You are on page 1of 61

การตรวจวัด

฼สียงรบกวน

นางสาวนันทวัน ว.สิงหะค฼ชนทร์
ส຋วนมลพิษทาง฼สียง฽ละความสัไนสะ฼ทือน
สานักจัดการคุณภาพอากาศ฽ละ฼สียง กรมควบคุมมลพิษ

฾ครงการ฼พิไมศักยภาพบุคลากรสานักงานสิไง฽วดลຌอมภาคดຌานการจัดการคุณภาพอากาศ฽ละ฼สียง 1
หลักสูตร การตรวจวัดระดับ฼สียง วันทีไ โ5-โๆ มีนาคม โ55็ ฾รง฽รมหลุยส์ ฽ท฼วิร์น กรุง฼ทพฯ
สาเหตุของการปั ญหาเสียงรบกวน

 ระดับเสียงสูง (ดัง)
 ระยะเวลาเกิดเสียงนาน
 เสียงเกิดในช่วงเวลากลางคืน
 เสียงที่เกิดมีลกั ษณะที่ทาให้รูส้ ึกรบกวนมาก

2
ปั จจัย/ สาเหตุที่ก่อให้เกิดปั ญหามลพิษทางเสียง

ระดับเสียง อายุของผูร้ บั เสียง


จานวนแหล่งกาเนิดเสียง ประสบการณ์การรับรู ้
ช่วงเวลาการเกิดเสียง ปั ญหาเสียงรบกวน
ระยะเวลาของการเกิดเสียง ความไวในการรับเสียง
ความบ่อยของการเกิดเสียง พยาธิสภาพของร่างกาย
ประเภทแหล่งกาเนิดเสียง
 ระยะห่างของแหล่งกาเนิด
ลักษณะเสียง
กับผูร้ บั เสียง
 การกันเสียง
พัฒนาการของกฎหมายด้านเสียงรบกวน
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 17 (พ.ศ.
2543) เรื่อง ค่าระดับเสียงรบกวน ออกตามมาตรา 32 (6) แห่ง พ.ร.บ.
ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องกาหนดวิธีการตรวจวัดระดับ
เสียงพื้นฐานและระดับเสียงขณะมีการรบกวน การคานวณค่า
ระดับเสียงขณะมีการรบกวนและค่าระดับการรบกวน ออกตาม
มาตรา 32 (6) แห่ง พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

4
ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 29
(พ.ศ. 2550) เรื่อง ค่าระดับเสียงรบกวน ออกตามมาตรา 34 แห่ง
พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535

ค่ามาตรฐาน
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีการตรวจวัด
ระดับเสียงพื้นฐาน ระดับเสียงขณะไม่มีการรบกวน การ
ตรวจวัดและคานวณระดับเสียงขณะมีการรบกวน การคานวณ
ค่าระดับการรบกวน และแบบบันทึกการตรวจวัดเสียงรบกวน
ออกตามข้อ 3 ของประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 29

เครื่องวัดระดับเสียง การตรวจวัดและคานวณ
การเตรียมเครื่องมือ ระดับเสียง
การตั้งไมโครโฟน แบบบันทึกผล 5
6
7
หลักการ
ฉบับปี 2543 ฉบับปี 2550
1
ระดับเสียงของแหล่งกาเนิด (Leq) (Leq)

- 2

ระดับเสียงเมื่อไม่มีเสียง
ของแหล่งกาเนิด 3

(Leq) (Leq)
4
มากกว่า (Leq)
(L990)
10 เดซิเบลเอ 5
เป็ นเสียงรบกวน
10
Excel ช่วยคานวณเสียงรบกวน

9
Excel คานวณ฼สียงรบกวน

10
มาตรฐาน และ Sound Descriptor

Rating Noise Level (Lr in dB) คือ เป็ นค่าที่นาผลการ


ตรวจวัดระดับเสียง descriptor ต่างๆ มาคานวณร่วมกับ
ค่าคงที่จากลักษณะเสียง ช่วงเวลาที่เกิดเสียง สภาวะของ
ห้องหรืออาคาร ฯลฯ เพื่อให้ผลที่ได้บ่งชี้ สภาพการ
รบกวนจากเสียงที่มีต่อมนุ ษย์
Lr = LSource + ลักษณะเสียง + ช่วงเวลาเกิดเสียง
11
Leq

