1    5Pr 3D1  b 
 2  2
M 5  5  60,909.09091  3  1.20  1.50 
M 5  639,545.4545 kg  m  63,954,545.45 kg  cm
V5  10Pr  10  60,909.09091  609,090.9091 kg
M 63,954,545.45
A s5  5   275.91 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 609,090.9091
 O5  ujd5  20.01  0.909  170  196.98 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 275.91
A s1

4.909
 56.2  57 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
196.98
 25.08  26 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 57-DB 25 mm ใชจริง 66-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 150
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  195 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 555

รูปที่ 6.104 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 22 ตน


556 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.33 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 23 ตน

รูปที่ 6.105 ฐานรากบนเสาเข็ม 23 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  4D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 557

b ขนาดทางตั้งของตอมอ
C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.33 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 760 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 650 ตัน ตอมอขนาด
1.20  1.50 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f ' 240
c c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  760,000 kg
LL  650,000 kg
P  DL  LL  1,410,000 kg
a  120 cm
b  150 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,410,000
Np 
75,000
 22.56  23 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


558 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.70 m  170 cm  ความลึกประสิทธิผล

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  760,000  650,000  1,410,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,410,000
Pr    61,304.34783 kg / pile
23 23

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็มกลางตอมอไมมีผลตอแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
เสาเข็ม 2 ตนกลางบนลาง หางจากหนาตัดวิกฤต
bd 1.50  1.70
x  D1   1.20   0.40 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้นแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


x  2 D1 
1
a  d 2  b  d 2  2  1.20  1 1.20  1.702  1.50  1.702
2 2
x  0.462226013
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.20  1.70
x  2D1   2  1.20   0.95 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2  61,304.34783  122,608.6957 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 559

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


bd 1.50  1.70
x  2D1   2  1.20   0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  61,304.34783  122,608.6957 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลางรวม 8 ตน แนวกลางถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 2D1 2  D1 2       5D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  5  1.20 
1
1.20  1.702  1.50  1.702  0.523999284 m
2

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  8  61,304.34783  490,434.7826 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 2D1 2  2D1 2       8D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  8  1.20 
1
1.20  1.702  1.50  1.702  1.234830262 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด
Vp  4Pr  4  61,304.34783  245,217.3913 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  0  122,608.6957  122,608.6957  490,434.7826  245,217.3913
Vp  980,869.5652 kg
560 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2120  150  2  170   1,220 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,220  170  1,702,904.302 kg  Vp  980,869.5652 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 4 ตนใกลตอมอ


a 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 5 ตน


a 1.20
x  2D1  d  2  1.20   1.70  0.10 m
2 2
เปนกรณี D
 x
2
D
2
ดังนั้น
Vb  5  61,304.34783  306,521.7391 kg

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  306,521.7391  306,521.7391 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  560  170  427,701.2968 kg  Vb  306,521.7391 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


b 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้นVb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.50
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.05 m
2 2
เปนกรณีที่ D
 x 1
2
D
2
ดังนั้น
 1 x   1 0.05 
Vb  5Pr     5  61,304.34783      114,945.6522 kg
2 D  2 0.40 
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนใกลตอมอ
b 1.50
x  D1   d  1.20   1.70  1.25 m
2 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 561

เปนกรณีที่ x   D21 ดังนั้น


Vb  0

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  114,945.6522  114,945.6522 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  170  427,701.2969 kg  Vb  114,945.6522 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.70  0.10  1.80 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.80  0.20 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  760,000  650,000  1,410,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.50  0.20  720 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  5.60  1.80  135,475.2 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  5.60  1.00  1.50  0.20  10,092.68 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
23
1,410,000  720  135,475.2  10,092.68
Pa 
23
Pa  67,664.69043 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  4Pr  D1    5Pr  2D1  
 2  2
M 4  Pr 4D1  2a  10D1  2.5a   Pr 14D1  4.5a 
M 4  61,304.34783  14  1.20  4.5  1.20
M 4  698,869.5652 kg.m  69,886,956.52 kg.cm
V4  9Pr  9  61,304.34783  551,739.1304 kg
M 69,886,956.52
As4  4   301.503 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm


562 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 551,739.1304
 O 4  ujd4  20.01  0.909  170  178.432 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 301.503
A s1

4.909
 61.4  62 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
178.432
 22.7  23 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 62-DB 25 mm
 b  b
M 5  5Pr  D1    5Pr  2D1    5Pr 3D1  b 
 2   2
M 5  5  61,304.34783  3  1.20  1.50 
M 5  643,695.6522 kg  m  64,369,565.22 kg  cm
V5  10Pr  10  61,304.34783  613,043.4783 kg
M 64,369,565.22
A s5  5   277.7 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 613,043.4783
 O5  ujd5  20.01  0.909  170  198.258 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 277.7

A s1 4.909
 56.6  57 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
198.258
 25.24  26 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 57-DB 25 mm ใชจริง 62-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240

ระยะฝงจริง
b 150
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  195 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 563

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก

รูปที่ 6.106 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 23 ตน


564 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

6.34 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 24 ตน

รูปที่ 6.107 ฐานรากบนเสาเข็ม 24 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  4D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 565

b ขนาดทางตั้งของตอมอ
C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.34 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 800 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 680 ตัน ตอมอขนาด
1.20  1.50 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
Es 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f c' 240
c
1 1
k   0.274
f 1,500
1 s 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1 1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  800,000 kg
LL  680,000 kg
P  DL  LL  1,480,000 kg
a  120 cm
b  150 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,480,000
Np 
75,000
 23.68  24 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


566 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.70 m  170 cm  ความลึกประสิทธิผล

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  800,000  680,000  1,480,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,480,000
Pr    61,666.66667 kg / pile
24 24

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวา หางจากหนาตัดวิกฤต


ad 1.20  1.70
x  D1   1.20   0.25 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
ดังนั้นแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0

เสาเข็ม 2 ตนกลางบนลาง หางจากหนาตัดวิกฤต


bd 1.50  1.70
x  D1   1.20   0.40 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
ดังนั้นแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


x  2 D1 
1
a  d 2  b  d 2  2  1.20  1 1.20  1.702  1.50  1.702
2 2
x  0.462226013
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.20  1.70
x  2D1   2  1.20   0.95 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 567

ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2  61,666.66667  123,333.3333 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


bd 1.50  1.70
x  2D1   2  1.20   0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  61,666.66667  123,333.3333 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลางรวม 8 ตน แนวกลางถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 2D1 2  D1 2       5D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  5  1.20 
1
1.20  1.702  1.50  1.702  0.523999284 m
2

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  8  61,666.66667  493,333.3333 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 2D1 2  2D1 2       8D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  8  1.20 
1
1.20  1.702  1.50  1.702  1.234830262 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
568 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เปนกรณีที่ x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด


Vp  4Pr  4  61,666.66667  246,666.6667 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  0  123,333.3333  123,333.3333  493,333.3333  246,666.6667
Vp  986,666.6667 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2120  150  2  170   1,220 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,220  170  1,702,904.302 kg  Vp  986,666.6667 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 5 ตนใกลตอมอ


a 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 5 ตน


a 1.20
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.10 m
2 2
เปนกรณี D
 x
2
D
2
ดังนั้น
 1 0.10 
Vb  5  61,666.66667    231,250 kg
 2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  231,250  231,250 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  560  170  427,701.2968 kg  Vb  231,250 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


b 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้นVb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.50
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.05 m
2 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 569

เปนกรณีที่  D2  x  D21 ดังนั้น


1 x   1 0.05 
Vb  5Pr     5  61,666.66667      115,625 kg
 2 D   2 0.40 
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนใกลตอมอ
b 1.50
x  D1   d  1.20   1.70  1.25 m
2 2
เปนกรณีที่ D
x 1
2
ดังนั้น
Vb  0

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  115,625  115,625 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  170  427,701.2969 kg  Vb  115,625 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.70  0.10  1.80 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.80  0.20 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  800,000  680,000  1,480,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.50  0.20  720 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  5.60  1.80  135,475.2 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  5.60  1.00  1.50  0.20  10,092.68 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
24
1,480,000  720  135,475.2  10,092.68
Pa 
24
Pa  67,791.995 kg / pile  75,000 kg / pile
เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  5Pr  D1    5Pr  2D1  
 2   2
M 4  Pr 5D1  2.5a  10D1  2.5a   Pr 15D1  5a 
M 4  61,666.66667  15  1.20  5  1.20 
M 4  740,000 kg.m  74,000,000 kg.cm
V4  10Pr  10  61,666.66667  616,666.6667 kg
570 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

M4 74,000,000
As4    319.247611 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 616,666.6667
 O 4  ujd4  20.01  0.909  170  199.43 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 319.248
A s1

4.909
 65.03  66 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
199.43
 25.4  26 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 66-DB 25 mm
 b  b
M 5  5Pr  D1    5Pr  2D1    5Pr 3D1  b 
 2  2
M 5  5  61,666.66667  3  1.20  1.50
M 5  647,500 kg  m  64,750,000 kg  cm
V5  10Pr  10  61,666.66667  616,666.6667 kg
M 64,750,000
A s5  5   279.342 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 616,666.66667
 O5  ujd5  20.01  0.909  170  199.43 cm
จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 279.342
A s1

4.909
 56.9  57 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
199.43
 25.4  26 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 57-DB 25 mm ใชจริง 66-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 571

ระยะฝงจริง
b 150
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  195 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
572 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.108 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 24 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 573

6.35 การออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม 25 ตน

รูปที่ 6.109 ฐานรากบนเสาเข็ม 25 ตน


กําหนด
D ขนาดเสาเข็ม
C  D  ระยะศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  ระยะระหวางศูนยกลางเสาเข็ม

A  4D1  2C  ความยาวของฐานราก

B  4D1  2C  ความกวางของฐานราก

a  ขนาดทางราบของตอมอ ปกติจะนอยกวาหรือเทากับ b
574 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

b ขนาดทางตั้งของตอมอ
C1  0.10 m  ระยะหุมของคอนกรีต

H F  ความหนาของฐานราก

d  H F  C1  H F  0.10  ความลึกประสิทธิผลของฐานราก

ตัวอยางที่ 6.35 จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75


ตัน/ตน รับน้าํ หนักบรรทุกคงที่ใชงาน 840 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 720 ตัน ตอมอขนาด
1.20  1.50 m 2 หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลัง

คอนกรีต fc'  240 ksc กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc

วิธีทํา
ขั้นตอนที่ 1 เตรียมขอมูล
f c'  240 ksc
f c  0.375f c'  0.375  240  90  65 ksc
f y  3,000 ksc
f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc
E s 2,040,000 135.099 135.099
n     8.72
E c 15,100 f ' f ' 240
c c
1 1
k   0.274
fs 1,500
1 1
nf c 8.72  65
k 0.274
j 1  1  0.909
3 3
1 1
R  f c kj   65  0.274  0.909  8.095 ksc
2 2
Pc  75,000 kg
 temp  0.0020  f y  3000 ksc
DL  840,000 kg
LL  720,000 kg
P  DL  LL  1,560,000 kg
a  120 cm
b  150 cm

ขั้นตอนที่ 2 ประมาณน้ําหนักตอมอ ฐานราก ดินถม รวมแลว 20 % ของน้ําหนักลงตอมอ หาจํานวนเสาเข็ม


1.2  1,560,000
Np 
75,000
 24.96  25 ตน
เมื่อ D  0.40 m  40 cm  ขนาดหนาตัดเสาเข็ม
C  D  0.40 m  40 cm  ระยะจากศูนยกลางเสาเข็มถึงขอบฐานราก

D1  3D  3  0.40  1.20 m  120 cm  ระยะหางระหวางศูนยกลางเสาเข็ม


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 575

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
A  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m
B  4D1  2C  4  1.20  2  0.40  5.60 m

C1  0.10 m  10 cm  ระยะหุมของคอนกรีต
สมมติให d  1.70 m  170 cm  ความลึกประสิทธิผล

น้ําหนักบรรทุกบนตอมอ
P  DL  LL  840,000  720,000  1,560,000 kg

เฉลี่ยแรงตานทานสุทธิของเสาเข็มแตละตน
P 1,560,000
Pr    62,400 kg / pile
25 25

ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบเฉือนเจาะทะลุ

เสาเข็มตนกลางตรงตอมอไมมีผลตอแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0
เสาเข็ม 2 ตนกลางซายขวา หางจากหนาตัดวิกฤต
ad 1.20  1.70
x  D1   1.20   0.25 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
ดังนั้นแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0

เสาเข็ม 2 ตนกลางบนลาง หางจากหนาตัดวิกฤต


bd 1.50  1.70
x  D1   1.20   0.40 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่x
D
2
ดังนั้นแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ Vp  0

ระยะ x จากเสาเข็ม 4 ใกลตอมอ ถึงหนาตัดวิกฤต


x  2 D1 
1
a  d 2  b  d 2  2  1.20  1 1.20  1.702  1.50  1.702
2 2
x  0.462226013
D 0.40
  0.20 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้น
Vp  0

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางซายขวา ถึงหนาตัดวิกฤต


ad 1.20  1.70
x  2D1   2  1.20   0.95 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0
576 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

1 x 
ถา 
D
x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2  62,400  124,800 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 2 ตนริมกลางบนลางถึงหนาตัดวิกฤต


bd 1.50  1.70
x  2D1   2  1.20   0.80 m
2 2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  2Pr

เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  2Pr  2  62,400  124,800 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนซายขวาและบนลางรวม 8 ตน แนวกลางถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 2D1 2  D1 2       5D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  5  1.20 
1
1.20  1.702  1.50  1.702  0.523999284 m
2

D 0.40
  0.20 m
2 2
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  0

1 x 
ถา D
 x
D
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr   
2 2 2 D
ถา x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุ Vp  8Pr

เปนกรณีที่ x
D
2
แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็มคูกลาง
Vp  8  62,400  499,200 kg

ระยะ x จากศูนยกลางเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุดถึงหนาตัดวิกฤต


2 2
ad bd
x 2D1 2  2D1 2       8D1 
1
a  d 2  b  d 2
 2   2  2

x  8  1.20 
1
1.20  1.702  1.50  1.702  1.234830262 m
2
D 0.40
  0.20 m
2 2
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 577

เปนกรณีที่ x  D2 แรงเฉือนเจาะทะลุจากเสาเข็ม 4 ตนมุมนอกสุด


Vp  4Pr  4  62,400  249,600 kg

รวมแรงเฉือนเจาะทะลุ
Vp  0  0  124,800  124,800  499,200  249,600
Vp  998,400 kg

เสนรอบรูปหนาตัดวิกฤต
b o  2a  b  2d   2120  150  2  170   1,220 cm

กําลังรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุ
Vcp  0.53 f c' b o d  0.53 240  1,220  170  1,702,904.302 kg  Vp  998,400 kg

ความหนาฐานรากเพียงพอในการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุได

ขั้นตอนที่ 4 ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคาน

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวา 5 ตนใกลตอมอ


a 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
D 0.40
  0.20
2 2
เปนกรณี x
D
2
แรงเฉือนแบบคาน Vb  0

หนาตัดวิกฤต (2) หางจากศูนยกลางเสาเข็มขวาสุด 5 ตน


a 1.20
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.10 m
2 2
เปนกรณี D
 x
2
D
2
ดังนั้น
 1 0.10 
Vb  5  62,400    234,000 kg
 2 0.40 
แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  234,000  234,000 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Bd  0.29 240  560  170  427,701.2968 kg  Vb  234,000 kg

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 4 ตนใกลตอมอ


b 1.20
x  D1   d  1.20   1.70  1.10 m
2 2
เปนกรณีที่ x
D
2
ดังนั้นVb  0

หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนริมบนสุด


b 1.50
x  2D1   d  2  1.20   1.70  0.05 m
2 2
578 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

เปนกรณีที่  D2  x  D21 ดังนั้น


1 x   1 0.05 
Vb  5Pr     5  62,400      117,000 kg
 2 D   2 0.40 
หนาตัดวิกฤต (3) หางจากเสาเข็ม 5 ตนใกลตอมอ
b 1.50
x  D1   d  1.20   1.70  1.25 m
2 2
เปนกรณีที่ D
x 1
2
ดังนั้น
Vb  0

แรงเฉือนแบบคานรวม
Vb  0  117,000  117,000 kg

แรงเฉือนที่รับได
Vcb  0.29 f c' Ad  0.29 240  560  170  427,701.2969 kg  Vb  117,000 kg

ขั้นตอนที่ 5 ตรวจสอบการรับน้ําหนักของเสาเข็ม
H  2.00 m  ความลึกทองฐานราก

H F  t  d  0.10  1.70  0.10  1.80 m ความหนาฐานราก


H p  H  H F  2.00  1.80  0.20 m  ความยาวตอมอและความหนาดินถม

P  DL  LL  840,000  720,000  1,560,000 kg  น้ําหนักลงตอมอ

Wp  2400abH p  2400  1.00  1.50  0.20  720 kg  น้ําหนักตอมอ

WF  2400ABH F  2400  5.60  5.60  1.80  135,475.2 kg  น้ําหนักฐานราก

WBF  1690AB  ab H p  1690  5.60  5.60  1.00  1.50  0.20  10,092.68 kg  น้ําหนักดินถม
ตานทานของเสาเข็มที่เกิดขึน้
P  Wp  WF  WBF
Pa 
25
1,560,000  720  135,475.2  10,092.68
Pa 
25
Pa  68,251.5152 kg / pile  75,000 kg / pile

เสาเข็มยังรับน้าํ หนักไดอยางปลอดภัย

ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมและระยะฝงยึด
 a  a
M 4  5Pr  D1    5Pr  2D1  
 2   2
M 4  Pr 5D1  2.5a  10D1  2.5a   Pr 15D1  5a 
M 4  62,400  15  1.20  5  1.20 
M 4  748,800 kg.m  74,880,000 kg.cm
V4  10Pr  10  62,400  624,000 kg
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 579

M4 74,880,000
As4    323.044 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 624,000
 O 4  ujd4  20.01  0.909  170  201.802 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s 4 323.044
A s1

4.909
 65.8  66 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O4 
201.802
 25.7  26 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 66-DB 25 mm
 b  b
M 5  5Pr  D1    5Pr  2D1    5Pr 3D1  b 
 2  2
M 5  5  62,400  3  1.20  1.50 
M 5  655,200 kg  m  65,520,000 kg  cm
V5  10Pr  10  62,400  624,000 kg
M 65,520,000
A s5  5   282.664 cm 2
f s jd 1,500  0.909  170

เลือกเหล็ก DB 25 mm มี As1  4.909 cm 2 ,  O1  7.854 cm

f c' 240
u  3.23  3.23   20.01 ksc
db 2.5
V 624,000
 O5  ujd5  20.01  0.909  170  201.802 cm

จํานวนเสนจากผลของโมเมนต
N1 
A s5 282.664
A s1

4.909
 57.6  58 เสน
จํานวนเสนจากผลของแรงเฉือนที่แปลงเปนแรงยึดเหนีย่ ว
N2 
 O5 
201.802
 25.7  26 เสน
 O1 7.854

ดังนั้นทิศทางนี้ตองเสริมเหล็ก 58-DB 25 mm ใชจริง 66-DB 25 mm

ตรวจสอบระยะฝง
ระยะฝงพืน้ ฐาน
fy 3000
 db  0.06A b  0.06  4.909   57.04 cm
f c' 240
580 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ระยะฝงจริง
b 150
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  195 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ระยะฝงจริงทางขนานขอบยาว
a 100
L db  2D1  C   C1  2  120  40   10  220 cm   db  57.04 cm
2 2
ระยะฝงเพียงพอ

ขั้นตอนที่ 7 เขียนรายละเอียดฐานราก
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 581

รูปที่ 6.110 รายละเอียดฐานรากบนเสาเข็ม 25 ตน


582 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

แบบฝกหัด
[1] ใหออกแบบฐานรากบนดินแนน กําหนดน้ําหนักบรรทุก กําลังของวัสดุ สวนแรงแบกทานทีย่ อมให
ของดินใหใช 6 หรือ 8 หรือ 10 หรือ 12 หรือ 15 ตันตอตารางเมตร
[2] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 870 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 750 ตัน ตอมอขนาด 1.50  1.50 m 2 หัว
เสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 26 ตน)
[3] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 900 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 780 ตัน ตอมอขนาด 1.50  1.50 m 2 หัว
เสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 27 ตน)
[4] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 940 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 810 ตัน ตอมอขนาด 1.50  1.50 m 2 หัว
เสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 28 ตน)
[5] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 970 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 840 ตัน ตอมอขนาด 1.50  1.50 m 2 หัว
เสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 29 ตน)
[6] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,000 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 870 ตัน ตอมอขนาด 1.50  1.50 m 2 หัว
เสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 30 ตน)
[7] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,030 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 900 ตัน ตอมอขนาด 1.50  2.00 m 2
หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 31 ตน)
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 583

[8] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ


น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,070 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 930 ตัน ตอมอขนาด 1.50  2.00 m 2
หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 32 ตน)
[9] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,100 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 960 ตัน ตอมอขนาด 1.50  2.00 m 2
หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 33 ตน)
[10] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,130 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 990 ตัน ตอมอขนาด 1.50  2.00 m 2
หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 34 ตน)
[11] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,160 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1,020 ตัน ตอมอขนาด 1.50  2.00 m 2
หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 35 ตน)
[12] จงออกแบบฐานรากบนเสาเข็ม S  0.40  0.40  24 m กําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่ยอมให 75 ตัน/ตน รับ
น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน 1,190 ตัน น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน 1,050 ตัน ตอมอขนาด 1.50  2.00 m 2
หัวเสาเข็มลึกจากระดับดินเดิมที่เปนระดับอางอิงดวยประมาณ 2.00 เมตร กําลังคอนกรีต fc'  240 ksc
กําลังครากของเหล็กเสริม f y  3000 ksc (จํานวนเสาเข็ม 36 ตน)
584 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.111 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 26 ตน

รูปที่ 6.112 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 27 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 585

รูปที่ 6.113 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 28 ตน

รูปที่ 6.114 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 29 ตน


586 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.115 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 30 ตน

รูปที่ 6.116 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 31 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 587

รูปที่ 6.117 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 32 ตน

รูปที่ 6.118 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 33 ตน


588 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.119 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 34 ตน

