You are on page 1of 19

13/12/63

8.1 บทนา
๑๕-๑๑๔-๓๐๓ "พลังงาน" มนุษย์คน้ พบแหล่งพลังงานมาเนิ่นนานแล้ว เช่น พลังงานเชื้อเพลิง ซึ่ งแปร
รู ปมาจากพลังงานธรรมชาติ ที่สะสมมานานนับศตวรรษหรื อปิ โตรเลียม (น้ ามันดิบ) และเราได้

การอนุรักษ์ และการจัดการพลังงาน ใช้พลังงานดังกล่าวมาผลักดันโลกให้พฒั นาก้าวไปข้างหน้าในทุก ๆ ด้าน จนกระทัง่ วันหนึ่ ง ที่


ทุกคนเริ่ มตระหนักว่า พลังงานที่แปรรู ปจากธรรมชาติดงั กล่าว (น้ ามันดิบ) กาลังจะหมดไป
มนุ ษย์จาเป็ นต้องหาหนทางอื่น ๆ ในการสร้ างพลังงานทดแทน ก่ อนที่ทุกอย่างจะสายเกิ นไป
มนุ ษย์ก็ได้คน้ พบว่าพลังงานบริ สุทธิ์ จากธรรมชาติ ไม่ ว่าจะเป็ น สายลม สายน้ า แผ่นดิ นที่ มี
Energy Conservation and Management
พลัง งานความร้ อ นใต้พิ ภ พ เช่ น น้ าพุ ร้ อ น ซึ่ งสามารถใช้ค วามร้ อ นผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ได้
แสงอาทิตย์ สามารถนามาสร้างสรรค์ เป็ นแหล่งพลังงานทดแทนได้ และในทางกลับกันเศษซาก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กติ ติกร ขันแกล้ ว แห่ งผลพวงอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมตลอดจนสิ่ งปฏิกูลจากผลผลิตของมนุ ษย์และสัตว์ก็
3. พลังงานทางเลือก สามารถนามาใช้เป็ นแหล่งพลังงานทดแทนได้ ซึ่งจะช่วยดารงรักษาแหล่งพลังงานจากธรรมชาติ
ไม่ให้ลดน้อยลงไปมากกว่านี้ และคงไว้ซ่ ึงสมดุลของโลกต่อไป

ประเภทของพลังงาน 2. พลังงานทดแทน
1. พลังงานจากปิ โตรเลียม ได้แก่ น้ ามันดิบ พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่นามาใช้แทนน้ ามันเชื้อเพลิง
2. พลังงานทดแทน คือ พลังงานที่นามาใช้แทนน้ ามันเชื้อเพลิง เป็ นพลังงานสะอาด ไม่มี สามารถแบ่งตามแหล่งที่ได้มาเป็ น ๒ ประเภท คือ
ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และเป็ นแหล่งพลังงานที่มีอยูใ่ นท้องถิน่ แบ่งตามแหล่งที่มาได้ 2
ประเภท คือ พลังงานทดแทน (Alternative Energy)จากแหล่ งที่ใช้ แล้ วหมดไป
2.1 พลังงานสิ้นเปลือง คือ พลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใช้แล้วหมดไป อาจเรียกว่ า พลังงานสิ้นเปลือง ได้แก่ ถ่ านหิน ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ หิน
เช่น ถ่านหิ น ก๊าซธรรมชาติ นิวเคลียร์ น้ามัน และทรายน้ามัน เป็ นต้ น
2.2 พลังงานหมุนเวียน คือ พลังงานที่ใช้แล้วสามารถหมุนเวียนมาใช้ได้อีก
เช่น แสงอาทิตย์ ลม น้ า ไฮโดรเจน ชีวมวล
พลังงานทดแทนจากแหล่ งพลังงานที่ใช้ แล้ วสามารถหมุ นเวียนมา
3. พลังงานไฟฟ้ า ใช้ ได้ อี ก เรี ย กว่ า พลั ง งานหมุ น เวี ย น (Renewable Energy)ได้ แ ก่
4. พลังงานประเภทอื่นๆ เช่น พลังงานทางเลือก (Alternative Fuel) แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล น้า และไฮโดรเจน เป็ นต้ น

พลังงานสามารถแบ่ งออกเป็ น 2 ชนิดใหญ่ พลังงานสามารถแบ่ งออกเป็ น 2 ชนิดใหญ่


1. พลังงานทีใ่ ช้ แล้ วสู ญสิ้น 2. พลังงานทีใ่ ช้ แล้ วไม่ สูญสิ้น
ได้ แก่ พลังงานจากซากดึกดาบรรพ์ หรื อ ฟอสซิล ที่สาคัญ ได้ แก่
1.1 ปิ โตรเลียม ปิ โตรเลียมที่ นาขึ้ นมาจากใต้พิภพมักจะมีลกั ษณะเป็ นของเหลวสี ดา หรื อน้ าตาล
- พลังงานแสงอาทิตย์
เป็ นน้ ามันดิ บ ซึ่ งเป็ นต้นกาเนิ ดของผลิ ตภัณฑ์ประเภทต่ างๆ ตั้งแต่น้ ามันเบนซิ น น้ ามันก๊าด จนถึงพลาสติก - พลังงานลม
และยารักษาโรค ปิ โตรเลียมนับเป็ นแหล่งพลังงานที่ใหญ่ที่สุดของโลก แต่ขณะนี้กาลังถูกใช้ลดน้อยลงไปทุกที
1.2 แก๊ สธรรมชาติ เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์ บอน อยู่ในสภาวะที่มีความกดดันสู งมากในแหล่ง - พลังงานนา้
แก๊สธรรมชาติ อาทิ เช่ น มีเทน อีเทน โปรเทน บิวเทน และอาจมีบางส่ วนเป็ นของเหลวที่อุณหภูมิปกติ เช่ น
เพนเทน เฮกเซน เฮปเทนและออกเทน และมีสารประกอบประเภทคาร์ บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และ
- พลังงานนา้ ขึน้ นา้ ลง
ไนโตรเจน รวมอยูด่ ว้ ย - พลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ
1.3 ถ่ านหิน เกิดมาจากการทับถมและสะสมตัวเองเป็ นเวลานานนับล้านปี ของซากสิ่ งมีชีวิตจาพวก
พืช และกลายเป็ นถ่านหินด้วยอิทธิพลของแรงกดดันและความร้อน - พลังงานชีวมวล
1.4 พลังงานนิวเคลียร์ มีการใช้อยู่เพียงร้ อยละ 2
นิวเคลียร์อยู่ 28 โรง ดาเนินการอยูใ่ นประเทศต่างๆ 25 ประเทศ
ของพลัง งานทั้งหมด มีโรงงานปฏิ กรณ์ - มวลชีวภาพ

1
13/12/63

พลังงานสี เขียว หมายถึง พลังงานสะอาด หรื อ พลังงานหมุนเวียน พลังงานสะอาด


เป็ นพลังงานที่ ได้ใช้แล้วไม่หมดไป มี ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อย คื อ พลังงานที่ไม่ ก่อให้ เกิดมลภาวะ หรื อส่ งผลกระทบต่ อ
และไม่สร้ างก๊าซเรื อนกระจกเพิ่มเติ มในชั้นบรรยากาศ ตัวอย่างของพลังงาน
สิ่ งแวดล้อม อาทิ พลังงานแสง อาทิตย์ พลังงานลม เป็ นต้ น
หมุนเวียน ได้แก่ พลังงานนา้ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิ ตย์ พลังงานชีวมวล
พลังงานความร้ อนใต้ พิภพ เป็ นต้น การใช้ พ ลัง งานจากแหล่ ง พลัง งานสะอาด เป็ นการแก้ ปั ญ หาในเรื่ องการ
เปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศที่ ถู ก ต้อ งและยัง่ ยืน ที่ สุ ด พลัง งานสะอาดหรื อ พลัง งาน
จะเห็นได้ว่าเมื่อเราลงทุนในอุปกรณ์สาหรับพลังงานเหล่านี้ แล้ว เราไม่
หมุนเวียน เป็ นพลังงานธรรมชาติจากแสงอาทิตย์ ลม และชีวมวล ซึ่ งสามารถใช้ได้ไม่มีวนั
ต้องเสี ยเงินซื้ อเชื้อเพลิงเลย เพราะเป็ นสิ่ งที่ได้มาฟรี ๆ จากธรรมชาติ ซึ่ งจะมีการ หมด นอกจากนี้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ช่วยให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เช่ น การ
หมุนเวียนเกิดขึ้นใหม่อยูต่ ลอดเวลา ใช้ พลังงานความร้ อนร่ วมซึ่ งเปลี่ยนรู ปความร้ อนที่เกิ ดขึ น้ จากกระบวนการผลิ ตให้ เป็ น
บางแห่ ง รวมพลัง งานนิ ว เคลี ย ร์ ไ ว้ใ นพวกของพลัง งานสะอาดด้ว ย พลังงาน ก็ถือว่าเป็ นพลังงานสะอาดเช่นกัน โดยพลังงานสะอาดนี้ จะช่วยลดการลดปล่อย
เพราะพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบสิ่ งแวดล้อม แต่ ก๊าซเรื อนกระจกโดยเฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้
เนื่องจากกากนิวเคลียร์เป็ นปัญหาในการกาจัด

พลังงานหมุนเวียน พลังงานหมุนเวียน
คือ แหล่งพลังงานที่ได้จากธรรมชาติรอบตัวเรา หามาใช้ได้ไม่มีวนั ข้ อดี
หมด ซึ่ งสามารถสร้ า งทดแทนได้ใ นช่ ว งเวลาสั้ น ๆ โดยธรรมชาติ • สามารถหาได้ง่าย ไม่วา่ จะอยูท่ ี่ใดบนโลก
หลังจากมีการใช้ไปพลังงานที่ใช้แล้วไม่สูญหายไป เพราะสามารถหา • สามารถผลิตพลังงานได้ตลอดเวลา เช่น พลังงานความร้อนใต้พภิ พ
• ใช้ไม่มีวนั หมด
มาทดแทนได้ เช่ น แกลบ ไม้ ฟื น ชานอ้ อย มูลสั ตว์ พลังนา้ จากเขื่อน • เป็ นแหล่งพลังงานที่ได้มาฟรี
พลังจากแสง อาทิ ตย์ พลังลมที่หมุนกังหั นลม เป็ นต้น จึ งมีหลายชื่ อที่ • นามาผลิตไฟฟ้าได้ในราคาถูก เช่น พลังน้ า
ใช้ เ รี ยก - พลัง งานทดแทนและพลังงานใช้ ไม่ หมด รวมถึ งพลังงาน • มีความเสถียรในเรื่ องราคาพลังงาน
• เป็ นพลังงานสะอาด ไม่สร้างมลพิษทางอากาศ, น้ าและไม่เกิดขยะของเสี ย
สะอาดและพลังงานสี เขียว เนื่องจากไม่ ทาให้ เกิดมลพิษต่ อสิ่ งแวดล้ อม
นั่นเอง