Leq  ระดับเสียงขณะมีการรบกวน

Leq  ระดับเสียงไม่มีการรบกวน

L90  ระดับเสียงพื้นฐาน
12
฼วลา dBA
ระดับเสียงเปอร์เซนไทล์ (Statistical แ

็แ.แ
ๆเ.้
Level, LN in dB) คือ ค่าระดับ ใ

ๆเ.็
ๆเ.ๆ
ความดันเสียงที่ใน N% ของ 5
6
ๆเ.5
60.5
ระยะเวลาการตรวจวัด จะมีค่า 7
8
60.8
60.9
ระดับเสียงสูงกว่าค่านี้ 9
10
61.1
61.2
… …
... …
N = ระยะเวลาที่ระดับเสียงเกิน ... dBA x 100 ... ….
ระยะเวลาที่ตรวจวัดระดับเสียง ้เ ไ้.้ L90 =49.9 dBA
้แ ไ้.้
้โ ไ้.โ
้ใ ไ็.่
้ไ ไ็.5
้5 ไ็.แ
้ๆ ไๆ.เ
้็ ไ5.5
98 ไ5.5
99 ไ5.ใ L100 =45.2 dBA
100 ไ5.โ 13
Lmin=45.2 dBA
เครื่องวัดระดับเสียง

IEC 60804, Integrating-averaging Sound Level Meters

หรือ
IEC 61672-1-Part 1: Sound Level Meter, Part 2: Specifications

14
การเตรียมเครื่องมือ และการตั้งค่าการตรวจวัด

 สอบเทียบระดับเสียงกับเครือ่ งกำเนิดเสียงมำตรฐำน

 วงจรถ่วงน้ำหนัก A
 ควำมไวตอบรับ Fast

15
กำรตัง้ ไมโครโฟน
ภำยนอกอำคำร :
 สูงจำกพืน้ > 1.2 เมตร
 รัศมีแนวรำบ 3.5 ม. รอบไมโครโฟนไม่มีสิ่งที่มี
คุณสมบัติสะท้อนเสียง
>1.2
เมตร
ภำยในอำคำร :
 สูงจำกพืน้ > 1.2 เมตร
 รัศมีแนวรำบ 1 ม. รอบไมโครโฟน ไม่มีสิ่งที่มี
คุณสมบัติสะท้อนเสียง
 ห่ำงช่องหน้ ำต่ำง > 1.5 เมตร 16
การตั้งไมโครโฟน / การเลือกจุดตรวจวัด
ระดับเสียงขณะมีการรบกวน (Leq)
 บริเวณที่อยูข่ องผูร้ บั เสียง

ระดับเสียงพื้นฐาน (L90) ระดับเสียงไม่มีการรบกวน (Leq)


 บริเวณเดียวกับที่ตรวจวัดระดับเสียงขณะมีการรบกวน
 บริเวณอื่นที่มีสภาพแวดล้อมคล้ายกัน กรณีหยุด
แหล่งกาเนิดเสียงไม่ได้

17
Factory
การตรวจวัดระดับเสียงและการคานวณ
ระดับเสียงพื้นฐาน ระดับเสียงไม่มีการรบกวน

 ตรวจวัด L90 > 5 นาที  ตรวจวัด Leq > 5 นาที


ตรวจวัดเวลาเดียวกัน

 วงจรถ่วงน้ าหนัก A
 ความไวตอบรับ Fast
 วัดทันทีก่อนหรือหลังแหล่งกาเนิดเสียง
ดาเนินกิจกรรม
 วัดจุดอื่นหากหยุดแหล่งกาเนิดเสียงไม่ได้
18
ข้อแนะนำ - ให้ตรวจวัดมำกกว่ำ 1 ชุดข้อมูล
- เลือก “ค่ำกลำง” นำไปคำนวณต่อไป
ระดับเสียง ระดับเสียงขณะไม่มี
เวลำ พืน้ ฐำน (LA90) กำรรบกวน (LAeq)
:dBA :dBA
18.05-18.15 น. 50.2 3 53.9 ค่ าที่เลือก
18.15-18.25 น. 50.4 4 53.6
18.25-18.35 น. 49.5 2 53.0
18.35-18.45 น. 48.9 1 54.0
18.45-18.55 น. 51.0 5 53.4
19
การตรวจวัดระดับเสียงและการคานวณ ระดับเสียงขณะมีการรบกวน

