You are on page 1of 93

สารบ ัญ

อัตลักษณ์วถ
ิ ี

มรรคาแห่งมัชฌิมา

ทัศนียภาพแห่งสุญญตา

ตถาตภาพแห่งความเป็ นเช่นนัน
้ เอง

เอกายนมัคโค – วิถแ
ี ห่งจิตหนึง่

พุทธปรัชญา

จิตเดิมคือธรรมประทีป

แก่นสาระแห่งคําสอนอันลํ้าลึก

ธรรมชาติทแ
ี่ ท ้แห่งคําสอนอันลํ้าลึก

กระแสแห่งปั จจยาการ

เอกภาพแห่งทวิลักษณ์

มายาแห่งเงาจันทร์ในนํ้ า

สายนํ้ าแห่งกาลเวลา

นํ้ าอมฤตแห่งญาณทัศนะ

ประทีปแห่งสัมมาญาณทัศนะ

วิหารแห่งอนันตภาพ (อนันตภาวะ)

(๑)
กระจกเงาแห่งเอกภาพ

รากฐานของการดํารงชีวต

สัจจะทีอ
่ ยูเ่ หนือถ ้อยคํา

สรรพสิง่ คือจิตสังขาร

พระคัมภีรล
์ ับอันศักดิส ิ ธิ์
์ ท

ความหมายแห่งชีวต
ิ นิรันดร์

วิถธ
ี รรมชาติแห่งความเป็ นเอง

มนุษย์คอ
ื ศักยภาพแห่งพุทธะ

หนทางทีไ่ ร ้กาลเวลา

ทางสายใหม่

สายใยแห่งชีวต

มรรควิถแ
ี ห่งความเร ้นลับ

กับดักแห่งถ ้อยคํา

จิตวิญญาณสากล

ความมืดบอดแห่งสังสารวัฏ

สายธารแห่งมายา

สาระแห่งชีวต

องค์รวมแห่งเอกภาพ

(๒)
สังสารวัฏแห่งสัมภเวสี

พระสัทธรรมอันสมบูรณ์

จิตศาสนา

หลุมพรางแห่งภาพมายา

ภาพมายาของสายรุ ้ง

ขุมทรัพย์มหัศจรรย์

กุญแจไขความลับของชีวต

ฟองอากาศในนํ้ า

ชีวต
ิ ดั่งอาทิตย์อส
ั ดง

อาณาจักรชีวต
ิ นิรันดร

สัจจะอันติมะคือตัวชีวต

ชีวต
ิ ทีส
่ มบูรณ์

มายาลวงแห่งโลกธรรม

พุทธทัศนะ

อริยทรัพย์แห่งอนันตภาวะ

ธรรมชาติแห่งความเป็ นพุทธะ

พระนิพฺพาน

วิถน
ี กบิน

(๓)
ปาฏิหาริยแ
์ ห่งการดํารงชีวต

เพชรมณีอน
ั ลํ้าค่า

เงาสะท ้อนของดวงจันทร์ในนํ้ า

รหัสยนัยแห่งชีวต

สารัตถะทีเ่ ป็ นศิลปะของชีวต

เคล็ดลับของการฝึ กภาวนา

สายใยแห่งชีวต

เอกภาพคือความหลากหลาย

ความงามของชีวต

วัชพืชของจิต

ความเข ้าใจทีแ
่ ท ้จริง

(๔)
อ ัตล ักษณ์วถ
ิ ี

• การดํารงอยูข่ องรูปลักษณ์สภาวะทัง้ ปวง ล ้วนเป็ นเพียงการ


เกิดขึน
้ ในการกําหนดหมายของจิตสามัญสํานึกของปุถช ุ น
ความเห็นจากการกําหนดหมายได ้แยกแยะคุณค่าของสรรพสิง่ ให ้
แตกต่างกัน เป็ นประสบการณ์ของแต่ละบุคคล

• ความเห็นของแต่ละบุคคล เกิดจากเหตุปัจจัยอันสับสนของ
อวิชชา มันเป็ นความเห็นทีผ ่ ด
ิ พลาดไปจากความจริงแท ้ของ
สรรพสิง่ แต่สจ ั จะหรือความจริงอันลํ้าลึกยากทีจ ่ ะตระหนักรู ้ ซึง่
เป็ นอนันตภาวะนัน ้ พ ้นไปจากการคิดด ้วยเหตุผล ถึงการเริม
่ ต ้น
และการสิน ้ สุดของมัน ไม่อาจรู ้ได ้ด ้วยปั ญญาระดับสามัญสํานึก
แต่จะหยัง่ รู ้ได ้ด ้วยจิตเหนือสํานึกจากประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ
ทีม
่ าจากการฝึ กฝนบําเพ็ญภาวนา บนวิถข ี องสัมมาอริยมรรค
เท่านัน

• ผู ้ตระหนักชัดต่อจิตประภัสสรของตนเองได ้คือพุทธะ ผู ้ทีไ่ ม่อาจ


ตระหนักรู ้ต่อจิตประภัสสรของตนเองได ้ก็คอ
ื ปุถช
ุ นทีย
่ งั หมกจม
อยูก ่ บ
ั ความมืดบอดแห่งอวิชชา

• ความจริงปุถชุ นกับพุทธะนัน ้ ก็คอ ื สิง่ เดียวกัน เพราะพุทธะก็คอ ื


ปุถช
ุ นทีบ
่ รรลุถงึ การตรัสรู ้ ถ ้ายังไม่บรรลุถงึ การตรัสรู ้ก็คอ
ื ปุถช ุ น

• อนันตภาพแห่งจิตประภัสสร อยูเ่ หนือคําอธิบายด ้วยเหตุผลและ


ภาษาทีเ่ ป็ นเพียงสมมุตบ
ิ ญ
ั ญัตข ิ น
ึ้ มา เราต ้องตระหนักชัดด ้วย
ประสบการณ์ของตนเองทีม ่ าจากการปฏิบต ั ภิ าวนาเท่านัน้ จึงจะ
สัมผัสถึง ความสว่างไสวแห่งสุญญตาทีพ ั ปชัญญะ
่ ร ้อมด ้วยสติสม

• คําสอนของพระพุทธองค์ เป็ นเพียงการชี้ “หนทาง” ให ้เราได ้


่ รรมชาติของประทีปอันไม่มป
พัฒนาจิตวิญญาณ เข ้าสูธ ี ระมาณ
ของปั ญญาณแห่งความหลุดพ ้นจากความยึดมัน ่ ถือมัน
่ ทัง้ ปวงที่

1
เป็ นสาเหตุแห่งทุกข์ทงั ้ มวล บรรลุถงึ ความทีย
่ งิ่ กว่าสุขอันเป็ นนิ
รันดร์

มรรคาแห่งม ัชฌิมา

• พรหมวิหารอันไม่มป ี ระมาณและการตระหนักชัดความจริงแท ้ของ


ธรรมชาติ ย่อมบังเกิดขึน ้ เมือ
่ สัจจะได ้แสดงตัวออกมาร่วมกับ
กิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวันของเราอันเป็ น “มรรคาแห่ง
มัชฌิมา” ซึง่ เป็ นมรรคาสูค ่ วามอิสระหลุดพ ้น ผู ้เข ้าถึงหรือดํารง
อยูใ่ นมรรควิถนี ยี้ อ
่ มมีทงั ้ เจโตวิมต ุ ิ และปั ญญาวิมต ุ ิ ทีเ่ ป็ น
เอกภาพเดียวกัน

• การเข ้าถึงจิตพุทธะ หรือ จิตประภัสสร เป็ นวิธท ี งี่ า่ ยทีส


่ ด
ุ และ
ตรงทีส ่ ด
ุ มันเป็ นการบําเพ็ญภาวนาทีเ่ ป็ นไปเองตามธรรมชาติ
การเข ้าถึงแก่นสาระของมรรคานี้ ขึน ้ อยูก่ บ
ั ศักยภาพของแต่ละ
บุคคลทีส ่ ามารถเห็นแจ ้งจิตพุทธะ หรือ จิตประภัสสรในภายใน
เพียงชัว่ ขณะ ในระยะเวลาสัน ้ ๆ ไปสูส่ ภาพเดิมแท ้ตามทีม ่ น
ั เป็ น
ตามวิถธี รรมชาติของมัน ด ้วยการจุดประกายนีจ ้ ากประสบการณ์
ชัว่ ขณะโดยตรง เราก็จะค่อยๆเรียนรู ้ทีจ ่ ะประคับประคองให ้
ประสบการณ์มน ั ยาวนานขึน ้ และตระหนักชัดในภายในลํ้าลึก
ยิง่ ขึน
้ แล ้วในทีส ่ ด
ุ ย่อมบรรลุถงึ ความเบ่งบานของการประจักษ์
แจ ้งความจริง (ตรัสรู ้) ทีส ่ มบูรณ์ การบําเพ็ญภาวนาเช่นนีเ้ รียกว่า
“มัชฌิมาปฏิปทา”

• การบรรลุชวั่ ขณะต่อจิตประภัสสรในภายใน สามารถทําให ้เกิดขึน ้


ได ้ด ้วยการอาศัยการชีน ้ ํ าจากพระพุทธองค์ในหลักของไตรสิกขา
ทีพ่ ระพุทธองค์ทรงอุปมาเหมือนกับโคแม่ลก ู อ่อนเล็มหญ ้าแล ้ว
ชําเลืองดูลกู น ้อยไปด ้วย เล็มหญ ้าไปด ้วยชําเลืองดูลกู น ้อยไป
ด ้วย เหมือนกับคนเราต ้องทํางานในชีวต ิ ประจําวัน ทํางานไปด ้วย

2
ชําเลืองดูจติ ใจของเราไปด ้วย อย่างต่อเนือ
่ ง และประกอบไปด ้วย
ความเพียรพยายามอย่างถูกต ้อง (สัมมาวายามะ) เพือ ่ ให ้เกิดการ
่ ้นบึง้ แห่งจิตใจและความสมบูรณ์ตอ
หยัง่ รากลึกลงสูก ่
ประสบการณ์ตรงต่อความจริงแท ้

• ด ้วยความเคยชินต่อการดําเนินชีวต ิ ด ้วยจิตสามัญสํานึกของปุถช ุ น
มันจึงยากนักหนาทีจ ่ ะค ้นพบ “หนทาง” ทีจ ่ ะเปิ ดเผยถึงจิต
ประภัสสรตามทีม ่ น
ั เป็ นตามธรมชาติของมันอย่างไม่พก ั -ไม่เพียร
จึงต ้องอาศัยการบําเพ็ญเพียรอันยาวนานจนกว่าจะบรรลุถงึ ความ
เป็ นไปเอง ทีป
่ ราศจากความพยามใดๆ ตลอดเวลา ความเป็ น
อิสระจากการกําหนดหมายใดๆ จะหยัง่ ลงสูใ่ นภายในอย่างค่อย
เป็ นค่อยไป

ท ัศนียภาพแห่งสุญญตา

• เมือ
่ ปฏิบต ั ภิ าวนาจนสามารถตระหนักชัดถึงความน่าสะพรึงกลัว
ของสังสารวัฏ แล ้วเข ้าถึงสภาพทีย ่ งิ่ กว่าสุขแห่งการลดละปล่อย
วาง ก็จะทําให ้เราเกิดความมัน ่ ใจ เกิดแรงบันดาลใจทีจ ่ ะมุง่ มัน

ปฏิบต ั ภ
ิ าวนา เพือ ่ ตระหนักรู ้ความจริงให ้สมบูรณ์ อันเป็ น
อริยทรัพย์ของอริยบุคคล โลกียทรัพย์ทงั ้ มวลก็หมดความหมาย
ลงอย่างสิน ้ เชิง

• ผู ้ทีส
่ มบูรณ์อยูด
่ ้วยความอิสระเสรีแห่งปั ญญาญาณ ไปพ ้นการ
กําหนดหมายทัง้ ปวง ย่อมไปพ ้นมิจฉาทิฏฐิของความสุดโต่งทัง้
สอง ภาระทีร่ ้อยรัดผูกพัน ย่อมลดละปล่อยวางอย่างสิน ้ เชิงด ้วย
ตัวของมันเอง

3
• เมือ
่ ศรัทธาและแรงบันดาลใจเกิดขึน้ ความมุง่ มัน
่ พากเพียรย่อม
งอกงามขึน ้ ในภายใน โลกียทรัพย์และการครอบครองสิง่ ทัง้ ปวงก็
ไร ้ความหมาย

• ่ เราได ้นํ าคําสอนอันลึกซึง้ ไปปฏิบต


เมือ ั ภ
ิ าวนาได ้จริงๆ ความรู ้ทัง้
มวลก็หมดความหมาย ความรู ้ทีไ่ ม่นําไปสูก ่ ารปฏิบต
ั นิ ัน
้ ทําให ้เรา
เกิดอัตตาตัวตน ทะนงตน ขึน ้ ในภายใน มหันตภัยแห่งสังสารวัฏ
ย่อมตามมาดุจเงาย่อมติดตามตนเอง

• ผู ้ทีเ่ ฝ้ ารักษาโพธิจต
ิ กงล ้อแห่งธรรมจักรษุ ยอ
่ มดําเนินไปในจิต
วิญญาณของเรา โลกภายนอกและธรรมชาติของจิตประภัสสร
ร่วมเป็ นเอกภาพเดียวกันอันเป็ นทัศนียภาพแห่งความอิสระหลุด
พ ้น

• ปุถช ุ นทีม
่ ด
ื บอดอยูด่ ้วยอวิชชานัน ้ มีมากมายนัก โลกของเราจึงมี
แต่ความขัดแย ้ง ความรุนแรง ผู ้ปฏิบต ั ธิ รรมทีเ่ ข ้าถึงธรรมมีจํานวน
เพียงน ้อยนิดจึงยากทีจ ่ ะทําให ้สังคมหมดความขัดแย ้ง ความทุกข์
หรือความสุข ย่อมเกิดจากการกระทําของตัวเราเองแต่ละคน ตาม
เหตุตามปั จจัยของการมองโลก ผู ้ทีป ่ ฏิบต ั ภิ าวนาทีเ่ ข ้าถึงปั ญญา
ญาณ ก็จะตระหนักชัดต่อธรรมชาติทแ ี่ ท ้อันสว่างไสวแห่งจิต
ประภัสสร ทัศนียภาพแห่งสุญญตาก็จะเผยตัวของมันเอง
แสดงออกร่วมกับกิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวัน ปั ญหา ความ
ขัดแย ้ง ความรุนแรง ความทุกข์โศกก็จะสิน ้ สุดลง เข ้าถึงความที่
ยิง่ กว่าสุข “นิพฺพานํ ปรมํ สุขขํ” นิพพานก็ปรากฏอยูต ่ อ
่ หน ้า แล ้ว
เรายังต ้องการอะไรอีก

4
่ นนเอง
ตถาตภาพแห่งความเป็นเชน ั้

• การน ้อมระลึกถึงพระพุทธองค์ ก็เพือ


่ ประจักษ์ แจ ้งสุญญตาธรรมที่
จะเป็ นกัลยาณมิตร แห่งการดําเนินชีวต ิ ตลอดไป เมือ ่ จิตเดิมแท ้
อันประภัสสรปรากฏ อมตธรรมทีอ ่ ยูเ่ หนือการคาดคิด อันเป็ น
หนทางแห่งมัชฌิมาปฏิปทา ย่อมทําให ้ผู ้ทีส่ ามารถเข ้าถึงบรรลุ
พุทธภาวะ

• ภาพมายาดั่งสายรุ ้งแห่งกระแสของรูปลักษณ์ทงั ้ ปวง ปรากฏขึน ้


เพราะความยึดถือในอัตสัญญา พระธรรมคําสอนของพระพุทธ
องค์ เพือ
่ ถ่ายถอนความยึดถือนี้ ด ้วยการตระหนักชัดว่ารูปลักษณ์
ทัง้ ปวงนัน
้ คือ สุญญตา อันเป็ นสัจจะทีส ่ งู สุดทีส ั ผัสได ้ด ้วยจิต
่ ม
ประภัสสรในภายใน แล ้วแสดงออกร่วมกับสรรพสิง่ ในความเป็ นต
ถาตภาพแห่งความเป็ นเช่นนัน ้ เองอันยิง่ ใหญ่ โพธิจต ิ อัน
มหัศจรรย์นี้ คือ กัลยาณมิตรทีร่ ว่ มเดินทางสูเ่ ป้ าหมายของชีวต ิ
ตลอดกาลนิรันดร์

• ผู ้ทีส
่ ามารถสังเกตุเรียนรู ้ธรรมชาติทแ
ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรของ
ตนเองได ้อย่างปราศจากนิวรณ์ทงั ้ ห ้ารบกวน และสามารถดํารง
มัน
่ อยูด ่ ้วยความสมบูรณ์แห่งญาณทัศนะ จนหยัง่ รู ้ถึงสัจจะที่
แท ้จริงของรูปลักษณ์สภาวะทัง้ ปวงได ้ ความยึดติดในโลกธรรม
ทัง้ แปดประการย่อมสิน ้ สุดลง

• เมือ
่ ปราศจากราคะ โทสะ โมหะย่อมอยูเ่ หนือสังสารวัฏ และพระ
นิพพานซึง่ ไม่สามารถเข ้าถึงได ้ด ้วยการคิดแบบตรรกะหรือด ้วย
ความต ้องการใดๆ ไม่มใี ครเลยทีบ ่ รรลุธรรมได ้ โดยไม่ปฏิบต
ั ิ
ภาวนา

5
• สัมมาปฏิปทาและการประกอบกรรมทีเ่ ป็ นสัมมาช่างอัศจรรย์จริง
ถ ้าไม่สามารถอยูเ่ หนือจิตสามัญสํานึกและความคิดปรุงแต่งด ้วย
อวิชชาทีฟ ่ งุ้ ซ่านอยูใ่ นภายในได ้ จะมีประโยชน์อะไรจากการเฝ้ า
สังเกตุเรียนรู ้จิตใจ

• ถ ้าเราไม่สามารถถอดถอนอัตตาตัวตนและขจัดตัณหา ราคะ อรติ


แห่งโลกียสุขได ้ ประโยชน์อะไรทีจ
่ ะได ้จากการเฝ้ าบําเพ็ญเพียร
ภาวนา ย่อมถูกครอบงําด ้วยทิฏฐิ มานะ และถือตัวถือตน ทําให ้
ไม่อาจเจริญก ้าวหน ้าในพระธรรมวินัยนี้

เอกายนะม ัคโค – วิถแ


ี ห่งจิตหนึง่

• ถ ้าไม่ได ้ปฏิบต ั ต
ิ ามคําสอนของพระพุทธองค์ การบําเพ็ญภาวนา
ย่อมล ้มเหลว แต่ถ ้าเพียรเพ่งพิจารณาอย่างมีธัมมวิจัย และสงบ
สงัดอยูผ ่ ู ้เดียว ย่อมตระหนักชัดต่อสุญญตภาวะของสรรพสิง่ ลํ้า
ลึกยิง่ ขึน

• การดํารงอยูอ ่ ย่างนอบน ้อมประสานกลมกลืนกับสรรพสิง่ คือ นิมต ิ


หมายแห่งเอกภาวะหรือเอกายนะมัคโค – มรรควิถแ ี ห่งจิตหนึง่
อันเป็ นวิถข
ี องพระโพธิสต ั ว์ ซึง่ เป็ นการแสดงออกของสัจจะที่
ดํารงอยูใ่ นทุกสิง่ เป็ นมรรคาแห่งการไม่กําหนดหมายและไม่
แบ่งแยกออกเป็ นทวิลก ั ษณ์ ย่อมเข ้าถึงความผาสุกนิรันดร์

• เพราะว่าเราไม่เคยเรียนรู ้ทีจ ่ ะปฏิบตั ต


ิ ามคําสอนของพระพุทธองค์
เราจึงไม่ได ้รับความสุขทีแ ่ ท ้จริง คําสอนในแนวทางการปฏิบต ั ิ
ของพระพุทธองค์เป็ นดั่งนํ้ าอมฤต หากใครได ้ดืม ่ กินก็จะเข ้าถึง
ความเป็ นอมตะ มันเป็ นวิถท ี างดําเนินสูโ่ พธิญาณ – เป็ นการ
บําเพ็ญเพียรเพือ ่ บรรลุถงึ สุญญตธรรม อันเป็ นบรมธรรมสูงสุด
(ULTIMATE TRUTH)

6
• เราจะต ้องปฏิบตั ภิ าวนาอย่างต่อเนือ่ งตลอดเวลา เพือ ่ สัง่ สมความ
ศรัทธาในพระบรมธรรมให ้มัน ่ คง ผู ้ทีป
่ ราศจากการศึกษาพุทธ
ธรรมย่อมไม่อาจบรรลุถงึ ความอิสระ หลุดจากความยึดถือทัง้ ปวง
ได ้ การดําเนินชีวติ เหมือนกับคนตาบอดทีม ่ องไม่เห็น”หนทาง”

• ผู ้ปราศจากประสบการณ์ตรงต่อสัจจะในสมาธิภาวนา ย่อมไม่ม ี
โอกาสได ้ตระหนักชัดพระสัทธรรม เราจึงควรเรียนรู ้ในเบือ ้ งต ้น
ก่อนว่าจะปฏิบต ั เิ พือ
่ อะไรและปฏิบตั อ
ิ ย่างไร นีค่ อ
ื ประเด็นที่
สําคัญยิง่ ทีจ
่ ะทําให ้เราบรรลุเป้ าหมายได ้เร็วขึน

• ในเส ้นทางสูค
่ วามหลุดพ ้น เราจะตระหนักชัดถึงความเป็ นสุญญ
ตาของสรรพสิง่ อย่างแจ่มแจ ้ง ดุจสายรุ ้งทีว่ า่ งเปล่าเพราะ
ปราศจากการกําหนดหมายใดๆ จึงสามารถปลดปล่อยตนเองจาก
อิทธิพลของ ตัณหา ราคะ อรติ อันทุกข์ทรมานทัง้ ปวงได ้

พุทธปร ัชญา

• ถ ้อยคําอันหลากหลายเป็ นดัง่ เสียงสะท ้อนทีว่ า่ งเปล่าในหุบเขา


จึงไม่ตกลงสูก่ บ
ั ดักของภาษาและบัญญัตต ิ า่ งๆได ้ เพราะ
ปราศจากความรักและความชังทําให ้เข ้าใจในจิตใจ สัมมา
อริยมรรคจึงดําเนินไปตามวิถข ี องธรรมชาติในชีวต ิ ประจําวัน

• ธรรมชาติทแ ี่ ท ้อันประภัสสรแห่งจิตเดิมแท ้ ปราศจากขอบเขตอัน


จํากัด ไปพ ้นกาลเวลา อยูเ่ หนือการลงความเห็นว่าสรรพสิง่ และ
ตัวมันเองมีอยูห ่ รือไม่มอ
ี ยู่ อันเป็ นปรัชญาสูงสุดในพุทธศาสนา ผู ้
เข ้าถึงย่อมพ ้นจากทุกข์ทงั ้ ปวง

7
• การเข ้าถึงธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสร ทําให ้อุปทานในเบ็ญจ
ขันธ์สนิ้ สุดลง กรรมทัง้ สามเป็ นเอกภาวะกับปั ญญาณแห่งพุทธะ
ทําให ้เป็ นอิสระจากความมืดบอดทัง้ ปวง เบิกบานแจ่มใสอิม ่ เอิบ
อยูก
่ บ
ั การกระทําทีส ่ อดคล ้องกับมรรควิถแ ี ห่งพระสัทธรรม จึงเกิด
แรงบันดาลใจทีจ ่ ะมุง่ มัน่ เพือ
่ ไปให ้ถึงเป้ าหมายของชีวต ิ คือการ
ดํารงอยูใ่ นสัมมาอริยมรรคอันสมบูรณ์

• การปลุกเร ้าอัตตาตัวตนอันเนือ ่ งมาจากอวิชชาปรุงแต่งย่อมสิน ้ สุด


ลงเมือ ่ เข ้าถึงสุญญตาธรรม เบ็ญจขันธ์ยอ ่ มบริสท
ุ ธิเ์ พราะ
ปราศจากอุปาทาน อันเป็ นทัศนียภาพแห่งความจริงแท ้ จึงไม่ม ี
วันทีจ่ ะดําเนินชีวต ิ อย่างผิดพลาดอีกต่อไป ประสบการณ์แห่งการ
ประจักษ์ แจ ้งความจริง สว่างไสวดั่งรัศมีของดวงจันทร์เมือ ่
ปราศจากเมฆหมอก การขจัดความคิดปรุงแต่งจึงบังเกิดได ้โดย
ไม่ต ้องพากเพียรแต่อย่างใด เครือ ่ งร ้อยรัดผูกพันธ์และโมหะใน
ภายในย่อมสิน ้ สุดลง

• เมือ
่ บรมธรรมและสมมุตส ั จะรวมลงเป็ นเอกภาพเดียวกัน จึง
ิ จ
สามารถระงับยับยัง้ ความยุง่ ยากสับสนของตัณหา ราคะ อรติ ทัง้
ปวง โดยทีร่ ป
ู ลักษณ์ของปรากฏการณ์ทงั ้ หลายทัง้ มวลรวม เป็ น
เอกภาพเดียวกับบรมธรรม หรือสุญญตาธรรม จิตใจจึงสะอาด
สงบ สว่าง จึงผาสุกอยูเ่ สมอ เพราะไม่ตกลงสูก ่ บ
ั ดักของ
มิจฉาทิฏฐิใดๆ

จิตเดิมคือธรรมประทีป

• สัตว์ทอี่ าศัยอยูใ่ นดินบางชนิด สามารถอยูไ่ ด ้นานๆ เช่น กบจําศีล


โดยปราศจากการเคลือ ่ นไหวใดๆ ปลาก็อยูใ่ นนํ้ าได ้นานๆ มันทํา
ได ้เพราะพลังของสัญชาตญาณ สัตว์เหล่านีไ ้ ม่รู ้จักบุญกุศล
เพราะจิตใจของพวกมันมืดบอด จงรู ้ไว ้ด ้วยว่า กุศลทัง้ ปวง เกิด

8
จากความเข ้าใจทีแ
่ ท ้จริง จากประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ ขณะ
ปฏิบต
ั ภ
ิ าวนาบนวิถแี ห่งสุญญตาธรรม

• เมือ
่ ปฏิบต
ั ภ
ิ าวนาในอาณาจักรแห่งสุญญตาธรรม สงบระงับอยูใ่ น
อมตะภาวะ ย่อมอิสระเสรี โดยไม่ต ้องพัก ไม่ต ้องเพียร เป็ น
อาณาจักรทีไ่ ปพ ้นจิตสามัญสํานึก อันสว่างไสวอยูด ่ ้วยปั ญญา
ญาณ ปราศจากความคิดทีฟ ่ งุ้ ซ่าน ย่อมเข ้าถึงสภาพทีย ่ งิ่ กว่าสุข

• ท่ามกลางปรากฏการณ์อน ั หลากหลาย และการเกิดอันยุง่ ยาก


สับสนทัง้ มวล การเพ่งเพียรศึกษาพฤติกรรมของจิตใจเป็ นสิง่ ที่
สําคัญอย่างยิง่ เพราะจะทําให ้เราเกิดความเข ้าใจตนเองยิง่ ขึน ้
จนเกิดความแจ่มแจ ้งตระหนักชัดต่อความเป็ นจริงของตนเองและ
สรรพสิง่ ทําให ้ศรัทธาหยัง่ ลงอย่างมัน ่ คง ด ้วยแสงสว่างแห่ง
ปรีชาญาณในภายใน ความสําเร็จทีส ่ มบูรณ์ยอ ่ มตามมาและไม่ม ี
ความสงสัยใดๆ อีกต่อไป กิจทีจ ่ ะต ้องทําได ้สําเร็จลุลว่ งแล ้ว ช่าง
รืน
่ รมย์และปิ ตป
ิ ราโมทย์ ทีส่ ภาพทนได ้ยากทัง้ ปวงถูกขจัด
ออกไปด ้วยปั ญญาญาณ

• เราจะต ้องเข ้าถึงความรู ้แจ ้งทัง้ ปวง โดยอาศัยการศึกษาตนเองใน


ภายใน ดังนัน ้ ความนึกคิดทัง้ ปวงจึงกลายเป็ นคําสอนตราบเท่าที่
ยังไม่เหินห่างจากจิตใจของตนเอง ย่อมใกล ้ชิดกับพระสูตร
ทัง้ หลายอยูเ่ สมอ จนตระหนักชัดว่าปรากฏการณ์ทงั ้ ปวงคือพฤติ
ภาพแห่งจิตประภัสสร โดยตัวของมันเองคือธรรมประทีปอันสว่าง
ไสว

• ถ ้าเราได ้สละอุทศ ิ ตนเพือ่ การปฏิบตั บ


ิ ําเพ็ญภาวนาอย่างถูกต ้อง
ด ้วยมัชฌิมาปฏิปทา ประตูแห่งมหาสมบัตข ิ องการประจักษ์ แจ ้ง
ความจริง จักเปิ ดออก ทําให ้เราได ้รู ้จักความหมายทีแ ่ ท ้จริงของ
ชีวติ และรู ้ว่าจะดํารงอยูอ
่ ย่างไร จึงจะพบกับความสุขทีแ ่ ท ้จริง
อันเป็ นประโยชน์ตนเอง และช่วยเหลือผู ้อืน ่ อันเป็ นประโยชน์ทา่ น
ได ้