พลังงานหมุนเวียน พลังงานหมุนเวียน
ข้ อเสี ย ประโยชน์ จากพลังงานหมุนเวียน
• พบได้เฉพาะบางพื้นที่เท่านั้น เช่น พลังงานความร้อนใต้พภิ พ ประโยชน์ ที่ ไ ด้ จ ากพลัง งานหมุ น เวี ย นมี ห ลาย ๆ ด้ า น ทั้ง การรั ก ษา
• ไม่สามารถผลิตพลังงานได้อย่างต่อเนื่อง สิ่ ง แวดล้อมลดมลพิษจากการผลิ ตไฟฟ้ าจากเชื้ อเพลิ งฟอสซิ ล จาพวกผลิ ตภัณ ฑ์
• ต้นทุนในตอนเริ่ มต้นสู ง
ปิ โตรเลียมต่างๆ อีกทั้งลดการนาเข้าเชื้ อเพลิงพวกนี้ จากต่างประเทศ และพลังงาน
• ต้องมีการเก็บพลังงานไว้ ซึ่งไม่คุม้ ค่าเชิงพาณิ ชย์
• ต้องใช้พ้นื ที่มากในการติดตั้ง เชื้ อ เพลิ ง ยัง ให้ ผ ลตอบแทนการลงทุ น ที่ น่ า สนใจอี ก ด้ว ย ซึ่ งวัส ดุ เ หลื อ ใช้ท าง
• อาจเป็ นสาเหตุของมลพิษทางอากาศ เช่น พลังงานความร้อนใต้พภิ พ การเกษตรสามารถนามาเป็ นเชื้ อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ และถือว่าเป็ นการ
• อาจทาให้โลกร้อนขึ้นได้ เช่น การเผาไหม้ของพลังงานชีวมวล สร้างประโยชน์จากสิ่ งด้อยค่าให้กลับมามีค่าในการพัฒนาประเทศได้ นอกจากนี้ ยงั
• เกิดมลพิษทางเสี ยง เช่น พลังงานลม ช่วยบรรเทาปั ญหาการเพิ่มการสะสมของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ที่
• อาจทาลายระบบนิเวศน์และส่ งผลต่อการอพยพย้ายถิ่นฐานของสิ่ งมีชีวติ จะนาไปสู่ การเกิดปฏิกิริยาเรื อนกระจกและจะทาให้อุณหภูมิของโลกสู งขึ้น

2
13/12/63

พลังงานหมุนเวียน เหตุผลที่ควรเลือกใช้ พลังงานสะอาด , พลังงานสีเขียว , พลังงานหมันเวียน


ซึ่งพลังงานหมุนเวียนที่มีศกั ยภาพในประเทศไทย และได้มีการพัฒนาและทดลองติดตั้งอยูแ่ ล้ว - ช่ วยลดการปล่อย CO2 เพื่อแก้ปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
ในประเทศไทย มีหลายประเภท ดังนี้
•ชีวมวล เป็ นกากเหลือจากการกสิ กรรม เช่น แกลบ, ชานอ้อย, ปาล์มน้ ามัน หรื อกากของเสี ยจากโรงงาน - เพื่อสนับสนุนให้ เกิดการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืนในทางปฏิบัติ
อุตสาหกรรมที่สามารถเผาไหม้และนาพลังงานความร้อนไปผลิตกระแสไฟฟ้าได้
•ก๊ าซชีวภาพ ที่เกิดจากการย่อยสารอินทรี ยใ์ นของเสี ยและนาก๊าซไปเผาจนนาความร้อนที่ได้มาผลิต - เพื่อเป็ นการสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าขนาดเล็กซึ่งมีผลกระทบ
กระแสไฟฟ้าได้
•แสงอาทิตย์ เราสามารถเปลี่ยนแสงอาทิตย์ให้เป็ นไฟฟ้าได้ โดนผ่านเซลล์สุริยะที่สามารถติดตั้งที่ใดก็ได้ที่ ต่ อสิ่งแวดล้อมและสังคมน้ อยกว่าโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่
แสงอาทิตย์ส่องถึง
•พลังงานนา้ มีท้ งั พลังงานน้ าขนาดใหญ่และขนาดเล็ก โดยพลังงานน้ าขนาดใหญ่สามารถนาไปสร้างเป็ น - ช่ วยให้ คุณภาพอากาศในชุ มชนบริเวณโรงไฟฟ้าดีขนึ้
เขื่อนเพื่อเก็บกักน้ าและผลิตไฟฟ้าได้ ขณะที่พลังงานน้ าขนาดเล็กอย่างแม่น้ าหรื อลาธารเล็กๆ ก็สามารถ
นามาผลิตไฟฟ้าได้เช่นเดียวกัน - ช่ วยสร้ างงานในภาคพลังงานหมุนเวียนและภาคอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
•พลังงานลม การนากระแสลมมาหมุนกังหันเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้านั้นได้รับความนิยมอย่างมากในทวีป
ยุโรปและทวีปอเมริ กา ซึ่งมีกระแสลมแรงสม่าเสมอ กับการใช้ พลังงานอย่ างมีประสิทธิภาพ

พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานแสงอาทิตย์ การพัฒนาการใช้ พลังงานจากแสงอาทิตย์ อยู่ในขั้นทดลอง
และค้ นคว้ าบางส่ วนเริ่ มใช้ ได้ ผลบ้ างแล้ ว เช่ น เซลล์ แสงอาทิตย์
ซึ่ งใช้ ให้ พลังงานแก่ เครื่ องใช้ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องทาความร้ อน
เครื่ องทาความเย็น เป็ นต้ น ความพยายามนาพลังงานแสงอาทิตย์
มาใช้ โดยตรง โดยการแปรให้ เป็ นพลังงานรู ปต่ างๆ ได้ แก่ พลังงาน
ความร้ อน พลังงานไฟฟ้ าการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ ให้ เป็ น
พลังงานไฟฟ้ านั้นได้ รับความนิยมอย่ างสู ง

พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์
ประเทศไทยตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณใกล้ เ ส้ นศู นย์ สูต รจึ ง ได้ รั บ พลัง งานจากแสงอาทิ ต ย์ ในเกณฑ์ สู ง
พลังงาน โดยเฉลี่ย ซึ่ งรั บได้ ทั่ ว ประเทศประมาณ 4 ถึ ง 4.5 กิโ ลวัต ต์ ชั่ว โมงต่ อ ตารางเมตรต่ อ วัน
พลังงานแสงอาทิตย์ เป็ นพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่ใช้แล้วเกิดขึ้น
ประกอบด้ วยพลังงานจากรังสี ตรง (Direct Ra dilation) ประมาณร้ อยละห้ าสิ บ ส่ วนที่เหลือเป็ นพลังงาน ใหม่ได้ตามธรรมชาติ เป็ นพลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็ นพลังงาน
รังสี กระจาย (Diffused Radiation) ซึ่งเกิดจากละอองนา้ ในบรรยากาศ (เมฆ) ซึ่ งมีปริมาณสู งกว่ าบริเวณที่ ที่ มี ศ ัก ยภาพสู ง ในการใช้พ ลัง งานแสงอาทิ ต ย์ส ามารถจ าแนกออกเป็ น 2
ห่ างจากเส้ นศูนย์ สูตรออกไปทั้งแนวเหนือ – ใต้ สถานภาพการนาพลังงานแสงอาทิตย์ มาประยุกต์ ใช้ งานใน
ประเทศไทยที่ เ ห็ นอย่ า งชั ดเจน ได้ แก่ การผลิต ไฟฟ้ า จากเซลล์ แสงอาทิ ต ย์ และการผลิต น้า ร้ อ นจาก
รู ปแบบคือ
แสงอาทิตย์ ส่ วนการใช้ ประโยชน์ อย่ างอื่น เช่ น การอบแห้ ง การกลั่นนา้ และการทาความเย็น ส่ วนใหญ่ ยัง - การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า
เป็ นการทดลอง และการวิจัยเท่ า นั้น ปั จจุ บั นมีการติดตั้ง การใช้ งานระบบไฟฟ้ า ด้ ว ยเซลล์ แสงอาทิ ต ย์ - การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อผลิตความร้อน
ประมาณ 5,000 กิโลวัต ต์ ส่ วนใหญ่ จะเป็ นการใช้ งานในพื้ นที่ที่ ไม่ มีไฟฟ้ า เข้ า ถึง กิจกรรมที่ นาเซลล์
แสงอาทิตย์ ไปใช้ งานมากที่สุด ได้ แก่ ระบบสื่ อสารโทรคมนาคม รองลงมาเป็ นระบบประจุแบตเตอรี่ด้วย
เซลล์ แสงอาทิตย์ และระบบสู บน้า หน่ วยงานที่นาระบบไฟฟ้ าด้ วยเซลล์ แสงอาทิตย์ ไปใช้ ประโยชน์ ยังคง
เป็ นหน่ วยงานของรัฐที่จัดหาระบบพลังงานสาหรับสาธารณประโยชน์

3
13/12/63

พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์
เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า

ระบบผลิตกระแสไฟฟ้ าด้ วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบ่ งออกเป็ น 3 ระบบ คือ เซลล์แสงอาทิตย์ แบบต่ อกับระบบจาหน่ าย (PV Grid connected system)

เป็ นระบบผลิ ตไฟฟ้ าที่ ถูกออกแบบสาหรั บผลิ ตไฟฟ้ าผ่านอุ ปกรณ์เปลี่ยนระบบ


เซลล์แสงอาทิตย์ แบบอิสระ (PV Stand alone system) ไฟฟ้ากระแสตรงเป็ นไฟฟ้ากระแสสลับเข้าสู่ ระบบสายส่ งไฟฟ้าโดยตรง ใช้ผลิตไฟฟ้าในเขต
เป็ นระบบผลิ ตไฟฟ้ าที่ได้รับการออกแบบสาหรั บใช้งานในพื้นที่ชนบทที่ ไม่ มี เมือง หรื อพื้นที่ที่มีระบบจาหน่ ายไฟฟ้าเข้าถึง อุปกรณ์ระบบที่สาคัญประกอบด้วยแผงเซลล์
ระบบสายส่ ง ไฟฟ้ า อุ ป กรณ์ ระบบที่ ส าคัญ ประกอบด้ว ยแผงเซลล์แ สงอาทิ ต ย์ อุ ป กรณ์ แสงอาทิตย์ อุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็ นไฟฟ้ากระแสสลับชนิ ดต่อกับระบบ
ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็ นไฟฟ้า จาหน่ายไฟฟ้า
กระแสสลับแบบอิสระ

พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์
เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า