รูปที่ 6.120 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 35 ตน


ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 589

รูปที่ 6.121 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 36 ตน

รูปที่ 6.122 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 37 ตน


590 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

รูปที่ 6.123 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 38 ตน

รูปที่ 6.124 แปลนฐานรากบนเสาเข็ม 39 ตน


ภาคผนวก 591

ภาคผนวก
คําอธิบายตาราง ผ-1
A  ผลรวมของเนื้อที่หนาตัด , cm 2

 O  ผลรวมของเสนรอบรูป , cm
ขนาด = เสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม , mm
น้ําหนัก วัดตอความยาว 1 เมตร , kg/m
RB = Round bar = เสนกลมผิวเรียบ
DB = Deformed bar = เสนขอออย
ขนาดของเหล็กในตาราง ผ-1 แสดงที่นยิ มใชในการออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กทั่วไป
และมีอยูใ นตลาดแลว ความยาวปกติ 10 เมตร และ 12 เมตร หากเปนความยาวอืน่ ตองสั่งจากโรงงาน หาก
ออกแบบใน สปป.ลาว ขนาดโตสุดคือ 20 mm หากโตกวานัน้ ตองสั่งจากไทยหรือเวียดนาม จะทําใหราคา
สูงขึ้น
ปจจุบันที่เครื่องคํานวณวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพสูงขึ้นและราคาถูกลง ดังนั้นการหาเนื้อที่หนา
ตัด และผลรวมเสนรอบวงของเหล็กอาจจะใชวิธีคํานวณหาไดโดยตรงดังนี้
 2
เนื้อที่หนาตัด A s1 
4
db

ความยาวเสนรอบวง  O1  d b

เมื่อ A s1  เนื้อที่หนาตัดเหล็ก 1 เสน, cm 2


 O1  เสนรอบวงของเหล็ก 1 เสน, cm
d b  เสนผานศูนยกลางเหล็ก, cm

  3.141592654  คาคงที่พาย

ขอควรระวังคือเสนผานศูนยกลางเหล็กระบุเปน mm แตตองหารดวย 10 ใหเปน cm กอนนําไปแทนคาใน


สูตรขางตน เมื่อชํานาญแลวก็ไมจําเปนตองพกพาตารางเหล็กอีก
ในกรณีที่ใช Tablet หรือ IPad แลวใช Application DRMK ของ ดร.มงคล มทส. ก็อาจจะบันทึก
สําหรับ pdf-notes เอาไวประกอบการใชกไ็ ด
592 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-1 เนื้อที่หนาตัด น้าํ หนัก และเสนรอบวงของเหล็กเสริมคอนกรีต


ขนาด น้ําหนัก จํานวนเหล็กเสริม
 mm kg/m 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
RB 6 A 0.283 0.566 0.849 1.132 1.415 1.698 1.981 2.264 2.547 2.83
0.222
- O 1.884 3.768 5.652 7.536 9.42 11.304 13.188 15.072 16.956 18.84
RB 9 A 0.636 1.272 1.908 2.544 3.18 3.816 4.452 5.088 5.724 6.36
0.499
- O 2.827 5.654 8.481 11.308 14.135 16.962 19.789 22.616 25.443 28.27
- A 0.785 1.57 2.355 3.14 3.925 4.71 5.495 6.28 7.065 7.85
0.617
DB 10 O 3.141 6.282 9.423 12.564 15.705 18.846 21.987 25.128 28.269 31.41
RB 12 A 1.131 2.262 3.393 4.524 5.655 6.786 7.917 9.048 10.179 11.31
0.888
DB 12 O 3.77 7.54 11.31 15.08 18.85 22.62 26.39 30.16 33.93 37.7
RB 15 A 1.767 3.534 5.301 7.068 8.835 10.602 12.369 14.136 15.903 17.67
1.387
- O 4.712 9.424 14.136 18.848 23.56 28.272 32.984 37.696 42.408 47.12
- A 2.01 4.02 6.03 8.04 10.05 12.06 14.07 16.08 18.09 20.1
1.578
DB 16 O 5.026 10.052 15.078 20.104 25.13 30.156 35.182 40.208 45.234 50.26
RB 19 A 2.835 5.67 8.505 11.34 14.175 17.01 19.845 22.68 25.515 28.35
2.226
- O 5.969 11.938 17.907 23.876 29.845 35.814 41.783 47.752 53.721 59.69
- A 3.141 6.282 9.423 12.564 15.705 18.846 21.987 25.128 28.269 31.41
2.466
DB 20 O 6.283 12.566 18.849 25.132 31.415 37.698 43.981 50.264 56.547 62.83
RB 25 A 4.909 9.818 14.727 19.636 24.545 29.454 34.363 39.272 44.181 49.09
3.854
DB 25 O 7.854 15.708 23.562 31.416 39.27 47.124 54.978 62.832 70.686 78.54
RB 28 A 6.157 12.314 18.471 24.628 30.785 36.942 43.099 49.256 55.413 61.57
4.835
DB 28 O 8.796 17.592 26.388 35.184 43.98 52.776 61.572 70.368 79.164 87.96
- A 8.042 16.084 24.126 32.168 40.21 48.252 56.294 64.336 72.378 80.42
6.314
DB 32 O 10.053 20.106 30.159 40.212 50.265 60.318 70.371 80.424 90.477 100.53
- A 10.178 20.356 30.534 40.712 50.89 61.068 71.246 81.424 91.602 101.78
7.992
DB 36 O 11.309 22.618 33.927 45.236 56.545 67.854 79.163 90.472 101.781 113.09
ภาคผนวก 593

คําอธิบายตาราง ผ-2 ระยะเรียงเหล็กในแผนพื้นและโครงสรางอื่นๆ


การคํานวณปริมาณเหล็กเสริมในแผนพืน้ จะไดปริมาณเหล็กเสริมเปน cm 2 / m เนื่องจากในการ
วิเคราะหจะตัดพื้นกวาง 1 เมตรเสมือนเปนคานแบน
M cm 2
As 
f s jd m

โดยโมเมนตดดั M มีหนวยเปน kg  cm / m
การแสดงปริมาณเหล็กเสริมในพื้นจะแสดงเปนระยะเรียงเหล็กเสริมเปนเมตรหรือมิลลิเมตร วิธีหา
ระยะเรียงจะหาไดโดยใชเนือ้ ที่หนาตัดเหล็ก 1 เสน หารดวย เนื้อที่หนาตัดที่ตองการในหนวย cm 2 / m ระยะ
เรียงที่ไดจะเปนหนวย m
A s1
s
As

สําหรับตาราง ผ-2 เปนการระบุระยะเรียงเปนเมตร และแสดงเนื้อทีห่ นาตัดในแถวบน และเสนรอบ


รูปในแถวลาง ทั้งนี้ระยะเรียงจะตองไมเกิน 3 เทาของความหนาพื้น และไมเกิน 45 cm ระยะหางระหวางผิว
เหล็ก s  d b ตองไมนอยกวา 3 cm เพื่อใหหินแทรกลงได

ตาราง ผ-2 เนื้อที่หนาตัด As และผลรวมของเสนรอบวง  O ของเหล็กในแผนพื้น


S A s cm 2 / m
สําหรับเหล็กขนาดตางๆ
m O cm / m
RB 6 mm RB 9 mm - RB 12 mm RB 15 mm - RB 19 mm - RB 25 mm
- DB 10 mm DB 12 mm - DB 16 mm - DB 20 mm DB 25 mm
5.66 12.72 15.7 22.62 35.34 40.22 56.7 62.84 98.175
0.05
37.68 56.54 62.82 75.4 94.26 100.52 119.38 125.66 157.08
4.717 10.6 13.083 18.85 29.45 33.517 47.25 52.367 81.812
0.06
31.4 47.117 52.35 62.833 78.55 83.767 99.483 104.717 130.9
4.043 9.086 11.214 16.157 25.243 28.729 40.5 44.886 70.125
0.07
26.914 40.386 44.871 53.857 67.329 71.8 85.271 89.757 112.2
3.773 8.48 10.467 15.08 23.56 26.813 37.8 41.893 65.45
0.075
25.12 37.693 41.88 50.267 62.84 67.013 79.587 83.773 104.72
3.538 7.95 9.813 14.138 22.088 25.138 35.438 39.275 61.359
0.08
23.55 35.338 39.263 47.125 58.913 62.825 74.613 78.538 98.175
3.144 7.067 8.722 12.567 19.633 22.344 31.5 34.911 54.542
0.09
20.933 31.411 34.9 41.889 52.367 55.844 66.322 69.811 87.266
2.83 6.36 7.85 11.31 17.67 20.11 28.35 31.42 49.087
0.10
18.84 28.27 31.41 37.7 47.13 50.26 59.69 62.83 78.54
594 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-2 (ตอ)


S A s cm 2 / m
สําหรับเหล็กขนาดตางๆ
m O cm / m
RB 6 mm RB 9 mm - RB 12 mm RB 15 mm - RB 19 mm - RB 25 mm
- DB 10 mm DB 12 mm - DB 16 mm - DB 20 mm DB 25 mm
2.573 5.782 7.136 10.282 16.064 18.282 25.773 28.564 44.625
0.11
17.127 25.7 28.555 34.273 42.845 45.691 54.264 57.118 71.4
2.358 5.3 6.542 9.425 14.725 16.758 23.625 26.183 40.906
0.12
15.7 23.558 26.175 31.417 39.275 41.883 49.742 52.358 65.45
2.264 5.088 6.28 9.048 14.136 16.088 22.68 25.136 39.27
0.125
15.072 22.616 25.128 30.16 37.704 40.208 47.752 50.264 62.832
2.177 4.892 6.038 8.7 13.592 15.469 21.808 24.169 37.76
0.13
14.492 21.746 24.162 29 36.254 38.662 45.915 48.331 60.415
2.021 4.543 5.607 8.079 12.621 14.364 20.25 22.443 35.062
0.14
13.457 20.193 22.436 26.929 33.664 35.9 42.636 44.879 56.1
1.887 4.24 5.233 7.54 11.78 13.407 18.9 20.947 32.725
0.15
12.56 18.847 20.94 25.133 31.42 33.507 39.793 41.887 52.36
1.769 3.975 4.906 7.069 11.044 12.569 17.719 19.638 30.68
0.16
11.775 17.669 19.631 23.563 29.456 31.413 37.306 39.269 49.087
1.665 3.741 4.618 6.653 10.394 11.829 16.676 18.482 28.875
0.17
11.082 16.629 18.476 22.176 27.724 29.565 35.112 36.959 46.2
1.617 3.634 4.486 6.463 10.097 11.491 16.2 17.954 28.05
0.175
10.766 16.154 17.948 21.543 26.931 28.72 34.109 35.903 44.88
1.572 3.533 4.361 6.283 9.817 11.172 15.75 17.456 27.271
0.18
10.467 15.706 17.45 20.944 26.183 27.922 33.161 34.906 43.633
1.489 3.347 4.132 5.953 9.3 10.584 14.921 16.537 25.835
0.19
9.916 14.879 16.532 19.842 24.805 26.453 31.416 33.068 41.337
1.415 3.18 3.925 5.655 8.835 10.055 14.175 15.71 24.544
0.20
9.42 14.135 15.705 18.85 23.565 25.13 29.845 31.415 39.27
1.348 3.029 3.738 5.386 8.414 9.576 13.5 14.962 23.375
0.21
8.971 13.462 14.957 17.9521 22.443 23.933 28.424 29.919 37.4
1.286 2.891 3.568 5.141 8.032 9.141 12.886 14.282 22.312
0.22
8.564 12.85 14.277 17.136 21.423 22.845 27.132 28.559 35.7
1.258 2.827 3.489 5.027 7.853 8.938 12.6 13.964 21.817
0.225
8.373 12.564 13.96 16.756 20.947 22.338 26.529 27.924 34.907
1.23 2.765 3.413 4.917 7.683 8.743 12.326 13.661 21.342
0.23
8.191 12.291 13.656 16.391 20.491 21.852 25.952 27.317 34.148
1.179 2.65 3.271 4.713 7.363 8.379 11.813 13.092 20.453
0.24
7.85 11.779 13.088 15.708 19.638 20.942 24.871 26.179 32.725
1.132 2.544 3.14 4.524 7.068 8.044 11.34 12.568 19.635
0.25
7.536 11.308 12.564 15.08 18.852 20.104 23.876 25.132 31.416
ภาคผนวก 595

ตาราง ผ-2 (ตอ)


S A s cm 2 / m
สําหรับเหล็กขนาดตางๆ
m O cm / m
RB 6 mm RB 9 mm - RB 12 mm RB 15 mm - RB 19 mm - RB 25 mm
- DB 10 mm DB 12 mm - DB 16 mm - DB 20 mm DB 25 mm
1.088 2.446 3.019 4.35 6.796 7.735 10.904 12.085 18.88
0.26
7.246 10.873 12.081 14.5 18.127 19.331 22.958 24.165 30.208
1.048 2.356 2.907 4.189 6.544 7.448 10.5 11.637 18.181
0.27
6.978 10.47 11.633 13.963 17.456 18.615 22.107 23.27 29.089
1.029 2.313 2.855 4.113 6.425 7.313 10.309 11.425 17.85
0.275
6.851 10.28 11.422 13.709 17.138 18.276 21.705 22.847 28.56
1.011 2.271 2.804 4.039 6.311 7.182 10.125 11.221 17.531
0.28
6.728 10.096 11.218 13.464 16.832 17.95 21.318 22.439 28.05
0.976 2.193 2.707 3.9 6.093 6.934 9.776 10.834 16.927
0.29
6.497 9.748 10.831 13 16.252 17.331 20.583 21.666 27.083
0.943 2.12 2.617 3.77 5.89 6.703 9.45 10.473 16.362
0.30
6.28 9.423 10.47 12.567 15.71 16.753 19.897 20.943 26.18
0.913 2.052 2.532 3.648 5.7 6.487 9.145 10.135 15.835
0.31
6.077 9.119 10.132 12.161 15.203 16.213 19.255 20.268 25.335
0.884 1.988 2.453 3.534 5.522 6.284 8.859 9.819 15.34
0.32
5.888 8.834 9.816 11.781 14.728 15.706 18.653 19.634 24.544
0.871 1.957 2.415 3.48 5.437 6.188 8.723 9.668 15.104
0.325
5.797 8.698 9.665 11.6 14.502 15.465 18.366 19.332 24.166
0.858 1.927 2.379 3.427 5.355 6.094 8.591 9.521 14.875
0.33
5.709 8.567 9.518 11.424 14.282 15.23 18.088 19.039 23.8
0.832 1.871 2.309 3.326 5.197 5.915 8.338 9.241 14.437
0.34
5.541 8.315 9.238 11.088 13.862 14.782 17.556 18.479 23.1
0.809 1.817 2.243 3.231 5.049 5.746 8.1 8.977 14.025
0.35
5.383 8.077 8.974 10.771 13.266 14.36 17.054 17.951 22.44
0.786 1.767 2.181 3.142 4.908 5.586 7.875 8.728 13.635
0.36
5.233 7.853 8.725 10.472 13.092 13.961 16.581 17.453 21.817
0.765 1.719 2.122 3.057 4.776 5.435 7.662 8.492 13.267
0.37
5.092 7.641 8.489 10.189 12.738 13.584 16.132 16.981 21.227
0.745 1.674 2.066 2.976 4.65 5.292 7.461 8.268 12.918
0.38
4.958 7.439 8.266 9.921 12.403 13.226 15.708 16.534 20.668
0.726 1.631 2.013 2.9 4.531 5.156 7.269 8.056 12.587
0.39
4.831 7.249 8.054 9.667 12.085 12.887 15.305 16.11 20.138
0.708 1.59 1.963 2.828 4.418 5.028 7.088 7.855 12.272
0.40
4.71 7.068 7.853 9.425 11.783 12.565 14.923 15.708 19.635
0.69 1.551 1.915 2.759 4.31 4.905 6.915 7.663 11.973
0.41
4.595 6.895 7.661 9.195 11.495 12.259 14.559 15.324 19.156
596 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-2 (ตอ)


S A s cm 2 / m
สําหรับเหล็กขนาดตางๆ
m O cm / m
RB 6 mm RB 9 mm - RB 12 mm RB 15 mm - RB 19 mm - RB 25 mm
- DB 10 mm DB 12 mm - DB 16 mm - DB 20 mm DB 25 mm
0.694 1.514 1.869 2.693 4.207 4.788 6.75 7.481 11.687
0.42
4.486 6.731 7.479 8.976 11.221 11.967 14.212 14.96 18.7
0.666 1.496 1.847 2.661 4.158 4.732 6.671 7.393 11.55
0.425
4.433 6.652 7.391 8.871 11.089 11.826 14.212 14.784 18.48
0.658 1.479 1.826 2.63 4.109 4.677 6.593 7.307 11.416
0.43
4.381 6.574 7.305 8.767 10.96 11.688 13.881 14.612 18.265
0.643 1.445 1.784 2.57 4.016 4.57 6.443 7.141 11.156
0.44
4.282 6.425 7.139 8.568 10.711 11.423 13.566 14.28 17.85
0.629 1.413 1.744 2.513 3.927 4.469 6.3 6.982 10.908
0.45
4.187 6.282 6.98 8.378 10.473 11.169 13.264 13.962 17.453

คําอธิบายตาราง ผ-3 หนวยแรงยึดเหนีย่ วที่ยอมให


กําหนดให u  หนวยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมให, kg / cm 2  ksc
f c'  กําลังอัดประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐานอายุ 28 วัน , kg / cm 2  ksc

d b  เสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม, cm

เหล็กบนรับแรงดึง (เหล็กบน = เหล็กที่มคี อนกรีตอยูใตผิวเหล็กอยางนอย 30 cm)


f c'
เสนกลมผิวเรียบ u  1.145
db
 11.0 ksc

f c'
ขอออย u  2.29
db
 25.0 ksc

เหล็กอื่นที่ไมใชเหล็กบน เชนเหล็กฐานราก
f c'
เสนกลมผิวเรียบ u  1.615
db
 11.0 ksc

f c'
ขอออย u  3.23
db
 35.0 ksc
ภาคผนวก 597

ตาราง ผ-3 หนวยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมใหของคอนกรีต (เหล็กบนรับแรงดึง)


f c' ขนาดเหล็ก, mm
ksc RB 6 RB 9 - RB 12 RB 15 - RB 19 - RB 25 - - -
- - DB 10 DB 12 - DB 16 - DB 20 DB 25 DB 28 DB 32 DB 36
11.0 11.0 - 9.542 7.633 - 6.026 - 4.58 - - -
100
- - 22.9 19.083 - 14.313 - 11.45 9.16 8.179 7.156 6.361
11.0 11.0 - 10.452 8.362 - 6.601 - 5.017 - - -
120
- - 25.0 20.905 - 15.679 - 12.543 10.034 8.959 7.839 6.968
11.0 11.0 - 11.0 9.349 - 7.381 - 5.609 - - -
150
- - 25.0 23.372 - 17.529 - 14.023 11.219 10.017 8.765 7.791
11.0 11.0 - 11.0 9.349 - 8.085 - 6.145 - - -
180
- - 25.0 25.0 - 19.202 - 15.362 12.289 10.973 9.601 8.534
11.0 11.0 - 11.0 10.795 - 8.522 - 6.477 - - -
200
- - 25.0 25.0 - 20.241 - 16.193 12.594 11.566 10.12 8.996
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 8.733 - 6.637 - - -
210
- - 25.0 25.0 - 20.741 - 16.593 13.274 11.852 10.37 9.218
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 9.336 - 7.095 - - -
240
- - 25.0 25.0 - 22.173 - 17.738 14.191 12.67 11.086 9.855
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 9.528 - 7.242 - - -
250
- - 25.0 25.0 - 22.63 - 18.104 14.483 12.931 11.315 10.058
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 10.084 - 7.664 - - -
280
- - 25.0 25.0 - 23.949 - 19.16 15.328 13.685 16.733 10.644
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 10.78 - 8.193 - - -
320
- - 25.0 25.0 - 25.0 - 20.482 16.386 14.63 12.801 11.379
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 8.568 - - -
350
- - 25.0 25.0 - 25.0 - 21.421 17.137 15.301 13.388 11.901
598 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-3 หนวยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมใหของคอนกรีต (เหล็กอื่นรับแรงดึง)


f c' ขนาดเหล็ก, mm
ksc RB 6 RB 9 - RB 12 RB 15 - RB 19 - RB 25 - - -
- - DB 10 DB 12 - DB 16 - DB 20 DB 25 DB 28 DB 32 DB 36
11.0 11.0 - 11.0 10.767 - 8.5 - 6.46 - - -
100
- - 32.3 26.917 - 20.188 - 16.15 12.92 11.536 10.094 8.972
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 9.311 - 7.077 - - -
120
- - 35.0 29.486 - 22.114 - 17.691 14.153 12.637 11.057 9.829
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 10.41 - 7.912 - - -
150
- - 35.0 32.966 - 24.725 - 19.78 15.824 14.128 12.362 10.989
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 8.667 - - -
180
- - 35.0 35.0 - 27.084 - 21.667 17.334 15.477 13.542 12.037
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 9.136 - - -
200
- - 35.0 35.0 - 28.549 - 22.84 18.272 16.314 14.275 12.689
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 9.361 - - -
210
- - 35.0 35.0 - 29.254 - 23.404 18.723 16.717 14.627 13.002
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 10.008 - - -
240
- - 35.0 35.0 - 31.274 - 25.019 20.016 17.871 15.637 13.9
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 10.214 - - -
250
- - 35.0 35.0 - 31.919 - 25.535 20.428 18.24 15.96 14.186
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 10.81 - - -
280
- - 35.0 35.0 - 33.78 - 27.024 21.619 19.303 16.89 15.013
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 11.0 - - -
320
- - 35.0 35.0 - 35.0 - 28.89 23.112 20.636 18.056 16.05
11.0 11.0 - 11.0 11.0 - 11.0 - 11.0 - - -
350
- - 35.0 35.0 - 35.0 - 30.214 24.171 21.581 18.884 16.785
ภาคผนวก 599

คําอธิบายตาราง ผ-4 ระยะฝงและระยะทาบของเหล็กเสริม


วิธีหนวยแรงใชงาน
d bfs
Ld 
4u

Ld  ระยะทาบและระยะฝงของเหล็กเสริม, cm
เสนกลมเรียบ Ld  60 cm
ขอออย Ld  30 cm
d b  เสนผานศูนยกลางเหล็ก, cm

f s  0.5f y  หนวยแรงดึงที่ยอมใหของเหล็กเสริม  1,200 ksc เสนกลมผิวเรียบ และ  1,700 ksc

ขอออย ในตาราง ผ-3 ใช f s  1200 ksc สําหรับเหล็กผิวเรียบ และ f s  1500 ksc สําหรับเหล็กขอออย
u  หนวยแรงยึดเหนี่ยวที่ยอมให (ตามตาราง ผ-3)

สําหรับเหล็กขนาด 25 mm ขึน้ ไป ควรใชตวั ตอทางกล (coupler) ที่เปนกระบอกเกลียวใน สวนเหล็กเสริมจะ


ทําปลายใหอว นขึ้นและทําเกลียวนอกโดยรองเกลียวโตกวาขอออย ทําใหสามารถหมุนผานขอออยแลวยึดได
อยางแข็งแรง หากทดสอบดึงจะขาดจุดอื่นไมใชตรงจุดตอ ปจจุบันนิยมตอดวยตัวตอทางกลตั้งแตขนาด 16
mm ขึ้นไป
วิธีกําลัง
เหล็กขอออยรับแรงดึง ใชกบั เหล็กขนาด d b  36 mm
fy
 db  0.06A b  30 cm
f c'

เหล็กขอออยรับแรงอัด
fy
 db  0.075d b  0.0043d b f y  20 cm
f c'