9
แก่นสาระแห่งคําสอนอ ันลํา้ ลึก

• เพราะคําสอนอันเป็ นแก่นสาระอันลํ้าลึกของพระพุทธองค์ ทําให ้


สามารถบําเพ็ญเพียรภาวนาอย่างโดดเดีย ่ วได ้ ถ ้าปราศจากการ
บําเพ็ญภาวนาจะเข ้าถึง ความรู ้แจ ้งตระหนักชัด ความจริงของ
สรรพสิง่ ได ้อย่างไร

• เราพากันเวียนเกิด เวียนตายมาชัว่ กัปชัว่ กัลป์ อย่างปราศจากแก่น


สาระแม ้เพียงน ้อยนิด ถ ้ายังคงลูบคลําอยูก
่ บ
ั ความรู ้และคําพูด
ยอมเป็ นการดีถ ้าจะเริม
่ ลงมือขจัดตัณหา อุปาทาน ในขันธ์ห ้าลง
ได ้บ ้าง

• พระสัทธรรมเป็ นโอสถขนานเอกสําหรับรักษาโรคทางจิตใจของ
มนุษย์ การศึกษาธรรมะโดยไม่ยอมละทิง้ โลกธรรม ย่อมนํ าความ
ทุกข์ทัง้ ปวงมาให ้ พระสัทธรรมคงช่วยเหลืออะไรไม่ได ้ หากเรา
ยังไม่เป็ นอิสระจากเงือ
่ นไขแห่งโลกธรรมทัง้ แปด เราจะต ้องเปี่ ยม
อยูด
่ ้วยความเพียร มีธัมมวิจย ั มีขน
ั ติ และบําเพ็ญภาวนาอย่าง
ต่อเนือ่ ง จึงจะเกิดผลสําเร็จตามมา

• พุทธสาวกต ้องเสือ ่ มจากพระธรรม เมือ ่ ตกอยูภ


่ ายใต ้เงือ
่ นไขแห่ง
โลกธรรม เพราะความดําริไม่ชอบ การกระทําทีเ่ ป็ นมิจฉากัมมัน
ตะ จึงเกิดขึน
้ นํ าความเดือดเนือ
้ ร ้อนใจมาให ้เสมอๆ

10
• ในห ้วงเวหาอันกว ้างใหญ่ไพศาล นกก็ต ้องเรียนรู ้ทีจ ่ ะโผบินอยูใ่ น
อากาศ ถ ้าประมาท ทนงตนก็อาจตกหุบเหวได ้ ในมหาสมุทรอัน
กว ้างใหญ่ไพศาล ปลาก็ต ้องเรียนรู ้ทีว่ า่ ยไปในสายนํ้ า ถ ้าประมาท
ทะนงตนอาจหลงเข ้าไปติดข่ายอวนได ้ มนุษย์กต ็ ้องดํารงตนอยู่
อย่างไม่ประมาท ไม่เช่นนัน้ ก็อาจตกอบายภูมไิ ด ้

• ในดินแดนอันมหัศจรรย์แห่งสุญญตา เราต ้องเรียนรู ้ทีจ ่ ะดําเนินไป


บนวิถข ี องสัมมาปฏิบต ั ิ ต ้องไม่ประมาท ไม่เช่นนัน
้ อาจสูญเสียการ
รู ้แจ ้งต่อสุญญต-ภาวะไป ต ้องระงับอกุศลกรรมในจิตใจให ้ได ้
ไม่เช่นนัน ้ ก็จะถูกเผาผลาญด ้วยไฟแห่งโทสะ ต ้องพากเพียรขจัด
ตัณหาให ้สูญสิน ้ ไปอยูเ่ สมอ จึงจะไม่ตกจมลงสูก่ ้นบึง้ แห่ง
สังสารวัฏอันทุกข์ทรมาณ

ธรรมชาติทแ
ี่ ท้แห่งจิตประภ ัสสร

• ถ ้ายังไม่สามารถหยุดการมองผู ้อืน ่ ทางด ้านลบ ก็จะไม่ได ้


ประโยชน์จากการบําเพ็ญขันติธรรม และถ ้ายังไม่สามารถหยุด
มิจฉาทิฏฐิได ้ ก็จะไม่ได ้รับประโยชน์จากการบําเพ็ญสมาธิภาวนา
ทีส่ ด
ุ ถ ้ายังไม่ตระหนักชัดว่ารูปลักษณ์ของสภาวะทัง้ ปวงล ้วน
กําลังแสดงสัจธรรม ก็จะไม่ได ้ประโยชน์จากการพัฒนาปั ญญาณ
เลย

• ถ ้าขาดความเข ้าใจอย่างลํ้าลึกเกีย่ วกับการปฏิบต ั ภ


ิ าวนาทีถ่ ก
ู ต ้อง
ในวิถท ี างทีพ
่ ระพุทธองค์ตรัสไว ้ ก็จะไม่เข ้าใจถึงศิลปะแห่งการ
อยูเ่ พือ
่ ไปพ ้นการตอบรับหรือปฏิเสธได ้เลย และถ ้าจิตของเรายัง
ไม่รวมเป็ นหนึง่ เดียวกับสัจธรรม ความรอบรู ้ทัง้ ปวง ล ้วนนํ าไปสู่
11
ความล ้มเหลวในทางธรรม และถ ้าไม่สามารถถ่ายถอนอุปาทานว่า
เป็ นเรา-เป็ นของเราลงได ้ การเข ้าถึงความเป็ นหนึง่ เดียวกับสัจ
ธรรมย่อมเป็ นโมฆะ จงอย่าปล่อยให ้ชีวต ิ ล่วงเลยไปโดยเปล่า
ประโยชน์ และมีสติสม ั ปชัญญะอันมัน ่ คง เพือ
่ เผชิญหน ้ากับความ
ตายทีอ ่ าจมาเยือนได ้ทุกเวลา

• เพราะความไม่เข ้าใจถึงอวิชชาทีห ่ ุ ้มห่อจิตใจของเรา จึงทําให ้


ต ้องเวียนว่ายอยูใ่ นสังสารวัฏอันเต็มไปด ้วยไฟแห่งตัณหา ราคะ
ผู ้ตระหนักชัดต่อธรรมชาติอน ั แท ้แห่งจิตประภัสสรของตนเองที่
ปราศจากอวิชชาบดบัง คือผู ้บรรลุธรรม ย่อมบรรลุถงึ พระนิพฺพาน
อย่างแน่นอน

• ธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรทีเ่ ป็ นหนึง่ เดียวกับสัจจะอันติมะ


แทรกซึมอยูใ่ นสรรพชีวต ิ ทัง้ ปวง ดังนัน
้ สรรพชีวต
ิ ทัง้ ปวงจึงมี
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้นี้ แต่ถก
ู บดบังแปดเปื้ อนด ้วยมลทินแห่งโลกียวิสย ั
ถ ้ามลทินทัง้ หลายถูกขจัดออกไป เขาทัง้ หลายก็จะกลายเป็ น
พุทธะ

• ผู ้รู ้แจ ้งตระหนักชัดต่อจิตประภัสสรของตนเอง ย่อมประจักษ์ แจ ้ง


ว่า ธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรคือต ้นกําเนิดแห่งญาณทัศนะ
ทัง้ ปวง และจะไม่แสวงหาสัจจะในทีอ ่ น
ื่ ใดอีก นีค
่ อ
ื คําสอนทีล
่ ํ้า
ลึกทีท ่ กุ คนสามารถบําเพ็ญเพียรภาวนาร่วมกับกิจการงานใน
ชีวต ิ ประจําวันได ้ ใครก็ตามทีต ่ ระหนักชัดต่อจิตประภัสสรใน
ภายในตนเองได ้ ย่อมกลายเป็ นพุทธะสัจจะสูงสุด เราจึงสามารถ
เข ้าถึงได ้ด ้วยการตระหนักชัดต่อจิตประภัสสรของตนเอง

12
กระแสแห่งปัจจยาการ

• ประสบการณ์แห่งการรู ้แจ ้งตระหนักชัดในปรมัตถ์สภาวะธรรม เป็ น


สิง่ ทีล ึ ซึง้ การจบกิจแห่งพรหมจรรย์เกิดขึน
่ ก ้ ได ้ด ้วยโพธิจติ แห่ง
ประสบการณ์แห่งการรู ้แจ ้งนี้ การนํ ามากล่าวกับปุถช ุ น ย่อมไร ้
ประโยชน์

• เส ้นทางดําเนินชีวต
ิ ทีผ
่ ด
ิ พลาดมากมายจากความสําคัญผิด

นํ าไปสูควาล ้มเหลวแห่งชีวต ิ เป็ นชีวต
ิ ทีเ่ ปลืองเปล่าไร ้สาระ
เพราะขาดการเรียนรู ้ตนเอง ขาดความเข ้าใจตนเองอย่างแท ้จริง
เราจึงเวียนว่าย ตาย-เกิด อยูใ่ นสังสารวัฏ อันไม่มท ี ส ิ้ สุด
ี่ น

• ทัศนียภาพทีม ่ หัศจรรย์และความทีส ่ ด
ุ นัน
้ คือ สภาวะทีไ่ ร ้ตัวตนที่
จะเห็น ทีจ่ ะได ้ยิน ทีจ่ ะรับรู ้ทางประสาทสัมผัสต่างๆ นีค ่ อ

ธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งสัจจะอันติมะ อันเป็ นแก่สาระอันสว่างไสว
แห่งดวงจิตประภัสสร นีค ่ อ
ื ขุมทรัพย์อน ั ประมาณค่ามิได ้ และทํา
ให ้พ ้นไปจากรูปลักษณ์ทงั ้ ปวงแห่งสุญญตาธรรม นีค ่ อ
ื นํ้ าอมฤต
แห่งโพธิญาณ

• แรงบันดาลใจทีแ ่ ท ้จริง เกิดจากการรู ้แจ ้งตระหนักชัดว่า เพราะสิง่


้ ี สิง่ นีจ
นีม ้ งึ มี เพราะสิง่ นีด ้ ับ สิง่ นีจ
้ งึ ดับ อันเป็ นกระแสแห่งปั จจยา
การ ทีไ่ ม่อาจกําหนดหมายได ้ว่า มีอต ั ตาหรือไม่มอ ี ต
ั ตาตัวตน

อะไร ผู ้ทีร่ ู ้แจ ้งตระหนักชัดว่า สรรพสิงไม่อาจกล่าวได ้ว่า มีอยู่
หรือไม่มอ ี ยู่ ได ้เข ้าสู่ วิถขี องสัมมาอริยมรรคแล ้ว ผู ้รู ้แจ ้งตระหนัก

13
ชัดถึงสัจจะแห่งการกระทําใดๆ ทีป ่ ราศจากตัวตนเป็ นผู ้กระทํา
กําลังเดินตามวิถม
ี รรคอันสูงสุดแล ้ว

• ผู ้ทีต
่ ระหนักชัดถึง ตถาตภาพแห่งความเป็ นเช่นนัน ้ เองของสรรพ
สิง่ อันปราศจากทวิภาวะ นับได ้ว่าได ้เข ้าใกล ้การจบกิจแห่งการ
ประพฤติพรหมจรรย์แล ้ว

เอกภาพแห่งทวิล ักษณ์

• ผู ้ทีต
่ งั ้ ความปรารถนาสูก ่ ารหลุดพ ้นจากความยึดมัน ่ ทัง้ ปวง แต่ยงั
หมกมุน ่ อยูก
่ บ
ั การแสวงหาโลกียธรรมอันเป็ นเครือ่ งจองจํากักขัง
ตนเอง จะถูกพันธนาการด ้วยอุปาทานในอัตตาตัวตน และ
อุปาทานในตัวตนของสรรพสิง่ อย่างหลีกเลีย ่ งไม่ได ้ และจะตก
จมสูก ่ ้นบึง้ แห่งสังสารวัฏและเวียนว่ายอยูใ่ นภพทัง้ สามอันมืดบอด
ด ้วยเมฆหมอกแห่งอวิชชาตลอดกาลนาน

• จากการทีไ่ ด ้ปฏิบต
ั ภ
ิ าวนาตามคําสอนของพระพุทธองค์ ในหลัก
ของไตรสิกขา หรือ ทางสายกลาง ทําให ้ได ้รับประสบการณ์แห่ง
ความตระหนักชัดในภายใน ทําให ้เข ้าถึงเอกสภาวะของสรรพสิง่

• เพราะความสับสนยุง่ ยากของธรรมชาติแห่งอวิชชา ทีห ่ ยัง่ รากลึก


ลงสูจ่ ติ ใจ จนเกิดความเคยชินจนยากทีจ ่ ะพัฒนา จึงไม่ควรทีจ ่ ะ
อยูห
่ า่ งไกลจากผู ้เข ้าถึงสัจธรรม ความคิดทีห
่ ลั่งไหลและ
14
รูปลักษณ์ทงั ้ หลายทัง้ ปวง คือ สิง่ ทีเ่ ราจะต ้องเรียนรู ้เพือ
่ ความ
เข ้าใจต่อสภาวะธรรมเหล่านี้ ถ ้าไม่เข ้าใจต่อความจริงนี้ การ
พัฒนาจิตใจก็ล ้มเหลว

• เพือ ่ เข ้าถึงความรู ้แจ ้งตระหนักชัดอย่างแท ้จริงต่อสัจจะแห่งการ


ไปพ ้นการดํารงอยูห ่ รือไม่ดํารงอยูข
่ องรูปลักษณ์สภาวะทัง้ หลาย
ทัง้ ปวง จงสํารวมระวังอยูท ่ ก
ุ ขณะในการใส่ใจอยูก ่ บ
ั การกระทําทัง้
ปวง บนประสบการณ์ตรงต่อสัจจธรรม

• จงตระหนักชัดให ้ได ้ถึงเอกสภาวะของพระนิพพานและสังสารวัฏ


และตระหนักชัดถึงความไม่แตกต่างของสมมุตส ั จะ และปรมัตถ์
ิ จ
สัจจะ ถ ้าไม่อาจเข ้าใจถึงข ้อเท็จจริงนีไ
้ ด ้ การปฏิบตั ภ
ิ าวนาก็
ล ้มเหลว

• ่ ตลอดจนสรรพสิง่ โดยแท ้จริงแล ้วเป็ นเอกภาพ


ตัวเราและผู ้อืน
เดียวกัน ไม่อาจแบ่งแยกกันได ้ เพือ ่ รู ้แจ ้งตระหนักชัดถึงสัจธรรมนี้
ต ้องปลูกฝั งโพธิจต ิ ให ้งอกงามขึน
้ ในจิตใจ – สัจธรรมทีอ ่ ยูเ่ หนือ
ขอบเขตของการอธิบายด ้วยคําพูด และภาษานัน ้ เข ้าถึงได ้ด ้วย
การดําเนินตามวิถแ ี ห่งสัมมาอริยมรรคอย่างต่อเนือ ่ ง โพธิจต ิ จึงจะ
งอกงาม

มายาแห่งเงาจ ันทร์ในนํา้

• ผู ้ทีไ่ ม่สามารถปฏิบต
ั จ
ิ นบรรลุถงึ การตระหนักชัดต่อสภาพอมตะที่
ล ้วงพ ้นกาลเวลา จะไม่สามารถหยุดการกําหนดหมายและการ

15
แบ่งแยก ออกเป็ นคูๆ่ ได ้ ถ ้าไม่ได ้ตระหนักชัดถึงความเป็ น
เอกภาพของสรรพสิง่ จะรู ้ได ้อย่างไรว่าสรรพสิง่ คือ สุญญตา

• ถ ้าไม่ได ้ล่วงรู ้ถึงมรรคาทีจ


่ ะปฏิบต ่ ารไม่กําหนดหมาย
ั ไิ ปสูก
แยกแยะคุณค่าของสรรพสิง่ ย่อมไม่อาจบรรลุถงึ ความจริงแท ้ที่
สูงสุดได ้ และไม่อาจบรรลุถงึ ความอิสระเสรีจากความยึดติดใน
ขันธ์ห ้าได ้

• สรรพชีวต ิ ทัง้ ปวงในภพภูมท ิ งั ้ หก โดยแท ้จริงแล ้วคือ สุญญตา ถ ้า


เราปฏิบต ั ภิ าวนาจนตระหนักชัดถึงสิง่ นีไ ้ ด ้ เราก็จะเข ้าถึง
ทัศนียภาพแห่งเอกสภาวะ เป็ นการปฏิบต ั ภ ิ าวนาเพือ ่ ละเลิกการ
กําหนดหมาย แยกแยะคุณค่าของสรรพสิง่ ออกเป็ นคูๆ่ ที่
เปรียบเสมือนเงาสะท ้อนของดวงจันทร์ทป ี่ รากฏในนํ้ าทุกหนแห่ง
เหมือนสายรุ ้งทีไ่ ม่มผ
ี ู ้ใดจับต ้องได ้ แต่แก่นสาระของทัศนียภาพ
ทัง้ ปวงคือความเป็ นเอกสภาวะของสุญญตา ปรากฏการณ์ทงั ้ ปวง
คือ การแสดงออกของธรรมชาติทไี่ ม่อาจแบ่งแยกได ้ หัวใจ
สําคัญของการกระทําต่างๆ คือ ความสอดคล ้อง ประสาน
กลมกลืนไปกับธรรมชาติของสรรพสิง่ นีค ่ อ ื วิถท
ี างของการดําเนิน
ชีวต ิ ของพุทธะ

• จะตระหนักชัดในธรรมชาติทอ ี่ ยูเ่ หนือถ ้อยคําทัง้ ปวงได ้ ด ้วยการ


ปลดปล่อยอัตตาตัวตนก่อน และอยูอ ่ ย่างเรียบง่ายอย่างไม่พัก ไม่
เพียร หยัง่ รู ้ธรรมชาติอน
ั ปราศจากตัวตนด ้วยตัวของมันเอง ไม่

กําหนดหมายต่อสิงทัง้ ปวง ดํารงอยูใ่ นความต่อเนือ ่ งของ
สติสมั ปชัญญะ ทวิภาวะจึงกลายเป็ นเอกภาพเดียวกัน

16
• ้ สุดลง เพราะตระหนักชัดว่าจิต
สังสารวัฏอันน่าสะพึงกลัวสิน
ประภัสสรและบรมธรรมเป็ นเอกภาพเดียวกัน จึงไม่ปรารถนาสิง่
ใดๆ ในโลกอีก เหมือนกับแสงอาทิตย์ทข ี่ จัดความมืดลงได ้ฉั นใด
ตัณหา ราคะ ย่อมสูญสิน้ ไป เมือ่ ปั ญญาญาณ แผ่ขยายคลอบ
คลุมทุกสิง่

สายธารแห่งกาลเวลา

• การได ้ถือกําเนิดเป็ นมนุษย์นัน้ เป็ นเรือ


่ งยากมาก แม ้จะได ้เรือน
กายเป็ นมนุษย์ แต่ผู ้คนส่วนมากก็ละเลยต่อสัมมาปฏิปทา เพราะ
มัวเมาหมกจมอยูก ่ บ
ั โลกธรรมจนยากทีจ ่ ะพัฒนา จะมีบค
ุ คลเพียง
น ้อยนิดทีเ่ ข ้าถึงธรรมวินัยของพระพุทธองค์ และได ้ดํารงอยูก ่ บ

พระพุทธองค์

• ิ เป็ นสิง่ เร ้นลับทีน


ชีวต ่ ่าศึกษา เป็ นคัมภีรท์ ม
ี่ ค
ี า่ ดุจอัญญมณี มันผัน
แปรเปลีย ่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ดุจนํ้ าค ้างทีเ่ กาะอยูบ ่ นใบหญ ้า ถูก
แสงอาทิตย์ไม่นานก็ระเหยไป กาลเวลาล่วงไป ไม่เคยรีรอดุจ
สายนํ้ า แล ้วในทีส ่ ด
ุ ชีวติ ก็เข ้าถึงจุดจบของมัน ความศรัทธาตัง้ ใจ
่ นบแน่นถาวรต่อพระพุทธองค์ เป็ นสิง่ ทีบ
จริงทีแ ่ งั เกิดขึน
้ ได ้ยาก

• โลกนีเ้ ป็ นดั่งโรงละคร กิจการงานในชีวต ิ ประจําวัน เป็ นเสมือน


ของเล่นทีจ ้ ต ้องดิน
่ ําเจ ไม่มวี ันจบสิน ้ รนต่อสู ้เพือ
่ ความอยูร่ อด
ปลอดภัย ภายใต ้ร่มเงาของพระรัตนตรัยอันเป็ นทีพ ่ งึ่ อันเกษมของ
พลังเร ้นลับแห่งเมตตาธรรม หากเราต ้องการจะจขัดผงธุลอ ี อก

17
จากจิตใจ จงหยัง่ รู ้ความลํ้าลึกแห่งจิตประภัสสรอยูเ่ สมอ แล ้วจะ
กลายเป็ นพุทธะ “จิตตํ รกฺเขถ เมธาวี” (ปราชญ์ยอ ่ มรักษาจิตของ
ตน)

• ด ้วยศรัทธาอันมัน่ คงในการประพฤติพรหมจรรย์ ทีเ่ ริม ่ ต ้นด ้วย


สัมมาสติอนั เป็ นความน่าอัศจรรย์ จนจิตตัง้ มัน ่ อยูใ่ นความเป็ น
เอกภาพกับสรรพสิง่ ดั่งภูผาทีต ่ งั ้ มัน
่ เพือ
่ บรรลุถงึ การปล่อยวาง
ความยินดีและไม่ยน ิ ดีแห่งมิจฉาทิฏฐิลง ย่อมเข ้าถึงสุญญตาธรรม

• การตระหนักชัดต่อธรรมชาติอน ั ประภัสสรแห่งดวงจิตของตนเอง
ได ้ และดํารงอยูใ่ นวิถท ี างแห่งคําสอนของพระพุทธองค์อย่าง
ต่อเนือ่ ง เพือ่ ทําให ้ตัวของเราเป็ นหนึง่ เดียวกับพระสัทธรรม
บําเพ็ญภาวนาอยูเ่ หนือขอบเขตแห่งความหมายของถ ้อยคํา ด ้วย
การคอยเฝ้ าตรวจตราความคิดและตรวจสอบดวงจิตอยูเ่ สมอใน
ทุกอิรย ิ าบถในทุกขณะ เพือ ่ น
่ เข ้าสูด ิ แดนอันมหัศจรรย์แห่งสัมมา
ญาณทัศนะและสัมมาวิมต ุ ิ ด ้วยประสบการณ์ของความตระหนัก
ชัดทีบ่ งั เกิดขึน
้ ในภายในของตนเองนีเ่ อง จึงหลุดพ ้นจากทุกข์ทงั ้
ปวง

นํา้ อมฤตแห่งญาณท ัศนะ

• ด ้วยศรัทธาอันมัน ่ คงในคําสอนของพระพุทธองค์ และผลจากการ


ปฏิบต ั ภ
ิ าวนาด ้วยสัมมาอริยมรรค เพือ ่ ขจัดเมฆหมอกในจิตใจ ทํา
ให ้ได ้ลิม
้ ลองนํ้ าอมฤตแห่งสัมมาญาณทัศนะ เกิดการตระหนักรู ้
ต่อสัจจะภาวะทีง่ อกงามขึน ้ ภายในจิตใจ ทําให ้ได ้สัมผัส
ประสบการณ์ตรงต่อสัจจะของตนเองในแต่ละขณะ บังเกิดความ
เข ้าใจทีแ ่ ท ้จริงจากประสบการณ์ เข ้าถึงความหลุดพ ้นจากความ
ยึดถือทัง้ ปวง ปั ญหาย่อมสิน ้ สุดลง
18
• ความอิสระหลุดพ ้นย่อมไม่อาจบรรลุได ้ด ้วยมิจฉาปฏิปทา ความ
พากเพียรอยูบ ่ นพืน้ ฐานของอวิชชาย่อมนํ ามาซึง่ ความล ้มเหลว
จิตใจของปุถช ุ นย่อมเวียนว่ายในวังวนแห่งสังสารวัฏเสมอ ด ้วย
การอาศัยพลังแห่งมิจฉาสมาธิ อาจอําพรางปกติตัณหาราคะได ้
ชัว่ คราว แต่ก็ไม่สามารถใช ้เป็ นพวงแพเพือ
่ ข ้ามโอฆะสงสารแห่ง
สังสารวัฏได ้เลย

• การฝึ กฝนภาวนาบนวิถข ี องทางสายกลางเพือ ่ เข ้าถึงสัจธรรมที่


แทรกซึมอยูใ่ นทุกสิง่ ก่อนอืน่ เราจะต ้องกําจัดตัวตนทีร่ ับรู ้อย่าง
แบ่งแยกก่อน เพือ่ ตระหนักชัดต่อสภาวะทีอ ่ ยูเ่ หนือทวิลก
ั ษณ์
เพือ
่ ถ่ายถอนพิษร ้ายของความยึดมัน ่ ถือมัน
่ ต่อรูปลักษณ์ของ
สภาวะทัง้ หลายทัป ้ วง บนวิถท ี างมัชฌิมาปฏิปทาอย่างแท ้จริง ที่
ปราศจากผู ้กระทําและสิง่ ทีถ
่ กู กระทํา

• สังขตธรรม – อสังขตธรรม ย่อมอยูเ่ หนือขอบเขตของความหมาย


ของถ ้อยคําแห่งการดํารงอยูห่ รือไม่ดํารงอยู่ การถูกพันธนาการ
อยูด่ ้วยอุปาทานแห่งอัตตาตัวตน ย่อมจางมลายสลายลงอย่าง
เป็ นไปเองตามวิถข ี องธรรมชาติ นีค
่ อ
ื ปรมัตถสัจจะ (ความจริงอัน
สูงสุด) แห่งสุญญตาธรรมหรือบรมธรรมอันเป็ นความวิมต ุ ห
ิ ลุดพ ้น
จากความทุกข์ทงั ้ ปวง

• เมือ
่ ภาพมายาของชีวต ิ ถูกตระหนักชัด จิตปะภัสสรย่อมเผยตัว
่ ้นบึง้ แห่งจิตเดิมแท ้
ของมันเอง ทําให ้การหยัง่ รู ้ลํ้าลึกลงสูก
ความคิดและการกระทําย่อมประสานกลมกลืนสอดคล ้องไปกับ

19
สัทธรรมอย่างเป็ นไปเองตามวิถข
ี องธรรมชาติ สัมผัสถึงความ
ผาสุกนิรันดร์


ประทีปแห่งสมมาญาณท ัศนะ

• ปรากฏการณ์ทงั ้ หลายทัง้ ปวงในโลก ล ้วนเป็ นเพียงภาพมายา ดุจ


ความฝั นของคืนทีผ ่ า่ นมา หากเราปราศจากปั ญญาญาณ ย่อม
เสียดายเมือ่ ระลึกถึงความฝั น เมือ ่ เราตืน
่ จากความหลับไหลต่อ
ความเป็ นมายาอันยิง่ ใหญ่ของโลก เราจะตระหนักชัดถึงความจริง
ของสิง่ เหล่านีว้ า่ มันคือสุญญตา เราก็จะยิง่ เพิม
่ ศรัทธาในพระ
พุทธธรรมยิง่ ขึน ้

• การแสวงหาความสุขให ้กับเรือนกายนี้ ย่อมเป็ นการหว่านเมล็ด


พันธุแ
์ ห่งความเศร ้าโศกให ้แก่ตนเองในภายภาคหน ้า ความคิดที่
หลั่งไหลทีม่ าจากการปรุงแต่งของอวิชชาย่อมเป็ นมูลเหตุแห่ง
ความทุกข์ทรมานเสมอ และการดํารงจิตไว ้อย่างผิดๆ ก็เป็ น
มูลเหตุแห่งความทุกข์ทงั ้ ปวง

• เมือ ่ ระลึกถึงความยึดถือทัง้ ปวงทีผ ่ า่ นมา เหมือนนกระจอกที่


ปราศจากรังทีจ ่ ะพักผ่อน จิตใจก็เต็มไปด ้วยความเศร ้าหมอง
เพราะปล่อยให ้ตนเองหมกจมอยูก ่ บ ั วิปลาสทัง้ สาม (จิต สัญญา
ทิฏฐิ) เมือ ่ ตระหนักถึงสิง่ เหล่านีย
้ งิ่ เพิม่ พูนศรัทธา ในพระรัตนตรัย
ยิง่ ขึน

20
• สรรพสัตว์ในภพภูมท ิ งั ้ สาม (กามภพ รูปภพ อรูปภพ) ล ้วนถูก
กักขังอยูใ่ นคุกตารางแห่งสังสารวัฏ เมือ ่ ประทีปแห่งญาณทัศนะ
สว่างขึน
้ ภายใน จึงตระหนักชัดว่าได ้ตืน ่ ขึน ้ จากความฝั น ตืน
่ จาก
ความเห็นทีข ่ ด
ั แย ้งกันเป็ นคูๆ่ จึงบรรลุถงึ ความเป็ นเอกภาพของ
สรรพสิง่ ย่อมไปพ ้นภพภูมท ิ งั ้ สาม ตระหนักชัดถึงความเป็ น
อิสระสรีและความหมายของชีวต ิ ทีแ
่ ท ้จริง

• เมือ
่ บรรลุถงึ ประทีปแห่งญาณทัสนะทีต ่ ระหนักชัดต่อประมัตถ
สัจจะของปรากฏการณ์ทงั ้ ปวง คือ สุญญตา จิตย่อมแจ่มแจ ้ง
สดใสดุจท ้องฟ้ าทีป ่ ราศจากเมฆหมอก เมือ ่ ขบวนความคิดทีอ ่ ยูใ่ น
กรอบของตรรกะ-เหตุผล ถูกขจัดออกไป สัมมาญาณทัศนะที่
แทรกซึมอยูท ่ กุ หนทุกแห่ง ก็เผยตัวของมันเอง แสดงออกร่วมกับ
กิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวันของเรา จึงตระหนักชัดว่าชีวต
ิ โดย
ตัวของมันก็คอ ื สัจธรรม (THE ULTIMATE TRUTH IS LIFE)

