You are on page 1of 73

ส่ วนงานศูนย์ฝึกอบรมด้านงานขายและเทคนิ ค

บริ ษทั เอ.พี.ฮอนด้า จํากัด 149 ถนนรถรางเก่า สําโรงใต้ พระประแดง สมุทรปราการ 10130 โทร 0-2757- 6111
93 KZYA T1 AP
คำนำ

คู่มือประกอบการอบรมรถจักรยานยนต์ฮอนด้ารุ่ น PCX150 (Version 3)นี้ จัดทาขึ้น เพื่อให้นายช่าง


ประจาศูนย์บริ การรถจักรยานยนต์ฮอนด้าทุกท่าน รวมทั้งผูส้ นใจทัว่ ไป ได้ศึกษาเรี ยนรู ้ถึงกระบวนการ
ทางานของเครื่ องยนต์ในระบบฟังก์ชนั่ ต่างๆ เช่น จุดเด่นของระบบ eSP (enhanced Smart Power) ที่เป็ น
ขุมพลังแห่งความแรงของรถรุ่ นนี้ โดยมีองค์ประกอบไปด้วย เทคโนโลยีลดแรงเสี ยดทาน, ประสิ ทธิ ภาพ
การเผาไหม้เป็ นเยีย่ ม, ประสิ ทธิ ภาพการส่ งกาลังป็ นเลิศ, ระบบหัวฉี ด PGM FI, ระบบระบายความร้อน
แบบบิวท์อิน และระบบสตาร์ทเงียบ (Alternator / Starter) ส่ งผลทาให้เครื่ องยนต์ แรงขึ้น ประหยัดขึ้น
สตาร์ ทเงียบ เครื่ องยนต์เดินเรี ยบ ทนทาน และทาให้ไอเสี ยสะอาดเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม เป็ นต้น
ดังนั้น คณะผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่าคู่มือประกอบการอบรมเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กบั นายช่างและ
ผูท้ ี่ให้ความสนใจทัว่ ไป หรื อผูท้ ี่เริ่ มต้นศึกษาถึงกระบวนการทางานของเครื่ องยนต์ระบบหัวฉี ด PGM-FI
ทุกคน

ส่ วนงานศูนย์ฝึกอบรมด้านงานขายและเทคนิ ค
บริ ษทั เอ.พี.ฮอนด้า จากัด

 ข้อมูลต่างๆภาพรายละเอียดและค่ามาตรฐานที่จดั พิมพ์ข้ ึนมาในคู่มือเล่มนี้ นามาจากการผลิตครั้งล่าสุดการเปลี่ยนแปลง


ใดๆที่เกิดขึ้นภายหลัง ทางบริ ษทั ฯขอสงวนสิ ทธิ์ ในการเปลี่ยนแปลงโดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้า การคัดลอกภาพราย
ละเอียด หรื อข้อความใดๆ จากหนังสื อเล่มนี้ ควรขออนุญาตเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนการดาเนินการ
สารบัญ
รายละเอียดทัว่ ไป 1-2
การรับประกันคุณภาพ, ตาแหน่ งหมายเลขตัวถังและหมายเลขเครื่ องยนต์ 3
การตรวจเช็คสภาพรถจักรยานยนต์ก่อนการส่ งมอบ (P.D.I) 4-7
จุดเด่นของ eSP (enhanced Smart Power) 8-13
อัลเตอร์ เนเตอร์ / สตาร์ ทเตอร์ 14-17
ระบบสัญญาณกันขโมย (Anti Thief Alarm System) 18-23
ระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา (Idling Stop System) 24-29
ระบบควบคุมการปล่อยไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง 30-32
ระบบควบคุมไอเสี ย (Emission Control System) 33
การบารุ งรักษาไส้กรองน้ ามันเชื้ อเพลิง 34-36
การปรับตั้งระยะห่ างวาล์ว 37-38
ระบบจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงแบบหัวฉี ด PGM - FI 39-50
การเรี ยกดูขอ้ มูลปั ญหา / การลบข้อมูลในหน่ วยความจา 51-52
การปรับตั้งตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ ง 53-54
ระบบการตรวจสอบความผิดปกติ 55-56
ระบบควบคุมอิเลกทรอนิ กส์ PGM - FI 57
ตารางแสดงรหัสปั ญหา PCX150 58-59
เปรี ยบเทียบอุปกรณ์จกั รยานยนต์รุ่น PCX125 กับ PCX150 60-64
PGM-FI SYSTEM DIAGRAM 65
วงจรสตาร์ ท , วงจรไฟชาร์ จ , วงจรไฟฟ้ าทั้งคัน 66-68
รายละเอียดทั่วไป รุ่น PCX150
หัวข้ อ รายการ ค่ ามาตรฐาน
ขนาด,มิติ ความยาวตัวรถ 1,917 มม.
ความกว้างตัวรถ 738 มม.
ความสู งตัวรถ 1,094 มม.
ระยะห่ างล้อหน้า - ล้อหลัง 1,315 มม.
ความสู งของเบาะนัง่ 761 มม.
ความสู งของพักเท้า 260 มม.
ระยะห่ างจากพื้น 140 มม.
น้ าหนักรถ 129 กก.
ตัวถัง แบบตัวถัง อันเดอร์ โบน ( Under bone type )
ระบบกันสะเทือนหน้า / ระยะยุบ แบบเทเลสโคปิ ค / 89 มม.
ระบบกันสะเทือนหลัง / ระยะยุบ แบบยูนิตสวิง / 79 มม.
ขนาดยางหน้า 90/90 - 14M/C 46P
ขนาดยางหลัง 100/90 - 14M/C 57P
ยีห่ ้อของยางหน้า SS-560F (IRC) , TT900F (DUNLOP)
ยีห่ ้อของยางหลัง SS-560R (IRC) , TT900A (DUNLOP)
เบรคหน้า แบบดิสก์เบรค / ไฮดรอลิค
เบรคหลัง แบบดรัมเบรค
มุมแคสเตอร์ / ระยะเทรล 27° 00' / 86 มม.
ความจุถงั น้ ามันเชื้ อเพลิง 5.9 ลิตร
เครื่องยนต์ กระบอกสู บ x ระยะชัก 58 x 57.9 มม.
ปริ มาตรกระบอกสู บ 152.9 ลูกบาศก์เซนติเมตร
อัตราส่ วนการอัด 10.6:1
จานวนวาล์วและระบบขับเคลื่อนวาล์ว 2 วาล์ว ใช้โซ่ขบั เคลื่อนเพลาลูกเบี้ยวเดี่ยว SOHC
วาล์วไอดี เปิ ด ที่ 1 มม. (0.04 นิ้ว) ยกขึ้น 5° ก่อนศูนย์ตายบน
ปิ ด ที่ 1 มม. (0.04 นิ้ว) ยกขึ้น 35° หลังศูนย์ตายล่าง
วาล์วไอเสี ย เปิ ด ที่ 1 มม. (0.04 นิ้ว) ยกขึ้น 30° ก่อนศูนย์ตายล่าง
ปิ ด ที่ 1 มม. (0.04 นิ้ว) ยกขึ้น 0° ศูนย์ตายบน
ระยะห่ าง วาล์วไอดี 0.10 + 0.02 มม. ( 0.006 + 0.001 นิ้ว )
วาล์วไอเสี ย 0.24 + 0.02 มม. ( 0.006 + 0.001 นิ้ว )

1
รายละเอียดทั่วไป รุ่น PCX150
หัวข้ อ รายการ ค่ ามาตรฐาน
เครื่องยนต์ ระบบหล่อลื่น ใช้แรงดัน / แบบอ่างเปี ยก
ปั๊ มน้ ามันเครื่ อง แบบหมุน
ความจุน้ ามันเครื่ อง หลังเปลี่ยนถ่าย 0.8 ลิตร ( 800 ซี.ซี. )
หลังประกอบเครื่ องยนต์ 0.9 ลิตร ( 900 ซี.ซี. )
ข้อแนะนาในการใช้น้ ามันเครื่ อง JASO T 903 : MB , Viscosity : SAE 10W - 30
ระบบระบายความร้อน ระบายความร้อนด้วยน้ า
ไส้กรองอากาศ แบบกระดาษเปี ยก (วิสกัส)
น้ าหนักเครื่ องยนต์ขณะยังไม่เติมน้ ามัน 30.1 กิโลกรัม
ระบบจ่ าย ระบบจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิง PGM-FI (Programmed Fuel Injection)
นา้ มัน ขนาดคอคอด 26 มม.
เชื้อเพลิง ปั๊ มแรงดันสู ง แบบใบพัด (Turbine)
อัตราการไหล (ที่แรงดันไฟฟ้ า 12โวลต์) ต่าสุ ด 98 ลูกบาศก์เซนติเมตร / 10 วินาที
ความต้านทานของหัวฉี ด 9-12 โอห์ม ที่ 20o C / 68o F
ตัวควบคุมแรงดัน 294 kPa (43 psi)
ความเร็ วรอบเดินเบา 1,700 ±100 รอบ/นาที
ระบบ ระบบส่ งกาลัง สายพาน วี - เมติกส์
ส่ งกาลัง ระบบการทางานของคลัทช์ แรงเหวี่ยงหนี ศูนย์กลางอัตโนมัติ, แบบแห้ง
อัตราทดสายพานขับเคลื่อน 2.45 : 1 - 0.81 : 1
อัตราทดขั้นสุ ดท้าย 10.552 ( 53 /17 x 44/13 )
ความจุน้ ามันเฟื องท้าย หลังเปลี่ยนถ่าย 120 ซี.ซี.
หลังถอด-ประกอบ 140 ซี.ซี.
ข้อแนะนาในการใช้น้ ามันเฟื องท้าย JASO T 903 : MB , Viscosity : SAE 10W - 30
ระบบไฟฟ้า ระบบจุดระเบิด ทรานซิ สเตอร์ เต็มรู ปแบบ
หัวเทียน (STD) CPR7EA – 9 (NGK)
ระยะห่ างเขี้ยวหัวเทียน 0.80 - 0.90 มม.
ระบบสตาร์ ท สตาร์ ทไฟฟ้ า
ระบบไฟชาร์ ท สามเฟสจากอัลเตอร์ เนเตอร์
ระบบแสงสว่าง แบตเตอรี่
แบตเตอรี่ /ความจุ 12 V - 5 Ah (10 ชัว่ โมง)
ฟิ วส์หลัก / ฟิ วส์รอง 10 A x 1, 20 A x 1 / 10 A x 4

2
การรับประกันคุณภาพ
รถจักรยานยนต์ฮอนด้ารุ่ น PCX150 รับสิ ทธิ์ การรับประกันคุณภาพเป็ นระยะเวลา 3 ปี หรือ 30,000 กม.
แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน และชิ้นส่ วนของระบบหัวฉี ดรับประกันคุณภาพเป็ นระยะเวลา 5 ปี หรื อ 50,000 กิโลเมตร
แล้วแต่ระยะใดจะถึงก่อนได้แก่ ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิง(ไม่รวมลูกลอยน้ ามันเชื้ อเพลิง), หัวฉี ด, เรื อนลิ้นเร่ ง, กล่องECM
ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ, ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็นของเครื่ องยนต์, ตัวตรวจจับปริ มาณออกซิ เจน

กรณี รถมีปัญหาทางด้านคุณภาพ อันเนื่องมาจากกรรมวิธีทางการผลิตไม่ดีหรื อวัสดุไม่ได้คุณภาพภายใต้


การใช้งานและบารุ งรักษาที่ถูกต้องตามที่กาหนดไว้ในคู่มือผูใ้ ช้รถผูใ้ ช้รถสามารถใช้สิทธิ์ ในการรับประกัน ณ ร้าน
ผูจ้ าหน่ ายและศูนย์บริ การที่ได้รับการแต่งตั้งจาก บริ ษทั เอ.พี.ฮอนด้า จากัด ทุกแห่ งทัว่ ประเทศ โดยทางร้านจะ
ทาการแก้ไข ปรับแต่ง หรื อเปลี่ยนชิ้นส่ วนอะไหล่ที่มีความบกพร่ องนั้นโดยไม่คิดราคาค่าอะไหล่และค่าแรง

ศูนย์จาหน่ ายและบริ การฮอนด้า โทรปรึ กษาปั ญหาการซ่อม

ตาแหน่งหมายเลขตัวถังและหมายเลขเครื่ องยนต์

หมายเลขตัวถังของรถรุ่ น PCX150 หมายเลขเครื่ องยนต์ของรถรุ่ น PCX150


อยูด่ า้ นท้ายของตัวถังใต้เบาะนัง่ อยูแ่ คร้งด้านล่างซ้ายใต้ฝาครอบห้องสายพาน

3
การตรวจเช็คสภาพรถจักรยานยนต์ ก่อนการส่ งมอบ
P.D.I. ( Pre-delivery inspection ) หมายถึง การตรวจเช็คสภาพรถจักรยานยนต์ก่อนการส่ งมอบให้กบั
ลูกค้า โดยสามารถตรวจเช็คตามรายการในคู่มือรับประกัน มีรายละเอียดดังนี้
ตรวจสอบสภาพภายนอก
ตรวจการประกอบภายนอกสี , สนิ ม, รอยขีดข่วน, เสี ยงสั่นดัง
ของชุดพลาสติก การแตกร้าวของชิ้นส่ วนต่างๆ รอบคัน

ตรวจการทางานของ Shutter Key, การล๊อคคอ, การเปิ ดเบาะ, กุญแจสามารถใช้งานได้ทุกดอก

ฝาถังน้ ามันเชื้ อเพลิง เปิ ด-ปิ ด ได้ปกติ ไม่มีคราบสนิ มบริ เวณภายในปากถังน้ ามันเชื้ อเพลิง

การตรวจสภาพของเครื่องยนต์
สภาพภายนอกของแบตเตอรี่ ตรงตามที่คู่มือระบุไว้ (YTZ6V ) มีสภาพปกติไม่แตกร้าวพร้อมวัดแรงเคลื่อน
ได้ค่าเท่าไรลงบันทึกในสมุดรับประกันคุณภาพ (Voltage ต้องไม่ต่ากว่า 12.4 V.)
ตรวจสภาพภายนอก ตรวจสอบแรงเคลื่อนไฟฟ้ า ประกอบแบตเตอรี่

หมายเหตุ : แบตเตอรี่ (รถใหม่) ก่อนใช้งานต้องนาไปชาร์ จอย่างน้อย 30 นาที เพือ่ ยืดอายุการใช้งานได้ยาวนาน

4
ตรวจสอบสายไฟ ท่อยางต่างๆ, การรั่วซึมของน้ ามันหล่อลื่น , ระดับน้ ามันเครื่ อง, ระดับน้ ามันเบรค, ระดับน้ ามันเฟื องท้าย
ช่องตรวจระดับน้ ามันเบรค

ระดับน้าหล่ อเย็น ระดับน้ามันเครื่อง ระดับน้ามันเบรค


การทางานของเครื่องยนต์
สตาร์ ทเครื่ องยนต์ อุ่นเครื่ องยนต์ให้ถึงอุณหภูมิทางานแล้วใช้เครื่ องวัดรอบ (เทคโคมิเตอร์) ตรวจวัดรอบเดินเบา เปรี ยบ
เทียบกับค่ามาตรฐาน (1,700 ±100 รอบ/นาที) แล้วบันทึกค่าในสมุดรับประกันฯ

ระบบไฟแสงสว่ าง และไฟสั ญญาณ


ไฟส่ องหน้าปั ด ไฟหน้า,ไฟสู ง,ไฟต่า,ไฟเลี้ยวซ้าย-ขวา,ไฟท้าย,ไฟเบรค, ไฟส่ องป้ าย,ไฟเตือนไฟสู ง,ไฟเตือนไฟเลี้ยว
ระบบแตร, การทางานของมาตรวัดความเร็ ว, มาตรวัดระยะทาง, การทางานของเกจวัดระดับน้ ามันเชื้ อเพลิง