เมื่อ  db  ระยะฝงยึดพืน้ ฐาน, cm


f c'  700 ksc  กําลังทรงกระบอกคอนกรีตมาตรฐาน

f y  5,600 ksc  กําลังครากของเหล็กเสริม

d b  เสนผานศูนยกลางของเหล็กเสริม, cm

A b  d 2b  เนื้อที่หนาตัดเหล็ก 1 เสน, cm 2
4
600 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-4 ระยะฝงและระยะทาบของเหล็กเสริมวิธีหนวยแรงใชงาน


f c' ขนาดเหล็ก , mm
ksc RB 6 mm RB 9 mm - RB 12 mm RB 15 mm - RB 19 mm - RB 25 mm
- - DB 10 mm DB 12 mm - DB 16 mm - DB 20 mm DB 25 mm
60 60 - 60 60 - 95 - 163.8
(60) (60) - (60) (60) - (67) - (116.1)
100
- - 30 30 - 40 - 65.5 102.3
- - (30) (30) - (30) - (46.4) (72.56)
60 60 - 60 60 - 86.35 - 149.5
(60) (60) - (60) (60) - (61.22) - (105.98)
120
- - 30 30 - 38.3 - 65.5 93.43
- - (30) (30) - (30) - (46.44) (66.24)
60 60 - 60 60 - 77.22 - 133.71
150 (60) (60) - (60) (60) - (60) - (94.79)
- - 30 30 - 34.22 - 53.48 83.56
- - (30) (30) - (30) - (37.92) (59.25)
60 60 - 60 60 - 70.5 - 122.05
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (86.54)
180
- - 30 30 - 31.25 - 48.82 76.29
- - (30) (30) - (30) - (34.61) (54.08)
60 60 - 60 60 - 66.89 - 115.79
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (82.09)
200
- - 30 30 - 30 - 46.32 74.44
- - (30) (30) - (30) - (32.84) (51.31)
60 60 - 60 60 - 65.27 - 113
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (80.12)
210
- - 30 30 - 30 - 45.2 70.63
- - (30) (30) - (30) - (32.05) (50.07)
60 60 - 60 60 - 61.05 - 105.71
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (74.94)
240
- - 30 30 - 30 - 42.28 66.06
- - (30) (30) - (30) - (30) (46.84)
60 60 - 60 60 - 60 - 103.56
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (73.43)
250
- - 30 30 - 30 - 41.43 64.73
- - (30) (30) - (30) - (30) (45.89)
60 60 - 60 60 - 60 - 97.86
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (69.38)
280
- - 30 30 - 30 - 39.14 61.16
- - (30) (30) - (30) - (30) (43.36)
หมายเหตุ คานอกวงเล็บสําหรับเหล็กบน และคาในวงเล็บสําหรับเหล็กอื่น
ภาคผนวก 601

ตาราง ผ-4 ระยะฝงและระยะทาบของเหล็กเสริมวิธีหนวยแรงใชงาน


f c' ขนาดเหล็ก , mm
ksc RB 6 mm RB 9 mm - RB 12 mm RB 15 mm - RB 19 mm - RB 25 mm
- - DB 10 mm DB 12 mm - DB 16 mm - DB 20 mm DB 25 mm
60 60 - 60 60 - 60 - 91.54
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (68.18)
320
- - 30 30 - 30 - 36.62 57.21
- - (30) (30) - (30) - (30) (40.56)
60 60 - 60 60 - 60 - 87.54
(60) (60) - (60) (60) - (60) - (68.18)
350
- - 30 30 - 30 - 35.01 54.71
- - (30) (30) - (30) - (30) (38.79)
หมายเหตุ คานอกวงเล็บสําหรับเหล็กบน และคาในวงเล็บสําหรับเหล็กอื่น

คําอธิบายตารางที่ ผ-5 หนวยแรงที่ยอมให


อัตราสวนโมดูลัสยืดหยุน n  EE s  2,040,000'  135.099
'
c 15,100 f c fc

โมเมนตดัด หนวยแรงอัดที่ผวิ ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. f c1  0.45f c'


โมเมนตดัด หนวยแรงอัดที่ผวิ ตามกฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6 f c2  0.375f c'  65 ksc
โมเมนตดัด หนวยแรงดึงที่ผวิ ฐานรากและกําแพงคอนกรีตลวน f ct  0.42 f c'
แรงเฉือน คานคอนกรีตลวน หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหที่คอนกรีตรับได vcb  0.29 f c'
แรงเฉือน ตงคอนกรีตลวน หนวยแรงเฉือนที่ยอมใหที่คอนกรีตรับได vcj  0.32 f c'
แรงเฉือน หนวยแรงเฉือนรวมที่ยอมใหเมือ่ มีเหล็กเสริมรับแรงเฉือน vcT  1.32 f c'
แรงเฉือน หนวยแรงเฉือนทีย่ อมใหจากผลของแรงบิด vctor  1.32 f c'
แรงเฉือน หนวยแรงเฉือนทีย่ อมใหทั้งหมดรวมผลของแรงบิด v ctotal  1.65 f c'
แรงเฉือน หนวยแรงเฉือนแบบเจาะทะลุสําหรับพื้นและฐานราก vcp  0.53 f c'
แรงกด หนวยแรงกดที่เกิดขึน้ เต็มพื้นที่ (เชนหัวเสาเข็ม) v cbar1  0.25f c'
แรงกด หนวยแรงกดที่เกิดขึน้ หนึ่งในสามของเนื้อที่หรือนอยกวา (เชนทองฐานราก) v cbar 2  0.37f c'
602 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตารางที่ ผ-5 หนวยแรงที่ยอมให


รายการ กําลังประลัยของคอนกรีต f c' , ksc
100 120 150 180 200 210 240 250 280 320 350
n 13.509 12.333 11.031 10.07 9.553 9.323 8.721 8.544 8.074 7.552 7.221
f c1 45 54 67.5 81 90 94.5 108 112.5 126 144 157.5
fc2 37.5 45 56.25 65 65 65 65 65 65 65 65
f ct 4.2 4.6 5.144 5.635 5.94 6.086 6.507 6.641 7.028 7.513 7.857
v cb 2.9 3.177 3.552 3.891 4.101 4.202 4.493 4.585 4.853 5.188 5.425
v cj 3.2 3.505 3.919 4.293 4.525 4.637 4.957 5.06 5.355 5.724 5.987
v cT 13.2 14.46 16.167 17.71 18.668 19.129 20.449 20.871 22.088 23.613 24.695
v ctor 13.2 14.46 16.167 17.71 18.668 19.129 20.449 20.871 22.088 23.613 24.695
v ctotal 16.5 18.075 20.208 22.137 23.335 23.911 25.562 26.089 27.61 29.516 30.869
v cp 5.3 5.806 6.491 7.111 7.495 7.68 8.211 8.38 8.869 9.481 9.915
v cbar1 25 30 37.5 45 50 52.5 60 62.5 70 80 87.5
v cbar 2 37 44.4 55.5 66.6 74 77.7 88.8 92.5 103.6 118.4 129.5

คําอธิบายตาราง ผ-6 กําลังของหนาตัดคานขนาดตางๆ

ในการออกแบบในประเทศไทยที่ยังคงใชกฎกระทรวงมหาดไทยฉบับที่ 6 ที่จํากัดเรื่องกําลังใน
คอนกรีต และรวมกับขอกําหนดตามมาตรฐาน ว.ส.ท. โดยเฉพาะอยางยิ่งความกวางคานไมควรนอยกวา 20
cm เพื่อที่จะใหคานที่มาฝากนั้นเหล็กรับแรงดึงในคานฝากสามารถฝงเขาไปในคานรับฝากไดไมนอ ยกวา 15
cm รวมทั้งในมาตรฐาน UBC 1997 สําหรับคานหลักในโครงสรางที่ตองรับแผนดินไหวนั้นตองมีความกวาง
อยางนอย 30 cm พารามิเตอรตางๆ ที่จําเปนมีดังนี้
f c'  173 ksc กําลังประลัยตัวอยางมาตรฐานทรงกระบอกคอนกรีต

f c  0.375f c'  0.375  173  64.875 ksc  65 ksc กําลังดัดที่ยอมให

f y  3,000 ksc  กําลังครากของเหล็กขอออยที่มีการใชงานมากที่สุด

f s  0.5f y  0.5  3,000  1,500 ksc  กําลังที่ยอมใหของเหล็กเสริม


E s 2,040,000 135.099 135.099
n     10.271
E c 15,100 f ' f ' 173
c c
1 1
k   0.308
f 1,500
1 s 1
nf c 10.271  64.875
k 0.308
j 1  1  0.897
3 3
1 1
R  f c kj   64.875  0.308  0.897  8.962 ksc
2 2
v cb  0.29 f c'  0.29 173  3.814 ksc

v ctor  1.32 f c'  1.32 173  17.362 ksc


ภาคผนวก 603

v ctotal  1.65 f c'  1.65 173  21.702 ksc

คานหนาตัดกวาง b cm ลึก t cm กําลังรับโมเมนตดัดบวก เหล็กรับแรงดึงอยูลาง เหล็กรับแรงอัดอยู


บน แกนสะเทิน NA พื้นที่แรเงารับแรงอัด ระยะหุมของคอนกรีตทางซายและขวา 3.5 cm บนและลาง 4 cm
ประมาณขนาดเหล็กลูกตั้งรับแรงเฉือน d bs ขนาดเหล็กเสริม d b จํานวนชั้นเหล็กเสริม โดยระยะหาง
ระหวางชัน้ 2.5 cm
สมมติเหล็กรับแรงดึงมีหนึง่ ชั้น ความลึกประสิทธิผลซึ่งคือระยะจากผิวรับแรงอัดถึงเซนทรอยดของ
เหล็กรับแรงดึงหาไดจาก
db
d  t  4  d bs 
2
ความลึกของเหล็กรับแรงอัดจากผิวรับแรงอัดหาไดจาก
db
d '  4  d bs 
2
ในตาราง ผ-6 จะใช d bs  9 mm  0.9 cm และ d b  20 mm  2 cm ดังนั้น
2.0
d  t  4  0.9   t  5.9 cm
2
2.0
d '  4  0.9   5.9 cm
2
น้ําหนักคาน w  2,400bt kg / m

เมื่อ b และ t มีหนวยเปนเมตร


โมเมนตดัดสมดุล M R  M c  Rbd 2 kg  cm

แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได Vc  v cb bd  0.29 f c' bd kg

เหล็กเสริมที่หนาตัดสมดุล A SR 
MR
f s jd
cm 2

' 2
v ctor b 2 t 1.32 f c b t
โมเมนตบิดทีร่ ับได Mt 
3.5

3.5
kg  cm
604 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 14.1 cm
0.10  0.20 48 178.2 0.94 537.8 99.2
0.11  0.20 52.8 196 1.03 591.6 120
0.12  0.20 57.6 213.8 1.13 645.3 142.9
0.125  0.20 60 222.7 1.17 672.2 155
0.13  0.20 62.4 231.6 1.22 699.1 167.7
0.14  0.20 67.2 249.4 1.31 752.9 194.5
0.15  0.20 72 267.3 1.41 806.7 223.2
d = 19.1 cm
0.10  0.25 60 326.9 1.27 728.5 124.0
0.11  0.25 66 359.6 1.40 801.3 150.1
0.12  0.25 72 392.3 1.53 874.2 178.6
0.125  0.25 75 408.7 1.59 910.6 193.8
0.13  0.25 78 425 1.65 947 209.6
0.14  0.25 84 457.7 1.78 1019.9 243.1
0.15  0.25 90 490.4 1.91 1092.7 279.0
0.20  0.25 120 653.9 2.54 1456.9 496.1
d = 24.1 cm
0.10  0.30 72 520.5 1.61 919.2 148.8
0.11  0.30 79.2 572.6 1.77 1011.1 180.1
0.12  0.30 86.4 624.6 1.93 1103 214.3
0.125  0.30 90 650.7 2.01 1149 232.5
0.13  0.30 93.6 676.7 2.09 1194.9 251.5
0.14  0.30 100.8 728.7 2.25 1286.8 291.7
0.15  0.30 108 780.8 2.41 1378.8 334.8
0.20  0.30 144 1041 3.21 1838.3 595.3
d = 29.1 cm
0.10  0.35 84 758.9 1.94 1109.9 173.6
0.11  0.35 92.4 834.8 2.13 1220.9 210.1
0.12  0.35 100.8 910.7 2.33 1331.8 250
0.125  0.35 105 948.6 2.42 1387.3 271.3
0.13  0.35 109.2 986.6 2.52 1442.8 293.4
0.14  0.35 117.6 1062.5 2.71 1553.8 340.3
0.15  0.35 126 1138.4 2.91 1664.8 390.6
0.20  0.35 168 1517.8 3.88 2219.7 694.5
ภาคผนวก 605

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 34.1 cm
0.10  0.40 96 1042.1 2.27 1300.6 198.4
0.11  0.40 105.6 1146.3 2.50 1430.6 240.1
0.12  0.40 115.2 1250.5 2.73 1560.7 285.7
0.125  0.40 120 1302.6 2.84 1625.7 310
0.13  0.40 124.8 1354.7 2.95 1690.7 335.3
0.14  0.40 134.4 1459 3.18 1820.8 388.9
0.15  0.40 144 1563.2 3.41 1950.9 446.5
0.20  0.40 192 2084.2 4.54 2601.1 793.7
0.25  0.40 240 2605.3 5.68 3251.4 1240.1
d = 39.1 cm
0.10  0.45 108 1370.1 2.60 1491.3 223.2
0.11  0.45 118.8 1507.1 2.86 1640.4 270.1
0.12  0.45 129.6 1644.1 3.13 1789.5 321.4
0.125  0.45 135 1712.6 3.26 1864.1 348.8
0.13  0.45 140.4 1781.2 3.39 1938.7 377.3
0.14  0.45 151.2 1918.2 3.65 2087.8 437.5
0.15  0.45 162 2055.2 3.91 2236.9 502.3
0.20  0.45 216 2740.2 5.21 2982.5 892.9
0.25  0.45 270 3425.3 6.51 3728.2 1395.2
d = 44.1 cm
0.10  0.50 120 1742.9 2.94 1682 248
0.11  0.50 132 1917.2 3.23 1850.2 300.1
0.12  0.50 144 2091.5 3.52 2018.4 357.2
0.125  0.50 150 2178.7 3.67 2102.5 387.5
0.13  0.50 156 2265.8 3.82 2186.6 419.2
0.14  0.50 168 2440.1 4.11 2354.8 486.1
0.15  0.50 180 2614.4 4.41 2523 558.1
0.20  0.50 240 3485.9 5.87 3363.9 992.1
0.25  0.50 300 4357.3 7.34 4204.9 1550.2
0.30  0.50 360 5228.8 8.81 5045.9 2232.3
606 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 49.1 cm
0.10  0.55 132 2160.6 3.27 1872.7 272.8
0.11  0.55 145.2 2376.6 3.60 2059.9 330.1
0.12  0.55 158.4 2592.7 3.92 2247.2 392.9
0.125  0.55 165 2700.7 4.09 2340.8 426.3
0.13  0.55 171.6 2808.7 4.25 2434.5 461.1
0.14  0.55 184.8 3024.8 4.58 2621.7 534.7
0.15  0.55 198 3240.9 4.91 2809.0 613.9
0.20  0.55 264 4321.1 6.54 3745.3 1091.3
0.25  0.55 330 5401.4 8.18 4681.7 1705.2
0.30  0.55 396 6481.7 9.81 5618.0 2455.5
d = 54.1 cm
0.10  0.60 144 2623.0 3.60 2063.4 297.6
0.11  0.60 158.4 2885.3 3.96 2269.7 360.1
0.12  0.60 172.8 3147.6 4.32 2476.0 428.6
0.125  0.60 180 3278.8 4.50 2579.2 465.1
0.13  0.60 187.2 3409.9 4.68 2682.4 503.0
0.14  0.60 201.6 3672.2 5.04 2888.7 583.4
0.15  0.60 216 3934.5 5.41 3095.1 669.7
0.20  0.60 288 5246.0 7.21 4126.7 1190.5
0.25  0.60 360 6557.5 9.01 5158.4 1860.2
0.30  0.60 432 7869.0 10.81 6190.1 2678.7
d = 59.1 cm
0.10  0.65 156 3130.3 3.94 2254.1 322.4
0.11  0.65 171.6 3443.3 4.33 2479.5 390.1
0.12  0.65 187.2 3756.3 4.72 2704.9 464.3
0.125  0.65 195 3912.8 4.92 2817.6 503.8
0.13  0.65 202.8 4069.3 5.12 2930.3 544.9
0.14  0.65 218.4 4382.4 5.51 3155.7 632.0
0.15  0.65 234 4695.4 5.90 3381.1 725.5
0.20  0.65 312 6260.5 7.87 4508.1 1289.7
0.25  0.65 390 7825.6 9.84 5635.2 2015.2
0.30  0.65 468 9390.8 11.81 6762.2 2901.9
ภาคผนวก 607

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 64.1 cm
0.10  0.70 168 3682.3 4.27 2444.8 347.2
0.11  0.70 184.8 4050.5 4.70 2689.3 420.2
0.12  0.70 201.6 4418.8 5.12 2933.7 500.0
0.125  0.70 210 4602.9 5.34 3056.0 542.6
0.13  0.70 218.4 4787.0 5.55 3178.2 586.8
0.14  0.70 235.2 5155.2 5.98 3422.7 680.6
0.15  0.70 252 5523.5 6.40 3667.2 781.3
0.20  0.70 336 7364.6 8.54 4889.5 1389.0
0.25  0.70 420 9205.8 10.67 6111.9 2170.3
0.30  0.70 504 11046.9 12.81 7334.3 3125.2
0.35  0.70 588 12888.1 14.94 8556.7 4253.7
d = 69.1 cm
0.10  0.75 180 4279.2 4.60 2635.5 372.0
0.11  0.75 198 4707.1 5.06 2899.0 450.2
0.12  0.75 216 5135.0 5.52 3162.6 535.7
0.125  0.75 225 5349.0 5.75 3294.3 581.3
0.13  0.75 234 5562.9 5.98 3426.1 628.8
0.14  0.75 252 5990.9 6.44 3689.7 729.2
0.15  0.75 270 6418.8 6.90 3953.2 837.1
0.20  0.75 360 8558.4 9.21 5270.9 1488.2
0.25  0.75 450 10698.0 11.51 6588.7 2325.3
0.30  0.75 540 12837.6 13.81 7906.4 3348.4
0.35  0.75 630 14977.1 16.11 9224.2 4557.5
0.40  0.75 720 17116.7 18.41 10541.9 5952.7
d = 74.1 cm
0.10  0.80 192 4920.9 4.94 2826.2 396.8
0.11  0.80 211.2 5413.0 5.43 3108.8 480.2
0.12  0.80 230.4 5905.0 5.92 3391.4 571.5
0.125  0.80 240 6151.1 6.17 3532.7 620.1
0.13  0.80 249.6 6397.1 6.42 3674.0 670.7
0.14  0.80 268.8 6889.2 6.91 3956.6 777.8
0.15  0.80 288 7381.3 7.40 4239.3 892.9
0.20  0.80 384 9841.7 9.87 5652.3 1587.4
0.25  0.80 480 12302.2 12.34 7065.4 2480.3
0.30  0.80 576 14762.6 14.81 8478.5 3571.6
0.35  0.80 672 17223.0 17.27 9891.6 4861.4
0.40  0.80 768 19683.5 19.74 11304.7 6349.5
608 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 84.1 cm
0.10  0.90 216 6338.7 5.60 3207.6 446.5
0.15  0.90 324 9508.0 8.40 4811.4 1004.5
0.20  0.90 432 12677.3 11.20 6415.1 1785.8
0.25  0.90 540 15846.6 14.00 8018.9 2790.3
0.30  0.90 648 19016.0 16.80 9622.7 4018.1
0.35  0.90 756 22185.3 19.61 11226.5 5469.0
0.40  0.90 864 25354.6 22.41 12830.3 7143.2
0.45  0.90 972 28523.9 25.21 14434.1 9040.6
0.50  0.90 1080 31693.3 28.01 16037.9 11161.3
0.55  0.90 1188 34862.6 30.81 17641.7 13505.2
0.60  0.90 1296 38031.9 33.61 19245.4 16072.3
d = 94.1 cm
0.10  1.00 240 7935.7 6.27 3589.0 496.1
0.15  1.00 360 11903.5 9.40 5383.5 1116.1
0.20  1.00 480 15871.4 12.54 7177.9 1984.2
0.25  1.00 600 19839.2 15.67 8972.4 3100.4
0.30  1.00 720 23807.0 18.80 10766.9 4464.5
0.35  1.00 840 27774.9 21.94 12561.4 6076.7
0.40  1.00 960 31742.7 25.07 14355.9 7936.9
0.45  1.00 1080 35710.6 28.20 16150.4 10045.2
0.50  1.00 1200 39678.4 31.34 17944.9 12401.4
0.55  1.00 1320 43646.2 34.47 19739.4 15005.7
0.60  1.00 1440 47614.1 37.61 21533.8 17858.1
d = 104.1 cm
0.10  1.10 264 9711.9 6.93 3970.4 545.7
0.15  1.10 396 14567.9 10.40 5955.6 1227.7
0.20  1.10 528 19423.9 13.87 7940.7 2182.7
0.25  1.10 660 24279.9 17.33 9925.9 3410.4
0.30  1.10 792 29135.8 20.80 11911.1 4911.0
0.35  1.10 924 33991.8 24.27 13896.3 6684.4
0.40  1.10 1056 38847.8 27.74 15881.5 8730.6
0.45  1.10 1188 43703.8 31.20 17866.7 11049.7
0.50  1.10 1320 48559.7 34.67 19851.9 13641.6
0.55  1.10 1452 53415.7 38.14 21837.1 16506.3
0.60  1.10 1584 58271.7 41.60 23822.2 19643.9
ภาคผนวก 609