วิหารแห่งอน ันตภาพ

• เมือ่ ความยึดถือในขันธ์ห ้าซึง่ หยัง่ ลงเป็ นจิตสามัญสํานึกสิน้ สุดลง


ไปในสุญญตาธรรม กายจิตก็เป็ นอิสระจากเครือ ่ งร ้อยรัดทัง้ ปวง
เมือ
่ พันธนาการในอัตตาตัวตนสิน ้ สุดลง การดํารงอยูข ่ องสัมภเวสี
ก็หายไป

21
• เมือ
่ การกระทํากิจกรรมทัง้ ปวงปราศจากการกําหนดหมายต่อการ
ได ้มาหรือเสียไป จิตใจก็เรียบง่าย ปรกติ สันติ สงบเย็น ด ้วยพลัง
ของศีล สมาธิ ปั ญญา ทีเ่ ปี่ ยมสมบูรณ์ของการดํารงอยูอ่ ย่างมี
ชีวติ ชีวา

• ปั ญญาญาณทีแ ่ ผ่ขยายคลอบคลุมทุกสิง่ – สุญญตภาวะอันแจ่มก


ระจ่าง – วิถแี ห่งการดําเนินชีวต
ิ ทีถ ู ต ้อง ทัง้ สามสิง่ นีเ้ ป็ น
่ ก
เอกภาพเดียวกันคือ กัลยาณมิตรอันประเสริฐของอริยบุคคล ดุจ
แสงสุรยิ น
ั -จันทราทีป ่ ราศจากเมฆหมอกมาบดบัง ย่อมดํารงอยูใ่ น
แสงสว่างอันไพศาล อารมณ์ภายนอกไม่อาจก่ออวิชชาสังขาร
ใดๆ อุปาทานในขันธ์ห ้าจึงถูกขจัดออกไป

• ปรากฏารณ์ทเี่ กิดขึน้ จากเหตุ-ปั จจัย ทัง้ ปวงล ้วนป็ นนิมต


ิ รหมาย
แห่งมรรคาสูค ่ วามเป็ นอิสระหลุดพ ้นจากพันธนาการทัง้ ปวง สุญญ
ตาทีไ่ ด ้ขจัดพันธนาการคือ กัลยาณมิตรอันประเสริฐ ดุจโอสถที่
วิเศษสําหรับขจัดอุปสรรคทัง้ มวล จึงควรบําเพ็ญภาวนาบนสุญญ
ตาธรรม อุปสรรคทัง้ ปวงเหมือนมายากลของดวงจิตประภัสสร
การไม่ดําเนินตามสัมมาอริยมรรค ย่อมออกนอกลูน ่ อกทาง

• ปั ญญาญาณและประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ ความอันไพศาลสว่าง
ไสวในภายใน อันเป็ นอมตะ ย่อมเป็ นนิมติ หมายแห่งการปฏิบต
ั ิ
ภาวนาด ้วยอริยมรรคมีองค์แปด อันเป็ นแก่นสาระของการดําเนิน
ชีวติ อันน่าพิศวง

22
• เรือนกายคือวิหารแห่งอนันตภาพของพระสัทธรรม อันเป็ นทีซ ่ งึ่
พุทธะทัง้ หลายสถิตอยู่ ทําให ้ญาณทัศนะในภายในแห่งพุทธะ
แสดงออกร่วมกับกิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวัน นีค
่ อ
ื การดําเนิน
ชีวติ ของพุทธะทัง้ ปวง

กระจกเงาแห่งเอกภาพ

• เราจะต ้องเอาชนะธรรมชาติในภายในอันเกิดจากอวิชชาของ
ตนเองให ้ได ้ การสูญเสียจิตวิญญาณไปเป็ นเรือ ่ งยากนักหนาทีจ ่ ะ
นํ ากลับคืนมา จงพากเพียรคอยเฝ้ าตรวจตราจิตใจของตนเองให ้
ได ้ในทุกขณะ คําสอนทีเ่ ป็ นถ ้อยคําความรู ้นัน
้ สามารถเรียนรู ้และ
จดจําเอาไว ้ได ้ถ ้าพยายาม แต่สญ ุ ญตภาวะนัน ้ เป็ นทีร่ ู ้ได ้เฉพาะตน
และเป็ นสิง่ ทีย
่ ากยิง่ นักทีจ
่ ะบรรลุถงึ

• ความยึดถือในขันธ์ห ้านัน ้ เป็ นเรือ่ งทีย


่ ากนักหนาทีจ ่ ะสลัดทิง้ มัน
ได ้ การปล่อยวาง ตัณหา ราคะ อรติ ก็เป็ นเรือ ่ งทีย
่ ากยิง่ หากเรา
ไม่สามารถขจัดความคิดทีห ่ ลั่งไหลในภายในได ้ การสัมผัสถึง
ธรรมชาติเดิมแท ้อันประภัสสรนัน ้ กุญแจสําคัญทีจ่ ะขจัดปั ญหา
เหล่านีไ้ ด ้ ก็คอ
ื การเรียนรู ้ตนเองจนเกิดความเข ้าใจทีแ ่ ท ้จริง

• ถ ้อยคําแห่งสมมุตส ั จะอันหลากหลาย ย่อมบดบังสาระอันสําคัญ


ิ จ
ของสัทธรรม การหมกจมอยูก ่ บ
ั การกระทําทีเ่ ป็ นไปเพือ
่ วัฏฏะ
สงสาร ย่อมทําให ้อวิชชายิง่ ครอบงํา พระสัทธรรมอันทรงคุณ
อนันต์ ย่อมอันตรธานหายไป
23
• กระจกเงาแห่งเอกภาพของสรรพสิง่ ทีแ ่ ทรกซึมอยูท
่ กุ หนแห่ง จะ
เปิ ดเผยความจริงของปรากฏการณ์ทัง้ ปวงทีถ ่ ก
ู บดบัง พระธรรม
คําสอนอันลํ้าลึกของความทีย ่ งิ่ กว่าสุข ย่อมขจัดความคิดที่
หลั่งไหล ด ้วยประทีปแห่งปั ญญาญาณ

• คําสอนอันลํ้าลึกแห่งสุญญตา เพือ่ ปลดปล่อยจิตวิญญาณสูค ่ วาม


อิสระหลุดพ ้น ด ้วยการขจัดอุปาทานแห่งตัวตนด ้วยประทีปอัน
สว่างไสวของปั ญญาญาณ ความมืดบอดแห่งอวิชชาย่อมสิน ้ สุด
ลง

• สัมมาทิฏฐิ คือปั ญญาญาณทีต ่ ระหนักชัดต่อพระสัทธรรม


แสดงออกร่วมกับสัมมาปฏิปทา บนวิถท ี างแห่งการบําเพ็ญภาวนา
ด ้วยการสลัดคืนความยึดมัน ่ ถือมัน
่ ในอัตตาตัวตน ขณะกระทํา
กิจการงาน ในชีวต ิ ประจําวันอันเป็ นการกระทําชอบ ทีป่ ราศจาก
ตัณหา ราคะ อรติ ทัง้ ปวง

รากฐานของการดํารงชวี ต

• สภาวะ ปรังสูญญัง อันปราศจากการกําหนดหมายว่าเป็ นสัตว์


บุคคล ตัวตน เราเขาทีเ่ กีย
่ วข ้องกับปั ญญาญาณแห่งสุญญตภาวะ
นัน
้ อันตรายก็คอ
ื ความเห็นผิด ทีเ่ กิดจากขอบเขตอันจํากัดของ
ภาษาและถ ้อยคําทีเ่ พียงการคาดคะเนด ้วยการนึกคิดแบบตรรกะ
ถ ้าการตระหนักชัดยังมิได ้เกิดขึน
้ ในภายในจริงๆแล ้ว เพียง
24
คําอธิบาย ย่อมไม่สามารถปลดปล่อยจิตวิญญาณให ้เป็ นอิสระ
จากความยึดถือในอัตตาตัวตนได ้เลย เราจึงควรมุง่ มัน
่ เรียนรู ้
ตนเองจนเข ้าถึงความตระหนักชัดด ้วยปั ญญาญาณอย่างแท ้จริง

• การบําเพ็ญภาวนาเพือ ่ ละวางอัตตาตัวตนเห็น ความล ้มเหลวก็คอ ื


การหมกมุน ่ อยูก่ บ
ั ความสงบแบบสมถะของฤษี หรือ มิจฉาสมาธิ
ย่อมไม่อาจนํ าพาสูค ่ วามวิมต ุ พ ิ ้นได ้เลย ญาณทัศนะย่อมไม่เกิด
ด ้วยการปฏิบต ั ท
ิ ต ี่ งึ เครียดหรือย่อหย่อน เราจึงควรปลุกเร ้า
สติสมั ปชัญญะให ้ตืน ่ อยูเ่ สมอ ด ้วยการคอยเฝ้ าสังเกตุเรียนรู ้
ตนเองตามทีเ่ ราเป็ นในทุกขณะด ้วยการปฏิบต ั ท ิ ต
ี่ งึ เครียดหรือย่อ
หย่อน เราจึงควรปลุกเร ้าสติสม ั ปชัญญะ ให ้ตืน่ อยูเ่ สมอ ด ้วยการ
คอยเฝ้ าสังเกตุเรียนรู ้ตนเองตามทีเ่ ราเป็ นในทุกขณะด ้วยจิตใจที่
เป็ นอิสระ แล ้วความเข ้าใจทีแ ่ ท ้จริง (สัมมาทิฐ)ิ ก็จะก่อขึน ้ ละวาง
ความยึดติดทัง้ ปวง

• ก่อนทีป ่ ั ญญาญาณจะหยัง่ ลงสูก ่ ้นบึง้ ของจิตใจ เพือ ่ เป็ นรากฐาน


ของการกระทําต่างๆ พฤติกรรมการแสดงออกย่อมเป็ นฝั กฝ่ าย
แห่งโลกียะ ซึง่ เป็ นโอกาสทีด ่ ท
ี จี่ ะทําให ้เราได ้เรียนรู ้ตนเองตามที่
เราเป็ นเมือ ่ ความเข ้าใจทีแ
่ ท ้จริงบังเกิดมากขึน ้ อวิชชาสังขารย่อม
น ้อยลง สุญญตะภาวะแห่งสิน ้ อุปาทานในขันธ์ห ้า ก็จะเปิ ดเผยตัว
มันเอง แผ่ขยายครอบคลุมทุกแห่งหน นีค ่ อ
ื นิมติ หมายการบรรลุ
เป้ าหมายของบําเพ็ญภาวนา

• การทีก ่ ารปฏิบตั ภิ าวนาของเราไม่อาจบรรลุถงึ ปั ญญาญาณแห่ง


การไม่แบ่งแยกอันลํ้าลึกได ้ก็เพราะเรายังหมกมุน ่ อยูก ่ บ
ั การบังคับ
ควบคุมจิตใจ เพือ ่ จะให ้มันสงบ โดยปราศจากความเข ้าใจว่า
ความสงบทีแ ่ ท ้จริงทีจ
่ ะทําให ้เกิดปั ญญาญาณนัน้ เป็ นอย่างไร ทํา
ให ้เราต ้องเสียโอกาสตระหนักชัดด ้วยปั ญญาญาณในภายในอัน

25
ลํ้าลึก ทําให ้เราตกล่วงลงสูก่ บ
ั ดักหลุมพรางของการแบ่งแยก
กําหนดหมาย ความวิมต ุ ห
ิ ลุดพ ้นจึงไม่อาจเกิดขึน
้ ได ้


สจจะที
อ ่ ยูเ่ หนือถ้อยคํา

• เราไม่อาจตระหนักชัดต่อสุญญตะภาวะอันเป็ นแก่นสาระแห่ง
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของจิตประภัสสรได ้ เพราะยังถูกปิ ดกัน
้ อยูด
่ ้วยการ
รับรู ้อย่างแบ่งแยก อันนํ าไปสูก ่ ารเปรียบเทียบลงความเห็นที่
ขัดแย ้งกันเป็ นคูๆ่ ทีเ่ กิดจากการปรุงแต่งของอวิชชา พลังแห่ง
อวิชชาย่อมผลักใสให ้หมุนเวียนอยูใ่ นวัฏฏะสงสารตามวิถข ี องมัน
ความคิดทีห ่ ลั่งไหลเป็ นอุปสรรคอย่างยิง่ ต่อความก ้าวหน ้าของจิต
วิญญาณ จงพากเพียรบําเพ็ญภาวนาอยูบ ่ นสัมมาอริยมรรค
ไม่เช่นนัน ้ เราจะไม่สามารถปลดปล่อยตนเองให ้เป็ นอิสระจากภพ
ทัง้ สามแห่งสังสารวัฏได ้เลย

• ในการบําเพ็ญภาวนาบนวิถข ี องมัชฌิมาปฏิปทา ย่อมปราศจาก


อุปทานทัง้ สี่ เมือ
่ ตระหนักชัดต่อปรมัตถสัจจะ อันอยูเ่ หนือถ ้อยคํา
และเหตุผล ย่อหมดความเป็ นทีต ่ ้องคอยระวังว่าจะล่วงพระธรรม
วินัยอีกต่อไป

• เพือ ่ ความหลุดพ ้นจากความทุกข์โศกในสังสารวัฏ ควรขจัดตัณหา


ทัง้ สาม (กามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา) ให ้หมดสิน ้ และระลึก
ถึงความปลีย ่ นแปลง – ความตายอยูเ่ สมอ อย่างต่อเนือ
่ งใน
สถานทีอ ่ น
ั สงบสงัด

26
• ผู ้ทีม
่ ไิ ด ้เฝ้ าสังเกตุเรียนรู ้พฤติกรรมแห่งดวงจิตของตนเอง และ
ไม่ได ้กระทําอย่างใส่ใจ ย่อมหลงเข ้าสูป ่ ระสบการณ์ทผ ี่ ด
ิ พลาด
แม ้จะมีความเพียรมาก แต่มไิ ด ้ปฏิบต ั ภ
ิ าวนาตามมรรควิถแ ี ห่ง
สัมมาอริยมรรค ย่อมไม่อาจกําจัดกิเลส ตัณหา อุปทานได ้ การ
สํารวมอินทรียอ ์ ยูใ่ นทีอ
่ น
ั สงัด ย่อมแน่ใจได ้ว่า สัมมาอริยมรรคจัก
เจริญงอกงาม

• ลาภ สักการะ ชือ ่ เสียง เป็ นอุปสรรคต่อผู ้ปฏิบต


ั ภ
ิ าวนา จึงจําเป็ น
ทีต
่ ้องรู ้เท่าทันและสละคืนความผูกพันทัง้ หลายลงเสีย ความผ่อน
คลายเพือ ่ ความเป็ นไปเองตามธรรมชาติ เป็ นคุณสมบัตข ิ องผู ้
บําเพ็ญภาวนาบนวิถข ี องสัมมาอริยมรรค การบรรลุเป้ าหมายของ
การบําเพ็ญเพียรย่อมบังเกิดขึน ้

สรรพสิง่ คือจิตสังขาร

• สภาวะทีป่ ราศจากโลภะ – โทสะ – โมหะ ทีเ่ ปี่ ยมด ้วยอินทรีย ์


พละทีอ
่ ยูเ่ หนือจิตสามัญสํานึก คือสัญญลักษ์ ของความสําเร็จ
ของนักปฏิบต ั ท
ิ ก
ุ คน

• ผู ้ตระหนักชัดธรรมชาติทแ ี่ ท ้ในภายในของตนทีแ ่ ทรกซึมอยูท ่ ก



หนทุกแห่งย่อมเป็ นผู ้ตืน
่ อยูเ่ สมอ และดํารงตนอยูใ่ นตถาตภาพ
แห่งความเป็ นเช่นนัน
้ เองของธรรมชาติ ทีบ ่ ริสท
ุ ธิส
์ มบูรณ์ท ี่
แท ้จริง
27
• ผู ้ทีถ
่ อดถอนอุปาทานจากรูปลักษณ์ของสภาวะทัง้ หลายทัง้ ปวง
ได ้ ย่อมเข ้าถึงประสบการณ์ตรงต่อสัจจะทีแ ่ ท ้จริง และเข ้าถึ
สภาพทีย ่ งิ่ กว่าสุข แต่ถ ้ามัวยึดติดอยูก
่ บ
ั ถ ้อยคํา โดยไม่เห็นแจ ้ง
ต่อธรรมชาติทแ ี่ ท ้จริงในภายในของตนเองทีค ่ ลอบคลุมทุกสิง่
ย่อมเศร ้าโศกอยูเ่ สมอ

• ผู ้ทีส
่ ามารถสละโลกธรรมได ้แล ้ว ย่อมมีอส
ิ ระเสรีอย่างแท ้จริงและ
ปราศจากความวิตกกังวลใดๆ โดยเฉพาะผู ้ทีต ่ ระหนักชัดความ
เป็ นมายาของสรรพสิง่ ย่อมหลุดพ ้นจากอุปทานทัง้ ปวง

• ผู ้ทีเ่ ปี่ ยมด ้วยฉั นทะวิรย ิ ะต่อการเฝ้ าสังเกตุเรียนรู ้ในจิตใจของ


ตนเองอยูเ่ สมอ สักวันหนึง่ จะบรรลุถงึ ความเป็ นพุทธะอันเป็ น
เป้ าหมายของชีวต ิ ซึง่ จะนํ าไปพ ้นกําหนดหมายในสิง่ ทัง้ ปวง อัน
เป็ นความมหัศจรรย์ยงิ่ แห่งดวงจิต

• คําสอนอันลํ้าลึกของพระพุทธองค์ เป็ นคําสอนทีล ึ ซึง้ ซึง่


่ ก
สามารถประจักษ์ แจ ้งได ้ด ้วยญาณทัศนะอันเป็ นประโยชน์ตอ ่
ตนเองและผู ้อืน
่ ถ ้าปราศจากการบําเพ็ญภาวนาบนมรรควิถข ี อง
สัมมาอริยมรรค ย่อมไม่อาจตระหนักชัดถึงความลํ้าลึกนัน ้ ได ้

พระค ัมภีรล ั ส
์ ับอ ันศกดิ ิ ธิ์
์ ท

28
• ผู ้คนมากมายไม่มเี วลาบําเพ็ญภาวนาเนือ่ งด ้วยกิจกรรมทางโลก
ปล่อยเวลาให ้สูญเปล่าไปโดยเปล่าประโยชน์ ไม่ได ้ปฏิบต ั ต
ิ ามคํา
สอนทีเ่ ปี่ ยมไปด ้วยสาระของพระพุทธองค์ ชีวต ิ จึงพบแต่ความ
ทุกข์โศก และปั ญหาต่างๆมากมาย แต่ถ ้าเราปฏิบต ั ต
ิ ามคําสอน
อันลึกซึง้ ของพระพุทธองค์ ย่อมเกิดศรัทธาและปั ญญาอันมัน ่ คง
ไม่ช ้าก็จะบรรลุถงึ การปล่อยวาง ทัศนียภาพใหม่อน ั งดงามก็จะ
เปิ ดเผยตัวมันเอง

• การแสวงหาการตระหนักรู ้จากภายนอกจิตใจของตนเอง ย่อม


พลาดจากแก่นสาระของชีวต ิ ไป การกระทําอันเป็ นสัมมาสูงสุดนัน

คือการหยุดยัง้ การกําหนดหมายในสิง่ ต่างๆว่า ถูก หรือ ผิด การ
กําหนดหมายแยกแยะคุณค่าเป็ นทวิลักษณ์นี้ ไม่ผด ิ อะไรกับ
แมลงเม่าทีพ
่ ากันบินเข ้ากองไฟ

• พระธรรมวินัยสูงสุดในพุทธศาสนาคือ การดํารงอยูบ ่ นสัมมาทิฏฐิ


และความสําเร็จของนักปฏิบต ั ก
ิ ค
็ อื ความเป็ นอิสระจากการยึดมัน ่
ถือมัน
่ ทัง้ ปวง พระคัมภีรท
์ ยี่ อดเยีย ่ มทีส
่ ด
ุ นัน
้ คือ จิตใจของตนเอง
การแสวงหาความรู ้จากทีอ ่ น ื่ ย่อมเป็ นการทําลายจิตพุทธะใน
ตนเอง

• การรับรู ้ทางประสาทสัมผัสว่า รูปลักษณ์ของสภาวะทัง้ หลายทัง้


ปวงนัน ้ มีอยูจ ่ ริงหรือไม่มอ
ี ยูจ
่ ริง เกิดจากการกําหนดหมายของ
จิตใจ ทีเ่ ต็มเปี่ ยมไปด ้วยอวิชชาเท่านัน ้ เอง เพราะปราศจากความ
เข ้าใจทีแ่ ท ้จริงในประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ จึงหลงยึดเอา

29
ธรรมชาติแห่งมายาลวงของสรรพสิง่ คือ
ความจริง ดุจหลงว่าความฝั นคือความจริง

• หากปราศจากการบรรลุสญ ุ ญตาธรรมอันเป็ นสัมมาทิฏฐิสงู สุด ก็


จะไม่มวี ันข ้ามพ ้นทวิลักษณ์อน ั เป็ นมิจฉาทิฏฐิไปได ้ การสํารวม
อินทรียท์ เี่ ป็ นนิมต
ิ หมายแห่ง อธิศล ี อธิจต
ิ อธิปัญญา จะทําให ้ไป
พ ้นภพทัง้ สาม (กามภพ รูปภพ อรูปภพ) แห่งสังสารวัฏอันทุกข์
ทรมาน

ความหมายแห่งชวี ต
ิ นิร ันดร์

• เราควรตระหนักรู ้ว่า ชีวต ิ นัน


้ เหมือนการเดินทาง ประสบการณ์
ทัง้ หลายเป็ นเพียงมายา เป็ นรูปแบบหนึง่ ของฝั นความฝั นทีป ่ รุง
แต่งขึน ้ ด ้วยอวิชชา แล ้วหยัง่ ลงเป็ นสามัญสํานึกทีฝ่ ั งแน่นเป็ น
สันดานทีย ่ ากจะลอกออกได ้ มันย่อมนํ าพาไปสูก ่ ารประกอบกรรม
ทัง้ ดีและเลวแห่งสังสารวัฏ และกระตุ ้นเร ้าให ้เกิดประสบการณ์ใน
โลกียสุข และทุกข์ทงั ้ หลาย เพือ ่ ชําระล ้างมลทินเหล่านี้ เรา
จะต ้องฝึ กปฏิบต ั ภ
ิ าวนาจนกว่าจะบรรลุถงึ สัจธรรมอันเต็มเปี่ ยม
สมบูรณ์ เราจึงจะรู ้จักความหมายของชีวต ิ

• สรรพชีวติ ในสังสารวัฏพุทธะแห่งบรมธรรม ้วนเป็ นเอกภาพ


เดียวกัน โดยธรรมชาติและโดยแก่สารสาระ ปรากฏการณ์แห่ง
พลังทางบวกและลยและแก่นสาระแห่งจิตประภัสสร เป็ นภาวะ
ของความไม่อาจแบ่งแยก ออกจากกันได ้ ดั่งคลืน ่ กับนํ้ าทีไ่ ม่ใช่
สองสิง่ การอุบตั ข
ิ องบรรดารูปลักษณ์แห่งมายาลวง และ จิต
ประภัสสร ก็เป็ นเอกสภาวะเดียวกัน หาใช่สองสิง่ ไม่

30
• บรรดาความฝั นโดยอาศัยสามัญสํานึกทีห ่ น
่ ยัง่ รากลึกลงสูส ั ดาน
และความหยัง่ รู ้ในความไม่กําหนดหมายส่งใดๆ ก็ไม่ใช่สองสิง่ ที่
แยกจากกัน ขันธ์ห ้าทีป ่ ระกอบด ้วยความยึดถือ กับความบริสท ุ ธิ์
แห่งพุทธะ ก็เป็ นเอกภาพเดียวกันในมรรคาแห่งความสมบูรณ์ นัย
อัตตาตัวตนของการปรุงแต่งแห่งอวิชชา ถูกสะท ้อนออกมาจาก
สัจธรรมทีแ
่ ท ้อันไม่ผันแปร

• เรือนกายมายาอันมลทินแห่งสังสารวัฏ และธรรมกายอันบริสท ุ ธิ์


เป็ นเอกสภาวะเดียวกันในแสงสว่างอันยิง่ ใหญ่แห่งปั ญญาญาณ
จงดํารงอยูด ี อธิจต
่ ้วย อธิศล ิ อธิปัญญา แห่งไตรสิกขา พิจารณา
ถึงการตระหนักรู ้อย่างสมูรณ์แห่งองค์รวมทีป
่ ราศจากกาลเวลา
บรรลุถงึ ความสุขจากภายใน

• เมือ
่ สงบสงัดอยูใ่ นสัมมาสมาธิ ตระหนักชัดในความเปลีย ่ นแปลง
แห่งความเป็ นเอกภาพขององค์รวม ประสบการณ์ทงั ้ ปวงนํ าไปสู่
เอกภาพแห่งพระสัทธรรม นั่นคือบ ้านทีแ ่ ท ้จริงของเรา บรรลุถงึ
ความหมายทีแ ่ ท ้จริงของชีวต
ิ นิรันดร

วิถธ
ี รรมชาติแห่งความเป็นเอง

• ตัณหา มานะ ทิฏฐิ คือนิมติ หมายแห่งอุปาทานในขันห ์ ้า หากขจัด


ความปรารถนาทัง้ ปวงเสียดาย นํ าการปฏิบต ั ภ
ิ าวนาให ้รวมลงเป็ น
เอกภาพกับการดําเนินชีวติ ในชีวต
ิ ประจําวัน เลิกเพ่งเล็ง ความผิด
ของคนอืน ่ ตัณหา มานะ ทิฏฐิ และไฟแห่งราคะ โทศะ โมหะ
้ สุดลง
ย่อมสิน
31
• ่ ตระหนักชัดถึงการไม่กําหนดหมายแบ่งแยกสิง่ ต่างๆได ้ด ้วย
เมือ
พลังแห่งสัมมาสมาธิ อาณาจักรทีอ ่ ยูเ่ หนืความหมายของถ ้อยคํา
ย่อมปรากฏขึน้ ด ้วยตัวของมันเอง การปลดปล่อยอัตตาตัวตนย่อม
ดําเนินไปตามวิถข ี องความเป็ นไปเองตามธรรมชาติ

• อย่ายึดติดอยูก่ บ
ั ความรู ้และตรรกะ เหตุผล ตลอดจนการคาดหวัง
ใดๆ เลิกเกีย
่ วข ้องกับการกระทําทีไ่ ร ้สาระ สงบอยูใ่ นธรรมชาติท ี่
แท ้แห่งจิตเดิมทีป่ ราศจากการปรุงแต่ง ปราศจากการกําหนด
หมาย แยกแยะคุณค่าของบรรดาสรรพสิง่ ขณะนัน ้ เราได ้บรรลุ
สุญญตภาวะอันเป็ นธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรทีเ่ ป็ น
เอกภาพเดียวกับบรมธรรมแล ้ว

• จงระวังการใช ้ปั ญญาระดับเหตุผลอันจะทําให ้ตกล่วงสูส ่ ญ


ุ ญตา
ชนิดขาดสูญอันเป็ นมิจฉาทิฏฐิ จงสํารวมอยูใ่ นสภาวะทีไ่ ม่พัก-ไม่
เพียร ทีอ่ ยูเ่ หนือความหมายของถ ้อยคําและเหนือตรรกะ อัน
ยิง่ ใหญ่ ย่อมไม่ถก ู ลวงด ้วยมายากลแห่งความคิดทีห
่ ลั่งไหล

• เฝ้ าสังเกตุเรียนรู ้พฤติกรรมแห่งดวงจิตของตนองอยูอ ่ ย่าง


สมํา่ เสมอและต่อเนือ ่ งลํ้าลึก จนเกิดอินทรียพ
์ ละแห่ง ศีล สามาธิ
ปั ญญา ตระหนักชัดถึงสุญญตาของสรรพสิง่ ทีป ่ ระสานกลมกลืน
เป็ นเอกภาพเดียวกัน ย่อมบรรลุถงึ ความสุขในภายใน คือพลัง
แห่งจักรวาล

• ู่ วามวิมต
การประพฤติพรหมจรรย์สค ุ ิ หลุดพ ้นต ้องปฏิบต
ั ดิ ้วย
กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ในชีวต ิ ประจําวัน ไม่เช่นนัน
้ ปั ญญา

32
ญาณทีต ่ ระหนักชัดต่อเอกภาพของสรรพสิง่ อันเป็ นวิถข
ี อง
ั ว์จะสูญสลายไป
โพธิสต

มนุษย์คอ ั
ื ศกยภาพแห่
งพุทธะ

• ศีล สมาธิ ปั ญญา เป็ นกัลยาณมิตรของนักปฏิบต ั ท


ิ ก
ุ คน การ
้ สุดทัศนะย่อมอยูเ่ หนือตรรกะและการคาดหวังใดๆ จะทําให ้
สิน
เกิดแสงสว่าง แก่ผู ้มืดบอด และแสดงออกผ่านจิตใจทีต ่ ระหนัก
ชัดต่อความจริง จึงสามารถคงทนต่อการพิสจ ู น์ตลอดกาล