ระบบรองรับและขับเคลือ่ น
ตรวจสอบและเติมลมยางให้ได้ตามค่ามาตรฐานกาหนด ทั้งล้อหน้าและล้อหลัง มีค่ามาตรฐานดังนี้
ขับขี่คนเดียว ล้อหน้า 200 kPa, 29 psi
ล้อหลัง 225 kPa, 33 psi
ขับขี่มีผซู ้ อ้ นท้าย ล้อหน้า 200 kPa, 29 psi
ล้อหลัง 225 kPa, 33 psi

ตรวจเช็คอัตราการขันแน่ นของน๊อตยึดเพลาล้อหน้า-หลัง
น๊อตยึดเพลาล้อหน้า 59 N-m (6.0 Kgf - m)

น๊อตยึดเพลาล้อหลัง 118 N-m (12.0 Kgf - m)

5
ตรวจสอบการยุบตัวของโช๊คอัพ หน้า-หลัง ตรวจสอบการรั่วซึ มของโช๊คอัพ หน้า-หลัง

ตรวจสอบระยะฟรี ของคันเร่ ง (ค่ามาตรฐาน : 2-6 มิลลิเมตร) และตรวจความคล่องตัวของคันเร่ ง

ค่ามาตรฐาน : 2-6 มิลลิเมตร

อุปกรณ์ อำนวยควำมสะดวก
ตรวจสอบไฟที่หน้าปั ดเรื อนไมล์ การทางานปกติ หลอดไฟแสดงการทางานของเครื่ องยนต์ ติดและดับภายใน 2 วินาที
เมื่อเปิ ดสวิทช์ ตรวจสอบการทางานของเบรคล้อหน้า-หลัง, การทางานของคอมบายเบรค

ประกอบกระจกมองหลัง และปรับตั้งกระจกมองหลัง

ปรับมุมมองกระจกมองหลังให้เห็นชัดเจนโดยให้มอง
เห็นหัวไหล่ของผูข้ บั ขี่เล็กน้อยเป็ นเกณฑ์

6
ตรวจเช็คเครื่ องมือประจารถ
1. สายสลิงร้อยหมวก
1
2. ด้ามไขควง
3.ไขควง แฉก+แบน
4.ประแจปากตาย 10-14
2 3 4 5 5.บล๊อคหัวเทียน

เขียนบันทึกและลงชื่ อผูต้ รวจเช็ค รถจักรยานยนต์ก่อนส่ งมอบ


 แนะนาข้อมูลการใช้รถและการบารุ งรักษาฯ
 สมุดรับประกันคุณภาพ
 คู่มือการใช้รถ
 หลักพื้นฐานการขับขี่ปลอดภัย 10 ประการ
 PDSA

7
จุดเด่ นของเครื่องยนต์ eSP ( enhanced Smart Power )
องค์ประกอบของ eSP

เทคโนโลยีลด
แรงเสี ยดทาน
ระบบสตาร์ ท
เงียบ AIternator/ ประสิ ทธิภาพการ
Starter เผาไหม้ เป็ นเยีย่ ม

ระบบระบาย
ประสิ ทธิภาพการ
ความร้ อนด้ วยนา้
ส่ งกาลังเป็ นเลิศ
แบบบิวท์ อนิ
ระบบหัวฉีด
PGM - FI

ผลที่ได้ รับ

แรงขึ้น ประหยัดขึ้น สตาร์ทเงียบ


เครื่ องยนต์เดินเรี ยบ ทนทาน ไอเสี ยสะอาด

เทคโนโลยีลดแรงเสี ยดทาน ( Intelligent Low Friction )


กระเดื่องวาล์วแบบโรลเลอร์ (Roller type rocker arm)
ออกแบบพิเศษเพือ่ ให้ประหยัดพลังงานขณะทางาน โดยที่บริ เวณหน้าสัมผัสของกระเดื่องวาล์วไอดี-ไอเสี ย
(มีโรลเลอร์ ) และที่สมั ผัสแกนกระเดื่องวาล์วไอดี - ไอเสี ย มีลูกปื นเข็ม

โรลเลอร์ ลูกปื นเข็ม

8
ปลอกเสื้อสู บ แบบมีผวิ ขรุ ขระ ( Spiny sleeve )
เพิม่ ประสิ ทธิ ภาพการระบายความร้อนให้ดียงิ่ ขึ้นลดการ
บิดตัวภายในกระบอกสู บ ขณะที่เครื่ องยนต์ทางาน

ช่ องทางระบายอากาศ ( Breather passage )


ออกแบบให้มีช่องทางระบายอากาศ ( Breather) เพือ่
ลดแรงดันขณะที่ลูกสู บทางานเคลื่อนที่ข้ ึนลง ลดการ
สู ญเสี ยน้ ามันเครื่ อง จากการหมุนของชิ้นส่ วนต่างๆ
เช่น เพลาข้อเหวี่ยง ปั๊ มน้ ามัน โซ่ราวลิ้น เป็ นต้น
สามารถลดแรงเสี ยดทานได้

เพลาข้ อเหวีย่ งแบบมีระยะอ๊ อฟเซ็ ต ( Offset cylinder)

เพลาข้อเหวี่ยงแบบไม่มี เพลาข้อเหวี่ยงแบบมี
ระยะอ๊อฟเซ็ต ทาให้เกิดแรง ระยะอ๊อฟเซ็ต จะลด
เสี ยดทาน ระหว่างลูกสูบกับ แรงเสี ยดทานระหว่าง
เสื้ อสูบมาก ลูกสูบกับเสื้ อสูบได้
อย่างดี ทาให้มีอตั รา
เร่ งตอบสนองดียงิ่ ขึ้น

9
ระบบส่ งกาลัง ( Transmission system )

ลูกปื น รองรับเพลา
เกียร์ ทั้ง 3 ชุด

ครี บเรื อนชุดเฟื องท้าย เฟื องเฉี ยง

ใช้ลูกปื นที่ปลายเพลาเกียร์ ท้ งั 3 เพลา เพือ่ ให้การทางานเกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด และใช้เฟื องเฉี ยงในชุด
เกียร์ ทาให้เสี ยงลดลง , ออกแบบครี บที่เรื อนชุดเฟื องท้ายให้มีรูปร่ างเหมาะสมเพือ่ ระบายความร้อนให้มีประสิ ทธิ ภาพ
ประสิ ทธิภาพการเผาไหม้ ( Combustion chamber )
การออกแบบท่อไอดี และช่องไอเสี ย (Cross section of intake and exhaust port shape)

ทางฝ่ ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ฯฮอนด้าได้ออกแบบให้ไอดี สามารถไหลผ่านช่องพอร์ ทไอดีได้อย่างรวดเร็ วเพือ่


ตอบสนองต่อการบิดคันเร่ งที่ความเร็ วระดับกลางและต่า

10
พอร์ ทไอดีที่เชื่ อมต่อกับห้องเผาไหม้ออกแบบใหม่ให้มีรูปทรงสมูท ช่วยให้อากาศในพอร์ ทไอดีไหลได้เร็ ว
ขึ้น การตอบสนองต่อการบิดของคันเร่ งจึงดีข้ ึน โดยเฉพาะที่ความเร็ วระดับกลางและต่า
เซ็ตเวลาการจุดระเบิด เพิม่ ความรวดเร็ วในการเผาไหม้โดยอาศัยพื้นที่ Squish ที่อยูต่ รงข้ามหัวเทียนช่วยให้
น้ ามันเชื้ อเพลิงผสมกับอากาศแล้วไหลลื่นควบคู่กบั การเพิม่ Knocking resistance

ช่ องพอร์ ทแบบธรรมดา ช่ องพอร์ ทแบบใหม่

ประสิ ทธิภาพการส่ งกาลัง ( Transmission )


ระบบวีเมติกส์ ( V - Matic )

เปรี ยบเทียบครี บระบายความร้อน

สายพานขับเคลื่อน ทาจากยางที่มีความยืดหยุน่ สู ง ทนทาน ส่ งกาลังขับเคลื่อนได้อย่างดีเยีย่ ม พูลเลย์ขบั ทา


จากอลูมิเนี ยมเฟสที่มีความเหนี ยวและแข็งสู งรองรับกับรู ปทรงของครี บระบายความร้ อนที่ติดตั้งไว้ส่งผลให้ประสิ ทธิ ภาพ
การระบายความร้อนดียงิ่ ขึ้น

11
ระบบหัวฉีด PGM - FI ( Programmed Fuel injection system )
องค์ประกอบสาคัญที่ขาดไม่ได้สาหรับ เครื่ องยนต์อจั ฉริ ยะ eSP นั้นคือระบบจ่ายน้ ามันแบบหัวฉี ด PGM-FI
เป็ นระบบจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงที่มีสมองกล ซึ่ งเรี ยกว่า ECM ( Engine Control Module ) คานวณปริ มาณและจังหวะเวลา
ในการฉี ดจ่ายน้ ามันอย่างเที่ยงตรงแม่นยากว่าระบบคาร์ บูเรเตอร์ เครื่ องยนต์จึงทางานเต็มกาลังเผาไหม้หมดจด ทาให้
สมรรถนะสู ง อากาศสะอาด และประหยัดน้ ามัน

ระบบระบายความร้ อนด้ วยนา้ แบบบิวท์ อิน ( Built - in Liquid cooling system )

ท่อทางน้ าผ่านมีประสิ ทธิ ภาพการระบายความร้อนสู ง ขนาดกะทัดรัด น้ าหนักเบา

หม้อน้ า ทาท่อทางน้ าผ่าน ( Core ) ที่มีประสิ ทธิ ภาพการระบายความร้อนสู ง


ออกแบบทิศทางการไหลของลมใหม่ ให้ลมที่ผ่าน
Rib หม้อน้ าแล้ว ไหลเคลื่อนที่ผ่านด้านหลังของเรื อน
เครื่ องยนต์และต่อไปยังตอนหลังของเครื่ องยนต์
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

ออกแบบตาแหน่ งปั๊ มน้ ามันเครื่ องและปั๊ มน้ าใหม่


ปั๊ มน้ ามันเครื่ อง ถูกติดตั้งไว้ภายในเรื อนเครื่ องยนต์
ส่ วนปั๊ มน้ าติดตั้งไว้ดา้ นบนของเพลาลูกเบี้ยวที่อยู่
ข้างฝาสู บ ทาให้ขนาดกะทัดรัดขึ้น

12
ระบบ Alternator / Starter
ระบบนี้เป็ นการรวมกันของระบบสตาร์ ทและระบบไฟชาร์ จเข้าไว้ดว้ ยกัน โดยเจนเนอเรเตอร์ จะทาหน้าที่
ทั้งสองระบบฯ ซึ่ งมีขอ้ ดีคือ ระบบไฟชาร์ จจะมีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าระบบทัว่ ไป นอกจากนี้ยงั ใช้ระบบอิเล็กทรอนิ กส์
อัจฉริ ยะ ที่สามารถคานวณสั่งการทางานของเครื่ องยนต์ได้อย่างแม่นยา และติดเครื่ องยนต์ดว้ ยเสี ยงที่นุ่มนวล

ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ
สกรู ยดึ จับชุดอัลเตอร์เนเตอร์

ฝาครอบเครื่ องยนต์
ขดลวดสเตเตอร์

โบ้ลท์ยดึ จับชุดอัลเตอร์เนเตอร์

13
อัลเตอร์ เนเตอร์ / สตาร์ ทเตอร์ (ALTERNATOR / STARTER)
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้ ได้นาเอาระบบ ACG STARTER มาใช้ซ่ ึ งระบบนี้ถูกออกแบบให้มีแรงเสี ยดทาน
น้อยที่สุด โดยการผสมผสานกันระหว่างระบบสตาร์ ท และระบบผลิตกระแสไฟฟ้ ารวมเข้าไว้ดว้ ยกัน ซึ่ งจะติดตั้ง
ACG STARTER ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาใหม่น้ ี จะทาให้การสตาร์ ทเป็ นไปอย่างนิ่มนวล และปราศจาก
เสี ยงขบของฟั นเฟื อง เนื่องจากระบบจะใช้สนามแม่เหล็กเป็ นตัวขับเพลาข้อเหวี่ยงโดยตรง
ระบบจะอาศัยหลักการดูดและผลักดันระหว่างแม่เหล็ก 2 ชุดคือชุดแม่เหล็กถาวรที่ติดตั้งอยูภ่ ายในล้อ
แม่เหล็ก ( FLYWHEEL ) และชุดที่สองเป็ นแม่เหล็กชัว่ คราว ที่เกิดจากการสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า ของชุดขด
ลวดสเตเตอร์ ( STATOR COIL ) แบบ 3 เฟส โดยปราศจากแปรงถ่าน ( BRUSHLESS )

โครงสร้ างของ ALTERNATOR / STARTER

แม่เหล็กถาวร

ชุดขดลวด

เพลาข้อเหวี่ยง ล้อแม่เหล็ก

การทางาน
ขณะสตาร์ ทเครื่องยนต์

3 2

1. ขณะสตาร์ ทเครื่ องยนต์กล่องควบคุม ( ECM ) จะปล่อยไฟฟ้ ากระแสสลับไปที่ชุดขดลวด เพือ่ ทาให้


เกิดการสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าชัว่ คราวขึ้น ที่ชุดขดลวด ( STATOR COIL )
2. ที่ลอ้ แม่เหล็ก ( FLYWHEEL ) จะมีแม่เหล็กถาวรติดตั้งอยู่ ดังนั้นจะเกิดการดูดและผลักดันกันระหว่าง
ขั้วแม่เหล็กทั้งสอง ทาให้ลอ้ แม่เหล็กหมุนขับเพลาข้อเหวี่ยงให้หมุนตาม จึงสามารถสตาร์ ทเครื่ องยนต์ได้

14
ขณะเครื่องยนต์ ทำงำน ( ชำร์ จไฟ )
หลังจากสตาร์ ทเครื่ องยนต์ติดแล้ว ( ปล่อยปุ่ มสตาร์ ท ) กล่องควบคุม ( ECM ) จะยกเลิกการจ่ายแรงเคลื่อน
ไฟฟ้ าไปยังชุดขดลวด ดังนั้นสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ชุดขดลวดจึงหมดไป

1 2

1. เมื่อเครื่ องยนต์สามารถสตาร์ ทติดได้แล้ว เพลาข้อเหวี่ยงจะเป็ นตัวขับล้อแม่เหล็ก


2. สนามแม่เหล็กถาวร ที่ติดตั้งอยูภ่ ายในล้อแม่เหล็กหมุนตัดกับชุดขดลวด ( STATOR COIL )
จะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น
3. กระแสไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นจะเป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับ แบบ 3 เฟส ส่ งไปยังเรคกูเลเตอร์ / เรคติไฟเออร์ ที่อยู่
ภายในกล่องควบคุม ( ECM ) เพือ่ ชาร์ จไฟเข้าไปเก็บในแบตเตอรี่ ( BATTERY ) และเลี้ยงระบบไฟฟ้ า
ทั้งหมดภายในรถจักรยานยนต์ ขณะที่เครื่ องยนต์ทางาน
กระบวนกำรเพิม่ และลดเส้ นแรงแม่ เหล็ก
แม่เหล็กถาวรถูกฝังอยูท่ ี่ ROTOR CORE ในล้อแม่เหล็ก มีหน้าที่เพิม่ และลดเส้นแรงแม่เหล็ก ดังนั้นขณะ
สตาร์ ทเครื่ องยนต์จะเป็ นการเพิม่ แรงดูด และผลักดัน ส่ วนขณะชาร์ จจะเป็ นการลดเส้นแรงแม่เหล็ก