เซลล์แสงอาทิตย์ แบบผสมผสาน (PV Hybrid system)

เป็ นระบบผลิตไฟฟ้ าที่ถูกออกแบบสาหรั บทางานร่ วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้ า


อื่ น ๆ เช่ น ระบบเซลล์แ สงอาทิ ต ย์กับ พลัง งานลม และเครื่ อ งยนต์ดี เ ซล ระบบเซลล์
แสงอาทิตย์กบั พลังงานลม และไฟฟ้าพลังน้ า เป็ นต้น โดยรู ปแบบระบบจะขึ้นอยูก่ บั การ
ออกแบบตามวัตถุประสงค์โครงการเป็ นกรณี เฉพาะ

พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์
เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อผลิตความร้ อน

การผลิตนา้ ร้ อนด้ วยพลังงานแสงอาทิตย์ และการอบแห้ งด้ วยพลังงานแสงอาทิตย์ การอบแห้ ง ด้ ว ยพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ปั จ จุ บั น มี ก ารยอมรั บ ใช้ งาน 3 ลัก ษณะ คื อ
การผลิตนา้ ร้ อนด้ วยพลังงานแสงอาทิตย์ แบ่ งออกเป็ น 3 ชนิด
- การอบแห้ งระบบ Passive
- การผลิตนา้ ร้ อนชนิดไหลเวียนตามธรรมชาติ เป็ นระบบที่เครื่ องอบแห้งทางานโดยอาศัยพลังงานแสงอาทิตย์และกระแสลมที่พดั ผ่าน
เป็ นการผลิตน้ าร้อนชนิดที่มีถงั เก็บอยูส่ ู งกว่าแผงรับแสงอาทิตย์ ใช้หลักการหมุนเวียนตามธรรมชาติ
- การอบแห้ งระบบ Active
- การผลิตนา้ ร้ อนชนิดใช้ ปั๊มนา้ หมุนเวียน เป็ นระบบอบแห้งที่มีเครื่ องช่วยให้อากาศไหลเวียนในทิศทางที่ตอ้ งการ เช่น มีพดั ลม
เหมาะสาหรับการใช้ผลิตน้ าร้อนจานวนมาก และมีการใช้อย่างต่อเนื่อง ติดตั้งในระบบเพือ่ บังคับให้มีการไหลของอากาศผ่านระบบ

- การผลิตนา้ ร้ อนชนิดผสมผสาน - การอบแห้ งระบบ Hybrid


เป็ นการนาเทคโนโลยีการผลิตน้ าร้ อนจากแสงอาทิตย์มาผสมผสานกับความร้อนเหลือทิ้งจากการ เป็ นระบบอบแห้งที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และยังต้องอาศัยพลังงานในรู ปแบบอื่นๆ
ระบายความร้อนของเครื่ องทาความเย็น หรื อเครื่ องปรับอากาศ โดยผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน ช่วยในเวลาที่มีแสงอาทิตย์ไม่สม่าเสมอ หรื อต้องการให้ผลิตผลทางการเกษตรแห้งเร็ วขึ้น

4
13/12/63

พลังงานแสงอาทิตย์
การผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ มจี ุดเด่ นทีส่ าคัญ
แตกต่ างจากวิธีอื่นหลายประการ ดังต่ อไปนี้

- ไม่มีชิ้นส่ วนที่เคลื่อนไหวในขณะใช้งาน จึงทาให้ไม่มีมลภาวะทางเสี ยง


- ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะเป็ นพิษจากขบวนการผลิตไฟฟ้า
- มีการบารุ งรักษาน้อยมากและใช้งานแบบอัตโนมัติได้ง่าย
- ประสิ ทธิภาพคงที่ไม่ข้ นึ กับขนาด
- สามารถผลิตเป็ นแผงขนาดต่างๆ ได้ง่าย ทาให้สามารถผลิตได้ปริ มาณมาก
- ผลิตไฟฟ้าได้แม้มีแสงแดดอ่อนหรื อมีเมฆ
- เป็ นการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่ได้มาฟรี และมีไม่สิ้นสุ ด
- ผลิตไฟฟ้าได้ทุกมุมโลกแม้บนเกาะเล็กๆ กลางทะเล บนยอดเขาสู ง และในอวกาศ
- ได้พลังงานไฟฟ้าโดยตรงซึ่งเป็ นพลังงานที่นามาใช้ได้สะดวกที่สุด

แผนที่ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ ของประเทศไทย พ.ศ. 2542


พลังงานแสงอาทิตย์
สัดส่ วนการใช้ งานเซลล์แสงอาทิตย์ ในประเทศไทย

เปอร์เซนต์ 36.5
40
32.5 ระบบผลิตไฟฟ้า
35
30 ระบบสู บน้ า
25 19 ระบบการสอน/การศึกษา
20
15
ระบบผลิต/จาหน่ายเข้าสู่สายส่ ง
10
5.3 ระบบโทรคมนาคม
0.5 2.4 3.8
5
เบ็ดเตล็ด
0

ปริ มาณการใช้เซลล์แสงอาทิตย์ ระบบประจุ แบตเตอรี่

ชนิดของเซลล์แสงอาทิตย์ ชนิดของเซลล์ แสงอาทิตย์ แบ่ งตามวัสดุที่ใช้ เป็ น 4 ชนิดหลักๆ คือ

1. เซลล์แสงอาทิตย์ แบบซิลคิ อน ชนิดผลึกเดีย่ ว


แบ่ งตามวัสดุที่ใช้ เป็ น 4 ชนิดหลักๆ (Single Crystalline Silicon Solar Cell)
รู ้ จกั กันในชื่ อ โมโนคริ ส ตัลซิ ลิค อนโซลาร์ เ ซลล์ (Monocrystalline
Silicon Solar Cell) ทาจากซิ ลิคอนที่แข็งและบาง ลักษณะเป็ นแผ่นกลม
แผ่นสี่ เหลี่ ยม ครึ่ งวงกลม ขึ้ นอยู่กบั ผูผ้ ลิ ต มี ความหนาประมาณ 0.3-0.5
มิ ล ลิ เ มตร มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพประมาณ 17 % มี ร าคาค่ อ นข้า งสู ง
ขบวนการผลิตมีความยุง่ ยาก อายุการใช้งานประมาณ 30 ปี

แบบซิ ลิคอนผลึกเดี่ยว แบบซิลคิ อนผลึกรวม แบบอะมอร์ฟัสซิ ลิคอน

5
13/12/63

ชนิดของเซลล์ แสงอาทิตย์ แบ่ งตามวัสดุที่ใช้ เป็ น 4 ชนิดหลักๆ คือ ชนิดของเซลล์ แสงอาทิตย์ แบ่ งตามวัสดุที่ใช้ เป็ น 4 ชนิดหลักๆ คือ

2. เซลล์แสงอาทิตย์ แบบซิลคิ อนชนิดผลึกรวม 3. เซลล์แสงอาทิตย์ แบบอะมอร์ ฟัสซิลคิ อน


(Polycrystalline Silicon Solar Cell) (Amorphous Silicon Solar Cell)
ลักษณะเป็ นแผ่นซิ ลิคอนแข็งและบางมาก เหมือนกับแบบซิ ลิคอนผลึกรวม ลักษณะเป็ นฟิ ล์มบางเพียง 0.5 ไมครอน (0.0005 มม.) น้ าหนักเบา
แต่มีประสิ ทธิ ภาพต่ากว่าเล็กน้อย คือ ประมาณ 13-15 % อันเนื่ องจากเกิดจาก มาก และประสิ ทธิ ภาพเพียง 5-10 % สามารถนาไปติดบนกระจก หรื อติด
รอยต่ อ ของแต่ ล ะผลึ ก ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กัน มี ร าคาถู ก กว่ า แบบซิ ลิ ก อนผลึ ก เดี่ ย ว มี บนแผ่นฟิ ล์มพลาสติก ขบวนการผลิตไม่ยงุ่ ยาก เหมาะกับการใช้กบั อุปกรณ์
ขบวนการผลิตที่ไม่ซบั ซ้อน อายุการใช้งานประมาณ 25 ปี ไฟฟ้ าที่ใช้ไฟฟ้าไม่มากนัก เช่ น เครื่ องคิดเลข นาฬิกาข้อมือ มีอายุการใช้
งานประมาณ 20 ปี

ชนิดของเซลล์ แสงอาทิตย์ แบ่ งตามวัสดุที่ใช้ เป็ น 4 ชนิดหลักๆ คือ หลักการผลิตไฟฟ้าโดยเซลล์แสงอาทิตย์


แสงอาทิตย์
4. เซลล์แสงอาทิตย์ ทที่ าจากสารกึง่ ตัวนาอื่นๆ (หมายถึงนอกจากซิลคิ อน)
เช่น แกลเลี่ยม อาร์เซไนด์ (Gallium Arsenide GaAS), แคดเมียม
เทลเลอไรด์ (Cadmium Telluride-CdTe) และคอปเปอร์ อินเดียม ไดเซเล เคลือบกันสะท้อนแสง
ไนด์ (Copper Indium Diselenide CulnSe) เป็ นต้น มีท้ งั ชนิ ดผลึกเดี่ยว N-SILICON
(Single Crystalline) และผลึกรวม (Polycrystalline) เซลล์แสงอาทิตย์ที่ทา P-N JUNCTION
จากแกลเลี่ยม อาร์เซไนด์ จะให้ประสิ ทธิ ภาพสู งถึง 20-25% ใช้กบั พื้นที่ที่ P-SILICON
มีความเข้มของแสงอาทิตย์ และยังทนต่อรังสี จึงเหมาะกับงานด้านอวกาศ
กระแสไฟฟ้ า

พลังงานลม
ลมเป็ นพลังงานที่สามารถแปรเปลี่ยนเป็ นพลังงานรู ปอื่นได้
เช่ น พลังงานกล พลังงานความร้ อน พลังงานไฟฟ้ า อุ ปกรณ์
ส าคั ญ ในการที่ จ ะรั บ พลั ง งานลมมาใช้ ได้ แ ก่ กั ง หั น

พลังงานลม
ลม (Wind Machine)

