You are on page 1of 15

รายงานการวิจัย

ผลของกลุ่มจิตบำ�บัดแบบประคับประคองต่อการรับรู้ความสามารถของตนและ
ความตั้งใจในการเลิกเสพสารเสพติดในวัยรุ่นที่ติดสารแอมเฟตามีน*
The Effects of Supportive Group Psychotherapy on Perceived Self-efficacy and
Intention to Drug Abstinence among Adolescents with Amphetamine Addiction*
สุนทรีย์ โบราณ, พย.ม. (การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช) 1
Soonthree Boran, M.N.S. (Mental Health and Psychiatric Nursing) 1
ชนัดดา แนบเกษร, Ph.D. (Medical Science) 2 ดวงใจ วัฒนสินธุ์, Ph.D. (Nursing) 3
Chanudda Nabkasorn, Ph.D. (Medical Science) 2 Duangjai Vatanasin, Ph.D. (Nursing) 3

Received: March 3, 2019 Revised: March 24, 2019 Accepted: April 9, 2019

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคองต่อการรับรู้
ความสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนและความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนในวัยรุน่ ทีต่ ดิ
สารแอมเฟตามีน กลุม่ ตัวอย่างเป็นวัยรุน่ ชายทีม่ ารับการบ�ำบัดสารแอมเฟตามีนทีศ่ นู ย์สขุ ภาพชุมชนเจริญราษฎร์
อ�ำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ จ�ำนวน 24 คน แบ่งออกเป็นกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม กลุม่ ละ 12 คน
เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แผนการท�ำกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล
แบบสอบถามการรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน มีคา่ ความเชือ่ มัน่ .82 และแบบสอบถาม
ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน มีคา่ ความเชือ่ มัน่ .94 ด�ำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลในช่วง
วันที่ 3 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 29 ธันวาคม 2558 วิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยสถิตคิ วามถี่ ร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบน
มาตรฐาน independent t-test และ two-way repeated measures ANOVA โดยทดสอบความแตกต่างรายคู่
ด้วยวิธี Bonferroni

* วิทยานิพนธ์หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา


* Master’s Thesis of Nursing Science Program in Mental Health and Psychiatric Nursing, Faculty of Nursing,
Burapha University
1
มหาบัณฑิต สาขาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
1
Master, Program in Mental Health and Psychiatric Nursing, Faculty of Nursing, Burapha University
1
ผู้เขียนหลัก (Corresponding author) E-mail: sudthong3@hotmail.com
2
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
2
Assistant Professor, Faculty of Nursing, Burapha University: Major Advisor
3
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา: อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม
3
Assistant Professor, Faculty of Nursing, Burapha University: Co-advisor

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


173
PAGE
ผลการวิจัยพบว่า 1) ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุ่มทดลองมี
คะแนนเฉลีย่ การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิก
เสพสารแอมเฟตามีน สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .001) และ 2) ระยะก่อนการทดลอง
ระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ การรับรูค้ วามสามารถ
ของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน แตกต่างกัน
อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .001)
จากการวิจยั ครัง้ นีม้ ขี อ้ เสนอแนะว่า บุคลากรทางสุขภาพควรน�ำหลักการท�ำกลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง
ไปใช้กับผู้ติดสารเสพติดชนิดต่างๆ เพื่อเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิกเสพสารเสพติดและ
ความตั้งใจในการเลิกเสพสารเสพติด
ค�ำส�ำคัญ: กลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง การรับรู้ความสามารถของตน
ความตั้งใจในการเลิกเสพสารเสพติด วัยรุ่น การติดสารแอมเฟตามีน