หา Leq
แหล่งกาเนิด

ตัดเสียง ตัวปรับค่า

สิ่งแวดล้อม
ฐานเวลาอ้างอิง

ปรับค่า

ประมวลผล
20
ระดับเสียงขณะมีการรบกวน (Leq)
 ตรวจวัด Leq ตาม กรณีที่ 1 เสียงเกิดขึ้นต่อเนื่องนาน
ลักษณะการเกิดเสียง กว่า 1 ชั ่วโมง
กรณีตา่ งๆ กรณีที่ 2 ภายใน 1 ชั ่วโมง เสียง
 วงจรถ่วงน้ าหนัก A เกิดขึ้นเพียง 1 ช่วง
 ความไวตอบรับ Fast
กรณีที่ 3 ภายใน 1 ชั ่วโมง มีเสียง
เกิดขึ้นมากกว่า 1 ช่วง
กรณีที่ 4 เสียงเกิดขึ้นในพื้นที่ที่
ต้องการความ เงียบสงบ
หรือเกิดเวลากลางคืน
21
หา Leq
แหล่งกาเนิด
กรณีที่ 1 เสียงเกิดขึ้นต่อเนื่องนานกว่า 1 ชม.

 ตรวจวัด Leq 1 ชม.

22
หา Leq
แหล่งกาเนิด กรณีที่ 2 ภายใน 1 ชม. เสียงเกิดขึ้นเพียง 1 ช่วง

ตรวจวัด Leq ตาม


ช่วงเวลาที่เกิด

เช่น
LAeq, 37min = 65 dBA
23
หา Leq

 ตรวจวัด Leq ตามช่วงเวลาที่เกิด


แหล่งกาเนิด กรณีที่ 3 ภายใน 1 ชม. มีเสียงเกิดขึ้นมากกว่า 1 ช่วง

 คานวณหา Leq ของแหล่งกาเนิด


ใน 1 ชม.

24
ตัวอย่าง
กรณีที่ 3

LAeq,t1 = LAeq, 17min= 65 dBA LAeq,t2 = LAeq, 19min= 66 dBA


T1 = 17 min T2 = 19 min

 1 
 10 log10  
   
0.165
  
0.166 
  65.6dBA
 17  19  
17 10 19 10 25
การตรวจวัดและคานวณ
2. Start & Pause
(ใน 1 ชม.)

Leq, 36min = … dBA


T = 36 min

26
หำ Leq
แหล่งกำเนิด กรณีที่ 4 เสียงเกิดขึ้นในพื้นที่ที่ตอ้ งการ
ความเงียบสงบหรือเกิดเวลากลางคืน

 ตรวจวัด Leq 5 นาที

27
CHART
ตัดเสียง
กรณีที่ 1 ถึง กรณีที่ 4
สิ่งแวดล้อม

ตัวปรับค่า
1

ผลต่ำงของค่ำระดับเสียง (dBA) ตัวปรับค่ำ (dBA)


1.4 หรือน้ อยกว่ำ 7.0
ตัวอย่าง
1.5 – 2.4 4.5
2.5 – 3.4 3.0 63.9–53.9 = 10 -->
3.5 – 4.4 2.0
4.5 – 6.4 1.5
ตัวปรับค่า = 0.5 dBA
6.5 – 7.4 1.0 63.9 - 0.5 = 63.4 dBA
7.5 – 12.4 0.5
28
12.5 หรือมำกกว่ำ 0 CHART
ฐานเวลาอ้างอิง กรณีที่ 2 และ กรณีที่ 3 (ผ่านการตัดเสียงสิ่งแวดล้อมแล้ว)
• คานวณหา Leq เวลาอ้างอิง 1 ชม. (60 นาที)

สมมุติ
ระยะเวลาการตรวจวัดรวม = 35 นาที
ระดับเสียงแหล่งกาเนิดทีป่ รับค่า = 65.6 dBA

 35 
LAeq ,Tr  65.6  10 log10    62.8dBA
 60 
29
CHART
ปรับค่า เนื่องจากลักษณะเสียง และช่วงเวลาที่เกิดเสียง

ทุกกรณี เฉพาะกรณีที่ 4

กลางคืน

30
CHART
ประมวลผล

ตัวอย่าง
60.2 – 50.2 = 10 dBA
ระดับการรบกวน = 10 dBA ไม่เกินระดับเสียงรบกวน
ดังนั้น จึงไม่ถือว่าเป็ นเสียงรบกวน

31
CHART
สรุป฽ต຋ละกรณี

32
 ตรวจวัด Leq 1 ชม.
กรณีทีไ แ ฼สียง฼กิดขึๅนต຋อ฼นืไองนานกว຋า 1 ชม.