• นักปฏิบต ั ท
ิ ย
ี่ งั ไม่ได ้สละอุทศ ิ ตนอย่างจริงจัง ย่อมไม่อาจหวังผล
ในการบําเพ็ญเพียรได ้ โดยเฉพาะผู ้ทีย ่ งั ไม่สามารถค ้นพบ
“หนทาง” ทีจ ่ ะไปสูเ่ ป้ าหมายแห่งการลดละปล่อยวางความยึดถือ
ทัง้ ปวง เมล็ดพันธ์แห่งความทุกข์โศกย่อไม่มวี ันทีจ ่ ะดับสูญไปได ้
เลย บุคคลเช่นนีจ ้ ก
ั ท่องเทีย่ วไปในสังสารวัฏอันหาทีส ิ้ สุดมิได ้
่ น

• บารมีทงั ้ สิบนัน้ ได ้รวมเอาคําสอนทัง้ หมดของพระพุทธองค์ไว ้


หากใครได ้บําเพ็ญบารมีทงั ้ สิบย่อมเป็ นผู ้ประเสริฐ ทานจะเป็ น
บันไดสูค ่ วามอิสระ ศีลจะเป็ นรากฐานแห่งการดําเนินชีวต ิ เนกขัม
มะจะทําให ้ละวางโลกียส ์ ข
ุ วิรย ิ ะจะทําให ้สิน้ ทุกข์เร็วขึน
้ ปั ญญา
จะหยัง่ รู ้ความจริงแล ้วละวางความยึดติด ขันติเป็ นธรรม เครือ ่ ง
เผากิเลสอย่างยิง่ สัจจะก็จะเผยตัวมันเอง แสดงออกผ่านกิจกรรม
ต่างๆ อธิษฐานเป็ นความมุง่ มัน ่ ลการบําเพ็ญภาวนา
่ อย่างยิง่ สูผ
เมตตา อุเบกขา แสดงออกในการดํารงอยูร่ ว่ มกับสรรพสัตว์อย่าง
มีความสุขทีแ ่ ท ้จริง บารมีทงั ้ สิบจึงเป็ นหัวใจของการบําเพ็ญ
ภาวนา

33
• การบําเพ็ญบารมีทงั ้ สิบโดยเฉพาะปั ญญาบารมี คือ ขัน ้ ตอน
สุดท ้ายทีท่ ําให ้ดํารงอยูใ่ นพระสัทธรรมอันเป็ นอริยทรัพย์ทท ี่ ําให ้
เกิดปิ ตป
ิ ราโมทย์ มันเป็ นเพชรมณีอน ั มีคา่ ยิง่ มันเป็ นศักยภาพ
สูงสุดของความเป็ นมนุษย์ ผู ้ทีส ่ ามารถอุทศ ิ ตนอย่างแท ้จริง ย่อม
ดําเนินไปสูค ่ วามสําเร็จและจบกิจแห่งพรหมจรรย์ด ้วยปั ญญา
ญาณในอัตภาพนีเ้ อง

• จงเข ้าใจว่า ขบวนความคิดทีเ่ กิดจากอวิชชานีเ้ องคือ ผู ้กําหนด


หมายให ้สรรพสิง่ เกิดขึน
้ มา ผู ้ทีไ่ ม่อาจจะเข ้าใจข ้อเท็จจริงนีไ
้ ด้
ย่อมเวียนอยูใ่ นสังสารวัฏตลอดไป ผู ้ทีต ่ ระหนักชัดว่า
ปรากฏการณ์ทงั ้ ปวง คือ สุญญตา ย่อมจบกิจทีจ ่ ะต ้องศึกษา
ค ้นคว ้าอีกต่อไป

หนทางทีไ่ ร้กาลเวลา

• ความเร ้นลับของการบําเพ็ญภาวนาก็คอ ื ดํารงจิตอยูบ ่ น “หนทาง”


ทีอ
่ ยูเ่ หนือถ ้อยคํา – เหนือเหตุผล เหนือกาลเวลา สงบอยูใ่ น
ความสว่างไสวแห่งการตระหนักชัดในความเป็ นองค์รวม
ปลดปล่อยให ้จิตใจอยูใ่ นความเบาสบาย โดยไม่กําหนดหมายสิง่
ใดๆ ในสัมมาสมาธิ ดุจขุนเขาทีไ่ ม่หวั่นไหวต่อสายลม ธรรมชาติ
แห่งดวงจิตเช่นนัน ้ ย่อมปราศจากมิจฉาทิฏฐิทงั ้ ปวง

• ความคิดถึงทีห
่ ลั่งไหลทีเ่ กิดจากอวิชชา เหมือนภาพสะท ้อนของ
ดวงจันทร์ในนํ้ า เหมือนความฝั น เหมือนสายรุ ้งทีเ่ ป็ นเพียงมายา
แต่อย่าพยายามทีจ ่ ะหยุดมันด ้วยการบังคับ ควบคุม เพราะว่า
เมือ
่ ใดก็ตามทีญ่ าณทัศนะในภายในปรากฏออกมา ขบวนการ

34
ความคิดทีห่ ลั่งไหลทัง้ ปวงมันจะสูญสลายไปเอง เช่นเดียวกับ
ความมืดทีต
่ ้องแสงอาทิตย์

• หมูเ่ มฆไม่อาจแยกตัวออกจากท ้องฟ้ า หมูค ่ ลืน


่ น ้อยใหญ่ไม่อาจ
แยกตัวออกจากมหาสมุทร ฉั นใด ความคิดทีห ่ ลั่งไหลก็ไม่อาจ
แยกตัวออกจากสุญญตภาวะ ฉั นนัน ้ ผู ้ทีส
่ ามารถตระหนักชัด
ความคิดทีห ่ ลั่งไหลในความว่างได ้ ย่อมเข ้าถึงพุทธภาวะในการ
ดําเนินชีวต

• ดอกบัวทีเ่ ติบโตขึน ้ มาจากดินเลน ถือเป็ นแบบอย่างในการดําเนิน


ชีวติ สูเ่ ป้ าหมายแห่งความเป็ นพุทธะในการกระทํากิจกรรมทัง้ ปวง
การเข ้าถึงเอกภาพแห่งความเป็ นองค์รวมต ้องผ่านการฝึ กฝน
อย่างจริงจังจนเข ้าถึง ความลํ้าลึกในภายในและหยัง่ ลงเป็ น
พืน
้ ฐานของการดํารงอยู่

• ปั ญญาญาณ การปฏิบต ั ภ
ิ าวนา ประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ การ
กระทําและการประจักษ์ แจ ้งความจริง เป็ นแก่นสาระของนัก
ปฏิบต ั ท
ิ จ
ี่ ะต ้องนํ ามาเป็ นมรรควิถใี นการกระทํากิจกรรมต่างใน
ชีวติ ประจําวัน ดังนัน ้ การปฏิบตั ภ
ิ าวนากับการดําเนินชีวต
ิ ใน
ชีวต ิ ประจําวันจึงไม่ใช่สองสิง่ ทีแ ่ ยกจากกัน นีค
่ อ
ื การดํารงอยู่
อย่างแท ้จริง

• สภาวะทีอ่ ยูเ่ หนือความหมายของถ ้อยคํา – เหนือ ทวิลก ั ษณ์ คือ


ธรรมชาติของจิตเดิมแท ้ หรือ จิตประภัสสร อันเป็ นต ้นกําเนิดของ
ปั ญญาญาณทีต ่ ระหนักรู ้ในความเป็ นองค์รวม หรือ ความสมบูรณ์
ของชีวต

ทางสายใหม่

35
• ด ้วยการปฏิบต ั ต
ิ ามคําสอนของพระพุทธงค์ในหลักของไตรสิกขา
ทีล ึ ซึง้ ความรู ้แจ ้งตระหนักชัดก็งอกงามขึน
่ ก ้ และหยัง่ ลงสูก ่ น
ั บึง้
แห่งจิตใจ อัตตาตัวตนย่อมถูกปลดปล่อยเมือ ่ ดําเนินชีวต ิ อยูบ่ น
สัมมาอริยมรรค มหัศจรรย์จริงหนอในคําสอนทีล ่ ํ้าลึกอันหาสิง่ ใด
มาเปรียบได ้ ปฏิเวธธรรมอยูแ ่ ค่เอือ
้ ม

• เรือนกายของเราคือวิหารแห่งบรมธรรม พุทธภาวะอันเป็ นอมตะ


ซึง่ ดํารงอยูต
่ ลอดกาลเปี่ ยมด ้วยมงคลแห่งพุทะ ทุกขณะท่ผา่ นไป
ย่อมนํ าความผาสุกมาให ้เสอโดยปราศจากวัตถุใดๆ

• การตระหนักชัดว่า สรรพสัตว์ในภพทัง้ หก ล ้วนมีธรรมชาติทแ ี่ ท ้


แห่งพุทธะ การกระทําทัง้ ปวงจึงเป็ นนิมต ิ หมายแห่งพุทธะทีส ่ ม ั ผัส
ถึงได ้ ทุกขณะทีด
่ ํารงอยูจ
่ งึ เป็ นวิหารแห่งพุทธะ ด ้วยสัมมาญาณ
ทัศนะจึงประจักษ์ แจ ้งในสิง่ ทัง้ ปวงตามทีม ั เป็ น หรือ สรรพสิง่ มัน
่ น
เป็ นของมันเช่นนัน
้ เอง (ตถตา)

• อาศัยปั ญญาญาณ ธัมวิจยะ อรรถธรรมทัง้ ปวงจากทวารทัง้ หก จึง


ตระหนักชัดว่ารูปลักษณ์ของบรรดาสรรพสิง่ ล ้วนเป็ นเพียงมายา
ทําให ้เกิดการลดละปล่อยวางเข ้าถึงสุญญตาทีอ
่ ยูเ่ หนือกาลเวลา

• ปุถช
ุ นในโลกดําเนินชีวต
ิ อยูใ่ นสังสารวัฏต่างพากันกําหนดหมาย
่ องสรรพสิง่ โดยมิได ้ตระหนักชัดต่อธรรมชาติท ี่
ในการดํารงอยูข
แท ้ของตนเอง ด ้วยการนํ าคําสอนของพระพุทธองค์ไปสูม ่ รรควิถ ี
ในการบําเพ็ญภาวนาร่วมกับการกระทํากิจกรรมในชีวต ิ ประจําวัน

36
ทําให ้ตระหนักชัดในความเป็ นเอกภาพของสรรพสิง่ และดํารงอยู่
ร่วมกับมันอย่างผาสุกยิง่

• ผู ้คนทัว่ ไปขาดประสบการณ์เกีย ่ วกับความศานติในภายใน จึงมี


แต่ความต ้องการทัง้ ชือ ่ เสียงและวัตถุ หาความสงบสันติไม่ได ้เลย
เมือ ่ ใดทีไ่ ด ้พบ “หนทาง” ทางสายใหม่ของการดําเนินชีวต ิ ก็จะ
เผยตัวมันเอง เข ้าใจความหมายทีแ ่ ท ้จริงของชีวต
ิ ชีวต
ิ ก็จะ
เปลีย ่ นแปลงไปอย่างถอนรากถอนโคน

สายใยแห่งชวี ต

• ่ ปราศจากความยึดถือในขันธ์ห ้า ดวงจิตจึงพัฒนาสู่
เมือ
สัมมาสมาธิ เข ้าถึงสัมมาอริยมรรค ตระหนักชัดว่าร่างกายเราคือ
วิหารแห่งพุทธะ ช่างน่าอัศจรรย์จริงทีไ่ ด ้หยัง่ รู ้ว่า ธรรมชาติทแ
ี่ ท ้
แห่งดวงจิตนัน
้ ประภัสสรและเปี่ ยมด ้วยศรัทธา ทําให ้ไปพ ้น
สังสารวัฏอันทุกข์ทรมาน

• การตระหนักชัดว่าสังสารวัฏและพระนิพฺพาน คือ สิง่ เดียวกัน ย่อม


ไปพ ้นความรู ้สึกว่ามีตวั เราและสรรพสิง่ ทําให ้ตระหนักชัดอีกว่า
บรมธรรมดํารงอยูแ ่ ล ้วในคนเราทุกคน ย่อมสิน ้ สุดอุปทานต่อ
ผัสสะทัง้ หกทวาร รูปลักษณ์ทงั ้ ปวงทีเ่ คยหลอกลวง ทําให ้เรา
หลงสําคัญผิดจึงกลับกลายมาเป็ นกัลยาณมิตรอันประเสริฐ จะมี
สักกีค ่ ระหนักรู ้สิง่ นี้ ช่างผาสุกยิง่ เมือ
่ นทีต ่ ถึงฝั่ งแห่งพระนิพฺพาน

• ช่างน่าอัศจรรย์ยงิ่ ทีไ่ ด ้หยัง่ รู ้ธรรมชาติทแ


ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสร และ
ความเป็ นมายาของสรรพสิง่ อย่างเป็ นเอกภาพเดียวกัน การ
แบ่งแยก การเปรียบเทียบ การลงความเห็นทีเ่ ป็ นทวิลักษณ์
กิเลส ตัณหาย่อมสิน ้ สุดลง บรรลุถงึ ปรมัตถสภาวะธรรมที่

37
ปราศจากการดํารงอยูแ
่ ละไม่ดํารงอยู่ นีค
่ อ
ื การดํารงอยูอ
่ ย่าง
พุทธะ

• ผู ้ทีไ่ ด ้หยัง่ รู ้ถึงสายใยแห่งชีวติ ในวิถม


ี ช
ั ฌิมาปฏิปทา ทีไ่ ปพ ้นการ
กําหนดหมายแบ่งแยกสิง่ ต่างๆ ตระหนักชัดว่ากายและจิตเป็ น
เอกภาพเดียวกัน จงระวังมิจฉาทิฏฐิ ทีเ่ กิดจากความรู ้ทีม ่ าจาก
ถ ้อยคําอันเป็ นเพียงสมมุตบ ิ ญ
ั ญัต ิ

• ก่อนทีจ ่ ะตระหนักชัดว่า สรรพสิง่ คือ สุญญตา – สรรพสิง่ เป็ น


เอกภาพเดียวกัน ด ้วยปั ญญาญาณอันสมบูรณ์ทเี่ ป็ นไปตามวิถ ี
ของธรรมชาติ แม ้ปรากฏการณ์แห่งรูปลักษณ์ทงั ้ ปวงจะเป็ นเพียง
มายา เช่นเดียวกับเงาสะท ้อนของพระจันทร์ในนํ้ าก็ตาม กรรม
และวิบากก็ไม่เคยหยุดยัง้ ทีจ ่ ะดําเนินต่อไปตามเหตุปัจจัยในวิถ ี
ของมัน จึงเป็ นสิง่ จําเป็ นทีจ่ ะต ้องมุง่ มัน
่ บําเพ็ยภาวนาอย่าง
ต่อเนือ ่ งและอดทนอย่างยิง่ ผลอันน่าชืน ่ ชมจึงจะเกิดขึน
้ ด ้วยการ
เริม่ ต ้นตระหนักชัดต่อธรรมชาติทแ ี่ ท ้จริงของตนเองก่อน อย่าเอา
ความเห็นของตนเองไปวิพากวิจารณ์ผู ้อืน ่ จงขจัดมิจฉาทิฏฐิท ่ี
ขัดแย ้งทัง้ ปวงให ้ได ้ แล ้วประทีปแห่งสัมมาญาณทัศนะอัน
ยิง่ ใหญ่ก็จะเกิดขึน ้ ในภายใน

มรรควิถแ
ี ห่งความเร้นล ับ

• สรรพสิง่ ย่อมมีธรรมชาติทแ ี่ ท ้ทีไ่ ปพ ้นทวิลักษณ์ของมันเอง โดย


สัญชาตญาณของปุถช ุ นย่อมหมกจมอยูก ่ บ
ั ความคิดทีป
่ รุงแต่ง ผู ้
ทีย
่ งั ไม่เห็นโทษภัยและสามารถขจัดมันได ้ ย่อมดําเนินชีวต ิ นอก
มรรควิถ ี

38
• ก่อนทีป่ ระทีปแห่งปั ญญาญาณจะบังเกิดขึน ้ ในภายใน ก่อนทีเ่ รา
จะตระหนักชัดต่อธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของตนเองและของปรากฏการณ์
ทัง้ ปวง ก่อนทีป่ ระสบการณ์แห่งผัสสะของทวารทัง้ หกจะกลับ
กลายมาเป็ นกัลยาณมิตร และก่อนทีค ่ วามคิดปรุงแต่งทีเ่ กิดจาก
อวิชชาจะสิน ้ สุดลง จงหลีกเลีย ่ งการกระทําทีเ่ กิดจากเจตนา และ
การกําหนดหมายแยกแยะคุณค่าเสีย ไม่เช่นนัน ้ เราจะสูญเสีย
มรรควิถไี ป

• ในการปฏิบต ั ภ ิ าวนาเพือ่ บรรลุถงึ สัจธรรมสูงสุด อันนํ าไปสูก ่ ารจบ


กิจแห่งพรหมจรรย์นัน ้ ไม่ควรแสวงหาพุทธะภายนอก เพราะ
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งพุทธะมีอยูแ
่ ล ้วในคนเราทุกคน เพียงเราหัน
เข ้ามาเรียนรู ้จิตใจของตนเอง ธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งพุทธะก็จะ
เปิ ดเผยตัวมันเองให ้เราได ้หยัง่ รู ้ จงสํารวมอินทรีย ์ ระวังต่อ
หลุมพรางกับดักแห่งภาษา และการคาดหวัง เราก็จะสัมผัสถึงสัจ
จธรรมสุงสุด

• ร่างกายของเราทุกคนคือกายแห่งพุทธะ อย่าด่วนสรุปว่ามันคือ
ความจริง หรือ ไม่จริง จงสังเกตุเรียนรู ้กระแสคลืน ่ ของขบวน
ความคิดทีส ู สลายไปในสุญญตา และไม่ควรสรุปว่า มันเป็ นสิง่ ที่
่ ญ
มีอยูจ
่ ริง หรือ ไม่มอ
ี ยูจ
่ ริง แล ้วเราจะบรรลุถงึ ความดับไม่เหลือ
แห่งสุญญตา

• สัมมาปฏิปทาและดินแดนอันบริสท ุ ธิแ
์ ห่งพุทธภูม ิ ก็เป็ นเพียงวิถ ี
แห่งการปรากฏตามธรรมชาติของสัมมาญาณทัศนะ ไม่ควรสรุปว่า
มันเป็ นสิง่ ทีไ่ ม่มต
ี วั ตนหรือมีตัวตน ไม่เช่นนัน ้ เราจะพลาดจากแก่น
สาระ อันเป็ น “หนทาง” สูส ่ จ
ั ธรรมสุดท ้าย (ULTIMATE TRUTH)
39
ไป นีค
่ อ
ื ความเร ้นลับของการปฏิบต
ั ภ
ิ าวนาเพือ
่ ความวิมต
ุ ห
ิ ลุดพ ้น
จากความยึดถือทัง้ ปวงในพุทธศาสนา

ก ับด ักแห่งถ้อยคํา

• อุปาทานยึดติดผูกพันย่อมสิน ้ สุดลงเมือ
่ ได ้ตระหนักชัดว่า สรรพ
สิง่ คือสุญญตา ซึง่ ไม่อาจกําหนดหมาย แบ่งแยกคุณค่า เป็ นสิง่
นัน้ – สิง่ นี้ ดี – เลวได ้ สัมมาญาณทัศนะซึง่ อยูเ่ หนือกาลเวลา
และเหนืออิทธิพลของสุขและทุกขเวทนา ย่อมแผ่ขยาย
ครอบคลุมทุกสิง่ อย่างไม่มข ี อบเขตอันจํากัด

• คําสอน – ความรู ้ ทีเ่ ป็ นเพียงจินตนาการแบบตรรกะ ย่อมสิน ้ สุด


ลงเมือ
่ ได ้ตระหนักชัดต่อความเจริญงอกงามของเมล็ดพันธุแ ์ ห่ง
โพธิญาณในภายใน ศีลพรตก็ไม่ถก ู ลูบคลํา ความยึดติดต่อกับดัก
ของถ ้อยคําความหมายก็สน ิ้ สุดลง ทําให ้หยัง่ รู ้ถึงเสียงกระซิบใน
ภายใน ย่อมไปพ ้นการดําเนินชีวต ิ ทีม
่ อ
ี ต
ั ตาตัวตน เป็ นศูนย์
แบ่งแยกจากสิง่ ต่างๆ

• ความยึดติดต่อคัมภีรย ์ อ ้ สุดลง เมือ


่ มสิน ่ ได ้ตระหนักชัดว่าตัวเราคือ
คัมภีรอ์ น
ั ศักดิส ิ ธิ์ จึงไม่ต ้องพึง่ ตําราใดๆอีกต่อไป และสามารถ
์ ท
เข ้าใจได ้ว่า ความยุง่ ยากทัง้ มวลของชีวต ิ นัน
้ ล ้วนเกิดมาจากการ
ปรุงแต่งของอวิชชาทัง้ สิน ้

• ในความจริงแท ้อันสูงสุดนัน ้ ย่อมไม่อาจล่าวได ้ว่าสรรพสิง่ มีอยู่


หรือ ไม่มอี ยู่ แต่มน
ั เป็ นของมันเช่นนัน
้ เอง นีค ่ อ
ื การตะหนักชัด
ด ้วยสัมมาญาณทัศนะ ย่อมเข ้าถึงสภาพทีย ่ งิ่ กว่าสุขแห่งอสังขตะ

40
ธรรม อันเป็ นอมตะและเป็ นประสบการณ์อน
ั มหัศจรรย์ยงิ่ ในการ
ขจัดอวิชชาสังขาร

• ด ้วยการตระหนักชัดว่า สรรพสิง่ คือภาพลวงตา จึงไม่ปรารถนาจะ


ครอบครองทรัพย์สมบัตใิ ดๆ บริวารนัน ้ เป็ นดังภาพหลอนจึงจาริก
ธุดงค์ไปอย่างอิสระเสรี ตัณหา ราคะ สุขและทุกข์นัน ื สิง่
้ ก็คอ
เดียวกัน จึงขจัดเหตุแห่งความรักและความชัง ด ้วยผัสสะที่
ประกอบด ้วยปั ญญาญาณ ผู ้ดําเนินชีวต ิ ด ้วยสัมมาอริยมรรคย่อม
อิม
่ อุดมอยูเ่ สมอ

• ธรรมชาติอน ั แท ้จริงของสิง่ ทัง้ ปวง ย่อมอยูเ่ หนือถ ้อยคําทีจ่ ะ


อธิบายได ้ การยึดติดอยูก ่ บ
ั คัมภีร-์ ความรู ้ ทําให ้เกิดเงือ
่ นไข ย่อม
ก่อให ้เกิดความยุง่ ยากตามมาเสมอๆ

จิตวิญญาณสากล

• ด ้วยการปลดปล่อยตนเองจากความเป็ นผู ้รู ้ในประทีปอันยิง่ ใหญ่


แห่งจิตประภัสสรของตนเอง จึงมองไม่เห็นมลทินใดๆ อันเกิด
จากความคิด เพราะได ้ขจัดการกําหนดหมายและเหตุผลทัง้ ปวง
้ จึงดํารงชีวต
เสียสิน ิ อยูร่ ว่ มกับพระพุทธองค์

• เพราะเห็นโทษภัยของความคิดทีห ่ ลั่งไหลทีเ่ กิดจากการปรุงแต่ง


ของอวิชชา จึงหวาดกลัวต่อสังสารวัฏอันทุกข์ทรมาน จึงตัง้
ปณิธานว่า จะไม่แสวงหาโภคทรัพย์ใดๆ ภายนอกมาครอบครอง
จึงสัมผัสกับรสของพระธรรมอันเป็ นเลิศกว่ารสทัง้ ปวง เมือ
่ ได ้
41
ปฏิบตั ภ
ิ าวนาบนสัมมาอริยมรรคอย่างชํานาญแล ้วใน
ชีวต
ิ ประจําวัน จึงได ้พบกับความสุขทีแ
่ ท ้จริง

• การแสวงหา “หนทาง” สูพ ่ ระโพธิญาณ จะต ้องไม่มงุ่ หวัง


ประโยชน์ใดๆ เพือ่ เป็ นการบูชาต่อพระพุทธองค์ การลงมือปฏิบต
ั ิ
ในทันทีทันใด ถือเป็ นการบูชาอันสูงสุดกว่าการบูชาใดๆ

• ในการปฏิบต ั เิ พือ
่ การอุทศิ ด ้วยกายนัน ้ คือการสํารวมระวังไม่
กําหนดหมาย แบ่งแยกคุณค่าของสรรพสิง่ ให ้แตกต่างกันออกไป
การปฏิบต ั ด
ิ ้วยการอุทศ ิ ตนด ้วยวจีกรรมนัน ้ คือ การหยุดพูดมาก
ลงให ้น ้อยทีส ่ ดุ และการอุทศ ิ ตนด ้วยมโนกรรมนัน ้ คือการเห็นแจ ้ง
ตระหนักชัดต่อธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งความปราศจากการดํารงอยู่
และไม่ดํารงอยู่

• สุญญตาแห่งความเป็ นอิสระเสรี เมือ ่ ทํางานร่วมกับความคิดจึง


เป็ นความคิดทีส ่ ร ้างสรรด ้วยตัวของมันเอง จึงเป็ นประโยชน์ตอ่
สรรพสัตว์อย่างมากมาย ประเด็นสําคัญก็คอ ื จิตวิญญาณสากล
แห่งการลดละปล่อยวาง อันเป็ น “หนทาง” การดําเนินชีวต ิ ของ
โพธิสต ั ว์ ผลคือ นํ้ าอมฤติแห่งโพธิญาณทีจ ่ ะปล่อยวางโลกธรรม
ทัง้ แปดประการ ละเลิกเส ้นทางดําเนินชีวตแห่งโลกียวิสย ั สละคืน
โลกียสุขทัง้ มวล ปลดปล่อยจิตวิญญาณให ้ป็ นอิสระจากอุปาทาน
ทัง้ ปวง นีค ่ อ
ื การบําเพ็ญภาวนาร่วมกับกิจกรรมต่างๆใน
ชีวต ิ ประจําวัน บนสัมมาอริยมรรคแห่งพุทธศาสนธรรม ทีม ่ ี
สัมมาทิฏฐิเป็ นรากฐานของจิตใจ


ความมืดบอดแห่งสงสารว ัฏ

42
• ่ งั ไม่ประจักษ์ แจ ้งความจริงของสรรพสิง่ ย่อมเวียนว่ายอยูใ่ น
ผู ้ทีย
ความมืดแห่งสังสารวัฏ ดุจคนตาบอด จึงไม่สามารถปล่อยความ
ยึดติดทัง้ ปวงได ้ เพราะปราศจากโพธิญาณในภายใน จึงยึดติดอยู่
กับโลกธรรมทัง้ แปดประการ อันเป็ นเหยือ ่ ล่อแห่งสังสารวัฏอัน
ทุกข์ทรมาน ตลอดกาลนาน

• ปุถชุ นถูกจองจําอยูใ่ นคุกตะรางแห่งโลกมายา ดุจสายรุ ้งที่


สวยงาม เพราะอวิชชาสังขารแห่งคติทวิลักษณ์ และถ ้อยคําแห่ง
คติทวินย ิ ม จึงไม่อาจอยูเ่ หนือโลกได ้ การยึดติดอยูก ่ บั คําสอนที่
ปราศจากการถ่ายทอดสัจธรรม คือ ความล ้มเหลวของการพัฒนา
จิตวิญญาณ การเข ้าใจว่าสิง่ ทัง้ ปวงมีอยูจ
่ ริง หรือ ไม่มอ ี ยูจ
่ ริง
เป็ นเพียงมิจฉาทิฏฐิ จึงไปพ ้นโลกแห่งทวินย ิ ม อันเป็ นโลกมายา
ไม่ได ้

• การมองโลกในแง่ลบย่อมดึงดูดสิง่ ทีไ่ ม่ดม ่ น การมองโลกใน


ี าสูต
แง่บวกย่อมนํ ามาซึง่ ความสุขและและความสมหวังแห่งโลกีย
ธรรม แต่ถ ้าเรามองโลกตามทีม ่ น
ั เป็ นจริง ปั ญหาทัง้ ปวงย่อม
้ สุดลง เข ้าถึงความสุขนิรันดรอันเป็ นความสุขอมตะทีอ
สิน ่ ยูเ่ หนือ
โลกียสุข มหัศจรรย์จริงหนอทีเ่ ข ้าถึงประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ
แห่งความทีย ่ งิ่ กว่าสุข

• ตราบใดทีย่ งั ไม่ตระหนักชัดว่า สรรพสิง่ เป็ นเอกภาพเดียวกัน แม ้


เราจะบําเพ็ญเพียรมายาวนานเท่าใด มันก็ยงั คงเป็ นเพียงทัศนะ
แห่งตัวตนอยูน ่ ั่นเอง หรือตราบใดทีย่ งั ไม่ตระหนักชัดว่า สรรพสิง่
คือ สุญญตา การบําเพ็ภาวนานัน ้ ก็ไร ้ความหมาย มันยังคงเป็ น
เพียงความหลอกลวงของความคิด การบําเพ็ญภาวนาบนสัมมา
อริยมรรคนัน้ สามารถบําเพ็ญเพียรได ้ทุกกาลสถาน

43
• นักปฏิบต ั ถ
ิ ้ายังไม่ตระหนักชัดต่อธรรมชาติอน ั ประภัสสรของจิต
ตนเอง การเข ้าถึงเอกสภาวะของสรรพสิง่ และการหยัง่ รู ้ว่าสรรพ
สิง่ คือสุญญตาย่อมล ้มเหลว ย่อมไม่อาจหลุดพ ้นจากคุกตะราง
แห่งสังสารวัฏได ้ การดํารงจิตอยูเ่ หนือโลกจึงไม่ใช่เป็ นเพียง
ั มาญาณทัศนะเป็ น
ปรัชญา แต่เป็ นศาสนาทีเ่ ข ้าถึงได ้ ถ ้ามีสม
พืน ้ ฐานของจิตใจ เราจะตระหนักชัดว่า เราคือสรรพสิง่ ทีเ่ ป็ น
เอกภาพด ้วยสายใยแห่งชีวต ิ เดียวกัน

