You are on page 1of 34

ทฤษฎีจํานวน 137

บทที่ 4
การสมภาคและการประยุกต์
The invention of the symbol º by Gauss affords a striking example
of the advantage which may be derived from an appropriate notation,
and marks an epoch in the development of the science of arithmetic.
-G. B. MATHEWS

ความสัมพันธสมภาค เปนผลงานชิ้นสําคัญของโยฮันน คารล ฟรีดริช เกาส (Johann


Carl Friedrich Gauss) นักคณิตศาสตรชาวเยอรมันเกิดที่เมือง Braunschweig ประเทศเยอรมนี
เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2302 (ค.ศ. 1777) บิดาเปนชาวสวนและชางปูนที่ไมมีความสามารถ
และความพึงพอใจที่จะพัฒนาความสามารถทางคณิตศาสตรของบุตร แตมารดาซึ่งถึงแมจะดอยดาน
การศึกษาเชนกัน แตไดใหกําลังใจบุตรในการศึกษาคนควาและชื่นชมกับผลงานของบุตรตลอดชีวิต
เกาสเปนหนึ่งในตํานานนักคณิตศาสตรผูยิ่งใหญที่สุดในประวัติศาสตร (นักคณิตศาสตรบางทาน
กลาววาสามผูยิ่งใหญของวงการคณิตศาสตร ไดแก อารคิมิดีส (Archimedes ประมาณ 287 –
212 ปกอนคริสตศักราช) เซอร ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton ค.ศ.1642 - 1727) เกาส
ไดรับฉายาวา “เจาชายแหงคณิตศาสตร” (Prince of Mathematics) เนื่องจากอุทิศผลงานใน
ทุกๆ ดานของคณิตศาสตรในยุคสมัยของเขา นอกจากนี้เกาสยังมีผลงานสําคัญทางดานฟสิกส
โดยเฉพาะดานดาราศาสตรอีกดวย ในป ค.ศ.1801 เกาสไดกําหนดบทนิยามของความสัมพันธสม
ภาค ซึ่งปรากฏในหนังสือ Disquistiones Arithmeticae โดยในขณะนั้นทานมีอายุเพียง 24 ป
เทานั้น และผลงานชิ้นนี้ของเกาสไดนําไปสูการพัฒนาการทางดานทฤษฎีจํานวนเปนอยางมาก
คํากลาวของเกาสที่แสดงใหเห็นถึงความสําคัญของคณิตศาสตรและทฤษฎีจํานวน ซึ่ง
พวกเราชาวคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรมักจะไดยินอยูเสมอก็คือ “Mathematics is the Queen
of Science, and the theory of number is the Queen of Mathematics.”
ในฤดูใบไมรวงป ค.ศ.1798 เมื่อเกาสอายุได 21 ป ทานไดศึกษาระดับปริญญาเอกที่
มหาวิทยาลัย Helmstedt และไดรับปริญญาเอกในป ค.ศ.1799โดยการเขียนวิทยานิพนธไดแสดง
การพิสูจน ทฤษฎีบทพื้นฐานทางพีชคณิต (The Fundamental Theorem of Algebra)
เลโอพอลด โครเนคเคอร (Leopold Kronecker ค.ศ.1823 – 1891) นักคณิตศาสตร
ชาวเยอรมัน ไดกลาวสดุดีเกาสวา “นาประหลาดใจจริง ๆ ที่คนเพียงคนเดียวและอายุก็ยังนอย
สามารถที่จะนําแสงสวางและผลงานอันล้ําคามาตีแผและเหนือสิ่งอื่นใด การนําเสนอผลงานใหมนี้ทํา
138 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ไดอยางดีและรวบรวมไดอยางเหมาะสม” ผลงานของเกาสยังมีอีกมากมายทั้งในสาขาคณิตศาสตร
บริสุทธิ์และคณิตศาสตรประยุกต
ชวงทายของชีวิต เกาสเสียชีวิตเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ พ.ศ.2398 (ค.ศ.1855) เมือง
เกิตติงเกนในฮันโนเวอร (ปจจุบันคือประเทศเยอรมนี) โดยมีเหลาลูกศิษยเอกเชน ริชารด เดเดคินด
เปนผูแบกโลงศพ แมวาชีวิตของเขาเปนคนไมชอบสอนหนังสือ แตลูกศิษยหลายคนของเขา อาทิ
เชน ริชารด เดเดคินด และ แบรนฮารด รีมันน ก็เปนนักคณิตศาสตรที่ยิ่งใหญเชนกัน

4.1 นิยามของความสัมพันธ์สมภาค
บทนิยาม 4.1.1 กําหนดให a และ b เปนจํานวนเต็ม ถา m เปนจํานวนเต็มบวก
จะเรียก a สมภาคกับ b มอดุโล m ก็ตอเมื่อ m | a - b
และ เขียนแทนดวย a º b (mod m)
ถา m หาร a - b ไมลงตัว กลาววา a ไมสมภาคกับ b มอดุโล m
และ เขียนแทนดวย a ≢ b (mod m)
ในที่นี้เรียกจํานวนเต็มบวก m วา มอดุลัส (modulus)

ประมาณ ค.ศ. 1800 เกาสไดใชสัญลักษณ º แทน ความสมภาค เพราะสมภาคมี


สมบัติทคี่ ลายคลึงกับเทากับ (=) ในระบบจํานวน

ตัวอยาง 4.1.1
1. 22 º 4 (mod 9) เพราะวา 9 | (22 - 4)
2. 23 º 3 (mod 5) เพราะวา 5 | (23 - 3)
3. 3 º -6 (mod 3) เพราะวา 3 | (3 + 6)
4. 20 ≢ 3 (mod 4) เพราะวา 4  (20 - 3)
5. 113 ≢ 7 (mod 9) เพราะวา 9  (113 - 7)

ในชีวิตประจําวัน เราจะพบเจอความสัมพันธสมภาคเสมอ ตัว อยางเชน นาฬิกาจะ


ทํางานเปน mod 12 หรือ mod 24 สําหรับชั่วโมง หรือ mod 60 สําหรับนาทีและวินาที ปฏิทินจะ
ทํางาน mod 7 สําหรับวันในหนึ่งสัปดาห และ mod 12 สําหรับเดือน
โดยสวนใหญในการพิสูจนที่เกี่ยวกับสมภาค เราจะเปลี่ยนใหเปนเครื่องหมายเทากับ
ซึ่งเราสามารถเปลี่ยนโดยใชทฤษฎีบทตอไปนี้
ทฤษฎีจํานวน 139

ทฤษฎีบท 4.1.2 กําหนดให a และ


เปนจํานวนเต็ม m เปนจํานวนเต็มบวก จะไดวา
b
a º b (mod m) ก็ตอเมื่อ มีจํานวนเต็ม k ที่ทําให a = b + km
บทพิสูจน กําหนดให a, b เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก
() กําหนดให a º b (mod m)
ฉะนั้น m | a - b นั่นคือ จะมีจํานวนเต็ม k ที่ a - b = mk
ดังนั้น a = b + mk
() สมมติ มีจํานวนเต็ม k ซึ่ง a = b + km
แลวจะได km = a - b ฉะนั้น m | a - b
ดังนั้น a º b (mod m) 

ตัวอยาง 4.1.2
1. 19 º -2 (mod 7) จะได 19 = -2 + 7 ⋅ 3
2. 22 º 4 (mod 9) จะได 22 = 4 + 9 ⋅ 2
3. 23 º 3 (mod 5) จะได 23 = 3 + 5 ⋅ 4
4. 3 º -6 (mod 3) จะได 3 = -6 + 3 ⋅ 3
5. 49 º -5 (mod 6) จะได 49 = -5 + 9 ⋅ 6

หมายเหตุ จํานวนเต็ม 2 จํานวนใดๆ จะสมภาคกัน มอดุโล 1 เสมอ


ฉะนั้นในตําราเลมนี้จะใหมอดุโล m มากกวา 1 เทานั้น

บทนิยาม 4.1.3 กําหนดให R เปนความสัมพันธบนเซต A เราจะเรียก R วา


ความสัมพันธสมมูลบนเซต A (equivalence relation on A) ก็ตอเมื่อ R มีสมบัติดังนี้
1. R มีสมบัติสะทอน (reflexive) ก็ตอเมื่อ aRa สําหรับทุก a Î A
2. R มีสมบัติสมมาตร (symmetric) ก็ตอ  เมื่อ
ถา aRb แลว bRa สําหรับทุก a, b Î A
3. R มีสมบัติถา ยทอด (transitive) ก็ตอเมื่อ
ถา aRb และ bRc แลว aRc สําหรับทุก a, b, c Î A
140 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ทฤษฎีบท 4.1.4 กําหนดให a, b, c เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก แลว


ความสัมพันธสมภาคมีสมบัติตอไปนี้
1. สมบัติสะทอน (reflexive property)
a º a (mod m)
2. สมบัติสมมาตร (symmetric property)
ถา a º b (mod m) แลว b º a (mod m)
3. สมบัติถายทอด (transitive property)
ถา a º b (mod m) และ b º c (mod m) แลว a º c (mod m)
บทพิสูจน กําหนดให a, b, c เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก
1. เนื่องจาก a - a = 0 และ m | 0
เราจะไดวา m | (a - a)
ดังนั้น a º a (mod m)
2. กําหนดให a º b (mod m) แสดงวา m | (a - b)
แลวจะมีจํานวนเต็ม k ที่ทาํ ให a - b = mk
พิจารณา (-1)(a - b) = (-1)mk
ฉะนั้น b - a = m(-k)
เนื่องจาก -k เปนจํานวนเต็ม แสดงวา m | (b - a)
ดังนั้น b º a (mod m)
3. กําหนดให a º b (mod m) และ b º c (mod m)
จะไดวา m | (a - b) และ m | (b - c)
แลวจะมีจํานวนเต็ม h และ k ที่ทําให
a - b = mh และ b - c = mk
พิจารณา (a - b) + (b - c) = mh + mk
ฉะนั้น a - c = m(h + k)
เนื่องจาก h + k เปนจํานวนเต็ม จะไดวา m | (a - c)
ดังนั้น a º c (mod m) 