 ตัด฼สียงสิไง฽วดลຌอม
 ื 5 dBA ิถຌามีี
 ประมวลผล

33
กรณีทีไ โ ภาย฿น 1 ชม. ฼สียง฼กิดขึๅน฼พียง 1 ช຋วง
 ตรวจวัด Leq ตามช຋วง฼วลาทีไ฼กิด
 ตัด฼สียงสิไง฽วดลຌอม
 คานวณ฼ป็นฐาน฼วลา แ ชม. ฾ดยสมการ

 ื 5 dBA ิถຌามีี
 ประมวลผล
34
กรณีทีไ ใ ภาย฿น 1 ชม. มี฼สียง฼กิดขึๅนมากกว຋า 1 ช຋วง
 ตรวจวัด Leq ทุกช຋วงตามช຋วง฼วลาทีไ฼กิด
฿น แ ชม.
 คานวณหา Leq ของ฽หล຋งกา฼นิด ฾ดย
สมการ

 ตัด฼สียงสิไง฽วดลຌอม
 คานวณ฼ป็นฐาน฼วลา แ ชม. ฾ดยสมการ

 ื 5 dBA ิถຌามีี
 ประมวลผล 35
กรณีที่ 4 เสียงเกิดขึ้นในพื้นที่ที่ตอ้ งการ
ความเงียบสงบหรือเกิดเวลากลางคืน

 ตรวจวัด Leq 5 min


 ตัดเสียงสิ่งแวดล้อม
 + 3 dBA
 + 5 dBA (ถ้ามี)
 ประมวลผล
36
การลบเดซิเบล
 L; dBA

10 
ตัวปรับค่ำ

Ls  10 log10  10
1 7.0
0.1LS N 0.1LN
2 4.5
3 3.0
4 2.0
5 1.5
6 1.5
7 1.0
8 0.5
9 0.5
10 0.5
11 0.5
12 0.5
37
13 หรือมำกกว่ำ 0
แบบบันทึกผล
1. ชื่อ สกุล ตาแหน่งของ
ผูต้ รวจวัด
2. ลักษณะเสียงและ
ช่วงเวลาการเกิดเสียง
ของแหล่งกาเนิด
3. สถานที่ วัน และเวลา
การตรวจวัดเสียง
4. ผลการตรวจวัดระดับ
เสียง
5. สรุปผล
38
การใช้เครื่องวัดระดับเสียงสาหรับวัดเสียงรบกวน
กดปุ่ม
TOOLS
กดปุ่ม
฼ปิด฼ครืไอง

กดปุ่ม Navigator
฼พืไอ฼ลือก icon
๡System Properties๢

กดหรือ กดปุ่ม Navigator


฼พืไอ฼ลือกชีท กด Close
฽ละ ENTER
Time ฼พืไอคัๅง฼วลา ฽ละ
฼ลือก Set Time
฼พืไอยืนยัน
1. ตัง้ วัน เวลา
39
กด หรือ ฼พืไอ฼ลือกชีท SLM ทีไ฼มนูย຋อย SLM
กดปุ่ม Nevigator
฼พืไอ฼ลือก Frequency
Weighting ๡A๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
กด Menu
กดปุ่ม Nevigator
กดปุ่ม Nevigator
฼พืไอ฼ลือก Setting
฼พืไอ฼ลือก Detector
กดปุ่ม Enter
๡Fast๢
฼พืไอยืนยัน
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน

2. ตัง้ Frequency/Time Weightings 40


ทีไ฼มนู กด หรือ ฼พืไอ฼ลือกชีท กดปุ่ม Nevigator
Setting Control ฼พืไอ฼ลือก Auto Store
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator
฼ลือก฼วลา฼กใบ
ทีไชีท Control 24/day  แ ชม.
กดปุ่ม Nevigator ิหรืออืไนโ ที฼หมาะสมี
฼พืไอ฼ลือก Run Mode กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator ตัๅงสาหรับวัด
฼ลือก ๡Continuous๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
ระดับ฼สียงของ
กดปุ่ม Nevigator ฽หล຋งกา฼นิด
฼พืไอ฼ลือก Time
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator
กรณีทีไ แ ตัๅง฼วลา ฼ช຋น๡เ้:00:00๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
3. ตัง้ เวลาเก็บข้อมูล41
ทีไ฼มนู กด หรือ ฼พืไอ฼ลือกชีท หรือ
Setting Control
กดปุ่ม Nevigator
฼พืไอ฼ลือก Time
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
ทีไชีท Control กดปุ่ม Nevigator
กดปุ่ม Nevigator ฼ลือก ๡เแ:0เ:00๢
฼พืไอ฼ลือก Run Mode
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator ตัๅงสาหรับวัด
฼ลือก ๡Time Stop๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
ระดับ฼สียงของ
฽หล຋งกา฼นิด

