You are on page 1of 3

1

ใบงานที่ 6 (งานกลุ่ม)
วิชา GE 151 144 พหุวัฒนธรรม หน่วยที่ 6
พหุวัฒนธรรมในสังคมไทยและพหุวัฒนธรรมในสังคมอีสาน

กลุ่มที่ 2 Section 22 สมาชิกกลุ่ม 9 วันที่ทำใบงาน 12 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 5.10 น.

1. นางสาวชวพร สีพรมติ่ง รหัส 613210706-8 เลขที่ในใบลงชื่อ 1

2. นายณัฐชนน โคตพันธ์ รหัส 623220066-2 เลขที่ในใบลงชื่อ 11

3. นายธนาธิป โมหา รหัส 623220068-8 เลขที่ในใบลงชื่อ 12

4. นายสหรัถ เหลาชำนิ รหัส 623220081-6 เลขที่ในใบลงชื่อ 22

5. นายคเณศ ศรีวิชา รหัส 623220186-2 เลขที่ในใบลงชื่อ 25

6. นางสาวสิรินพร วิบูลยานนท์ รหัส 623220239-7 เลขที่ในใบลงชื่อ 30

7. นายอภิรักษ์ หงษาคำ รหัส 623220240-2 เลขที่ในใบลงชื่อ 31

8. นางสาวศมนรต รื่นพากเพียร รหัส 623220238-9 เลขที่ในใบลงชื่อ 29

9. นางสาวพิชชา ขุนสิทธิ์ รหัส 613220173-0 เลขที่ในใบลงชื่อ 2

คำชี้แจง : 1) ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนความเห็นกับสมาชิกในกลุ่มจากประเด็นคำถามที่กำหนดให้

ประเด็นคำถาม : ให้นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงาน (ภาพถ่าย) ภายใต้แนวคิด “พหุวัฒนธรรมในสังคมอีสาน”


โดยกำหนดเนื้อหาคือ 1. พหุวัฒนธรรมด้านความเชื่อ 2. พหุวัฒนธรรมด้านวิถีชีวิต 3.พหุวัฒนธรรมด้านอนุ
วัฒนธรรม (เลือกเพียงเนื้อหาเดียว) พร้อมอธิบายแนวความคิดความเป็นพหุวัฒนธรรมให้เชื่อมโยงกับภาพที่
สร้างสรรค์
2

จากภาพ เป็ น ภาพตุ ๊ ก ตานางกวั ก ผลิ ต จากไม้ ตั ้ ง อยู่ ใ นร้ า นกาแฟ Coffee Der la ภายใน
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ตุ๊กตาดังกล่าวเดิมที มักพบเห็นในรูปแบบของผ้ายันต์หรือหุ่นทอง ซึ่ง มีความเชื่อ
ว่าภายในนางกวักมีวิญญาณที่ช่วยให้ผู้พบเห็นเกิดเมตตามหานิยม นำพาลูกค้าเข้ามาใช้จ่าย อุปโภคบริโภค
สินค้าภายในร้าน หลาย ๆ ความเชื่อที่เคยเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สามารถอยู่ได้กับกระแสโลกาภิวัฒน์ที่
เกิดขึ้น เช่น ในอดีตมีการแห่แมวขอฝน ในปัจจุ บันใช้ตุ๊กตาแมวในการขอฝนแทนเพื่ อตัดปัญหาการทารุณ
กรรมสัตว์ เป็นต้น

จากภาพ นางกวักไม้เป็นอีกหนึ่งในวัตถุที่บ่งบอกความเป็นพหุวัฒนธรรมทางด้านความเชื่อ พิจารณา


ตามองค์ประกอบต่าง ๆ ในภาพดังนี้

1. นางกวักเดิมทีเป็นความเชื่อจากทางฝั่งไท-ลาว โดยมีเค้ามูลมาจากความเชื่อและพิธีกรรมที่บูชาบรรพชน
ผู้เป็นบรรพสตรี ที่ปั่นฝ้ายตำหู กจนกลายมาเป็นวิถีการค้าในชุมชนที่นางอาศัยอยู่ จนทำให้ชุมชน
สามารถหาทรัพย์ยังชีพเสี้ยงดูตนเองและครอบครัวได้ เป็นเหตุผลให้นางกวักมี ความเชื่อเกี่ย วกั บ
ทรัพย์สิน ความมั่งคั่ง
3

2. การแกะสลักดังภาพ เรียกว่า การแกะสลักไม้ เป็น ศิลปกรรมชนิดหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับศาสนา พบเห็นได้


จากการแกะสลักไม้ประกอบโบสถ์ วิหาร ศาสนสถานต่างๆ เป็นวัฒนธรรมที่เจริญมาจากชาวล้านนา
ทางฝั่งภาคเหนือ เนื่องจากเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยไม้สัก สามารถแกะสลักได้ง่าย งานแกะสลัก
จึงสะท้อนถึงความเชื่อของวัฒนธรรมล้านนาที่ผูกพันและใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างธรรมชาติและศาสนา
3. ธูป ถูกใช้เป็นเครื่องสักการะทางศาสนา เป็นการแพร่เข้ามาของวัฒนธรรมอียิปต์โบราณเพื่อบูชาเทพเจ้า
ให้พอใจ้วยกลิ่น หอมที่เกิดจากควันธุป เนื่องจากในอดีตธู ปทำมาจากไม้เนื้อหอม ธู ปในประเทศไทย
ในปัจจุบันเดิมที ได้รับการเผยแพร่มาจากการแลกเปลีย่นทางวัฒนธรรมการค้าและศาสนาในอดี ต
ผลิตจากไม้เนื้อหอม เช่น จันทน์เทศ ไม้กฤษณา แต่ปัจจุบันธูปไม่มีกลิ่นหอมเนื่องจากเปลี่ยนมาใช้ขี้เลื่อย
แทนเพราะต้นทุนของไม้หอมสูงขึ้นมาก

You might also like