ROTOR CORE

STATOR CORE
รู ปแสดง ขณะชุดขดลวดทาหน้าที่เป็ นมอเตอร์ สตาร์ ท

15
ROTOR CORE ติดตั้งอยูว่ งด้านในล้อแม่เหล็ก ภายในจะมีแม่เหล็กถาวรฝังอยู่ ทาหน้าที่เป็ นแกนสนาม
แม่เหล็กถาวร จะทางานเมื่อล้อแม่เหล็กหมุนตัดกับขดลวด
STATOR CORE ยึดติดอยูบ่ ริ เวณเรื อนเครื่ องยนต์ดา้ นขวา มีชุดขดลวดพันอยูโ่ ดยรอบสเตเตอร์ คอยล์
ทาหน้าที่เป็ นแกนสนามแม่เหล็กชัว่ คราวเมื่อมีการปล่อยให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน
สนามแม่เหล็กทั้งสองชุดนี้จะมีข้ วั แม่เหล็กที่ต่างกันทาให้เกิดการดูด และผลักดันซึ่ งกันและกัน จะมีมาก
หรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั สนามแม่เหล็กชัว่ คราวที่สร้างขึ้น แรงผลักดันที่เกิดขึ้นนี้จะไปทาให้เพลาข้อเหวี่ยงเกิดการเคลื่อน
ที่ในขณะสตาร์ ท
ROTOR CORE

STATOR CORE
รู ปแสดง ขณะที่ชุดขดลวดทาหน้าที่เป็ นเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า

เมื่อเครื่ องยนต์เริ่ มทางาน กล่องควบคุม จะยกเลิกการจ่ายไฟฟ้ าไปที่ชุดขดลวด ดังนั้นสนามแม่เหล็ก


ชัว่ คราวที่ถูกสร้างขึ้นจะหมดไป
แรงดูด และผลักดันที่ชุดขดลวด ( STATOR COIL ) ที่มีลอ้ แม่เหล็ก ก็จะลดน้อยลง ทาให้เครื่ องยนต์
สู ญเสี ยกาลังงานน้อยที่สุด

การหาตาแหน่ งศูนย์ ตายบน (TDC)


CKP SENSOR ติดตั้งเป็ นชุดเดียวกันกับชุดขดลวด ( STATOR COIL ) ทาหน้าที่เป็ นตัวตรวจจับความ
เร็ วรอบของเครื่ องยนต์ และองศาของเพลาข้อเหวี่ยง โดยช่องระหว่างชุดขดลวด จะมี HOLE IC อยู่ 4 ตัว คือ W,V
U และ PCB

เมื่อล้อแม่เหล็กหมุนตัดกับชุดขดลวด ( STATOR COIL ) จะเกิดกระแสไฟฟ้ าขึ้น ( ตามภาพด้านล่าง )


ขณะที่ คลื่นไฟฟ้ า PCB กระแสไฟเป็ น UP และ W ก็เป็ น UP ด้วย กล่องควบคุม ( ECM ) จะรับสัญญาณเป็ น
TDC ซึ่ งจากภาพเกิดขึ้นอยู่ 2 ช่วงคือ ศูนย์องศา กับ 360 องศา

16
17
ระบบสัญญาณกันขโมย (ANTI THIEF ALARM SYSTEM )

ในรุ่ นนี้ได้ติดตั้งระบบสัญญาณกันขโมย (ANTI THIEF ALARM SYSTEM ) ที่ควบคุมการสัง่ งานด้วย


รี โมทคอนโทรล ซึ่ งระบบฯ จะทางานโดยการจับการเคลื่อนที่ของตัวรถ

ส่ วนประกอบของระบบ
1. รี โมทคอนโทรล ( REMOTE CONTROL SWITCH )
2. เรื อนไมล์ ( SPEEDO METER )
3. หลอดไฟแสดงการทางาน ( ALARM INDICATOR )
4. สวิทช์ ( SWITCH )
5. สวิทช์จุดระเบิด ( IGNITION SWITCH )
6. รี เลย์ตอบรับคาสั่ง ( ANSWER BACK RELAY )
7. ไดโอด ( DIODE )

รี โมทคอนโทรล สวิทช์

หลอดไฟแสดงการทางาน
เรื อนไมล์

รี เลย์ตอบรับคาสั่ง

ไดโอด สวิทช์จุดระเบิด

18
1. รีโมทคอนโทรล ( REMOTE CONTROL SWITCH )
ทาหน้าที่เป็ นตัวส่ งสัญญาณ ควบคุมการเปิ ด-ปิ ดระบบสัญญาณกันขโมย

ไม่เกิน 20 เมตร

1.1 กดปุ่ ม " SET " เมื่อต้องการเปิ ดให้ระบบสัญญาณกันขโมยทางาน


1.2 กดปุ่ ม " UNSET " เมื่อต้องการยกเลิกระบบสัญญาณกันขโมย
1.3 ระยะการสั่งงานไม่เกิน 20 เมตร

2. เรือนไมล์ ( SPEEDO METER )


อุปกรณ์ระบบสัญญาณกันขโมย จะถูกติดตั้งอยูภ่ ายในชุดเรื อนไมล์ มีส่วนประกอบดังนี้
2.1 ตัวรับสัญญาณ ( RF RECEIVER ) ทาหน้าที่เป็ นตัวรับสัญญาณการสั่งงานจากรี โมทคอนโทรล
2.2 สัญญาณเสี ยง ( BUZZER ) ทาหน้าที่ส่งสัญญาณเสี ยงเตือน
2.3 ตัวตรวจจับการเคลื่อนที่ ( G SENSOR ) ทาหน้าที่ตรวจจับการเคลื่อนที่ของตัวรถ

SPEEDO METER
RF RECEIVER
BUZZER
G SENSOR

19
3. หลอดไฟแสดงการทางาน ( ALARM INDICATOR )

หลอดไฟแสดงการทางานของระบบสัญญาณกันขโมย ติดตั้งอยูท่ ี่เรื อนไมล์ ทาหน้าที่ แสดงการทางาน


ของระบบฯ โดยจะกะพริ บทุกๆ 1 วินาที

หลอดไฟแสดงการทางาน

4. สวิทช์ ที่เรือนไมล์ ( SWITCH )

ติดตั้งอยูบ่ นหน้าปั ดเรื อนไมล์ ทาหน้าที่เปิ ดระบบสัญญาณกันขโมยจากตัวรถ โดยกดปุ่ มค้างไว้ 2 วินาที


( สวิทช์จุดระเบิดต้องอยูท่ ี่ตาแหน่ ง " OFF " หรื อถอดกุญแจออก )

สวิทช์

หมายเหตุ สวิทช์ จุดระเบิด " ON " กดสวิทช์ จะเป็ นการปรับมาตรวัดระยะทาง ( TRIP )

20
5. สวิทช์ จุดระเบิด ( IGNITION SWITCH )

ทาหน้าที่เปิ ด - ปิ ดวงจรจุดระเบิด และสามารถยกเลิกระบบสัญญาณกันขโมยได้ โดยการเปิ ดสวิทช์


กุญแจไปที่ตาแหน่ ง " ON " ระบบสัญญาณกันขโมยจะถูกยกเลิกในทันที

สวิทช์จุดระเบิด

หมายเหตุ 1. ระบบสัญญาณกันขโมย จะไม่ ทางาน เมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยูใ่ นตาแหน่ ง " ON "


2. ระบบสัญญาณกันขโมย จะทางานได้ต่อเนื่อง 10 วัน หลังจากเปิ ดใช้งาน

6. รีเลย์ ตอบรับคาสั่ ง ( ANSWER BACK RELAY )

ติดตั้งอยูบ่ ริ เวณ ใต้ฝาครอบเรื อนไมล์ดา้ นหน้ารถ ทาหน้าที่ ตอบรับคาสั่งเปิ ด-ปิ ด ระบบสัญญาณกันขโมย


โดยการแจ้งเตือนไปที่ระบบสัญญาณไฟเลี้ยว

ANSWER BACK
RELAY

21
7. ไดโอด ( DIODE )
ติดตั้งอยูบ่ ริ เวณคอรถด้านขวา ทาหน้าที่ป้องกันไฟไหลย้อนกลับ ในวงจรไฟเลี้ยวในขณะเปิ ดสัญญาณไฟ
เลี้ยวซ้ายหรื อขวา

ไดโอด

การใช้ งาน
1. เมื่อปิ ดสวิทช์จุดระเบิด
2. กดปุ่ ม " SET " ที่รีโมทคอนโทรลหนึ่งครั้ง หรื อกดปุ่ ม " SWITCH " ที่เรื อนไมล์คา้ งไว้ 2 วินาที

SET SWITCH

ระบบสัญญาณกันขโมยจะเริ่ มทางาน โดย ANSWER BACK RELAY จะแสดงผลให้ทราบทางสัญญาณ


ไฟเลี้ยว กะพริ บ 1 ครั้งพร้อมสัญญาณเสี ยง หลังจากนั้นอีก 1 วินาที ALARM INDICATOR จะกะพริ บพร้อม
สัญญาณเสี ยง และALARM INDICATOR จะกะพริ บทุกๆ 1 วินาที ที่ระบบทางาน

22
เมื่อตัวตรวจจับการเคลื่อนที่ของรถ ( G SENSOR ) ตรวจพบการเคลื่อนที่หรื อการสั่นสะเทือน (ระยะสั้นๆ )
สัญญาณเสี ยงและสัญญาณไฟเลี้ยว จะทางานเป็ นเวลา 10 วินาที
ถ้าตัวตรวจจับการเคลื่อนที่ของรถ ตรวจพบการเคลื่อนที่หรื อการสั่นสะเทือนอย่างต่อเนื่อง สัญญาณเสี ยงและ
สัญญาณไฟเลี้ยว จะทางานเป็ นเวลา 60 วินาที และระบบจะทางานอย่างต่อเนื่องเมื่อตรวจพบการเคลื่อนที่หรื อการ
สั่นสะเทือนของรถ

3. เมื่อกดปุ่ ม " UNSET " ที่รีโมทคอนโทรล หรื อเปิ ดสวิทช์จุดระเบิด*


ระบบสัญญาณกันขโมย จะยกเลิกการทางาน โดย ANSWER BACK RELAY จะแสดงผลให้ทราบ
โดยสัญญาณไฟเลี้ยว พร้อมกับสัญญาณเสี ยง 2 ครั้ง ติดต่อกัน เป็ นการยืนยันคาสั่งยกเลิก

หมายเหตุ : กรณีเปิ ดสวิทช์ จุดระเบิดจะไม่ มีการแสดงผลผ่ านสั ญญาณไฟเลีย้ วและสั ญญาณเสี ยง

23
ระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ ในรอบเดินเบา
(IDLING STOP SYSTEM)

ระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา ติดตั้งเพือ่ ลดการสิ้ นเปลืองน้ ามันเชื้ อเพลิง และลดการปล่อย


ก๊าซไอเสี ยสู่ บรรยากาศโดยไม่จาเป็ น คือระบบจะหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ เมื่อหยุดรถจักรยานยนต์ ชัว่ ขณะ
หรื อระยะเวลาไม่นานมากนักเช่น การหยุดรถติดสัญญาณไฟแดง หรื อจอดทาธุ ระช่วงเวลาสั้นๆ

ส่ วนประกอบของระบบ
1. สวิทช์ควบคุมการทางาน
2. หลอดไฟแสดงการทางาน
3. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น
4. ตัวตรวจจับความเร็ วของรถ
5. ตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ ง
6. กล่องควบคุม ( ECM )

หลอดไฟแสดงการทางาน สวิทช์ควบคุมการทางาน ตัวตรวจจับตาแหน่งลิน้ เร่ ง

กล่องควบคุม ( ECM )

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น ตัวตรวจจับความเร็ วของรถ

รู ปแสดง ส่ วนประกอบระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา ( IDLING STOP SYSTEM )

24
1. สวิทช์ ควบคุมการทางาน
(IDLING STOP SWITCH)
ติดตั้งอยูท่ ี่สวิทช์แฮนด์ดา้ นขวา มีหน้าที่ควบคุมการเปิ ด - ปิ ด ของระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา
( IDLING STOP SYSTEM ) โดยผูข้ บั ขี่สามารถเลือกให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ดงั นี้
ตาแหน่ ง " IDLING STOP " ( เปิ ดระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา )
ตาแหน่ ง " IDLING " ( ปิ ดระบบ เครื่ องยนต์จะเดินเบาต่อเนื่อง )

" เปิ ด " ระบบ IDLING STOP SYSTEM " ปิ ด " ระบบ IDLING STOP SYSTEM

รู ปแสดง ตำแหน่งกำร " เปิ ด - ปิ ด " ระบบ IDLING STOP SYSTEM

2. หลอดไฟแสดงการทางาน
(STAND BY INDICATOR)
ติดตั้งอยูท่ ี่หน้าปั ดเรื อนไมล์ มีหน้าที่แสดงให้ผขู ้ บั ขี่ทราบว่าระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ใน
รอบเดินเบา ทางานอยู่ โดยหลอดไฟ STAND BY จะกะพริ บ และหลอดไฟหน้าจะหรี่ ลงจากปกติ

25
3. ตัวตรวจจับอุณหภูมินำ้ หล่ อเย็น
(ECT : ENGINE COOLANT TEMPERATURE SENSOR)
ติดตั้งอยูท่ ี่ฝาสู บด้านขวา มีหน้าที่ตรวจจับอุณหภูมิของน้ าหล่อเย็น ( อุณหภูมิของเครื่ องยนต์ ) แล้วส่ ง
สัญญาณการตรวจจับนี้ไปที่กล่องควบคุม( ECM )โดยระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา จะทางาน
ได้เมื่อเครื่ องยนต์มีอุณหภูมิสูงกว่า 60๐C

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ ำหล่อเย็น

4. ตัวตรวจจับควำมเร็วของรถ
(VS : VEHICLE SPEED SENSOR)
ติดตั้งอยูเ่ รื อนชุดเฟื องท้าย มีหน้าที่ตรวจจับการหมุนของเฟื องแล้วส่ งสัญญาณการหมุนออกไป 2 ทาง คือ
เรื อนไมล์เพือ่ แสดงความเร็ วของรถและกล่องควบคุมเพือ่ ควบคุมระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา
โดยเริ่ มต้นจากรถจักรยานยนต์จะต้องมีความเร็ วมากกว่า 10 กม./ชม. และหยุดนิ่งเป็ นเวลา 3 วินาที ระบบหยุดการทา
งานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา จึงจะทางาน

26
5. ตัวตรวจจับตำแหน่ งลิน้ เร่ ง
(TP : THROTTLE POSITION SENSOR )
ติดตั้งอยูท่ ี่เรื อนลิ้นเร่ ง ( ชุดตัวตรวจจับ ) มีหน้าที่ตรวจจับการเปิ ด-ปิ ดของลิ้นเร่ ง ถ้าลิ้นเร่ งถูกตรวจ
สอบพบว่ามีการเคลื่อนที่ ระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบาจะไม่ทางาน
ถ้าหากระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา ทางานอยู่ เครื่ องยนต์จะติดอีกครั้ง เมื่อ
ลิ้นเร่ ง เปิ ดมากกว่า 1 องศา เพือ่ เข้าสู่ สภาวะการทางานปกติ