กรณีทีไ แ 42
ทีไ฼มนู กด หรือ ฼พืไอ฼ลือกชีท
Setting Control

ทีไชีท Control
กดปุ่ม Nevigator
฼พืไอ฼ลือก Run Mode
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator ตัๅงสาหรับวัด
฼ลือก ๡Manual Stop๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
ระดับ฼สียงของ
฽หล຋งกา฼นิด

กรณีทีไ โ – กรณีทีไ ใ 43
ทีไ฼มนู
Setting กด หรือ ฼พืไอ฼ลือกชีท Control

กดปุ่ม Nevigator
฼พืไอ฼ลือก Time
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
ทีไชีท Control กดปุ่ม Nevigator
กดปุ่ม Nevigator ฼ลือก ๡เเ:05:00๢
฼พืไอ฼ลือก Run Mode กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator
฼ลือก ๡Time Stop๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
ตัๅงสาหรับวัด
ระดับ฼สียงของ
฽หล຋งกา฼นิด
กรณีทีไ ไ 44
ทีไ฼มนู กด หรือ ฼พืไอ฼ลือกชีท
Setting กดปุ่ม Nevigator
Control
฼พืไอ฼ลือก Time
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator
ทีไชีท Control ฼ลือก ๡เเ:05:00๢ หรือ
กดปุ่ม Nevigator > 5 นาที
฼พืไอ฼ลือก Run Mode กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator
฼ลือก ๡Time Stop๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน

ตัๅงค຋าสาหรับวัด
ระดับ฼สียงพืๅนฐาน ฽ละ 45
ระดับ฼สียงขณะเม຋มีการรบกวน
ทีไ฼มนู กด หรือ ฼พืไอ฼ลือกชีท กดปุ่ม Nevigator
Setting Control ฼พืไอ฼ลือก Auto Store
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator
฼ลือก฼วลา฼กใบ
ทีไชีท Control 144/day แเ นาที
กดปุ่ม Nevigator หรือ อืไนโ
฼พืไอ฼ลือก Run Mode ฼พืไอ฼กใบ >10นาที
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
กดปุ่ม Nevigator
฼ลือก ๡Continuous๢ กดปุ่ม Nevigator
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน ฼พืไอ฼ลือก Time
กดปุ่ม Enter ฼พืไอตัๅงค຋า
กดปุ่ม Nevigator
ตัๅงค຋าสาหรับวัด ตัๅง฼วลา ฼ช຋น๡เ้:00:00๢
กดปุ่ม Enter ฼พืไอยืนยัน
ระดับ฼สียงพืๅนฐาน ฽ละ
หรือ ระดับ฼สียงขณะเม຋มีการรบกวน
46
กดปุ่ม Nevigator กด Close ฼พืไอออกมาหนຌา฽รก
฼พืไอ฼ลือก icon
๡Calibrate๢ ฼มืไอสวม
กดปุ่ม ENTER Calibrator ฽ลຌว
ต຋อ Preamp. กับ กดปุ่ม Nevigator
฼ครืไองวัด฼สียง ฼พืไอ฼ลือกCalibrate
กดปุ่ม ENTER
฼พืไอยืนยัน
กดปุ่ม
TOOLS

ส຋วนนีๅจะ฼ปลีไยนเป
กดปุ่ม Nevigator ตาม Calibrator
฼พืไอ฼ลือก Calibrator ทีไ฼ลือก
๡LD CAL200 114 0dB 1kHz๢
หรือ
๡LD CAL200 ้4 0dB 1kHz๢
กดปุ่ม ENTER ฼พืไอยืนยัน 4. Calibrate 47
หนຌา฽รก ฽สดงระยะ฼วลา฼กใบขຌอมูล
LxT ฾ดยจะ฼ปลีไยนทุก แ วิ. ถຌา฼กใบ฽บบ ๡Continuous๢ ฼มืไอครบทุก โ
ชีท Live แ ชัไว฾มง ิหรืออืไนโ ตามทีไตัๅงี จะบันทึก฼ป็น
เฟล์ขຌอมูลอัต฾นมัติ฿น icon ๡Data Explorer๢