Abstract
This quasi-experimental research aimed to examine the effects of supportive group
psychotherapy on perceived self-efficacy toward amphetamine abstinence and intention to
amphetamine abstinence among adolescents with amphetamine addiction. The samples
consisted of 24 male adolescents receiving amphetamine therapy at Charoenrat Community
Health Center, Bangsaothong District, Samutprakan Province and were equally divided
into an experimental group (n = 12) and a control group (n = 12). The research instruments
comprised the supportive group psychotherapy, a questionnaire of demographic data, the Drug
Abstinence Self-Efficacy Scale with the reliability of .82, and a questionnaire of intention
to amphetamine abstinence with the reliability of .94. The implementation and data collection
were conducted from November 3 to December 29, 2015. Statistics used for data analysis
included frequency, percentage, mean, standard deviation, independent t-test, and two-way
repeated measures ANOVA with multiple comparisons by Bonferroni.
The research results revealed that 1) at post-test and 1-month follow-up period,
the experimental group had statistically significant higher mean scores of perceived self-efficacy
toward amphetamine abstinence and intention to amphetamine abstinence than the control
group (p < .001); and 2) at pre-test, post-test, and 1-month follow-up period, the experimental
group had statistically significant different mean scores of perceived self-efficacy toward
amphetamine abstinence and intention to amphetamine abstinence (p < .001).
This research suggests that health care providers should appropriately apply
the principles of supportive group psychotherapy for people with drug addiction in order
to enhance their perceived self-efficacy toward drug abstinence and intention to drug abstinence.
Keywords: Supportive group psychotherapy, Self-efficacy, Intention to drug abstinence,
Adolescent, Amphetamine addiction

วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562


174
PAGE
ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา ระบบประสาท ท�ำให้เกิดอาการทางจิต เช่น ประสาทหลอน
ในปัจจุบนั การใช้สารแอมเฟตามีนจัดเป็นปัญหา เห็นภาพหลอน อาจท�ำร้ายตนเอง หรือท�ำร้ายผู้อื่นได้
ทีส่ ำ� คัญของประเทศไทย จากการรายงานของคณะกรรมการ (ไพฑูรย์ แสงพุ่ม และธนะรัชต์ นามผลดี, 2550)
ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ในช่วงปี พ.ศ. 2553- ผลจากการเสพสารแอมเฟตามีน ยังสร้างปัญหา
2555 มีผถู้ กู จับกุมคดีสารเสพติดประเภทสารแอมเฟตามีน ความรุนแรงและความแตกแยกในครอบครัว และปัญหา
จ�ำนวน 183,110 คน, 234,760 คน และ 203,771 คน ทางสังคมต่างๆ เช่น ปัญหาอาชญากรรม จากการส�ำรวจ
ตามล�ำดับ (ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม ข้อมูลสารเสพติดของภาครัฐและภาคเอกชน พบปัญหา
ยาเสพติด, 2555) จากสถิตขิ องสถาบันธัญญารักษ์ ในช่วง การแพร่ระบาดของสารเสพติดทีท่ วีความรุนแรงในกลุม่ วัยรุน่
ปี พ.ศ. 2553-2555 พบว่า ผูเ้ ข้ารับการบ�ำบัดสารเสพติด เนือ่ งจากเป็นช่วงวัยทีม่ ลี กั ษณะเอือ้ ต่อการเข้าไปเกีย่ วข้อง
นั้ น เป็ น ผู ้ เข้ า รั บการบ�ำบัดประเภทสารแอมเฟตามีน กั บ สารเสพติ ด อี ก ทั้ ง ปั จ จั ย จากตนเอง คื อ เป็ น วั ย ที่
มากที่ สุ ด โดยมี จ� ำ นวน 1,995 คน, 2,575 คน และ ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการค้นหาและสร้างตัวตน
1,825 คน คิดเป็นร้อยละ 49.40, 42.08 และ 41.42 ต้องการเป็นที่ยอมรับ อีกทั้งมีแรงผลักทางอารมณ์สูง
ของผูเ้ ข้ารับการบ�ำบัดทัง้ หมด ตามล�ำดับ (สถาบันธัญญารักษ์, ท�ำให้เกิดภาวะทางอารมณ์ เช่น น้อยใจ เศร้าใจ คับข้องใจ
2556) และในช่วงปี พ.ศ. 2553-2555 เช่นกัน พบว่า ได้ง่าย ในขณะเดียวกันก็กล้าบ้าบิ่น กล้าเสี่ยงกับสิ่งที่
ผูเ้ ข้ารับการบ�ำบัดสารเสพติดเป็นวัยรุน่ มากทีส่ ดุ คิดเป็น ท้าทาย ซึ่งแรงกระตุ้นเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงที่น�ำ
ร้อยละ 54.40, 61.76 และ 45 ของผู้เข้ารับการบ�ำบัด วัยรุ่นไปสู่วงจรของการเสพสารเสพติด จากรายงานของ
ทัง้ หมด ตามล�ำดับ (ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและ สถาบันธัญญารักษ์ ในปี พ.ศ. 2556 พบว่า วัยรุ่นที่เสพ
ปราบปรามยาเสพติด, 2555) สารแอมเฟตามีนจะมีมโนภาพแห่งตนในด้านลบ คิดว่า
การเสพสารแอมเฟตามีนส่งผลต่อร่างกายและ ตนเองมีปมด้อย ขาดความเชื่อมั่น รับรู้ความสามารถ
จิตใจของผู้เสพ โดยจะออกฤทธิ์กระตุ้นการท�ำงานของ ของตนเองต�ำ่ จึงเสพสารแอมเฟตามีนเพือ่ ช่วยให้ตนเอง
ระบบประสาทส่วนกลางในส่วน limbic system โดยเฉพาะ เกิดความมัน่ ใจมากขึน้ เป็นทีย่ อมรับของกลุม่ และวัยรุน่
amygdala ซึ่งท�ำหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์และ กลุ่มนี้ไม่สามารถเลิกเสพสารแอมเฟตามีนได้ทั้งๆ ที่รู้ว่า
ความพึงพอใจ กระตุน้ ให้สมองหลัง่ สารโดปามีน (dopamine) สารแอมเฟตามีนเป็นสิ่งไม่ดี แต่ไม่กล้าปฏิเสธเมื่อถูก
ออกมาในปริมาณมากกว่าปกติ ผู้ที่เสพในระยะแรกๆ เพือ่ นชวนให้เสพสารแอมเฟตามีน (สถาบันธัญญารักษ์,
จะรูส้ กึ มีความสุข จากนัน้ ร่างกายจะปรับตัวโดยลดการหลัง่ 2556)
สารโดปามีนตามธรรมชาติลง เมื่อหมดฤทธิ์ของสาร จากข้อมูลข้างต้น วัยรุ่นที่เสพสารแอมเฟตามีน
แอมเฟตามีน ร่างกายจึงเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย จิตใจหดหู่ จึงควรได้รับการเสริมสร้างให้มีการรับรู้ความสามารถ
หงุดหงิดง่าย หรือซึมเศร้า หากเสพสารแอมเฟตามีน ของตน (self-efficacy) เพื่อให้เห็นคุณค่าของตนเอง
ไปนานๆ สมองส่วน cerebral cortex ซึง่ ท�ำหน้าทีค่ วบคุม มี ค วามมั่ น ใจ กล้ า เผชิ ญ ปั ญ หาด้ ว ยตนเอง สามารถ
สติปัญญาและความเป็นเหตุเป็นผลจะท�ำหน้าที่ลดลง ด�ำเนินชีวติ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ซึง่ ตามทฤษฎีการรับรู้
จนกระทั่งสูญเสียหน้าที่ ท�ำให้การคิดและความจ�ำแย่ลง ความสามารถของตนเองทีพ่ ฒ ั นาโดย Bandura (1997)
ไม่สามารถแยกแยะเหตุผลได้ จะท�ำตามความต้องการและ เชือ่ ว่า บุคคลมีความสามารถทีจ่ ะกระท�ำพฤติกรรมให้บรรลุ
อารมณ์ของตนเอง โดยมักแสดงพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม ความส�ำเร็จตามเป้าหมายได้ ซึ่งการรับรู้ความสามารถ
เช่น ก้าวร้าว หงุดหงิด นอกจากนี้ การเสพสารแอมเฟตามีน ของบุคคลนั้นสามารถพัฒนาและส่งเสริมได้ หากวัยรุ่น
ต่อไป ยังท�ำให้สมองส่วนที่เก็บสะสมสารโดปามีนไว้ มีการรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารเสพติด
ถูกท�ำลาย สารโดปามีนจะถูกหลั่งออกมามากจนท�ำลาย ก็จะเกิดความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ท�ำให้