6
13/12/63

พลังงานลม พลังงานลม
ลม คื อพลังงานรู ปหนึ่งของพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งเกิดจากความร้อนที่ไม่คงที่ของ พลังงานลม (Wind Energy)
บรรยากาศอันเป็ นผลจากมาจากดวงอาทิตย์ ความไม่คงที่ของพื้นผิวโลก และการหมุน ลมเป็ นปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติซ่ ึ งเกิ ดจากความแตกต่างของอุ ณหภู มิ
ของโลก ลักษณะการเคลื่อนตัวของลมเปลี่ยนไปตามลักษณะพื้นที่ ลักษณะผิวน้ าและ ความกดดันของบรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก เป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไปว่า
พืชพรรณในที่ที่ลมพัดผ่าน การพัดของลมหรื อพลังงานในการเคลื่อนที่น้ ีจึงได้ถูก ลมเป็ นพลัง งานรู ป หนึ่ ง ซึ่ งในบางครั้ งแรงที่ เ กิ ด จากลมอาจท าให้ สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง
นามาใช้ในลักษณะต่างๆ เช่น ล่องเรื อ เล่นว่าว รวมทั้งใช้ในการผลิตไฟฟ้า อุปกรณ์ที่ บ้า นเรื อนที่ อ ยู่ อ าศัย พัง ทลาย ต้น ไม้หั ก โค่ น ลง ฯลฯ ในปั จ จุ บ ัน มนุ ษ ย์จึ ง ให้
ใช้ผลิตไฟฟ้าหรื อพลังงานกลจากลมนั้น คือ กังหันลม(Wind Turbine) โดยจะเปลี่ยน ความส าคัญกับพลัง งานที่ ได้จากลมมากขึ้น พลังงานลมเป็ นพลังงานที่ สะอาดไม่
พลังงานจลน์ของลมที่พดั ให้อยูใ่ นรู ปพลังงานกลซึ่งใช้ในการสู บน้ า หรื อเปลี่ยน ก่อให้เกิ ดอันตรายและมลพิษต่อสภาพแวดล้อมและสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
พลังงานกลนี้เป็ นไฟฟ้า กังหันลมมักจะถูกติดตั้งให้อยูบ่ นอาคารหรื อสถานที่ที่สูง 30 อย่างไม่รู้จกั หมดสิ้ น
เมตรขึ้นไปเพือ่ ให้กงั หันหมุนเร็ วขึ้น กังหันลมสามารถนามาใช้ผลิตไฟฟ้า สาหรับที่อยู่
อาศัย

พลังงานลมของประเทศไทย พลังงานลมของประเทศไทย
การตรวจวัดพลังงานลมทัว่ ประเทศ หรื อที่เรี ยกว่าเป็ นการทา Wind map โดย
พลังงานลมของประเทศไทย วัดที่ความสู ง 50 เมตร ตามเทคโนโลยีที่กงั หันลมสมัยใหม่ทาได้ และพบว่า บริ เวณทาง
ประเทศไทยมีกาลังการผลิตไฟฟ้ารวมทั้งประเทศประมาณ 18,000 เมกะวัตต์ ใต้ แถบชายฝั่ งตะวัน ออกของประเทศไทย ตั้งแต่ จังหวัดนครศรี ธ รรมราช สงขลา
โดยส่ วนใหญ่ผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานความร้อนจากก๊าซธรรมชาติ ถึง 2 ใน 3 หรื อ ปั ตตานี และที่อุทยานแห่ งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ มีความเร็ วลมเฉลี่ยสู งถึง
กว่า 12,000 เมกะวัตต์ เป็ นไฟฟ้ าจากพลังงานน้ า 2,800 เมกะวัตต์ นอกจากนั้น เป็ น 6.4 เมตรต่อวินาที ซึ่ งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่สามารถจะนามาผลิตกระแสไฟฟ้ าอย่างมี
พลังงานในรู ปอื่น ๆ เช่น Biogas และพลังงานแสงอาทิตย์ โดยประเทศไทยมีการนาเข้า ประสิ ทธิภาพ เช่นเดียวกับในประเทศยุโรป และอินเดียได้เช่นกัน ปั จจุบนั กรมพลังงาน
พลังงานทั้งในรู ปแบบของน้ ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิ น รวมสู งถึง 50 ล้านตันต่อ ทดแทนได้มีการศึกษาศักยภาพของพลังงานลมอย่างต่อเนื่อง โดยจะทาการวัดความเร็ ว
ปี ซึ่ งบ้า นเราก็ มีก ารทดลองใช้พลังงานลมเช่ นกันที่ ส ถานี ทดลองไฟฟ้ าจากพลัง งาน ลมที่ระดับความสู ง 90 เมตร ซึ่ งพื้นที่ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั
แสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานลม จ. ภูเก็ต ด้วยกาลังการผลิตเพียง 200 กิโลวัตต์ และได้มี วิทยาเขตตรั ง ก็เป็ นสถานี หนึ่ งด้วยที่มีการติดตั้งเสาเพื่อสารวจความเร็ วลมครั้งนี้ ใน
การติดตั้งเพิม่ เติมมาเรื่ อยๆ โดยความร่ วมมือจากภาคเอกชนบ้าง อนาคตข้างหน้าเราอาจจะได้เห็ นกังหันลมผลิตไฟฟ้ า มาติดตั้งที่จงั หวัดตรั งก็ได้ ถ้า
พบว่าที่ความสู งระดับนี้มีความเร็ วลมเพียงพอ

พลังงานลมของประเทศไทย พลังงานลมของประเทศไทย
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้จดั ทาแผนที่ศกั ยภาพพลังงานลมของ
จึงเป็ นเรื่ องน่าเสี ยดายที่ประเทศไทยเรายังไม่มีการศึกษาอย่างจริ งจังในเรื่ องของ ประเทศไทย ในปี พ.ศ.2544 ผลการศึกษาความเร็ วลมที่ระดับความสู ง 50 เมตร จากพื้นดิน
การนาพลังงานลมมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด ในขณะที่ ประเทศยุโรป อเมริ กา และ
แม้กระทัง่ จีน กับอินเดีย ได้เข้ามาศึกษาเรื่ องนี้ ทั้ง ๆ ที่เทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงานลม และ ศักยภาพลมดีเฉลี่ยรายปี 6.4 เมตร/วินาที ขึ้นไป ดังนี้
กังหันลม เป็ นระบบที่ง่าย ไม่ซับซ้อน และเราน่ าจะสามารถทาได้เองโดยไม่ตอ้ งพึ่งพา 1. อยูบ่ ริ เวณชายฝังทะเลด้านตะวันออกของภาคใต้ ตั้งแต่ จ.นครศรี ธรรมราช
เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เหมือนตัวอย่าง เช่น อินเดีย และจีน ก็เป็ นผูผ้ ลิตกังหันลมด้วย จ.สงขลา จ. ปั ตตานี
ตัวเอง เพือ่ ใช้เองและเพือ่ การจาหน่าย 2. บริ เวณเทือกเขาด้านตะวันตกตั้งแต่ จ.เพชรบุรี จ.กาญจนบุรี จ.ตาก
3. บริ เวณภูเขาสู งทางภาคใต้ของอุทยานแห่ งชาติ แก่งกรุ ง จ.สุ ราษฎร์ธานี
ศรี พงั งา จ.พังงา, เขาหลวง จ.นครศรี ธรรมราช และเขาพนมเบญจา จ.กระบี่

7
13/12/63

พลังงานลมของประเทศไทย
ศักยภาพลมรองลงมาเฉลีย่ รายปี 4.4 เมตร/วินาที ขึน้ ไป
1. อยูบ่ ริ เวณชายฝั่งทะเลอ่าวไทยด้านตะวันตกตั้งแต่ จ.เพชรบุรี
จ.ประจวบคีรีขนั ธ์, จ.ชุมพร และ จ.สุ ราษฎร์ธานี
2. บริ เวณยอดเขาสู งของ จ.เชียงใหม่ จ.เพชรบูรณ์ จ.เลย
3. บริ เวณภาคใต้ฝั่งตะวันตกตั้งแต่ จ.พังงา จ.ภูเก็ต จ.ตรัง จ.สตูล
4. บริ เวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก จ.ระยอง จ.ชลบุรี

พลังงานลมของประเทศไทย
พลังงานลม

พลังงานลม เทคโนโลยี พลังงานลมเพื่อการสู บนา้

8
13/12/63

เทคโนโลยี พลังงานลมเพื่อการสู บนา้ กังหันลม (Wind Turbine)

กังหันลม คือ เครื่ องจักรกลอย่างหนึ่ งที่สามารถเปลี่ยนพลังงานจลน์จากการ


เคลื่อนที่ของลมให้เป็ นพลังงานกลได้ และนาพลังงานกลมาใช้กบั กังหันลมเพื่อสู บน้ า
และผลิตเป็ นพลังงานไฟฟ้ าได้ ในการออกแบบกังหันลมจะต้องอาศัยความรู ้ทางด้าน
พลศาสตร์ ของลม และวิศวกรรมศาสตร์ ในแขนงต่าง ๆเพื่อให้ได้กาลังงาน พลังงาน
และประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด กังหันลมมักจะถูกติดตั้งให้อยู่บนอาคารหรื อสถานที่ที่สูงๆ
ตามศักยภาพของลมของแต่ละพื้นที่ กังหันลมสามารถแบ่งออกตามลักษณะการจัดวาง
แกนของใบพัดได้ 2 ประเภท ซึ่งทั้งสองชนิดจะประกอบด้วยอุปกรณ์ในการทางานผลิต
ไฟฟ้าที่คล้ายกัน เช่น ชุดใบพัด ชุดห้องเกียร์ ทดกาลัง ชุดเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้า และชุดเสา
โดยจะมีความแตกต่างกันตรงการวางชุดแกนหมุนใบพัด

กังหันลม (Wind Turbine)


กังหันลม (Wind Turbine)
กังหันลมแกนตั้ง (Vertical Axis Wind Turbine (VAWT))
กังหันลมที่แกนหมุนตั้งฉากกับทิศทางของลมซึ่ง กังหันลมแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine
สามารถรับลมได้ทุกทิศทางและติดตั้งอยูใ่ นระดับต่าได้มีเพียง (HAWT))
2 แบบ คือ กังหันลมแดร์ เรี ยส (Darrieus) และกังหันลมซาโวเนี ยส เป็ นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนานกับทิศทางของลมโดยมีใบเป็ นตัวตั้ง
(Savonius) กังหันลมแกนตั้ง มีประสิ ทธิ ภาพในการเปลี่ยน ฉากรับแรงลม กังหันลมประเภทนี้ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่ องและมีการ
พลังงานต่าในปัจจุบนั จึงมีการใช้งานอยูน่ อ้ ย ใช้งานสู งสุ ดในปัจจุบนั เนื่องจากประสิ ทธิ ภาพในการเปลี่ยนพลังงานสู ง แต่
ต้องติดตั้งบนเสาสู งและมีชุดควบคุมให้กงั หันลมหันหน้าเข้ารับแรงลมได้
ทุกทิศทางในแนวนอนอยูต่ ลอดเวลา

ส่ วนประกอบของกังหันลมผลิตไฟฟ้า
องค์ประกอบที่ประกอบขึ้นเป็ นกังหันลมผลิตไฟฟ้าในหนึ่งชุด จะ
ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลักใหญ่ ๆ ได้แก่ ชุดแกนหมุนใบพัด (Rotor
Blade), ชุดห้องเครื่ อง (Nacelle), ชุดเสา (Tower) และฐานราก (Foundation)