ทฤษฎีบท 4.1.5 ความสัมพันธสมภาคมอดุโล m เปนความสัมพันธสมมูลบน 


บทพิสูจน ผลพลอยไดจากทฤษฎีบท 4.1.4 
ทฤษฎีจํานวน 141

ตัวอยาง 4.1.3 จากทฤษฎีบท 4.1.4 เราจะเห็นไดชัดวา


1. 7 º 7 (mod 9) เนื่องจาก 9 | (7 - 7)
2. กําหนดให 3 º 5 (mod 2) แลวจะไดวา 2 | (3 - 5)
ฉะนั้น 2 | (5 - 3) แสดงวา 5 º 3 (mod 2)
3. กําหนดให 7 º -5 (mod 4) และ -5 º 15 (mod 4)
แลวจะไดวา 4 | (7 - 15)
ฉะนั้น 7 º 15 (mod 4)

ตอไปนี้จะกลาวถึงความสัมพันธสมภาคมอดุโล m ในเทอมของเศษเหลือที่ไดจากการหารดวย m
ทฤษฎีบท 4.1.6 กําหนดให a, b เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก
แลวจะไดวา a º b (mod m) ก็ตอเมื่อ m หาร a และ b แลวเหลือเศษเทากัน
บทพิสูจน กําหนดให a, b เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก
() สมมติให a º b (mod m)
จากทฤษฎีบท 4.1.2 จะมีจํานวนเต็ม k ซึ่ง a = b + km
โดยขั้นตอนวิธีการหาร จะมีจํานวนเต็ม q และ r ซึ่ง
b = mq + r เมื่อ 0 £ r < m
แลว a = b + km
= (mq + r) + km
= m(q + k) + r
ฉะนั้น เมื่อนํา m มาหาร a จะเหลือเศษ r
() กําหนดให m หาร a และ b แลวจะเหลือเศษเทากัน
โดยขั้นตอนวิธีการหาร จะได
a = q1m + r , b = q2m + r เมื่อ 0 £ r < m
แลว a - b = q1m + r - q2m - r
= m(q1 - q2)
ฉะนั้น m | (a - b)
ดังนั้น a º b (mod m) 

ตัวอยาง 4.1.4 จากทฤษฎีบท 4.1.6 เราจะเห็นไดชัดวา


1. 48 และ 28 หารดวย 5 แลวเหลือเศษ 3 เทากัน
เนื่องจาก 48 º 28 (mod 5)
2. 29 และ -3 หารดวย 8 แลวเหลือเศษ 5 เทากัน
เนื่องจาก 29 º -3 (mod 8)
142 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ทฤษฎีบท 4.1.7 สําหรับจํานวนเต็ม a ใดๆ จะมีจํานวนเต็ม r เพียงตัวเดียว ซึ่ง


a º r (mod m) เมื่อ 0£r<m
บทพิสูจน กําหนดให a เปนจํานวนเต็มใดๆ
จากขั้นตอนวิธีการหาร จะมีจํานวนเต็ม q และ r เพียงชุดเดียว ที่ทําให
a = mq + r เมื่อ 0£r<m
เนื่องจากทฤษฎีบท 4.1.2 จะได a º r (mod m)
ตอไปเราจะแสดงวามี r เพียงตัวเดียว
สมมติให r และ r¢ เปนจํานวนเต็ม โดยที่
a º r (mod m) และ a º r¢ (mod m) เมื่อ 0 £ r, r¢ < m
ฉะนั้น จะมีจํานวนเต็ม q และ q¢ ที่ทําให a = r +mq และ a = r¢ +mq¢
เนื่องจากขั้นตอนวิธีการหาร เราจึงสรุปไดวา r = r¢ และ q = q¢
ดังนั้น จะมีจํานวนเต็ม r เพียงตัวเดียว ซึ่ง a º r (mod m) และ 0 £ r < m

หมายเหตุ
1. ถา r1, r2 Î {0, 1, 2, …, m - 1} และ r1 º r2 (mod m)
จากทฤษฎีบท 4.1.7 เราจะไดวา r1 = r2
พิจารณาสมาชิก 2 จํานวนใดๆ ที่แตกตางกันของเซต {0, 1, 2, …, m - 1}
แลว เราจะสรุปไดวาสมาชิกที่แตกตางกันสองจํานวนใดๆ ไมสมภาคกันในมอดุโล m
2. สมาชิกในเซต {0, 1, 2, ¼, m - 1} ที่ตางกัน จะไมสมภาคกันในมอดุโล m
3. สําหรับทุกจํานวนเต็ม a จะมี r Î {0, 1, 2, ¼, m - 1} เพียงคาเดียวทีท่ าํ ให
a º r (mod n)
และคา r นี้ คือเศษเหลือจากการหาร a ดวย n
4. จากทฤษฎีบท 4.1.7 จะพบวาสําหรับทุกจํานวนเต็ม a จะสมภาคกับเศษเหลือ r
ในมอดุโล m แลวเราจะเรียก r วา สวนตกคางที่ไมเปนลบคานอยสุดของ a
(least residue) ในมอดุโล m

บทนิยาม 4.1.8 จะเรียกเซต {a1, a2, …, am} วาเปน ระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m


(complete residue system modulo m) ก็ตอเมื่อ
สําหรับทุกจํานวนเต็ม a จะมี ai เพียงตัวเดียวที่ทําให a º ai (mod m)
ทฤษฎีจํานวน 143

บทนิยาม 4.1.9 กําหนดให a º b (mod m)


1. จะเรียก b วา สวนตกคาง (residue) ของ a มอดุโล m
2. ถา 0 £ b ≤ m กลาววา b เปนสวนตกคางที่ไมเปนลบคานอยสุดของ a
มอดุโล m
3. ชั้นสมมูลของ ai = {a | a เปนจํานวนเต็ม และ a º ai (mod m)}
เราจะเรียกเซตนี้วา ชั้นสวนตกคาง (residue class) ของ ai มอดุโล m
และจะใชสัญลักษณแทนดวย [ ai ]m หรือ [ ai ]

หมายเหตุ จากบทนิยาม 4.1.8 เราพบวา


1. เซต {0, 1, 2, 3, 4} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล 5
2. เซต X = {14, 1, -5, 10, 25, -2, 20} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล 7
เพราะวาจํานวนเต็ม 14, 1, -5, 10, 25, -2, 20 จะสมภาคมอดุโล 7
กับสมาชิกในเซต {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6} จํานวนใดจํานวนหนึ่งเพียงจํานวนเดียว
เทานั้น แลวจะพบวา
14 º 0 (mod 7), 1 º 1 (mod 7), –5 º 2 (mod 7),
10 º 3 (mod 7), 25 º 4 (mod 7), -2 º 5 (mod 7)
และ 20 º 6 (mod 7)
3. เซต {0, 1, 2, ¼, m - 1} และ {1, 2, 3, ¼, m} ตางก็เปนระบบสวนตกคาง
บริบูรณมอดุโล m
4. เซต {0, 1, 2, ¼, m - 1} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณที่ไมเปนลบคานอยสุด
มอดุโล m
5. ถา {x1, x2, ¼, xm} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
และ c Î 
แลว {x1 + c, x2 + c, ¼, xm + c} จะเปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
6. ถาเซต X = {x1, x2, ¼, xm} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
แลว สําหรับทุก xi, xj Î X โดยที่ xi º xj (mod m) แลว xi = xj
7. เซต {0, 1, 2, 3, 4, 5} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล 6
แต {0, 2, 4, 6, 8, 10} ไมเปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล 6
เพราะวา 6 º 0 (mod 6)
8. ถา {x1, x2, ¼, xm} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
แลว {cx1, cx2, …, cxm} อาจไมเปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
ซึ่งทฤษฎีบท 6.1.11 จะแสดงเงื่อนไขที่จําเปนและเพียงพอที่จะทําให
144 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

{cx1, cx2, ¼, cxm} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m


เมื่อ {x1, x2, ¼, xm} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
9. เพื่อความสะดวก เราจะเรียกสวนตกคางที่ไมเปนลบคานอยสุด
วา สวนตกคางที่นอยสุด

ตัวอยาง 4.1.5 จงหาสวนตกคางของ 7 มอดุโล 4 มา 3 จํานวน


วิธีทํา จะพบวา 7 º 3 (mod 4)
7 º 11 (mod 4)
7 º 15 (mod 4)
ดังนั้น 3, 11, 15 เปนสวนตกคางของ 7 มอดุโล 4
และ 3 เปนสวนตกคางทีไ่ มเปนลบคานอยสุดของ 7 มอดุโล 4 

ตัวอยาง 4.1.6 1. สวนตกคางทีน่ อยสุด ของ 23 มอดุโล 5 คือ 3


2. สวนตกคางทีน่ อยสุด ของ 4 มอดุโล 5 คือ 4
3. สวนตกคางทีน่ อยสุด ของ -3 มอดุโล 5 คือ 2
4. สวนตกคางทีน่ อยสุด ของ 107 มอดุโล 9 คือ 8
5. สวนตกคางทีน่ อยสุด ของ -19 มอดุโล 4 คือ 1
6. สวนตกคางทีน่ อยสุด ของ -52 มอดุโล 8 คือ 4 

ตัวอยาง 4.1.7 จงหาชั้นสมมูลของ  ภายใตสมภาคมอดุโล 4


วิธีทํา พิจารณา [0]4 = {a Î  | a º 0 (mod 4)}
= {a Î  | 4 | (a - 0)}
= {a Î  | 4 | a }
= {a Î  | a = 4k เมื่อ k เปนจํานวนเต็มใดๆ }
= {…, -8, -4, 0, 4, 8, …}
[1]4 = {a Î  | a º 1 (mod 4)}
= {a Î  | 4 | (a - 1)}
= {a Î  | a = 4k + 1 เมื่อ k เปนจํานวนเต็มใดๆ }
= {…, -7, -3, 1, 5, 9, …}
[2]4 = {a Î  | a º 2 (mod 4)}
= {a Î  | 4 | (a - 2)}
= {a Î  | a = 4k + 2 เมื่อ k เปนจํานวนเต็มใดๆ }
= {…, -6, -2, 2, 6, 10, …}
ทฤษฎีจํานวน 145

[3]4 = {a Î  | a º 3 (mod 4)}


= {a Î  | 4 | (a - 3)}
= {a Î  | a = 4k + 3 เมื่อ k เปนจํานวนเต็มใดๆ }
= {…, -5, -1, 3, 7, 11, …}
ดังนั้น {[0]4, [1]4, [2]4, [3]4} เปนผลแบงกั้นที่แบงออกเปน 4 เซลลของ 
ภายใตมอดุโล 4 