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


175
PAGE
สามารถเลิกเสพสารแอมเฟตามีนได้ (วันเพ็ญ อ�ำนาจกิตกิ ร, อันจะน�ำไปสู่การเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และสามารถ
2552) กลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
กลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคองตามแนวคิด
ของ Yalom (1995) เป็ น รู ป แบบที่ เ น้ น การช่ ว ยให้ วัตถุประสงค์การวิจัย
สมาชิกกลุม่ เกิดการเรียนรู้ ได้แนวทางในการแก้ไขปัญหา 1. เพือ่ เปรียบเทียบการรับรูค้ วามสามารถของตน
มีการประคับประคองจิตใจซึง่ กันและกัน โดยเน้นหลักการ ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนระหว่างกลุ่มทดลองกับ
“ที่น่ีและเดี๋ยวนี้ (here and now)” ท�ำให้สมาชิกกลุ่ม กลุ่มควบคุม ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และ
ตระหนักถึงความเป็นอันหนึง่ อันเดียวกันในช่วงเวลานัน้ ระยะติดตามผล 1 เดือน
กระบวนการกลุ่มจะก่อให้เกิดปัจจัยบ�ำบัดต่างๆ ที่ท�ำให้ 2. เพื่อเปรียบเทียบความตั้งใจในการเลิกเสพ
สมาชิกกลุม่ เกิดการเรียนรู้ นอกจากนี้ การสร้างสัมพันธภาพ สารแอมเฟตามีนระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม
ระหว่างบุคคลจะช่วยให้สมาชิกกลุ่มกล้าที่จะเปิดเผย ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล
ตนเอง มีการเรียนรูร้ ว่ มกัน และได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์ 1 เดือน
ทีด่ ี ได้รบั การยกย่องชมเชยจากสมาชิกกลุม่ ท�ำให้รสู้ กึ ว่า 3. เพือ่ เปรียบเทียบการรับรูค้ วามสามารถของตน
ตนเองมีคุณค่า ส่งผลให้การรับรู้ศักยภาพและการรับรู้ ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนของกลุม่ ทดลอง ระหว่าง
ความสามารถของตนสูงขึ้น จนเกิดความมุ่งมั่น น�ำไปสู่ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันที
ความตัง้ ใจ จนสามารถปรับเปลีย่ นพฤติกรรมไปในทางทีด่ ี และระยะติดตามผล 1 เดือน
และเหมาะสมมากขึ้ น (ภัท ราภรณ์ ทุ่งปันค�ำ, 2551) 4. เพื่อเปรียบเทียบความตั้งใจในการเลิกเสพ
โดยรูปแบบกลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคองได้ถกู น�ำมาใช้ สารแอมเฟตามีนของกลุ่มทดลอง ระหว่างระยะก่อน
ในประชากรกลุม่ ต่างๆ ดังการศึกษาของลลดา พลคะชา การทดลอง ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะ
(2554) ทีพ่ บว่า รูปแบบกลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง ติดตามผล 1 เดือน
ช่วยเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองในวัยรุน่ ทีเ่ สีย่ งต่อ
การดื่มแอลกอฮอล์ และการศึกษาของไข่มุก ไชยเจริญ, สมมติฐานการวิจัย
ชนัดดา แนบเกษร, และดวงใจ วัฒนสินธุ์ (2561) ทีพ่ บว่า 1. ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะ
โปรแกรมกลุม่ จิตบ�ำบัดบัดแบบประคับประคองช่วยเพิ่ม ติดตามผล 1 เดือน กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้
ความรูส้ กึ มีคณ ุ ค่าในตนเองและลดภาวะซึมเศร้าในผูเ้ ป็น ความสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนสูงกว่า
เบาหวานชนิดที่ 2 อย่างไรก็ตาม การน�ำรูปแบบกลุม่ จิตบ�ำบัด กลุ่มควบคุม
