You are on page 1of 4

เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II

อ.บพิตร เค้าหัน

ซับมีเดียนและมีเดียนตรัยแอ็ดในรูปพืนต้นและพลิกกลับครังที
(Submediant and Mediant Triads in Root Position and First Inversion )

1. เลขโรมัน VI และ vi หมายถึงตรัยแอ็ดเมเจอร์และไมเนอร์ ซึงเป็ นตรัยแอ็ดลําดับที ของบันไดเสียง เลข


โรมัน III และ iii หมายถึงตรัยแอ็ดเมเจอร์และไมเนอร์ ซึงเป็ นตรัยแอ็ดลําดับที ของบันไดเสียง
2. ซับมีเดียนและมีเดียนตรัยแอ็ดจัดว่าเป็ นคอร์ดรอง (Secondary Chord ) มีความสําคัญรองลงมาจากคอร์ด
หลัก (Primary Chord) ซึงได้แก่ I, IV และV โดยคอร์ดรองสามารถนํามาใช้เป็ นคอร์ดประดับ
(Embellishing Chords) หรื อเป็ นคอร์ดแทน (Substitution Chords)
3. การดําเนินคอร์ด (Chord Progression)
. ตรัยแอ็ด VI มักจะนําหน้า III , I และ V และมักจะตามหลัง II,V หรื อIV

. การดําเนินคอร์ด V – VI หรื อ V7 – VI เป็ นการเกลาทีเรี ยกว่า “การเกลาแบบปิ ด” (Deceptive


Resolution) เมือการดําเนินคอร์ดดังกล่าวถูกใช้เป็ นจุดพัก (Cadence) เรี ยกว่า “จุดพักแบบปิ ด” (Deceptive
Cadence) สังเกตว่าโดยปกติแล้วการเกลาโน้ตลีดดิ ง และโน้ตคู่ ของคอร์ดดอมินนั ท์ เซเว่น จะทําให้คอร์ด
VI ทีตามมาจําเป็ นต้องทบคู่ ไปด้วย
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

3.3 ตรัยแอ็ด III โดยปกติจะนําหน้าคอร์ด I หรื อ VI และมักอยูห่ ลังคอร์ด IV หรื อ VI

4. การใช้วิธีการประสานเสียงแบบแนวนอน (Linear Uses)


4.1 ตรัยแอ็ด VI ในรู ปพืนต้นสามารถนํามาใช้ประดับคอร์ด I

4.2 ทังตรัยแอ็ด VI6 และ III6 ให้เสียงทีมีนาํ หนักเบา บางครังสามารถใช้บนจังหวะหนัก (Strong Beat)
ได้
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

จากตัวอย่างดังกล่าวช่วยให้เราเข้าใจเกียวกับเรื องการประสานเสียงในมิติแนวนอน (Linear Chord)


โดยพิจารณาตรัยแอ็ดลําดับที และ ของบันไดเสียงและการใช้โน้ตนอกคอร์ด

. จากตัวอย่างด้านล่าง ในกุญแจเสียงไมเนอร์ เมือพิจารณาเสียงในภาพรวม (Sonority) อาจฟังดูคล้าย


III+6 ซึงจริ งๆแล้วจะเป็ น V สําหรับคอร์ด III+ในรู ปพืนต้นนัน ทําหน้าทีเป็ นโน้ตผ่าน (Passing Tone)

แบบฝึ กหัด
จงเขียนเสียงประสานสีแนว ตามโจทย์ทีกําหนด พร้อมนําโน้ตนอกคอร์ดทีได้ศึกษามาแล้วนํามาใช้
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาทฤษฎีดนตรี สากล II
อ.บพิตร เค้าหัน

จากทํานองทีกําหนดมาให้ จงเขียนเสียงประสาน แนว โดยพิจารณาใช้ III และ VI ตามความเหมาะสม

จงประพันธ์ดนตรี ในรู ปแบบการประสานเสียง แนวตามคีตลักษณ์ (Form) ทีกําหนดให้ต่อไปนี

----------------------------------------------------------------------------------------

บรรณานุกรม

ณัชชา โสคติญานุรักษ์. (2548). พจนานุกรมศัพท์ ดุริยางคศิลป์ .กรุ งเทพฯ; สํานักพิมพ์แห่ง


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Benjamin, T., Horvit, M. & Nelson, R. ( ). Technique and Material of Music (6 th ed.).
United State of America: Thomson Schirmer.

You might also like