สายธารแห่งมายา

• สังสารวัฏอันทุกข์ทรมานดุจถูกจองจําอยูใ่ นคุกตะราง เกิดจาก


การรับรู ้อย่างแบ่งแยก มีสงิ่ ทีถ ่ กู รู ้และผู ้รู ้อันเกิดจากการปรุงแต่ง
ของอวิชชา นํ าไปสูก ่ ารเปรียบเทียบ ให ้ค่า ตัดสิน ลงความเห็นที่
เป็ นทวิลก ั ษณ์ ทําให ้เกิด ชอบ-ไม่ชอบ รัก-ชัง เกิดความต ้องการ
เกิดการกระทําทีม ่ ต
ี วั ตนเป็ นผู ้ทํา แล ้วเกิดผล สุข-ทุกข์ กิเลส
กรรม วิบาก นีค ่ อ
ื สังสารวัฏของความรู ้สึกว่ามีตวั เรา ชีวต ิ จึง
เป็ นไปตามกรรม เราจะออกจากสังสารวัฏได ้ จุดเริม ่ ต ้นเราจะต ้อง
ขจัดความคิดเห็นทีท ่ ําให ้เกิดการรับรู ้อย่างแบ่งแยกก่อน ด ้วยการ
หันเข ้ามาสังเกตุเรียนรู ้จิตใจตนเอง เราก็จะพบจิตประภัสสร อัน
เป็ น “หนทาง” ของการพัฒนาปั ญญาญาณ

• ถ ้าปั ญญาญาณแห่งการปล่อยวางยังไม่ได ้หยัง่ ลึกสูก ่ ้นบึง้ แห่ง


จิตใจ การแผ่ขยายธรรมชาติรู ้อย่างไม่มข ี อบเขต ครอบคลุมทุก
สิง่ ก็ยงั ไม่เกิดขึน
้ การแสดงออกก็ยงั คงแฝงเร ้นไว ้ด ้วยอัตตา
ตัวตนเสมอ ถ ้ามิได ้หยัง่ รู ้ถึงสัจธรรมทีอ
่ ยูเ่ หนือการเกิดและการ
ตาย การบําเพ็ญภาวนาทัง้ หมดก็จะนํ าไปสูห ่ ลุมพราง-กับดักแห่ง
ภพทัง้ สาม

• อริยทรัพย์แห่งสัทธรรมอันลํ้าค่าทีส ่ ามารถขจัดความต ้องการอัน


เร่าร ้อนได ้ ผู ้ทีป
่ รารถนาจะข ้ามสายธารแห่งมายาอันไร ้แก่นสาระ
44
จําเป็ นต ้องหา “หนทาง” ไปให ้พ ้นการรับรู ้อย่างแบ่งแยก (มีผู ้รู ้ –
สิง่ ทีถ
่ ก
ู รู ้) อย่างเด็ดขาดให ้ได ้ การถือตัวถือตน และการแสวงหา
ความปลอดภัยอันเป็ นสัญชาตญาณของสิง่ มีชวี ต ิ จะฉุดรัง้ ลงสู่
ภพภูมอ ิ น
ั ตํา่ ทราม

• ผู ้ทีป ่ รรคาแห่งโพธิญาณ จําเป็ นจะต ้องเรียนรู ้


่ รารถนาจะเข ้าสูม
ตนเองด ้วยจิตใจทีเ่ ป็ นอิสะ เพือ่ ยกระดับจิตวิญญาณของตนขึน ้ สู่
มิตข ิ องจิตเหนือสํานึกทีไ่ ปพ ้นการแบ่งแยก – พ ้นกาลเวลาให ้ได ้
เส ้นทางการดําเนินชีวต ิ สายใหม่ก็จะปรากฏขึน ้

• ลาภ สักการะ ชือ่ เสียง ผู ้คงแก่เรียน สานุศษ


ิ ล ้วนเป็ นอุปสรรคต่อ
ความเจริญก ้าวหน ้าทางจิตวิญญาณ นักปฏิบต ั ท
ิ แ
ี่ ท ้จริงต ้อง
หลีกเลีย
่ งมัน แล ้วความสําเร็จก็จะตามมา

สาระแห่งชวี ต

• นักปฏิบต ั จ
ิ ะต ้องตระหนักชัดว่า เรือนกายอันเป็ นมายาดุจสายรุ ้ง
แห่งพุทธะนัน ้ คือ สุญญตาทีย ่ งั มีวถ ิ แ
ี ห่งการปรากฏออกมาตาม
เหตุปัจจัย มันสําคัญยิง่ ทีจ่ ะต ้องรู ้ว่ามรรคาแห่งสัมภเวสี มิได ้ดํารง
อยูจ
่ ริง มายาภาพเหล่านัน ้ เป็ นเพียงอวิชชา สังขารตามเหตุปัจจัย
แห่งดวงจิตเท่านัน ้ เอง ประสบการณ์ตรงต่อความจริงของตนเองก็
จะเผยตัวเองออกมา แล ้วบําเพ็ญภาวนาไปบนวิถข ี องความจริง
อย่างต่อเนือ ่ ง เพือ่ ความสว่างไสวแห่งสัมมาญาณทัศนะ

45
• คําสอนทัง้ ปวงในพุทธศาสนา ล ้วนมุง่ สูส ่ จ
ั ธรรมทีป
่ ราศจากอัตตา
้ เพือ
ตัวตนทัง้ สิน ่ ความอิสระเสรีจากอิทธิพลทีค ่ รอบงําจิตใจของ
อวิชชา และควรปฏิบต ั ใิ ห ้ต่อเนือ
่ งในทุกอิรยิ าบถ – ทุกขณะ ของ
การดําเนินชีวต ิ ในชีวติ ประจําวัน ปั ญญาญาณแห่งความผาสุก จะ
ปรากฏเป็ นพืน ้ ฐานจิตใจของเรา

• แม ้คําสอนของพระพุทธองค์จะแนะนํ าให ้เราออกจากสังสารวัฏอัน


ทุกข์ทรมานก็ตาม แต่จะมีสก ั กีค่ นทีจ่ ะเกิดแรงบันดาลใจทีจ ่ ะไป
พ ้นมันทัง้ ๆทีร่ ู ้ว่า กําลังเดินทางไปสูค ่ วามตายในทีส ่ ด
ุ แม ้คําสอน
อันลึกซึง้ จะถูกเปิ ดเผย แม ้ปิ ตส ิ ขุ ในการสละออกจะนํ ามาเล่าขาน
กัน แม ้จะได ้โอกาสอันงดงามทีไ่ ด ้ชีวต ิ มา แต่ก็มค
ี นจํานวนน ้อย
นิดทีเ่ ข ้าถึงความสัมฤทธิผ ์ ล

• แม ้จะมีคําสอนเรือ ่ งความวิมต ุ ห
ิ ลุดพ ้นมากมาย แต่ก็มค ี นเพียง
น ้อยนิดทีส่ ามารถตระหนักชัดถึงธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสร
ของตนเอง น ้อยคนนักทีด ่ ํารงมัน่ อยูบ
่ นวิถข
ี องสัมมาปฏิบต ั ไิ ด ้
น ้อยคนนักทีม ่ งุ่ มัน
่ จริงจัง จริงใจต่อการปฏิบต ั ภ
ิ าวนาบนสัมมา
อริยมรรค จงก ้าวเดินตามรอยบาทพระศาสดา ถ ้ามุง่ หวังทีจ ่ ะ
แสวงหาแก่นสาระของชีวต ิ อย่างแท ้จริง

• ศรัทธาอันมัน ่ คงและความขยันหมัน ่ เพียร นํ ามาซึง่ ความวิมต


ุ ห
ิ ลุด
พ ้นทีเ่ ป็ นเองตามวิถข ี องธรรมชาติ ภาระและความยุง่ ยากในธุระ
กิจการงานเหมือนพืน ้ นํ้ าลวงในทะเลทราย เมือ ่ ตระหนักชัดถึง
คุณค่าของอสังขตธรรมทีอ ่ ยูเ่ หนือความสุดโต่งทัง้ สอง จึงไม่ม ี
เวลาทีจ ่ ะกระทําเรือ
่ งทีไ่ ร ้สาระของชีวต ิ

46
องค์รวมแห่งเอกภาพ

• ในธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งสุญญตาของสรรพสิง่ ทีอ ่ ยูเ่ หนือถ ้อยคําและ


ภาษา อันเป็ นมิตแ ิ ห่งการไม่กําหนดหมาย แบ่งแยกคุณค่าใดๆ
ตามคติทวินย ิ ม และขจัดความยึดถือในอัตตาตัวตนลง จึงจําเป็ น
ทีเ่ ราจะต ้องเร่งปลุกเร ้าให ้ธรรมชาติทแี่ ท ้แสดงออกร่วมกับ
กิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวันของเรา องค์รวมแห่งเอกภาพจึง
เป็ นมรรควิถแ ี ห่งการดําเนินชีวต ิ ของเรา

• วิปัสนาคือ การประจักษ์ แจ ้งความเปลีย ่ นแปลงของปรากฏการณ์


่ ก
ทัง้ ปวงจากขณะหนึง่ ไปสูอ ี ขณะหนึง่ แทงตลอดไปถึงความไม่
เปลีย ่ นแปลงของธรรมชาติทแ ี่ ท ้ หรือสุญญตา ทัง้ สองเป็ น
เอกภาพเดียวกัน ทีต่ ระหนักชัดได ้ด ้วยปั ญญาญาณ

• ในมิตแ ิ ห่งความไร ้ตัวตนอันเป็ นนิรันดรแห่งสภาพ ปรมัง สุญญัง


ปรมัง สุขขัง ผ่านโพธิญาณ บนพฤติกรรมอันประภัสสรของจิต
เดิมแท ้ และจารึกประสบการณ์แห่งความสดับไม่เหลือของตัณหา
อุปาทานไว ้ในจิตใจ ด ้วยความเมตตากรุณาของพระพุทธองค์ท ี่
ได ้ถ่ายทอด หลักการ – วิธก ี ารของการพัฒนาไว ้ให ้ เราจึง
จําเป็ นต ้องเฝ้ าพากเพียรปฏิบต ั ต
ิ ามอย่างจริงจังและจริงใจ ทุกๆ
ขณะของการดํารงอยูย ่ อ
่ มนํ าความร่าเริง เบิกบาน สดชืน่ มาให ้
เสมอ

• ด ้วยการตระหนักชัดถึงความทุกข์ทรมานในภพภูมท ิ ัง้ หกแห่ง


โลกียธ์ รรม จึงเฝ้ าบําเพ็ญภาวนาบนสัมมาอริยมรรค เพือ ่ ยกจิตใจ
่ ม
สูภ ู ธิ รรมเบือ
้ งสูง และมัน ่ คงอยูก
่ บั ความอ่อนน ้อมถ่อมตน ไม่
คลุกคลีอยูก ่ บั ผู ้คน เผชิญหน ้าอยูก
่ บั ความคิดปรุงแต่งของอวิชชา
จึงขจัดมันได ้ และเข ้าถึงพุทธภาวะ ด ้วยการปฏิบต ั ติ ามคําสอน
47
ของพระพุทธองค์ ปั ญญาญาณจึงเจริญมัน ่ คงในภายใน ตระหนัก
่ ผ่ไพศาล ครอบคลุมทุกสิง่ อย่างไม่มข
ชัดถึงสัทธรรมทีแ ี อบเขต
จํากัด

• จงอย่าปล่อยให ้วันเวลาของชีวต ิ ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์


แต่จงเปี่ ยมไปด ้วยศรัทธา วิรย
ิ ะ ขันติ ต่อการบําเพ็ญภาวนาเพือ ่
เข ้าถึงความเป็ นอิสระเสรีจากทุกข์ทงั ้ ปวง ดํารงชีวต
ิ อยูอ
่ ย่างมี
ชีวติ ชีวา เถิด


สงสารว ั
ัฏแห่งสมภเวส ี

• ลาภ สักการะ ชือ ่ เสียง เป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาจิตใจ ไม่


เป็ นไปเพือ่ ความวิมต
ุ ห
ิ ลุดพ ้น ไม่เป็ นประโยชน์ตนและผู ้อืน ่ ทํา
ให ้ทิฏฐิ ตัณหา มานะ อันเป็ นธรรมทีท ่ ช ้าเข ้มแข็งขึน
่ ําให ้เนิน ้
ย่อมตกล่วงลงสู่ ภพภูมท ิ ต
ี่ ํ่าได ้

• ผู ้ทีต
่ ระหนักชัดในธรรมชาติแห่งมายาและความปราศจากตัวตน
ของสิง่ ทัง้ ปวงแล ้ว ไม่สมควรทีจ ่ ะเปิ ดเผยประสบการณ์แห่งการ
ประจักษ์ แจ ้งความจริง อันเป็ นผลมาจากการปฏิบต ั ภิ าวนาแก่ผู ้ใด
แม ้แต่ผู ้ทีเ่ ข ้าใจอย่างลึกซึง้ ทางพุทธศาสนาแล ้วก็ตาม เพราะจะ
ทําให ้พลังแห่งสัมมาสมาธิ – สัมมาญาณทัศนะ เสือ ่ มคลายลง

• ในช่วงเวลาทีจ ่ ต
ิ ใจเศร ้าหมองของความมืดมัวแห่งอวิชชา
ครอบงําทําให ้บดบังสัทธรรม จงอย่าท ้อถอยในการปรารภความ
เพียรเพือ ่ ปลุกเร ้าให ้สัมมาญาณทัศนะเจริญขึน
้ ปลุกเร ้าให ้จิตใจ
ตืน
่ อยูเ่ สมอ แล ้วเราจะเป็ นอิสระจากสังสารวัฏและความเศร ้า

48
หมองทัง้ ปวง เมือ
่ ปรารถนาพระนิพฺพาน จงละวางโลกธรรมทัง้
มวล

• พระสัทธรรมอันปราศจากมลทิน ทีเ่ ป็ นความสงบเงียบในภายในที่


ถ่ายทอดกันต่อๆมา ซึง่ สามารถขจัด ตัณหา ราคะ อรติได ้อย่าง
้ เชิง จะเป็ นแรงบันดาลใจให ้เรามุง่ มัน
สิน ิ าวนา สูเ่ ป้ าหมาย
่ ปฏัตภ
แห่งชีวต ิ พุทธะ

• เป็ นเรือ
่ งยากทีจ่ ะพบกับความสุขทีแ ่ ท ้จริงในสังสารวัฏ มีแต่จะ
เพิม่ ความทุกข์ทรมานมากขึน ้ ถ ้าเราพยายามทีจ ่ ะหนีมน
ั ความ
เป็ นอิสระจากความทุกข์ทรมานทัง้ ปวงนัน ้ เราจะต ้องเรียนรู ้มัน
เข ้าใจมันอย่างถ่องแท ้จากประสบการณ์ตรง แล ้วความทุกข์โศกก็
จะสูญสลายไป ความสุขทีแ ่ ท ้จริงก็จะเผยตัวออกมาให ้เราได ้
สัมผัส นีค ่ อ
ื ความลับของปฏิบต ั ภ
ิ าวนา

• ธรรมชาติแห่งสัมภเวสีอน ั เกิดจากอิทธิพลของ ราคะ – โทสะ นัน้


ทําให ้ก่อบาปกรรมเพิม
่ ขึน
้ ถ ้าไม่สามารถตระหนักชัดต่อสัจจะ
แห่งการไม่เกิด-ไม่ตาย ย่อมไม่สามารถหลุดรอด จากความทุกข์
ทรมานในสังสารวัฏแห่งสัมภเวสีได ้


พระสทธรรมอ ันสมบูรณ์

• มันเป็ นเรือ ้ กําลังวังชา


่ งเศร ้าทีไ่ ด ้เห็นร่างกายของผู ้คน แก่ชรา สิน
อย่างหลีกเลีย ่ งไม่ได ้ ไม่มใี ครช่วยเหลือได ้เลย นอกจากต ้อง
ยอมรับมันตามความเป็ นจริง หากเราเข ้าใจการปฏิบต ั ภิ าวนาที่
49
ถูกต ้องด ้วยสัมมาปฏิปทา กิจกรรมทุกอย่างในชีวต ิ ประจําวัน
สามารถนํ าเราเข ้าสูส่ จ
ั ธรรมของชีวติ ได ้ทัง้ นัน
้ ความแก่ชราก็เป็ น
สัจธรรมของชีวต ิ เรา จะเข ้าถึงมันได ้หรือไม่เท่านัน้ ถ ้าไม่สามารถ
ตระหนักชัดต่อสัจจะอันอมตะทีไ่ ร ้ความชรา ย่อมต ้องทุกข์ทรมาน
อยูก
่ บ
ั ความแก่ชรา

• ผู ้ทีก
่ ําลังเดินทางไปสูค่ วามชราและความตาย หากละเลยต่อพระ
สัทธรรม จะถูกบดบังด ้วยวิบากกรรม มันจําเป็ นอย่างยิง่ ทีจ ่ ะต ้อง
รีบบําเพ็ญเพียรเพือ ่ เข ้าถึงสัจธรรม โลกียธรรมทัง้ ปวงย่อม
ช่วยเหลืออะไรไม่ได ้ เมือ ่ วาระสุดท ้ายมาถึงพระสัทธรรมเท่านัน ้ ที่
จะช่วยเราได ้ เราจะต ้องเดินทางอย่างโดดเดีย ่ วแต่ผู ้เดียว

• เราจะต ้องคอยเฝ้ าเรียนรู ้ขจัดความคิดทีห


่ ลั่งไหลอันเป็ นมายา
การบําเพ็ญภาวนาทีไ่ ม่อยูบ ่ นแนวทางแห่งสัมมาอริยมรรค ไม่ผด ิ
อะไรกับการเล่นกล การบําเพ็ญเพียรทีป ่ ราศจากโพธิจต ิ เป็ นการ
หลอกลวงตนเอง ทําให ้เกิดตัณหาเจริญงอกงามขึน ้ ในจิตใจ

• การดําเนินชีวต
ิ ของนักปฏิบตั ธิ รรม ถ ้ายังเต็มไปด ้วยความ
ปรารถนาต่อโลกียธรรม ก็เป็ นดั่งหุ ้มห่อสิง่ ปฏิกล
ู ไว ้ด ้วยสิง่ ที่
สวยงามภายนอก แต่เน่าเปื่ อยอยูภ ่ ายใน จงสํารวมกาย วาจา ใจ
จากสิง่ รบกวนทัง้ ปวงโดย ปราศจากความคิดทีห ่ ลั่งไหล

• จงดํารงอยูด ั ปชัญญะ ไม่แสวงหาทัง้ สุขและทุกข์ สงบ


่ ้วยสติสม
อยูใ่ นเอกภาพแห่งความไม่แตกต่างของสรรพสิง่ คอยเฝ้ าดูมน ั
โดยไม่วพ ิ ากวิจารณ์ และปลุกเร ้าความเมตตากรุณาให ้งอกงาม
ขึน
้ ในจิตใจเสมอๆ บําเพ็ญเพียรด ้วยสัมมาทิฐต ิ อ
่ สุญญตาธรรม

50
อย่างไม่พก ั ไม่เพียร สัทธรรมอันสมบูรณ์จะเผยตัวมันเองใหเรา
ได ้สัมผัส

จิตศาสนา

• ในวิหารแห่งสุญญตาทีพ ่ ระพุทธองค์ดํารงจิตอยู่ เป็ นขุมทรัพย์อน ั


มหัศจรรย์แห่งโลกุตร ซึง่ ป็ นแหล่งกําเนิด แรงบันดาลใจของ
อริยบุคคล แม ้ว่าเราจะได ้ประจักษ์ แจ ้งสิง่ นีแ
้ ล ้วก็ตาม เรายัง
จะต ้องสํารวมระวังในอธิศล ี อธิจต
ิ อธิปัญญา อยูต ่ ลอดวลา เพือ

ไม่ให ้ตกล่วงลงสูก่ ระแสของโลกธรรมอีก นีค ่ อ
ื การพัฒนาจิต
ศาสนาให ้แสดงออกตลอดเวลา

• การตระหนักชัดต่อกระแสธรรมชาติแห่งปั จจยาการของสิง่ ทัง้ ปวง


ทําให ้หยัง่ รู ้ตถตภาพแห่งความเป็ นเช่นนัน้ เองของสรรพสิง่ เป็ น
ผลให ้ความปรารถนาอันเร่าร ้อนสิน ้ สุดลง จึงไม่ยด ่ ผูกพันในสิง่
ึ มัน
ใดและเข ้าถึงความผาสุกทีแ ่ ท ้จริง

• ในความเป็ นจริงแห่งสังสารวัฏ ย่อมว่างจากตัวเรา – ของเรา และ


ไปพ ้นกาลเวลาทีร่ ู ้ได ้ด ้วยประสาทสัมผัสนัน ้ เป็ นเพียงมายา มัน
เป็ นเรือ
่ งยากทีจ ่ ะให ้คําจํากัดความเพือ ่ ให ้เข ้าใจถึงธรรมชาติทแ ี่ ท ้
นี้ มันต ้องประจักษ์ แจ ้งด ้วยตนเองจากประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ
สรรพสิง่ โดยตัวของมันเอง คือ สุญญตา เหมือนกับคลืน ่ ใน
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้จริงของมันคือนํ้ า เพราะเราขาดปั ญญาญาณจึง
ตระหนักรู ้สิง่ นีไ้ ม่ได ้ ทําให ้เกิดความสําคัญผิดไปยึดถือสิง่ ทีไ่ ม่ใช่
ความจริงมาบริหารจัดการชีวต ิ เรา ปั ญหาจึงเกิดขึน ้ มากมาย

51
• ผู ้ทีล
่ ะเลยต่อโอกาสในการปฏิบต ั ธิ รรมย่อมสูญเสียจิตวิญญาณที่
บริสท ุ ธิ์ ไม่เหมือนกับสูญเสียสิง่ ทีม ่ ค
ี า่ ทีส
่ ด
ุ ของชีวต
ิ ไป ดังนัน
้ เรา
จึงต ้องปลูกฝั งศรัทธาต่อการบําเพ็ญภาวนาลงในจิตใจ เพือ ่
ยกระดับจิตวิญญาณสูก ่ ระแสสายธารแห่งธรรม แสงสว่างอัน
ไพสาลแห่งสุญญตาจักเจิดจ ้าในดวงใจ ตลอดกาลนิรันดร

• มันน่าเศร ้าใจเพียงใดทีผ ่ ู ้คนพากันก่อกําแพงกักขังตนเอง ด ้วย


การกระทํามให ้ความทุกข์ทรมานมาสูต ่ นเองตลอดเวลา บนวิถ ี
มิจฉามรรค อันเร่าร ้อนทีป ่ ราศจากสันติสข ุ ในภายใน แม ้จะหา
โอกาสปฏิบต ั ธิ รรมเพือ
่ เข ้าถึงความสงบบ ้างก็เป็ นของเทียมของ
ปลอมทีเ่ รียกว่า มิจฉาสมาธิ ทีไ่ ม่ได ้เป็ นฐานให ้เกิดปั ญญาญาณ
หยัง่ รู ้ตามจริง

หลุมพรางแห่งภาพมายา

• ผู ้ทีต่ ระหนักชัดต่อโลกธรรมอันเกิดจากตัณหาราคะ นํ ามาซึง่


ความทุกข์ทรมานอันเร่าร ้อนทนได ้ยากมาให ้ ย่อมแสวงหา
“หนทาง” ทีจ ่ ะไปพ ้นจากมัน ผู ้ทีไ่ ม่ใส่ใจในการพัฒนาจิตใจของ
ตนเองย่อมหมกจมอยูก ั การกระทําทีเ่ ห็นแก่ตัว หวั่นวิตกกับสิง่ ที่
่ บ
ยังมาไม่ถงึ สูญเสียจิตวิญญาณอันประภัสสรไปสูก ่ ารจองจํากักขัง
จงกลับคืนสูส ่ ถานทีอ ่ น
ั สงบสงัด บําเพ็ญเพียรพอกพูนวิญญาณ
อันบริสท ุ ธิแ
์ ห่งการปล่อยวางให ้งอกงามไพบูลย์ หมัน ่ สํารวมระวัง
ปฏิบต ั ต
ิ ามสัมมาอริยมรรค เพ่งเพียรอยูก ่ บ
ั การเผากิเลสตัณหา
อุทศ ิ ชีวต ิ ให ้กับการปฏิบต ั ธิ รรม เถิด

52
• ด ้วยความมืดบอดแห่งอวิชชา สรรพชีวต ิ พากันเวียนว่ายอยูใ่ น
สังสารวัฏ พากันติดกับดักอยูใ่ นหลุมพรางของภาพมายาและ
ความคิดทีห ่ ลั่งไหล จนทําให ้หมดโอกาสทีจ ่ ะพัฒนา
สติสมั ปชัญญะ หากเราขาดศรัทธาและแรงบันดาลใจทีจ ่ ะ
แสวงหา ”หนทาง” สูส ่ จ
ั ธรรม เราจะไปพ ้นการเวียนเกิด เวียนตาย
ในสังสารวัฏไม่ได ้เลย

• สัจจะโดยตัวของมันเองก็คอ ื ชีวต
ิ หากเราเข ้าใจชีวต ิ อย่างแท ้จริง
เราก็จะเข ้าถึงสัจจะ ดังนัน ้ จึงจําเป็ นอย่างยิง่ ทีเ่ ราจะต ้องเรียนรู ้
ตนเองด ้วยจิตใจทีเ่ ป็ นอิสระ เรียนรู ้จากประสบการณ์ตรงต่อความ
จริงของตัวเราในแต่ละขณะ ร่วมกับกิจการงานในชีวต ิ ประจําวัน
ของเรา ความเข ้าใจทีแ ่ ท ้จริงต่อสัจจะก็จะเกิดขึน ้ ปล่อยวาง
ความสําคัญผิดทัง้ ปวงทีเ่ รายึดถือไว ้ เราก็จะดํารงอยูอ ่ ย่างเป็ น
อิสระจากเครือ ่ งร ้อยรัดทัง้ ปวง เข ้าถึงความเป็ นพุทธะและความที่
ยิง่ กว่าสุขในอัตภาพนีเ้ อง

• ปุถช
ุ นพากันดําเนินชีวต ิ อยูใ่ นภพภูมท ิ งั ้ หกแห่งสังสารวัฏอันทุกข์
ทรมาน และสัง่ สมอกุศลกรรมให ้เพิม ่ พูนมากขึน ้ พากันหลงลืม
เมล็ดพันธุแ ์ ห่งศานติ ทีจ ่ ะทําให ้เป็ นอิสระเสรีอย่างสิน ้ เชิง ประตู
แห่งความวิมต ุ ห
ิ ลุดพ ้นจึงถูกปิ ดตาย ช่างน่าเวทนาจริงๆ ด ้วยการ
ดํารงอยูใ่ นสุญญตวิหารของความรัก ความเมตตา แห่งโพธิจต ิ
และถือเอาพระรัตนตรัยเป็ นทีพ ่ งึ่ เราย่อมไปพ ้นภพภูมท ิ งั ้ หก

ภาพมายาของสายรุง้

53
• เพียงเฝ้ าสํารวมอินทรีย ์ ปฏิบต
ั ภ
ิ าวนาบนสัมมาอริยมรรค ด ้วย
ความเป็ นทัง้ หมดของกาย วาจา ใจ เราก็จะกลายเป็ นพุทธสาวก
่ ท ้จริง การไม่กําหนดหมายแยกแยะคุณค่าของสิง่ ใดๆ ตามคติ
ทีแ
ทวิลกั ษณ์แล ้วกระทํากิจกรรม ก็จะเป็ นการแสดงออกของพุทธ
ภาวะอันมหัศจรรย์

• การตืน ่ ขึน
้ ของประทีปแห่งปั ญญาญาณย่อมขจัดตัณหา อุปาทาน
อันเป็ นเหตุแห่งปั ญหาทัง้ ปวงลงอย่างสิน ้ เชิง บรรลุถงึ อาณาจักร
แห่งเอกสภาวะ ทําให ้เพิม ่ พลังปั ญญาญาณทีต ่ ระหนักชัดถึง
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้มัน
่ คงขึน้ แก่นสาระแห่งพระสัทธรรมซึง่ เป็ นความ
สงบเงียบแห่งจิตใจทีส ่ บื สานกันต่อมา ปรากฏตัวออกมา ทําให ้รู ้
แจ ้งตระหนักชัดต่ออริยสัจทัง้ สีป ่ ระการ

• ศิลปะของการพัฒนาปั ญญาญาณอันสว่างไสว บนวิถแ ี ห่งสัมมา


อริยมรรค ซึง่ ป็ นสัมมาปฏิปทาสูค ่ วามสําเร็จทางจิตวิญญาณที่
สมบูรณ์ ผู ้ปฏิบตั จ
ิ ะต ้องคอยเฝ้ าสังเกตุเรียนรู ้ธรรมชาติของจิต
เหนือสํานึกของตนเอง จนเกิดความเข ้าใจอย่างแท ้จริง เพือ ่
เพิม
่ พูน อธิศลี อธิจต ิ อธิปัญญา จึงบรรลุถงึ การจบกิจแห่ง
พรหมจรรย์ คือ เข ้าถึงความเป็ นพุทธะนั่นเอง