กังหันลมชนิด 2 ใบพัด กังหันลมชนิด 3 ใบพัด

กังหันลม
(Wind Turbine)

กังหันลม (Wind Turbine)


กังหันลมชนิด 6 ใบพัด กังหันลมชนิดหลายใบพัด

9
13/12/63

กังหันลม (Wind Turbine)

ขนาดของกังหันลม

ขนาดจิ๋ว (Micro Wind Turbine)


กาลังผลิต
(kW)
< 1.5
ใบพัด
(m)
<3
พืน้ ที่กวาด
(m2)
<7
พลังงานนา้
ขนาดเล็ก (Small Wind Turbine) 1.5-2.0 3-10 7-80

ขนาดกลาง (Medium Wind Turbine) 20-200 10-25 80 - 500

ขนาดใหญ่ (Large Wind Turbine) 200-1,500 25-70 500-3,850

ขนาดใหญ่ มาก (Very Large Wind > 1,500 > 70 > 3,850
Turbine)

พลังงานนา้ พลังงานนา้
พลังงานแสงอาทิตย์ทาให้น้ าบนพื้นโลกระเหยและรอยตัวขึ้นสู ง เมื่ อ พลังน้ าเป็ นพลังงานที่สะอาด ไม่ปล่อยก๊าซพิษออกมา ใช้ปั่นไฟได้โดยการปล่อยน้ า
ให้ไหลผ่านกังหัน ทาให้กงั หันหมุน และผลิตเป็ นไฟฟ้า แบบเดียวกับที่เราขี่จกั รยาน แล้วปั่ น
ไอน้ าในบรรยากาศกลัน่ ตัวเป็ นฝน ความเร่ งเนื่ องจากแรงดึงดูดของโลกทา หมุนไดนาโมซึ่งติดอยูท่ ี่วงล้อจักรยาน เราจึงเปิ ดไฟหน้ารถได้ พลังน้ ามีขอ้ ดีคือเปิ ดปุ๊ บติดปั๊ บ
ให้ไหลลงสู่ ที่ต่า พลังงานน้ าจึงเกิ ดจากพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงาน ปล่ อยน้ าไหลไปหมุ น กังหันเมื่ อใด ก็จะได้พลังงานออกมาทันที ผิด กับโรงไฟฟ้ าแบบใช้
ศักย์จากความเร่ งเนื่ องจากแรงดึ งดู ดของโลกการนาเอาพลังงานน้ ามาใช้ เชื้อเพลิงมาเผาให้ได้ความร้อน ซึ่ งต้องรอจนเครื่ องเข้าที่ จึงจะผลิตไฟฟ้าได้ โรงไฟฟ้าพลังน้ า
จึงเหมาะสาหรับกรณี ที่ตอ้ งการไฟทันทีและเร่ งด่วน จึงมักใช้ปั่นไฟตั้งแต่หลังเที่ยงวันจนถึง
ประโยชน์ทาได้โดยให้น้ าไหลจากที่สูงลงสู่ ที่ต่ า พลังงานศักย์ของน้ าถูก เที่ยงคืน ซึ่ งเป็ นช่วงที่ประชาชนและโรงงานต้องการใช้ไฟฟ้ ามากที่สุด ส่ วนเวลาดึกๆ จนถึง
เปลี่ยนเป็ นพลังงานจลน์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนนี้ คือ กังหันน้ า เช้าคนใช้ไฟลดลง แต่โรงไฟฟ้ าที่ใช้เชื้ อเพลิงฟอสซิ ล (เช่ น ถ่านหิ น ก๊าซธรรมชาติ น้ ามัน)
หยุด ไม่ ไ ด้ เพราะถ้า หยุด กว่ า จะปั่ น ไฟได้อี ก ต้อ งใช้เ วลาอี ก นาน ผูผ้ ลิ ต ไฟฟ้ า จึ ง ไม่ ห ยุด
โรงไฟฟ้า ช่วงนี้จึงมีไฟฟ้าเหลือใช้

พลังงานนา้ เทคโนโลยี พลังงานนา้ ผลิตไฟฟ้ า


นักจัดการด้านไฟฟ้ าจึงเอาไฟฟ้ าที่เหลือนี้ ไปสู บน้ ากลับขึ้นไปเก็บไว้บนอ่างเก็บน้ า
ของเขื่อน พอความต้องการใช้ไฟสู งขึ้นในช่วงหลังเที่ยงวันจนถึงเที่ยงคืน ก็ปล่อยน้ าจากอ่างมา
ปั่ นไฟใหม่ วิธีน้ ี เรี ยกว่า การผลิตไฟฟ้าพลังน้ าแบบสู บกลับ ปั จจุบนั เมืองไทยมีใช้แล้ว เช่น ที่
เขื่อนศรี นคริ นทร์และเขื่อนภูมิพล ข้อดีของพลังน้ าอีกอย่าง คือ เป็ นพลังงานหมุนเวียนที่ใช้แล้ว
ไม่ หมด น้ านี้ เมื่ อใช้ปั่นไฟแล้วยังเอาไปใช้ในการเกษตรได้ และเมื่ อระเหยกลายเป็ นไอ ก็
รวมตัวกันเป็ นเมฆ และกลายเป็ นฝนตกกลับลงมาเป็ นน้ าในเขื่อน ให้ใช้ปั่นไฟได้อีก ข้อเสี ยคือ
ในการสร้างเขื่อนเก็บกักน้ าเพือ่ ปั่ นไฟนั้น มักสู ญเสี ยพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งนับวันจะร่ อยหรอลงไปทุก
ที และทาให้สัตว์ป่าต้องอพยพหนี น้ าท่วม บางชนิ ดอาจสู ญพันธุ์ไปจากโลกก็ได้ รวมทั้งชีวิต
ความเป็ นอยูข่ องคนท้องถิ่นก็ตอ้ งเปลี่ยนไปจากเดิมด้วย

10
13/12/63

เทคโนโลยี พลังงานนา้ ผลิตไฟฟ้ า เทคโนโลยี พลังงานนา้ เพื่อการสู บนา้

เทคโนโลยี พลังงานนา้ เพื่อการสู บนา้

พลังงานนา้ ขึน้ นา้ ลง

พลังงานนา้ ขึน้ นา้ ลง


มี พ้ื น ฐานมาจากพลัง งานศัก ย์แ ละพลัง งานจลน์ ข องระบบที่
ประกอบด้วยดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ จึงจัดเป็ นแหล่งพลังงาน
ประเภทใช้แล้วไม่หมดไป สาหรับในการเปลี่ยนพลังงานน้ าขึ้นน้ าลง
ให้เป็ นพลังงานไฟฟ้า คือ การไหลเข้าออกจากอ่างของน้ าต้องควบคุม
ให้ไหลผ่านกังหันน้ าที่ต่อเชื่ อมกับเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ า เมื่อกังหันน้ า
หมุนก็จะได้ไฟฟ้าออกมาใช้งานหลักการผลิตไฟฟ้าจากน้ าขึ้นน้ าลง แต่
กาลังที่ได้จากพลังงานน้ าขึ้นน้ าลงจะไม่ค่อยสม่าเสมอเปลี่ยนแปลงไป
มากในช่วงขึ้นลงของน้ า

11
13/12/63

พลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ

พลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ พลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ


เป็ นพลังงานธรรมชาติเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกเกิดแนวรอยเลื่อนแตก ทา
พลังงานความร้ อนใต้ พภิ พ สามารถนาความร้ อนภายใต้ พืน้ โลกขึน้ มา ให้น้ าบางส่ วนจะไหลลงไปใต้ผวิ โลก ไปสะสมตัวและรับความร้อนจากชั้นหิ นที่มีความร้อนสู ง
ใช้ เป็ นประโยชน์ ได้ ในช่ วงความลึกไม่ เกิน 10 กิโลเมตร น้าใต้ ดินมี กลายเป็ นน้ าร้อนและไอน้ าที่พยายามแทรกตัวขึ้นมาตามรอยเลื่อนแตกของชั้นหิ นขึ้นมาบนผิว
ดิน อาจจะเป็ นในลักษณะของน้ าพุร้อน ไอน้ าร้อน โคลนเดือดและแก๊ส
อุ ณ หภู มิ แ ละความดั น สู ง เพราะนอกจากเมื่ อ ได้ รั บ ความร้ อ นจากแมก น้ าร้ อนจากใต้พ้ืนดิ นสามารถนามาถ่ายเทความร้ อนให้กบั ของเหลวหรื อสารที่มีจุด
มาแล้ ว น้าจะขยายตัวเพราะความร้ อนทาให้ เกิดความดัน ในบริเวณที่ไม่ มี เดื อดต่ า ง่ ายต่ อการเดื อดและการเป็ นไอ แล้วนาไอที่ ได้ไปหมุ นกังหัน เพื่อขับเคลื่ อนเครื่ อง
น้าใต้ ดินไหลผ่ านชั้นหินร้ อนใต้ พืน้ โลก อาจเจาะหลุมอัดฉีดน้าลงไปให้ รับ กาเนิดไฟฟ้า
ความร้ อ นที่ ไ ด้ จ ากน้ า ใต้ ดิ น ร้ อ นตามธรรมชาติ ดั ง นั้ น โดยอาศั ย ความ นอกจากนี้ น้ าพุร้อนที่นามาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้ าแล้ว เมื่ออุณหภูมิต่าลงเหลือ
ประมาณ ๘๐ องศาเซลเซี ยส สามารถนามาใช้เป็ นพลังงานในการอบแห้งพืชผลทางการเกษตร
แตกต่ างในลักษณะทางธรณีวิทยาของแหล่งความร้ อน และเทคนิค เป็ นพลังงานสาหรับห้องเย็นและเครื่ องปรับอากาศได้ดว้ ย

1. พลังงานชีวภาพหรื อก๊าซชีวภาพคืออะไร
ก๊าซชี ว ภาพ เป็ นสิ่ ง ที่ เกิ ด ขึ้ นตามธรรมชาติ จากกระบวนการย่อ ยสลายสารอิ นทรี ย ์ด้ว ยวิธีท าง
ชีววิทยา (BiologicalTreatment)ในสภาวะที่ไร้อากาศ (Anaerobic Digestion) แหล่งที่เกิดก๊าซชีวภาพได้แก่ น้ า
เสี ยของโรงงานแปรรู ปสิ นค้าทางการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ เช่น โรงงานแป้ งมันสาปะหลัง โรงงานสกัด น้ ามัน
ปาล์มดิบโรงงานผลไม้กระป๋ อง โรงงานผลิตแอลกอฮอล์ และฟาร์มเลี้ยงหมู เป็ นต้น
ก๊าซชี ว ภาพจะประกอบด้ว ยก๊ าซมี เทนเป็ นส่ ว นใหญ่ ซึ่ งถื อ ว่าเป็ นก๊ าซเรื อนกระจกชนิ ด หนึ่ ง มี
อันตราย มากกว่าก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ 21 เท่าดังนั้นการปล่อยให้ก๊าซชีวภาพลอยไปสู่ บรรยากาศเป็ นการ
ทา ลายสภาพแวดล้อมอย่างหนึ่งปั จจุบนั ได้มีเทคโนโลยีในการการบาบัดน้ าเสี ยทางชีวภาพเพื่อนาก๊าซชีวภาพ
มาใช้งาน เช่นเป็ นเชื้อเพลิงทดแทนน้ ามันเตาและผลิตไฟฟ้า เป็ นต้น