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 114.1 cm
0.15  1.20 432 17501.2 11.40 6527.7 1339.4
0.20  1.20 576 23334.9 15.20 8703.5 2381.1
0.25  1.20 720 29168.6 19.00 10879.4 3720.4
0.30  1.20 864 35002.4 22.80 13055.3 5357.4
0.35  1.20 1008 40836.1 26.60 15231.2 7292.0
0.40  1.20 1152 46669.8 30.40 17407.1 9524.3
0.45  1.20 1296 52503.6 34.20 19583.0 12054.2
0.50  1.20 1440 58337.3 38.00 21758.9 14881.7
0.55  1.20 1584 64171.0 41.80 23934.8 18006.9
0.60  1.20 1728 70004.7 45.60 26110.6 21429.7
d = 124.1 cm
0.15  1.30 468 20703.3 12.40 7099.8 1451.0
0.20  1.30 624 27604.4 16.53 9466.3 2579.5
0.25  1.30 780 34505.5 20.66 11832.9 4030.5
0.30  1.30 936 41406.6 24.80 14199.5 5803.9
0.35  1.30 1092 48307.7 28.93 16566.1 7899.7
0.40  1.30 1248 55208.8 33.06 18932.7 10318.0
0.45  1.30 1404 62109.9 37.20 21299.3 13058.7
0.50  1.30 1560 69011.0 41.33 23665.9 16121.9
0.55  1.30 1716 75912.1 45.46 26032.5 19507.4
0.60  1.30 1872 82813.2 49.60 28399.0 23215.5
0.65  1.30 2028 89714.3 53.73 30765.6 27245.9
0.70  1.30 2184 96615.4 57.86 33132.2 31598.8
d = 134.1 cm
0.15  1.40 504 24174.3 13.40 7671.9 1562.6
0.20  1.40 672 32232.4 17.86 10229.1 2777.9
0.25  1.40 840 40290.5 22.33 12786.4 4340.5
0.30  1.40 1008 48348.6 26.80 15343.7 6250.3
0.35  1.40 1176 56406.7 31.26 17901.0 8507.4
0.40  1.40 1344 64464.8 35.73 20458.3 11111.7
0.45  1.40 1512 72522.9 40.19 23015.6 14063.2
0.50  1.40 1680 80581.0 44.66 25572.9 17362.0
0.55  1.40 1848 88639.1 49.13 28130.2 21008.0
0.60  1.40 2016 96697.2 53.59 30687.4 25001.3
0.65  1.40 2184 104755.3 58.06 33244.7 29341.8
0.70  1.40 2352 112813.4 62.52 35802.0 34029.5
610 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 144.1 cm
0.15  1.50 540 27914.1 14.40 8244.0 1674.2
0.20  1.50 720 37218.8 19.20 10991.9 2976.3
0.25  1.50 900 46523.6 24.00 13739.9 4650.5
0.30  1.50 1080 55828.3 28.79 16487.9 6696.8
0.35  1.50 1260 65133.0 33.59 19235.9 9115.1
0.40  1.50 1440 74437.7 38.39 21983.9 11905.4
0.45  1.50 1620 83742.4 43.19 24731.9 15067.7
0.50  1.50 1800 93047.1 47.99 27479.9 18602.1
0.55  1.50 1980 102351.8 52.79 30227.9 22508.6
0.60  1.50 2160 111656.5 57.59 32975.8 26787.1
0.65  1.50 2340 120961.2 62.39 35723.8 31437.6
0.70  1.50 2520 130266.0 67.19 38471.8 36460.2
d = 154.1 cm
0.15  1.60 576 31922.8 15.40 8816.1 1785.8
0.20  1.60 768 42563.8 20.53 11754.7 3174.8
0.25  1.60 960 53204.7 25.66 14693.4 4960.6
0.30  1.60 1152 63845.7 30.79 17632.1 7143.2
0.35  1.60 1344 74486.6 35.92 20570.8 9722.7
0.40  1.60 1536 85127.6 41.06 23509.5 12699.1
0.45  1.60 1728 95768.5 46.19 26448.2 16072.3
0.50  1.60 1920 106409.5 51.32 29386.9 19842.3
0.55  1.60 2112 117050.4 56.45 32325.6 24009.2
0.60  1.60 2304 127691.3 61.59 35264.2 28572.9
0.65  1.60 2496 138332.3 66.72 38202.9 33533.5
0.70  1.60 2688 148973.2 71.85 41141.6 38890.9
ภาคผนวก 611

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 164.1 cm
0.15  1.70 612 36200.4 16.40 9388.2 1897.4
0.20  1.70 816 48267.2 21.86 12517.5 3373.2
0.25  1.70 1020 60334.0 27.33 15646.9 5270.6
0.30  1.70 1224 72400.8 32.79 18776.3 7589.7
0.35  1.70 1428 84467.6 38.26 21905.7 10330.4
0.40  1.70 1632 96534.4 43.72 25035.1 13492.8
0.45  1.70 1836 108601.2 49.19 28164.5 17076.8
0.50  1.70 2040 120668.0 54.65 31293.9 21082.4
0.55  1.70 2244 132734.8 60.12 34423.3 25509.7
0.60  1.70 2448 144801.6 65.58 37552.6 30358.7
0.65  1.70 2652 156868.4 71.05 40682.0 35629.3
0.70  1.70 2856 168935.2 76.51 43811.4 41321.6
0.80  1.70 3264 193068.8 87.44 50070.2 53971.0
0.90  1.70 3672 217202.4 98.37 56329.0 68307.1
1.00  1.70 4080 241336.0 109.30 62587.7 84329.7
d = 174.1 cm
0.15  1.80 648 40746.8 17.39 9960.3 2009.0
0.20  1.80 864 54329.1 23.19 13280.3 3571.6
0.25  1.80 1080 67911.4 28.99 16600.4 5580.6
0.30  1.80 1296 81493.6 34.79 19920.5 8036.1
0.35  1.80 1512 95075.9 40.59 23240.6 10938.1
0.40  1.80 1728 108658.2 46.39 26560.7 14286.4
0.45  1.80 1944 122240.5 52.18 29880.8 18081.3
0.50  1.80 2160 135822.7 57.98 33200.9 22322.6
0.55  1.80 2376 149405.0 63.78 36521.0 27010.3
0.60  1.80 2592 162987.3 69.58 39841.0 32144.5
0.65  1.80 2808 176569.6 75.38 43161.1 37725.1
0.70  1.80 3024 190151.8 81.17 46481.2 43752.2
0.80  1.80 3456 217316.4 92.77 53121.4 57145.8
0.90  1.80 3888 244480.9 104.37 59761.6 72325.1
1.00  1.80 4320 271645.5 115.96 66401.7 89290.3
612 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 184.1 cm
0.20  1.90 912 60749.5 24.52 14043.1 3770.0
0.25  1.90 1140 75936.8 30.66 17553.9 5890.7
0.30  1.90 1368 91124.2 36.79 21064.7 8482.6
0.35  1.90 1596 106311.6 42.92 24575.5 11545.7
0.40  1.90 1824 121498.9 49.05 28086.3 15080.1
0.45  1.90 2052 136686.3 55.18 31597.1 19085.8
0.50  1.90 2280 151873.7 61.31 35107.9 23562.7
0.55  1.90 2508 167061.0 67.44 38618.7 28510.9
0.60  1.90 2736 182248.4 73.57 42129.4 33930.3
0.65  1.90 2964 197435.8 79.71 45640.2 39821.0
0.70  1.90 3192 212623.2 85.84 49151.0 46182.9
0.80  1.90 3648 242997.9 98.10 56172.6 60320.5
0.90  1.90 4104 273372.6 110.36 63194.2 76343.2
1.00  1.90 4560 303747.4 122.62 70215.7 94250.9
d = 194.1 cm
0.20  2.00 960 67528.3 25.86 14805.9 3968.5
0.25  2.00 1200 84410.4 32.32 18507.4 6200.7
0.30  2.00 1440 101292.5 38.79 22208.9 8929.0
0.35  2.00 1680 118174.6 45.25 25910.4 12153.4
0.40  2.00 1920 135056.7 51.71 29611.9 15873.8
0.45  2.00 2160 151938.7 58.18 33313.4 20090.3
0.50  2.00 2400 168820.8 64.64 37014.9 24802.9
0.55  2.00 2640 185702.9 71.11 40716.4 30011.5
0.60  2.00 2880 202585.0 77.57 44417.8 35716.1
0.65  2.00 3120 219467.1 84.03 48119.3 41916.8
0.70  2.00 3360 236349.2 90.50 51820.8 48613.6
0.80  2.00 3840 270113.3 103.43 59223.8 63495.3
0.90  2.00 4320 303877.5 116.36 66626.8 80361.3
1.00  2.00 4800 337641.6 129.28 74029.7 99211.4
ภาคผนวก 613

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 240 cm
0.20  2.50 1200 103242.2 31.97 18307.2 4960.6
0.30  2.50 1800 154863.4 47.96 27460.8 11161.3
0.40  2.50 2400 206484.5 63.94 36614.4 19842.3
0.50  2.50 3000 258105.6 79.93 45768.0 31003.6
0.60  2.50 3600 309726.7 95.91 54921.6 44645.1
0.70  2.50 4200 361347.8 111.90 694075.2 60767.0
0.80  2.50 4800 412969.0 127.89 73228.8 79369.1
0.90  2.50 5400 464590.1 143.87 82382.4 100451.6
1.00  2.50 6000 516211.2 159.86 91536.0 124014.3
1.10  2.50 6600 567832.3 175.84 100689.6 150057.3
1.20  2.50 7200 619453.4 191.83 109843.2 178580.6
1.30  2.50 7800 671074.6 207.81 118996.8 209584.1
1.40  2.50 8400 722695.7 223.80 128150.4 243068.0
1.50  2.50 9000 774316.8 239.79 137304.0 279032.1
d = 285 cm
0.20  3.00 1440 145587.7 37.97 21739.8 5952.7
0.30  3.00 2160 218381.5 56.95 32609.7 13393.5
0.40  3.00 2880 291175.4 75.93 43479.6 23810.7
0.50  3.00 3600 263969.2 94.92 54349.5 37204.3
0.60  3.00 4320 436763.1 113.90 65219.4 53574.2
0.70  3.00 5040 509556.9 132.88 76089.3 72920.4
0.80  3.00 5760 582350.8 151.86 86959.2 95243.0
0.90  3.00 6480 655144.6 170.85 97829.1 120541.9
1.00  3.00 7200 727938.5 189.83 108699.0 148817.1
1.10  3.00 7920 800732.3 208.81 119568.9 180068.7
1.20  3.00 8640 873526.1 227.80 130438.8 214296.7
1.30  3.00 9360 946320.0 246.78 141308.7 251501.0
1.40  3.00 10080 1019113.8 265.76 152178.6 291681.6
1.50  3.00 10800 1091907.7 284.75 163048.5 334838.6
614 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-6 สมบัติของหนาตัดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


bt w MR A SR Vc Mt
mm kg / m kg  m cm 2 kg kg  m
d = 335 cm
0.20  3.50 1680 201152.1 44.63 25553.8 6944.8
0.30  3.50 2520 301728.1 66.94 38330.7 15625.8
0.40  3.50 3360 402304.2 89.25 51107.6 27779.2
0.50  3.50 4200 502880.2 111.57 63884.5 43405.0
0.60  3.50 5040 603456.3 133.88 76661.4 62503.2
0.70  3.50 5880 704032.3 156.19 89438.3 85073.8
0.80  3.50 6720 804608.4 178.51 102215.2 111116.8
0.90  3.50 7560 905184.4 200.82 114992.1 140632.2
1.00  3.50 8400 1005760.5 223.13 127769.0 173620.0
1.10  3.50 9240 1106336.5 245.45 140545.9 210080.2
1.20  3.50 10080 1206912.5 267.76 153322.8 250012.8
1.30  3.50 10920 1307488.6 290.07 166099.7 293417.8
1.40  3.50 11760 1408064.6 312.39 178876.6 340295.2
1.50  3.50 12600 1508640.7 334.70 191653.5 390645.0
d = 385 cm
0.20  4.00 1920 265678.5 51.29 29,367.8 7,936.9
0.30  4.00 2880 398517.7 76.93 44,051.7 17,858.1
0.40  4.00 3840 531357.0 102.58 58,735.6 31,747.7
0.50  4.00 4800 664196.2 128.22 73,419.5 49,605.7
0.60  4.00 5760 797035.5 153.86 88,103.4 71,432.2
0.70  4.00 9720 929874.4 179.51 102,787.3 97,227.2
0.80  4.00 7680 1062714.0 205.15 117,471.2 126,990.6
0.90  4.00 8640 1195553.2 230.79 132,155.1 160,722.5
1.00  4.00 9600 1,328,392.5 256.44 146,839.0 198,422.9
1.10  4.00 10560 1,461,231.7 282.08 161,522.9 240,091.7
1.20  4.00 11520 1,594,070.9 307.73 176,206.8 285,728.9
1.30  4.00 12480 1,726,910.2 333.37 190,890.7 335,334.6
1.40  4.00 13440 1,859,749.4 359.01 205,574.6 388,908.8
1.50  4.00 14400 1,992,588.7 384.66 220,258.5 446,451.4
ภาคผนวก 615

คําอธิบายตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง


A vf vd
V  Vc 
s

เมื่อ V  1.03 f c' bd  แรงเฉือนทั้งหมดที่หนาตัดวิกฤต (ระยะ d จากขอบที่รองรับ) , kg


Vc  0.29 f c' bd  แรงเฉือนที่คอนกรีตรับได, kg

A v  เนื้อที่หนาตัดเหล็กลูกตั้งสองขา , cm 2

f v  0.5f y  กําลังรับแรงดึงเนื่องจากแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ksc

f y  4,200 ksc  กําลังครากของเหล็กลูกตั้ง

d  ความลึกประสิทธิผลวัดจากผิวรับแรงอัดถึงเซนทรอยดเหล็กรับแรงดึง, cm

s  ระยะเรียงของเหล็กลูกตั้ง, cm

ในกรณีที่ V  Vc  0.795 f c' bd ระยะเรียง s กําหนดดังนี้


A vf vd
s
V  Vc
d
s
2
s  60 cm
ในกรณีที่ 0.795 f c' bd  V  Vc  1.03 f c' bd ระยะเรียง s กําหนดดังนี้
A vf vd
s
V  Vc
d
s
4
s  30 cm
ตาราง ผ-7 จะกําหนดระยะเรียง s แลวแสดงคา V  Vc ของเล็กลูกตั้งวงเดียว หากไมพอใหเพิ่มจํานวนวง
แลวคูณแรงเฉือนดวยจํานวนวงจะเปนแรงเฉือนที่เหล็กลูกตั้งรับได
ขนาดเหล็กลูกตั้งที่นิยมใชคอื RB 6 mm สําหรับคานที่มีเหล็กตามยาวตั้งแต 12 mm ถึง 16 mm
ขนาด RB 9 mm หรือ DB 10 mm สําหรับคานที่มีเหล็กตามยาวตั้งแต 20 mm ถึง 25 mm ขนาด DB 12 mm
สําหรับคานที่มีเหล็กตามยาวขนาด 28 mm ขึ้นไป กรณีหลังสุดนี้ ACI กําหนดระยะเรียงเหล็กทางขวางทั้ง
คานและเสาเอาไวไมเกิน 15 cm ทั้งนี้ไมรวมผลแบบคานลึกที่สามารถคํานวณออกแบบตามหลักการวิธีกําลัง
616 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด RB 6 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 75 100 125 150 175 200 225 250 275 300
0.20 14.1 - - - - - - - - - -
0.25 19.1 1.7281 - - - - - - - - -
0.30 24.1 2.1805 1.6354 - - - - - - - -
0.35 29.1 2.6329 1.9747 1.5797 - - - - - - -
0.40 34.1 3.0853 2.3140 1.8512 1.5426 - - - - - -
0.45 39.1 3.5377 2.6533 2.1226 1.7688 1.5162 - - - - -
0.50 44.1 3.9901 2.9926 2.3940 1.9950 1.7100 1.4963 - - - -
0.55 49.1 4.4425 3.3318 2.6655 2.2212 1.9039 1.6659 1.4808 - - -
0.60 54.1 4.8948 3.6711 2.9369 2.4474 2.0978 1.8356 1.6316 1.4685 - -
0.65 59.1 5.3472 4.0104 3.2083 2.6736 2.2917 2.0052 1.7824 1.6042 1.4583 -
0.70 64.1 5.7996 4.3498 3.4798 2.8998 2.4856 2.1749 1.9332 1.7399 1.5817 1.4499
0.75 69.1 6.2520 4.6890 3.7512 3.1260 2.6794 2.3445 2.0840 1.8756 1.7051 1.5630
0.80 74.1 6.7044 5.0283 4.0226 3.3522 2.8733 2.5142 2.2348 2.0113 1.8285 1.6761
0.90 84.1 7.6092 5.7069 4.5655 3.8046 3.2611 2.8534 2.5364 2.2828 2.0752 1.9023
1.00 94.1 8.5140 6.3855 5.1084 4.2570 3.6488 3.1927 2.8380 2.5542 2.3220 2.1285
1.10 104.1 9.4187 7.0641 5.6512 4.7094 4.0366 3.5320 3.1396 2.8256 2.5687 2.3547
1.20 114.1 10.3235 7.7426 6.1941 5.1618 4.4244 3.8713 3.4412 3.0971 2.8155 2.5809
1.30 124.1 11.2283 8.4212 6.7370 5.6142 4.8121 4.2106 3.7428 3.3685 3.0623 2.8071
1.40 134.1 12.1331 9.0998 7.2798 6.0665 5.1999 4.5499 4.0444 3.6399 3.3090 3.0333
1.50 144.1 13.0379 9.7784 7.8227 6.5189 5.5877 4.8892 4.3460 3.9114 3.5558 3.2595
1.60 154.1 13.9426 10.4570 8.3656 6.9713 5.9754 5.2285 4.6475 4.1828 3.8025 3.4857
1.70 164.1 14.8474 11.1356 8.9085 7.4237 6.3632 5.5678 4.9491 4.4542 4.0493 3.7119
1.80 174.1 15.7522 11.8141 9.4513 7.8761 6.7509 5.9071 5.2507 4.7257 4.2961 3.9380
1.90 184.1 16.6570 12.4927 9.9942 8.3285 7.1387 6.2464 5.5523 4.9971 4.5428 4.1642
2.00 194.1 17.5618 13.1713 10.5371 8.7809 7.5265 6.5857 5.8539 5.2685 4.7896 4.3904
2.50 240 21.7147 16.2860 13.0288 10.8573 9.3063 8.1430 7.2382 6.5144 5.9222 5.4287
3.00 285 25.7862 19.3396 15.4717 12.8931 11.0512 9.6698 8.5954 7.7359 7.0326 6.4465
3.50 335 30.3101 22.7326 18.1861 15.1550 12.9900 11.3663 10.1034 9.0930 8.2664 7.5775
4.00 385 34.8340 26.1255 20.9004 17.4170 14.9288 13.0627 11.6113 10.4502 9.5002 8.7085
ภาคผนวก 617

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด RB 6 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 350 400 450 500 550 600
0.20 14.1 - - - - - -
0.25 19.1 - - - - - -
0.30 24.1 - - - - - -
0.35 29.1 - - - - - -
0.40 34.1 - - - - - -
0.45 39.1 - - - - - -
0.50 44.1 - - - - - -
0.55 49.1 - - - - - -
0.60 54.1 - - - - - -
0.65 59.1 - - - - - -
0.70 64.1 - - - - - -
0.75 69.1 - - - - - -
0.80 74.1 1.4367 - - - - -
0.90 84.1 1.6305 1.4267 - - -
1.00 94.1 1.8244 1.5964 1.4190 - - -
1.10 104.1 2.0183 1.7660 1.5698 1.4128 - -
1.20 114.1 2.2122 1.9357 1.7206 1.5485 1.4078 -
1.30 124.1 2.4061 2.1053 1.8714 1.6842 1.5311 1.4035
1.40 134.1 2.5999 2.2750 2.0222 1.8200 1.6545 1.5166
1.50 144.1 2.7938 2.4446 2.1730 1.9557 1.7779 1.6297
1.60 154.1 2.9877 2.6142 2.3238 2.0914 1.9013 1.7428
1.70 164.1 3.1816 2.7839 2.4746 2.2271 2.0246 1.8559
1.80 174.1 3.3755 2.9535 2.6254 2.3628 2.1480 1.9690
1.90 184.1 3.5694 3.1232 2.7762 2.4985 2.2714 2.0821
2.00 194.1 3.7632 3.2928 2.9270 2.6343 2.3948 2.1952
2.50 240 4.6531 4.0715 3.6191 3.2572 2.9611 2.7143
3.00 285 5.5256 4.8349 4.2977 3.8679 3.5163 3.2233
3.50 335 6.4950 5.6831 5.0517 4.5465 4.1332 3.7888
4.00 385 7.4644 6.5314 5.8057 5.2251 4.7501 4.3542
618 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด RB 9 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 75 100 125 150 175 200 225 250 275 300
0.20 14.1 - - - - - - - - - -
0.25 19.1 3.8883 - - - - - - - - -
0.30 24.1 4.9062 3.6796 - - - - - - - -
0.35 29.1 5.9240 4.4430 3.5544 - - - - - - -
0.40 34.1 6.9419 5.2064 4.1651 3.4710 - - - - - -
0.45 39.1 7.9598 5.9698 4.7759 3.9799 3.4113 - - - - -
0.50 44.1 8.9777 6.7332 5.3866 4.4888 3.8476 3.3666 - - - -
0.55 49.1 9.9955 7.4967 5.9973 4.9978 4.2838 3.7483 3.3318 - - -
0.60 54.1 11.0134 8.2601 6.6081 5.5067 4.7200 4.1300 3.6711 3.3040 - -
0.65 59.1 12.0313 9.0235 7.2188 6.0156 5.1563 4.5117 4.0104 3.6094 3.2813 -
0.70 64.1 13.0492 9.7869 7.8295 6.5246 5.5925 4.8934 4.3497 3.9148 3.5589 3.2623
0.75 69.1 14.0670 10.5503 8.4402 7.0335 6.0287 5.2751 4.6890 4.2201 3.8365 3.5168
0.80 74.1 15.0849 11.3137 9.0510 7.5425 6.4650 5.6568 5.0283 4.5255 4.1141 3.7712
0.90 84.1 17.1207 12.8405 10.2724 8.5603 7.3374 6.4203 5.7069 5.1362 4.6693 4.2802
1.00 94.1 19.1564 14.3673 11.4939 9.5782 8.2099 7.1837 6.3855 5.7469 5.2245 4.7891
1.10 104.1 21.1922 15.8941 12.7153 10.5961 9.0824 7.9471 7.0641 6.3577 5.7797 5.2980
1.20 114.1 23.2279 17.4209 13.9368 11.6140 9.9548 8.7105 7.7426 6.9684 6.3349 5.8070
1.30 124.1 25.2637 18.9478 15.1582 12.6318 10.8273 9.4739 8.4212 7.5791 6.8901 6.3159
1.40 134.1 27.2994 20.4746 16.3791 13.6497 11.6998 10.2373 9.0998 8.1898 7.4453 6.8249
1.50 144.1 29.3352 22.0014 17.6011 14.6676 12.5722 11.0007 9.7784 8.8006 8.0005 7.3338
1.60 154.1 31.3709 23.5282 18.8226 15.6855 13.4447 11.7641 10.4570 9.4113 8.5557 7.8427
1.70 164.1 33.4067 25.0550 20.0440 16.7033 14.3172 12.5275 11.1356 10.0220 9.1109 8.3517
1.80 174.1 35.4424 26.5818 21.2655 17.7212 15.1896 13.2909 11.8141 10.6327 9.6661 8.8606
1.90 184.1 37.4782 28.1086 22.4869 18.7391 16.0621 14.0543 12.4927 11.2435 10.2213 9.3695
2.00 194.1 39.5139 29.6355 23.7084 19.7570 16.9345 14.8177 13.1713 11.8542 10.7765 9.8785
2.50 240 48.8580 36.6435 29.3148 24.4290 20.9392 18.3218 16.2860 14.6574 13.3249 12.2145
3.00 285 58.0189 43.5142 34.8114 29.0095 24.8653 21.7571 19.3396 17.4057 15.8233 14.5047
3.50 335 68.1977 51.1483 40.9186 34.0988 29.2276 25.5741 22.7326 20.4593 18.5994 17.0494
4.00 385 78.3765 58.7823 47.0259 39.1882 33.5899 29.3912 26.1255 23.5129 21.3754 19.5941
ภาคผนวก 619