ตัวอยาง 4.1.8
1. {0, 1, 2, 3, 4, 5} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณที่ไมเปนลบคานอยสุด มอดุโล 6
2. {12, 13, 8, -3, 22, 11} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณ มอดุโล 6
เพราะวา ถานําสมาชิกแตละตัวของเซตนีม้ าหาเศษตกคางที่ไมเปนลบคานอยสุด
ในมอดุโล 6 จะไดดังนี้
12 º 0 (mod 6)
13 º 1 (mod 6)
8 º 2 (mod 6)
-3 º 3 (mod 6)
22 º 4 (mod 6)
11 º 5 (mod 6)
และจะพบวาสมาชิกของเซต {12, 13, 8, -3, 22, 11} จะไมสมภาคกันเอง
ในมอดุโล 6 แตจะสมภาคกับสมาชิกในเซตที่สมบูรณของเศษตกคางที่ไมเปนลบ
คานอยสุดในลักษณะหนึ่งตอหนึ่งพอดี

จากตัวอยาง 4.1.8 (1) จะพบวาเปนระบบสวนตกคางบริบูรณ มอดุโล 6 ที่เขียนได


งายและสะดวกกวาตัวอยาง 4.1.8 (2) จากตัวอยางดังกลาวจะทําใหเรามีทฤษฎีบทตอไปนี้
ทฤษฎีบท 4.1.10 เซต {0, 1, 2, …, m - 1} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
บทพิสูจน กําหนดให a เปนจํานวนเต็มใดๆ
1. จะแสดงวา a จะสมภาค มอดุโล m กับจํานวนใดจํานวนหนึ่งที่เปนสมาชิก
ของ {0, 1, 2, …, m}
จากขั้นตอนวิธีการหาร จะมีจํานวนเต็ม q และ r ที่ทําให
a = mq + r เมื่อ 0 £ r < m
แลว a - r = mq แสดงวา a º r (mod m)
เนื่องจาก r เปนจํานวนเต็ม และ 0 £ r < m
146 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ฉะนั้น a จะสมภาคมอดุโล m กับจํานวนใดจํานวนหนึ่งที่เปนสมาชิก


ของ {0, 1, 2, …, m}
2. จะแสดงวา a จะสมภาค มอดุโล m กับจํานวนใดจํานวนหนึ่งที่เปนสมาชิก
ของ {0, 1, 2, …, m} เพียงจํานวนเดียวเทานั้น
สมมติให a º r1 (mod m) และ a º r2 (mod m)
เมื่อ r1, r2 Î {0, 1, 2, …, m - 1}
แสดงวา 0 £ r1 £ m - 1 และ 0 £ r2 £ m - 1
แลวจะพบวา -(m - 1) £ r2 £ 0
ฉะนั้น -(m - 1) £ r1 - r2 £ m - 1
แสดงวา |r1 - r2| £ m - 1 แตเนื่องจาก m | (r1 - r2)
ฉะนั้น r1 - r2 = 0 นั่นคือ r1 = r2
ดังนั้นจํานวนเต็ม a ใดๆ จะสมภาค มอดุโล m กับจํานวนใดจํานวนหนึ่ง
ที่เปนสมาชิกของ {0, 1, 2, …, m} เพียงจํานวนเดียวเทานั้น 

ทฤษฎีบท 4.1.11 กําหนดให {a1, a2, …, an} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m


และ (c, m) = 1 แลว {ca1, ca2, ¼, can} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
บทพิสูจน กําหนดให {a1, a2, …, an} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
และ (c, m) = 1
สมมติ {ca1, ca2, …, can} ไมเปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m
แสดงวาจะมี i ¹ j ซึ่ง cai º caj (mod m)
เนื่องจาก (c, m) = 1
ฉะนั้น ai º aj (mod n) เมื่อ i ¹ j เกิดขอขัดแยงกับสมมติ
ดังนั้น {ca1, ca2, …, can} เปนระบบสวนตกคางบริบูรณมอดุโล m 

บทนิยาม 4.1.12
กําหนดให X = {x0, x1, ¼, xm-1} เปนเซตสมบูรณของเศษตกคางมอดุโล m
และ R = {xi Î X | (xi, m) = 1} จะเรียก R วา เซตลดทอนของเศษ
ตกคางมอดูโล m (reduced residue system modulo m)
ทฤษฎีจํานวน 147

ตัวอยาง 4.1.9
เนื่องจาก X = {1, 2, 3, 4, 5, 6} เปนเซตสมบูรณของเศษตกคางมอดูโล 6
จะไดวา R = {x Î C | (x, 6) = 1}
เปนเซตลดทอนของเศษตกคาง มอดูโล 6
= {1, 5}
และ {7, 5}, {–1, 1} และ {61, 65} ตางก็เปนเซตลดทอนของเศษตกคาง
มอดูโล 6
และ {1, 2, 3, 4} และ {1, 12, 33, 54} ตางก็เปนเซตลดทอนของเศษตกคาง
มอดูโล 5

หมายเหตุ จากนิยาม 4.1.9 เราจะเรียกเซต {a1, a2, …, am} วาเปนเซตลดทอนของ


เศษตกคางมอดูโล m (reduced residue system modulo m)
ก็ตอเมื่อ เซตของจํานวนเต็มมีสมบัติ ดังนี้
1. (aj , m) = 1
2. ai ≢ aj (mod m) เมื่อ i ¹ j
3. สําหรับจํานวนเต็ม x แตละตัวที่เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธกับ m จะสมภาค
มอดุโล m กับ aj ตัวใดตัวหนึ่งเพียงจํานวนเดียว

4.2 สมบัติของความสัมพันธ์สมภาค
จากนิยาม 4.1.1 เราไดกลาวถึงนิยามของความสัมพันธสมภาค นั่นคือ a º b (mod m)
ก็ตอเมื่อ m | a-b และจากทฤษฎีบทที่เราศึกษาตอไป จะพบวาความสัมพันธสมภาคจะมีสมบัติ
บางอยางที่เหมือนกับเครื่องหมายเทากับ (=)
ทฤษฎีบท 4.2.1 ถา a, b, c เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก
ซึ่ง a º b (mod m) แลว
1. a + c º b + c (mod m)
2. a - c º b - c (mod m)
3. ac º bc (mod m)
4. ถา a º b (mod m) และ d ½ m โดยที่ d > 0 แลว a º b (mod d)
บทพิสูจน กําหนดให a, b, c เปนจํานวนเต็ม m เปนจํานวนเต็มบวก
ซึ่ง a º b (mod m)
1. กําหนดให a º b (mod m) จะได m | (a - b)
จาก (a + c) - (b + c) = a - b
ฉะนั้น m | (a + c) - (b + c)
148 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ดังนั้น a + c º b + c (mod m)
2. กําหนดให a º b (mod m) จะได m | (a - b)
จาก (a - c) - (b - c) = a - b
ฉะนั้น m | (a - c) - (b - c)
ดังนั้น a - c º b - c (mod m)
3. กําหนดให a º b (mod m) จะได m | (a - b)
ฉะนั้น m | c(a - b)
เนื่องจาก ac - bc = c(a – b) แสดงวา m | ac - bc
ดังนั้น ac º bc (mod m)
4. กําหนดให a º b (mod m) และ d ½ m โดยที่ d > 0
จะไดวา m ½ (a - b)
ฉะนั้น d ½ (a - b) แสดงวา a º b (mod d) 

ตัวอยาง 4.2.1 กําหนดให 19 º 3 (mod 8) จะไดวา


1. 19 + 7 º 3 + 7 (mod 8)
หรือ 26 º 10 (mod 8)
2. 19 - 2 º 3 - 2 (mod 8)
หรือ 17 º 1 (mod 8)
3. 19(3) º 3(3) (mod 8)
หรือ 57 º 9 (mod 8) 

ตัวอยาง 4.2.2 กําหนดให a, b, c เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก


a b
จงแสดงวา ถา a º b (mod m) แลว º (mod m) เปนจริงหรือไม เพราะเหตุใด
c c
วิธีทํา สมมติให a = 14, b = 8, c = 2 และ m = 6
แลวจะพบวา 14 º 8 (mod 6) ฉะนั้น a º b (mod m) เปนจริง
a b
พิจารณา º (mod m)
c c
14 8
แลวจะได º (mod 6) นั่นคือ 7 º 4 (mod 6) ไมเปนจริง
2 2
a b
ดังนั้น ≢ (mod m) 
c c
ทฤษฎีจํานวน 149

จากตัวอยาง 4.2.2 จะพบวาสมบัตกิ ารหารไมเปนจริง ซึ่งสมบัติของการหารจะเปน


จริงก็ตอเมื่อมีเงื่อนไขบางอยาง ตามทฤษฎีบทตอไปนี้
ทฤษฎีบท 4.2.2 กําหนดให a, b, c เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก
และ d = (c, m) จะไดวา
ถา ac º bc (mod m) แลว a º b (mod m )
d
บทพิสูจน กําหนดให ac º bc (mod m)
จะไดวา m | (ac - bc) นั่นคือ m | c(a - b)
แลวจะมีจํานวนเต็ม k ซึ่ง c(a - b) = km
c m
หารดวย d ตลอด จะได (a - b) = k( )
d d
m c
ฉะนั้น | (a - b)
d d
เนื่องจาก ( m , c ) = 1 (m, c) = d = 1
d d d d
m m
แลว | (a - b) ดังนั้น a º b (mod ) 
d d

ตัวอยาง 4.2.3 เนื่องจาก 50 º 20 (mod 15) และ (10, 15) = 5


50 20 15
ฉะนั้น º (mod )
10 10 5
ดังนั้น 5 º 2 (mod 3)

บทแทรก 4.2.3 กําหนดให a, b, c เปนจํานวนเต็ม m เปนจํานวนเต็มบวก


และ (c, m) = 1 จะไดวา
ถา ac º bc (mod m) แลว a º b (mod m)
บทพิสูจน ให ac º bc (mod m) และ (c, m) = 1
โดยทฤษฎีบท 4.2.2 จะไดวา
m
a º b (mod ) แสดงวา a º b (mod m) 
(c, m)