ชุดตัวตรวจจับ

ตัวตรวจจับตาแหน่งลิน้ เร่ ง

6. กล่ องควบคุม ECM


(ENGINE CONTROL MODULE)
ติดตั้งอยูท่ ี่โครงตัวถังด้านในหน้าถังน้ ามันเชื้ อเพลิง มีหน้าที่ควบคุมระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์
ในรอบเดินเบา ( IDLING STOP SYSTEM ) ระบบสตาร์ ท ( STARTER SYSTEM ) ระบบไฟชาร์ จ ( CHARGE
SYSTEM ) ระบบจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงแบบหัวฉี ด ( PGM-FI ) ซึ่ งถือว่าเป็ นหัวใจของรถจักรยานยนต์รุ่นนี้

รู ปแสดง กล่องควบคุม ( ECM ) และ เรคกูเลเตอร์ / เรคติไฟเออร์

27
วงจรไฟฟ้าระบบหยุดการทางานของเครื่องในรอบเดินเบา
(SYSTEM DIAGRAM IDLING STOP SYSTEM)

การทางานของระบบหยุดการทางานของเครื่องยนต์ ในรอบเดินเบา
( IDLING STOP SYSTEM )

ระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบาใช้กล่องควบคุม ( ECM ) เป็ นศูนย์รวมการทางาน


ของเครื่ องยนต์ โดยรับสัญญาณจากตัวตรวจจับต่างๆ เพือ่ ประมวลผลการทางาน ขณะจอดรถซึ่ งเป็ นไปตามเงื่ อนไข
การทางาน และจะสั่งงานให้ อัลเตอร์ เนเตอร์ / สตาร์ ทเตอร์ ( ALTERNATOR / STARTER ) เพือ่ สตาร์ ทเครื่ องยนต์
หลังจากบิดคันเร่ ง โดยผูข้ บั ขี่ไม่ตอ้ งกดสวิทช์สตาร์ ท
เงื่อนไขการทางาน ระบบหยุดการทางานของเครื่องยนต์ ในรอบเดินเบา มีดงั นี้
1. เปิ ดสวิทช์เลือก " IDLING STOP " ( เปิ ดระบบ )
2. เครื่ องยนต์มีอุณหภูมิทางาน หรื อสู งกว่า 60 ๐C
3. รถจักรยานยนต์ตอ้ งมีความเร็ วเริ่ มต้นมากกว่า 10 กม./ชม.
4. รถจักรยานยนต์ตอ้ งหยุดนิ่ง เป็ นเวลา 3 วินาที
5. ผ่อนคันเร่ งให้สุด

28
ขณะหยุดรถจักรยานยนต์ ติดสัญญาณไฟแดงและอยูใ่ นเงื่ อนไขระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์
ในรอบเดินเบา เครื่ องยนต์จะดับ โดยหลอดไฟแสดงการทางาน ( STAND BY INDICATOR ) จะกะพริ บเพือ่ ให้
ผูข้ บั ขี่ทราบว่า ระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา ทางาน และไฟหน้าจะลดความสว่างลงเพือ่
ประหยัดไฟจากแบตเตอรี่

รู ปแสดง ขณะหยุดรถ

เมื่อต้องการขับขี่ ไม่ตอ้ งสตาร์ ทเครื่ องยนต์ เพียงแต่บิดคันเร่ ง ตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ งจะส่ งสัญญาณ
ไปที่กล่องควบคุม ( ECM ) อัลเตอร์ เนเตอร์/สตาร์ ทเตอร์ จะทางานพร้อมกับระบบจุดระเบิดทางาน เครื่ องยนต์ก็จะติด
หลอดไฟแสดงการทางาน ( STAND BY INDICATOR ) จะดับลง ไฟหน้าจะสว่างเป็ นปกติ

รู ปแสดง ขณะขับขี่ปกติ

และเนื่องจากรถรุ่ น PCX150 นี้ไม่มีสวิทช์เบาะนัง่ เพราะฉะนั้นหากสวิทช์แฮนด์ดา้ นขวาอยูใ่ นตาแหน่ ง


ตาแหน่ ง " IDLING STOP " ( เปิ ดระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบา ) ระบบหยุดการทางาน
ของเครื่ องยนต์ในรอบเดินเบาก็จะทางานตามปกติแม้จะไม่มีผขู ้ บั ขี่นง่ั อยูบ่ นเบาะนัง่
หมายเหตุ
การใช้ ขาตั้งข้ างขณะจอดรถ ระบบหยุดการทางานของเครื่องยนต์ ขณะเดินเบา จะไม่ ทางาน
คาเตือน : ควรดับเครื่องยนต์ และล็อคคอ ขณะจอดรถ เพือ่ ป้องกันการโจรกรรม

29
ระบบควบคุมการปล่ อยไอระเหยนา้ มันเชื้อเพลิง
(EVAPORATIVE EMISSION CONTROL SYSTEM)

รถจักรยานยนต์รุ่นใหม่ จะถูกออกแบบและพัฒนาให้เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมมากขึ้นโดยมีการ


ออกแบบและติดตั้งระบบควบคุมไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง ( Evaporative Emission Control System ) เพือ่
ทาให้ไอระเหยของน้ ามันเชื้ อเพลิงมีปริ มาณน้อยที่สุด ซึ่ งในการควบคุมไอระเหยของน้ ามันเชื้ อเพลิงภาย
ในถังจะถูกดูดซับและกาจัดก่อนปล่อยสู่ บรรยากาศ

ถังน้ ามันเชื้อเพลิง
กล่องดักไอระเหยน้ ามัน
เชื้อเพลิง

เรื อนลิ้นเร่ ง

โซลินอยด์ควบคุมการกาจัดไอ
ไอระเหยน้ามันเชื้อเพลิง
ระเหยน้ ามันเชื้อเพลิง
อากาศบริสุทธิ์

การทางาน
เมื่อเกิดไอระเหยของน้ ามันเชื้ อเพลิงภายในถังไอระเหยจะลอยขึ้นไปด้านบนของถัง และไหล
ผ่านท่อทางไปยังกล่องดักไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง ซึ่ งภายในกล่องนี้จะมีไส้กรองดูดซับประสิ ทธิ ภาพสู ง
ไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิงจะถูกไส้กรองดูดซับไว้ แล้วปล่อยอากาศดีออกสู่ บรรยากาศ
เมื่อติดเครื่ องยนต์และเมื่อเครื่ องยนต์ถึงอุณหภูมิทางาน กล่อง ECM จะสัง่ ให้ โซลินอยด์วาล์ว
เปิ ด เมื่อความเร็ วรอบของเครื่ องยนต์สูงเกินกว่า 4,500 รอบ / นาที ไอระเหยที่ถูกไส้กรองดูดซึ ม / ซับไว้
ก็จะถูกดูดผ่านท่อทาง ตามแรงดูดที่เกิดจากสู ญญากาศไปยังท่อไอดีเพือ่ นาเข้าไปสู่ กระบวนการเผาไหม้
ภายในห้องเผาไหม้ ซึ่ งจะเกิดขั้นตอนดังที่กล่าวมาแล้ววนเวียนไปเรื่ อยๆ
30
ส่ วนประกอบของระบบ

ระบบควบคุมไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิงของรถ


จักรยานยนต์รุ่น PCX150 ส่ วนประกอบของระบบจะอยู่
ตอนกลางของรถ บริ เวณถังน้ ามันเชื้ อเพลิง เมื่อถอดฝา
ครอบกลางตัวถังออกจะพบถาดรองน้ ามันเชื้ อเพลิง ให้ [1]
ถอดฝาถังและดึงถาดรองน้ ามันเชื้ อเพลิงออกจากถังได้

เมื่อถอดถาดรองถังน้ ามันเชื้ อเพลิงออกแล้ว [2]


จะมองเห็นโซลินอยด์วาล์วควบคุมการกาจัดไอระเหยน้ า
มันเชื้ อเพลิง ท่อรับไอระเหยน้ ามันเชื้อเพลิง
[1]ติดตั้งอยูบ่ ริ เวณหน้าถังน้ ามันฯ และกล่อง
ดักไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง
[2]ติดตั้งอยูบ่ ริ เวณด้านหลังของถังน้ ามัน

1. กล่องดักไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง[ Evaporative (EVAP) Emission Canister ]ภายในจะบรรจุ


ด้วยผงดูดซับประสิ ทธิ ภาพสู ง เป็ นผงถ่าน(Activated Cabon )ทาหน้าที่ดูดซึ ม/ซับไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง
ก่อนปล่อยอากาศที่สะอาดออกสู่ บรรยากาศ

31
รู ปแสดง ทิศทางการไหลของไอระเหยน้ าเชื้อเพลิงโดยผ่านกล่องดักไอระเหย

2. โซลินอยด์ควบคุมการกาจัดไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง ( EVAP Purge Control Solenoid Valve )


จะทาหน้าที่ควบคุมการไหลของไอระเหยที่ถูกดูดโดยสุ ญญากาศที่ท่อไอดีออกจากกล่องดักไอระเหยน้ ามัน
เชื้ อเพลิงไปเผาไหม้ในห้องเผาไหม้ของเครื่ องยนต์เมื่อเครื่ องยนต์ทางานกล่องECMจะสั่งให้โซลินอยด์เปิ ด
เมื่อเครื่ องยนต์มีความเร็ วรอบเกินกว่า 4,500 รอบ / นาที และอุณหภูมิเครื่ องยนต์ได้อุณหภูมิทางาน

EVAP Purge Control Solenoid Valve

ไปท่อไอดีเพื่อไปกาจัดโดยการเผาไหม้ ดูดจากกล่องดักไอระเหยฯผ่านท่อ PURGE

32
ระบบควบคุมไอเสีย ( EMISSION CONTROL SYSTEM )
แหล่งกาเนิ ดไอเสี ย
กระบวนการเผาไหม้ ก่อให้เกิดก๊าซคาร์ บอนมอนนอกไซด์ (CO) ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx)
และก๊าซไฮโดรคาร์ บอน (HC) การควบคุมการแพร่ กระจายของก๊าซไฮโดรคาร์ บอนนั้นมีความสาคัญเป็ น
อย่างยิง่ เนื่องจากก๊าซไฮโดรคาร์ บอนเป็ นสารเคมีที่เราสามารถมองเห็นได้ในรู ปแบบของควันเมื่อกระทบ
เข้ากับแสงอาทิตย์ ส่ วนก๊าซคาร์ บอนมอนนอกไซด์และไนโตรเจนออกไซด์เราไม่สามารถมองเห็นได้ใน
รู ปแบบของควัน แต่เป็ นก๊าซที่มีพิษต่อร่ างกาย
บริ ษทั ฮอนด้ามอเตอร์ จากัด ได้ใช้ประโยชน์หลายๆระบบ โดยมีจุดประสงค์เพือ่ ลดจานวนก๊าซ
คาร์ บอนมอนนอกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์และก๊าซไฮโดรคาร์ บอน ที่ออกมาจากเครื่ องยนต์เพือ่ ลดภาวะ
มลพิษ ซึ่ งก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนได้

ระบบควบคุมไอเสียจากห้ องเครื่ องยนต์ CECS ( Crankcase Emission Control System )

เรื อนลิ้นเร่ ง ท่อระบายจากห้องเครื่ องยนต์


เรื อนไส้กรองอากาศ

อากาศบริสุทธิ์
ไอเสี ยจากห้ องเครื่องยนต์

เครื่ องยนต์ถูกออกแบบเป็ นระบบปิ ด เพือ่ ป้ องกันไม่ให้ก๊าซพิษที่เกิดขึ้นภายในห้องเครื่ องยนต์


แพร่ กระจายสู่ บรรยากาศ ไอเสี ยที่ถูกระบายออกจากห้องเครื่ องยนต์จะถูกควบคุมให้ไหลย้อนกลับเข้าไป
ในห้องเผาไหม้ของเครื่ องยนต์ โดยผ่านเข้าด้านหลังเรื อนไส้กรองอากาศ

33
ไส้ กรองนา้ มันเชื้อเพลิง
ไส้กรองน้ ามันเชื้ อเพลิงสามารถกรองสิ่ งสกปรกที่มีขนาดตั้งแต่10 ไมครอนขึ้นไป
หมายเหตุ : เปลีย่ นไส้ กรองนา้ มันเชื้อเพลิงใหม่ ทุกๆ 48,000 กิโลเมตร
ก่อนการถอดปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิง จาเป็ นต้องทาการระบายแรงดันของน้ ามันเชื้ อเพลิงในระบบก่อน

การระบายแรงดันนา้ มันเชื้อเพลิง/การถอดปั๊ มนา้ มันเชื้อเพลิง


1. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตาแหน่ ง "OFF"
2. ถอดกล่องเก็บของอเนกประสงค์,กล่อง
แบตเตอรี่ ปลดขั้วต่อ 5P ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิง

ขั้วต่อ

3. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตาแหน่ ง "ON"
4. สตาร์ ทเครื่ องยนต์และปล่อยเดินเบาจนเครื่ องยนต์ดบั
5. ปลดสายขั้วลบ (-) แบตเตอรี่ ออก
6. ตรวจสอบความสกปรกของข้อต่อเร็ ว และทาความสะอาด
ถ้าจาเป็ น คลุมข้อต่อเร็ วด้วยผ้าที่สะอาด
[2] 7. ถอดข้อต่อเร็ วออกโดยการดันแถบปลดตัวล๊อค
[1]ให้เลื่อนไปด้านหน้าและกดตัวล๊อค[2]ลงจนสุ ด
[1]
8. ปลดข้อต่อเร็ วออกจากท่อทางน้ ามันที่ออกจากปั๊ มน้ ามัน
เชื้ อเพลิง ในขณะที่จบั เรื อนของข้อต่อไว้

ก่อนที่จะทาการถอดตัวปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงออก หลังจากที่ทาการลดแรงดันและถอดข้อต่อเร็ ว


ด้านปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงออกแล้ว ต่อไปต้องถอดกล่องกาจัดไอระเหยของน้ ามันเชื้ อเพลิง(EVAP CANISTER)
กล่องดักไอระเหยของน้ ามันเชื้ อเพลิง

9. คลายน๊อตยึดปั๊ มฯ 4ตัว ในรู ปแบบกากบาท จากนั้นถอดแผ่นยึดปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงออก


34
10. ดึงตัวปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงขึ้นมาทั้งชุดจนกระทัง่ ขอบ
ของใส่ กรองหลุดออกจากรู ที่ถงั น้ ามันเชื้ อเพลิง
หมุนตัวปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงจนกระทัง่ ตัวปั๊ มไส้กรองและ
ชุดเซ็นเซอร์ วดั ระดับน้ ามันหลุดออกจากถังน้ ามันเชื้ อเพลิง
ถึงขั้นตอนนี้ ระมัดระวังความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นกับชุด
เซ็นเซอร์ วดั ระดับน้ ามันเชื้ อเพลิง

การเปลีย่ นไส้ กรองนา้ มันเชื้อเพลิง


ตรวจสอบความเสี ยหายของตัวปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงเปลี่ยนปั๊ มตัว
ใหม่เมื่อจาเป็ น จากนั้นตรวจสอบไส้กรองน้ ามันเชื้ อเพลิงว่ามีการ
อุดตันหรื อฉี กขาดหรื อไม่ หากพบควรเปลี่ยนไส้กรองตัวใหม่

ไส้กรองน้ ำมันฯ
1.ถ่ำงขอเกี่ยวทั้งสองออก

2.หมุนกรองน้ ำมันเชื้อเพลิง
โอริ ง
ขอเกี่ยว

ปลดขอเกี่ยวของกรองน้ ามันเชื้ อเพลิงออกจากเดือยล๊อคโดยค่อยๆ ถ่างขอเกี่ยวทั้งสองออกแล้ว