พลังงานชีวภาพ องค์ประกอบของก๊าซชี วภาพ ก๊าซชีวภาพประกอบไปด้วยก๊าซหลายชนิด ส่ วนใหญ่เป็ นก๊าซมีเทน


(CH4) 50-70 % และก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) 30-50 % ส่ วนที่เหลือเป็ นก๊าซอื่นๆ เช่น แอมโม เนี ย
(NH3)ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และไอน้ า เป็ นต้น ก๊าซชี วภาพมีค่าความร้ อนประมาณ 21 เมกะ จู ลส์ ต่ อ
ลูกบาศก์เมตรที่สัดส่ วนของก๊าซมีเทน 60%

12
13/12/63

พลังงานชีวภาพ พลังงานชีวภาพ
เป็ นสิ่ งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จากกระบวนการย่อยสลายสารอินทรี ยด์ ว้ ยวิธีทาง
ชี ววิทยา (Biological Treatment)ในภาวะที่ไร้ อากาศ (Anaerobic Digestion) ซึ่ งใน
กระบวนการนี้ แบคทีเรี ยจะทาการย่อยสลายสารอินทรี ยใ์ นสภาวะที่ไม่ใช้ออกซิ เจน แหล่ง - ระบบก๊าซชีวภาพจากน้ าเสี ยของโรงงานอุตสาหกรรม
ที่เกิดก๊าซชีวภาพได้แก่น้ าเสี ยของโรงงานแปรรู ปสิ นค้าทางการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ เช่น
โรงงานแป้งมันสาปะหลัง โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มดิบ โรงงานผลไม้กระป๋ อง โรงงานผลิต
- ระบบก๊าซชีวภาพจากฟาร์ มเลี้ยงสัตว์
แอลกอฮอล์ และฟาร์มเลี้ยงหมู นอกจากนี้ขยะหรื อสิ่ งปฏิกูลที่ตอ้ งกาจัดก็สามารถนามาย่อย - ระบบก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอย
สลายเป็ นก๊ าซชี วภาพได้เช่ นกัน ระบบผลิ ตก๊ าซชี วภาพที่ ใ ช้อย่างแพร่ ห ลายมี หลายวิธี
ด้วยกัน ขึ้นอยูก่ บั ชนิดและปริ มาณของน้ าเสี ย/ของเสี ย โดยสรุ ปเทคโนโลยีที่ใช้ในประเทศ
ไทยจาแนก ตามแหล่งที่มาของของเสี ย/น้ าเสี ยได้ดงั ต่อไปนี้

พลังงานชีวภาพ พลังงานชีวภาพ (เทคโนโลยีขยะ)


บางแห่ งก็ใช้ก๊าซชีวภาพไปเผาในหม้อไอน้ าเพื่อผลิตไอน้ าไปปั่ นไฟฟ้า
เพื่อใช้ในโรงงาน นอกจากนี้ ยงั มีวิธีการใหม่ที่จะนาก๊าซไปใช้ในการผลิตไฟฟ้า
อีก 2 วิธี ก็คือการใช้กงั หันก๊าซขนาดเล็กมาก (Micro turbines) และเซลล์
เชื้อเพลิง (Fuel Cells) กังหันก๊าซขนาดเล็กมากมีกาลังผลิตกระแสไฟฟ้าได้ราว
25 – 500 กิโลวัตต์ และสะดวกต่อการติดตั้งที่ไหนก็ได้เพราะมีขนาดเล็กพอๆ
กับตูเ้ ย็นเท่านั้น สาหรับเซลล์เชื้อเพลิงก็สามารถใช้ก๊าซชีวภาพเป็ นเชื้อเพลิง โดย
ที่เซลล์เชื้ อเพลิงจะทางานเหมือนกับแบตเตอรี่ แต่เป็ นแบตเตอรี่ ที่ไม่ตอ้ งอัดไฟ
ใหม่ แต่ตอ้ งใช้ก๊าซไฮโดรเจนทาปฏิกิริยากับก๊าซออกซิ เจน ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นน้ า
และกระแสไฟฟ้าไปใช้งาน

พลังงานชีวภาพ (เทคโนโลยีขยะ) พลังงานชีวภาพ (เทคโนโลยีขยะ)

13
13/12/63

พลังงานชีวภาพ (เทคโนโลยี นา้ เสี ยโรงงาน) พลังงานชีวภาพ (เทคโนโลยี นา้ เสี ยโรงงาน)

พลังงานชีวภาพ (เทคโนโลยี ฟาร์ มปศุสัตว์ ) พลังงานชีวภาพ (เทคโนโลยี ฟาร์ มปศุสัตว์ )

พลังงานชีวมวล พลังงานชีวมวล
ชีวมวลเป็ นพลังงานทางเลือกที่ได้รับการพูดถึงกันมากในปั จจุบนั เนื่องจากชีวมวลเป็ น
(Biomass) สารอินทรี ยท์ ี่กกั เก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์เอาไว้จึงนามาใช้ผลิตพลังงานได้
หมุนเวียนเกิดขึ้นได้ใหม่ตลอดเวลา ใช้แล้วไม่หมดไปเหมือนเช่นเชื้อเพลิงประเภทน้ ามัน ก๊าซ
และมีการ

ธรรมชาติ หรื อถ่านหิน คาว่าชีวมวลฟังดูไกลตัวแต่จริ งๆ แล้วเป็ นของที่เราเห็นกันอยูบ่ ่อยๆ


ใกล้ๆ ตัว นัน่ ก็คือ เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรต่างๆ เช่น ฟางข้าว แกลบ ชานอ้อย
กะลามะพร้าว เศษไม้ นอกจากนี้ยงั รวมถึงมูลสัตว์ที่ใช้ในการเกษตร เช่น โคและสุ กร และของ
เสี ยจากโรงงานแปรรู ปทางการเกษตร เช่น เปลือกสับปะรด จากโรงงานสับปะรดกระป๋ อง หรื อ
น้ าเสี ยจากโรงงานเป็ นต้น การที่ชีวมวลเป็ นเชื้อเพลิงหมุนเวียนรู ปแบบหนึ่ง สามารถเกิดขึ้นใหม่
ทดแทนได้ตลอดเวลา จึงมีการศึกษาพัฒนาเพือ่ ส่ งเสริ มให้มีการใช้ชีวมวล โดยเฉพาะชีวมวลจาก
การเกษตร ซึ่งสามารถนามาเป็ นเชื้อเพลิงสาหรับโรงงานอุตสาหกรรมในรู ปของก๊าซชีวภาพหรื อ
นามาใช้ในการผลิตไฟฟ้า

14
13/12/63

พลังงานชีวมวล พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล (Biomass) คือสารอินทรี ยท์ ี่เป็ นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนา
มาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หรื อกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม
การเกษตรเช่น แกลบ ได้จากการสี ขา้ วเปลือก ชานอ้อย ได้จากการผลิตน้ าตาลทรายเศษไม้ได้ จากการแปรรู ปไม้
ชีวมวล (Biomass)
ยางพาราหรื อไม้ยคู าลิปตัสเป็ นส่ วนใหญ่และบางส่ วนได้จากสวนป่ าที่ปลูกไว้กากปาล์ม ได้จากการสกัดน้ ามัน หมายถึ ง พืชและสัตว์ที่เ ป็ นแหล่งพลังงานหมุ น เวียนที่ สาคัญ
ปาล์มดิบออก จากผลปาล์มสด กากมันสาปะหลัง ได้จากการผลิตแป้งมันสาปะหลัง ซังข้าวโพดได้จากการสี
ข้าวโพดเพื่อนาเมล็ดออกกาบและกะลามะพร้าวได้จากการนามะพร้าวมาปลอก เปลือกออกเพื่อนาเนื้อมะพร้าว ของโลก และถูกจัดเป็ นพลังงานทดแทน พลังงานจากฟอสซิ ลซึ่ งมี
ไปผลิตกะทิและน้ ามันมะพร้าว ส่ าเหล้า ได้จากการผลิตอัลกอฮอล์เป็ นต้น อยูอ่ ย่างจากัด และอาจหมดลงได้
ชีวมวล สามารถเปลี่ยนรู ปเป็ นพลังงานได้ เพราะในขั้นตอนของการเจริ ญเติบโตนั้น พืชใช้คาร์บอน
ไดออกไซด์และน้ าและเปลี่ยนพลังงานจากแสงอาทิตย์โดยผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงได้ออกมาเป็ น แป้ง
และน้ าตาล แล้วกักเก็บไว้ตามส่ วนต่างๆ ของพืช ดังนั้นเมื่อนาพืชมาเป็ นเชื้อเพลิงเราก็จะได้ พลังงานออกมา

แบ่ งชีวมวลตามแหล่ งทีม่ าได้ ดงั นี้ พลังงานชีวมวล


1.พืชผลทางการเกษตร (agricultural crops) เช่น อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพด ข้าวฟ่ าง
หวาน ที่เป็ นแหล่งของคาร์โบไฮเดรต แป้งและน้ าตาล รวมถึงพืชน้ ามันต่างๆ ที่สามารถนาน้ ามัน พลังงานชีวมวล (Bio-energy)
มาใช้เป็ นพลังงานได้ หมายถึง พลังงานที่ได้จากชีวมวลชนิดต่างๆ ดังที่กล่าวแล้ว
2.เศษวัสดุเหลือทิง้ การเกษตร (agricultural residues) เช่น ฟางข้าว เศษลาต้นข้าวโพด ซัง
ข้าวโพด เหง้ามันสาปะหลัง
ข้างต้น โดยกระบวนการแปรรู ปชีวมวลไปเป็ นพลังงานรู ปแบบ
3.ไม้ และเศษไม้ (wood and wood residues) เช่นไม้โตเร็ ว ยูคาลิปตัส กระถินณรงค์ เศษไม้ ต่างๆ มีดงั นี้คือ
จากโรงงานผลิตเครื่ องเรื อน และโรงงานผลิตเยือ่ กระดาษ เป็ นต้น
4.ของเหลือจากจากอุตสาหกรรมและชุมชน (waste streams) เช่น กากน้ าตาล และชานอ้อย
จากโรงงานน้ าตาล แกลบ ขี้เลื่อย เส้นใยปาล์ม และกะลาปาล์ม