ตัวอยาง 4.2.4 เนื่องจาก42 º 7 (mod 5) และ (5, 7) = 1


42 7
จากทฤษฎีบท 4.2.2 จะได º (mod 5)
7 7
ดังนั้น 6 º 1 (mod 5) 
150 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ทฤษฎีบท 4.2.4 กําหนดให a, b, c , d, x, y เปนจํานวนเต็ม และ m เปนจํานวนเต็มบวก


ถา a º b (mod m) และ c º d (mod m) แลวจะไดวา
1. a + c º b + d (mod m)
2. a - c º b - d (mod m)
3. ac º bd (mod m)
4. ax + cy º bx + dy (mod m)
บทพิสูจน กําหนดให a º b (mod m) และ c º d (mod m)
จะไดวา m | a - b และ m|c-d
แลวจะมีจํานวนเต็ม k และ h ที่ a - b = mk และ c - d = mh
1. พิจารณา (a + c) - (b + d) = (a - b) + (c - d)
= mk + mh
= m(k + h)
ฉะนั้น m | (a + c) - (b + d)
ดังนั้น a + c º b + d (mod m)
2. พิจารณา (a - c) - (b - d) = (a - b) - (c - d)
= mk - mh = m(k - h)
ฉะนั้น m | [(a - c) - (b - d)]
ดังนั้น a - c º b - d (mod m)
3. พิจารณา ac - bd = ac - bc + bc – bd
= c(a - b) + b(c - d)
= cmk + bmh
= m(ck + bh)
ฉะนั้น m | ac - bd
ดังนั้น ac º bd (mod m)
4. จาก a º b (mod m) และ c º d (mod m)
โดยทฤษฎีบท 4.2.1 จะไดว
ax º bx (mod m) และ cy º dy (mod m)
โดยขอ 1. จะได ax + cy º bx + dy (mod m) 

ตัวอยาง 4.2.5
จงหาเศษที่เกิดจากการหาร 1! + 2! + 3! + 4! + … + 99! + 100! ดวย 12
วิธีทํา เนื่องจาก 4! º 24 º 0 (mod 12)
พิจารณา k! º 4! ⋅ 5 ⋅ 6 ⋅ … ⋅ k (mod 12) เมื่อ k > 4
ทฤษฎีจํานวน 151

k! º 0 ⋅ 5 ⋅ 6 ⋅ … ⋅ k (mod 12)
ฉะนั้น k! º 0 (mod 12) เมื่อ k>4
ดังนั้น
1! + 2! + 3! + 4! + … + 99! + 100! º 1! + 2! + 3! + 0 (mod 12)
º 9 (mod 12)
จากทฤษฎีบท 4.1.7 เราจะสรุปไดวา 1! + 2! + 3! + 4! + … + 99! + 100!
หารดวย 12 แลวจะเหลือเศษ 9 

n
ตัวอยาง 4.2.6 จงหาคาของจํานวนเต็มบวก n ที่ทําให å k ! เปนกําลังสอง
k =1
วิธีทํา พิจารณาเมื่อ k³5 เราจะพบวา k! º 0 (mod 10)
n
ฉะนั้นสมมติให k³5 และ S= åk !
k =1
พิจารณา S º 1! + 2! + 3! + 4! + 5! + … + k! (mod 10)
º 1! + 2! + 3! + 4! + 0 (mod 10)
º 1 + 2 + 6 + 24 (mod 10)
º 3 (mod 10)
ฉะนั้น ถา k ³ 5 แลว S º 3 (mod 10)
เนื่องจาก เราจะพบวาหลักหนวยของกําลังสองของจํานวนเต็มใดๆ จะมีคาเทากับ
0, 1, 4, 5, 6 หรือ 9
n
ดังนั้น ถา k³5 แลว å k ! ไมเปนกําลังสอง
k =1
พิจารณา ถา n = 1 แลว S = 1
ถา n = 2 แลว S = 2
ถา n = 3 แลว S = 9
ถา n = 4 แลว S = 33
n
ดังนั้น จํานวนเต็มบวกที่ทําให å k ! เปนกําลังสอง มี 2 จํานวน คือ 1 และ 3 
k =1

ทฤษฎีบท 4.2.5 กําหนดให a, b เปนจํานวนเต็ม และ k, m เปนจํานวนเต็มบวก


ถา a º b (mod m) แลว ak º bk (mod m)
บทพิสูจน กําหนดให a º b (mod m) จะแสดงวา ak º bk (mod m)
เราจะพิสูจนโดยใชหลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร
สมมติให P(k) แทน ak º bk (mod m)
152 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ถา k = 1 เราจะไดวา a1 º b1 (mod m) เปนจริงจากสมมติฐาน


สมมติให k = n เปนจริง นั่นคือ an º bn (mod m) เปนจริง
จะแสดงวา an+1 º bn+1 (mod m) เปนจริง
เนื่องจาก an º bn (mod m) และ a º b (mod m)
ฉะนั้น ana º bnb (mod m)
แสดงวา an+1 º bn+1 (mod m)
ดังนั้นโดยอุปนัยเชิงคณิตศาสตร เราจึงสรุปไดวา ak º bk (mod m) 

ตัวอยาง 4.2.7 จงแสดงวา 41 หาร 220 - 1 ไดลงตัว


วิธีทํา ตองการแสดงวา 220 º 1 (mod 41)
เนื่องจาก 25 º -9 (mod 41)
210 º 81 (mod 41) เนื่องจากทฤษฎีบท 4.2.5
2 +1 º 81 + 1 (mod 41)
10
เนื่องจากทฤษฎีบท 4.2.4
ฉะนั้น 210 +1 º 82 (mod 41)
และจาก 82 º 0 (mod 41)
ดังนั้น 210 +1 º 0 (mod 41) เนื่องจาก º มีสมบัติการถายทอด
แลว 210 º -1 (mod 41)
เนื่องจากทฤษฎีบท 4.2.5 เราจะไดวา 220 º 1 (mod 41)
เพราะฉะนั้น 41 | 220 - 1 

ตัวอยาง 4.2.8 จงหาเศษที่เกิดจากการหาร 5110 ดวย 6


วิธีทํา เนื่องจาก 5 º -1 (mod 6)
แลว 5110 º (-1)110 (mod 6)
5110 º 1 (mod 6)
จากทฤษฎีบท 4.1.7 จะไดเศษทีเ่ กิดจากการหาร 5110 ดวย 6 มีคาเทากับ 1 

ตัวอยาง 4.2.9 จงแสดงวา 1653 º 4 (mod 7)


วิธีทํา เนื่องจาก 16 º 2 (mod 7) แลวจะได 1653 º 253 (mod 7)
และเนื่องจาก 23 º 1 (mod 7)
พิจารณา 1653 = 253 = 23(17)+2 = (23)17 ⋅ 22
º 117 ⋅ 22 (mod 7) º 4 (mod 7)
ดังนั้น 1653 º 4 (mod 7) 
ทฤษฎีจํานวน 153

ตัวอยาง 4.2.10 จงแสดงวา 17 | (3247 - 11)


วิธีทํา เนื่องจาก 33 = 27 º 10 (mod 17)
แลวจะได 36 º 100 (mod 17)
º -2 (mod 17)
ฉะนั้น 324 º (-2)4 (mod 17)
º -1 (mod 17)
จากขั้นตอนวิธีการหาร จะพบวา
3247 = 324(10)+7 = (324)10 ⋅ 36 ⋅ 3
º (-1)10 ⋅ (-2) ⋅ 3 (mod 17)
º -6 (mod 17)
º 11 (mod 17)
ดังนั้น 17 | (3247 - 11) 

ตัวอยาง 4.2.11 จงพิจารณาวา 2117 - 2 หารดวย 117 ลงตัวหรือไม


วิธีทํา เนื่องจาก 27 = 128 º 11 (mod 117)
จะไดวา (27)16 ⋅ 25 º (11)16 ⋅ 25 º 48 ⋅ 25 º 221 (mod 117)
แต 221 º 113 º 121 ⋅ 11 º 4 ⋅ 11 º 44 (mod 117)
ฉะนั้น 2117 º 44 (mod 117)
แสดงวา 2117 - 2 หารดวย 117 ไมลงตัว 

ทฤษฎีบท 4.2.6 ถา a º b (mod m1) , a º b (mod m2) , … , a º b (mod mk)


โดย a, b เปนจํานวนเต็ม และ m1, m2, …, mk เปนจํานวนเต็มบวก
แลว a º b (mod [ m1 , m2 , …,mk ])
เมื่อ [ m1 , m2, …, mk ] เปนตัวคูณรวมนอยของ m1, m2, …, mk
บทพิสูจน กําหนดให a º b (mod m1) , a º b (mod m2) , … , a º b (mod mk)
ฉะนั้น m1 | a - b , m2 | a - b , . . . , mk | a - b
แลวจะพบวา a - b เปนตัวคูณรวมของ m1, m2, …,mk
จากบทแทรก 2.4.8 จะได [m1, m2, …,mk ] | a - b
ดังนั้น a º b mod [m1, m2, …,mk ] 
154 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ทฤษฎีบท 4.2.7 ถา a º b (mod m1) , a º b (mod m2) , … , a º b (mod mk)


เมื่อ a, b เปนจํานวนเต็ม และ m1, m2, …,mk เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธคู
แลว a º b (mod m1m2…mk)
บทพิสูจน กําหนดให a º b (mod m1) , a º b (mod m2) , … , a º b (mod mk)
และเนื่องจาก m1, m2, …, mk เปนจํานวนเฉพาะสมพัทธคู
ฉะนั้นจากบทแทรก 2.4.6 จะได [ m1, m2, …,mk ] = m1m2…mk
และจากทฤษฎีบท 4.2.6 จะได a º b (mod m1m2…mk) 

ตัวอยาง 4.2.12 จงหาเศษที่เกิดจากการหาร 97104 ดวย 105


วิธีทํา พิจารณา 97 º 1 (mod 3)
ฉะนั้น 97104 º 1 (mod 3)
พิจารณา 97 º 2 (mod 5)
974 º 1 (mod 5)
(974)26 º 1 (mod 5)
ฉะนั้น 97104 º 1 (mod 3)
และเนื่องจาก 97 º -1 (mod 7)
ฉะนั้น 97104 º 1 (mod 7)
จากบทแทรก 4.2.7 และ 3, 5, 7 เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธคู
แลวเราจะไดวา 97104 º 1 (mod 3 ⋅ 5 ⋅ 7)
เพราะฉะนั้น 97104 º 1 (mod 105)
ดังนั้นเศษทีเ่ กิดจากการหาร 97104 ดวย 105 มีคาเทากับ 1 