ถຌา฼กใบ฽บบ ฽สดงชืไอเฟล์ทีไ
๡Time Stop๢ บันทึกขຌอมูล
฽สดงค຋าระดับ หรือ
฼สียง ณ ขณะนัๅน ๡Manual Stop๢ กดปุ่ม Nevigator
฿หຌกดปุ่ม ฼พืไอ฼ลือก
กดปุ่ม RUN ฼พืไอ STOP/STORE Save File?
฼ริไม฼กใบขຌอมูล ฼พืไอบันทึก฼ป็น ๡Yes๢
เฟล์ขຌอมูล฿น กดปุ่ม ENTER
icon ๡Data
กระพริบ = ฼กใบขຌอมูล Explorer๢
= หยุด฼กใบขຌอมูล
5. ตรวจวัดและบันทึกผล 48
ดูขอ้ มูลทันทีภายหลังตรวจวัด
หนຌา฽รก
LxT

กด หรือ
฼พืไอ฼ลือกชีท
Overall

กดปุ่ม Nevigator
ขึนๅ -ลง ฼พืไอดู
ขຌอมูลหนຌาอืไนโ 6. ดูขอ้ มูล
49
ดูขอ้ มูลจากข้อมูลที่บนั ทึก หนຌา฽รก LxT
ชีท Overall

กดปุ่ม
TOOLS
กดปุ่ม Navigator
฼พืไอ฼ลือก icon
๡Data Explorer๢
กดปุ่มNavigator
ขึๅน-ลง฼พืไอ฼ลือก กดปุ่ม Nevigator
เฟล์ขຌอมูล ขึๅน-ลง ฼พืไอดู
กด ENTER ฼พืไอ ขຌอมูลหนຌาอืไนโ 50

ยืนยัน
หนຌา
Data Explorer

฼ลือก ๡Yes๢
กด ENTER
฼พืไอยืนยัน

กดปุ่มNavigator
ขึๅน-ลง฼พืไอ฼ลือก กด Menu
กดปุ่ม Navigator กดปุ่ม ON/OFF
เฟล์ขຌอมูล
฼ลือก ๡Delete๢ อย຋างรวด฼รใว
กด ENTER ฼พืไอ
7. ลบข้อมูล ยืนยัน 8. Power Control 51
ถาม-ตอบ
1. ค่าระดับการรบกวน เป็ นค่าติดลบ เป็ นไปได้หรือไม่
ตอบ ได้ โดยส่วนใหญ่มกั เกิดจาก
- เสียงของแหล่งกาเนิดมีระดับเสียงสูงจากเสียงสิ่งแวดล้อม
ไม่มากนัก
- กรณีเสียงแหล่งกาเนิดเกิดเป็ นช่วงๆ โดยแต่ละช่วงมี
ระยะเวลาการเกิดสั้นมาก