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด RB 9 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 350 400 450 500 550 600
0.20 14.1 - - - - - -
0.25 19.1 - - - - - -
0.30 24.1 - - - - - -
0.35 29.1 - - - - - -
0.40 34.1 - - - - - -
0.45 39.1 - - - - - -
0.50 44.1 - - - - - -
0.55 49.1 - - - - - -
0.60 54.1 - - - - - -
0.65 59.1 - - - - - -
0.70 64.1 - - - - - -
0.75 69.1 - - - - - -
0.80 74.1 3.2325 - - - - -
0.90 84.1 3.6687 3.2101 - - -
1.00 94.1 4.1049 3.5918 3.1927 - - -
1.10 104.1 4.5412 3.9735 3.5320 3.1788 - -
1.20 114.1 4.9774 4.3552 3.8713 3.4842 3.1674 -
1.30 124.1 5.4136 4.7369 4.2106 3.7896 3.4450 3.1580
1.40 134.1 5.8499 5.1186 4.5499 4.0949 3.7227 3.4124
1.50 144.1 6.2861 5.5003 4.8892 4.4003 4.0003 3.6669
1.60 154.1 6.7223 5.8821 5.2285 4.7056 4.2779 3.9214
1.70 164.1 7.1586 6.2638 5.5678 5.0110 4.5555 4.1758
1.80 174.1 7.5948 6.6455 5.9071 5.3164 4.8331 4.4303
1.90 184.1 8.0310 7.0272 6.2464 5.6217 5.1107 4.6848
2.00 194.1 8.4673 7.4089 6.5857 5.9271 5.3883 4.9392
2.50 240 10.4696 9.1609 8.1430 7.3287 6.6625 6.1073
3.00 285 12.4326 10.8785 9.6698 8.7028 7.9117 7.2524
3.50 335 14.6138 12.7871 11.3663 10.2297 9.2997 8.5247
4.00 385 16.7950 14.6956 13.0627 11.7565 10.6877 9.7971
620 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด DB 10 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 75 100 125 150 175 200 225 250 275 300
0.20 14.1 - - - - - - - - - -
0.25 19.1 6.0004 - - - - - - - - -
0.30 24.1 7.5712 5.6784 - - - - - - - -
0.35 29.1 9.1420 6.8565 5.4852 - - - - - - -
0.40 34.1 10.7128 8.0346 6.4277 5.3564 - - - - - -
0.45 39.1 12.2836 9.2127 7.3702 6.1418 5.2644 - - - - -
0.50 44.1 13.8544 10.3908 8.3127 6.9272 5.9376 5.1954 - - - -
0.55 49.1 15.4252 11.5689 9.2551 7.7126 6.6108 8.7845 5.1417 - - -
0.60 54.1 16.9960 12.7470 10.1976 8.4980 7.2840 6.3735 5.6653 5.0988 - -
0.65 59.1 18.5668 13.9251 11.1401 9.2834 7.9572 6.9626 6.1889 5.5700 5.0637 -
0.70 64.1 20.1376 15.1032 12.0826 10.0688 8.6304 7.5516 6.7125 6.0413 5.4921 5.0344
0.75 69.1 21.7084 16.2813 13.0250 10.8542 9.3036 8.1407 7.2361 6.5125 5.9205 5.4271
0.80 74.1 23.2792 17.4594 13.9675 11.6396 9.9768 8.7297 7.7597 6.9838 6.3489 5.8198
0.90 84.1 26.4208 19.8156 15.8525 13.2104 11.3232 9.9078 8.8069 7.9262 7.2057 6.6052
1.00 94.1 29.5624 22.1718 17.7374 14.7812 12.6696 11.0859 9.8541 8.8687 8.0625 7.3906
1.10 104.1 32.7040 24.5280 19.6224 16.3520 14.0160 12.2640 10.9013 9.8112 8.9193 8.1760
1.20 114.1 35.8456 26.8842 21.5073 17.9228 15.3624 13.4421 11.9485 10.7537 9.7761 8.9614
1.30 124.1 38.9872 29.2404 23.3923 19.4936 16.7088 14.6202 12.9957 11.6961 10.6329 9.7468
1.40 134.1 42.1288 31.5966 25.2773 21.0644 18.0552 15.7983 14.0429 12.6386 11.4897 10.5322
1.50 144.1 45.2704 33.9528 27.1622 22.6352 19.4016 16.9764 15.0901 13.5811 12.3465 11.3176
1.60 154.1 48.4119 36.3090 29.0472 24.2060 20.7480 18.1545 16.1373 14.5236 13.2033 12.1030
1.70 164.1 51.5535 38.6652 30.9321 25.7768 22.0944 19.3326 17.1845 15.4661 14.0601 12.8884
1.80 174.1 54.6951 41.0213 32.8171 27.3476 23.4408 20.5107 18.2317 16.4085 14.9169 13.6738
1.90 184.1 57.8367 43.3775 34.7020 28.9184 24.7872 21.6888 19.2789 17.3510 15.7737 14.4592
2.00 194.1 60.9783 45.7337 36.5870 30.4892 26.1336 22.8669 20.3261 18.2935 16.6304 15.2446
2.50 240 75.3982 56.5487 45.2389 37.6991 32.3135 28.2743 25.1327 22.6195 20.5632 18.8496
3.00 285 89.5354 67.1515 53.7212 44.7677 38.3723 33.5758 29.8451 26.8606 24.4187 22.3838
3.50 335 105.2434 78.9325 63.1460 52.6217 45.1043 39.4663 35.0811 31.5730 28.7027 26.3108
4.00 385 120.9513 90.7135 72.5708 60.4757 51.5363 45.3567 40.3171 36.2854 32.9867 30.2378
ภาคผนวก 621

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด DB 10 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 350 400 450 500 550 600
0.20 14.1 - - - - - -
0.25 19.1 - - - - - -
0.30 24.1 - - - - - -
0.35 29.1 - - - - - -
0.40 34.1 - - - - - -
0.45 39.1 - - - - - -
0.50 44.1 - - - - - -
0.55 49.1 - - - - - -
0.60 54.1 - - - - - -
0.65 59.1 - - - - - -
0.70 64.1 - - - - - -
0.75 69.1 - - - - - -
0.80 74.1 4.9884 - - - - -
0.90 84.1 5.6616 4.9539 - - -
1.00 94.1 6.3348 5.5429 4.9271 - - -
1.10 104.1 7.0080 6.1320 5.4507 4.9056 - -
1.20 114.1 7.6812 6.7210 5.9743 5.3768 4.8880 -
1.30 124.1 8.3544 7.3101 6.4979 5.8481 5.3164 4.8734
1.40 134.1 9.0276 7.8991 7.0215 6.3193 5.7448 5.2661
1.50 144.1 9.7008 8.4882 7.5451 6.7906 6.1732 5.6588
1.60 154.1 10.3740 9.0772 8.0687 7.2618 6.6016 6.0515
1.70 164.1 11.0472 9.6663 8.5923 7.7330 7.0300 6.4442
1.80 174.1 11.7204 10.2553 9.1159 8.2043 7.4584 6.8369
1.90 184.1 12.3936 10.8444 9.6395 8.6755 7.8868 7.2296
2.00 194.1 13.0668 11.4334 10.1631 9.1467 8.3152 7.6223
2.50 240 16.1568 14.1372 12.5664 11.3097 10.2816 9.4248
3.00 285 19.1862 16.7879 14.9226 13.4303 12.2094 11.1919
3.50 335 22.5521 19.7331 17.5406 15.7865 14.3514 13.1554
4.00 385 25.9181 22.6784 20.1586 18.1427 16.4934 15.1189
622 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด RB 12 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 75 100 125 150 175 200 225 250 275 300
0.20 14.1 - - - - - - - - - -
0.25 19.1 6.9125 - - - - - - - - -
0.30 24.1 8.7221 6.5415 - - - - - - - -
0.35 29.1 10.5316 7.8987 6.3190 - - - - - - -
0.40 34.1 12.3412 9.2559 7.4047 6.1706 - - - - - -
0.45 39.1 14.1507 10.6131 8.4904 7.0754 6.0646 - - - - -
0.50 44.1 15.9603 11.9702 9.5762 7.9801 6.8401 5.9851 - - - -
0.55 49.1 17.7699 13.3274 10.6619 8.8849 7.6157 6.6637 5.9233 - - -
0.60 54.1 19.5794 14.6846 11.7476 9.7897 8.3912 7.3423 6.5265 5.8738 - -
0.65 59.1 21.3890 16.0417 12.8334 10.6945 9.1667 8.0209 7.1297 6.4167 5.8334 -
0.70 64.1 23.1985 17.3989 13.9191 11.5993 9.9422 8.6994 7.7328 6.9596 6.3269 5.7996
0.75 69.1 25.0081 18.7561 15.0048 12.5040 10.7177 9.3780 8.3360 7.5024 6.8204 6.2520
0.80 74.1 26.8176 20.1132 16.0906 13.4088 11.4933 10.0566 8.9392 8.0453 7.3139 6.7044
0.90 84.1 30.4368 22.8276 18.2621 15.2184 13.0443 11.4138 10.1456 9.1310 8.3009 7.6092
1.00 94.1 34.0559 25.5419 20.4335 17.0279 14.5954 12.7710 11.3520 10.2168 9.2880 8.5140
1.10 104.1 37.6750 28.2562 22.6050 18.8375 16.1464 14.1281 12.5583 11.3025 10.2750 9.4187
1.20 114.1 41.2941 30.9706 24.7765 20.6470 17.6975 15.4853 13.7647 12.3882 11.2620 10.3235
1.30 124.1 44.9132 33.6849 26.9479 22.4566 19.2485 16.8425 14.9711 13.4740 12.2491 11.2283
1.40 134.1 48.5323 36.3992 29.1194 24.2662 20.7996 18.1996 16.1774 14.5597 13.2361 12.1331
1.50 144.1 52.1514 39.1136 31.2909 26.0757 22.3506 19.5568 17.3838 15.6454 14.2231 13.0379
1.60 154.1 55.7706 41.8279 33.4623 27.8853 23.9017 20.9140 18.5902 16.7312 15.2102 13.9426
1.70 164.1 59.3897 44.5423 35.6338 29.6948 25.4527 22.2711 19.7966 17.8169 16.1972 14.8474
1.80 174.1 63.0088 47.2566 37.8053 31.5044 27.0038 23.6283 21.0029 18.9026 17.1842 15.7522
1.90 184.1 66.6279 49.9709 39.9767 33.3140 28.5548 24.9855 22.2093 19.9884 18.1712 16.6570
2.00 194.1 70.2470 52.6853 42.1482 35.1235 30.1059 26.3426 23.4157 21.0741 19.1583 17.5618
2.50 240 86.8588 65.1441 52.1153 43.4294 37.2252 32.5720 28.9529 26.0576 23.6888 21.7147
3.00 285 103.1448 77.3586 61.8869 51.5724 44.2049 38.6793 34.3816 30.9434 28.1304 25.7862
3.50 335 121.2403 90.9303 72.7442 60.6202 51.9601 45.4651 40.4134 36.3721 33.0655 30.3101
4.00 385 139.3359 104.5019 83.6016 69.6680 59.7154 52.2510 46.4453 41.8008 38.0007 34.8340
ภาคผนวก 623

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด RB 12 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 350 400 450 500 550 600
0.20 14.1 - - - - - -
0.25 19.1 - - - - - -
0.30 24.1 - - - - - -
0.35 29.1 - - - - - -
0.40 34.1 - - - - - -
0.45 39.1 - - - - - -
0.50 44.1 - - - - - -
0.55 49.1 - - - - - -
0.60 54.1 - - - - - -
0.65 59.1 - - - - - -
0.70 64.1 - - - - - -
0.75 69.1 - - - - - -
0.80 74.1 5.7466 - - - - -
0.90 84.1 6.5222 5.7069 - - -
1.00 94.1 7.2977 6.3855 5.6760 - - -
1.10 104.1 8.0732 7.0641 6.2792 5.6512 - -
1.20 114.1 8.8487 7.7426 6.8823 6.1941 5.6310 -
1.30 124.1 9.6243 8.4212 7.4855 6.7370 6.1245 5.6142
1.40 134.1 10.3998 9.0998 8.0887 7.2798 6.6180 6.0665
1.50 144.1 11.1753 9.7784 8.6919 7.8227 7.1116 6.5189
1.60 154.1 11.9508 10.4570 9.2951 8.3656 7.6051 6.9713
1.70 164.1 12.7264 11.1356 9.8983 8.9085 8.0986 7.4237
1.80 174.1 13.5019 11.8141 10.5015 9.4513 8.5921 7.8761
1.90 184.1 14.2774 12.4927 11.1047 9.9942 9.0856 8.3285
2.00 194.1 15.0529 13.1713 11.7078 10.5371 9.5791 8.7809
2.50 240 18.6126 16.2860 14.4765 13.0288 11.8444 10.8573
3.00 285 22.1025 19.3396 17.1908 15.4717 14.0652 12.8931
3.50 335 25.9801 22.7326 20.2067 18.1861 16.5328 15.1550
4.00 385 29.8577 26.1255 23.2227 20.9004 19.0004 17.4170
624 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด DB 12 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 75 100 125 150 175 200 225 250 275 300
0.20 14.1 - - - - - - - - - -
0.25 19.1 8.6406 - - - - - - - - -
0.30 24.1 10.9026 8.1769 - - - - - - - -
0.35 29.1 13.1645 9.8734 7.8987 - - - - - - -
0.40 34.1 15.4265 11.5699 9.2559 7.7132 - - - - - -
0.45 39.1 17.6884 13.2663 10.6131 8.8442 7.5808 - - - - -
0.50 44.1 19.9504 14.9628 11.9702 9.9752 8.5502 7.4814 - - - -
0.55 49.1 22.2123 16.6592 13.3274 11.1062 9.5196 8.3296 7.4041 - - -
0.60 54.1 24.4743 18.3557 14.6846 12.2371 10.4890 9.1778 8.1581 7.3423 - -
0.65 59.1 26.7362 20.0522 16.0417 13.3681 11.4584 10.0261 8.9121 8.0209 7.2917 -
0.70 64.1 28.9982 21.7486 17.3989 14.4991 12.4278 10.8743 9.6661 8.6994 7.9086 7.2495
0.75 69.1 31.2601 23.4451 18.7561 15.6301 13.3972 11.7225 10.4200 9.3780 8.5255 7.8150
0.80 74.1 33.5221 25.1415 20.1132 16.7610 14.3666 12.5708 11.1740 10.0566 9.1424 8.3805
0.90 84.1 38.0459 28.5345 22.8276 19.0230 16.3054 14.2672 12.6820 11.4138 10.3762 9.5115
1.00 94.1 42.5698 31.9274 25.5419 21.2849 18.2442 15.9637 14.1899 12.7710 11.6100 10.6425
1.10 104.1 47.0937 35.3203 28.2562 23.5469 20.1830 17.6601 15.6979 14.1281 12.8437 11.7734
1.20 114.1 51.6176 38.7132 30.9706 25.8088 22.1218 19.3566 17.2059 15.4853 14.0775 12.9044
1.30 124.1 56.1415 42.1061 33.6849 28.0708 24.0607 21.0531 18.7138 16.8425 15.3113 14.0354
1.40 134.1 60.6654 45.4991 36.3992 30.3327 25.9995 22.7496 20.2218 18.1996 16.5451 15.1664
1.50 144.1 65.1893 48.8920 39.1136 32.5947 27.9383 24.4460 21.7298 19.5568 17.7789 16.2973
1.60 154.1 69.7132 52.2849 41.8279 34.8566 29.8771 26.1424 23.2377 20.9140 19.0127 17.4283
1.70 164.1 74.2371 55.6778 44.5423 37.1185 31.8159 27.8389 24.7457 22.2711 20.2465 18.5593
1.80 174.1 78.7610 59.0707 47.2566 39.3805 33.7547 29.5354 26.2537 23.6283 21.4803 19.6902
1.90 184.1 83.2849 62.4637 49.9709 41.6424 35.6935 31.2318 27.7616 24.9855 22.7141 20.8212
2.00 194.1 87.8088 65.8566 52.6853 43.9044 37.6323 32.9283 29.2696 26.3426 23.9478 21.9522
2.50 240 108.5734 81.4301 65.1441 54.2867 46.5315 40.7150 36.1911 32.5720 29.6109 27.1434
3.00 285 128.9310 96.6982 77.3586 64.4655 55.2561 48.3491 42.9770 38.6793 35.1630 32.2327
3.50 335 151.5504 113.6628 90.9303 75.7752 64.9502 56.8314 50.5168 45.4651 41.3319 37.8876
4.00 385 174.1699 130.6274 104.5019 87.0849 74.6442 65.3137 58.0566 52.2510 47.5009 43.5425
ภาคผนวก 625

ตาราง ผ-7 กําลังรับแรงเฉือนของเหล็กลูกตั้ง, ตัน


เหล็กลูกตั้งขนาด DB 12 mm
t d ระยะเรียงเหล็กลูกตั้ง, mm
m cm 350 400 450 500 550 600
0.20 14.1 - - - - - -
0.25 19.1 - - - - - -
0.30 24.1 - - - - - -
0.35 29.1 - - - - - -
0.40 34.1 - - - - - -
0.45 39.1 - - - - - -
0.50 44.1 - - - - - -
0.55 49.1 - - - - - -
0.60 54.1 - - - - - -
0.65 59.1 - - - - - -
0.70 64.1 - - - - - -
0.75 69.1 - - - - - -
0.80 74.1 7.1833 - - - - -
0.90 84.1 8.1527 7.1336 - - -
1.00 94.1 9.1221 7.9818 7.0950 - - -
1.10 104.1 10.0915 8.8301 7.8490 7.0641 - -
1.20 114.1 11.0609 9.6783 8.6029 7.7426 7.0388 -
1.30 124.1 12.0303 10.5265 9.3569 8.4212 7.6557 7.0177
1.40 134.1 12.9997 11.3748 10.1109 9.0998 8.2726 7.5832
1.50 144.1 13.9691 12.2230 10.8649 9.7784 8.8895 8.1487
1.60 154.1 14.9385 13.0712 11.6189 10.4570 9.5063 8.7141
1.70 164.1 15.9079 13.9195 12.3728 11.1356 10.1232 9.2796
1.80 174.1 16.8774 14.7677 13.1268 11.8141 10.7401 9.8451
1.90 184.1 17.8468 15.6159 13.8808 12.4927 11.3570 10.4106
2.00 194.1 18.8162 16.4641 14.6348 13.1713 11.9739 10.9761
2.50 240 23.2657 20.3575 18.0956 16.2860 14.8055 13.5717
3.00 285 27.6281 24.1746 21.4885 19.3396 17.5815 16.1164
3.50 335 32.4751 28.4157 25.2584 22.7326 20.6660 18.9438
4.00 385 37.3221 32.6569 29.0283 26.1255 23.7504 21.7712
626 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

คําอธิบายตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดี่ยวแบบสั้น

น้ําหนักบรรทุกของเสาสั้นปลอกเดี่ยว

P  0.85A g 0.25f c'  f s g 
P  0.85bt  0.25f c'  f sg 
P  0.85bt 0.25f '
c  0.4f y g 
เมื่อ P น้ําหนักบรรทุกที่เสาปลอกเดี่ยวรับได, kg
A g  bt  เนื้อที่หนาตัดเสา, cm 2

b  ดานยาวของหนาตัดเสา, cm

t  ดานแคบของหนาตัด ตองมีขนาดไมเหล็กกวา 20 cm

f c'  173 ksc  กําลังประลัยคอนกรีต

f s  1,200 ksc  กําลังของเหล็กยืนในเสา เฉพาะเหล็กผิวเรียบ

f s  0.4f y  0.4  3,000  1,200 ksc  กําลังของเหล็กยืนในเสา เฉพาะเหล็ก SD-30

f s  0.4f y  0.4  4,000  1,600 ksc  กําลังของเหล็กยืนในเสา เฉพาะเหล็ก SD-40

f s  0.4f y  0.4  5,000  2,000 ksc  กําลังของเหล็กยืนในเสา เฉพาะเหล็ก SD-50

ตาราง ผ-8 ใช f s  1,200 ksc ซึ่งใชไดทั้งกรณีเหล็กผิวเรียบ SR-24 และเหล็กขอออย SD-30


มาตรฐานกําหนด f s  2,100 ksc
f y  กําลังครากของเหล็กเสริม, ksc
 A 
0.01    g  st   0.08 
 A g 
อัตราสวนเนือ้ ที่หนาตัดเหล็กยืนตอเนื้อที่หนาตัดเสา

w D  2,400
Ag
100
 24A g
kg
m
 น้ําหนักเสาตอความยาว , kg/m
เหล็กยืนในเสาอยางนอย 4-DB 12 mm ในเสาหนาตัดสี่เหลี่ยม และ 6-DB 12 mm ในเสาหนาตัดกลม เหล็ก
ยืนในเสาตองหางกันไมเกิน 15 cm โดยตองมีเหล็กปลอกคลองเปนมุม 90 องศา เสนเวนเสนดังตัวอยางที่
แสดง
ภาคผนวก 627