หมุนกรองน้ ามันเชื้ อเพลิงตามเข็มนาฬิกา ดึงกรองน้ ามันเชื้ อเพลิงขึ้นและถอดกรองน้ ามันเชื้ อเพลิงออก
จากปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิง ถอดโอริ งออก ทาน้ ามันเครื่ องปริ มาณเล็กน้อยที่โอริ งอันใหม่แล้วประกอบโอริ ง

ประกอบกรองน้ ามันเชื้ อเพลิงอันใหม่ในตา-


แหน่ งที่ถูกต้องเพือ่ ให้เครื่ องหมายสามเหลี่ยมบน
ไส้กรองฯและที่เรื อนปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงตรงกัน เมื่อ
เกี่ยวขอเกี่ยวเข้ากับเดือยล๊อคหมุนกรองน้ ามันเชื้ อ
เพลิงทวนเข็มนาฬิกาจนกระทัง่ ขอเกี่ยวทั้งสองถูกยึด หมุนกรองน้ ำมันเชื้อเพลิงทวน
เข้ากับเดือยล๊อคจนเข้าที่พอดี ระวังอย่าให้เกิดความ
เสี ยหายกับชิ้นส่ วนดังกล่าวประกอบปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิง เครื่ องหมำยรู ปสำมเหลี่ยม ตรงกัน

35
การประกอบ

ทาน้ ามันเครื่ องปริ มาณเล็กน้อยที่ โอริ ง


โอริ งอันใหม่แล้วประกอบโอริ งเข้ากับปั๊ มน้ ามัน
เชื้ อเพลิงประกอบซี ลกันฝุ่ นอันใหม่ในตาแหน่ ง
ที่ถูกต้อง

ซีลกันฝุ่ น
ใส่ ลูกลอยเข้าไปในรู ของถังน้ ามันเชื้ อเพลิงใส่ ตวั ตรวจจับระดับน้ ามันเชื้ อเพลิงเข้าไปในถัง
ในขณะที่พบั ไส้กรองน้ ามันฯเข้าหากันระวังอย่าให้เกิดความเสี ยหายกับไส้กรองน้ ามันฯและแขนของลูก
ลอยจัดส่ วนล่างของปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงให้ชิดกับบริ เวณขอบรู ของถังน้ ามันเชื้ อเพลิงพลิกตะแคงตัวปั๊ ม
น้ ามันฯและใส่ ปั๊มน้ ามันฯเข้าไปในรู ของถังน้ ามันเชื้ อเพลิงให้สนิ ท

กดปั๊ มน้ ามันฯเข้าไปในถังน้ ามันฯให้ เขี้ยวล๊อคของปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงอยูใ่ นตาแหน่ งระหว่าง
สันขอบของรู ของถังน้ ามันฯ ประกอบแผ่นยึดปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิง 2 แผ่นโดยจัดให้เครื่ องหมาย “UP” ของ
แผ่นยึดทั้งสองหันขึ้นในขณะที่กดปั๊ มน้ ามันฯลง ประกอบและขันน๊อตยึดแผ่นยึดปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิง

เครื่ องหมาย " UP "

ในลักษณะกากบาทให้แน่ นตามอัตราการขันแน่ นที่กาหนด ต่อข้อต่อเร็ วและขั้วต่อ5P จากนั้นประกอบ


ชิ้นส่ วนต่างๆย้อนกลับตามลาดับการถอดให้ถูกต้อง
อัตราการขันแน่ น : 12 นิวตัน-เมตร (1.2 กก.-ม., 9 ฟุต-ปอนด์ )
36
ระยะห่ างวาล์ ว
การตรวจสอบ
• ตรวจสอบและปรับตั้งระยะห่ างวาล์วในขณะที่เครื่ องยนต์เย็น (อุณหภูมิต่ากว่า 350C / 950F)ถอดชิ้นส่ วน
ต่อไปนี้
โบ้ลท์
- ฝาครอบข้าง, ตะแกรงกันหม้อน้ า, ฝาครอบฝาสู บ,
โบ้ลท์ 3 ตัวที่ฝาครอบช่องระบายอากาศ และทาการ
ถอดฝาครอบช่องระบายอากาศออก
- ถอดโบ้ลท์ยดึ หม้อน้ า 4 ตัวพร้อมแหวนรองออกและ
ขยับหม้อน้ าออกเพือ่ ให้สามารถมองเห็นพัดลม
ระบายความร้อนได้อย่างชัดเจน ฝาครอบช่องระบายอากาศ

ข้ อควรจา
•ไม่จาเป็ นต้องปลดท่อน้ าออกจากหม้อน้ า
หมุนเพลาข้อเหวี่ยงตามเข็มนาฬิกาอย่างช้าๆ และ เครื่ องหมาย จุด
จัดให้ รอยบากของพัดลมระบายความร้อนตรงกับ
เครื่ องหมายบนฐานยึดหม้อน้ า
เครื่ องหมาย ขีด

ต้องแน่ ใจว่าเครื่ องหมายจุดของเพลาลูกเบี้ยวและ


ขีดเครื่ อง หมายของฝาสู บตรงกัน
ต้องแน่ ใจว่าลูกสู บอยูท่ ี่ตาแหน่ งศูนย์
ตายบนในจังหวะอัด ตาแหน่ งนี้สามารถยืนยันได้
โดยการตรวจสอบระยะฟรี ของกระเดื่องวาล์ว
(ท่านสามารถขยับกระเดื่องวาล์วได้เล็กน้อย) แต่
ถ้าไม่มีระยะฟรี (กระเดื่องวาล์วแน่ น) เป็ นเพราะ รอยบาก
ว่าลูกสู บกาลังเคลื่อนผ่านจังหวะคายไปตาแหน่ ง
ศูนย์ตายบน
หมุนเพลาข้อเหวี่ยงหนึ่งรอบเต็มทวน
เข็มนาฬิกาอย่างช้าๆและจัดให้รอยบากของพัดลม
เครื่ องหมาย
ระบายความร้อนตรงกับเครื่ องหมายบนฐานยึด หม้อน้ า
หม้อน้ า

37
เช็คระยะห่ างวาล์วโดยสอดฟิ ลเลอร์ เกจเข้าระหว่างสกรู ปรับตั้งระยะห่ างวาล์วกับก้านวาล์ว
ระยะห่ างวาล์ ว : ไอดี : 0.10 มม. + 0.02 มม.
ไอเสี ย : 0.24 มม. + 0.02 มม.

สกรู ปรับตั้ง

ประแจปรับตั้งวาล์ว
ฟิ ลเลอร์เกจ ฟิ ลเลอร์เกจ

หมุนเครื่ องยนต์ตรวจสอบระยะห่ างวาล์วอีกครั้ง จากนั้นประกอบชิ้นส่ วนต่างๆ กลับตาแหน่ งเดิม

ตารางแสดงค่ ามาตรฐานระยะห่ างวาล์ วของรถจักรยานยนต์ ฮอนด้ ารุ่นต่ างๆ


ระยะห่ างวาล์ วมาตรฐาน
รุ่นรถจักรยานยนต์
วาล์ วไอดี วาล์ วไอเสี ย
Wave 100, Wave125, Wave125i V.1-2 0.05 + 0.02 มม. 0.05 + 0.02 มม.
Wave125i V.3 0.10 + 0.02 มม. 0.10 + 0.02 มม.
Sonic125 0.06 + 0.02 มม. 0.27 + 0.02 มม.
Phantom200 0.10 + 0.02 มม. 0.10 + 0.02 มม.
Click110, Air Blade110 0.16 + 0.02 มม. 0.25 + 0.02 มม.
Click110i, Air Blade110i 0.14 + 0.02 มม. 0.20 + 0.02 มม.
Click125i 0.10 + 0.02 มม. 0.24 + 0.02 มม.
CZ110i, Wave110i, Dream110i 0.10 + 0.02 มม. 0.10 + 0.02 มม.
Icon, Scoopy i 014 + 0.02 มม. 0.14 + 0.02 มม.
Spacy i 0.16 + 0.02 มม. 0.16 + 0.02 มม.
PCX125 0.10 + 0.02 มม. 0.24 + 0.02 มม.
PCX150 0.10 + 0.02 มม. 0.24 + 0.02 มม.
CBR150R (ทั้งคาร์ บูเรเตอร์ และหัวฉีด) 0.16 + 0.03 มม. 0.25 + 0.03 มม.
CBR250R 0.16 + 0.03 มม. 0.27 + 0.03 มม.

38
ระบบจ่ ายนา้ มันเชื้อเพลิงแบบหัวฉีด ( PGM-FI )
ส่ วนประกอบของระบบ PGM - FI
1. ตัวตรวจจับสั ญญาณ (Sensor)
1.1 ตัวตรวจจับแรงดันสัมบูรณ์ในท่อไอดี (MAP sensor)
1.2 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ (IAT sensor)
1.3 ตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ ง (TP sensor)
1.4 ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น (ECT sensor)
1.5 ตัวตรวจจับตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยง (CKP sensor)
1.6 ตัวตรวจจับปริ มาณออกซิ เจน (O2 sensor)
2. ปั๊ มนา้ มันเชื้อเพลิง (Fuel Pump)
3. หัวฉีด (Injector)
4. วาล์ วควบคุมอากาศรอบเดินเบา ( IACV : Idle Air Control Valve )
5. หลอดไฟแสดงความผิดปกติ (MIL : Malfunction Indicator Lamp)
6. กล่ องควบคุมการทางานของเครื่องยนต์ ( ECM : Engine Control Module)
7. เรือนลิน้ เร่ ง (Throttle Body)

ECM ขั้วตรวจสอบ DLC


สวิทช์จุดระเบิด
หัวฉีด วาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบา

วาล์วโซลินอยด์
ควบคุมการไหล
ของไอน้ ามัน
ระบบ EVAP
ตัวตรวจจับความเร็ วของรถ
ปั๊มน้ ามันเชื้อเพลิง ตัวตรวจจับตาแหน่งเพลาข้อเหวี่ยง
ตัวตรวจจับปริ มาณออกซิเจน
สวิทช์ขาตั้งข้าง
ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น
รู ปแสดง ส่ วนประกอบของระบบ PGM-FI

39
1. ตัวตรวจจับสัญญาณ ( SENSOR )
มีหน้าที่ตรวจจับความเปลี่ยนแปลงสภาวะต่างๆ ของเครื่ องยนต์ เพือ่ ส่ งข้อมูลต่างๆ ไปยังกล่อง
ECM แล้วนาข้อมูลเหล่านั้น ไปประมวลผลเพือ่ หาปริ มาณการฉี ด และจังหวะในการจุดระเบิดที่เหมาะสม
ซึ่ งตัวตรวจจับเหล่านี้มีความสาคัญต่อระบบ PGM - FI เป็ นอย่างยิง่

ในรถจักรยานยนต์รุ่น PCX150 นี้ ได้มีการติดตั้งตัวตรวจจับสัญญาณ ต่างๆ ดังนี้


1.1 ตัวตรวจจับแรงดันสั มบูรณ์ ในท่ อไอดี : MAP sensor
( Manifold Absolute Pressure Sensor )
ทาหน้าที่ตรวจจับแรงดันภายในท่อไอดี
แล้วเปลี่ยนเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ า ส่ งข้อมูล
ชุดตัวตรวจจับ
ไปยังกล่อง ECM เพือ่ ทาหน้าที่ประมวลผล
หาปริ มาณของอากาศเพือ่ กาหนดระยะเวลา
ในการฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิงขั้นพื้นฐาน
ตัวตรวจจับแรงดันในท่อไอดี

ตัวตรวจจับแรงดันในท่อไอดี เป็ นความต้านทานที่เปลี่ยนแปลงได้แบบสารกึ่งตัวนา ติดตั้งอยู่


ด้านหลังของลิ้นปี กผีเสื้ อ เพือ่ ตรวจจับแรงดันของอากาศ ก่อนเข้าเครื่ องยนต์ แล้วเปลี่ยนแรงดันอากาศ
เป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ าส่ งไปยังกล่อง ECM เพือ่ ประมวลผลหาปริ มาณอากาศ และรอสัญญาณตาแหน่ งเพลา-
ข้อเหวี่ยงของเครื่ องยนต์ ซึ่ งเป็ นข้อมูลในการสั่งจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงขั้นพื้นฐานให้เหมาะสมกับความต้องการ
ของเครื่ องยนต์ ในสภาวะนั้นๆ

ตัวตรวจจับแรงดัน
(ซิลิโคน ไดอะแฟรม) ECM OUTPUT VOLTAGE

5V
MAP SENSOR 5V 3.41V

OUTPUT
VOLTAGE

แอมปลิไฟเออร์ 0.5V
13 kPa 120 kPa
ทางเข้าสุ ญญากาศ LOW HIGH
PRESSURE

ถ้าตัวตรวจจับแรงดันในท่อไอดี ส่ งสัญญาณไปยังกล่อง ECM แล้วประมวลผลพบว่าแรงดัน


ในท่อไอดีสูงแสดงว่าขณะนั้นมีปริ มาณอากาศมาก กล่อง ECM จะสั่งจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงมาก และในทาง
กลับกันถ้าแรงดันในท่อไอดีต่าปริ มาณอากาศจะน้อย กล่อง ECM จะสั่งจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงน้อย

40
1.2 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ : IAT sensor ( Intake Air Temperature Sensor )

ชุดตัวตรวจจับ
ทาหน้าที่ตรวจจับอุณหภูมิของอากาศที่บรรจุเข้า
กระบอกสู บ แล้วเปลี่ยนเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ า
ส่ งไปยังกล่อง ECM เพือ่ ปรับเปลี่ยนระยะเวลา
ในการฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิงให้เหมาะสม
ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ

ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศเป็ นเทอร์ มิสเตอร์ ที่สามารถตรวจจับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของอากาศ


ได้ถึงแม้จะ เป็ นความร้อนแค่เล็กน้อย จะติดตั้งอยูด่ า้ นหน้าของลิ้นปี กผีเสื้ อ เพือ่ ตรวจสอบอุณหภูมิของอากาศ
ที่บรรจุเข้ากระบอกสู บ

THERMISTOR

ECM OUTPUT VOLTAGE

5V
4.63V
IAT SENSOR
INPUT
VOLTAGE

0.47V
INTAKE AIR
TEMPERATURE
-20๐ C 100๐ C

เนื่องจากอุณหภูมิของอากาศจะมีผลต่อความหนาแน่ นของอากาศ การที่อุณหภูมิของอากาศไม่คงที่


จะทาให้ความหนาแน่ นของอากาศเปลี่ยนแปลงไปด้วย ส่ งผลให้การจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงผสมกับอากาศผิดพลาด
จึงจาเป็ นต้องมีตวั ตรวจจับอุณหภูมิอากาศก่อนเข้าเครื่ องยนต์ แล้วส่ งข้อมูลให้กบั กล่อง ECM เพือ่ หาปริ มาณ
อากาศที่แท้จริ ง แล้วสั่งจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงในปริ มาณที่เหมาะสมกับปริ มาณอากาศในขณะนั้น

41
1.3 ตัวตรวจจับตำแหน่ งลิน้ เร่ ง : TP sensor ( Throttle Position Sensor )

ชุดตัวตรวจจับ ทาหน้าที่ตรวจจับตาแหน่ งการเปิ ด - ปิ ด ของ


ลิ้นเร่ งแล้วเปลี่ยนเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ าส่ ง
ข้อมูลไปยังกล่อง ECM เพือ่ ประมวลผลหา
ปริ มาณการจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงให้เหมาะสมกับ
ความต้องการของเครื่ องยนต์ในขณะนั้น และ
ตัวตรวจจับตาแหน่งลิน้ เร่ ง
ยังส่ ง ข้อมูลสั่งตัดการจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงขณะ
ผ่อนคันเร่ งโดยเปรี ยบเทียบกับสัญญาณ
ของตัวตรวจจับตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยง และสัญญาณของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น
ตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ ง จะบอกถึงการเปิ ด - ปิ ด ของลิ้นเร่ ง แล้วส่ งเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ า
ซึ่ งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของความต้านทาน ที่ติดตั้งอยูท่ ี่ส่วนปลายของเพลาลิ้นเร่ ง