พลังงานชีวมวล พลังงานชีวมวล
3.การหมัก (fermentation) เป็ นการนาชีวมวลมาหมักด้วยแบคทีเรี ยในสภาวะไร้อากาศ ชีว
1.การเผาไหม้โดยตรง (combustion) เมื่อชีวมวลมาเผา จะได้ความร้อนออกมา มวลจะถูกย่อยสลายและแตกตัว เกิดแก๊สชีวภาพ(biogas) ที่มีองค์ประกอบของแก๊สมีเทนและ
ตามค่าความร้อนของชนิดชีวมวล ความร้อนที่ได้จากการเผาสามารถนาไปใช้ในการ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สมีเทนใช้เป็ นเชื้อเพลิงในเครื่ องยนต์สาหรับผลิตไฟฟ้า นอกจากนี้
ผลิตไอน้ าที่มีอุณหภูมิ และความดันสู งไอน้ านี้ จะถูกนาไปขับกังหันไอน้ าเพื่อผลิต สามารถใช้ขยะอินทรี ยช์ ุ มชน มู ลสัตว์ น้ าเสี ยจากชุ มชนหรื ออุตสาหกรรมเกษตร เป็ นแหล่ ง
วัตถุดิบชีวมวลได้
ไฟฟ้าต่อไป ตัวอย่างชีวมวลประเภทนี้คือ เศษวัสดุทางการเกษตร และเศษไม้
2.การผลิตก๊าซ (gasification) เป็ นกระบวนการเปลี่ยนเชื้อเพลิงแข็งหรื อชีวมวล 4.การผลิตเชื้อเพลิงเหลวจากพืช มีกระบวนการที่ใช้ผลิตดังนี้
ให้เป็ นแก๊สเชื้ อเพลิง เรี ยกว่าแก๊สชี วภาพ (biogas) มีองค์ประกอบของแก๊สมีเทน กระบวนการทางชี ว ภาพ ท าการย่อ ยสลายแป้ ง น้ า ตาล และเซลลู โ ลสจากพื ช ทาง
แก๊สไฮโดรเจน แก๊สคาร์ บอนมอนอกไซด์ สามารถนาไปใช้สาหรับกังหันแก๊ส(gas การเกษตร เช่น อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพด ข้าวฟ่ างหวาน กากน้ าตาล และเศษลาต้นอ้อย ให้
turbine) เป็ นเอทานอล เพือ่ ใช้เป็ นเชื้อเพลิงเหลวในเครื่ องยนต์เบนซิน

15
13/12/63

พลังงานชีวมวล พลังงานชีวมวล
กระบวนการทางฟิ สิ กส์และเคมี โดยสกัดน้ ามันออกจากพืชน้ ามัน พลังงานชีวมวล (Biomass energy) มวลชีวภาพ คือ สสารที่พืชและ
จากนั้น น าน้ ามัน ที่ ไ ด้ไ ปผ่า นกระบวนการทรานส์ เ อสเตอริ ฟิ เคชั่น สั ต ว์ ส ร้ า งขึ้ นมี พ้ื น ฐานจากการสั ง เคราะห์ แ สง ตั ว อย่ า งของมวล
(transesterification) เพื่อผลิตเป็ นไบโอดีเซล ชี วภาพ ได้แก่ ไม้ฟืน ขี้ เลื่ อย แกลบ มูลสัตว์ อีกประเภทหนึ่ ง
กระบวนการใช้ความร้ อนสู ง เช่ น กระบวนการไพโรไลซิ ส เมื่ อ คื อ ชี วมวลโดยใช้พลังงานแสงอาทิ ตย์ทาให้พืชมี การเจริ ญเติ บโตโดย
วัสดุทางการเกษตรได้ความร้อนสู งในสภาพไร้ออกซิ เจน จะเกิ ดการ กระบวนการสังเคราะห์แสงของพืชและทาให้พืชนั้นมีพลังงานสะสมไว้ใน
สลายตัว เกิดเป็ นเชื้อเพลิงในรู ปของเหลวและแก๊สผสมกัน รู ปของสารอินทรี ย ์ พลังงานจากชีวมวลอาจอยูใ่ นรู ปต่างๆ ได้แก่ ใน
พลังงานชีวมวลได้แก่ เอทานอล และไบโอดีเซล รู ปของเชื้อเพลิงแข็ง เชื้อเพลิงเหลว และเชื้อเพลิงก๊าซ

พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลก็เป็ นอีกแหล่งพลังงานที่เหมาะสมกับประเทศไทย เนื่ องจาก
เรามีวสั ดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น แกลบ ชานอ้อย มันสาปะหลัง และเศษไม้ เป็ น
จานวนมากที่สามารถนามาเปลี่ยนให้เป็ นพลังงานไฟฟ้าได้ ในปั จจุบนั ในประเทศไทยมี
การผลิตไฟฟ้ าจากชี วมวลแล้ว แต่ยงั ไม่สัดส่ วนไม่มากนักเมื่อเทียบกับการผลิตด้วย พลังงานนิวเคลียร์
เชื้อเพลิงฟอสซิล จึงควรสนับสนุ นให้มีการผลิตเพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่มีวตั ถุดิบเพียงพอ ซึ่ ง
นอกจากจะช่ ว ยให้ มี ก ารใช้พ ลัง งานอย่ า งยัง่ ยืน แล้ว ยัง เป็ นการเพิ่ ม รายได้ใ ห้ แ ก่
เกษตรกรจากการขายวัสดุทางการเกษตรเหลือใช้อีกด้วย

พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์ คืออะไร พลังงานนิวเคลียร์ มีข้อดีและข้ อเสี ยอย่ างไร
พลังงานนิ วเคลียร์ ท้ งั จากปฏิกิริยานิ วเคลียร์ ฟิชชัน่ และฟิ วชัน่ ที่สาคัญออกมาในรู ปของ ข้อ ดี ข องพลัง งานนิ ว เคลี ย ร์ ที่ ส าคัญ คื อ โดยอาศัย เชื้ อ เพลิ ง เช่ น
ความร้ อนและกัมมันตภาพรั งสี คาว่า กัมมันตภาพรั งสี ในที่ น้ ี ก็ประกอบด้วยบรรดาอนุ ภาค ยูเ รเนี ย มเป็ นปริ ม าณน้อ ย เราก็ ไ ด้พ ลัง งานนิ ว เคลี ย ร์ ไ ปใช้ง านได้เ ป็ น
จาพวกนิ วตรอน และจาพวกอนุ ภาคอัลฟา เบตาและรั งสี แกมมา แต่ส่วนสาคัญของพลังงาน
นิ วเคลียร์ ที่เราสนใจในที่น้ ี ก็คือ ส่ วนที่เป็ นความร้ อนนั่นเอง เพราะหลักการใหญ่ ของการใช้
ปริ มาณมาก และนาน ทั้งนี้ เนื่ องจากเชื้ อเพลิงนิ วเคลียร์ จะสลายตัวช้ามาก
ประโยชน์ของเชื้อเพลิงนิ วเคลียร์ ก็คือ อาศัยความร้อนของพลังงานนิ วเคลียร์ ไปใช้ในการผลิต ตามธรรมชาติของมันเอง เช่น ยูเรเนี ยม-235 มีค่าของครึ่ งอายุถึง 7.1 คูณ
ไฟฟ้าอีกต่อหนึ่ง ก็ในลักษณะที่คล้ายคลึงกับการใช้ความร้อนจากเชื้อเพลิงรู ปอื่น ทั้งน้ ามัน ถ่าน 108 ปี นัน่ คือ ยูเรเนี ยม-235 ปริ มาณหนึ่ งจะสลายตัวเหลือครึ่ งหนึ่ งของ
หิ นและอื่นๆ นั่นเอง นัน่ คือ เราต้องการความร้อนที่เกิดขึ้นไปต้มน้ าหรื อไปทาให้ก๊าซร้อนแล้ว ปริ มาณเดิม ก็กินเวลานานถึง 7.1 คูณ 108 ปี ทีเดียว
อาศัยไอน้ าร้อนหรื อก๊าซร้อนที่ขยายตัวไปทาให้เครื่ องกาเนิดไฟฟ้าทางาน

16
13/12/63

พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์
ข้ อเสี ยของพลังงานนิวเคลียร์ สาหรับเรื่ องอุบตั ิเหตุเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิ วเคลียร์น้ ี ก็นบั ว่า เป็ นเรื่ องที่
ฟิ ชชั่น คื อ สภาพความเป็ นกัม มัน ตภาพรั ง สี ซึ่ งเป็ นอัน ตรายต่ อ มี มูลน่ ากลัวที เ ดี ย ว แต่ ในขณะเดี ยวกันโรงงานอุ ต สาหกรรมใหญ่ ๆ ทุ ก
สิ่ งมีชีวิตของเชื้อเพลิงนิ วเคลียร์ ทาให้เชื้ อเพลิงนิ วเคลียร์ เก็บรักษายากและ ประเภท รวมทั้ง อุ ต สาหกรรมผลิ ต ไฟฟ้ า เพื่ อ จ าหน่ า ยด้ว ยก็ ล้ว นแต่ มี
ยัง หายากอี ก ด้ว ย อี ก ประการหนึ่ งเชื้ อ เพลิ ง ที่ ใ ช้แ ล้ว คื อ กากเชื้ อ เพลิ ง อั น ตรายจากอุ บ ั ติ เ หตุ ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ นได้ ท้ ั ง สิ้ น นั่ น คื อ ไม่ มี โ รงงาน
นิวเคลียร์หรื อสิ่ งที่สมั ผัสกับพลังงานนิวเคลียร์แล้ว เช่น น้ าหรื อก๊าซที่กาจัด อุ ต สาหกรรมใดๆ เลยที่ จ ะปลอดภัย จากอุ บ ัติ เ หตุ ไ ด้อ ย่ า งแท้จ ริ ง แต่
ยากที่ จะปล่ อยทิ้งอย่างตามสบายดังเชื้ อเพลิ งชนิ ดอื่ นๆไม่ได้ เพราะเป็ น เนื่ องจากพลังงานนิ วเคลียร์เป็ นพลังงานค่อนข้างใหม่และอยูใ่ นสายตาของ
อันตรายต่อสิ่ งมีชีวิตและสภาวะแวดล้อม ความสนใจของคนทัว่ ๆ ไป ดังนั้นเมื่อเกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น จึงมักเป็ นข่าว
ใหญ่ท้ งั ๆ ที่อาจจะปลอดภัยกว่าโรงงานใหญ่ๆ ประเภทอื่นๆ อีกมากมาย