ตัวอยาง 4.2.13 จงแสดงวา 341 | (2340 - 1)


วิธีทํา เนื่องจาก 341 = 11 ⋅ 13 และ 210 = 1024 = 31 ⋅ 33 + 1
จะไดวา 211 = 2 ⋅ 210 º 2 ⋅ 1 º 2 (mod 31)
และ 231 = 2(210)3 º 2 ⋅ 13 º 2 (mod 11)
จากทฤษฎีบท 4.2.6 จะได 211 ⋅ 31 º 2 (mod 11 ⋅ 31)
แสดงวา 2341 º 2 (mod 341)
เนื่องจาก (321, 2) = 1 และทฤษฎีบท 4.2.2 จะได 2340 º 1 (mod 341)
ดังนั้น 341 | (2340 - 1) 
ทฤษฎีจํานวน 155

n
ทฤษฎีบท 4.2.8 กําหนดให f(x) = åc k xk เปนฟงกชันพหุนามของ x
k =0
โดยที่ ck เปนสัมประสิทธที่เปนจํานวนเต็ม
ถา a º b (mod m) แลว f(a) º f(b) (mod m)
บทพิสูจน กําหนดให a º b (mod m)
ฉะนั้น ak º bk (mod m) สําหรับ k = 0, 1, 2, …, n
นําสมภาค m + 1 สมภาคมาบวกกันจะได
cnan + …+ c1a + c0 º cnbn + …+ c1b + c0 (mod m)
นั่นคือ f(a) º f(b) (mod m) 

บทแทรก 4.2.9 ถา a เปนผลเฉลยของ f(x) º 0 (mod m)


และ a º b (mod m) แลวจะได b เปนผลเฉลยดวย
บทพิสูจน กําหนดให a เปนผลเฉลยของ f(x) º 0 (mod m) และ a º b (mod m)
จากทฤษฎีบท 4.2.8 จะได f(a) º f(b) (mod m)
และจาก a เปนผลเฉลยของ f(x) º 0 (mod m)
จะได f(a) º 0 (mod m) แสดงวา f(b) º 0 (mod m)
ดังนั้น b เปนผลเฉลยของ f(x) º 0 (mod m) 

ทฤษฎีบท 4.2.10 จํานวนเต็มบวก n หารดวย 9 ลงตัว


ก็ตอเมื่อ ผลบวกของเลขทุกหลักของ n หารดวย 9 ลงตัว
บทพิสูจน กําหนดให n > 0 เขียน n โดยใชเลขฐาน 10
จะได n = ak10k + ak-110k - 1 + … + a110 + a0
โดย 0 £ aj £ 9 สําหรับ j = 0, 1, 2, …, k
และจํานวนเต็ม a0, a1, … , ak เปนเลขในแตละหลักของ n
พิจารณาให f(x) = akxk + ak-1xk - 1 + … + a1x + a0
เนื่องจาก 10 º 1 (mod 9)
ฉะนั้น f(10) º f(1) (mod 9)
แสดงวา n º ak + ak - 1 + … + a1 + a0 (mod 9) 

ตัวอยาง 4.2.14 จงแสดงวา 9 หาร 73,986 ลงตัวหรือไม


วิธีทํา เนื่องจาก ผลบวก 7 + 3 + 9 + 8 + 6 = 33
แลวจะพบวา 9 หาร 33 ไมลงตัว
จากทฤษฎีบท 4.2.10 จึงสรุปไดวา 9 หาร 73,986 ไมลงตัว 
156 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ทฤษฎีบท 4.2.11 กําหนดให n เปนจํานวนเต็มบวก และสามารถเขียนในเลขฐาน 10


ไดเปน n = ak10k + ak - 110k - 1 + … + a110 + a0
โดยที่ 0 £ aj £ 9 สําหรับ j = 0, 1, 2, …, k
และสมมติให s = a0 - a1 + a2 - … (-1)kak จะไดวา
11 | n ตอเมื่อ 11 | s
บทพิสูจน กําหนดให f(x) = akxk + ak - 1xk - 1 + … + a1x + a0
เนื่องจาก 10 º -1 (mod 11)
ฉะนั้น f(10) º f(-1) (mod 11)
เนื่องจาก f(10) = n และ f(-1) = a0 - a1 + a2 - … (-1)kak
แสดงวา n º s (mod 11)
ดังนั้น 11 | n ก็ตอ เมื่อ 11 | s 

ตัวอยาง 4.2.15
1. ถา a เปนจํานวนเต็มคู แลว a2 º 0 (mod 4)
2. ถา a เปนจํานวนเต็มคี่ แลว a2 º 1 (mod 4)
3. ไมมีจํานวนเต็ม a ที่ทําให a2 º 2, 3 (mod 4)
วิธีทํา ให a เปนจํานวนเต็ม
กรณี 1 ถา a เปนจํานวนเต็มคู
แสดงวาจะมีจํานวนเต็ม k ซึ่ง a = 2k
พิจารณา a2 º (2k)2 º 4k2 º 0 (mod 4)
ฉะนั้น a2 º 0 (mod 4)
กรณี 2 ถา a เปนจํานวนเต็มคี่
แสดงวาจะมีจํานวนเต็ม k ซึ่ง a = 2k + 1
พิจารณา a2 º (2k + 1)2 º 4k2 + 4k + 1 º 1 (mod 4)
ฉะนั้น a2 º 1 (mod 4)
จากกรณี 1 และกรณี 2 จะพบวา ไมมีจํานวนเต็ม a ที่ทําให a2 º 2, 3 (mod 4)

ตัวอยาง 4.2.16 จงแสดงวา 1919 ไมสามารถเขียนในรูปของผลบวกของกําลังสาม


ของจํานวนเต็มกับกําลังสี่ของจํานวนเต็มอื่น
นั่นคือ 1919 ไมสามารถเขียนในรูปของ a3 + b4
เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากัน
วิธีทํา เนื่องจาก 1919 º 619 (mod 13) และ 62 º -3 (mod 13)
ทฤษฎีจํานวน 157

และ 64 º -4 (mod 13)


ฉะนั้น 66 º -1 (mod 13)
พิจารณา 1919 º 619 º (66)3 ⋅ 6 º (-1)3 ⋅ 6
º -6 º 7 (mod 13)
พิสูจนโดยหาขอขัดแยง
สมมติให 1919 สามารถเขียนในรูปของ a3 + b4
เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากัน
เราจะพบวา a 3 º 0, 1, 5, 8 หรือ 12 (mod 13)
และ b 4 º 0, 1, 3 หรือ 9 (mod 13)
ฉะนั้น a3 + b4 จะสมภาคกับสวนตกคางลดทอนมอดุโล 13 ไดทุกจํานวนเต็ม
ยกเวน 7
แสดงวาเกิดขอขัดแยงกับ 1919 º 7 (mod 13)
ดังนั้น 1919 ไมสามารถเขียนในรูปของ a3 + b4
เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากัน 

ตัวอยาง 4.2.17 จงแสดงวา จํานวนเต็มที่อยูในรูปของ 8n + 7 ไมสามารถเขียนไดใน


รูปของผลบวกของจํานวนเต็มกําลังสอง 3 จํานวน
นั่นคือ 8n + 7 ไมสามารถเขียนในรูปของ a2 + b2 + c2
เมื่อ a, b, c และ n เปนจํานวนเต็ม
วิธีทํา พิสูจนโดยหาขอขัดแยง โดยสมมติให N = 8n + 7 เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม
และ N = a2 + b2 + c2 เมื่อ a, b, c เปนจํานวนเต็ม
แลว N º 7 (mod 8)
ฉะนั้น a2 + b2 + c2 º 7 (mod 8)
จากบทแทรก 4.1.8 จะไดวา a จะสมภาคกับสวนตกคางลดทอนมอดุโล 8 ดังนี้
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7
เนื่องจาก 5 º -3 (mod 8), 6 º -2 (mod 8), 7 º -1 (mod 8)
และจากทฤษฎีบท 4.2.5 จะพบวา a2 จะสมภาคกับสวนตกคางลดทอนมอดุโล 8
ดังนี้ 02, 12, 22, 32, 42, (-3)2, (-2)2, (-1)2
นั่นคือ 0, 1 หรือ 4
และในทํานองเดียวกัน b2 และ c2 จะสมภาคกับสวนตกคางลดทอนมอดุโล 8 ดังนี้
0, 1 หรือ 4
แสดงวา a2 º 0, 1, 4 (mod 8)
b2 º 0, 1, 4 (mod 8)
158 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

และ c2 º 0, 1, 4 (mod 8)
จากทฤษฎีบท 4.2.4 จะพบวา a2 + b2 + c2 จะสมภาคกับสวนตกคางลดทอน
มอดุโล 8
ดังนี้ 0 + 0 + 0, 0 + 0 + 1, 0 + 0 + 4, 0 + 1 + 0, …, 4 + 4 + 4
เราจะไดวา ไมมีผลบวกดังกลาวสมภาคกับ 7 มอดุโล 8 ทําใหเกิดขอขัดแยง
ดังนั้น 8n + 7 ไมสามารถเขียนในรูปของ a2 + b2 + c2
เมื่อ a, b, c และ n เปนจํานวนเต็ม 

ตัวอยาง 4.2.18 กําหนด a, b, c เปนจํานวนเต็มใดๆ


จงแสดงวา 7 หาร abc(a3 - b3)(b3 - c3)(c3 - a3) ไดลงตัว
วิธีทํา กําหนด a, b, c เปนจํานวนเต็มใดๆ
พิจารณา (a3 - b3)(b3 - c3)(c3 - a3)
= (a3b3 - a3c3 - b6 + b3c3)(c3 - a3)
= a3b3c3 - a3c6 - b6c3 + b3c6 - a6b3 + a6c3 + a3b6 - a3b3c3
= a3b6 + b3c6 + a6c3 - a6b3 - b6c3 - a3c6
กรณี 1 ถา a º 0 (mod 7) หรือ b º 0 (mod 7)
หรือ c º 0 (mod 7)
จะพบวา abc(a3 - b3)(b3 - c3)(c3 - a3) º 0 (mod 7)
กรณี 2 ถา a ≢ 0 (mod 7) และ b ≢ 0 (mod 7)
และ c ≢ 0 (mod 7)
พิจารณา a º 1, 2, 3, 4, 5, 6 (mod 7)
 a3 º 1, 8, 27, 64, 125, 216 (mod 7)
a3 º 1, 1, -1, 1, -1, -1 (mod 7)
 a6 º 1 (mod 7)
ฉะนั้น abc(a3 - b3)(b3 - c3)(c3 - a3)
º abc(a3b6 + b3c6 + a6c3 - a6b3 - b6c3 - a3c6) (mod 7)
º 0 (mod 7)
จากกรณี 1 และกรณี 2 จะสรุปไดวา 7 หาร abc(a3 - b3)(b3 - c3)(c3 - a3) ลงตัว