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.20  0.20 400 96 16.745 18.785 22.865 28.710 31.025 35.105 39.185 43.265 47.345
0.20  0.25 500 120 20.931 23.481 28.581 35.887 38.781 43.881 48.981 54.081 59.181
0.20  0.30 600 144 25.118 28.178 34.298 43.064 46.538 52.658 58.778 64.898 71.018
0.20  0.35 700 168 29.304 32.874 40.014 50.242 54.294 61.434 68.574 75.714 82.854
0.20  0.40 800 192 33.490 37.570 45.730 57.419 62.050 70.210 78.370 86.530 94.690
0.20  0.45 900 216 37.676 42.266 51.446 64.597 69.806 78.986 88.166 97.346 106.526
0.20  0.50 1000 240 41.863 46.963 57.163 71.774 77.563 87.763 97.963 108.163 118.363
0.20  0.55 1100 264 46.049 51.659 62.879 78.951 85.319 96.539 107.759 118.979 130.199
0.20  0.60 1200 288 50.235 56.355 68.595 86.129 93.075 105.315 117.555 129.795 142.035
0.20  0.65 1300 312 54.421 61.051 74.311 93.306 100.831 114.091 127.351 140.611 153.871
0.20  0.70 1400 336 58.608 65.748 80.028 100.484 108.588 122.868 137.148 151.428 165.708
0.20  0.75 1500 360 62.794 70.444 85.744 107.661 116.344 131.644 146.944 162.244 177.544
0.20  0.80 1600 384 66.980 75.140 91.460 114.838 124.100 140.420 156.740 173.060 189.380
0.20  0.85 1700 408 71.166 79.836 97.176 122.016 131.856 149.196 166.536 183.876 201.216
0.20  0.90 1800 432 75.353 84.533 102.893 129.193 139.613 157.973 176.333 194.693 213.053
0.20  0.95 1900 456 79.539 89.229 108.609 136.371 147.369 166.749 186.129 205.509 224.889
0.20  1.00 2000 480 83.725 93.925 114.325 143.548 155.125 175.525 195.925 216.325 236.725
0.20  1.05 2100 504 87.911 98.621 120.041 150.725 162.881 184.301 205.721 227.141 248.561
0.20  1.10 2200 528 92.098 103.318 125.758 157.903 170.638 193.078 215.518 237.958 260.398
0.20  1.20 2400 576 100.470 112.710 137.190 172.258 186.150 210.630 235.110 259.590 284.070
0.20  1.30 2600 624 108.843 122.103 148.623 186.612 201.663 228.183 254.703 281.223 307.743
0.20  1.40 2800 672 117.215 131.495 160.055 200.967 217.175 245.735 274.295 302.855 331.415
0.20  1.50 3000 720 125.588 140.888 171.488 215.322 232.688 263.288 293.888 324.488 355.088
0.20  1.60 3200 768 133.960 150.280 182.920 229.677 248.200 280.840 313.480 346.120 378.760
0.20  1.70 3400 816 142.333 159.673 194.353 244.032 263.713 298.393 333.073 367.753 402.433
0.20  1.80 3600 864 150.705 169.065 205.785 258.386 279.225 315.945 352.665 389.385 426.105
0.20  1.90 3800 912 159.078 178.458 217.218 272.741 294.738 333.498 372.258 411.018 449.778
0.20  2.00 4000 960 167.450 187.850 228.650 287.096 310.250 351.050 391.850 432.650 473.450
628 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.25  0.25 625 150 26.164 29.352 35.727 44.859 48.477 54.852 61.227 67.602 73.977
0.25  0.30 750 180 31.397 35.222 42.872 53.831 58.172 65.822 73.472 81.122 88.772
0.25  0.35 875 210 36.630 41.092 50.017 62.802 67.867 76.792 85.717 94.642 103.567
0.25  0.40 1000 240 41.863 46.963 57.163 71.774 77.563 87.763 97.963 108.163 118.363
0.25  0.45 1125 270 47.095 52.833 64.308 80.746 87.258 98.733 110.208 121.683 133.158
0.25  0.50 1250 300 52.328 58.703 71.453 89.718 96.953 109.703 122.453 135.203 147.953
0.25  0.55 1375 330 57.561 64.573 78.598 98.689 106.648 120.673 134.698 148.723 162.748
0.25  0.60 1500 360 62.794 70.444 85.744 107.661 116.344 131.644 146.944 162.244 177.544
0.25  0.65 1625 390 68.027 76.314 92.889 116.633 126.039 142.614 159.189 175.764 192.339
0.25  0.70 1750 420 73.259 82.184 100.034 125.605 135.734 153.584 171.434 189.284 207.134
0.25  0.75 1875 450 78.492 88.055 107.180 134.576 145.430 164.555 183.680 202.805 221.930
0.25  0.80 2000 480 83.725 93.925 114.325 143.548 155.125 175.525 195.925 216.325 236.725
0.25  0.85 2125 510 88.958 99.795 121.470 152.520 164.820 186.495 208.170 229.845 251.520
0.25  0.90 2250 540 94.191 105.666 128.616 161.492 174.516 197.466 220.416 243.366 266.316
0.25  0.95 2375 570 99.423 111.536 135.761 170.463 184.211 208.436 232.661 256.886 281.111
0.25  1.00 2500 600 104.656 117.406 142.906 179.435 193.906 219.406 244.906 270.406 295.906
0.25  1.05 2625 630 109.889 123.277 150.052 188.407 203.602 230.377 257.152 283.927 310.702
0.25  1.10 2750 660 115.122 129.147 157.197 197.379 213.297 241.347 269.397 297.447 325.497
0.25  1.20 3000 720 125.588 140.888 171.488 215.322 232.688 263.288 293.888 324.488 355.088
0.25  1.30 3250 780 136.053 152.628 185.778 233.266 252.078 285.228 318.378 351.528 384.678
0.25  1.40 3500 840 146.519 164.369 200.069 251.209 271.469 307.169 342.869 378.569 414.269
0.25  1.50 3750 900 156.984 176.109 214.359 269.153 290.859 329.109 367.359 405.609 443.859
0.25  1.60 4000 960 167.450 187.850 228.650 287.096 310.250 351.050 391.850 432.650 473.450
0.25  1.70 4250 1020 177.916 199.591 242.941 305.040 329.641 372.991 416.341 459.691 503.041
0.25  1.80 4500 1080 188.381 211.331 257.231 322.983 349.031 394.931 440.831 486.731 532.631
0.25  1.90 4750 1140 198.847 223.072 271.522 340.927 368.422 416.872 465.322 513.772 562.222
0.25  2.00 5000 1200 209.313 234.813 285.813 358.870 387.813 438.813 489.813 540.813 591.813
0.25  2.10 5250 1260 219.778 246.553 300.103 376.814 407.203 460.753 514.303 567.853 621.403
ภาคผนวก 629

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.30  0.30 900 216 37.676 42.266 51.446 64.597 69.806 78.986 88.166 97.346 106.526
0.30  0.35 1050 252 43.956 49.311 60.021 75.363 81.441 92.151 102.861 113.571 124.281
0.30  0.40 1200 288 50.235 56.355 68.595 86.129 93.075 105.315 117.555 129.795 142.035
0.30  0.45 1350 324 56.514 63.399 77.169 96.895 104.709 118.479 132.249 146.019 159.789
0.30  0.50 1500 360 62.794 70.444 85.744 107.661 116.344 131.644 146.944 162.244 177.544
0.30  0.55 1650 396 69.073 77.488 94.318 118.427 127.978 144.808 161.638 178.468 195.298
0.30  0.60 1800 432 75.353 84.533 102.893 129.193 139.613 157.973 176.333 194.693 213.053
0.30  0.65 1950 468 81.632 91.577 111.467 139.959 151.247 171.137 191.027 210.917 230.807
0.30  0.70 2100 504 87.911 98.621 120.041 150.725 162.881 184.301 205.721 227.141 248.561
0.30  0.75 2250 540 94.191 105.666 128.616 161.492 174.516 197.466 220.416 243.366 266.316
0.30  0.80 2400 576 100.470 112.710 137.190 172.258 186.150 210.630 235.110 259.590 284.070
0.30  0.85 2550 612 106.749 119.754 145.764 183.024 197.784 223.794 249.804 275.814 301.824
0.30  0.90 2700 648 113.029 126.799 154.339 193.790 209.419 236.959 264.499 292.039 319.579
0.30  0.95 2850 684 119.308 133.843 162.913 204.556 221.053 250.123 279.193 308.263 337.333
0.30  1.00 3000 720 125.588 140.888 171.488 215.322 232.688 263.288 293.888 324.488 355.088
0.30  1.05 3150 756 131.867 147.932 180.062 226.088 244.322 276.452 308.582 340.712 372.842
0.30  1.10 3300 792 138.146 154.976 188.636 236.854 255.956 289.616 323.276 356.936 390.596
0.30  1.20 3600 864 150.705 169.065 205.785 258.386 279.225 315.945 352.665 389.385 426.105
0.30  1.30 3900 936 163.264 183.154 222.934 279.919 302.494 342.274 382.054 421.834 461.614
0.30  1.40 4200 1008 175.823 197.243 240.083 301.451 325.763 368.603 411.443 454.283 497.123
0.30  1.50 4500 1080 188.381 211.331 257.231 322.983 349.031 394.931 440.831 486.731 532.631
0.30  1.60 4800 1152 200.940 225.420 274.380 344.515 372.300 421.260 470.220 519.180 568.140
0.30  1.70 5100 1224 213.499 239.509 291.529 366.047 395.569 447.589 499.609 551.629 603.649
0.30  1.80 5400 1296 226.058 253.598 308.678 387.580 418.838 473.918 528.998 584.078 639.158
0.30  1.90 5700 1368 238.616 267.686 325.826 409.112 442.106 500.246 558.386 616.526 674.666
0.30  2.00 6000 1440 251.175 281.775 342.975 430.644 465.375 526.575 587.775 648.975 710.175
0.30  2.10 6300 1512 263.734 295.864 360.124 452.176 488.644 552.904 617.164 681.424 745.684
0.30  2.20 6600 1584 276.293 309.953 377.273 473.708 511.913 579.233 646.553 713.873 781.193
630 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.35  0.35 1225 294 51.282 57.529 70.024 87.923 95.014 107.509 120.004 132.499 144.994
0.35  0.40 1400 336 58.608 65.748 80.028 100.484 108.588 122.868 137.148 151.428 165.708
0.35  0.45 1575 378 65.933 73.966 90.031 113.044 122.161 138.226 154.291 170.356 186.421
0.35  0.50 1750 420 73.259 82.184 100.034 125.605 135.734 153.584 171.434 189.284 207.134
0.35  0.55 1925 462 80.585 90.403 110.038 138.165 149.308 168.943 188.578 208.213 227.848
0.35  0.60 2100 504 87.911 98.621 120.041 150.725 162.881 184.301 205.721 227.141 248.561
0.35  0.65 2275 546 95.237 106.840 130.045 163.286 176.455 199.660 222.865 246.070 269.275
0.35  0.70 2450 588 102.563 115.058 140.048 175.846 190.028 215.018 240.008 264.998 289.988
0.35  0.75 2625 630 109.889 123.277 150.052 188.407 203.602 230.377 257.152 283.927 310.702
0.35  0.80 2800 672 117.215 131.495 160.055 200.967 217.175 245.735 274.295 302.855 331.415
0.35  0.85 2975 714 124.541 139.713 170.058 213.528 230.748 261.093 291.438 321.783 352.128
0.35  0.90 3150 756 131.857 147.932 180.062 226.088 244.322 276.452 308.582 340.712 372.842
0.35  0.95 3325 798 139.193 156.150 190.065 238.649 257.895 291.810 325.725 359.640 393.555
0.35  1.00 3500 840 146.519 164.369 200.069 251.209 271.469 307.169 342.869 378.569 414.269
0.35  1.05 3675 882 153.845 172.587 210.072 263.769 285.042 322.527 360.012 397.497 434.982
0.35  1.10 3850 924 161.171 180.806 220.076 276.330 298.616 337.886 377.156 416.426 455.696
0.35  1.20 4200 1008 175.823 197.243 240.083 301.451 325.763 368.603 411.443 454.283 497.123
0.35  1.30 4550 1092 190.474 213.679 260.089 326.572 352.909 399.319 445.729 492.139 538.549
0.35  1.40 4900 1176 205.126 230.116 280.096 351.693 380.056 430.036 480.016 529.996 579.976
0.35  1.50 5250 1260 219.778 246.553 300.103 376.814 407.203 460.753 514.303 567.853 621.403
0.35  1.60 5600 1344 234.430 262.990 320.110 401.934 434.350 491.470 548.590 605.710 662.830
0.35  1.70 5950 1428 249.082 279.427 340.117 427.055 461.497 522.187 582.877 643.567 704.257
0.35  1.80 6300 1512 263.734 295.864 360.124 452.176 488.644 552.904 617.164 681.424 745.684
0.35  1.90 6650 1596 278.386 312.301 380.131 477.297 515.791 583.621 651.451 719.281 787.111
0.35  2.00 7000 1680 293.038 328.738 400.138 502.418 542.938 614.338 685.738 757.138 828.538
0.35  2.10 7350 1764 307.689 345.174 420.144 527.539 570.084 645.054 720.024 794.994 869.964
0.35  2.20 7700 1848 322.341 361.611 440.151 552.660 597.231 675.771 754.311 832.851 911.391
0.35  2.30 8050 1932 336.993 378.048 460.158 577.781 624.378 706.488 788.598 870.708 952.818
ภาคผนวก 631

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.40  0.40 1600 384 66.980 75.140 91.460 114.838 124.100 140.420 156.740 173.060 189.380
0.40  0.45 1800 432 75.353 84.533 102.893 129.193 139.613 157.973 176.333 194.693 213.053
0.40  0.50 2000 480 83.725 93.925 114.325 143.548 155.125 175.525 195.925 216.325 236.725
0.40  0.55 2200 528 92.098 103.318 128.758 157.903 170.638 193.078 215.518 237.958 260.398
0.40  0.60 2400 576 100.470 112.710 137.190 172.258 186.150 210.630 235.110 259.590 284.070
0.40  0.65 2600 624 108.843 122.103 148.623 186.612 201.663 228.183 254.703 281.223 307.743
0.40  0.70 2800 672 117.215 131.495 160.055 200.967 217.175 245.735 274.295 302.855 331.415
0.40  0.75 3000 720 125.588 140.888 171.488 215.322 232.688 263.288 293.888 324.488 355.088
0.40  0.80 3200 768 133.960 150.280 182.920 229.677 248.200 280.840 313.480 346.120 378.760
0.40  0.85 3400 816 142.333 159.673 194.353 244.032 263.713 298.393 333.073 367.753 402.433
0.40  0.90 3600 864 150.705 169.065 205.785 258.386 279.225 315.945 352.665 389.385 426.105
0.40  0.95 3800 912 159.078 178.458 217.218 272.741 294.738 333.498 372.258 411.018 449.778
0.40  1.00 4000 960 167.450 187.850 228.650 287.096 310.250 351.050 391.850 432.650 473.450
0.40  1.05 4200 1008 175.823 197.243 240.083 301.451 325.763 368.603 411.443 454.283 497.123
0.40  1.10 4400 1056 184.195 206.635 251.515 315.806 341.275 386.155 431.035 475.915 520.795
0.40  1.20 4800 1152 200.940 225.420 274.380 344.515 372.300 421.260 470.220 519.180 568.140
0.40  1.30 5200 1248 217.685 244.205 297.245 373.225 403.325 456.365 509.405 562.445 615.485
0.40  1.40 5600 1344 234.430 262.990 320.110 401.934 434.350 491.470 548.590 605.710 662.830
0.40  1.50 6000 1440 251.175 281.775 342.975 430.644 465.375 526.575 587.775 648.975 710.175
0.40  1.60 6400 1536 267.920 300.560 365.840 459.354 496.400 561.680 626.960 692.240 757.520
0.40  1.70 6800 1632 284.665 319.345 388.705 488.063 527.425 596.785 666.145 735.505 804.865
0.40  1.80 7200 1728 301.410 338.130 411.570 516.773 558.450 631.890 705.330 778.770 852.210
0.40  1.90 7600 1824 318.155 356.915 434.435 545.482 589.475 666.995 744.515 822.035 899.555
0.40  2.00 8000 1920 334.900 375.700 457.300 574.192 620.500 702.100 783.700 865.300 946.900
0.40  2.10 8400 2016 351.645 394.485 480.165 602.902 651.525 737.205 822.885 908.565 994.245
0.40  2.20 8800 2112 368.390 413.270 503.030 631.611 682.550 772.310 862.070 951.830 1041.59
0.40  2.30 9200 2208 385.135 432.055 525.895 660.321 713.575 807.415 901.255 995.095 1088.94
0.40  2.40 9600 2304 401.880 450.840 548.760 689.030 744.600 842.520 940.440 1038.36 1136.28
632 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.45  0.45 2025 486 84.772 95.099 115.754 145.342 157.064 177.719 198.374 219.029 239.684
0.45  0.50 2250 540 94.191 105.666 128.616 161.492 174.516 197.466 220.416 243.366 266.316
0.45  0.55 2475 594 103.610 116.232 141.477 177.641 191.967 217.212 242.457 267.702 292.947
0.45  0.60 2700 648 113.029 126.799 154.339 193.790 209.419 236.959 264.499 292.039 319.579
0.45  0.65 2925 702 122.448 137.365 167.200 209.939 226.870 256.705 286.540 316.375 346.210
0.45  0.70 3150 756 131.867 147.932 180.062 226.088 244.322 276.452 308.582 340.712 372.842
0.45  0.75 3375 810 141.286 158.498 192.923 242.237 261.773 296.198 330.623 365.048 399.473
0.45  0.80 3600 864 150.705 169.065 205.785 258.386 279.225 315.945 352.665 389.385 426.105
0.45  0.85 3825 918 160.124 179.632 218.647 274.536 296.677 335.692 374.707 413.722 452.737
0.45  0.90 4050 972 169.543 190.198 231.508 290.685 314.128 355.438 396.748 438.058 479.368
0.45  0.95 4275 1026 178.962 200.765 244.370 306.834 331.580 375.185 418.790 462.395 406.000
0.45  1.00 4500 1080 188.381 211.331 257.231 322.983 349.031 394.931 440.831 486.731 532.631
0.45  1.05 4725 1134 197.800 221.898 270.093 339.132 366.483 414.678 462.873 511.068 559.263
0.45  1.10 4950 1188 207.219 232.464 282.954 355.281 383.934 434.424 484.914 535.404 585.894
0.45  1.20 5400 1296 226.058 253.598 308.678 387.580 418.838 473.918 528.998 584.078 639.158
0.45  1.30 5850 1404 244.896 274.731 334.401 419.878 453.741 513.411 573.081 632.751 692.421
0.45  1.40 6300 1512 263.734 295.864 360.124 452.176 488.644 552.904 617.164 681.424 745.684
0.45  1.50 6750 1620 282.572 316.997 385.847 484.475 523.547 592.397 661.247 730.097 798.947
0.45  1.60 7200 1728 301.410 338.130 411.570 516.773 558.450 631.890 705.330 778.770 852.210
0.45  1.70 7650 1836 320.248 359.263 437.293. 549.071 593.353 671.383 749.413 827.443 905.473
0.45  1.80 8100 1944 339.086 380.396 463.016 581.369 628.256 710.876 793.496 876.116 958.736
0.45  1.90 8550 2052 357.924 401.529 488.739 613.668 663.159 750.369 837.579 924.789 1011.999
0.45  2.00 9000 2160 376.763 422.663 514.463 645.966 698.063 789.863 881.663 973.463 1065.263
0.45  2.10 9450 2268 395.601 443.796 540.186 678.264 732.966 829.356 925.746 1022.136 1118.526
0.45  2.20 9900 2376 414.439 464.929 565.909 710.563 767.869 868.849 969.829 1070.809 1171.789
0.45  2.30 10350 2484 433.277 486.062 591.632 742.861 802.772 908.342 1013.912 1119.482 1225.052
0.45  2.40 10800 2592 452.115 507.195 617.355 775.159 837.675 947.835 1057.995 1168.155 1278.315
0.45  2.50 11250 2700 470.953 528.328 643.078 807.458 872.578 987.328 1102.078 1216.828 1331.578
ภาคผนวก 633

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.50  0.50 2500 600 104.656 117.406 142.906 179.435 193.906 219.406 244.906 270.406 295.906
0.50  0.55 2750 660 115.122 129.147 157.197 197.379 213.297 241.347 269.397 297.447 325.497
0.50  0.60 3000 720 125.588 140.888 171.488 215.322 232.688 263.288 293.888 324.488 355.088
0.50  0.65 3250 780 136.053 152.628 185.778 233.266 252.078 285.228 318.378 351.528 384.678
0.50  0.70 3500 840 146.519 164.369 200.069 251.209 271.469 307.169 342.869 378.569 414.269
0.50  0.75 3750 900 156.984 176.109 214.359 269.153 290.859 329.109 367.359 405.609 443.859
0.50  0.80 4000 960 167.450 187.850 228.650 287.096 310.250 351.050 391.850 432.650 473.450
0.50  0.85 4250 1020 177.916 199.591 242.941 305.040 329.641 372.991 416.341 459.691 503.041
0.50  0.90 4500 1080 188.381 211.331 257.231 322.983 349.031 394.931 440.831 486.731 532.631
0.50  0.95 4750 1140 198.847 223.072 271.522 340.927 368.422 416.872 465.322 513.772 562.222
0.50  1.00 5000 1200 209.313 234.813 285.813 358.870 387.813 438.813 489.813 540.813 591.813
0.50  1.05 5250 1260 219.778 246.553 300.103 376.814 407.203 460.753 514.303 567.853 621.403
0.50  1.10 5500 1320 230.244 258.294 314.394 394.757 426.594 482.694 538.794 594.894 650.994
0.50  1.20 6000 1440 251.175 281.775 342.975 430.644 465.375 526.575 587.775 648.975 710.175
0.50  1.30 6500 1560 272.106 305.256 371.556 466.531 504.156 570.456 636.756 703.056 769.356
0.50  1.40 7000 1680 293.038 328.738 400.138 502.418 542.938 614.338 685.738 757.138 828.538
0.50  1.50 7500 1800 313.969 352.219 428.719 538.305 581.719 658.219 734.719 811.219 887.719
0.50  1.60 8000 1920 334.900 375.700 457.300 574.192 620.500 702.100 783.700 865.300 946.900
0.50  1.70 8500 2040 355.831 399.181 485.881 610.079 659.281 745.981 832.681 919.381 1006.081
0.50  1.80 9000 2160 376.763 422.663 514.463 645.966 698.063 789.863 881.663 973.463 1065.263
0.50  1.90 9500 2280 397.694 446.144 543.044 681.853 736.844 833.744 930.644 1027.544 1124.444
0.50  2.00 10000 2400 418.625 469.625 571.625 717.740 775.625 877.625 979.625 1081.625 1183.625
0.50  2.10 10500 2520 439.556 493.106 600.206 753.627 814.406 921.506 1028.606 1135.706 1242.806
0.50  2.20 11000 2640 460.488 516.588 628.788 789.514 853.188 965.388 1077.588 1189.788 1301.988
0.50  2.30 11500 2760 481.419 540.069 657.369 825.401 891.969 1009.269 1126.569 1243.869 1361.169
0.50  2.40 12000 2880 502.350 563.550 685.950 861.288 930.750 1053.150 1175.550 1297.950 1420.350
0.50  2.50 12500 3000 523.281 587.031 714.531 897.175 969.531 1097.031 1224.531 1352.031 1479.531
0.50  2.60 13000 3120 544.213 610.513 743.113 933.062 1008.313 1140.913 1273.513 1406.113 1538.713
634 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.55  0.55 3300 792 138.146 154.976 188.636 236.854 255.956 289.616 323.276 256.936 390.596
0.55  0.60 3575 858 149.658 167.891 204.356 256.592 277.286 313.751 350.216 386.681 423.146
0.55  0.65 3850 924 161.171 180.806 220.076 276.330 298.616 337.886 377.156 416.426 455.696
0.55  0.70 4125 990 172.683 193.720 235.795 296.068 319.945 362.020 404.095 446.170 488.245
0.55  0.75 4400 1056 184.195 206.635 251.515 315.806 341.275 386.155 431.035 475.915 520.795
0.55  0.80 4675 1122 195.707 219.550 267.235 335.543 362.605 410.290 457.975 505.660 553.345
0.55  0.85 4950 1188 207.219 232.464 282.954 355.281 383.934 434.424 484.914 535.404 585.894
0.55  0.90 5225 1254 218.732 245.379 298.674 375.019 405.264 458.559 511.854 565.149 618.444
0.55  0.95 5500 1320 230.244 258.294 314.394 394.757 426.594 482.694 538.794 594.894 650.994
0.55  1.00 5775 1386 241.756 271.208 330.113 414.495 447.923 506.828 565.733 624.638 683.543
0.55  1.05 6050 1452 253.268 284.123 345.833 434.233 469.253 530.963 592.673 654.383 716.093
0.55  1.10 6600 1584 276.293 309.953 377.273 473.708 511.913 579.233 646.553 713.873 781.193
0.55  1.20 7150 1716 299.317 335.782 408.712 513.184 554.572 627.502 700.432 773.362 846.292
0.55  1.30 7700 1848 322.341 361.611 440.151 552.660 597.231 675.771 754.311 832.851 911.391
0.55  1.40 8250 1980 345.366 387.441 471.591 592.136 639.891 724.041 808.191 892.341 976.491
0.55  1.50 8800 2112 368.390 413.270 503.030 631.611 682.550 772.310 862.070 951.830 1041.590
0.55  1.60 9350 2244 391.414 439.099 534.469 671.087 725.209 820.579 915.949 1011.319 1106.689
0.55  1.70 9900 2376 414.439 464.929 565.909 710.563 767.869 868.849 969.829 1070.809 1171.789
0.55  1.80 10450 2508 437.463 490.758 597.348 750.038 810.528 917.118 1023.708 1130.298 1236.888
0.55  1.90 11000 2640 460.488 516.588 628.788 789.514 853.188 965.388 1077.588 1189.788 1301.988
0.55  2.00 11550 2772 483.512 542.417 660.227 828.990 895.847 1013.657 1131.467 1249.277 1367.087
0.55  2.10 12100 2904 506.536 568.246 691.666 868.465 938.506 1061.926 1185.346 1308.766 1432.186
0.55  2.20 12650 3036 529.561 594.076 723.106 907.941 981.166 1110.196 1239.226 1368.256 1497.286
0.55  2.30 13200 3168 552.585 619.905 754.545 947.417 1023.825 1158.465 1293.105 1427.745 1562.385
0.55  2.40 13750 3300 575.609 645.734 785.984 986.893 1066.484 1206.734 1346.984 1487.234 1627.484
0.55  2.50 14300 3432 598.634 671.564 817.424 1026.368 1109.144 1255.004 1400.864 1546.724 1692.584
0.55  2.60 14850 3564 621.658 697.393 848.863 1065.844 1151.803 1303.273 1454.743 1606.213 1757.683
0.55  2.70 15400 3696 644.683 723.223 880.303 1105.320 1194.463 1351.543 1508.623 1665.703 1822.783
ภาคผนวก 635