• ความคิดทีห ่ ลั่งไหลในภายในนัน ้ ล ้วนเกิดจากอวิชชาสังขาร อัน


เป็ นมายาหาแก่นสาระอันใดมิได ้เลย แม ้ว่ามันจะเกิดขึน ้ มาแต่มน ั
ก็มไิ ด ้ดํารงอยูจ ่ ริง ความสุขทีเ่ กิดจากความยินดีในสิง่ อันเป็ นทีร่ ัก
ทัง้ ปวงนัน ้ ย่อมตกอยูใ่ นความผันแปรไม่ยงั่ ยืนทัง้ สิน ้ ในสังสารวัฏ
นัน
้ ไม่มค ี วามสุขใดทีย ่ งั่ ยืนและรูปลักษณ์ทงั ้ ปวงนัน
้ ปรากฏขึน ้
เพียงชัว่ ขณะแลวก็สญ ู สลายไป ดุจสายรุ ้ง ดุจความฝั น แต่ความ
สงบศานติ ปราศจากความเร่าร ้อนในภายในนัน ้ เป็ นสิง่ ทีห่ าได ้
ยากยิง่ นัก
54
• ในมัชฌิมาปฏิปทาอันยิง่ ใหญ่ ย่อมไม่อาจอธิบายหรือให ้คําจํากัด
ความได ้ ถ ้านํ าไปอธิบายย่อมไม่ใช่ มัชฌิมาปฏิปทาและไม่ม ี
มรรคาใดทีจ ่ ระสบการณ์ตรงต่อสัจจะอันมหัศจรรย์ได ้
่ ะนํ าไปสูป
เร็วไปกว่ามรรคานี้ ด ้วยการปฏิบตั อ
ิ ย่างถูกต ้องเท่านัน
้ ทีค
่ วาม
ยึดถือทัง้ ปวงจะถูกขจัดออกไป การหยัง่ รู ้ความจริง และความ
เมตตากรุณาก็งอกงามไพบูลย์ในภายใน

ขุมทร ัพย์มห ัศจรรย์

• ผู ้ทีเ่ กิดมาเพือ
่ ดําเนินชีวต
ิ อยูบ
่ นมรรคาอันมหัศจรรย์แห่งวิถอ ี นั เร ้น
ลับของทางสายกลาง อันเป็ นภารกิจทีส ่ ําคัญยิง่ ผู ้นัน
้ คือ พุทธะ
ด ้วยการดํารงกายและใจทีเ่ ป็ นเอกภาพกับสรรพสิง่ และพยายาม
ชําระล ้างจิตใจให ้ใสเหมือนกระจกเงา ทีส ่ ะท ้อนทุกสิง่ ทีอ ่ ยู่
ตรงหน ้ามันตามความเป็ นจริง ด ้วยการตระหนักรู ้ความสงบเสงีย ่ ม
ในภายใน และความเป็ นทัง้ หมดของชีวต ิ การกระทําทุกอย่างจึง
ออกมาจากความเป็ นทัง้ หมดหรือความสมบูรณ์ของชีวต ิ

• จงก ้าวย่างไปบนวิถแี ห่งปรากฏการณ์ของความว่างเปล่า โดย


ปราศจากมิจฉาทิฏฐิ แบบขาดสูญและมีตวั ตนอันสุดโต่ง ด ้วยการ
เดินตามอริยมรรคอันประเสริฐแห่งอนันภาวะทีแ ่ ทรกซึมอยูท่ กุ หน
ทุกแห่ง เราจะต ้องเรียนรู ้วิถธี รรมชาติของสังสารวัฏอันเกิดจาก
การปรุงแต่งของอวิชชา อันเป็ นบทเรียนทีจ ่ ะต ้องศึกษาให ้เข ้าใจ
อย่างแท ้จริง ก่อนบรรลุถงึ พระนิพฺพาน

55
• มันยากมากทีจ ่ ะพบบุคคลทีม ่ จ
ี ต
ิ ใจสงบจากการถูกรบกวนจากคติ
ทวินย ิ ม และสามารถแทรกตนเองอยูใ่ นความตระหนักชัดต่อเอก
สภาวะ การปฏิบต ั ทิ ไี่ ม่สามารถเพิม ่ พูนศักยภาพของจิตใจตามวิถ ี
ความเป็ นเองของธรรมชาติ ไม่อาจเรียกว่า สัมมาปฏิปทา มันยาก
มากทีจ ่ ะดํารงอยูบ ่ นวิถข ี องสัมมาอริยมรรคตลอดเวลา ยกเว ้นผู ้ที่
เปี่ ยมอยูด ่ ้วยศรัทธา วิรย ิ ะ ขันติ จริงจังต่อการบําเพ็ญภาวนา
เท่านัน ้

• มวลมนุษยชาติทก ุ วันนี้ เต็มไปด ้วยความทุกข์โศก ไม่เคยล่วงรู ้ถึง


ขุมทรัพย์อน ั มหาศาลในตัวเอง ทีม ่ ค
ี า่ ยิง่ กว่าเอาเพชรมณีทงั ้ หมด
ในโลกมารวมกันเสียอีก มนุษย์ไม่รู ้ว่า เรามีเพชรมณีอยูแ ่ ล ้วทีจ
่ ต

เดิมแท ้ ทีจ ่ ะทําให ้เราได ้พบกับความสุขทีแ ่ ท ้จริง จึงแสวงหา
เพชรมณี – แสวงหา ความสุขจากภายนอกซึง่ เป็ นของเทียม เรา
จึงไม่ได ้พบกับความสุขทีแ ่ ท ้จริงของชีวต ิ มีแต่ความสุขเทียมๆที่
ไม่จรี ังยัง่ ยืน เราจึงต ้องแสวงหามันจนไม่รู ้จักจบสิน ้ แม ้เราจะ
แสวงหามันจนตลอดชีวต ิ เราก็จะไม่มท ี างหาพบเลยจากภายนอก
แต่ถ ้าเราหันเข ้ามาสังเกตุเรียนรู ้ตนเองในภายใน เราก็จะพบเพชร
มณีนัน ้ นั่นคือจิตพุทธะทีจ ่ ะทําให ้เราเข ้าถึงความสุขทีแ ่ ท ้จริง
“นัตถิ สันติ ปรัง สุขขัง” สุขอืน ่ ยิง่ กว่าความสงบไม่ม ี

กุญแจไขความล ับของชวี ต

• ความสิน้ สุดอัตตาตัวตน คือการดําเนินสูม ่ รรคาแห่งความอิสระ


หลุดพ ้นจากความยึดมัน ่ ถือมัน่ ทัง้ ปวง มันเป็ นทัศนียภาพอัน
งดงามมหัศจรรย์ และอยูเ่ หนือกาลเวลา เหนือการคาดคะเนได ้
ด ้วยความคิด เป็ นมิตท
ิ ไี่ ม่อาจอธิบายได ้ด ้วยคําพูด – ภาษา
นํ ามาซึง่ ความบรรลุทแี่ ท ้จริงของผู ้บรรลุถงึ วิถแี ห่งประสบการณ์
ตรงต่อสัจจะอันเป็ นอมตะ ทีแ ่ ทรกซึมอยูใ่ นทุกๆสิง่

56
• ด ้วยการปฏิบตั ภิ าวนาบนมรรคาทีไ่ ม่พัก-ไม่เพียรอย่างพระพุทธ
องค์ จึงบรรลุถงึ อาณาจักรแห่งบรมธรรมอันเป็ นสภาวะทีส ่ มถะ
และวิปัสนา สูญสลายไปด ้วยตัวของมันเอง ด ้วยการดํารงชีวต ิ อยู่
อย่างเป็ นไปเองและประสานเป็ นหนึง่ เดียวกับธรรมชาติทเี่ ป็ น
อนันตภาวะทีป ่ ราศจากรูปแบบทัง้ ปวง

• ช่างผาสุกยิง่ นักในการดําเนินชีวต
ิ ทีเ่ ข ้าถึงความรู ้แจ ้งตระหนักชัด
ต่อปรมัตถสภาวะธรรม ทีแ ่ ทรกซึมอยูใ่ นอาณาจักรทีป ่ ราศจาก
การแบ่งแยก – แตกต่างแห่งจิตเหนือสํานึก จึงหลุดพ ้นจากความ
เศร ้าหมองทัง้ ปวง ความหวังและความกลัวอันเป็ นพืน ้ ฐานของ
จิตใจได ้สูญมลายไปด ้วยตัวของมันเอง ย่อมเข ้าถึงความวิมต ุ ิ
หลุดพ ้นอันสูงสุด

• มันเป็ นความลํ้าลึกและมหัศจรรย์แห่งมรรควิถอ ี น
ั เป็ นแก่นสาระ
ของการปฏิบต ั ภิ าวนา ทีส ื สานต่อๆกันมาด ้วยความสงบสันติใน
่ บ
ภายใน อันเป็ นกุญแจแห่งคําสอนทัง้ ปวง ทีส่ ามารถขจัดความ
เศร ้าโศก และความทุกข์ทรมานอันทนได ้ยากด ้วยการถ่ายถอน
ความยึดถือทัง้ มวลลงได ้

• ความทีย ่ งิ่ กว่าสุขแห่งสุญญตาธรรมอันเป็ นแก่นสาระแห่งพระ


สัทธรรม ทําให ้อุปาทานในขันธ์ห ้า สูญสลายไปในปริมณฑลอัน
กว ้างใหญ่ไพศาลแห่งสัมมาทิฏฐิ เป็ นการอุบต ั ข
ิ น
ึ้ ของ
ประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ และการรู ้แจ ้งตระหนักชัดในความ
สมบูรณ์ของชีวต ิ อินทรียพ
์ ละ (ศรัทธา วิรย
ิ ะ สติ สมาธิ ปั ญญา)
ย่อมงอกงามขึน ้ ในจิตใจ

• ในความไพศาลของสุญญตภาวะทีแ ่ ผ่ขยายครอบคลุมทุกสิง่ ทํา


ให ้สามารถชําระล ้างมลทินของกิเลสตัณหาอุปาทานออกไปได ้
ด ้วยนํ้ าอมฤติแห่งเอกภาวะของสรรพสิง่ และความทีย
่ งิ่ กว่าสุข

57
จากการู ้แจ ้งตระหนักชัดต่อความจริงของสรรพสิง่ จึงเป็ นอิสระ
จากเครือ
่ งร ้อยรัดและปั ญหาทัง้ ปวง

ฟองอากาศในนํา้

• ถ ้าไม่รู ้จักจิตใจของตนเอง ก็จะไม่สามารถเข ้าถึงสุญญตภาวะได ้


แล ้วจะอยูเ่ หนือโลกธรรมทัง้ แปดได ้อย่างไร ดังนัน ้ ในการศึกษา
พุทธศาสนา จึงจําเป็ นต ้องเรียนรู ้ตนเองตามวิธก ี ารไตรสิกขา ที่
พระพุทธองค์ทรงอุปมาเหมือนกับ “โคแม่ลก ู อ่อนชําเลืองดูลกู
น ้อยขณะเล็มหญ ้า” นั่นก็คอื เราสามารถเรียนรู ้ตนเองได ้ในขณะที่
กําลังกระทํากิจการงานในชีวต ิ ประจําวัน เพือ
่ ละความยึดถือใน
อัตตาตัวตน เข ้าถึงประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ ย่อมไปพ ้น
สังสารวัฏอันทุกข์ทรมาน เราก็จะเข ้าใจตนเอง เข ้าใจโลก เข ้าใจ
ชีวติ ตามความเป็ นจริง ความทุกข์ทงั ้ ปวงก็จะสิน้ สุดลง

• ผู ้ทีไ่ ม่ใส่ใจทีจ่ ะรู ้จักโลก – รู ้จักชีวติ ตามความเป็ นจริง จึงหมด


โอกาสทีจ ่ ะเป็ นพุทธศาสนิกชนทีแ ่ ท ้จริง ต ้องเวียนว่ายอยูใ่ น
สังสารวัฏตลอดกาล หมดโอกาสทีจ ่ ะเข ้าถึงความสุขทีแ่ ท ้จริง ผู ้
ทีต ่ ามรักษาจิตประภัสสรไว ้ ย่อมเข ้าถึงความเป็ นพุทธะในชีวต ิ นี้

• ร่างกายของผู ้ทีเ่ ข ้าถึงพระสัทธรรม ย่อมมีคา่ ดุจอัญมณี ชีวต ิ ย่อม


มีความหมาย ไม่สญ ู เสียโอกาสทีไ่ ด ้เกิดมาเป็ นมนุษย์ ชีวต ิ เปรียบ
ดั่งฟองอากาศในนํ้ า เป็ นสิง่ ทีไ่ ม่จรี ังยัง่ ยืน ทุกคนกําลังเดินทาง
ไปสูม่ รณกาล ไม่มใี ครไปยับยัง้ มันได ้ ไม่มใี ครจะช่วยเราได ้

58
นอกจากพระสัทธรรมอันศักดิส ิ ธิเ์ ท่านัน
์ ท ้ แต่ก็มน
ี ้อยคนที่
ขวนขวายใฝ่ หาพระสัทธรรม

• รากเหง ้าของสังสารวัฏคือ ความยึดมัน ่ ถือมัน


่ ในตัวตน ถ ้าละวาง
มันเสียได ้ย่อมบรรลุดน ิ แดนแห่งพุทธะ จงหล่อหลอมความรู ้แจ ้ง
ตระหนักชัดถึงความเป็ นสุญญตาของสรรพสิง่ ให ้มัน ่ คงถาวร และ
่ ้นบึง้ แห่งจิตใจ เราก็จะไปพ ้นสังสารวัฏ เข ้าถึง
หยัง่ รากลึกลงสูก
ความสุขนิรันดร

ชวี ต
ิ ดง่ ั อ ัสดง

• ผู ้ทีด
่ ําเนินชีวต
ิ ไปตามกงล ้อของกฏแห่งกรรม ย่อมพบกับ
ภยันตรายอันใหญ่หลวง สังสารวัฏเป็ นดั่งพิษร ้ายทีแ ่ ทรกซึมอยูใน
สายเลือด ถ ้าไม่ถา่ ยถอนมันย่อมแพร่กระจายไปทัว่ ร่างกาย ความ
ตายเปรียบเหมือนยามอาทิตย์จะอัสดง ไม่มผ ี ู ้ใดไปยับยัง้ มันได ้
ยกเว ้นพระสัทธรรมเท่านัน ้

• ในสัทธรรมแห่งการไม่เกิด – ไม่ตาย ย่อมสว่างไสวอยูด่ ้วย


ประทีปแห่งปั ญญาญาณทีต ่ ระหนักชัดในความเป็ นองค์รวม ทีเ่ ป็ น
เอกภาพของสรรพสิง่ แห่งสัมมาอริยมรรค อันเป็ นสภาพทีย ่ งิ่ กว่า
สุข ย่อมไม่หมกมุน
่ ผูกพันอยูก
่ บ
ั โลกธรรมแปดประการ

59
• เมล็ดพืชทีง่ อกงามในดิน ย่อมเจริญตามวิถข ี องมัน การถือกําเนิด
ในอบายภูมท ิ งั ้ สี่ นรก เปรต อสุรกาย เดรัจฉาน อันตํา่ ทราม ย่อม
่ วามทุกข์ทรมาน ถ ้าตกล่วงลงสูก
นํ าไปสูค ่ บั ดักหลุมพรางของมัน
แล ้ว ยากนักหนาทีจ ่ ะหลุดรอดออกมาได ้

• ความทุกข์ทรมานแห่งชีวต ิ ทีเ่ กิดขึน


้ อย่างไม่ขาดสาย เสมือนคลืน ่
ในมหาสมุทร แม ้มันจะสลายไปก็เพือ ่ คลืน
่ ลูกใหม่จะได ้เกิดขึน

แทนที่ จนกว่าเราจะปลดปล่อยความยึดติดทัง้ หลายทัง้ ปวงได ้
แล ้วเข ้าถึงความเป็ นอิสระหลุดพ ้น ความทุกข์ทรมานทัง้ มวลก็จะ
้ สุดลง
สิน

• จงดํารงชีวต ิ อยูอ
่ ย่างไม่ประมาท คือมีสติสม ั ปชัญญะ ไม่ปล่อย
จิตใจอยูก ่ บั การปรุงแต่งของอวิชชาด ้วยความคิดทีห ่ ลั่งไหล จง
บําเพ็ญเพียรบนวิถข ี องไตรสิกขา (อธิศล ี อธิจต ิ อธิปัญญา) เพือ ่
ตระหนักชัดต่อความว่างอันไม่แตกต่างของสรรพสิง่ เฝ้ า
ตรวจสอบเรียนรู ้จิตใจของตนเองอยูต ่ ลอดเวลา โดยไม่
วิพากษ์ วจ ิ ารณ์ ไม่สรุป ไม่ลงความเห็นต่อการรับรู ้ทางประสาท
สัมผัส เราก็จะพบกับวิถข ี องธรรมชาติทแ ี่ ท ้อันลึกลํ้า เกิดความ
เข ้าใจโลก เข ้าใจชีวต ิ ตามความเป็ นจริง ตระหนักรู ้ความหมาย
ของชีวต ิ ทีแ ่ ท ้จริง ความเป็ นอิสระหลุดพ ้นก็จะเผยตัวออกมาเอง
ตามวิถค ี วามเป็ นเองของธรรมชาติ

อาณาจ ักรชวี ต
ิ นิร ันดร

60
• ด ้วยการขจัดความต ้องการทัง้ ปวงลงได ้ ทําให ้เข ้าสูก ่ ระแสของ
ทางสายกลาง และรู ้สึกผาสุกในความเงียบสงบอันลํ้าลึก
โดยเฉพาะจากความต ้องการทีจ ่ ะมีชอ ื่ เสียง จึงปราศจากมานะที่
จะอยูเ่ หนือหรือด ้อยกว่าผู ้ใด ด ้วยแก่นสาระแห่งจิตประภัสสรนีจ ้ งึ
ไม่มก ี ารกําหนดหมายใดๆ บรรลุถงึ ความเป็ นอิสระจากภาพลวงตา
ทัง้ ปวง เข ้าถึงดินแดนแห่งพุทธภูมอ ิ น
ั ผาสุกยิง่

• การอุทศิ ตนด ้วยการปฏิบต ั บ ิ ช


ู าต่อพระพุทธองค์ โดยไม่กําหนด
หมายแยกแยะคุณค่าสรรพสิง่ บนวิถข ี องมัชฌิมาปฏิปทา จึงเป็ น
อิสระจากความยึดมัน ่ ถือมัน
่ ทัง้ มวล ผู ้ทีย
่ ด
ึ มัน
่ แบ่งแยกลัทธินยิ
กายเป็ นความหายนะของการเข ้าถึงสัทธรรม เป็ นการปิ ดกัน ้
หนทางสูค ่ วามอิสระหลุดพ ้น ทําให ้จิตประภัสสรของตนเองมัว
หมอง ย่อมนํ ามาซึง่ ภยันตรายอย่างไม่อาจหลีกเลีย ่ งได ้

• จงเข ้าสูอ ่ าณาจักรแห่งสัจธรรมด ้วยจิตใจทีเ่ ปี่ ยมไปด ้วยความ


เมตตา กรุณา และสํานึกในอกุศลธรรมทีก ่ ระทําไปแล ้ว ด ้วยการ
สํารวมระวังในอินทรียพ ์ ละทัง้ ห ้า ย่อมนํ ามาซึง่ แรงบันดาลใจทีจ ่ ะ
่ สูเ่ ป้ าหมายแห่งชีวต
มุง่ มัน ิ นิรันดร

• การแสวงหาความยินดีทางประสาทสัมผัสด ้วยการแสวงหาโลกีย
สุขทีต่ ามใจตัว ย่อมตกจมสูอ ่ ารมณ์ทไี่ ด ้สังขารปรุงแต่งมันขึน ้ มา
นํ าไปสูก่ ารกระทําทีเ่ รียกว่า กรรม ในสังสารวัฏ คือความทุกข์
ทรมาน แล ้วก็ดน ิ้ รนกระทําตามความรู ้สึกพอใจ – ไม่พอใจของ
ประสาทสัมผัสอีก วนเวียนอยูอ ้ วั่ กัปกัลป์ นีค
่ ย่างนีช ่ อ
ื ปั ญหาของ
มนุษย์ทข ี่ าดปั ญญาญาณในการดําเนินชีวต ิ

61
• ความปรารถนาต่อโลกียสุข เป็ นสาเหตุแห่งอกุศลกรรมทัง้ หลาย
ความปรารถนาชือ ่ เสียงก่อให ้เกิดการกระทําทีเ่ ป็ นมลทิน การ
กระทําทีเ่ ป็ นอกุศลกรรมทัง้ ปวงมีสาเหตุมาจากความต ้องการและ
ความโลภ ความโกรธทัง้ สิน ้ เมือ่ ปราศจากปั ญญาญาณทีจ ่ ะทําให ้
ตืน
่ รู ้ เบิกบาน ประสบการณ์แห่งสัมมาสมาธิยอ ่ มล ้มเหลว


สจจะอ ันติมะคือต ัวชวี ต

• การไม่รู ้จักวิธก
ี ารของการปฏิบต ั ภ
ิ าวนาอย่างถูกต ้อง เพือ
่ ความ
สมบูรณ์ของพลังจิตและพลังปราณ การไม่รู ้จักกาลเวลาทีถ ่ ก
ู ต ้อง
เพือ่ เผชิญกับเงือ ่ นไขต่างๆ ย่อมออกนอกลูน ่ อกทาง แม ้จะรู ้จัก
วิธก
ี ารอย่างถูกต ้อง แต่ถ ้าขาดความเพียรอย่างแรงกล ้า ย่อม
เสียเวลาเปล่าในการศึกษาพุทธศาสนา

• การปฏิบต ั ภิ าวนาจนเข ้าถึงโพธิจต ิ จะทําให ้ปั ญญาญาณเป็ น


ประดุจกระจกเงาสะท ้อนให ้ประจักษ์ แจ ้งสิง่ ต่างๆ ตามความเป็ น
จริงตามทีม ่ นั เป็ น ทําให ้เกิดการลดละปล่อยวาง ความยึดติด
ผูกพันทัง้ ปวง เข ้าใจความหมายทีแ ่ ท ้จริงของชีวต
ิ เข ้าใจสัจจะ
โดยตัวของมันเองก็คอ ื สัจจะอันติมะนั่นเอง

• ถ ้าสามารถสํารวมระวังกาย วาจา ใจ ได ้ในการดําเนินชีวต ิ ดํารง


อยูใ่ นความเป็ นเอกภาพกับสรรพสิง่ ตระหนักรู ้ในความเป็ น
ทัง้ หมดในการกระทําว่า เราคือสรรพสิง่ ด ้วยสัมมาญาณทัศนะอัน
ว่างไสว เราก็จะบรรลุถงึ สภาพทีย
่ งิ่ กว่าสุข อันเป็ นดินแดนแห่ง
พุทธะในอัตภาพนีเ้ อง

62
• รากเหง ้าของสังสารวัฏคือความยึดมัน ่ ถือมัน
่ ถ ้าละวางมันเสียได ้ก็
จะเข ้าถึงพระนิพฺพานอันเป็ นอมตะธรรม ดังนัน ้ ประเด็นสําคัญของ
การฝึ กฝนภาวนาคือการพัฒนาปั ญญาญาณ หรือ สัมมาทิฏฐิ ให ้
เกิดขึน้ เพือ
่ ทีม
่ น
ั จะได ้ละวางความยึดถือทัง้ ปวง หากปราศจาก
ความเข ้าใจในประเด็นนี้ ก็ยากทีจ ่ ะบรรลุถงึ เป้ าหมายของชีวต ิ ได ้

• แม ้ถ ้อยคําภาษาจะเต็มไปด ้วยมิจฉาทิฏฐิ แต่เราก็จะต ้องมุง่ มัน ่


่ ม
เข ้าสูส ั มาทิฏฐิให ้ได ้ เพือ
่ ทีจ
่ ะขจัด กิเลส ตัณหา อุปาทานให ้สิน ้
แล ้วหล่อหลอมความรู ้แจ ้งตระหนักชัดถึงความเป็ นสุญญตาของ
สรรพสิง่ ทีเ่ ป็ นเอกภาพเดียวกัน ให ้มัน ่ ้นบึง้
่ คงถาวรหยัง่ ลึกลงสูก
แห่งจิตประภัสสร จนเป็ นรากฐานของการดํารงอยูอ ่ ย่างพุทธะใน
ชีวติ ประจําวัน

ชวี ต
ิ ทีส
่ มบูรณ์

• ในประสบการณ์ทย ี่ งิ่ กว่าสุขแห่งสุญญตภาวะ อันเป็ นอิสระจาก


ความหลงผิดทัง้ ปวง ประดุจดอกบัวทีบ ่ ริสท
ุ ธิอ์ น
ั เกิดจาโคลนตม
มันเป็ นอัญมณีอน
ั ลํ้าค่าทีท ่ กุ คนเป็ นอยูแ
่ ล ้ว แต่เพราะเราขาด
ความเข ้าใจตนเอง เราจึงไม่เข ้าใจโลกตามความเป็ นจริง

• การสํารวมระวังในธรรมวินัยอย่างระมัดระวัง ชูประทีปแห่งปั ญญา


ญาณ ทีส ื สานกันต่อๆมาตามพระธรรมคําสอนของพระพุทธองค์
่ บ
ทีเ่ ป็ นความเงียบสงัดในภายใน ทําให ้สามารถขจัด ม่านหมอก
แห่งอวิชชาลงได ้ ความมืดบอดจากความหลงผิดทัง้ มวลก็สน ิ้ สุด
ลง
63
• สายนํ้ าทัง้ หลาย แม ้มันจะไหลไปคนละทิศคนละทาง แต่มน ั ก็จะ
ไหลไปรวมกันทีม ่ หาสมุทร เช่นเดียวกับการดําเนินชีวตที่
แตกต่างกันของทุกคน แต่เป้ าหมายสุดท ้ายของชีวต ิ ก็คอ
ื พระ
นิพฺพาน หรือสัจจะอันติมะ

• จิตสามัญสํานึก ถูกปิ ดกัน


้ ด ้วยม่านหมอกแห่งอวิชชา จึงทําให ้จิต
ของปุถชุ นและจิตของพุทธะแตกต่างกัน ในอาณาจักรแห่งสัจ
ธรรมอันสูงสุด จิตของปุถช ุ นและจิตของพุทธะไม่แตกต่างกัน
และเป็ นเอกภาพเดียวกัน จึงอยูเ่ หนือปั ญหาทัง้ ปวง

• เพราะพฤติกรรมแห่งมายา จึงทําให ้เราสําคัญผิด คิดว่ามายาภาพ


คือความจริง จึงเอาความรู ้ทีไ่ ม่จริงนีไ
้ ปบริหารจัดการชีวต
ิ ความ
ทุกข์ทรมานและปั ญหาต่างๆ จึงเกิดขึน ้ มากมาย

• เราพากันแสวงความจริงจากภายนอก เราเรียนรู ้สิง่ ต่างๆมากมาย


แต่ความรู ้เหล่านัน
้ ก็ไม่ได ้ทําให ้เรารู ้จักตนเองเลย เพราะเราขาด
ความเข ้าใจตนเองจากประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ จึงทําให ้เราไม่
เข ้าใจชีวต
ิ ทีส
่ มบูรณ์ทแี่ ท ้จริงของเรา

มายาลวงแห่งโลกธรรม

• คนส่วนมาพากันคิดว่าจะปฏิบต ั ธิ รรมในวันข ้างหน ้ แม ้แต่คนที่


กระทําแต่บาปกรรมก็ฝันทีจ
่ ะเป็ นอิสระหลุดพ ้นในอนาคต แต่ใคร
64
จะรู ้บ ้างความตายจะมาเยือนเราเมือ่ ใด มัวหมกมุน
่ อยูก
่ บ
ั การ
แสวงหาโลกียสุข มืดบอดอยูก ่ บ
ั ค่านิยมเทียมๆ เพลิดเพลินอยูก่ บ

ความพอใจจากประสาทสัมผัส กว่าจะสํานึกได ้ก็แก่ชรา ซึง่ ยากที่
จะปฏิบต ั ภ
ิ าวนา

• ผู ้ทีป
่ รารถนาจะปฏิบตั ภ
ิ าวนาอย่างแท ้จริง ควรถือเอา
มัชฌิมาปฏิปทา คือ การเรียนรู ้ตนเองเป็ นพืน ้ ฐานของการดําเนิน
ชีวต ิ และควรดําเนินชีวต ิ อยูด
่ ้วยจิตใจทีป
่ ระกอบด ้วยปั ญญาญาณ
ในการกระทํากิจกรรมทัง้ ปวง ในชีวต ิ ประจําวัน ความก ้าวหน ้าของ
จิตใจย่อมบังเกิดขึน้ อย่างแน่นอน

• โลกธรรมเป็ นมายาลวง ไม่วา่ เราจะสะสมไว ้มากมายเพียงใด สัก


วันหนึง่ เราก็จะต ้องพลัดพรากจากมันไป ย่อมเป็ นการดีกว่าทีจ ่ ะ
ได ้ปฏิบตั จ
ิ บรรลุถงึ สัจธรรมทีอ่ ยูเ่ หนือทวิลักษณ์ และดํารงอยูใ่ น
อาณาจักรทีย ่ ากจะมีผู ้บรรลุถงึ