ตัวอยาง 4.2.19 สําหรับทุกจํานวนเฉพาะ p ที่มากกวา 4
จงแสดงวา 48 เปนจํานวนเต็มที่มากทีส่ ุดที่หาร (p4 - 1) ลงตัว
วิธีทํา จะพบวา 48 = 24 ⋅ 3
จะแสดงวา 3 | (p4 - 1)
ทฤษฎีจํานวน 159

จาก p>4 เปนจํานวนเฉพาะ  3 หาร p ไมลงตัว


 p º 1 (mod 3)  p º 1 (mod 3)
4

 p4 - 1 º 0 (mod 3)  3 | (p4 - 1)
จะแสดงวา 8 | (p4 - 1)
เนื่องจาก p เปนจํานวนเต็มคี่ แสดงวา p º 1, 3, 5, 7 (mod 8)
ถา p º 1 (mod 8) แลว p4 º 1 (mod 8)
ถา p º 3 (mod 8) แลว p4 º 81 º 1 (mod 8)
ถา p º 5 (mod 8) แลว p2 º 25 º 9 (mod 8)
p4 º 81 º 1 (mod 8)
ถา p º 7 (mod 8) แลว p2 º 49 º 1 (mod 8)
p4 º 1 (mod 8)
ดังนั้น 8 | (p4 - 1)
เนื่องจาก (3, 8) = 1 แสดงวา (24 ⋅ 3) | (p4 - 1)
สมมติ d เปนจํานวนเต็มที่หาร p4 - 1 ลงตัว สําหรับทุกจํานวนเฉพาะ p > 4
นั่นคือ d | (54 - 1) และ d | (64 - 1) แสดงวา d | (54 - 1, 64 - 1)
ดังนั้น d | 48 แสดงวา 48 เปนจํานวนเต็มที่มากที่สุดที่หาร (p4 - 1) ลงตัว

แบบฝึกหัด 4.1-4.2
ขอ 1 - 24 จงพิจารณาประพจนตอไปนี้ เปนจริงหรือเท็จ เมื่อกําหนดให a, b, c และ d
เปนจํานวนเต็ม m เปนจํานวนเต็มบวก และ p เปนจํานวนเฉพาะ
1. 12 º -3 (mod 5) 2. 18 ≢ -2 (mod 4)
3. 10 º 1 (mod 9) 4. 10 º -1 (mod 11)
5. a º a (mod m)
6. ถา a º b (mod m) แลว b º a (mod m)
7. ถา a º b (mod m) และ b º c (mod m) แลว a º c (mod m)
8. ถา a º b (mod m) แลว -a º -b (mod m)
9. ถา a º b (mod m) และ c º d (mod m) แลว a + c º b + d (mod m)
10. ถา a + c º b + c (mod m) แลว a º b (mod m)
11. ถา a º b (mod m) และ d º c (mod m) แลว ac º bd (mod m)
12. ถา ac º bc (mod m) แลว a º b (mod m)
13. ถา a º b (mod m) แลว a2 º b2 (mod m)
160 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

14. ถา a2 º b2 (mod m) แลว a º b (mod m)


15. ถา a º b (mod m) และ a º b (mod n) แลว a º b (mod m + n)
16. ถา a º b (mod m) และ a º b (mod n) แลว a º b (mod mn)
17. ถา ab º 0 (mod m) แลว a º 0 (mod m) และ b º 0 (mod m)
18. ถา a ≢ b (mod m) แลว m  (a - b)
19. ถา a ≢ b (mod m) แลว b ≢ a (mod m)
20. ถา a ≢ b (mod m) และ b ≢ c (mod m) แลว a ≢ c (mod m)
21. ถา a ≢ 0 (mod m) และ b ≢ 0 (mod m) แลว ab ≢ 0 (mod m)
22. ถา ac º bc (mod p) และ p  c แลว a º b (mod p)
23. 10 หาร 9100 - 1 ไดลงตัว
24. 11 หาร 102001 + 1 ไดลงตัว
ขอ 25 - 28 จงเปลี่ยนขอความตอไปนี้ ใหอยูในรูปสัญลักษณของความสัมพันธสมภาค
25. n เปนจํานวนเต็มคี่
26. n เปนจํานวนเต็มคู
27. n จะหารดวย 5 ลงตัว
28. ผลคูณของจํานวนเต็มสามจํานวนที่ติดกันจะหารดวย 6 ลงตัว

ขอ 29 - 32. จงหาคา


29. ถาวันนี้เปนวันอังคาร แลวอีก 129 วันเปนวันอะไร
30. ถาวันนี้เปนวันศุกร แลวอีก 1976 วันเปนวันอะไร
31. ถาตอนนี้เปนเวลา 9.00 นาฬิกา แลวอีก 1900 ชั่วโมงจะเปนเวลาเทาไร
32. ถาตอนนี้เปนเวลา 15.00 นาฬิกา แลวอีก 4334 ชั่วโมงจะเปนเวลาเทาไร

ขอ 33 - 34 จงแสดงวาประพจนตอไปนี้เปนเท็จ โดยวิธีหาตัวอยางคาน


33. ถา a2 º b2 (mod m) แลว a º b (mod m)
34. ถา a ≢ 0 (mod m) และ b ≢ 0 (mod m) แลว ab ≢ 0 (mod m)

35. จงหาเศษที่ไดจากการหาร 1! + 2! +3! + … + 1000! ดวยจํานวนตอไปนี้


35.1 10 35.2 11
35.3 13 35.4 15

36. จงหาเศษที่เกิดจากการหาร x ดวย y เมื่อกําหนดให


35
36.1 x=2 , y=7 36.2 x = 531, y = 12
36.3 x = 3181, y = 17 36.4 x = 191976, y = 23
36.5 x = 231001, y = 17 36.6 x = 710, y = 51
ทฤษฎีจํานวน 161

36.7 x = 211, y = 23 36.8 x = 310, y = 51


36.9 x = 53101, y = 51

37. จงหาสวนตกคางลดทอน x โดยที่ x 2 º 1 (mod m)


เมื่อกําหนดให m เปนจํานวนเต็มตอไปนี้
37.1 5 37.2 6
37.3 7 37.4 8

38. จงหาสวนตกคางลดทอนของ x เมื่อ


38.1 x º 1 (mod
2
p) เมื่อ p เปนจํานวนเฉพาะ
38.2 x2 º 1 (mod m) เมื่อ m เปนจํานวนเต็มบวก

39. จงแสดงวา 13 | (297 - 2)


40. จงแสดงวา 13218 º -1 (mod 17)
41. กําหนดให a เปนสวนตกคางลดทอนมอดุโล 5 จงหาสวนตกคางลดทอนของ a5
มอดุโล 5 สําหรับทุก a
42. กําหนดให a เปนสวนตกคางลดทอนมอดุโล 7 จงหาสวนตกคางลดทอนของ a7
มอดุโล 7 สําหรับทุก a
43. จงหาสวนตกคางลดทอนของ (p - 1)! มอดุโล p เมื่อกําหนดให p เปนจํานวนเฉพาะ
ตอไปนี้
43.1 3 43.2 5
43.3 7 43.4 11

จงพิสูจนประพจนตอไปนี้ เมื่อกําหนดให a, b, c, d และ n เปนจํานวนเต็ม m เปนจํานวนเต็ม


บวก และ p, q เปนจํานวนเฉพาะที่แตกตางกัน
44. ถา a º b (mod m) แลว (a, m) = (b, m)
45. ถา ac º bc (mod p) และ p  c แลว a º b (mod p)
46. ถา a2 º 1 (mod p) แลว a º 1 (mod p)
47. กําลังสองของจํานวนเต็มคูจะสมภาคกับ 0 มอดุโล 4
48. สําหรับทุกจํานวนเต็มคี่จะสมภาคกับ 1 หรือ 3 มอดุโล 4
49. ถา ab º 0 (mod p) แลว a º 0 (mod p) หรือ b º 0 (mod p)
50. ถา a º b (mod p) และ a º b (mod q) แลว a º b (mod pq)
51. กําลังสองของจํานวนเต็มคี่จะสมภาคกับ 1 มอดุโล 4
52. สําหรับทุกจํานวนเฉพาะทีม ่ ากกวา 3 จะสมภาคกับ 1 มอดุโล 6
53. ถา 2a º 0 (mod p) และ p เปนจํานวนเฉพาะคี่ แลว a º 0 (mod p)
162 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

54. n 2 + n º 0 (mod 2)
55. n 4 + 2n3 + n 2 º 0 (mod 4)
56. 2n3 + 3n 2 + n º 0 (mod 6)