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.60  0.60 3600 864 150.705 169.065 205.785 258.386 279.225 315.945 352.665 389.385 426.105
0.60  0.65 3900 936 163.264 183.154 222.934 279.919 302.494 342.274 382.054 421.834 461.614
0.60  0.70 4200 1008 175.823 197.243 240.083 301.451 325.763 368.603 411.443 454.283 497.123
0.60  0.75 4500 1080 188.381 211.331 257.231 322.983 349.031 394.931 440.831 486.731 532.631
0.60  0.80 4800 1152 200.940 225.420 274.380 344.515 372.300 421.260 470.220 519.180 568.140
0.60  0.85 5100 1224 213.499 239.509 291.529 366.047 395.569 447.589 499.609 551.629 603.649
0.60  0.90 5400 1296 226.058 253.598 308.678 387.580 418.838 473.918 528.998 584.078 639.158
0.60  0.95 5700 1368 238.616 267.686 325.826 409.112 442.106 500.246 558.386 616.526 674.666
0.60  1.00 6000 1440 251.175 281.775 342.975 430.644 465.375 526.575 587.775 648.975 710.175
0.60  1.05 6300 1512 263.7344 295.864 360.124 452.176 488.644 552.904 617.164 681.424 745.684
0.60  1.10 6600 1584 276.293 309.953 377.273 473.708 511.913 579.233 646.553 713.873 781.193
0.60  1.20 7200 1728 301.410 338.130 411.570 516.773 558.450 631.890 705.330 778.770 852.210
0.60  1.30 7800 1872 326.528 366.308 445.868 559.837 604.988 684.548 764.108 843.668 923.228
0.60  1.40 8400 2016 351.645 394.485 480.165 602.902 651.525 737.205 822.885 908.565 994.245
0.60  1.50 9000 2160 376.763 422.663 514.463 645.966 698.063 789.863 881.663 973.463 1065.263
0.60  1.60 9600 2304 401.880 450.840 548.760 689.030 744.600 842.520 940.440 1038.360 1136.280
0.60  1.70 10200 2448 426.998 479.018 583.058 732.095 791.138 895.178 999.218 1103.258 1207.298
0.60  1.80 10800 2592 452.115 507.195 617.355 775.159 837.675 947.835 1057.995 1168.155 1278.315
0.60  1.90 11400 2736 477.233 535.373 651.653 818.224 884.213 1000.493 1116.773 1233.053 1349.333
0.60  2.00 12000 2880 502.350 563.550 685.950 861.288 930.750 1053.150 1175.550 1297.950 1420.350
0.60  2.10 12600 3024 527.468 591.728 720.248 904.352 977.288 1105.808 1234.328 1362.848 1491.368
0.60  2.20 13200 3168 552.585 619.905 754.545 947.417 1023.825 1158.465 1293.105 1427.745 1562.385
0.60  2.30 13800 3312 577.703 648.083 788.843 990.481 1070.363 1211.123 1351.883 1492.643 1633.403
0.60  2.40 14400 3456 602.820 676.260 823.140 1033.546 1116.900 1263.780 1410.660 1557.540 1704.420
0.60  2.50 15000 3600 627.938 704.438 857.438 1076.610 1163.438 1316.438 1469.438 1622.438 1775.438
0.60  2.60 15600 3744 653.055 732.615 891.735 1119.674 1209.975 1369.095 1528.215 1687.335 1846.455
0.60  2.70 16200 3888 678.173 760.793 926.033 1162.739 1256.513 1421.753 1586.993 1752.233 1917.473
0.60  2.80 16800 4032 703.290 788.970 960.330 1205.803 1303.050 1474.410 1645.770 1817.130 1988.490
636 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.65  0.65 4225 1014 176.869 198.417 241.512 303.245 327.702 370.797 413.892 456.987 500.082
0.65  0.70 4550 1092 190.474 213.679 260.089 326.572 352.909 399.319 445.729 492.139 538.549
0.65  0.75 4875 1170 204.080 228.942 278.667 349.898 378.117 427.842 477.567 527.292 577.017
0.65  0.80 5200 1248 217.685 244.205 297.245 373.225 403.325 456.365 509.405 562.445 615.485
0.65  0.85 5525 1326 231.290 259.468 315.823 396.551 428.533 484.888 541.243 597.598 653.953
0.65  0.90 5850 1404 244.896 274.731 334.401 419.878 453.741 513.411 573.081 632.751 692.421
0.65  0.95 6175 1482 258.501 289.993 352.978 443.204 478.948 541.933 604.918 667.903 730.888
0.65  1.00 6500 1560 272.106 305.256 371.556 466.531 504.156 570.456 636.756 703.056 769.356
0.65  1.05 6825 1638 285.712 320.519 390.134 489.858 529.364 598.979 668.594 738.209 807.824
0.65  1.10 7150 1716 299.317 335.782 408.712 513.184 554.572 627.502 700.432 773.362 846.292
0.65  1.20 7800 1872 326.528 366.308 445.868 559.837 604.988 684.548 764.108 843.668 923.228
0.65  1.30 8450 2028 353.738 396.833 483.023 606.490 655.403 741.593 827.783 913.973 1000.163
0.65  1.40 9100 2184 380.949 427.359 520.179 653.143 705.819 798.639 891.459 984.279 1077.099
0.65  1.50 9750 2340 408.159 457.884 557.334 699.797 756.234 855.684 955.134 1054.584 1154.034
0.65  1.60 10400 2496 435.370 488.410 594.490 746.450 806.650 912.730 1018.810 1124.890 1230.970
0.65  1.70 11050 2652 462.581 518.936 631.646 793.103 857.066 969.776 1082.486 1195.196 1307.906
0.65  1.80 11700 2808 489.791 549.461 668.801 839.756 907.481 1026.821 1146.161 1265.501 1384.841
0.65  1.90 12350 2964 517.002 579.987 705.957 886.409 957.897 1083.867 1209.837 1335.807 1461.777
0.65  2.00 13000 3120 544.213 610.513 743.113 933.062 1008.313 1140.913 1273.513 1406.113 1538.713
0.65  2.10 13650 3276 571.423 641.038 780.268 979.715 1058.728 1197.958 1337.188 1476.418 1615.648
0.65  2.20 14300 3432 598.634 671.564 817.424 1026.368 1109.144 1255.004 1400.864 1546.724 .1692.584
0.65  2.30 14950 3588 625.844 702.089 854.579 1073.021 1159.559 1312.049 1464.539 1617.029 1769.519
0.65  2.40 15600 3744 653.055 732.615 891.735 1119.674 1209.975 1369.095 1528.215 1687.335 1846.455
0.65  2.50 16250 3900 680.266 763.141 928.891 1166.328 1260.391 1426.141 1591.891 1757.641 1923.391
0.65  2.60 16900 4056 707.476 793.666 966.046 1212.981 1310.806 1483.186 1655.566 1827.946 2000.326
0.65  2.70 17550 4212 734.687 824.192 1003.202 1259.634 1361.222 1540.232 1719.242 1898.252 2077.262
0.65  2.80 18200 4368 761.898 854.718 1040.358 1306.287 1411.638 1597.278 1782.918 1968.558 2154.198
0.65  2.90 18850 4524 789.108 885.243 1077.513 1352.940 1462.053 1654.323 1846.593 2038.863 2231.133
ภาคผนวก 637

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.70  0.70 4900 1176 205.126 230.116 280.096 351.693 380.056 430.036 480.016 529.996 579.976
0.70  0.75 5250 1260 219.778 246.553 300.103 376.814 407.203 460.753 514.303 567.853 621.403
0.70  0.80 5600 1344 234.430 262.990 320.110 401.934 434.350 491.470 548.590 605.710 662.830
0.70  0.85 5950 1428 249.082 279.427 340.117 427.055 461.497 522.187 582.877 643.567 704.257
0.70  0.90 6300 1512 263.734 295.864 360.124 452.176 488.644 552.904 617.164 681.424 745.684
0.70  0.95 6650 1596 278.386 312.301 380.131 477.297 515.791 583.621 651.451 719.281 787.111
0.70  1.00 7000 1680 293.038 328.738 400.138 502.418 542.938 614.338 685.738 757.138 828.538
0.70  1.05 7350 1764 307.689 345.174 420.144 527.539 570.084 645.054 720.024 794.994 869.964
0.70  1.10 7700 1848 322.341 361.611 440.151 552.660 597.231 675.771 754.311 832.851 911.391
0.70  1.20 8400 2016 351.645 394.485 480.165 602.902 651.525 737.205 822.885 908.565 994.245
0.70  1.30 9100 2184 380.949 427.359 520.179 653.143 705.819 798.639 891.459 984.279 1077.099
0.70  1.40 9800 2352 410.253 460.233 560.193 703.385 760.113 860.073 960.033 1059.993 1159.953
0.70  1.50 10500 2520 439.556 493.106 600.206 753.627 814.406 921.506 1028.606 1135.706 1242.806
0.70  1.60 11200 2688 468.860 525.980 640.220 803.869 868.700 982.940 1097.180 1211.420 1325.660
0.70  1.70 11900 2856 498.164 558.854 680.234 854.111 922.994 1044.374 1165.754 1287.134 1408.514
0.70  1.80 12600 3024 527.468 591.728 720.248 904.352 977.288 1105.808 1234.328 1362.848 1491.368
0.70  1.90 13300 3192 556.771 624.601 760.261 954.594 1031.581 1167.241 1302.901 1438.561 1574.221
0.70  2.00 14000 3360 586.075 657.475 800.275 1004.836 1085.875 1228.675 1371.475 1514.275 1657.075
0.70  2.10 14700 3528 615.379 690.349 840.289 1055.078 1140.169 1290.109 1440.049 1589.989 1739.929
0.70  2.20 15400 3696 644.683 723.223 880.303 1105.320 1194.463 1351.543 1508.623 1665.703 1822.783
0.70  2.30 16100 3864 673.986 756.096 920.316 1155.561 1248.756 1412.976 1577.196 1741.416 1905.636
0.70  2.40 16800 4032 703.290 788.970 960.330 1205.803 1303.050 1474.410 1645.770 1817.130 1988.490
0.70  2.50 17500 4200 732.594 821.844 1000.344 1256.045 1357.344 1535.844 1714.344 1892.844 2071.344
0.70  2.60 18200 4368 761.898 854.718 1040.358 1306.287 1411.638 1597.278 1782.918 1968.558 2154.198
0.70  2.70 18900 4536 791.201 887.591 1080.371 1356.529 1465.931 1658.711 1851.491 2044.271 2237.051
0.70  2.80 19600 4704 820.505 920.465 1120.385 1406.770 1520.225 1720.145 1920.065 2119.985 2319.905
0.70  2.90 20300 4872 849.809 953.339 1160.399 1457.012 1574.519 1781.579 1988.639 2195.699 2402.759
0.70  3.00 21000 5040 879.113 986.213 1200.413 1507.254 1628.813 1843.013 2057.213 2271.413 2485.613
638 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.75  0.75 5625 1350 235.477 264.164 321.539 403.729 436.289 493.664 551.039 608.414 665.789
0.75  0.80 6000 1440 251.175 281.775 342.973 430.644 465.375 526.575 587.775 648.975 710.175
0.75  0.85 6375 1530 266.873 299.386 364.411 457.559 494.461 559.486 624.511 689.536 754.561
0.75  0.90 6750 1620 282.572 316.997 385.847 484.475 523.547 592.397 661.247 730.097 798.947
0.75  0.95 7125 1710 298.270 334.608 407.283 511.390 552.633 625.308 697.983 770.658 843.333
0.75  1.00 7500 1800 313.969 352.219 428.719 538.305 581.719 658.219 734.719 811.219 887.719
0.75  1.05 7875 1890 329.667 369.830 450.155 565.220 610.805 691.130 771.455 851.780 932.105
0.75  1.10 8250 1980 345.366 387.441 471.591 592.136 639.891 724.041 808.191 892.341 976.491
0.75  1.20 9000 2160 376.763 422.663 514.463 645.966 698.063 789.863 881.663 973.463 1065.263
0.75  1.30 9750 2340 408.159 457.884 557.334 699.797 756.234 855.684 955.134 1054.584 1154.034
0.75  1.40 10500 2520 439.556 493.106 600.206 753.627 814.406 921.506 1028.606 1135.706 1242.806
0.75  1.50 11250 2700 470.953 528.328 643.078 807.458 872.578 987.328 1102.078 1216.828 1331.578
0.75  1.60 12000 2880 502.350 563.550 685.950 861.288 930.750 1053.150 1175.550 1297.950 1420.350
0.75  1.70 12750 3060 533.747 598.772 728.822 915.119 988.922 1118.972 1249.022 1379.072 1509.122
0.75  1.80 13500 3240 565.144 633.994 771.694 968.949 1047.094 1184.794 1322.494 1460.194 1597.894
0.75  1.90 14250 3420 596.541 669.216 814.566 1022.780 1105.266 1250.616 1395.966 1541.316 1686.666
0.75  2.00 15000 3600 627.938 704.438 857.438 1076.610 1163.438 1316.438 1469.438 1622.438 1775.438
0.75  2.10 15750 3780 659.334 739.659 900.309 1130.441 1221.609 1382.259 1542.909 1703.559 1864.209
0.75  2.20 16500 3960 690.731 774.881 943.181 1184.271 1279.781 1448.081 1616.381 1784.681 1952.981
0.75  2.30 17250 4140 722.128 810.103 986.053 1238.102 1337.953 1513.903 1689.853 1865.803 2041.753
0.75  2.40 18000 4320 753.525 845.325 1028.925 1291.932 1396.125 1579.725 1763.325 1946.925 2130.525
0.75  2.50 18750 4500 784.922 880.547 1071.797 1345.763 1454.297 1645.547 1836.797 2028.047 2219.297
0.75  2.60 19500 4680 816.319 915.769 1114.669 1399.593 1512.469 1711.369 1910.269 2109.169 2308.069
0.75  2.70 20250 4860 847.716 950.991 1157.541 1453.424 1570.641 1777.191 1983.741 2190.291 2396.841
0.75  2.80 21000 5040 879.113 986.213 1200.413 1507.254 1628.813 1843.013 2057.213 2271.413 2485.613
0.75  2.90 21750 5220 910.509 1021.434 1243.284 1561.085 1686.984 1908.834 2130.684 2352.534 2574.384
0.75  3.00 22500 5400 941.906 1056.656 1286.156 1614.915 1745.156 1974.656 2204.156 2433.656 2663.156
0.75  3.10 23250 5580 973.303 1091.878 1329.028 1668.746 1803.328 2040.478 2277.628 2514.778 2751.928
ภาคผนวก 639

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.80  0.80 6400 1536 367.920 300.560 365.840 459.354 496.400 561.680 626.960 692.240 757.520
0.80  0.85 6800 1632 284.665 319.345 388.705 488.063 527.425 596.785 666.145 735.505 804.865
0.80  0.90 7200 1728 301.410 338.130 411.570 516.773 558.450 631.890 705.330 778.770 852.210
0.80  0.95 7600 1824 318.155 356.915 434.435 545.482 589.475 666.995 744.515 822.035 899.555
0.80  1.00 8000 1920 334.900 375.700 457.300 574.192 620.500 702.100 783.700 865.300 946.900
0.80  1.05 8400 2016 351.645 394.485 480.165 602.902 651.525 737.205 822.885 908.565 994.245
0.80  1.10 8800 2112 368.390 413.270 503.030 631.611 682.550 772.310 862.070 951.830 1041.590
0.80  1.20 9600 2304 401.880 450.840 548.760 689.030 744.600 842.520 940.440 1038.360 1136.280
0.80  1.30 10400 2496 435.370 488.410 594.490 746.450 806.650 912.730 1018.810 1124.890 1230.970
0.80  1.40 11200 2688 468.860 525.980 640.220 803.869 868.700 982.940 1097.180 1211.420 1325.660
0.80  1.50 12000 2880 502.350 563.550 685.950 861.288 930.750 1053.150 1175.550 1297.950 1420.350
0.80  1.60 12800 3072 535.840 601.120 731.680 918.707 992.800 1123.360 1253.920 1384.480 1515.040
0.80  1.70 13600 3264 569.330 638.690 777.410 976.126 1054.850 1193.570 1332.290 1471.010 1609.730
0.80  1.80 14400 3456 602.820 676.260 823.140 1033.546 1116.900 1263.780 1410.660 1557.540 1704.420
0.80  1.90 15200 3648 636.310 713.830 868.870 1090.965 1178.950 1333.990 1489.030 1644.070 1799.110
0.80  2.00 16000 3840 669.800 751.400 914.600 1148.384 1241.000 1404.200 1567.400 1730.600 1893.800
0.80  2.10 16800 4032 703.290 788.970 960.330 1205.803 1303.050 1474.410 1645.770 1817.130 1988.490
0.80  2.20 17600 4224 736.780 826.540 1006.060 1263.222 1365.100 1544.620 1724.140 1903.660 2083.180
0.80  2.30 18400 4416 770.270 864.110 1051.790 1320.642 1427.150 1614.830 1802.510 1990.190 2177.870
0.80  2.40 19200 4608 803.760 901.680 1097.520 1378.061 1489.200 1685.040 1880.880 2076.720 2272.560
0.80  2.50 20000 4800 837.250 939.250 1143.250 1435.480 1551.250 1755.250 1959.250 2163.250 2367.250
0.80  2.60 20800 4992 870.740 976.820 1188.980 1492.899 1613.300 1825.460 2037.620 2249.780 2461.940
0.80  2.70 21600 5182 904.230 1014.390 1234.710 1550.318 1675.350 1895.670 2115.990 2336.310 2556.630
0.80  2.80 22400 5376 937.720 1051.960 1280.440 1607.738 1737.400 1965.880 2194.360 2422.840 2651.320
0.80  2.90 23200 5568 971.210 1089.530 1326.170 1665.157 1799.450 2036.090 2272.730 2509.370 2746.010
0.80  3.00 24000 5760 1004.700 1127.100 1371.900 1722.576 1861.500 2106.300 2351.100 2595.900 2840.700
0.80  3.10 24800 5952 1038.190 1164.670 1417.630 1779.995 1923.550 2176.510 2429.470 2682.430 2935.390
0.80  3.20 25600 6144 1071.680 1202.240 1463.360 1837.414 1985.600 2246.720 2507.840 2768.960 3030.080
640 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.85  0.85 7225 1734 302.457 339.304 412.999 518.567 560.389 634.084 707.779 781.474 855.169
0.85  0.90 7650 1836 320.248 359.263 437.293 549.071 593.353 671.383 749.413 827.443 905.473
0.85  0.95 8075 1938 338.040 379.222 461.587 579.575 626.317 708.682 791.047 873.412 955.777
0.85  1.00 8500 2040 355.831 399.181 485.881 610.079 659.281 745.981 832.681 919.381 1006.081
0.85  1.05 8925 2142 373.623 419.140 510.175 640.583 692.245 783.280 874.315 965.350 1056.385
0.85  1.10 9350 2244 391.414 439.099 534.469 671.087 725.209 820.579 915.949 1011.319 1106.689
0.85  1.20 10200 2448 426.998 479.018 583.058 732.095 791.138 895.178 999.218 1103.258 1207.298
0.85  1.30 11050 2652 462.581 518.936 631.646 793.103 857.066 969.776 1082.486 1195.196 1307.906
0.85  1.40 11900 2856 498.164 558.854 680.234 854.111 922.994 1044.374 1165.754 1287.134 1408.514
0.85  1.50 12750 3060 533.747 598.772 728.822 915.119 988.922 1118.972 1249.022 1379.072 1509.122
0.85  1.60 13600 3264 569.330 638.690 777.410 976.126 1054.850 1193.570 1332.290 1471.010 1609.730
0.85  1.70 14450 3468 604.913 678.608 825.998 1037.134 1120.778 1268.168 1415.558 1562.948 1710.338
0.85  1.80 15300 3672 640.496 718.526 874.586 1098.142 1186.706 1342.766 1498.826 1654.886 1810.946
0.85  1.90 16150 3876 676.079 758.444 923.174 1159.150 1252.634 1417.364 1582.094 1746.824 1911.554
0.85  2.00 17000 4080 711.663 798.363 971.763 1220.158 1318.563 1491.963 1665.363 1838.763 2012.163
0.85  2.10 17850 4284 747.246 838.281 1020.351 1281.166 1384.491 1566.561 1748.631 1930.701 2112.771
0.85  2.20 18700 4488 782.829 878.199 1068.939 1342.174 1450.419 1641.159 1831.899 2022.639 2213.379
0.85  2.30 19550 4692 818.412 918.117 1117.527 1403.182 1516.347 1715.757 1915.167 2114.577 2313.987
0.85  2.40 20400 4896 8536.995 958.035 1166.115 1464.190 1582.275 1790.355 1998.435 2206.515 2414.595
0.85  2.50 21250 5100 889.578 997.953 1214.703 1525.198 1648.203 1864.953 2081.703 2298.453 2515.203
0.85  2.60 22100 5304 925.161 1037.871 1263.291 1586.205 1714.131 1939.551 2164.971 2390.391 2615.811
0.85  2.70 22950 5508 960.744 1077.789 1311.879 1647.213 1780.059 2014.149 2248.239 2482.329 2716.419
0.85  2.80 23800 5712 996.328 1117.708 1360.468 1708.221 1845.988 2088.748 2331.508 2574.268 2817.028
0.85  2.90 24650 5916 1031.911 1157.626 1409.056 1769.229 1911.916 2163.346 2414.776 2666.206 2917.636
0.85  3.00 25500 6120 1067.494 1197.544 1457.644 1830.237 1977.844 2237.944 2498.044 2758.144 3018.244
0.85  3.10 26350 6324 1103.077 1237.462 1506.232 1891.245 2043.772 2312.542 2581.312 2850.082 3118.852
0.85  3.20 27200 6528 1138.660 1277.380 1554.820 1952.253 2109.700 2387.140 2664.580 2942.020 3219.460
0.85  3.30 28050 6732 1174.243 1317.298 1603.408 2013.261 2175.628 2461.738 2747.848 3033.958 3320.068
ภาคผนวก 641

