You are on page 1of 3

สพอ.

บางพลี ยกทัพแกนนําสรางการเปลี่ยนแปลง ฝาวิก ฤตโควิด-19 ตอยอดขยายผล การนอมนํา


แนวพระราชดําริของสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สูแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัวเพื่อสรางความมั่นคงทางอาหาร” รอบ 2
วันที่ 19 เมษายน 2564 เวลา 13.00 น. นายสมศักดิ์ แกวเสนา นายอําเภอบางพลี เปนประธานแกนนํา
หมูบาน ตําบล รวมโครงการเสริมสรางและพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลง กิจกรรมที่ 3 กระบวนการพัฒนาการสรา ง
ความมั่นคงทางดานอาหาร (ภายใตหัวขอ “ 1 หมูบาน สามารถดูแลไดทั้งตําบล สรางความมั่นคงทางอาหาร
ดวยหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”) ณ ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจ พอเพียงบานคลองบางพลี หมูที่ 12 ตําบล
บางพลีใหญ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการสํานักงานพัฒนาชุมชนเมืองสมุทรปราการ
นายสมศัก ดิ์ แกวเสนา นายอําเภอบางพลี เปนประธานแกนนําหมูบาน ตําบลรวมโครงการเสริมสราง
และพัฒนาผูนําการเปลี่ยนแปลง กิจ กรรมที่ 3 กระบวนการพัฒนาการสรางความมั่นคงทางดานอาหาร ภายใต
หัวขอ “ 1 หมูบาน สามารถดูแลไดทั้งตําบล สรางความมั่นคงทางอาหาร ดวยหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” และตอยอดขยายผลการนอมนําแนวพระราชดําริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพ
รัต นราชสุด าฯ สยามบรมราชกุมารี สูแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกผักสวนครัวเพื่อสรางความมั่นคงทางอาหาร
รอบ 2 ในชวงที่อําเภอบางพลีกําลังประสบปญหาการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

โดยการใหผูนําเปนแบบอยางในการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและนอมนําแนวพระราชดําริฯ มา
ปฏิบัติ ใหมีความรู คูคุณธรรม เปนกําลังในการขับเคลื่อนใหกับแกนนําทุกทานในการสรางความเขมแข็งใหกับ
ชุมชนอยางตอเนื่อง โดยมีนางสาวยุคลพร เขียวมวง หัวหนาฝายอํานวยการศูนยสารสนเทศเพื่อการพัฒนา
ชุมชน รัก ษาราชการแทนพัฒนาการอําเภอบางพลี นายจํานงค เพ็ชรประยูร เกษตรอําเภอบางพลี และ
นักวิชาการพัฒนาชุมชน สํานักงานพัฒนาชุมชนอํา เภอบางพลี รวมโครงการฯ มีกลุมเปาหมาย ไดแก กํานั น
ผูใหญบาน ผูนําอาสาพัฒนาชุมชน กลุมองคกรสตรี อสม. อาสาสมัครทองถิ่นรักษโลก (อถล.) จํานวน 15 คน โดย
มีกิจกรรมดังนี้
1. การจัดตั้งธนาคารพืชพันธุไม รับฝาก และแลกเปลี่ยนพืชพันธุไมทองถิ่นระหวางกัน เชน ตนกลา เมล็ด
พันธุ เพื่อสงเสริมใหปลูกตนไม ผักสวนครัวในชุมชนเดียวกัน หรือ ชุมชนใกลเคียงกันจัดตั้งเปนธนาคารสรางความ
พอเพียง มั่งคั่ง ยั่งยืน เสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนใหเกิด การพัฒนาอยางยั่งยืนสามารถพึ่งพาตนเอง พึ่งพา
ซึ่งกันและกัน และเชื่อมโยงเปนเครือขาย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง
บานคลองบางพลี หมู 12 ตําบลบางพลีใหญ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
2. การดําเนินโครงการถนนพืชผักเพื่อสุขภาพ (Organic Street) เปนความรวมมือของแกนนําระดับตําบล
วัตถุประสงคเพื่อใหประชาชนไดใชพื้นที่วางสองขางถนน ปลูกพืชผักสวนครัวไวรับประทาน โดยปลูกผักสวนครั ว
เชน กะเพรา โหระพา พริก และพืชผักสมุนไพร เชน ตะไคร ขิง ขา ทําใหคนในชุมชนเกิด การแบงปน มีผักปลอด
สารพิษไวบริโภค และชวยเหลือครัวเรือนยากจนในการสรางความมั่นคงทางดานอาหาร เกิดวิถีชุมชนเกื้อกูล วิถี
พอเพียง โดยใหชุมชนรวมแรงกันปลูก รวมแรงกันดูแล รวมแรงกันรักษา และเปนเจาของรวมกัน ณ บริเวณ
ทางเขาหมูบาน บานคลองบัวคลี่ หมู 19 ตําบลบางพลีใหญ
สําหรับ กิจกรรมครั้งนี้จะทําใหแกนนําของหมูบาน เกิดการมีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง เกิด
ความรัก ความสามัคคี และสามารถบูรณาการเชื่อมโยงจากหมูบานเขมแข็ง สูตําบลเขมแข็ง และอําเภอเขมแข็ง
ตอไปได โดยใชกลไก 1 หมูบาน สามารถดูแลไดทั้งตําบล สรางความมั่นคงทางดานอาหาร ดวยหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สรางความยั่งยืนใหชุมชน
ทั้งนี้ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอบางพลี ไดดําเนินการตามมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรค
COVID-19 อยางเครงครัด อาทิ การวัดอุณหภูมิรางกาย การสวมหนากากอนามัย การลางมือดวยเจลแอลกอฮอล
และเวนระยะหางตามมาตรการควบคุมการแพรของโรคติดตออันตรายในทองที่จังหวัดสมุทรปราการ
สมุทรปราการ : เมืองปลาสลิด ใกลชิดนกนางนวล
ภาพถาย:ขาว กลุมงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สพจ.สมุทรปราการ

You might also like