57. จงแสดงวา 41 หาร 220 - 1 ลงตัว


58. ให p เปนจํานวนเฉพาะ จงพิสูจนวาสําหรับทุก ๆ จํานวนเต็ม x, x2 º x (mod p)
ก็ตอเมื่อ x º 0 หรือ 1 (mod p)
59. จงแสดงวา ถา (n, 7) = 1 แลว n6 - 1 หารดวย 7 ลงตัว
60. จงแสดงวา n7 - n หารดวย 42 ลงตัว สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก n
61. จงหาเลขโดดหลักสุดทายของ 3400
( แนะ ใช 34 º 1 (mod 5) และ 34 º 1 (mod 2) )
62. จงหาเลขโดดสองหลักสุดทายของ 34000
( แนะ ใช 320 º 1 (mod 25) และ 32 º 1 (mod 4)
ดังนั้น 320 º 1 (mod 4) ซึ่งจะได 320 º 1 (mod 100))
æ2n ö÷
63. ให p เปนจํานวนเฉพาะซึ่ง n < p < 2n จงพิสูจนวา çç ÷ º 0 (mod p)
çè n ÷ø÷
64. จงพิสูจนวา สําหรับจํานวนเต็มบวกคี่ n ใด ๆ
1 + 2 + 3 + … + (n - 1) º 0 (mod n)
ขอความนี้ยังเปนจริงหรือไม ถา n เปนจํานวนเต็มบวกคู
65. สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก n จงแสดงวา 4n º 1 + 3n (mod 9)
66. สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก n จงแสดงวา 11 ½ (24n+3 + 5n+2)
โดยไมใชหลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร
67. สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก n จงแสดงวา 3n º 3 (mod 6)
2009
68. จงแสดงวา 20052007 º 6 (mod 7)
69. 1. จงหาจํานวนเต็มบวก n ทั้งหมด ซึ่ง 7 | (2n - 1)
2. จงแสดงวา 7  (2n + 1) สําหรับทุกจํานวนเต็มบวก n
70. จงหาเลขหลักสุดทายของ 31999 ´ 72000 ´ 172001
71. จงหาเลขสองหลักสุดทายของ 2999
72. จงหาจํานวนตัวบวก n ที่มีคามากที่สดุ ซึ่ง n | 1001001001 และ n < 10000
73. จงหาจํานวนนับที่นอยที่สดุ ซึ่งเมื่อหารดวย 5, 7, 9, 11 จะเหลือเศษ 1, 2, 3, 4 ตามลําดับ
ทฤษฎีจํานวน 163

4.3 สมการสมภาคเชิงเส้น
จากหัวขอ 4.1 และ 4.2 เราไดใหนิยามของความสัมพันธสมภาค และสมบัติของ
ความสัมพันธสมภาค ในหัวขอนี้ เราจะศึกษาสมภาคที่มีตัวแปรรวมอยูดวย ตัวอยางเชน
5x º 4 (mod 6), x2 º 1 (mod 5) และ x2 + 3x º 1 (mod 5) เปนตน
พิจารณาสมการ ax = b เมื่อ a, b เปนจํานวนเต็มใดๆ แลวสมการนี้จะมีผลเฉลยเปน
จํานวนเต็ม ก็ตอเมื่อ a | b ในหัวขอนี้เราจะพิจารณาสมภาค ax º b (mod m) วาสมภาคนี้
มีผลเฉลยหรือไม ถามีสมภาคจะตองมีเงื่อนไขเชนใด รวมทั้งการหาผลเฉลยของสมภาค โดยเราจะ
เรียกสมการสมภาค ax º b (mod m) วา สมภาคเชิงเสน (linear congruence)

บทนิยาม 4.3.1 จะเรียก จํานวนเต็ม x0 วา ราก(root) หรือผลเฉลย (solution)


ของสมภาคเชิงเสน ก็ตอเมื่อ ax0 º b (mod m)

ตัวอยาง 4.3.1 จงแสดงวา 3 และ 8 เปนผลเฉลยของสมภาคเชิงเสน 3x º 4 (mod 5)


วิธีทํา เราจะพบวา 3 ⋅ 3 = 9 º 4 (mod 5)
และ 3 ⋅ 8 = 24 º 4 (mod 5)
ดังนั้น 3 และ 8 เปนผลเฉลยของสมภาคเชิงเสน 3x º 4 (mod 5) 

ตัวอยาง 4.3.2 จงแสดงวาสมภาคเชิงเสน 4x º 1 (mod 2) ไมมีผลเฉลย


วิธีทํา พิจารณา 4x º 1 (mod 2)
เนื่องจาก เราจะพบวา 2  (4x - 1)
ดังนั้นสมภาคเชิงเสน 4x º 1 (mod 2) ไมมีผลเฉลย 

หมายเหตุ
1. เราจะพิจารณาความสัมพันธของสมภาคเชิงเสน ax º b (mod m)
กับ สมการไดโอแฟนไทนเชิงเสน
พิจารณา ax º b (mod m)
จากทฤษฎีบท 4.1.2 จะได ax = b + my เมื่อ y เปนจํานวนเต็มใดๆ
ฉะนั้นสมภาคเชิงเสน ax º b (mod m) จะหาผลเฉลยได
ก็ตอเมื่อ สมการไดโอแฟนไทนเชิงเสน ax - my = b หาผลเฉลยได
2. กําหนดให x0 เปนผลเฉลยใดๆ ของสมภาคเชิงเสน ax º b (mod m)
แลวจะไดวา ax0 º b (mod m)
และสมมติให x1 º x0 (mod m) เมื่อ x1 เปนจํานวนเต็มใดๆ
164 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

จากทฤษฎีบท 4.2.1 (3) จะได ax1 º ax0 (mod m)


และจากสมบัติการถายทอดของสมภาค จะได ax1 º b (mod m)
ฉะนั้น x1 จะเปนผลเฉลยของสมภาคเชิงเสน ax º b (mod m) ดวย
เราจะพบวา x0 และ x1 จะเปนสมาชิกของชั้นสมมูลเดียวกัน
เนื่องจาก ax1 º ax0 º b (mod m)
ดังนั้นในกรณีทั่วๆ ไป เราจะใชจํานวนเต็มในชวง 0 £ x < m เปนตัวแทน
ของผลเฉลยของ ax º b (mod m)
เนื่องจาก 3 และ 8 เปนผลเฉลยของ 3x º 4 (mod 5)
และ 8 º 3 (mod 5)
ฉะนั้น 3 และ 8 จะเปนผลเฉลยที่ไมแตกตางกัน
และเราจะใช 3 เปนตัวแทนของผลเฉลย
แสดงวา ทุกสมาชิกของชั้นสมมูล [3]5 = {…, -7, -2, 3, 8, 13, …}
เปนผลเฉลยของสมภาค
นั่นคือ ผลเฉลยจะอยูในรูปของ x = 3 + 5t
พิจารณา 3(3 + 5t) = 9 + 15t
º 4 + 0 (mod 5)
º 4 (mod 5)
ดังนั้นผลเฉลยของ 3x º 4 (mod 5) จะอยูในรูปของ x º 3 (mod 5)
ฉะนั้น ถาสมภาค ax º b (mod m) มีผลเฉลย
แลว สมภาคนี้จะมีผลเฉลยจํานวนไมจํากัด
ดังนั้น ผลเฉลยที่เราสนใจจะตองอยูในรูปของสวนตกคางลดทอนมอดุโล m

ตัวอยาง 4.3.3 จงแสดงวา 2 และ 6 เปนผลเฉลยที่แตกตางกันของสมภาค


2x º 4 (mod 8)
แต 2 และ 10 เปนผลเฉลยที่ไมแตกตางกันของสมภาค
วิธีทํา พิจารณา 2x º 4 (mod 8)
แทนคา x = 2 จะได 2 ⋅ 2 º 4 (mod 8)
แทนคา x = 6 จะได 2 ⋅ 6 º 4 (mod 8)
แทนคา x = 10 จะได 2 ⋅ 10 º 4 (mod 8)
ฉะนั้น 2, 6 และ 10 เปนผลเฉลยของสมภาค 2x º 4 (mod 8)
เนื่องจาก เราจะพบวา 2 ≢ 6 (mod 8)
และ 2 º 10 (mod 8)
ดังนั้น 2 และ 6 เปนผลเฉลยที่แตกตางกันของสมภาค
ทฤษฎีจํานวน 165

และ 2 และ 10 เปนผลเฉลยที่ไมแตกตางกันของสมภาค


เราจะสรุปไดวา 2 และ 6 เปนตัวแทนของผลเฉลย 

ทฤษฎีบทตอไปเราจะหาเงื่อนไขที่จําเปนและเพียงพอที่จะทําใหสมภาคเชิงเสน ax º
b (mod m) มีผลเฉลย
ทฤษฎีบท 4.3.2 กําหนดให d = (a, m) แลวจะไดวา
สมภาคเชิงเสน ax º b (mod m) มีผลเฉลย ก็ตอ เมื่อ d | b
นอกจากนี้ ถา d | b แลว สมภาคเชิงเสนนี้จะมีผลเฉลยอยู d ผลเฉลยที่แตกตาง
กัน (ไมสมภาคกัน)
บทพิสูจน กําหนดให d = (a, m)
() สมมติให สมภาคเชิงเสน ax º b (mod m) มีผลเฉลย
จากทฤษฎีบท 4.1.2 จะได ax = b + my เมื่อ y เปนจํานวนเต็ม
ax - my = b
ฉะนั้น สมภาคมีผลเฉลย ก็ตอเมื่อ สมการไดโอแฟนไทนเชิงเสนมีผลเฉลย
จากทฤษฎีบท 3.2.3 สมการไดโอแฟนไทนเชิงเสนมีผลเฉลย ก็ตอ เมื่อ d | b
ดังนั้นสมภาค ax º b (mod m) มีผลเฉลย ก็ตอเมื่อ d | b
() สมมติให d | b แลวสมการไดโอแฟนไทนเชิงเสนมีผลเฉลยจํานวนไมจํากัด
m a
โดยให x = x0 + t , y = y0 - t
d d
เมื่อ t เปนจํานวนเต็มใดๆ
และ x0, y0 เปนผลเฉลยหนึ่งที่เปนจํานวนเต็มของสมภาค

ตอไปเราจะแสดงวา ถา d | b แลว สมภาคเชิงเสนจะมีผลเฉลยอยู d ผลเฉลย


ที่แตกตางกัน
สมมติให x1 = x0 + m t1 และ x2 = x0 + m t2 เปนสองผลเฉลยที่ไมแตกตางกัน
d d
m m
ฉะนั้น x0 + t1 º x0 + t2 (mod m)
d d
m m
t1 º t2 (mod m)
d d
เนื่องจาก m | m และ (m, m ) = m
d d d
จากทฤษฎีบท 4.2.2 เราจะไดวา t1 º t2 (mod d)
แสดงวาผลเฉลย x1 และ x2 เปนผลเฉลยที่ไมแตกตางกัน
ก็ตอเมื่อ t1 º t2 (mod d)
นั่นคือ t1, t2 เปนสมาชิกของชั้นสมมูลมอดุโล d
ฉะนั้นผลเฉลยเปนผลเฉลยที่ไมแตกตางกัน
166 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ก็ตอเมื่อ ผลเฉลยเหลานั้นจะเปนสมาชิกของชั้นสมมูลเดียวกัน
จากบทแทรก 4.1.8 จะมีผลเฉลยอยู d ผลเฉลยทีแ่ ตกตางกัน
และผลเฉลยเหลานี้จะอยูในรูปของ
m
x = x0 + t เมื่อ 0 £ t < d 
d

m
หมายเหตุ จะเรียกผลเฉลยที่อยูในรูปของ x = x0 + t เมื่อ 0£t<d
d
วา ผลเฉลยทั่วไป (general solution) ของสมภาคเชิงเสน