ความต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ OUTPUT VOLTAGE


ECM

TP SENSOR 5V 4.76 V
OUTPUT
VOLTAGE

0.29 V
FULL CLOSE ( IDLE ) FULL OPEN
หน้าสัมผัส THROTTLE VALVE OPENING DEGREE

เมื่อลิ้นเร่ งอยูใ่ นตาแหน่ งปิ ดสุ ด ชุดหน้าสัมผัสการเปิ ดลิ้นเร่ ง ซึ่ งต่อที่ส่วนปลายของเพลาลิ้นเร่ ง


ที่ตาแหน่ งนี้จะมีความต้านทานมาก ทาให้ไฟที่จ่ายมาจากขั้ว VCC 5 โวลท์ ไหลผ่านความต้านทานมากจึงทาให้
กระแสไฟไหลกลับไปที่กล่อง ECM ที่ข้ วั THR น้อย( 0.29 โวลท์ )ในตาแหน่ งนี้กล่อง ECM จะสั่งให้หวั ฉี ด
จ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงน้อย
เมื่อบิดคันเร่ งมากขึ้น ชุดหน้าสัมผัสการเปิ ดลิ้นเร่ ง จะเคลื่อนที่เข้าหาขั้ว VCC มากขึ้น ทาให้
ค่าความต้านทานระหว่างขั้ว VCC กับ THR ลดลง ทาให้กระแสไฟฟ้ าไหลกลับไปที่กล่อง ECM ที่ข้ วั THR
มากขึ้น ทาให้กล่อง ECM จ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงมากขึ้น ถ้าลิ้นเร่ งเปิ ดสุ ด ความต้านทานจะน้อยที่สุดทาให้ไฟ
ไหลกลับไปที่กล่อง ECM ได้มากที่สุด ( 4.76 โวลท์ ) กล่อง ECM จะสั่งจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิงสู งสุ ด

42
1.4 ตัวตรวจจับอุณหภูมินำ้ หล่ อเย็น : ECT sensor ( Engine Coolant Temperature Sensor )

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ ำหล่อเย็น

ทาหน้าที่ตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น แล้วเปลี่ยนเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้ าส่ งเข้ากล่อง ECM เพือ่


เพิม่ หรื อลดปริ มาณการฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิง ให้เหมาะสมกับอุณหภูมิของเครื่ องยนต์

THERMISTOR

ECM INPUT VOLTAGE


EOT SENSOR 5V
4.54 V

INPUT
VOLTAGE

0.63 V ENGINE OIL


-20๐ C 100๐ C TEMPERATURE

ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น ติดตั้งอยูท่ ี่ฝาสู บด้านขวา บริ เวณปั๊ มน้ า ภายในประกอบด้วย


ความต้านทานที่เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิแบบค่าสัมประสิ ทธิ์ เป็ นลบ กล่าวคือเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นความต้านทาน
จะลดลง จากคุณสมบัติดงั กล่าวจะถูกนาไปใช้เปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้ า ที่ส่งเข้ากล่อง ECM เพือ่ เป็ นข้อมูล
ในการประมวลผลหาปริ มาณการฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิงที่เหมาะสมกับอุณหภูมิของเครื่ องยนต์ขณะนั้น

43
1.5 ตัวตรวจจับตำแหน่ งเพลำข้ อเหวีย่ ง : CKP sensor ( Crankshaft Position Sensor )

ภาพแสดง ตัวตรวจจับตาแหน่งเพลาข้อเหวี่ยง : CKP Sensor

ทาหน้าที่ตรวจจับตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยง แล้วส่ งสัญญาณทางไฟฟ้ าเข้ากล่อง ECM เพือ่ เป็ น


ข้อมูลพื้นฐาน ในการประมวลผลหาอัตราการฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิง และกาหนดจังหวะจุดระเบิดให้เหมาะสมกับ
การทางานของเครื่ องยนต์ รวมถึงส่ งสัญญาณความเปลี่ยนแปลงของตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยงไปพร้อมกันด้วย
เพือ่ เปรี ยบเทียบตาแหน่ งในแต่ละจุดว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพียงใด กล่อง ECM จะรู ้ถึงความเปลี่ยนแปลงนั้น
เพือ่ ที่จะประมวลผลให้เหมาะสมและทันต่อสภาวะของเครื่ องยนต์

1.6 ตัวตรวจจับปริมำณออกซิ เจน : O2 sensor ( Oxygem Sensor )

ตัวตรวจจับปริ มาณออกซิเจน

44
ทาหน้าที่ตรวจจับปริ มาณออกซิ เจน ในไอเสี ยที่เครื่ องยนต์ปล่อยออกมา แล้วเปลี่ยนเป็ นสัญญาณทาง
ไฟฟ้ า ส่ งเข้า ECM เพือ่ เพิม่ หรื อลดปริ มาณการฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิง ให้เหมาะสมกับการทางานของเครื่ องยนต์
ตัวตรวจจับปริ มาณออกซิ เจน ติดตั้งอยูท่ ี่ฝาสู บบริ เวณปากท่อไอเสี ยด้านซ้าย ภายในประกอบด้วยแผ่น
เซอร์ โคเนี ย ( ZIRCONIA ) ที่ฉาบด้วยแพลทินม่ั ( PLATINUM ) ซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นรู รอบๆ เพือ่ ตรวจจับก๊าซไอเสี ย
ที่เกิดจากการเผาไหม้ในขณะนั้น ว่าเครื่ องยนต์เผาไหม้สมบูรณ์เพียงใด ถ้าเครื่ องยนต์เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ตวั ตรวจ
จับปริ มาณออกซิ เจนจะไม่สามารถตรวจจับออกซิ เจนในก๊าซไอเสี ยได้กล่อง ECM ก็จะสั่งลดปริ มาณการฉี ดน้ ามัน
เชื้ อเพลิงให้น้อยลงจนกว่าจะจับปริ มาณออกซิ เจนในก๊าซไอเสี ยได้
และในทางกลับกันถ้าตัวตรวจจับปริ มาณออกซิ เจนในก๊าซไอเสี ยพบปริ มาณออกซิ เจนมากกล่องECM
จะเพิม่ ปริ มาณการฉี ดให้สมั พันธ์กบั การทางานของเครื่ องยนต์

ATMOSPHERE
(บรรยำกำศ)

WHITE GOLD-COATED POLE


( ATMOSPHERE SIDE )
เคลือบทองคำขำว
(ด้ำนบรรยำกำศ)
ZIRCONIA DEVICE ( สำรประกอบเซอร์ โคเนีย)

WHITE GOLD-COATED POLE


( EXHAUST SIDE )
เคลือบทองคำขำว (ด้ำนไอเสี ย)

ELECTROMOTIVE ( VOLTAGE )
ECM HIGH
O2 SENSOR
INPUT RICH AIR/FUEL RATIO
VOLTAGE PERFECT AIR/FUEL RATIO

LEAN AIR/FUEL RATIO

LOW
INTAKE IGNITION INTAKE IGNITION
PROCESS
COMPRESSION EXHAUST COMPRESSION EXHAUST

ข้อควรระวัง :
- ห้ ามใช้ นา้ มันเครื่อง จาระบี นา้ หรือสารละลายอืน่ ๆทุกชนิด ใส่ ไปในรู อากาศตัวตรวจจับปริมาณออกซิ เจน
- ห้ ามใช้ นา้ มันเครื่อง จาระบี นา้ หรือสารละลายอืน่ ๆทุกชนิด ใส่ ภายในปลัก๊ ตัวตรวจจับปริมาณออกซิ เจน
- ต้ องเปลีย่ นตัวตรวจจับปริมาณออกซิ เจนใหม่ เมื่อตก - หล่ น

45
2. ปั๊ มนำ้ มันเชื้อเพลิง ( Fuel Pump )

ไปยังหัวฉีด
ตัวควบคุมแรงดัน

ลิน้ กันกลับ

ขดลวดอาร์เมเจอร์

เรื อนปั๊ม

ไส้กรองน้ ามันเชื้อเพลิง
ใบพัด
ตัวอย่างภาพอธิบายโครงสร้างภายในปั๊มน้ ามันเชื้อเพลิง กรองน้ ามันเชื้อเพลิงสามารถกรองสิ่ งสกปรกที่มี
ขนาดตั้งแต่ 10 ไมครอนขึ้นไป และยังถอด
เปลี่ยนใหม่ได้ (เปลี่ยนทุกๆ 48,000 กม.)

ติดตั้งอยูภ่ ายในถังน้ ามันเชื้ อเพลิง ทาหน้าที่ดูดน้ ามันจากถังส่ งไปยังหัวฉี ดตลอดเวลา


ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงเป็ นแบบใบพัด ( Turbine ) ทางานด้วยมอเตอร์ แบบ DC. 12 V. จ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิง
ด้วยอัตราการไหลคงที่ แรงดัน 294 kPa (กิโลปาสคาล ) หรื อ 3.0 Kgf / cm2 โดยท่อดูดของปั๊ มจะอยูท่ ี่จุดต่าสุ ดของ
ถังน้ ามันเชื้ อเพลิง และจะมีกรองน้ ามันเชื้ อเพลิงเพือ่ กรองสิ่ งสกปรกที่มีขนาดตั้งแต่ 10 ไมครอนขึ้นไป โดยที่ปั๊ม
น้ ามันเชื้ อเพลิง จะถูกสั่งงานโดยกล่อง ECM
ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงจะจ่ายน้ ามันด้วยอัตราการไหลคงที่ตลอดเวลา แต่การทางานของเครื่ องยนต์ตอ้ ง
การปริ มาณน้ ามันไม่คงที่ ดังนั้นจึงต้องมีการควบคุมแรงดันในระบบโดยใช้ตวั ควบคุมแรงดันซึ่ งติดตั้งอยูก่ บั ปั๊ ม
น้ ามันเชื้ อเพลิง ก่อนที่จะส่ งไปยังหัวฉี ดทาให้ไม่มีน้ ามันส่ วนเกินไปยังหัวฉี ด เพราะน้ ามันเชื้ อเพลิงส่ วนที่เกินนี้
จะถูกปล่อยกลับถังน้ ามันเชื้ อเพลิง แล้วนากลับมาใช้ใหม่
ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงประกอบด้วย ขดลวดอาร์ เมเจอร์ , มอเตอร์ , ชุดปั๊ ม, ใบพัด, ห้องปั๊ มน้ ามัน, ลิ้นกัน
กลับ, ท่อทางดูดและท่อทางจ่าย ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงจะทางานทุกครั้งที่เปิ ดสวิทช์กุญแจ โดยกล่อง ECM จะสั่งให้
ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงทางานเป็ นเวลา 2 วินาทีแล้วตัดการทางานและจะทางานอีกครั้งเมื่อมีสญ ั ญาณตาแหน่ งเพลา
ข้อเหวี่ยง ส่ งมาที่กล่อง ECM
ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงจะทางานตามสัญญาณตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยง และจะหยุดโดยอัตโนมัติเมื่อไม่มี
สัญญาณตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยง ส่ งมาที่กล่อง ECM และแรงดันน้ ามันในระบบจะถูกรักษาไว้โดยลิ้นกันกลับ

46
3. หัวฉีด ( Injector )
ทาหน้าที่ฉีดน้ ามันเชื้ อเพลิงให้เป็ นฝอยละออง เพือ่ ผสมกับอากาศบริ เวณท่อไอดี ก่อนผ่านวาล์วไอดี
เข้าสู่ กระบอกสู บ หัวฉี ดที่ใช้เป็ นแบบไฟฟ้ าคือบังคับการเปิ ดของหัวฉี ดโดยโซลินอยด์สร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า
เพือ่ ยกเข็มหัวฉี ดขึ้น และปิ ดโดยใช้แรงดันสปริ ง

การทางาน
น้ ามันเชื้ อเพลิงจากถังน้ ามันจะถูกสร้างแรงดันให้สูงขึ้นด้วยปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงควบคุมแรงดัน โดย
ตัวควบคุมแรงดันแล้วส่ งน้ ามันไปยังหัวฉี ด โดยผ่านตะแกรงกรองที่อยูด่ า้ นบน ลงไปยังเข็มหัวฉี ดที่ปลายด้านล่าง
ของหัวฉี ด ซึ่ งในขณะที่หวั ฉี ดยังไม่ทางาน เข็มหัวฉี ดจะถูกสปริ งดันให้แนบสนิ ทอยูก่ บั บ่าของเข็มหัวฉี ด จังหวะ
นี้จะไม่มีการฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิง
กล่อง ECM จะสั่งให้หวั ฉี ดทางานโดยต่อวงจรไฟฟ้ าที่มาจากหัวฉี ดลงกราวนด์ ทาให้โซลินอยด์
เกิดสนามแม่เหล็ก ดูดพลังเยอร์ ที่อยูต่ รงกลางขึ้น เข็มหัวฉี ดที่ติดเป็ นชุดเดียวกับพลังเยอร์ ก็จะยกตัวขึ้นจากบ่า
ของเข็มหัวฉี ด ทาให้น้ ามันเชื้ อเพลิงที่มีแรงดันสู ง ( 294 kPa ) ถูกฉี ดออกมาในลักษณะเป็ นฝอยละออง
เพือ่ ผสมกับอากาศก่อนเข้าสู่ กระบอกสู บ

ภาพแสดง การทางานของหัวฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง

หมายเหตุ : ถ้าต่อวงจรไฟฟ้ าของชุดหัวฉี ดลงกราวนด์นาน จะทาให้เข็มของหัวฉี ดเปิ ดนาน ส่ งผลให้ปริ มาณ


ของน้ ามันเชื้ อเพลิงที่ฉีดออกมามีปริ มาณมากตามไปด้วย

47
4. วาล์ วควบคุมอากาศรอบเดินเบา : IACV ( Idle Air Control Valve )
ทาหน้าที่ควบคุมปริ มาณอากาศที่เข้าสู่ เครื่ องยนต์โดยไม่ผ่านทางลิ้นเร่ ง โดยทาให้วาล์วควบคุม
อากาศรอบเดินเบาเคลื่อนที่ สอดคล้องกับสัญญาณเข้าที่มาจากกล่อง ECM เพือ่ ที่จะรักษาความเร็ วรอบของ
เครื่ องยนต์ให้ได้ตามที่กาหนดไว้ที่ 1,700 ± 100 รอบต่อนาที
วงจรบายพาสของเรื อนลิน้ เร่ ง

ชุดวาล์วควบคุม
อากาศรอบเดินเบา

ตาแหน่งการไหลของอากาศสูงสุ ด ตาแหน่งการไหลของอากาศต่าสุ ด
ที่วาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบา ที่วาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบา