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.90  0.90 8100 1944 339.086 380.396 463.016 581.369 628.256 710.876 793.496 876.116 958.736
0.90  0.95 8550 2052 357.924 401.529 488.739 613.668 663.159 750.369 837.579 924.789 1011.999
0.90  1.00 9000 2160 376.763 422.663 514.463 645.966 698.063 789.863 881.663 973.463 1065.263
0.90  1.05 9450 2268 395.601 443.796 540.186 678.264 732.966 829.356 925.746 1022.136 1118.526
0.90  1.10 9900 2376 414.439 464.929 565.909 710.563 767.869 868.849 969.829 1070.809 1171.789
0.90  1.20 10800 2592 452.115 507.195 617.355 775.159 837.675 947.835 1057.995 1168.155 1278.315
0.90  1.30 11700 2808 489.791 549.461 668.801 839.756 907.481 1026.821 1146.161 1265.501 1384.841
0.90  1.40 12600 3024 527.468 591.728 720.248 904.352 977.288 1105.808 1234.328 1362.848 1491.368
0.90  1.50 13500 3240 565.144 633.994 771.694 968.949 1047.094 1184.794 1322.494 1460.194 1597.894
0.90  1.60 14400 3456 602.820 676.260 823.140 1033.546 1116.900 1263.780 1410.660 1557.540 1704.420
0.90  1.70 15300 3672 640.496 718.526 874.586 1098.142 1186.706 1342.766 1498.826 1654.886 1810.946
0.90  1.80 16200 3888 678.173 760.793 926.033 1162.739 1256.513 1421.753 1586.993 1752.233 1917.473
0.90  1.90 17100 4104 715.849 803.059 977.479 1227.335 1326.319 1500.739 1675.159 1849.579 2023.999
0.90  2.00 18000 4320 753.525 845.325 1028.925 1291.932 1396.125 1579.725 1763.325 1946.925 2130.525
0.90  2.10 18900 4536 791.201 887.591 1080.371 1356.529 1465.931 1658.711 1851.491 2044.271 2237.051
0.90  2.20 19800 4752 828.878 929.858 1131.818 1421.125 1535.738 1737.698 1939.658 2141.618 2343.578
0.90  2.30 20700 4968 866.554 972.124 1183.264 1485.722 1605.544 1816.684 2027.824 2238.964 2450.104
0.90  2.40 21600 5184 904.230 1014.390 1234.710 1550.318 1675.350 1695.670 2115.990 2336.310 2556.630
0.90  2.50 22500 5400 941.906 1056.656 1286.156 1614.915 17458.156 1974.656 2204.156 2433.656 2663.156
0.90  2.60 23400 5616 979.583 1098.923 1337.603 1679.512 1814.963 2053.643 2292.323 2531.003 2769.683
0.90  2.70 24300 5832 1017.259 1141.189 1389.049 1744.108 1884.769 2132.629 2380.489 2628.349 2876.209
0.90  2.80 25200 6048 1054.935 1183.455 1440.495 1808.705 1954.575 2211.615 2468.655 2725.695 2982.735
0.90  2.90 26100 6264 1092.611 1225.721 1491.941 1873.301 2024.381 2290.601 2556.821 2823.041 3089.261
0.90  3.00 27000 6480 1130.288 1267.988 1543.388 1937.898 2094.188 2369.588 2644.988 2920.388 3195.788
0.90  3.10 27900 6696 1167.964 1310.254 1594.834 2002.495 2163.994 2448.574 2733.154 3017.734 3302.314
0.90  3.20 28800 6912 1205.640 1352.520 1646.280 2067.091 2233.800 2527.560 2821.320 3115.080 3408.840
0.90  3.30 29700 7128 1243.316 1394.786 1697.726 2131.688 2303.606 2606.546 2909.486 3212.426 3515.366
0.90  3.40 30600 7344 1280.993 1437.053 1749.173 2196.284 2373.413 2685.533 2997.653 3309.773 3621.893
642 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
0.95  0.95 9025 2166 377.809 423.837 515.892 647.760 700.002 792.057 884.112 976.167 1068.222
0.95  1.00 9500 2280 397.694 446.144 543.044 681.853 736.844 833.744 930.644 1027.544 1124.444
0.95  1.05 9975 2394 417.578 468.451 570.196 715.946 773.686 875.431 977.176 1078.921 1180.666
0.95  1.10 10450 2508 437.463 490.758 597.348 750.038 810.528 917.118 1023.708 1130.298 1236.888
0.95  1.20 11400 2736 477.233 535.373 651.653 818.224 884.213 1000.493 1116.773 1233.053 1349.333
0.95  1.30 12350 2964 517.002 579.987 705.957 886.409 957.897 1083.867 1209.837 1335.807 1461.777
0.95  1.40 13300 3192 556.771 624.601 760.261 954.594 1031.581 1167.241 1302.901 1438.561 1574.221
0.95  1.50 14250 3420 596.541 669.216 814.566 1022.780 1105.266 1250.616 1395.966 1541.316 1686.666
0.95  1.60 15200 3648 636.310 713.830 868.870 1090.965 1178.950 1333.990 1489.030 1644.070 1799.110
0.95  1.70 16150 3876 676.079 758.444 923.174 1159.150 1252.634 1417.364 1582.094 1746.824 1911.554
0.95  1.80 17100 4104 715.849 803.059 977.479 1227.335 1326.319 1500.739 1975.159 1849.579 2023.999
0.95  1.90 18050 4332 755.618 847.673 1031.783 1295.521 1400.003 1584.113 1768.223 1952.333 2136.443
0.95  2.00 19000 4560 795.388 892.288 1086.088 1363.706 1473.688 1667.488 1861.288 2055.088 2248.888
0.95  2.10 19950 4788 835.157 936.902 1140.392 1431.891 1547.372 1750.862 1954.352 2157.842 2361.332
0.95  2.20 20900 5016 874.926 981.516 1194.696 1500.077 1621.056 1834.236 2047.416 2260.596 2473.776
0.95  2.30 21850 5244 914.696 1026.131 1249.001 1568.262 1694.741 1917.611 2140.481 2363.351 2586.221
0.95  2.40 22800 5472 954.465 1070.745 1303.305 1636.447 1768.425 2000.985 2233.545 2466.105 2698.665
0.95  2.50 23750 5700 994.234 1115.359 1357.609 1704.633 1842.109 2084.359 2326.609 2568.859 2811.109
0.95  2.60 24700 5928 1034.004 1159.974 1411.914 1772.818 1915.794 2167.734 2419.674 2671.614 2923.554
0.95  2.70 25650 6156 1073.773 1204.588 1466.218 1841.003 1989.478 2251.108 2512.738 2774.368 3035.998
0.95  2.80 26600 6384 1113.543 1249.203 1520.523 1909.188 2063.163 2334.483 2605.803 2877.123 3148.443
0.95  2.90 27550 6612 1153.312 1293.817 1574.827 1977.374 2136.847 2417.857 2698.867 2979.877 3260.887
0.95  3.00 28500 6840 1193.081 1338.431 1629.131 2045.559 2210.531 2501.231 2791.931 3082.631 3373.331
0.95  3.10 29450 7068 1232.851 1383.046 1683.436 2113.744 2284.216 2584.606 2884.996 3185.386 3485.776
0.95  3.20 30400 7296 1272.620 1427.660 1737.740 2181.930 2357.900 2667.980 2978.060 3288.140 3598.220
0.95  3.30 31350 7524 1312.389 1472.274 1792.044 2250.115 2431.584 2751.354 3071.124 3390.894 3710.664
0.95  3.40 32300 7752 1352.159 1516.889 1846.349 2318.300 2505.269 2834.729 3164.189 3493.649 3823.109
0.95  3.50 33250 7980 1391.928 1561.503 1900.653 2386.486 2578.953 2918.103 3257.253 3596.403 3935.553
ภาคผนวก 643

ตาราง ผ-8 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเดีย่ วแบบสั้น


SECTION A wD น้ําหนักบรรทุกเปน ตัน เมื่ออัตราสวน  ตางๆ
tb cm 2 kg / m 0.5% 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
mm
1.00  1.00 10000 2400 418.625 469.625 571.625 717.740 775.625 877.625 979.625 1081.625 1183.625
1.00  1.05 10500 2520 439.556 493.106 600.206 753.627 814.406 921.506 1028.606 1135.706 1242.806
1.00  1.10 11000 2640 460.488 516.588 628.788 789.514 863.188 965.388 1077.588 1189.788 1301.988
1.00  1.20 12000 2880 502.350 563.550 685.950 861.288 930.750 1053.150 1175.550 1297.950 1420.350
1.00  1.30 13000 3120 544.213 610.513 743.113 933.062 1008.313 1140.913 1273.513 1406.113 1538.713
1.00  1.40 14000 3360 586.075 657.475 800.275 1004.836 1085.875 1228.675 1371.475 1514.275 1657.075
1.00  1.50 15000 3600 627.938 704.438 857.438 1076.610 1163.438 1316.438 1469.438 1622.438 1775.438
1.00  1.60 16000 3840 669.800 751.400 914.600 1148.384 1241.000 1404.200 1567.400 1730.600 1893.800
1.00  1.70 17000 4080 711.663 798.363 971.763 1220.158 1318.563 1491.963 1665.363 1838.763 2012.163
1.00  1.80 18000 4320 753.525 845.325 1028.925 1291.932 1396.125 1579.725 1763.325 1946.925 2130.525
1.00  1.90 19000 4560 795.388 892.288 1086.088 1363.706 1473.688 1667.488 1861.288 2055.088 2248.888
1.00  2.00 20000 4800 837.250 939.250 1143.250 1435.480 1551.250 1755.250 1959.250 2163.250 2367.250
1.00  2.10 21000 5040 879.113 986.213 1200.413 1507.254 1628.813 1843.013 2057.213 2271.413 2485.613
1.00  2.20 22000 5280 920.975 1033.175 1257.575 1579.028 1706.375 1930.775 2155.175 2379.575 2603.975
1.00  2.30 23000 5520 962.838 1080.138 1314.738 1650.802 1783.938 2018.538 2253.138 2487.738 2722.338
1.00  2.40 24000 5760 1004.700 1127.100 1371.900 1722.576 1861.500 2106.300 2351.100 2595.900 2840.700
1.00  2.50 25000 6000 1046.563 1174.063 1429.063 1794.350 1939.063 2194.063 2449.063 2704.063 2959.063
1.00  2.60 26000 6240 1088.425 1221.025 1486.225 1866.124 2016.625 2281.825 2547.025 2812.225 3077.425
1.00  2.70 27000 6480 1130.288 1267.988 1543.388 1937.898 2094.188 2369.588 2644.988 2920.388 3195.788
1.00  2.80 28000 6720 1172.150 1314.950 1600.550 2009.672 2171.750 2457.350 2742.950 3028.550 3314.150
1.00  2.90 29000 6960 1214.013 1361.913 1657.713 2081.446 2249.313 2545.113 2840.913 3136.713 3432.513
1.00  3.00 30000 7200 1255.875 1408.875 1714.875 2153.220 2326.875 2632.875 2938.875 3244.875 3550.875
1.00  3.10 31000 7440 1297.738 1455.838 1772.038 2224.994 2404.438 2720.638 3036.838 3353.038 3669.238
1.00  3.20 32000 7680 1339.600 1502.800 2296.768 2482.000 2808.400 3134.800 3461.200 3787.600
1.00  3.30 33000 7920 1381.463 1549.763 1829.200 2368.542 2559.563 2896.163 3232.763 3569.363 3905.963
1.00  3.40 34000 8160 1423.325 1596.725 1886.363 2440.316 2637.125 2983.925 3330.725 3677.525 4024.325
1.00  3.50 35000 8400 1465.188 1643.688 1943.525 2512.090 2714.688 3071.688 3428.688 3785.688 4142.688
1.00  3.60 36000 8640 1507.050 1690.650 2000.688 2583.864 2792.250 3159.450 3526.650 3893.850 4261.050
2057.850
644 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

คําอธิบายตาราง ผ-9 เสาปลอกเกลียวแบบสั้น


กําหนดให
D  เสนผานศูนยกลาง, cm

f c'  173 ksc  กําลังประลัยของทรงกระบอกคอนกรีตทีอ ่ ายุ 28 วัน


f s  1200 ksc  กําลังที่ยอมใหของเหล็กยืนกรณี SR-24

f s  0.4f y  1200 ksc  กําลังที่ยอมใหของเหล็กขอออย SD-30


D 2
Ag 
4
 เนื้อที่หนาตัดของเสา, cm2
w  2400
Ag
10000
 0.24A g  น้ําหนักของเสา, kg/m
h  15D  ความสูงสูงสุดของเสาสั้น, cm
 A 
0.01   g  st   0.08
 A g 
อัตราสวนเหล็กยืนตอเนื้อที่หนาตัดเสา

A st เนื้อที่หนาตัดเหล็กยืน อยางนอย 6-DB 12 mm หรือ 6  1.131  6.786 cm 2

กําลังรับน้ําหนักของเสาสั้นปลอกเกลียว

P  A g 0.25f c'  f s g 
เหล็กปลอกเกลียวนั้น มาตรฐาน วสท.ปจจุบันกําหนดใหใช RB 9 mm เปนขั้นต่ํา
กําหนดให
D c  D  7  เสนผานศูนยกลางของวงเหล็กปลอกเกลียววัดผิวนอกของเหล็กปลอก, cm

d  เสนผานศูนยกลางของเหล็กปลอกเกลียว, cm
 2
A sp  d 2  เนื้อที่หนาตัดเหล็กปลอกเกลียวหนึ่งเสน , cm
4
 2
Ac 
4
Dc  เนื้อที่หนาตัดแกนคอนกรีต, cm2
f sy  2400 ksc  กําลังครากของเหล็กปลอกเกลียวขนาด RB 9 mm และ RB 12 mm
f sy  3000 ksc  กําลังครากของเหล็กปลอกเกลียวขนาด DB 10 mm และ DB 12 mm
D  d A sp 4A sp
s 
Vsp
Vcc

 2

sD c
 อัตราสวนปริมตรเหล็กปลอกเกลียวตอปริมาตรแกนคอนกรีต
Dc s
4
มาตรฐาน วสท. กําหนดวา
f c'  Ag 
s  0.45  
 A  1
f sy  c 
ดังนั้น
 2 
f c'  4 
D  D2 
4A sp f'  
 0.45   1  0.45 c
sD c f sy   D 2  f sy  D 2  1
 c   c 
4 
ภาคผนวก 645

4A sp f c'  D 2  D c2 
 0.45  
sD c f sy  D2 
 c 
4A sp f c' D 2  D c2
 0.45
s f sy Dc
4A sp f sy D c
s

0.45f c' D 2  D c2 
4A sp f sy D  7  4A sp f sy D  7  4A sp f sy D  7 
s  
0.45f c' D  D c D  D c  0.45f c' D  D  7 D  D  7  0.45f c' 7 2D  7 

ระยะ s ไมเกิน 7.5 cm และไมนอยกวา 2.5 cm


คาในตาราง ผ-9 จะเปนการใชเหล็กปลอก RB 9 mm ดังนั้น
4  0.636  2400D  7  D7
s  11.20396367
0.45  173  72D  7  2D  7
ชองตาราง s หมายถึงเหล็กปลอก RB 9 mm เทานั้น

ตาราง ผ-9 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเกลียวแบบสั้น


D Ag w h s P ตัน, Ag cm2 , ที่ g %
m cm2 kg/m m mm 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
0.15 176.7 42.4 2.25 3.90 9.75 11.88 14.00 16.13 18.25 20.37 22.49 24.61
0.16 201.1 48.3 2.40 4.03 11.11 13.52 15.93 18.35 20.76 23.17 25.59 28.00
0.17 227.0 54.5 2.55 4.15 12.54 15.26 17.99 20.71 23.44 26.16 28.88 31.61
0.18 254.5 61.1 2.70 4.25 14.06 17.11 20.17 23.22 26.27 29.33 32.38 35.43
0.19 283.5 68.0 2.85 4.34 15.66 19.07 22.47 25.87 29.27 32.68 36.08 39.48
0.20 314.2 75.4 3.00 4.41 17.36 21.13 24.90 28.67 32.44 36.21 39.98 43.75
0.21 346.4 83.1 3.15 4.48 19.14 23.29 27.45 31.61 35.76 39.92 44.07 48.23
0.22 380.1 91.2 3.30 4.54 21.00 25.56 30.13 34.69 39.25 43.81 48.37 52.93
0.23 415.5 99.7 3.45 4.60 22.96 27.94 32.93 37.91 42.90 47.88 52.87 57.85
0.24 452.4 108.6 3.60 4.65 24.99 30.42 35.85 41.28 46.71 52.14 57.57 63.00
0.25 490.9 117.8 3.75 4.69 27.12 33.01 38.90 44.79 50.68 56.57 62.46 68.35
0.26 530.9 127.4 3.90 4.73 29.33 35.70 42.08 48.45 54.82 61.19 67.56 73.93
0.27 572.6 137.4 4.05 4.77 31.63 38.50 45.38 52.25 59.12 65.99 72.86 79.73
0.28 615.8 147.8 4.20 4.80 34.02 41.41 48.80 56.19 63.58 70.97 78.35 85.74
0.29 660.5 158.5 4.35 4.83 36.49 44.42 52.35 60.27 68.20 76.12 84.05 91.98
0.30 706.9 169.6 4.50 4.86 39.05 47.54 56.02 64.50 72.98 81.47 89.95 98.43
0.31 754.8 181.1 4.65 4.89 41.70 50.76 59.82 68.87 77.93 86.99 96.04 105.10
0.32 804.2 193.0 4.80 4.91 44.43 54.09 63.74 73.39 83.04 92.69 102.34 111.99
0.33 855.3 205.3 4.95 4.94 47.26 57.52 67.78 78.05 88.31 98.57 108.84 119.10
0.34 907.9 217.9 5.10 4.96 50.16 61.06 71.95 82.85 93.74 104.64 115.53 126.43
0.35 962.1 230.9 5.25 4.98 53.16 64.70 76.25 87.79 99.34 110.88 122.43 133.97
0.36 1017.9 244.3 5.40 5.00 56.24 68.45 80.67 92.88 105.10 117.31 129.52 141.74
0.37 1075.2 258.1 5.55 5.02 59.41 72.31 85.21 98.11 111.02 123.92 136.82 149.72
0.38 1134.1 272.2 5.70 5.03 62.66 76.27 89.88 103.49 117.10 130.71 144.32 157.93
646 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตาราง ผ-9 น้ําหนักบรรทุกของเสาปลอกเกลียวแบบสั้น


D Ag w h s P ตัน, Ag cm2 , ที่ g %
m cm2 kg/m m mm 1% 2% 3% 4% 5% 6% 7% 8%
0.39 1194.6 286.7 5.85 5.05 66.00 80.34 94.67 109.01 123.34 137.68 152.01 166.35
0.40 1256.6 301.6 6.00 5.06 69.43 84.51 99.59 114.67 129.75 144.83 159.91 174.99
0.41 1320.3 316.9 6.15 5.08 72.94 88.79 104.63 120.47 136.32 152.16 168.00 183.85
0.42 1385.4 332.5 6.30 5.09 76.55 93.17 109.80 126.42 143.05 159.67 176.30 192.92
0.43 1452.2 348.5 6.45 5.11 80.23 97.66 115.09 132.51 149.94 167.37 184.79 202.22
0.44 1520.5 364.9 6.60 5.12 84.01 102.26 120.50 138.75 156.99 175.24 193.49 211.73
0.45 1590.4 381.7 6.75 5.13 87.87 106.96 126.04 145.13 164.21 183.30 202.38 221.47
0.50 1963.5 471.2 7.50 5.18 108.48 132.05 155.61 179.17 202.73 226.29 249.85 273.42
0.55 2375.8 570.2 8.25 5.22 131.26 159.77 188.28 216.79 245.30 273.81 302.32 330.83
0.60 2827.4 678.6 9.00 5.25
0.65 3318.3 796.4 9.75 5.28
0.70 3848.5 923.6 10.50 5.31
0.75 4417.9 1060.3 11.25 5.33
0.80 5026.5 1206.4 12.00 5.35
0.85 5674.5 1361.9 12.75 5.36
0.90 6361.7 1526.8 13.50 5.38
0.95 7088.2 1701.2 14.25 5.39
1.00 7854.0 1885.0 15.00 5.40
1.10 9503.3 2280.8 16.50 5.42
1.20 11309.7 2714.3 18.00 5.43
1.30 13273.2 3185.6 19.50 5.45
1.40 15393.8 3694.5 21.0 5.46
1.50 17671.5 4241.2 22.50 5.47
1.60 20106.2 4825.5 24.00 5.48
1.70 22698.0 5447.5 25.50 5.48
1.80 25446.9 6107.3 27.00 5.49
1.90 28352.9 6804.7 28.50 5.50
2.00 31415.9 7539.8 30.00 5.50
บรรณานุกรม 647

บรรณานุกรม
1. วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ : มาตรฐานสําหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก
พ.ศ.2517

2. ศ.สนั่น เจริญเผา, ศ.ดร.วินิต ชอวิเชียร : คอนกรีตเสริมเหล็ก พ.ศ.2518

3. Dunham, C.W. : The Theory and Practice of Reinforced Concrete fourth Ed. International Student
Edition, 1966

4. Ferguson, P.M. : Reinforced Concrete Fundamentals, 3rd Ed., John Wiley & Sons., Inc., New York,
1973

You might also like