ทฤษฎีบท 4.3.2 ทําใหเราไดบทแทรกที่มีประโยชน ดังตอไปนี้


บทแทรก 4.3.3 สมภาคเชิงเสน ax º b (mod m) มีผลเฉลยเพียงผลเฉลยเดียว
ก็ตอเมื่อ (a, m) = 1
บทพิสูจน ผลพลอยไดจากทฤษฎีบท 4.3.2 

ตัวอยาง 4.3.4 จงพิจารณาสมภาคตอไปนี้มีผลเฉลยที่เปนจํานวนเต็มไดหรือไม ถามีจงหา


จํานวนของผลเฉลยที่แตกตางกัน
1. 8x º 10 (mod 6) 2. 2x º 3 (mod 4)
3. 4x º 7 (mod 7) 4. 14x º 13 (mod 21)
วิธีทํา 1. เราจะพบวา (8, 6) = 2 และ 2 | 10
ฉะนั้น สมภาคนี้สามารถหาผลเฉลยได และ มี 2 ผลเฉลยที่แตกตางกันมอดุโล 6
2. เราจะพบวา (2, 4) = 2 และ 2  3
ฉะนั้น สมภาคนี้ไมสามารถหาผลเฉลยได
3. เราจะพบวา (4, 7) = 1 และ 1 | 7
ฉะนั้น สมภาคนี้สามารถหาผลเฉลยได และ มีเพียง 1 ผลเฉลย ในมอดุโล 6
4. เราจะพบวา (14, 21) = 7 และ 7  13
ฉะนั้น สมภาคนี้ไมสามารถหาผลเฉลยได 

ตัวอยาง 4.3.5 จงหาผลเฉลยที่เปนจํานวนเต็มที่แตกตางกันของสมภาค


12x º 48 (mod 18)
วิธีทํา เราจะพบวา (12, 18) = 6 และ 6 | 48
ฉะนั้น สมภาคนี้สามารถหาผลเฉลยได และ มี 6 ผลเฉลยที่แตกตางกันมอดุโล 12
และผลเฉลยทัง้ หมดจะอยูในรูปของ
m
x = x0 + t เมื่อ 0 £ t < 6 และ x0 เปนผลเฉลยหนึ่งของสมภาค
d
ทฤษฎีจํานวน 167

18
= x0 + t = x0 + 3t
6
เนื่องจาก 1 เปนผลเฉลยของสมภาค 12x º 48 (mod 18)
สมมติให x0 = 1
ฉะนั้น 6 ผลเฉลยที่แตกตางกันมอดุโล 12 จะอยูในรูปของ
1 + 3t เมื่อ 0 £ t < 6 นั่นคือ 1, 4, 7, 10, 13 และ 16 

ตัวอยาง 4.3.6 จงหาผลเฉลยที่เปนจํานวนเต็มที่แตกตางกันของสมภาค


9x º 15 (mod 21)
วิธีทํา เราจะพบวา (9, 21) = 3 และ 3 | 15
ฉะนั้น สมภาคนี้สามารถหาผลเฉลยได มี 3 ผลเฉลยที่แตกตางกันมอดุโล 21
และผลเฉลยจะอยูในรูปของ
m
x = x0 + t เมื่อ 0 £ t < 3 และ x0 เปนผลเฉลยหนึ่งของสมภาค
d
21
= x0 + t = x0 + 7t
3
เนื่องจาก 4 เปนผลเฉลยของสมภาค 9x º 15 (mod 21)
สมมติให x0 = 4
ฉะนั้น 3 ผลเฉลยที่แตกตางกันมอดุโล 21
จะอยูในรูปของ 4 + 7t เมื่อ t = 0, 1, 2 นั่นคือ 4, 11 และ 17 

ตัวอยาง 4.3.7 จงผลเฉลยของสมภาค 30x º 24 (mod 156)


วิธีทํา จาก (30, 156) = 6 และ 6 | 24
แสดงวาสมภาค 30x º 24 (mod 156) มีผลเฉลยเปนจํานวนเต็ม
พิจารณา 30x º 24 (mod 156)
156
 5x º 6 (mod )  5x º 6 (mod 26)
(6,156)
 25x º 20 (mod 26)  -x º 20 (mod 26)
 x º -20 (mod 26)  x º 6 (mod 26)
ฉะนั้น ผลเฉลยของสมภาค 30x º 24 (mod 156) คือ
x = 6 + 26t เมื่อ t = 0, 1, 2, 3, 4, 5 
168 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

· ตัวผกผันในมอดุโล m
จากบทแทรก 4.3.3 ไดกลาววาสมภาคเชิงเสน ax º b (mod m) มีผลเฉลยเพียง
ผลเฉลยเดียว ก็ตอเมื่อ (a, m) = 1 ถา b = 1 แลวเราจะพิจารณาสมภาค ax º 1 (mod
m) โดยที่สมภาคนี้จะมีผลเฉลยเพียงผลเฉลยเดียว ก็ตอเมื่อ (a, m) = 1 หมายความวาจะมี
สวนตกคางลดทอน x เพียงคาเดียวที่ทําให ax º b (mod m) แลวเราจะเรียก a วา หาตัว
ผกผันได (invertible) และจะเรียก x วาตัวผกผัน (inverse) ของ a มอดุโล m เพื่อ
ความสะดวกเราจะแทน x ดวย a-1
นอกจากนี้ ถา a ⋅ a-1 º 1 (mod m) และ a-1 = a แลวเราจะเรียก a วา
ตัวผกผันของตัวเอง (self-invertible)

ตัวอยาง 4.3.8 เราจะพบวา 7 ⋅ 8 º 1 (mod 11)


แลวเราจะเรียก 7 วา หาตัวผกผันได
และจะเรียก 8 วาเปนตัวผกผันของ 7 มอดุโล 11
นั่นคือ 7-1 มีคาเทากับ 8 ในมอดุโล 11
และเนื่องจาก 10 ⋅ 10 º 1 (mod 11)
ฉะนั้น เราจะเรียก 10 วา ตัวผกผันของตัวเอง 

จากขางตนเราไดศึกษานิยามของตัวผกผัน ซึ่งนิยามดังกลาวนี้จะเปนประโยชนในการ
หาคา x ในสมภาคเชิงเสน ax º b (mod m) ไดดังนี้
พิจารณา ax º b (mod m) เมื่อ (a, m) = 1
เนื่องจาก (a, m) = 1 จะพบวา a มีตัวผกผัน a-1 มอดุโล m
แลวจะได a-1(ax) º a-1b (mod m)
(a-1a)x º a-1b (mod m)
-1
1⋅x º a b (mod m)
นั่นคือ x º a-1b (mod m)

ทฤษฎีบท 4.3.4 ถา (a, m) = 1 แลว ผลเฉลยเพียงผลเฉลยเดียวของสมภาคเชิงเสน


ax º b (mod m) จะเปนสวนตกคางลดทอนของ a-1b (mod m)
บทพิสูจน ขอละไวเปนแบบฝกหัด 
ทฤษฎีจํานวน 169

แบบฝึกหัด 4.3
ขอ 1. - 6. จงแสดงวาสมภาคเชิงเสนตอไปนี้มีผลเฉลยเปนจํานวนเต็มหรือไม
โดยใชทฤษฎีบท 4.3.2
1. 12x º 18 (mod 15) 2. 16y º 18 (mod 12)
3. 12x º 14 (mod 13) 4. 28u º 119 (mod 91)
5. 76v º 50 (mod 176) 6. 2076y º 3076 (mod 1076)

ขอ 7. - 12. จงหาจํานวนของผลเฉลยที่เปนจํานวนเต็มที่แตกตางกันของสมภาคเชิงเสนตอไปนี้


7. 12x º 18 (mod 15) 8. 28u º 119 (mod 91)
9. 49x º 94 (mod 36) 10. 91y º 119 (mod 28)
11. 48v º 144 (mod 84) 12. 2076y º 3076 (mod 1076)

13. กําหนดให x0 เปนผลเฉลยหนึ่งของสมภาค ax º b (mod m)


m
จงแสดงวา x = x0 + t เปนผลเฉลยของสมภาค เมื่อ d = (a, m)
d

ขอ 14. - 19. จงหาผลเฉลยที่แตกตางกันทั้งหมดของสมภาคเชิงเสนในขอ 7. - 12.


20. จงใช -23y º -7 (mod 63) เพื่อหาผลเฉลยของสมการไดโอแฟนไทนเชิงเสน
63x - 23y = -7

ขอ 21. - 26. จงหาผลเฉลยของสมการไดโอแฟนไทนเชิงเสนตอไปนี้ โดยใชสมภาค


21. 3x + 4y = 5 22. 6x + 9y = 15
23. 15x + 21y = 39 24. 28x + 91y = 119
25. 48x + 84y = 144 26. 1776x + 1976y = 4152

27. จงหาสวนตกคางลดทอนมอดุโล 5 ที่หาตัวผกผันได


28. จงหาสวนตกคางลดทอนมอดุโล 6 ที่หาตัวผกผันได
29. จงหาสวนตกคางลดทอนมอดุโล 7 ที่เปนตัวผกผันกับตัวเอง
30. จงหาสวนตกคางลดทอนมอดุโล 12 ทีเ่ ปนตัวผกผันกับตัวเอง
170 บทที่ 4 การสมภาคและการประยุกต์

ขอ 31. - 34. จงหาจํานวนของผลเฉลยที่เปนจํานวนเต็มที่แตกตางกันของสมภาคเชิงเสนตอไปนี้


โดยใชตวั ผกผัน
31. 5x º 3 (mod 6) 32. 4x º 11 (mod 13)
33. 19x º 29 (mod 16) 34. 48x º 39 (mod 17)

35. กําหนดให b เปนตัวผกผันของ a มอดุโล m


จงแสดงวา a เปนตัวผกผันของ b มอดุโล m

36. กําหนดให p เปนจํานวนเฉพาะ จงแสดงวา


สวนตกคางลดทอนมอดุโล p เปนตัวผกผันกับตัวเอง ก็ตอเมื่อ a º 1 (mod p)

You might also like