• การดํารงชีวต ิ อยูอ
่ ย่างพุทธะ เป็ นศิลปะอย่างยิง่ ประเด็นสําคัญยิง่
คือ การมุง่ มัน ่ อย่างแรงกล ้าทีจ่ ะทําให ้มันต่อเนือ ่ งดุจดังสายนํ้ า
ไหล นีค่ อื แก่นสาระของชีวต ิ ทีเ่ ราต ้องเข ้าถึงและนํ ามาใช ้ในการ
ดําเนินชีวต ิ ในชีวต ิ ประจําวัน ซึง่ เราจะต ้องปลูกฝั ง ศรัทธา วิรย ิ ะ
ขันติ ให ้มัน่ คง ความสําเร็จจึงจะเกิดขึน ้

• ผู ้คนส่วนน ้อยแสวงหาพระธรรม ต ้องการพระธรรม ถ ้าปราศจาก


พระธรรมเสียแล ้วก็หาคุณค่าอันใดมิได ้ แต่กไ ็ ม่รู ้จักว่าพระธรรม
คืออะไร และมีน ้อยคนทีเ่ ข ้าถึง เมือ
่ ปราศจากพระธรรม การ
65
กระทําทัง้ ปวงก็ไร ้ความหมาย ผู ้ทีป ่ รารถนาชีวต
ิ ทีม
่ คี วามหมาย มี
คุณค่า ต ้องปฏิบตั ติ ามคําสอนของพระพุทธองค์ พุทธะ ธรรมะ
สังฆะ คือ กัลยาณมิตรทีแ ่ ท ้จริง การสํารวมอินทรีย ์ สัมมาทิฏฐิ
เมตตาธรรม คือวิถท ี างของการบําเพ็ญภาวนาบนสัมมาอริยมรรค
สูโ่ พธิญาณ ทีจ
่ ะทําให ้สามารถขจัดอุปสรรคทัง้ ปวงได ้

พุทธท ัศนะ

• มนุษย์เกิดมาและมีชวี ต ่ า่ มกลางสรรพสิง่ ทีเ่ รียกว่า ธรรมชาติ


ิ อยูท
คือสิง่ ทีเ่ ราสัมผัสได ้ทางประสาทสัมผัสต่างๆ สิง่ ต่างๆเหล่านี้
ปรากฏในการรับรู ้ของเราตัง้ แต่วันแรกทีเ่ ราเกิดมา แล ้วอะไรคือ
ความจริงของธรรมชาติเหล่านี้ ความจริงคือ สภาวะเดียวกันกับสิง่
่ รากฏแก่การรับรู ้ของเราใช่หรือไม่ หรือว่าสิง่ ทีป
ทีป ่ รากฏแก่
ประสาทสัมผัสเหล่านีเ้ ป็ นเพียงมายาลวง

• ในสมัยพุทธกาล มีทศ ั นะเกีย ่ วกับธรรมชาติ 2 ทัศนะ ทัศนะแรก


่ ว่า ปรากฏการณ์เหล่านีม
เชือ ้ อี ยูจ
่ ริงทีเ่ รียกว่า “อัตถิกทิฏฐิ”
ทัศนะทีส ่ ว่า ปรากฏการณ์เหล่านีไ
่ องเชือ ้ ม่มอี ยูจ
่ ริง เรียกว่า
“นัตถิกทิฏฐิ” พระพุทธเจ ้าทรงวิจารณ์ความเห็นทัง้ สองนีว้ า่ เป็ น
ความ “สุดโต่งทัง้ สอง” และทรงชีแ ้ นะว่า “โลกตามพุทธปรัชญา
ไม่อาจกล่าวได ้ว่า “สิง่ ทัง้ ปวงมีอยูห ่ รือไม่มอ ี ยู”่

• พุทธทัศนะนี้ เป็ นแนวคิดทีท ่ ้าทายต่อการศึกษาอย่างยิง่ ถ ้ามีคน


บอกเราว่าสิง่ ต่างๆ ทีเ่ รารับรู ้ทางประสาทสัมผัสมีอยูจ ่ ริง ไม่วา่ เรา
จะเห็นด ้วยหรือไม่เห็นด ้วย เราก็สามารถเข ้าใจได ้ อัตถิกทัศนะจึง
ไม่ขด
ั กับสามัญสํานึกของเรา เช่นเดียวกัน ถ ้ามีใครมาบอกว่า
สรรพสิง่ เป็ นเพียงภาพลวง ไม่มอ ี ยูจ
่ ริง เป็ นเชิงแย ้งทีต
่ รงกันข ้าม

66
เราก็พอเข ้าใจได ้ นัตถิกะทัศนะ จึงไม่ขด
ั กับสามัญสํานึกของเรา
เช่นเดียวกับอัตถิกทิฏฐิ

• แนวความคิดทัง้ สองขัดแย ้งกันเรือ ่ ง “ความมี – ไม่มอ ี ยู”่ อย่าง


ตรงข ้าม การยืนยันข ้างใดข ้างหนึง่ เป็ นสิง่ ทีเ่ ราเข ้าใจได ้ แต่ถ ้ามี
ผู ้ยืนยันภาวะบางอย่างทีไ่ ม่อาจเรียกว่า “ความมี – ไม่มอ ี ยู”่ เรา
จะรู ้สึกงง ไม่อาจเข ้าใจได ้ว่า มันหมายความว่าอย่างไร

• ่ พุทธทัศนะ กล่าวว่า “สรรพสิง่ ไม่อาจกล่าวได ้ว่า มีอยูห


เมือ ่ รือไม่
มีอยู”่ ทัศนะนีย
้ อ
่ มขัดกับความรู ้สึกของคนทัว่ ไป นึกไม่ออกว่า
อะไรคือ ความจริงของโลก

• ความจริงเกีย ่ วกับพุทธทัศนะ หรือ พุทธะปรัชญาคือ “โลกหรือ


สรรพสิง่ คือ สุญญตา (ความว่าง)” เป็ นการไปพ ้นความมีอยูแ ่ ละ
ความไม่มอ ี ยู่ เป็ นการปฏิเสธทัง้ ความมีอยู่ และ ความไม่มอี ยู่
เป็ นการตระหนักรู ้สรรพสิง่ ด ้วยปั ญญาญาณ นีค ่ อ
ื “ทัศนะทางสาย
กลาง” ในพุทธศาสนา

อริยทร ัพย์แห่งอน ันตภาวะ

• พุทธศาสนาเน ้นเรือ่ งจริยศาสตร์ ทีแ ่ นะนํ าว่าเราควรจะปฏิบต


ั ิ
อย่างไรจึงจะมีความสุขทีแ ่ ท ้จริง จริยศาสตร์ในพุทธศาสนาต ้อง
อยูบ
่ นรากฐานทางพุทธปรัชญา คือทัศนะทีว่ า่ โลกคือสุญญตา
(ความว่าง) พุทธทัศนะนีจ ้ งึ เกีย
่ วโยงกับจริยศาสตร์โดยตรงอย่าง
หลีกเลีย
่ งไม่ได ้

67
• หลักการทีส ่ ําคัญในพุทธศาสนาข ้อหนึง่ ในจํานวนสามข ้อคือ “การ
ทําจิตให ้ขาวรอบ” หรือการทําจิตให ้ว่างจากตัวตน คือเข ้าถึง
สุญญตานั่นเอง ดังนัน ้ สุญญตาทางจริยศาสตร์ ก็คอ ื หลักทีส่ อน
ให ้เราทําใจให ้เห็นว่า โลกคือความว่าง (สุญญตา) โดยธรรมชาติ
การปฏิบต ิ นตระหนักชัดว่าสรรพสิง่ คือสุญญตา คือรากฐานทางจ
ั จ
ริยศาสตร์นั่นเอง

• ผู ้ทีเ่ ห็นแจ ้งต่อธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรของตนเอง ย่อม


ขจัดม่านหมอกแห่งอวิชชาลงได ้ อนันตภาวะอันเป็ นอริยทรัพย์
จากแดนพุทธภูม ิ ซึง่ เป็ นอาณาจักรแห่งความจริงแท ้ ไม่มส ี งิ่ ทีถ
่ ก

เห็น – ไม่มผ ี ู ้เห็น และปราศจากเจตนาต่อการกําหนดหมายใดๆ
ประทีปแห่งพระสัทธรรมจะสาดส่องขึน ้ มาเอง ซึง่ เป็ นผลจากการ
ปฏิบต ั ภ
ิ าวนาทีล ่ ํ้าลึกทีส
่ ด

• สุญญตาอันปราศจากเหตุปัจจัยปรุงแต่ง ย่อมไม่สามารถอธิบาย
ได ้ด ้วยคําพูดและภาษา แก่นสาระแห่งธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของจิต
ประภัสสรนี้ ไม่สามารถถูกทําให ้แปดเปื้ อนหรือดับสูญได ้ ผู ้ที่
เข ้าถึงความแจ่มแจ ้งตระหนักชัดด ้วยตนเองเท่านัน้ จึงหยัง่ รู ้ว่ามัน
ได ้อธิบายตัวมันเองอย่างสมบูรณ์แล ้ว โดยปราศจากอักษรและ
ถ ้อยคํา มันคืออาณาจักรทีอ
่ ยูเ่ หนือตัวตน และการนึกคิดทัง้ ปวง

• การไม่รู ้จักธรรมชาติทแ
ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรของตนเอง ย่อมทําให ้
การบําเพ็ญสมาธิภาวนา แม ้จะยาวนานมาหลายปี ก็สญ ู เปล่า แม ้
่ ตรงและตัง้ ใจจริง การปฏิบต
จะซือ ั ภ
ิ าวนานัน
้ ก็ไม่มค
ี วามหมาย
และล ้มเหลว

• เมือ
่ ตระหนักชัดต่อธรรมชาติทแ ี่ ท ้ แห่งจิตประภัสสรของตนเอง
จนมัน่ คงถาวร สัมมาทิฏฐิก็อบ
ุ ต
ั ข ิ น
ึ้ ในดวงใจ ก ้อนหิน ต ้นไม ้ และ

68
สรรพสิง่ ย่อมกลับกลายเป็ นเมล็ดพันธุแ
์ ห่งโพธิญาณ เส ้นทาง
ชีวต
ิ สายใหม่ โลกใหม่ อันเป็ นอมตะก็ปรากฏขึน ้

ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะ

• เมือ่ ใดทีต
่ ระหนักชัดถึงพระพุทธองค์ วิญญาณอันทุกข์ทรมานใน
อบายภูมท ่ ะถูกปลดปล่อยทันที เราจึงควรน ้อมนํ าเอาพุทธานุ
ิ งั ้ สีจ
สติเป็ นทีพ่ งึ่ ในการดํารงอยู่ การกระทําอกุศลกรรมซํ้าแล ้วซํ้าเล่า
เป็ นนิมต
ิ หมายของการถูกครอบงําด ้วยกฏแห่งกรรมในสังสารวัฏ
ความเป็ นอิสระหลุดพ ้นจากเครือ ่ งผูกพันร ้อยรัดยิง่ ห่างไกล

• ผู ้ทีไ่ ม่มค
ี วามจริงจังพากเพียรปฏิบต
ั ด
ิ ้วยความอุตสาหะ อดทน
ไม่ควรคาดหวังต่อการประจักษ์ แจ ้งความจริง การปฏิบต ั ภ
ิ าวนาที่
ไม่เป็ นไปเพือ ่ การลดละอัตตาตัวตน ย่อมไม่อาจหยัง่ รู ้ ทัศนียภาพ
แห่งความเป็ นอิสระเสรีได ้ การถ่ายถอนอุปาทานก็บงั เกิดขึน ้
ไม่ได ้จึงไม่ควรหวังความสงบ สันติ จากการรับรู ้ทางประสาท
สัมผัสทัง้ หก

• ผู ้ทีย
่ งั ไม่สามารถตระหนักชัดในความเป็ นองค์รวมแห่งเอกภาพ
ของสรรพสิง่ ทีเ่ ป็ นสุญญตาได ้ ย่อมไม่สามารถถ่ายถอนรากเหง ้า
ของความต ้องการและความกลัวทีห ่ ยัง่ รากลึกทีก
่ ้นบึง้ แห่งจิตใจ
ได ้อย่างถอนรากถอนโคน

69
• ผู ้ทีย่ งั แปดเปื้ อนด ้วยมลทินแห่งอกุศลกรรม ย่อมไม่อาจเข ้าถึง
พระพุทธองค์ได ้ แต่ถ ้าขณะใดทีเ่ ราเข ้าถึงพระสัทธรรม ย่อม
สัมผัสถึงพุทธองค์ “โยธัมมัง ปั สสติ โสมังปั สสติ” (ผู ้ใดเห็นธรรม
ผู ้นัน
้ เห็นเรา ตถาคต)

• ความคิดปรุงแต่งทีห
่ ลั่งไหลเป็ นอุปสรรคขวางกัน้ ทําให ้ไม่
สามารถเข ้าถึงสุญญตภาวะได ้ ถ ้าอวิชชายังไม่ถกู ขจัดออกไป แม ้
จะพากเพียรอย่างหนักได ้ผลเพียงเล็กน ้อย

• เมือ่ ศีล สมาธิ ปั ญญา มัน


่ คงจนหยัง่ รากลึกลงสูก ่ ้นบึง้ แห่งจิตใจ
สัจจะอันติมะ จะแผ่ขยายครอบคลุมทุกสิง่ แสดงออกร่วมกับ
กิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวันอย่างเป็ นไปเองตามวิถข ี อง
ธรรมชาติ นีค ่ อ
ื การดําเนินชีวติ อย่างพุทธะ ซึง่ ดําเนินชีวต ิ อยูใ่ น
ความเป็ นองค์รวมของสรรพสิง่ ทีเ่ ป็ นเอกภาพเดียวกัน ! “เสียงนก
ร ้องบอกความลับของชีวต ิ ”

พระนิพฺพาน

• เป้ าหมายของพุทธศาสนา คือความหลุดพ ้นจากความยึดถือทัง้


ปวง หรือพระนิพฺพาน ซึง่ จะต ้องมาจากการปฏิบต ั ิ ไม่ใช่มาจาก
การอ่านการสะสมความรู ้ และการปฏิบต ั ภ
ิ าวนานัน ้ จะต ้องเป็ นการ
ปฏิบต ั ท
ิ างจิต ไม่เน ้นทางร่างกาย จึงไม่จําเป็ นต ้องยึดติดใน
รูปแบบใดๆ แต่ให ้เรียนรู ้จิตใจของตนเองเป็ นสําคัญตามหลัก
วิธกี ารไตรสิกขา “อธิศล ี อธิจต
ิ อธิปัญญา” ทีพ ่ ท
ุ ธองค์ทรงอุปมา
เหมือนกับ “โคแม่ลก ู อ่อนเล็มหญ ้าแล ้วชําเลืองดูลก ู น ้อยไปด ้วย”
จึงสามารถบําเพ็ญภาวนาได ้ในทุกอิรย ิ าบถ แม ้ขณะกระทํากิจการ
งาน แล ้วเราจะพบว่า เรากับการงาน เรากับสรรพสิง่ เป็ นเอกภาพ
เดียวกัน
70
• การปฏิบต ั ไิ ม่ใช่วา่ เราจะได ้อะไรใหม่ แต่จะช่วยให ้เราได ้รู ้จักจิต
ตนเองและรู ้แจ ้งต ้องสภาวะทีส ่ ล ้ว ซึง่ ก็คอ
่ มบูรณ์ทเี่ ราเป็ นอยูแ ื
ได ้เห็นธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของตนเอง อันเป็ นการบรรลุถงึ พระนิพฺพาน
ก็จะทําให ้เราได ้เป็ นพุทธะ ได ้ประจักษ์ แจ ้งพระสัทธรรม
เช่นเดียวกับ พระพุทธองค์

• สภาวะอันแท ้จริง หรือ นิพฺพานนัน ้ เป็ นสุญญตา เป็ นความว่าง


อย่างสิน ้ เชิง “นิพพานัง ปรมัง สุญญัง” ว่างจากลักษณะ ว่าง
ความเป็ นของคู่ (บุญ-บาป สูง-ตํ่า ถูก-ผิด) ว่างจากการแยกแยะ
เป็ นสรรพสิง่ ว่างจากอัตตาตัวตน ว่างจากของตน ว่างจาก
กาลเวลา ไม่สามารถอธิบายได ้ด ้วยถ ้อยคําภาษา ไม่อาจนึกคิด
คาดคะเนเอาได ้ เราจะประจักษ์ ได ้ด ้วยปั ญญาญาณทีม ่ าจากการ
ปฏิบต ั ภ
ิ าวนาอย่างถูกต ้องเท่านัน
้ ทุกคนสามารถเข ้าถึงได ้ เพราะ
ทุกคนต่างก็มส ี ภาวะอันสมบูรณ์นอี้ ยูแ
่ ล ้ว

• ดังนัน ้ พุทธศาสนาจึงเน ้นทีก ่ ารเรียนรู ้ตนเอง เข ้าใจตนเอง เข ้าใจ


ชีวต ิ ทีส
่ มบูรณ์ เพราะชีวต
ิ โดยตัวของมันเองก็คอ ื สัจธรรม เมือ่
เข ้าใจตนเอง ก็เข ้าถึงสัจธรรม ทําให ้เป็ นอิสระจากความยึดมัน ่
ทัง้ หลาย หยัง่ รู ้ธรรมชาติดงั ้ เดิมอันประภัสสรของเราได ้

วิถน
ี กบิน

71
• คนเราทุกคนมีธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตพุทธะอยูแ ่ ล ้ว และเป็ น
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรมาแต่เดิม ปั ญญาญาณก็เกิดจาก
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้นี้ เมือ
่ เราปฏิบตั อิ ย่างถูกต ้อง เราก็จะประจักษ์ แจ ้ง
ความจริง เช่น พระพุทธองค์ พุทธะ ธรรมะ สังฆะ ก็คอ ื ธรรมชาติ
่ ท ้นี้ เราจึงควรเอาสิง่ นีเ้ ป็ นสรณะ
ทีแ

• เราจะเห็นธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตพุทธะได ้ ด ้วยการใช ้ ศีล สมาธิ


ปั ญญาทีเ่ ป็ นหนึง่ เดียวกัน ซึง่ จะปรากฏเมือ ่ ป็ นอิสระ จากความ
ยึดถือทัง้ ปวง และความเป็ นอิสระจากการกําหนดหมายรูปลักษณ์
ของสิง่ ต่างๆ ให ้ได ้ เมือ ่ า่ มกลางสรรพสิง่ เหล่านี้ และเมือ
่ อยูท ่ ได ้
เห็นธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของตนเอง ก็จะไม่ต ้องการความช่วยเหลือใดๆ
จากภายนอกอีกเลย และประจักษ์ แจ ้งความจริงได ้ทันที เข ้าถึง
ความเป็ นพุทธะได ้ในขณะนัน ้ เอง

• ถ ้าเรามีปัญญาญาณเป็ นพืน ้ ฐานของจิตใจ เราก็จะใช ้จิตของเรา


ไปในวิถท ี างทีม่ น ่ งข ้อง ทุกสิง่ ในโลกนีค
ั เป็ นอิสระจากเครือ ้ อ

ธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรทีเ่ ป็ นอิสระจากทวิลักษณ์ทงั ้ ปวง
นั่นเอง

• ผู ้ทีไ่ ม่รู ้จักจิตประภัสสรของตัวเอง ก็ป่วยการทีผ ่ ู ้นัน


้ จะศึกษาพุทธ
ศาสนา แต่ถ ้ารู ้จักจิตดัง้ เดิมของตนเอง ตระหนักชัดอย่างซึมซาบ
ว่า ธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของตนเอง คือ อะไร ผู ้นัน
้ ก็ได ้เข ้าถึงความเป็ น
พุทธะแล ้ว เข ้าใจหลักการอันเร ้นลับของพุทธศาสนา ในขณะ
นัน
้ เอง

72
• ในทุกๆขณะ เราจะต ้องเทิดทูนหนทางอันเก่าแก่ (ทางสายกลาง)
้ ว ้ แล ้วเราจะไม่ตกลงสูร่ อยเกวียนแห่งทวิภาวะ และไม่วา่ เราจะ
นีไ
ไปทีใ่ ด ก็จะไม่ทงิ้ ร่อยรอยอะไรเหลือไว ้ในจิตใจ ดุจวิถน ี กบินที่
ไม่ทงิ้ ร่อรอยอะไรไว ้เลย เมือ ่ มันบินไปแล ้ว วิญญาณทัง้ หกก็จะไม่
ถูกล่ามไว ้ด ้วยความเคยชิน

• ผู ้เข ้าถึงสัจจะทุกคนต่างยอมรับว่า นีค


่ อ
ื ธรรมวินัยทีส
่ งู สุดในพุทธ
ศาสนา

์ ห่งการดํารงของชวี ต
ปาฏิหาริยแ ิ

• ไม่วา่ เราจะมีความรู ้มากมายเพียงใด หรือมีประสบการณ์ทางโลก


่ ําคัญเพียงใด เมือ
ทีส ่ เทียบกับการตระหนักชัดต่อความสมบูรณ์
ของชีวต ิ มันก็เหมือนกับหยดนํ้ าเพียงหยดเดียวทีถ
่ ก
ู สลัดลงไปใน
หุบเหวอันลึกสุดหยัง่ เท่านัน ้

• ผู ้รู ้กล่าวว่า สัจจะสูงสุดคือ ตัวชีวต


ิ ทีแ
่ ท ้จริงของมันเอง ไม่ม ี
ถ ้อยคําใดถูกใช ้ไปโดยเปล่าประโยชน์ “เมฆอยูบ ่ นท ้องฟ้ า ปลา
อยูใ่ นนํ้ า” เราจะเป็ นพุทธะได ้ก็ด ้วยการเข ้าถึงธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของ
ตนเอง อย่างฉั บพลันเท่านัน ้

• ในการปฏิบต ั ภ
ิ าวนา เราจะต ้องเรียนรู ้ตนเองอย่างต่อเนือ
่ งอย่าง
จริงใจและอดทนพอ สภาวะของความเป็ นหนึง่ จะปรากฏออกมา
จิตก็จะเปิ ดออกสูก่ ารประจักษ์ แจ ้งความจริงอย่างฉั บพลัน เมือ
่ เรา

กลับไปสูรากฐานแห่งการดํารงอยู่ ก็จะประจักษ์ แจ ้งใน
73
ความหมายทีแ ่ ท ้จริงของชีวต ่ สนใจแต่สงิ่ ที่
ิ แต่ถ ้าเรามัวหมกมุน
ปรากฏขึน ้ ภายนอก เราก็จะพลาดจากเนือ ้ หาสาระไป แล ้วก็ตกลง
สูร่ อยเกวียนแห่งทวิลก ั ษณ์ เช่นเดิม

• การศึกษาพุทธศาสนา คือการเรียนรู ้ตนเอง เหมือนกับการขัด


พลอย ยิง่ ขัดมากขึน ้ พลอยก็ยงิ่ สดใสยิง่ ขึน
้ ยิง่ เรียนรู ้ตนเองก็ยงิ่
เข ้าใจตนเองยิง่ ขึน
้ จนเข ้าถึงประสบการณ์ของตัวชีวต ิ ทีส่ มบูรณ์
เราก็จะกลายเป็ นพุทธะ

• ความมหัศจรรย์หรือปาฏิหาริยใ์ นพุทธศาสนา ก็คอ ื การดํารงชีวต ิ


อยูใ่ นความสมบูรณ์หรือความเป็ นทัง้ หมดในแต่ละขณะ รวมทัง้
การกระทําต่างๆในชีวต ิ ประจําวันก็อยูใ่ นความหยัง่ รู ้ในความเป็ น
องค์รวมทีเ่ ป็ นเอกภาพเดียวกัน ด ้วยสัมมาญาณทัศนะ

เพชรมณีอ ันลํา้ ค่า

• เมือ
่ เราปฏิบต
ั ถ
ิ ก
ู ต ้อง จิตจะเจริญก ้าวหน ้าขึน
้ จะรู ้สึกว่า จิตเดิม
แท ้ของเราแผ่ขยายกว ้างออกไป ใสกระจ่าง เบาสงบ มันเหมือน
กิจกรรมทางจิตทัง้ หมดพังทะลายและสิง่ ทีเ่ คลือบฉาบจิตใจอยู่
ได ้ถูกลอกออกไป สมมุตบ ิ ญ
ั ญัตท
ิ างโลกทัง้ หมด ทัง้ สิน ้ และของ

74
่ องเหตุผล ถูก-ผิด ดี-ชัว่ ได ้อันตรธานไปสิน
คูข ้ มีแต่ความว่าง
เปล่าอันไพศาลอยูแ ่ ทน

• ในความว่างอันไพศาล มันเป็ นประสบการณ์แห่งสัจจะทีไ่ ม่


สามารถอธิบายได ้ด ้วยถ ้อยคํา และประจักษ์ แจ ้งว่า สัจจะได ้บรรจุ
สิง่ ทัง้ ปวงไว ้ เพราะจิตของเราไม่ละเอียดลึกซึง้ พอทีจ
่ ะจับฉวย
สาระนีไ ้ ด ้ จึงทําให ้เราหลงเข ้าใจชีวต
ิ ผิดพลาดไป

• เมือ
่ เราสัมผัสถึงประสบการณ์ตรงต่อสัจจะแห่งพุทธะ ด ้วยการ
ทุม
่ เทชีวติ จิตใจทัง้ หมดให ้แก่การปฏิบต ั ภ
ิ าวนา โดยไม่ยอ ่ ท ้อ
และไม่หวาดหวั่นต่อสิง่ ใด จนตระหนักชัดว่า เราทุกคนมีเพชรมณี
อันลํ้าค่าอยูแ
่ ล ้วทุกคน แต่มนั ถูกฝั งไว ้ภายใต ้ความวิตกกังวลแห่ง
จิตสามัญสํานึกอย่างโลกๆ เมือ ่ สิง่ บดบังสิน้ สุดลงด ้วยปั ญญา
ญาณ ความแวววาวของมันก็ได ้กลับคืนมาอีกครัง้ หนึง่

• ด ้วยการสํารวมระวังใส่ใจอยูก ่ บ
ั จิตประภัสสรของตนเองอยู่
ตลอดเวลาในทุกอริยบท และในทุกกิจกรรม ดุจไก่ทก ี่ ําลังฟั กไข่
ดุจแมวทีค ่ อยเฝ้ าจะจับหนู ขณะทีเ่ รายังไม่มญี าณอันแก่กล ้า เรา
จึงต ้องใช ้ความเพียรและความอดทนอย่างแรงกล ้าสูเ่ ป้ าหมายที่
แท ้จริงของชีวติ แน่นอนว่าสักวันหนึง่ ต ้องบรรลุจด ุ หมาย เมือ ่ จิต
แจ่มแจ ้งขึน้ ความเป็ นพุทธะย่อมอยูใ่ กล ้แค่เอือ
้ มนีเ้ อง

• เมือ
่ เข ้าถึงประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ ความเชือ ่ มัน
่ จะเกิดขึน้ ด ้วย
ตัวมันเอง ชีวต ิ ใหม่หลังความตาย เส ้นทางดําเนินชีวต ิ ใหม่ทม ี่ ี
ชีวติ ชีวาจะเผยปรากฏให ้ได ้สัมผัส อุปสรรคทัง้ ปวงย่อมสิน้ สุดลง
75
เงาสะท้อนของดวงจ ันทร์ในนํา้

• เมือ
่ เราปฏิบต ั จ
ิ นจิตเรา สงบ เรียบ สันติ สภาวะจิตขณะนัน ้ เหมือน
เงาสะท ้อนของดวงจันทร์ทฝ ่ ว
ี่ ่ าเข ้าไปในความลึกของธารนํ้ าเชีย
ทีผ
่ วิ นํ้ า ในขณะทีด ่ วงจันทร์เองยังคงรักษารูปทรงอันสมบูรณ์ไว ้
มันเป็ นการยกจิตสูส ่ ภาพทางจิตวิญญาณระนาบใหม่ แห่งจิต
วิญญาณสากล

• เสียงนกร ้องอยูเ่ ซ็งแซ่บอกความลับของชีวต ิ สรรพสิง่ แสดงสัจจะ


โดยตัวของมันเอง “เมฆอยูบ ่ นฟ้ า ปลาอยูใ่ นนํ้ า” สัจจะส่องแสง
แสดงอยูท่ กุ แห่งหน แต่ปถ ุ ช
ุ นมองไม่เห็นจิตใจ จึงสับสน

• สัจธรรมเป็ นอะไรบางสิง่ ทีไ่ ปพ ้นอาณาจักรของความคิดและไป


พ ้นจากการเห็นทีแ ่ ตกต่าง ชนิดทีแ่ บ่งแยกออกเป็ นสรรพสิง่ ไป
พ ้นเหตุผลระนาบตรรกะ และกาลเวลา ความรู ้ทีไ่ ด ้จากการเรียน
ไม่อาจหยัง่ รู ้ความสมบูรณ์ของชีวต ิ อันลํ้าลึกได ้ ต ้องเข ้าใจมัน
ทัง้ หมดด ้วยตัวประสบการณ์ของเราเอง

• “หนทาง”อันถูกต ้องทีน ่ ารบรรลุพระนิพฺพาน ตามทีพ


่ ํ าไปสูก ่ ระ
พุทธองค์ได ้ทรงสอนนัน ้ ไม่อาจพบได ้ในถ ้อยคํา ภาษาหรือ การ
ใช ้เหตุผล จงเปิ ดธรรมจักษุ ให ้กว ้าง แล ้วสิง่ ทัง้ ปวงก็จะ
แปรเปลีย ้ เชิง สรรพสิง่ ทัง้ ปวงทีส
่ นไปอย่างสิน ่ ม ั ผัสได ้ด ้วย

76
อายตนะ ไม่ใช่อะไรอืน ่ นอกจากสิง่ ทีไ่ หลออกมาจากธรรมชาติท ี่
แท ้ของเรา ซึง่ เป็ นธรรมชาติทป
ี่ ระภัสสรโดยตัวของมันเอง