ไบโอดีเซล
ไบโอดีเซล
คื อ การน าน้ ามัน จากพื ช หรื อไขมัน สัต ว์ห รื อ
แม้แ ต่ น้ ามัน ที่ ใ ช้แ ล้ว อย่ า งน้ ามัน ที่ ท อดไก่ หรื อ
ปาท่องโก๋ มาใช้เป็ นเชื้ อเพลิงในเครื่ องยนต์ดีเซล ซึ่ ง
อาจแบ่งไบโอดี เซลตามประเภทของน้ ามัน ที่ นามา
ไบโอดีเซล ใช้ได้ออกเป็ น 3 ประเภท

โอดีเซลตามประเภทของนา้ มัน ออกเป็ น 3 ประเภท โอดีเซลตามประเภทของนา้ มัน ออกเป็ น 3 ประเภท


1. น้ามันพืชหรื อน้ามันสั ตว์ 2. ไบโอดีเซลแบบลูกผสม
ไบโอดี เ ซลประเภทนี้ก็คื อ น้ า มั น พื ช แท้ ๆ (เช่ น น้ า มั น
ไบโอดี เซลชนิ ดนี้ เป็ นลูกผสมระหว่างน้ ามันพืช (หรื อสัตว์) กับ
มะพร้ าว, น้ามันปาล์ ม, น้ามันถั่วลิสง, น้ามันถั่วเหลือง) หรื อ
น้ ามันก๊าด น้ ามันดี เซล หรื ออะไรก็ได้เพื่อให้ไบโอดี เซลที่ได้มีคุณสมบัติ
น้ามันจากไขมันสั ตว์ (เช่ น น้ามันหมู) ซึ่ งเราสามารถเอามา ใกล้เคียงกับน้ ามันดีเซลให้มากที่สุด อย่างเช่น โคโคดีเซล (coco-diesel) ที่
ใช้ ได้ เลยกับเครื่ องยนต์ ดีเซลโดยไม่ ต้องผสม หรื อเติมสารเคมี อ.ทับสะแก ประจวบคีรีขนั ธ์ ซึ่ งเป็ นการผสมกันระหว่างน้ ามันมะพร้าวกับ
อื่ น ใด หรื อไม่ ต้ องน ามาเปลี่ยนแปลงคุ ณสมบัติของน้ามัน ให้ น้ ามันก๊าด หรื อปาล์มดีเซล (palm-diesel) เป็ นการผสมระหว่างน้ ามันปาล์ม
เปลืองเวลา เปลืองทรัพยากรอีก กับน้ ามันดีเซล

17
13/12/63

โอดีเซลตามประเภทของนา้ มัน ออกเป็ น 3 ประเภท ทาไมต้ องไบโอดีเซล


3. ไบโอดีเซลแบบเอสเทอร์
โดยสรุ ปข้อดี ของไบโอดี เซลในเชิ งเศรษฐศาสตร์ ก็คือ ราคาถูก ช่ วยพยุง
ไบโอดีเซล” ในความหมายของสากลจะ หมายถึง ไบโอดีเซลแบบเอสเทอร์ ซึ่ งจะต้อง ราคาพืชผลทางการเกษตรของไทย ลดการนาเข้าน้ ามันจากต่างประเทศ ข้อดีในด้าน
ผ่ า นกระบวนการแปรรู ปด้ ว ยกระบวนการทางเคมี ที่ เ รี ยกว่ า ทรานส์ เ อสเทอริ ฟิ เคชั่ น สิ่ งแวดล้อมและคุณภาพชี วิตก็คือ ช่วยลดมลพิษในอากาศ ทาให้ลดการสู ญเสี ยจาก
(Transesterification) นั่นคือ การนาเอาน้ ามันพืชหรื อ สัตว์ที่มีกรดไขมัน ไปทาปฏิ กิริยากับ การรักษาพยาบาลผูป้ ่ วยที่ได้รับมลพิษจากอากาศ เป็ นต้น
แอลกอฮอล์โดยใช้กรดหรื อด่างเป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา ทาให้ได้เอสเทอร์ โดยจะเรี ยกชนิดของไบโอ กระแสที่ ดงั ของไบโอดี เซลในตอนนี้ ทาให้บริ ษทั ผลิ ตรถยนต์ช้ นั นาของ
ดีเซลแบบเอสเทอร์ตามชนิดของแอลกอฮอล์ที่ใช้ในการทาปฏิกิริยา ไบโอดีเซลชนิดเอสเทอร์น้ ีมี
โลก หลาย ๆ ค่าย ออกมาประกาศรับรองว่าสามารถใช้ไบโอดี เซลกับรถที่ออกมา
คุณสมบัติที่เหมือนกับน้ ามันดีเซลมากที่สุด ทาให้ไม่มีปัญหากับเครื่ องยนต์ เราสามารถนามาใช้
กับรถยนต์ได้ แต่ปัญหาที่จะมีก็คือต้นทุนการผลิตที่แพงนัน่ เอง
จากค่ายนั้น ๆ ได้โดยไม่มีปัญหากับเครื่ องยนต์ เช่น เมอร์เซเดสเบนซ์ และโฟล์คสวา
เก้น

ข้ อดีข้อเสี ยของไบโอดีเซล (เมื่อเทียบกับนา้ มันดีเซล) ข้ อดีข้อเสี ยของไบโอดีเซล (เมื่อเทียบกับนา้ มันดีเซล)


1. น้ามันพืชหรื อสั ตว์ 2. ไบโอดีเซลลูกผสม
พวกน้ ามันพืชหรื อสัตว์มีปัญหาค่อนข้างมาก เนื่ องจากคุ ณสมบัติ เนื่ องจากไบโอดี เซลประเภทนี้ เกิ ดจากการผสมกันระหว่างน้ ามันพืชและ
ของมันต่างกับดีเซลค่อนข้างมาก อย่างที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ก็เลยมีปัญหา น้ ามันปิ โตรเลียม ทาให้ลดปัญหาเรื่ อง ความหนืดลงไปได้บา้ ง แต่ก็ยงั มีปัญหาตอนที่
เรื่ องการสันดาปไม่สมบูรณ์ เครื่ องสะดุด มีผลต่อลูกสู บและวาล์ว มีตะกรัน อากาศเย็น และปั ญหาเรื่ องการอุดตันของเครื่ องยนต์ คือ ไส้กรองจะอุดตันเร็ วกว่า
ปกติ สาหรับปัญหาอื่นๆไม่มี คุณสมบัติส่วนมากจะเหมือนกับน้ ามันดีเซล เครื่ องจะ
ขาวอยู่ในถังน้ ามัน และหนื ด ความหนื ดสู งที่ อุณหภูมิต่ าลงทาให้ จากที่
เดินเรี ยบไม่มีปัญหาเรื่ องสะดุดกุกกักเหมือนแบบแรก เครื่ องสตาร์ตติดง่าย (แต่ควรมี
สตาร์ ตไม่ค่อยจะติ ดอยู่แล้วกลายเป็ นไม่ติดไปเลยในที่อากาศเย็นๆ แต่ มี การอุ่ น น้ า มัน นิ ด นึ ง ก่ อ น) เหมาะส าหรั บ การใช้กับ เครื่ อ งยนต์ร อบต่ า หรื อ
ข้ อดีก็ คือ มีราคาถูก พอใช้ ได้ กับเครื่ องยนต์ รอบตา่ แต่ กไ็ ม่ ค่อยนิยมใช้ กัน เครื่ องจักรกลการเกษตร

เอทานอล
ข้ อดีข้อเสี ยของไบโอดีเซล (เมื่อเทียบกับนา้ มันดีเซล)
3. ไบโอดีเซลแบบเอสเทอร์
ข้อดีอนั ดับแรก คือ ค่าซี เทน (cetane ค่าดัชนี การจุดติดไฟ) สู งกว่าน้ ามัน
ดีเซล นัน่ คือจุดติดไฟได้ง่ายกว่าน้ ามันดีเซล ทาให้การจุดระเบิดทาได้ดี การสันดาป
สมบูรณ์ คาร์บอนมอนอกไซด์ก็เลยน้อย ไม่มีควันดาและซัลเฟอร์ไดออกไซด์ซ้ าเติม
สิ่ งแวดล้อม ความหนื ดคงที่ จึ งตัดปั ญหาเรื่ องความหนื ดออกไปได้ แต่ขอ้ เสี ยคื อ

เอทานอล
ต้นทุนสู งกว่าไบโอดีเซลแบบอื่นๆ เครื่ องยนต์ให้กาลังต่ากว่าน้ ามันดีเซล มีการสร้าง
แก๊สไนโตรเจนออกไซด์ (NOx) เพิ่มขึ้น แล้วก็อาจต้องดัดแปลงส่ วนประกอบของ
เครื่ องยนต์ที่เป็ นยาง (rubber) ซึ่ งอาจถูกทาลายโดยไบโอดีเซล แต่ไบโอดีเซลแบบ
เอสเทอร์น้ ีใช้กบั เครื่ องยนต์รอบสู งอย่างรถยนต์ได้

18
13/12/63

เอทานอล (ethanol) หรื อเอทิลแอลกอฮอล์ (ethyl alcohol)

วัตถุทใี่ ช้ ผลิตเอทานอล สามารถแบ่ งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้


เป็ นเชื้ อเพลิ งเหลวที่ ได้จากการย่อยสลายแป้ งและน้ าตาลด้วย
เอนไซม์ สู ตรเคมีของเอทานอลคือ C2H5OH ในการใช้เอทานอลเป็ น 1. วัตถุดบิ ประเภทแห้ ง ได้แก่ ผลผลิตทางการเกษตรพวกธัญพืช เช่น ข้าวเจ้า ข้าว
เชื้ อเพลิ งในเครื่ องยนต์เบนซิ น ต้องทาการกลัน่ เอทานอลจนมี ความ สาลี ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่ าง และพวกพืชหัว เช่น มันสาปะหลัง มันฝรั่ง มัน
บริ สุ ท ธิ์ สู ง ถึ ง ร้ อ ยละ 99.5 จึ ง สามารถน ามาใช้เ ป็ นเชื้ อ เพลิ ง ใน เทศ เป็ นต้น
เครื่ อ งยนต์เบนซิ นได้ หากเอทานอลที่ ใช้มีน้ าปะปนอยู่ม าก จะเกิ ด 2. วัตถุดบิ ประเภทนา้ ตาล ได้แก่ อ้อย กากน้ าตาล บีตรู ต ข้าวฟ่ างหวาน เป็ นต้น
3. วัตถุดิบประเภทเส้ นใย ส่ วนใหญ่เป็ นผลพลอยได้จากผลผลิตทางการเกษตร เช่น
ปั ญหาทาให้เครื่ องยนต์น็อก และชิ้ นส่ วนและอุปกรณ์ของเครื่ องยนต์
ฟางข้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพด ราข้าว เศษไม้ เศษกระดาษ ขี้เลื่อย
เกิดสนิม วัชพืช รวมทั้งของเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงงานกระดาษ เป็ นต้น

กรณีศึกษาการลดใช้ พลังงาน

19

You might also like