การทางาน
เมื่อเปิ ดสวิทช์กุญแจกล่อง ECM จะสัง่ ให้มอเตอร์ ปรับระยะดึงวาล์วควบคุมอากาศเข้าหาตัวมอเตอร์
ในขณะที่ทาการตรวจวัดอุณหภูมิน้ าหล่อเย็นของเครื่ องยนต์ กล่อง ECM จะทาให้มอเตอร์ ปรับระยะหมุนเพือ่
เลื่อนวาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบากลับคืนตาแหน่ งที่เหมาะสม ซึ่ งเป็ นตาแหน่ งที่มีปริ มาณของอากาศที่เข้ามา
เพียงพอต่อการสตาร์ ทติดเครื่ องยนต์ได้
เมื่อเครื่ องยนต์ยงั ไม่ถึงอุณหภูมิทางาน กล่อง ECM จะควบคุมตาแหน่ งของวาล์วควบคุมอากาศ
รอบเดินเบาเพือ่ ที่จะเพิม่ ปริ มาณของอากาศที่เข้ามา เพือ่ ให้ความเร็ วรอบของเครื่ องยนต์ถูกรักษาให้อยูท่ ี่
1,900 ± 100 รอบต่อนาที
เมื่อเครื่ องยนต์มีอุณหภูมิสูงขึ้น กล่อง ECM จะสั่งวาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบาคืนกลับตาแหน่ ง
เดิมเพือ่ ลดปริ มาณของอากาศและควบคุมรอบเดินเบาของเครื่ องยนต์ให้อยูท่ ี่ 1,700 ± 100 รอบต่อนาที

วาล์วควบคุม วาล์วควบคุม
อากาศรอบเดินเบา อากาศรอบเดินเบา

48
5. หลอดไฟแสดงความผิดปกติของเครื่องยนต์ (MIL : Malfunction Indicator Lamp)

เป็ นระบบที่ติดตั้งเข้ามาเพือ่ อานวยความสะดวกให้กบั นายช่าง โดยระบบนี้อยูภ่ ายในกล่อง ECM


จะคอยตรวจสอบการทางานของตัวตรวจจับ ( SENSOR ) อยูต่ ลอดเวลา เมื่อระบบตรวจสอบพบความผิดปกติ
เกิดขึ้นกับตัวตรวจจับ ( SENSOR ) ระบบก็จะแสดงผลออกมาทางหลอดไฟ ซึ่ งติดตั้งอยูท่ ี่หน้าปั ดเรื อนไมล์
โดยการกะพริ บ ของหลอดไฟ
การทางาน
เมื่อเปิ ดสวิทช์กุญแจไปที่ตาแหน่ ง " ON " หลอดไฟจะติดขึ้นมา 2 วินาทีแล้วดับลง ถ้าระบบตรวจ
พบความผิดปกติของตัวตรวจจับ ( SENSOR ) หลอดไฟจะกะพริ บเป็ นรหัสเพือ่ แจ้งปั ญหาให้ทราบโดยหลอด
ไฟจะกะพริ บเมื่อสวิทช์กุญแจอยูใ่ นตาแหน่ ง " ON " และเครื่ องยนต์มีความเร็ วรอบ ไม่เกิน2,200 รอบต่อนาที
ถ้าเครื่ องยนต์มีความเร็ วรอบมากกว่า 2,200 รอบต่อนาที หลอดไฟ จะติดตลอดเวลา และจะกะพริ บอีกครั้งเมื่อ
ความเร็ วรอบของเครื่ องยนต์ต่ากว่า 2,200 รอบต่อนาที
หมายเหตุ : - ระบบจะตรวจสอบเฉพาะปั ญหาที่เกิดจากการเปิ ดของวงจร หรือลัดวงจร เท่ านั้น
- ข้ อมูลความผิดปกติจะถูกบันทึกไว้ ในกล่ อง ECM ตลอดไป จนกว่ าจะมีการลบข้ อมูล

6. กล่ องควบคุมการทางานของเครื่องยนต์ (ECM : Engine Control Module )

มีหน้าที่ควบคุมการทางานทั้งหมดของระบบ
PGM - FI โดยรับสัญญาณต่างๆจากตัวตรวจจับ
แล้วนาไปประมวลผล การสั่งจ่ายน้ ามันเชื้ อเพลิง
กาหนดจังหวะจุดระเบิด, การตัด - ต่อการสั่งจ่าย
น้ ามันเชื้ อเพลิง, ระบบควบคุมอากาศวงจรเดินเบา
ระบบตรวจสอบความผิดปกติของระบบ PGM-FI
และยังทาหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบสตาร์ ท ระบบไฟชาร์ จ และระบบหยุดการทางานของ
เครื่ องยนต์ในรอบเดินเบาอีกด้วย

49
7. เรือนลิน้ เร่ ง (Throttle Body)
เป็ นที่ติดตั้งของชุดเซนเซอร์, ชุดวาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบา และหัวฉี ดน้ ามันเชื้ อเพลิง

เรื อนลิน้ เร่ ง

ชุดเซนเซอร์

ชุดวาล์วควบคุม
อากาศรอบเดินเบา

50
การเรียกดูข้อมูลปัญหา
ขั้นตอน
1. ปิ ดสวิทช์กุญแจไปที่ตาแหน่ ง " OFF "
2. เปิ ดเบาะนัง่ ขึ้น ถอดฝาครอบแบตเตอรี่ ถอดฝาครอบขั้วตรวจสอบ แล้วต่อเครื่ องมือพิเศษ
ตาแหน่ งการต่ อสาย : สายสี นา้ ตาล กับ สายสี นา้ เงิน / เขียว
3. เปิ ดสวิทช์กุญแจไปที่ตาแหน่ ง " ON " สังเกตุการทางานของหลอดไฟแสดงความผิดปกติ

เครื่ องมือพิเศษ (070PZ-ZY30100)

ช็อตขั้วสายและเปิ ดสวิทช์ "ON"

ติด หลอดไฟติดตลอดแสดงว่าไม่มีขอ้ มูลปัญหา

ไม่ มีข้อมูลปัญหา
ดับ

ติด

มีข้อมูลปัญหา

ดับ
มีรหัสความผิดปกติที่จดั เก็บอยูใ่ นหน่วยความจา
0.3 วินาที

51
การลบข้อมูลปัญหา
ขั้นตอนต่ อจากการเรียกดูข้อมูลปั ญหาแล้ ว

1. ถอดเครื่ องมือพิเศษออก แล้วต่อกลับให้ทนั ภายในเวลา 5 วินาที ต่อกลับภายในเวลา 5 วินาที

เครื่ องมือพิเศษ (070PZ-ZY30100) ถอดออกแล้วต่อกลับให้ทนั ภายในเวลา 5 วินาที


2. ถ้าหลอดไฟแสดงความผิดปกติดบั แล้วกะพริ บต่อเนื่อง แสดงว่าข้อมูลปั ญหาถูกลบแล้ว
ลบข้ อมูลสาเร็จ
2-3 วินาที
0.3 วินาที
หลอดไฟกะพริ บ
ภายใน 5 วินาที ด้วยความถี่เท่ากัน
ON
OFF
รหัสความผิดปกติ การลบข้อมูล การลบข้อมูลสาเร็ จ
ON
OFF หลอดไฟติดตลอดแสดงว่าไม่มีขอ้ มูลปัญหา
ปิ ด - เปิ ดสวิทช์

ลบข้ อมูลไม่ สาเร็จ

มากกว่า 5 วินาที 2-3 วินาที


หลอดไฟติดค้าง
ON
OFF
รหัสความผิดปกติ การลบข้อมูล การลบข้อมูลไม่สาเร็ จ
ON
OFF
ปิ ด - เปิ ดสวิทช์ แสดงรหัสปัญหา

52
การปรับตั้งตัวตรวจจับตาแหน่ งลิน้ เร่ ง
หลังจากมีการถอด-ประกอบชุดเซนเซอร์ ต้องทาการปรับตั้งตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ งทุกครั้ง

ชุดเซนเซอร์

ข้ อควรจา
• ต้องแน่ ใจว่าไม่มีขอ้ มูลรหัสข้อขัดข้องจัดเก็บอยูใ่ นกล่อง ECM ถ้ามีขอ้ มูลรหัสข้อขัดข้องจัดเก็บอยูใ่ นกล่อง
ECM จะไม่สามารถปรับตั้งตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ งได้
ขั้นตอน ต่ อจากการลบข้ อมูลแล้ ว และเครื่องมือพิเศษยังต่ ออยู่กับขั้วตรวจสอบ
1. ปิ ดสวิทช์ แล้วถอดขั้วต่อตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น แล้วช๊อตขัวสายด้วยสายพ่วงดังภาพ
ตาแหน่ งการต่ อสาย : สายสี เขียว/ส้ ม กับ ชมพู/ขาว

เขียว/ส้ม ชมพู/ขำว

เครื่ องมือพิเศษ ขั้วสำยไฟตัวตรวจจับ


(070PZ-ZY30100) อุณหภูมิน้ ำหล่อเย็น
2. เปิ ดสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตาแหน่ ง "ON" จากนั้นปลดสายพ่วงออกจากขั้วต่อตัวตรวจจับอุณหภูมิ
น้ าหล่อเย็นภายในเวลา 10 วินาที

เปิ ดสวิทช์ไปที่
ตำแหน่ง "ON"

3. ตรวจสอบการกะพริ บของหลอดไฟแสดงความผิดปกติ หลังจากปลดสายพ่วงออกหลอดไฟจะดับ


แล้วกะพริ บแสดงว่าการปรับตั้งสาเร็ จ

53
ภายใน 10 วินาที 0.3 วินาที
0.3 วินาที
0.1 วินาที
หลอดไฟกะพริ บ
1.3 วินาที ด้วยความถี่เท่ากัน
ON
OFF
ระบบกาลังรับข้อมูลการปรับตั้งใหม่ การปรับตั้งประสบความสาเร็ จ
ON
OFF

หมายเหตุ : กรณี ถา้ ไม่ถอดสายพ่วงออกภายในเวลา 10 วินาที หลังจากเปิ ดสวิทช์ หลอดไฟจะดับแล้วติดค้าง


แสดงว่าการปรับตั้งไม่สาเร็ จ
4. ปิ ดสวิทช์ไปที่ตาแหน่ ง "OFF"
5. ต่อขั้วต่อตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น
6. ปลดเครื่ องมือออกจากขั้วตรวจสอบ
7. ประกอบชิ้นส่ วนกลับ

54
ระบบตรวจสอบความผิดปกติ

เป็ นระบบที่ติดตั้งเข้ามาเพือ่ อานวยความสะดวกให้กบั นายช่าง โดยระบบจะตรวจสอบการทางานของ


ตัวตรวจจับ ( SENSOR ) อยูต่ ลอดเวลา และเมื่อใดที่ระบบตรวจพบความผิดปกติเกิดขึ้นกับตัวตรวจจับ ระบบจะ
แสดงผลออกมาทางหลอดไฟแสดงความผิดปกติของเครื่ องยนต์ ที่อยูบ่ นหน้าปั ดโดยหลอดไฟจะกะพริ บเป็ นรหัส
ปั ญหาต่างๆ

รหัสแสดงความผิดปกติ

เมื่อเปิ ดสวิทช์กุญแจไปที่ตาแหน่ ง " ON " หลอดไฟแสดงความผิดปกติของเครื่ องยนต์จะติด 2 วินาที


แล้วดับลง ถ้าระบบตรวจพบความผิดปกติของตัวตรวจจับต่างๆ หลอดไฟแสดงความผิดปกติของเครื่ องยนต์จะ
กะพริ บเป็ นรหัสเพือ่ แจ้งปั ญหาให้ทราบ
โดยหลอดไฟกะพริ บก็ต่อเมื่อสวิทช์กุญแจอยูใ่ นตาแหน่ ง " ON " และเครื่ องยนต์มีความเร็ วรอบไม่เกิน
2,200 รอบต่อนาที ถ้าความเร็ วรอบของเครื่ องยนต์สูงกว่านี้หลอดไฟจะติดตลอด และจะกะพริ บอีกครั้งเมื่อ
ความเร็ วรอบของเครื่ องยนต์ต่ากว่า 2,200 รอบต่อนาที
ระบบจะตรวจสอบเฉพาะปั ญหาที่เกิดจากการเปิ ดของวงจร ( OPEN CIRCUIT ) หรื อปั ญหาที่เกิดจาก
การลัดวงจร ( SHORT CIRCUIT ) เท่านั้นและข้อมูลความผิดปกติจะถูกบันทึกไว้ในกล่อง ECM จนกว่าจะมีการ
ลบข้อมูลภายในกล่อง ECM

55
รหัสแสดงความผิดปกติจะมีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ รหัสเดี่ยว และรหัสคู่
รหัสเดี่ยว
เป็ นการแสดงรหัสข้อขัดข้องแบบ 1 สัญญาณ ( กะพริ บสั้น ) โดยการกะพริ บของหลอดไฟแสดง
ความผิดปกติของเครื่ องยนต์ ตามจานวนครั้งของรหัสด้วยความถี่ที่เท่ากัน
0.3 วินาที
0.4 วินาที

รหัส 7

รหัสคู่
เป็ นการแสดงรหัสข้อขัดข้องแบบ 2 สัญญาณ ( กะพริ บยาว - สั้น ) โดยการกะพริ บของหลอดไฟ
แสดงความผิดปกติของเครื่ องยนต์ ตามจานวนครั้งของรหัสด้วยการกะพริ บยาว และกะพริ บสั้นสลับกัน
1.3 วินาที
0.5 วินาที
0.3 วินาที

รหัส 12

56
ระบบควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ PGM - FI

หน่ วยตรวจสอบ หน่ วยควบคุม อุปกรณ์ ทางาน

ECM หัวฉี ด
ควบคุมการฉีดน้ ามันเชื้อเพลิง
ปั๊ มน้ ามัน
ตัวตรวจจับ เชื้อเพลิง
ควบคุมการทางานของ
• แรงดันในท่อไอดี
ปั๊มน้ ามันเชื้อเพลิง
• ตาแหน่งลิน้ เร่ ง
• อุณหภูมิอากาศ คอยล์จุดระเบิด
ควบคุมการทางานของ
ตัวตรวจจับตาแหน่ง
ระบบจุดระเบิด หลอดไฟแสดง
เพลาข้อเหวี่ยง
ความผิดปกติ
ควบคุมการทางานของหลอดไฟ ของเครื่ องยนต์
ตัวตรวจจับอุณหภูมิ แสดงความผิดปกติของเครื่ องยนต์ วาล์วควบคุมอากาศ
น้ าหล่อเย็น รอบเดินเบา
ควบคุมความเร็ วรอบเดินเบา
ตัวตรวจจับปริ มาณ
ออกซิเจน
ควบคุมการทางานของ วาล์วโซลินอยด์ควบคุมการ
วาล์วโซลินอยด์ควบคุมการไหล ไหลของไอน้ ามันระบบ
ตัวตรวจจับ
ของไอน้ ามันระบบ EVAP EVAP
ความเร็ วรถ

57
ตารางแสดงรหัสปัญหา PCX 150
รหัสปั ญหา จุดที่เกิดปั ญหา / สาเหตุ อาการของปั ญหา
รหัส 1 ตัวตรวจจับแรงดันสั มบูรณ์ ในท่ อไอดีทางานบกพร่ อง • เครื่ องยนต์ทางานได้ตามปกติ
MAP sensor • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของตัวตรวจจับแรงดันสัมบูรณ์
ในท่อไอดีหลวมหรื อไม่ดี
• ตัวตรวจจับแรงดันสัมบูรณ์ในท่อไอดีหรื อวงจรของ
ตัวตรวจจับแรงดันสัมบูรณ์ในท่อไอดีทางานบกพร่ อง
รหัส 7 ตัวตรวจจับอุณหภูมินา้ หล่ อเย็นของเครื่องยนต์ • เครื่ องยนต์สตาร์ ทติดยากที่อุณหภูมิต่า
ECT sensor ทางานบกพร่ อง
• หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็น
ของเครื่ องยนต์หลวมหรื อไม่ดี
• ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ าหล่อเย็นของเครื่ องยนต์
หรื อวงจรทางานบกพร่ อง
รหัส 8 ตัวตรวจจับตาแหน่ งลิน้ เร่ งทางานบกพร่ อง • การเร่ งความเร็ วของเครื่ องยนต์ไม่ดีพอ
TP sensor • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ ง
หลวมหรื อไม่ดี
• ตัวตรวจจับตาแหน่ งลิ้นเร่ งหรื อวงจรของตัวตรวจจับ
ตาแหน่ งลิ้นเร่ งทางานบกพร่ อง
รหัส 9 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศทางานบกพร่ อง • เครื่ องยนต์ทางานได้ตามปกติ
IAT sensor • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ
หลวมหรื อไม่ดี
• ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศหรื อวงจรของตัวตรวจจับ
อุณหภูมิอากาศทางานบกพร่ อง
รหัส 11 ตัวตรวจจับความเร็วของรถทางานบกพร่ อง • เครื่ องยนต์ทางานได้ตามปกติ
VS sensor • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของตัวตรวจจับความเร็ วของรถ • ระบบหยุดการทางานของเครื่ องยนต์
หลวมหรื อไม่ดี ในรอบเดินเบาไม่ทางาน
• ตัวตรวจจับความเร็ วของรถหรื อวงจรของตัวตรวจจับ
ความเร็ วของรถทางานบกพร่ อง