• เมือ
่ เราตระหนักชัดว่า ความว่างเป็ นหนึง่ เดียวกับเราอยู่
ตลอดเวลา จักรวาลทัง้ จักรวาลก็ไม่ใช่อะไรอืน ่ นอกจากความว่าง
(สุญญตา) เท่านัน้ นั่งอยูก
่ ็ไม่กําหนดหมายว่านั่งอยู่ ทัง้ ไม่รู ้สึกว่า
มีตัวตนเรา – เขาด ้วย ไม่มอ ี ะไรนอกจากตระหนักชัดว่าสรรพสิง่
คือสุญญตา

“โอสัจธรรม ช่างยิง่ ใหญ่ และไพศาลจริงๆ”

ระห ัสยน ัยแห่งชวี ต


• พุทธศาสนานัน ้ อยูบ
่ นพืน
้ ฐานธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของเรา บนจิต
ประภัสสรของเรา ซึง่ แสดงออกและประจักษ์ แจ ้งได ้ในการฝึ กฝน
ภาวนา พุทธศาสนาไม่ได ้ขึน ้ อยูก
่ บั คําสอนหนึง่ ใดโดยเฉพาะ
และไม่ได ้เอาคําสอนมาเป็ นตัวฝึ กฝน เราฝึ กฝนภาวนาก็เพือ ่ ให ้
ธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของเราปรากฏออกมา แสดงออกร่วมกับการฝึ กฝน
และร่วมกับกิจการงานต่างๆในชีวต ิ ประจําวันของเรา ด ้วยการ
อาศัยความเพียรและความอดทน แล ้วเราก็จะค ้นพบ วิถท ี างของ
เราเองทีละน ้อยๆ อย่างเป็ นไปเอง ตามวิถธ ี รรมชาติ

77
• ผลของการปฏิบต ั ภ
ิ าวนา คือประสบการณ์แห่งการตืน ่ ทีม ี วี ต
่ ช ิ ชีวา
ซึง่ พิสจ ู น์วา่ เป้ าหมายทีด ่ เู หมือนจะสุดเอือ้ ม สามารถจะเข ้าถึงได ้
ในชีวต ิ นีข ้ องเรา ยิง่ เราดืม่ ดํา่ ต่อการปฏิบต
ั ภิ าวนามากเท่าใด เรา
ก็ยงิ่ พบว่า เรากับสรรพสิง่ เป็ นเอกภาพเดียวกัน และพบว่า การ
ปฏิบต ั ภ ิ าวนานัน ้ เป็ นยอดแห่งการแสดงออกซึง่ ธรรมชาติทแ ี่ ท ้
ของเราทีส ่ มบูรณ์ทส ี่ ด

• ผู ้เริม
่ ศึกษาพุทธศาสนา จะต ้องมีศรัทธาพร ้อมทีจ ่ ะน ้อมรับและ
พร ้อมทีจ ่ ่ ามารถหยัง่ รู ้สรรพสิง่ ได ้
่ ะเปิ ดใจให ้กว ้าง ซึงเป็ นจิตทีส
ตามทีม ่ น
ั เป็ นจริง ในแวบหนึง่ ก็อาจหยัง่ รู ้ถึงธรรมชาติทแ ี่ ท ้ดัง้ เดิม
ของสรรพสิง่ ทัง้ ปวง แล ้วเราก็จะดํารงทัศนคติเช่นนีใ้ นการปฏิบต ั ิ
ภาวนาในชีวต ิ ประจําวัน

• การปฏิบต ั ภ
ิ าวนาในวิถข ี องทางสายกลางหรือไตรสิกขา จะทําให ้
เราได ้เห็นตัวตนทีแ ่ ท ้จริงของเรา และความวิเศษมหัศจรรย์ทเี่ รา
เห็นนัน
้ ก็เป็ นเพียงธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของเราและสรรพสิง่ นั่นเอง เมือ ่
เราได ้เรียนรู ้ทีจ
่ ะดํารงอยูต ่ ามธรรมชาติอย่างเป็ นอิสระได ้ การ
แบ่งแยกและความแตกต่างระหว่างเรากับสรรพสิง่ จะละลาย
หายไปในกระแสแห่งชีวต ิ อันลึกซึง้ เราจะมีชวี ต
ิ ชีวา รืน
่ เริงใน
ความเบ่งบานแห่งพุทธจิต อันเป็ นรหัสยนัยแห่งชีวต ิ

ิ ปะของชวี ต
สาร ัตถะทีเ่ ป็นศล ิ

78
• สิง่ หนึง่ ทีค่ นทั่วไปสนใจใฝ่ ศึกษาน ้อยทีส ่ ด ุ คือเรือ ่ งของชีวต ิ
ขณะทีค ่ วามรู ้ทุกสาขาโดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ ได ้ขยายไปอย่าง
กว ้างไกล แต่ชวี ต ิ กลับเป็ นสิง่ ทีถ
่ ก
ู ละเลย ชีวต ิ จึงเป็ นเพียง
อุปกรณ์ในการใฝ่ หา วัตถุ ลาภ ยศ อํานาจ มาสนองความต ้องการ
ของตัวตน ซึง่ เข ้าใจว่ามีอยูจ ่ ริง ในทีส่ ดุ ก็คด ิ เอาว่า วัตถุ ลาภ ยศ
อํานาจเป็ นตัวชีวต ิ ไป จึงเป็ นทัศนะทีส ่ ดุ จะตืน ้ เขิน ความตืน ้ เขิน
ดังกล่าวจึงสกัดกัน ้ โอกาสทีจ ่ ะพัฒนาสูส ่ งิ่ สูงสุดทีช ่ วี ต
ิ พึงได ้รับ

• การอยูเ่ หนือประสบการณ์ทถ ี่ ก
ู ตีกรอบตามความคุ ้นเคยเดิมๆ
โดยนัยนี้ ย่อมทําให ้จิตใจเป็ นอิสระ เปิ ดกว ้างต่อการเรียนรู ้ และ
พร ้อมทีจ ่ ะพัฒนาอยูเ่ สมอ จิตทีเ่ ปิ ดกว ้างของผู ้เริม่ แสวงหาและ
่ ฝึ กฝนนีเ้ อง ทีเ่ ป็ นสิง่ สําคัญยิง่ สําหรับการเข ้าถึงรหัสยนัยแห่ง
เริม
ชีวต ิ ซึง่ ไปพ ้นการคาดคิดใดๆ ทัง้ สิน ้

• การทําใจให ้เปิ ดกว ้าง ละทิง้ ทุกสิง่ ทีเ่ คยรู ้มา และรับรู ้สิง่ ต่างๆตาม
ความเป็ นจริง ปล่อยให ้มันเป็ นไปเองตามธรรมชาติ หน ้าทีข ่ องผู ้
ทีป่ ฏิบต
ั ภ
ิ าวนา คือเพียงรู ้และดูอยูเ่ ฉยๆ อย่างปราศจากความ
พยายาม หรือกําหนดหมาย เพราะทัง้ ความรู ้แจ ้งและพุทธภาวะ
ล ้วนมีอยูแ่ ล ้วในธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของเราทุกคน ซึง่ จะแสดงออกเมือ ่
จิตของเราเปิ ดกว ้าง

• สําหรับผู ้ใฝ่ หาทีจ


่ ะสัมผัสกับสารัตถะของชีวต ิ โดยตรงแล ้ว ทาง
สายกลางเป็ นวิถท ี เี่ ป็ นศิลปะอย่างยิง่ ของการเข ้าถึงตัวชีวต ิ ที่
แท ้จริง โดยอาศัยทุกจังหวะของชีวต ิ ให ้เป็ นประโยชน์แก่การ
ปฏิบต ั ภ
ิ าวนา ไม่เลือกว่าสุขหรือทุกข์ แม ้ความผิดพลาดก็
กลายเป็ นปั จจัยเกือ ้ กูลชีวต ิ ให ้งอกงาม ดังวัชพืชทีก ่ ลายเป็ นปุ๋ย
บํารุงต ้นไม ้ ความล ้มเหลวกลับกลายเป็ นประสบการณ์ทล ี่ ํ้าค่ายิง่
สําหรับการเรียนรู ้ ชนิดทีผ ่ ู ้ราบรืน
่ ในการปฏิบต ั ิ ไม่อาจมีได ้
79
• ผู ้ทีเ่ ข ้าถึงประสบการณ์ตรงต่อสัจจะและพัฒนาจนเป็ นพืน ้ ฐาน
ของชีวต ิ แล ้ว ย่อมเข ้าถึงสารัตถะของชีวต ิ ทีเ่ ป็ นศิลปะของการ
ดําเนินชีวต ิ อย่างยิง่ และกําลังค ้นพบความหมายของชีวต ิ ที่
แท ้จริง แล ้วธรรมชาติอน ั สมบูรณ์เต็มเปี่ ยมจักแสดงออกร่วมกับ
กิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวันของเรา นีค ่ อื มรรควิถแ ี ห่งการ
ปฏิบต ั ภ ิ าวนาทีเ่ ป็ นศิลปะอย่างยิง่

เคล็ ดล ับของการฝึ กฝนภาวนา

• สําหรับการศึกษาพุทธศาสนา สิง่ ทีส ่ ําคัญทีส


่ ด
ุ คือการไม่คด ิ อย่าง
ทวิลก ั ษณ์ จิตประภัสสรของเรานัน ้ รวมทุกๆสิง่ เอาไว ้ในตนเอง
ความติดยึดในอัตตาตัวตนทําให ้จิตอันกว ้างใหญ่ไพศาลคับแคบ
ลง เมือ ่ ไม่มคี วามคิดในเรือ
่ งตัวตน ย่อมเรียนรู ้ได ้อย่างแท ้จริงและ
รวมเป็ นเอกภาพกับสรรพสิง่ จึงปราศจากขอบเขตอันจํากัดอีก
ต่อไป สิง่ ทีส ่ ําคัญและยากทีส ่ ด
ุ คือการดํารงรักษาจิตประภัสสร
ดัง้ เดิมอันไร ้ขอบเขตไว ้เสมอ มันเป็ นเคล็ดลับอย่างยิง่ ของศิลปะ
การฝึ กฝนภาวนา

• ในการปฏิบต ั ภ
ิ าวนา เราจะต ้องมีทัศนะทีถ ่ ก
ู ต ้อง คือมีความ
เชือ่ มัน
่ อย่างแรงกล ้าในธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของเราทีจ ่ ะต ้องแสดงออก
ร่วมกับการกระทําในทุกขณะ “มันช่างวิเศษเหลือเกินในขณะทีก ่ ้ม
ลงกราบพระพุทธรูป” หากเราปราถนาทีจ ่ ะแสดงออกธรรมชาติท ี่
แท ้ เราก็ต ้องดําเนินตามมรรควิถท ี เี่ ป็ นไปเองตามธรรมชาติในทุก
อิรย ิ าบถ อะไรก็ตามทีเ่ รากระทําล ้วนเป็ นการแสดงออกธรรมชาติ
ทีแ่ ท ้และความจริงใจ

80
• ชีวติ ของเราจําเป็ นอย่างยิง่ ทีจ
่ ะต ้องรักษาความสมดุลย์เอาไว ้
และมีสมาธิในชีวต ิ ประจําวันอันเป็ นธรรมดา ถ ้าจิตของเราสงบ
มัน
่ คงอยูเ่ สมอ เราจะรักษาตัวเองจากโลกทีส ั สนวุน
่ บ ่ วายได ้

• นอกจากจะมีทศ ั นะทีถ
่ ก
ู ต ้องแล ้ว เราจะต ้องมีการปฏิบต ั ทิ ถ
ี่ ก
ู ต ้อง
ด ้วย เพือ
่ ทีธ ่ รรมชาติทแ ี่ ท ้จริงของเราจะได ้แสดงออกโดยตรงใน
การฝึ กสมาธิภาวนา สําหรับชีวต ิ ของคนเราแล ้ว ไม่มก ี ารฝึ กฝน
ชนิดใดทีย ่ งิ่ ใหญ่ไปกว่าการฝึ กฝนชนิดนี้ ไม่มวี ถ ี วี ต
ิ ช ิ อืน่ ใดเลยที่
มหัศจรรย์และเป็ นศิลปะยิง่ ไปกว่านี้

• ถ ้าเราคิดว่ากายกับจิตใจเป็ นสองสิง่ ทีแ ่ ยกจากกัน หรือคิดว่า เป็ น


หนึง่ เดียวกัน นับเป็ นการเข ้าใจทีค่ ลาดเคลือ ่ น ทีจ
่ ริงร่างกายและ
จิตใจของเราเป็ นทัง้ สองและหนึง่ ในขณะเดียวกัน ใน
ประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ ชีวต ิ ของเรามิได ้มีเฉพาะความ
หลากหลายหรือองค์รวมเท่านัน ้ แต่ยงั มีความเป็ นเอกภาพด ้วย
เรามีทงั ้ ความเป็ นอิสระและการพึง่ พาอาศัยกันด ้วย มันคือสอง
ด ้านของเหรียญอันหนึง่

สายใยแห่งชวี ต

• เราควรค ้นให ้พบความสมบูรณ์ในความไม่สมบูรณ์ แล ้วตระหนัก


ชัดว่าความสมบูรณ์นัน ้ ก็ไม่แตกต่างจากความไม่สมบูรณ์ สิง่ ทีเ่ ป็ น
่ งจากสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นอมตะดํารงอยู่
อมตะดํารงอยูเ่ นือ

81
• เป้ าหมายของการภาวนา คือ การตระหนักชัดถึงความจริงของ
ชีวติ และดํารงอยูอ
่ ย่างมีอสิ ระภาพทัง้ กายและจิตใจ ทุกสิง่ เป็ น
เพียงแวบหนึง่ ของประกายแสงฟ้ าแลบในโลกแห่งปรากฏการณ์
การดํารงอยูข ่ องแต่ละสิง่ เป็ นการแสดงออกซึง่ คุณภาพของสิง่
นัน
้ ๆ

• ในความสงบควรมีกจิ กรรม ขณะใดมีความกลมกลืนในกิจกรรม


ขณะนัน้ มีความสงบ ความกลมกลืนคือคุณภาพของการดํารงอยู่
และก็ไม่ใช่อะไรอืน
่ นอกจากกิจกรรมทีม
่ ค
ี วามเคลือ
่ นไหวของ
สายใยแห่งชีวติ

• แต่ละคนเป็ นประกายแสงวาบหนึง่ ของปรากฏการณ์ในโลก แต่ก็


เป็ นเอกภาพเดียวกัน ทุกสิง่ ประกอบเป็ นคุณภาพแห่งการดํารงอยู่
ของเรา ถ ้าเราเข ้าใจความลับนี้ การปฏิบต ั ธิ รรมและการดําเนิน
ชีวติ ประจําวันจะไม่แตกต่างกัน เราก็จะเป็ นอิสระโดยสิน ้ เชิงจาก
ทุกสิง่ เข ้าถึงความไม่ม ี ไม่เป็ น เข ้าถึงความเป็ นธรรมชาติ นีค ่ อ

การดํารงอยูอ ่ ย่างแท ้จริงจากขณะหนึง่ ไปสูอ ่ ก
ี ขณะหนึง่ ทุกสิง่
ปรากฏออกมาจากความไม่ม ี ไม่เป็ น ซึง่ มีอยูต ่ ลอดเวลา แต่เรา
ไม่หยัง่ รู ้มันเพราะไม่วา่ เราจะทําอะไรมันมีแต่ความเป็ น ความมี

• ในการดํารงอยูเ่ ราจะต ้องแสวงหา “หนทาง” ของการดําเนินชีวต ิ


ทีแ
่ ท ้จริงด ้วยตนเอง “หนทาง” นัน ้ จะแสดงถึงความเป็ นสากลอัน
เป็ นรหัสยนัยของชีวต ิ เมือ
่ เราประจักษ์ แจ ้งในความเป็ นหนึง่ เรา
จะตระหนักชัดในความเป็ นทัง้ หมด หรือ ความสมบูรณ์ของชีวต ิ

82
เอกภาพคือความหลากหลาย

• ตราบใดทีเ่ รายังคิดตามความเคยชินเชิงอัตนิยมทีม ่ ต
ี ัวเองเป็ น
ศูนย์กลาง อยูก ั เหตุผลตรรกะ เราก็จะไม่สามารถซาบซึง้ กับสิง่
่ บ
ต่างๆตามความหมายทีแ ่ ท ้จริงได ้ กิจกรรมทีเ่ รากระทําอยูใ่ นความ
เป็ นทวิภาวะแห่งการแบ่งแยกเช่นนี้ จะทําให ้เราเข ้าไม่ถงึ
อิสระภาพอันสมบูรณ์ได ้

• ก่อนทีเ่ ราจะตระหนักชัดว่า สรรพสิง่ คือสุญญตา ทุกอย่างทีเ่ รา


รับรู ้ด ้วยประสาทสัมผัส ดูเหมือนจะดํารงอยูจ ่ ริงจัง พอเรา
ตระหนักชัดถึงสุญญตาของสรรพสิง่ ได ้ เราจึงไม่สามารถจะยึดถือ
การดํารงอยูข ่ องสิง่ ต่างๆได ้อีกต่อไป ความเป็ นอิสระภาพก็
เกิดขึน ้

• ชีวติ ทีส
่ มบูรณ์ของเรานัน ้ เหมือนเหรียญหนึง่ ทีม่ ส
ี องด ้าน มีทงั ้
ความเป็ นเอกภาพ และความหลากหลาย แต่เราก็ไม่ได ้เน ้นทีด ่ ้าน
ใดโดยเฉพาะ เพราะความเป็ นเอกภาพก็มค ี ณ
ุ ค่าและความ
หลากหลายก็งดงาม แต่ความหลากหลายและความเป็ นเอกภาพ
้ เป็ นสิง่ เดียวกัน เราจึงควรค ้นให ้พบความจริงในแต่ละขณะใน
นัน
ชีวต ิ ประจําวันของเรา

• เราควรยอมรับสิง่ ต่างๆอย่างทีม ่ นั เป็ น นีค ื การมองสิง่ ต่างๆของ


่ อ
เราและเป็ นวิธท
ี เี่ ราดํารงอยูใ่ นโลกนี้ ประสบการณ์เช่นนีอ ้ ยู่
นอกเหนือความคิด ในโลกของความคิดมีความแตกต่าง แต่ใน
ประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ ไม่มค ี วามแตกต่าง ไม่การแบ่งแยก ไป

83
พ ้นกาลเวลา นีค
่ อ
ื สถานทีอ
่ น
ั ศักดิส ิ ธิ์ ทีเ่ ปี่ ยมไปด ้วยอิสระภาพ
์ ท
เสรีภาพ และภราดรภาพ

• เราจะพบความหมายและคุณค่าของชีวต ิ ในกิจการงานใน
ชีวต ิ ประจําวันมากกว่าการนั่งนิง่ ๆ เหมือนกับ “เมฆมีไว ้เพือ ่ ดวง
จันทร์ สายลมมีไว ้สําหรับดอกไม ้” ถ ้าการปฏิบต ั ภ
ิ าวนาของเราทํา
ให ้เกิดความเข ้าใจทีถ
่ ก
ู ต ้อง ไม่วา่ จะทําอะไร กิจกรรมนัน ้ ก็จะ
ตัง้ อยูบ
่ นฐานของธรรมชาติทแ ี่ ท ้ ความสําเร็จก็จะเกิดขึน
้ ทีละน ้อย

• การปฏิบต ิ ทีถ
่ ก
ู ต ้องนีเ้ อง คือวิถชี วี ต
ิ ทีแ
่ ท ้จริง ถ ้าเราไม่รู ้จัก
สภาวะดิมแท ้ของสรรพสิง่ เราย่อมไม่สามารถซาบซึง้ กับ
ผลสําเร็จของความมานะบากบัน ่ ของเราได ้ ในความพากเพียร
เราจะต ้องมีนัยบางอย่างทีเ่ ป็ นการค ้นพบธรรมชาติเดิมแท ้ของ
ความเพียรเป็ นพืน ้ ฐาน พุทธะย่อมเผยตัวของมันเอง

ความงามของชวี ต

• ่ เรากลับเข ้าหาธรรมชาติดงั ้ เดิมของเราและอาศัยสิง่ นีเ้ ป็ น


เมือ
รากฐานของความพากเพียร บําเพ็ญภาวนาอย่างต่อเนือ ่ ง เราก็จะ
่ ชมกับผลสําเร็จของความพากเพียรในทุกขณะ วันแล ้ววัน
ได ้ชืน
่ ชมกับวิถช
เล่า ปี แล ้วปี เล่า เราจึงชืน ี วี ต
ิ แบบนี้

• การฝึ กฝนหมายถึงการรักษาธรรมชาติดงั ้ เดิมทีแ ่ ท ้ของเราไว ้


อย่างทีม ่ น ่
ั เป็ น มันเป็ นสิงทีว่ เิ ศษมหัศจรรย์จริงๆ ทีม ่ นุษย์ทก
ุ คน
ควรหยัง่ รู ้มันหรือไม่รู ้ก็ตาม แต่ถ ้าเรารู ้ เราก็เป็ นพุทธะ ถ ้าเราไม่รู ้
เราก็เป็ นปุถช ุ น มันครอบคลุมทุกสิง่ อยูใ่ นมัน กิจกรรมอัน
84
หลากหลายของชีวต ิ ก็ดํารงอยูใ่ นมัน ในการปฏิบต ั ภ
ิ าวนาก็เพือ

แสดงออกถึงสิง่ นี้ จึงไม่เน ้นทีอ ่ ริ ย
ิ าบถใดอิรย
ิ าบถหนึง่ โดยเฉพาะ
แต่เราเน ้นทีต
่ วั ชีวต
ิ ทีแ
่ ท ้จริงโดยตัวของมันเอง คือสัจจะอันติมะ

• คําสอนของพระพุทธองค์โดยอรรถะแล ้วมีอยูใ่ นทุกหนทุกแห่ง


การดํารงอยูข ่ องสรรพสิง่ ก็อยูใ่ นแต่ละขณะ “เดือนนีเ้ ป็ นฤดูฝน
ฝนตกเกือบทุกวัน” เราต ้องหยัง่ รู ้อรรถะคําสอนในทัศนะนี้ เราจึง
จะได ้ชืน ่ ชมความงามของชีวต ิ ทีเ่ หนือจิตสํานึกขึน
้ ไป ทีน
่ ัน
้ แหละ
ทีเ่ ราต ้องสร ้างฐานทีม
่ น
ั่ ของการปฏิบต ั ภ
ิ าวนา

• ความจริงแล ้วความว่างของจิตไม่ได ้เป็ นสภาวะ แต่มน ั เป็ นสาระ


เดิมแท ้ของขันธ์ห ้า บางครัง้ เราเรียกมันว่า จิตเดิมแท ้ จิต
ประภัสสร พุทธภาวะ ความว่าง สุญญตา ทัง้ หมดนีห ้ มายถึง
ความสงบสันติอย่างสมบูรณ์ของจิต ซึง่ เราจะต ้องมีความเชือ ่ มัน

ในสิง่ นีข
้ องเรา และดํารงอยูร่ ว่ มกับมันในทุกขณะและในทุกแห่ง
หน

• ธรรมชาติของพุทธภาวะเป็ นธรรมชาติดงั ้ เดิมของเรา อยูก ่ บ


ั เรา
ตลอดเวลา การบรรลุธรรมก็คอ ื การบรรลุพท ุ ธภาวะอยูเ่ สมอ และ
ตระหนักชัดถึงสรรพสิง่ มันเป็ นตามทีม ั เป็ น สรรพสิง่ แสดงออก
่ น
ถึงพุทธภาวะอยูต ่ ลอดเวลา นั่นคือสรรพสิง่ ปฏิบต ั พ
ิ ท
ุ ธกิจตาม
วิถที างของมัน ในอาณาจักรของจิตสามัญสํานึกทีเ่ รารับรู ้ทาง
ประสาทสัมผัสเป็ นเพียงส่วนหนึง่ ขอบเขตหนึง่ ของสิง่ ทีเ่ รา
เป็ นอยูจ
่ ริงๆอย่างสมบูรณ์

ว ัชพืชของจิต

85
• การปฏิบต ั ท
ิ ถ
ี่ ก
ู ต ้องทําให ้เข ้าถึงประสบการณ์ตรงต่อสัจจะของ
สรรพสิง่ ความเข ้าใจทีแ ่ ท ้จริงเกิดจากประสบการณ์ตรงต่อสัจจะ
ทีต่ ระหนักชัดว่า สรรพสิง่ คือสุญญตา กล่าวโดยย่อ สรรพสิง่ ก็คอ ื
จิตเดิมแท ้ หรือ จิตประภัสสรทีเ่ ป็ นธรรมชาติทแ ี่ ท ้ของเรานั่นเอง
จึงทําให ้เราเข ้าใจตนเอง เข ้าใจชีวต ิ ชีวต
ิ ทีแ
่ ท ้จริงโดยตัวของมัน
เองก็คอ ื สัจธรรม จึงเข ้าใจสัจธรรม โดยตัวของมันเองทีแ ่ สดงออก
ร่วมกับกิจกรรมต่างๆในชีวต ิ ประจําวัน

• การกําหนดจิตอยูก ั สิง่ ใดสิง่ หนึง่ ไม่ใช่เป้ าหมายหลักของพุทธ


่ บ
ศาสนา แต่เป้ าหมายทีแ ่ ท ้คือ การมองสิง่ ต่างๆตามความเป็ นจริง
ตามทีม ั เป็ น ยอมรับรู ้ตามสภาพของมันและปล่อยให ้ทุกๆสิง่
่ น
ดําเนินไปตามทีม ่ น
ั ควรจะเป็ นไป นีค ื การทําให ้ทุกๆสิง่ อยูภ
่ อ ่ ายใต ้
กฏระเบียบทีเ่ รียกว่าวินัย ในขอบเขตอันกว ้างไกล

• อีกนัยหนึง่ ของการปฏิบต ั ภิ าวนาก็เพือ ่ ปลุกธาตุรู ้พร ้อม รู ้ในความ


เป็ นทัง้ หมดให ้ตืน
่ ขึน
้ ขจัดจิตทีค่ ับแคบ เข ้าสูจ ่ ต
ิ ทีไ่ พศาล เพือ ่
เข ้าถึงความเป็ นอิสระภาพอันสมบูรณ์ ดังนัน ้ ความเข ้าใจทีแ ่ ท ้จริง
ถูกต ้องก็คอื ตัวการปฏิบต ั ภิ าวนาทีถ ่ ก
ู ต ้องหรือการเข ้าถึง
ประสบการณ์ตรงต่อสัจธรรมนั่นเอง

• การเข ้าถึงประสการณ์ตรงต่อสัจจะ ทําให ้ทุกสิง่ รวมอยูใ่ นจิต


ประภัสสรอันไพศาล ถือเป็ นความรู ้สึกทางศาสนา เราจึงรืน ่ รมย์
ต่อทุกแง่มมุ ของชีวติ ทีเ่ ป็ นการแผ่ขยายของจิตอันกว ้างไพศาลที่
ไม่กําหนดหมายอยูก ่ บั สิง่ ใดๆ

86
ความเข้าใจชวี ต
ิ ทีแ
่ ท้จริง

• เราน่าจะขอบใจเจ ้าวัชพืชทีเ่ กิดขึน ้ ในจิตใจของเรา เพราะมันจะ


เกือ
้ กูลต่อการปฏิบตั ภ
ิ าวนาและความเข ้าใจทีแ ่ ท ้จริงของเรา เรา
จึงควรเผาไหม ้ตนเองให ้สิน ้ ซากในทุกการกระทํา ธรรมชาติของ
มนุษย์นัน ้ ปราศจากอัตตาตัวตน ความคิดเชิงอัตตาเป็ นเพียงมายา
ทีป
่ ิ ดบังพุทธะภาวะทีท่ ก
ุ คนมีอยูแ ่ ล ้ว เราจึงเน ้นทีค ่ มัน
่ วามเชือ ่
อย่างจริงจังในธรรมชาติทแ ี่ ท ้ดัง้ เดิมของเรา และมีความจริงใจมี
ความเพียรอย่างถูกต ้องในการฝึ กฝนสมาธิภาวนา

• เรามักสร ้างความคิดเชิงอัตตาอยูเ่ สมอ ทําให ้ชีวติ ของเราถูกจอง


จําอยูใ่ นวัฏฏะวังวนแห่งวัฏฏะสงสาร ทีม ่ ต
ี ัวตน เป็ นศูนย์กลาง
ชีวต
ิ จึงเป็ นไปตามกรรม จุดมุง่ หมายของการปฏิบต ั ก
ิ เ็ พือ
่ ตัด
กระแสแห่งกรรมนี้ หากการปฏิบต ั ภ
ิ าวนาของเราไม่ถก ู ต ้อง เราก็
ไม่สามารถออกไปจากวัฏฏะสงสารได ้

• การเข ้าใจตัวเอง เข ้าใจศาสนา จึงไม่ใช่เข ้าใจด ้วยปั ญญาระดับ


เหตุผลหรือตรรกะ ความเข ้าใจทีแ ่ ท ้จริง เป็ นการแสดงออกในตัว
ของมันเอง เป็ นการปฏิบต ั ภ
ิ าวนาในตัวของมันเอง ในมรรควิถ ี

87
ปราศจากอัตตาตัวตนเข ้ามาเกีย
่ วข ้อง ดังนัน้ ในทุกการกระทํา จึง
เป็ นการแสดงออกของธรรมชาติทแ ี่ ท ้แห่งจิตประภัสสรดัง้ เดิม
ของเราเอง

88
89

You might also like