52
2. Leq ขณะไม่มีการรบกวน มีค่าสูงกว่า Leq ขณะแหล่งกาเนิดมี
การดาเนินกิจกรรม เป็ นไปได้หรือไม่
ตอบ ไม่ควร ซึ่งเป็ นไปตามหลักการรวมเสียง
สาเหตุที่ Leq ขณะไม่มีการรบกวน มีค่าสูงกว่า อาจมาจาก
• ณ ขณะตรวจวัด มีเสียงแหล่งกาเนิดเสียงอื่น ซึ่งโดยปกติ
จะไม่มี
• ตัง้ จุดตรวจวัดบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมบางอย่างแตกต่าง
ไป ทั้งนี้ ต้องหาจุดตรวจวัด Leq ขณะไม่มีการรบกวนใหม่
ในบางกรณี Leq ขณะไม่มีการรบกวน มีค่าไม่แตกต่างจาก
Leq ขณะแหล่งกาเนิดมีการดาเนินกิจกรรม ซึ่งมีสาเหตุจาก
เสียงของแหล่งกาเนิดเบามาก 53
3. สามารถใช้จดุ อื่นที่ไม่ใช่บา้ นผูร้ อ้ ง ทาการตรวจวัดเสียง
รบกวน ได้หรือไม่
ตอบ ไม่ควร แต่ถา้ จาเป็ นก็ตง้ั ได้ เช่น ผูร้ อ้ งไม่ระบุ
รายละเอียดที่ตง้ั บ้าน ก็อาจพิจารณาจุดที่ใกล้แหล่งกาเนิด
เสียง และเจ้าของบ้านนั้นๆ ยินยอมให้ตง้ั
4. แหล่งกาเนิดมีการทางาน 8 ชม. สามารถวัดระดับเสียง
แหล่งกาเนิดเป็ น Leq 8 ชม. แล้วเอาค่าดังกล่าวมาใช้
ประมวลผลต่อได้หรือไม่
ตอบ ไม่ได้ ถ้าเสียงเกิดต่อเนื่องนานกว่า 1 ชม. กฎหมาย
กาหนดให้ตรวจวัดเป็ น Leq 1 ชม. ในกรณีน้ ีสามารถวัดเป็ น
Leq 1 ชม. ต่อเนื่อง 8 ค่า แล้วเอาทั้ง 8 ค่ามาประมวลผล
ต่อไป 54
5. ผลการสอบเทียบระดับเสียงระหว่างก่อน และ หลัง การ
ตรวจวัด มีค่าแตกต่างเพียงใด จึงจะถือว่าผลการตรวจวัด
เสียงมีค่าที่ถูกต้องและใช้ได้
ตอบ ไม่ควรต่างกันเกิน 1 เดซิเบล
6. สามารถนา Leq ที่ตรวจวัดมาคานวณเป็ นค่า L90 ได้หรือไม่
ตอบ ได้ แต่ค่าที่เอามาคานวณควรเป็ นผลการตรวจวัดที่
ละเอียด เช่น ข้อมูลรายวินาที
7. สามารถวัดระดับเสียงของแหล่งกาเนิดเพียง 1 ค่า ได้หรือไม่
ตอบ ได้ แต่ความน่าเชื่อถือของรายงานอาจลดลงไป

55
8. สามารถวัดระดับเสียงพื้นฐานเพียง 1 ค่า ได้หรือไม่
ตอบ ได้ แต่ความน่าเชื่อถือของรายงานอาจลดลงไป ทั้งนี้
แนะนาให้ตรวจวัดมากกว่า 1 ค่า และเลือกค่ากลางมาใช้
9. การวัดระดับเสียงพื้นฐาน และระดับเสียงขณะไม่มีการ
รบกวน สามารถดาเนินการพร้อมกับการตรวจวัดระดับเสียง
ขณะมีการรบกวน ได้หรือไม่
ตอบ ได้ เป็ นการตรวจวัดพร้อมกันแต่วดั คนละจุด โดยจะ
เป็ นกรณีที่แหล่งกาเนิดไม่สามารถหยุดการเกิดเสียงได้ ซึ่ง
ต้องไปหาจุดอื่นวัดเสียงพื้นฐานแทน อย่างไรก็ตามแนะนาว่า
ถ้าสามารถให้แหล่งกาเนิดเสียงหยุดการดาเนินกิจกรรมได้จะ
ดีที่สุด โดยที่การตรวจวัดระดับเสียงทุกค่าจะเป็ นจุดเดียวกัน
56
10. สามารถประเมินเบื้องต้นได้หรือไม่ว่า เสียงกรณีใดไม่เป็ น
เสียงรบกวน
ตอบ ได้ เมื่อได้ยนิ เสียงกิจกรรมของแหล่งกาเนิดเบามาก
หรือ ระยะเวลาเกิดเสียงสั้นมาก
11. ผูร้ อ้ ง ได้รบั เสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงหลายแหล่ง จะ
ตรวจวัดเสียงรบกวนอย่างไร
ตอบ
1) ตรวจวัดที่ละแหล่งกาเนิด โดยให้แหล่งกาเนิดอื่นๆ หยุด
และประมวลผล
2) ตรวจวัดเสียงจากทุกแหล่งกาเนิด และประมวลผล 57
58
59
ประกำศกระทรวง
อุตสำหกรรม
เรื่อง กำหนดค่ำระดับเสียงกำร
รบกวนและระดับเสียงที่เกิด
จำกกำรประกอบกิจกำร
โรงงำน พ.ศ. 2548

60
61

You might also like