58
ตารางแสดงรหัสปัญหา PCX 150
รหัสปั ญหา จุดที่เกิดปั ญหา / สาเหตุ อาการของปั ญหา
รหัส 12 หัวฉีดทางานบกพร่ อง • เครื่ องยนต์สตาร์ ทไม่ติด
Injector • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของหัวฉี ดหลวมหรื อไม่ดี • หัวฉี ดไม่ทางาน
• หัวฉี ดหรื อวงจรของหัวฉี ดทางานบกพร่ อง • ปั๊ มน้ ามันเชื้ อเพลิงไม่ทางาน
• ระบบจุดระเบิดไม่ทางาน
รหัส 21 ตัวตรวจจับปริมาณออกซิ เจนทางานบกพร่ อง • เครื่ องยนต์ทางานได้ตามปกติ
O2 sensor • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของตัวตรวจจับปริ มาณออกซิ เจน
หลวมหรื อไม่ดี
• ตัวตรวจจับปริ มาณออกซิ เจนหรื อวงจรของตัวตรวจจับ
ปริ มาณออกซิ เจนทางานบกพร่ อง
รหัส 29 ชุ ดวาล์ วควบคุมอากาศรอบเดินเบาทางานบกพร่ อง • เครื่ องยนต์ติดขัด สตาร์ ทติดยาก
IACV • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของชุดวาล์วควบคุมอากาศ เดินเบาไม่เรี ยบ
รอบเดินเบาหลวมหรื อไม่ดี
• ชุดวาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบาหรื อวงจรของ
ชุดวาล์วควบคุมอากาศรอบเดินเบาทางานบกพร่ อง
รหัส 52 ตัวตรวจจับตาแหน่ งเพลาข้ อเหวีย่ งทางานบกพร่ อง • เครื่ องยนต์สตาร์ ทไม่ติด
CKP sensor • หน้าสัมผัสที่ข้ วั ต่อของตัวตรวจจับตาแหน่ ง • ระบบจุดระเบิดไม่ทางาน
เพลาข้อเหวี่ยงหลวมหรื อไม่ดี
• ตัวตรวจจับตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยงหรื อวงจรของ
ตัวตรวจจับตาแหน่ งเพลาข้อเหวี่ยงทางานบกพร่ อง

59
เปรียบเทียบอุปกรณ์ รถจักรยานยนต์ รุ่ น PCX 125 กับ PCX 150
ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 125 ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 150
เครื่ องยนต์ ( Engine) เครื่ องยนต์ ( Engine)แตกต่างกันที่จุดยึดกับโครงรถ

• ขนาด 125 ซี.ซี. • ขนาด 150 ซี.ซี.


• ระบายความร้อนด้วยน้ า • ระบายความร้อนด้วยน้ า

ลูกสู บ ( Piston ) ลูกสู บ ( Piston )

• เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกลูกสูบ 52.370 - 52.390 มม. • เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอกลูกสูบ 57.970 - 57.990 มม.


กระเดื่องวาล์ว (Rocker arm) กระเดื่องวาล์ว (Rocker arm)

ลูกปื นเข็ม

• ไม่มีลกู ปื นที่แกนกระเดื่องวาล์ว • มีลกู ปื นที่แกนกระเดื่องวาล์ว


ฝาสู บ ( Cylinder head ) ฝาสู บ ( Cylinder head )

• ฝาสูบ ออกแบบช่องทางระบายอากาศแบบใหม่เพื่อลด
แรงดันและความร้อน
• พอร์ทไอดีออกแบบใหม่ ช่วยให้อากาศไหลเร็ วขึ้น

60
เปรียบเทียบอุปกรณ์ รถจักรยานยนต์ รุ่ น PCX 125 กับ PCX 150
ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 125 ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 150
เสื้ อสู บ (Cylinder ) เสื้ อสู บ (Cylinder )

• ปลอกเสื้ อสูบ ออกแบบใหม่ให้มีผวิ ขรุ ขระเพื่อเพิ่ม


• ปลอกเสื้ อสูบ แบบผิวเรี ยบ ประสิ ทธิภาพการระบายความร้อนให้ดียงิ่ ขึ้น
• ปริ มาตรกระบอกสูบ 124.9 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร • ปริ มาตรกระบอกสูบ 152.9 ลูกบาศก์เซ็นติเมตร
พูลเลย์ขบั ( Drive pulley face ) พูลเลย์ขบั ( Drive pulley face )

• พูลเลย์ขบั ออกแบบใหม่ใหญ่กว่าเดิม เป็ นใบพัดแบบ Turbo


• พูลเลย์ขบั เป็ นแบบ Sirocco
เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพการระบายความร้อนได้ดียงิ่ ขึ้น
ชุดสปริ งที่หน้าสัมผัสพูลเลย์ตาม ( Driven face spring) ชุดสปริ งที่หน้าสัมผัสพูลเลย์ตาม ( Driven face spring)

• ความยาวอิสระของสปริ ง 151.1 มม. • ความยาวอิสระของสปริ งประมาณ 150.81 มม.


• ค่าจากัดการซ่อม 146.6 มม. • ค่าจากัดการซ่อม 103.1 มม.

เรื อนลิ้นเร่ ง (Throttle body) เรื อนลิ้นเร่ ง (Throttle body)

• ขนาดของคอคอด 24 มม. • ขนาดของคอคอด 26 มม.

61
เปรียบเทียบอุปกรณ์ รถจักรยานยนต์ รุ่ น PCX 125 กับ PCX 150
ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 125 ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 150
ท่อไอดี ( Intake Pipe) ท่อไอดี ( Intake Pipe)

• ขนาดยาวกว่ามีท่อต่อกับโซลินอยด์ ควบคุมการกาจัดไอ
• ขนาดสั้นกว่า และ ด้านหน้ามีโอริ ง ระเหยน้ ามันเชื้อเพลิง และด้านหน้าไม่มีโอริ ง

ฉนวนท่อไอดี ( Insulator) ฉนวนท่อไอดี ( Insulator)

ด้านหลัง เดือย ด้านหน้า ด้านหลัง


ด้านหน้า ไม่มีตวั เลข
มีตวั เลข

โอริ ง โอริ ง โอริ ง

• มีโอริ งด้านหน้า และมีเดือยอยูด่ า้ นหลัง (ขนาดใหญ่) • มีโอริ งด้านหน้าและด้านหลัง (ขนาดใหญ่)

ไส้กรองอากาศ ( Air Filter) ไส้กรองอากาศ ( Air Filter)

• กรองกระดาษแบบเปี ยก (วิสกัส) • กรองกระดาษแบบเปี ยก (วิสกัส)


คาเตือน : 1. ห้ ามทาความสะอาดไส้ กรองอากาศ คาเตือน : 1. ห้ ามทาความสะอาดไส้ กรองอากาศ
2. เปลีย่ นทุกๆ 16,000 กิโลเมตร 2. เปลีย่ นทุกๆ 16,000 กิโลเมตร
กรองบาบัดไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง ( Evap Canister ) กรองบาบัดไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง ( Evap Canister )

X
• ไม่มีกรองบาบัดไอระเหยน้ ามันเชื้อเพลิง • มีกรองบาบัดไอระเหยน้ ามันเชื้อเพลิง ติดตั้งบนถังน้ ามัน
เชื้อเพลิงด้านหน้า

62
เปรียบเทียบอุปกรณ์ รถจักรยานยนต์ รุ่ น PCX 125 กับ PCX 150
ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 125 ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 150
โซลินอยด์ควบคุมการกาจัดไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง โซลินอยด์ควบคุมการกาจัดไอระเหยน้ ามันเชื้ อเพลิง

X
• ไม่มีโซลินอยด์ควบคุมการกาจัดไอระเหยน้ ามันเชื้อเพลิง • มีโซลินอยด์ควบคุมการกาจัดไอระเหยน้ ามันเชื้อเพลิงติด
ตั้งอยูบ่ นถังน้ ามันเชื้อเพลิง

ไส้กรองน้ ำมันเชื้ อเพลิง (Fuel Filter) ไส้กรองน้ ำมันเชื้ อเพลิง (Fuel Filter)

• สำมำรถกรองสิ่ งสกปรกขนำดตั้งแต่ 10 ไมครอนขึ้นไป • สำมำรถกรองสิ่ งสกปรกขนำดตั้งแต่ 10 ไมครอนขึ้นไป


• ไม่สำมำรถเปลี่ยนไส้กรองน้ ำมันเชื้อเพลิงได้ • กำหนดเปลี่ยนไส้กรองทุกๆ 48,000 กิโลเมตร
หัวฉี ด (Injector) หัวฉี ด (Injector)

• แบบ 6 รู
• แบบ 6 รู
• หัวฉีดมีขนาดเล็กกว่าและใช้แทนกันกับรุ่ น PCX 125 ไม่ได้
กล่องควบคุมกำรทำงำนของเครื่ องยนต์ ( ECM ) กล่องควบคุมกำรทำงำนของเครื่ องยนต์ ( ECM )

• รหัสกล่อง ECM KWNA - 901 - TH 01 • รหัสกล่อง ECM KZYA - 701 - TH 11


• ขั้วต่อของกล่อง ECM มีจานวน 33 ขั้ว ( ขั้วต่อ 33P ) • ขั้วต่อของกล่อง ECM มีจานวน 33 ขั้ว ( ขั้วต่อ 33P )

63
เปรียบเทียบอุปกรณ์ รถจักรยานยนต์ รุ่ น PCX 125 กับ PCX 150
ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 125 ชิ้นส่ วน / รายละเอียด PCX 150
เรคกูเรเตอร์ /เรคติไฟเออร์ ( Regulator/Rectifier) เรคกูเรเตอร์ /เรคติไฟเออร์ ( Regulator/Rectifier)

• อยูร่ ่ วมกับกล่อง ECM (ขั้วต่อ 33P) • อยูร่ ่ วมกับกล่อง ECM (ขั้วต่อ 33P)

ท่อน้ ำมันเชื้ อเพลิง ( Fuel Feed Hose) ท่อน้ ำมันเชื้ อเพลิง ( Fuel Feed Hose)

• แบบข้อต่อเร็ ว
• แบบข้อต่อเร็ ว • ขนำดยำวกว่ำ
• ท่อน้ ำมันเชื้อเพลิงใช้แทนกันไม่ได้ • คลิ๊ปล๊อค • ท่อน้ ำมันเชื้อเพลิงใช้แทนกันไม่ได้ • คลิ๊ปล๊อคออกแบบใหม่

64
PGM-FI SYSTEM DIAGRAM

65
วงจรไฟฟ้าขณะสตาร์ ทเครื่อง

1. เอาขาตั้งข้างขึ้น เป็ นการต่อวงจรกราวนด์ของกล่อง ECM


2. เปิ ดสวิทช์จุดระเบิดไฟจากแบตเตอรี่ สายสี แดง ไหลผ่านฟิ วส์หลักตัวที่ 1 (10 A) ออกมา สายสี แดง/ขาว
เข้าสวิทช์จุดระเบิด ออกมา สายสี ดา/ขาว แยกออกเป็ น 2 ทาง
ทางที่ 1 เข้าไปเลี้ยงกล่อง ECM และขดลวดรี เลย์สตาร์ ท/ไฟชาร์ จ ออกจากรี เลย์ สายสี เหลือง มารอลง
กราวนด์ที่กล่อง ECM
ทางที่ 2 เข้าขดลวดรี เลย์หลัก ออกจากรี เลย์ลงกราวนด์ ครบวงจรเกิดสนามแม่เหล็กดูดหน้าคอนแทค
ให้ต่อกัน ทาให้ไฟที่มาจากฟิ วส์หลักตัวที่ 2 (20A) สายสี แดง/ขาว ไหลผ่านหน้าคอนแทคออกมา
สายสี แดง/ดา เข้าไปที่ฟิวส์ไฟสัญญาณ 10A ออกจากฟิ วส์ สายสี ดา/นา้ ตาล เข้าสวิทช์ INHIBITOR
เมื่อบีบเบรกด้านซ้ายไฟก็จะไหลผ่านสวิทช์ออกมา สายสี ชมพู เข้าไปที่สวิทช์สตาร์ ท เมื่อกดสวิทช์
สตาร์ ทไฟก็จะไหลผ่านสวิทช์ออกมา สายสี เหลือง/เขียว เข้ากล่อง ECM
3. เมื่อได้รับสัญญาณจากสวิทช์ไฟเบรก กล่อง ECM จะสั่งให้ไฟที่มาจากขดลวดรี เลย์สตาร์ ท/ไฟชาร์ จ
สายสี เหลือง ลงกราวนด์ และเกิดสนามแม่เหล็กที่รีเลย์ ดูดหน้าคอนแทคของรี เลย์ให้ต่อกัน ทาให้ไฟ
ที่มาจากขั้วบวกของแบตเตอรี่ สายสี แดง ไหลผ่านหน้าคอนแทคของรี เลย์ออกมา สายสี แดง/เหลือง
เข้ากล่อง ECM ผ่านวงจร FET เพือ่ แปลงไฟกระแสตรงให้เป็ นกระแสสลับแบบสามเฟส ส่ งไปที่ขด
ลวด Alternator/Starter ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กไปดูด และผลักกับแม่เหล็กถาวรที่ลอ้ แม่เหล็ก ล้อแม่
เหล็กหมุนสตาร์ ทเครื่ องยนต์ได้

66
วงจรไฟฟ้าขณะชาร์ จไฟ

1. เมื่อเครื่ องยนต์ทางานเพลาข้อเหวี่ยงจะเป็ นตัวขับล้อแม่เหล็กให้หมุนตัดกับชุดขดลวด Alternator/Starter


ทาให้เกิดไฟฟ้ ากระแสสลับแบบ 3 เฟสขึ้น ส่ งมาที่กล่อง ECM ผ่านวงจร FET แปลงไฟจากไฟกระแสสลับ
ให้เป็ นไฟกระแสตรง
2. ไฟกระแสตรง ออกจากกล่อง ECM สายสี แดง/เหลือง เข้าไปที่หน้าคอนแทคของรี เลย์สตาร์ ท/ไฟชาร์ จ
ผ่านหน้าคอนแทคของรี เลย์ ออกมา สายสี แดง/ดา เข้าหน้าคอนแทคของรี เลย์หลัก ออกมา สายสี แดง/ขาว
เข้าฟิ วส์หลักตัวที่ 2 (20A) ออกมา สายสี แดง เข้าไปชาร์ จให้กบั แบตเตอรี่ และเลี้ยงระบบไฟฟ้ าทั้งหมด

67
วงจรไฟฟ้า

68
บันทึกเพิม่ เติม
S 600010042012
PRINTED IN THAILAND

You might also like