ดังกล่าวมาใช้ในการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถ 2. ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะ
ของตนและความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ติดตามผล 1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจ
ในวัยรุ่นยังมีค่อนข้างน้อย ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนสูงกว่ากลุ่มควบคุม
จากข้อมูลข้างต้น ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะศึกษาผลของ 3. ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง
กลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคองต่อการรับรูค้ วามสามารถ เสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุ่มทดลอง
ของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนและความตั้งใจ มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิก
ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนในวัยรุน่ ทีต่ ดิ สารแอมเฟตามีน เสพสารแอมเฟตามีนแตกต่างกัน
ซึง่ ผลการวิจยั ทีไ่ ด้จะเป็นประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั กิ ารพยาบาล 4. ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง
เพือ่ เสริมสร้างการรับรูค้ วามสามารถของตนและความตัง้ ใจ เสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุ่มทดลอง
ในการเลิกเสพสารเสพติดให้แก่วยั รุน่ ทีต่ ดิ สารแอมเฟตามีน มีคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
แตกต่างกัน
วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562
176
PAGE
กรอบแนวคิดในการวิจัย มี สั ม พั น ธภาพที่ ดี กั บ บุ ค คลอื่ น เกิ ด การเรี ย นรู ้ แ ละ
การวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ใช้กลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับ เข้าใจตนเองมากขึ้น เกิดการเลียนแบบจากตัวอย่างที่ดี
ประคองตามแนวคิดของ Yalom (1995) ซึง่ เน้นสัมพันธภาพ สามารถแก้ไขปัญหาของตนเอง รู้สึกภาคภูมิใจ เห็นถึง
ระหว่างบุคคล และหลักการ “ที่นี่และเดี๋ยวนี้ (here and ศักยภาพของตนมากขึน้ รับรูค้ วามสามารถของตนมากขึน้
now)” โดยผูน้ ำ� กลุม่ มีหน้าทีเ่ อือ้ อ�ำนวยในการพัฒนาและ เกิดความมุง่ มัน่ มีความกระตือรือร้นไปสูเ่ ป้าหมาย น�ำไปสู่
ด�ำเนินกลุ่ม กระบวนการกลุ่มส่งผลให้เกิดปัจจัยบ�ำบัด ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และการด�ำเนินชีวติ
ซึง่ เป็นเสมือนเป้าหมายส�ำคัญทีต่ อ้ งการให้เกิดกับสมาชิกกลุม่ ของตนเองทีเ่ หมาะสม สรุปเป็นกรอบแนวคิดในการวิจยั
ท�ำให้สมาชิกกลุ่มซึ่งเป็นวัยรุ่นที่ติดสารแอมเฟตามีน ได้ดงั แผนภาพที่ 1

กลุ่มบำ�บัดแบบประคับประคอง
ระยะที่ 1 ระยะเริ่มกลุ่ม
ครั้งที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพ การรับรู้ความสามารถของตน
ระยะที่ 2 ระยะทำ�งานร่วมกัน ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ครั้งที่ 2 การปรับทัศนคติและความเชื่อ
ครั้งที่ 3 การรับรู้สภาวะทางอารมณ์
ครั้งที่ 4 การได้เห็นประสบการณ์ที่ประสบความสำ�เร็จจากผู้อื่น
ครั้งที่ 5 การประสบความสำ�เร็จจากการกระทำ�ด้วยตนเอง
ครั้งที่ 6 การเสริมแรงของบุคคล ความตั้งใจในการเลิก
ครั้งที่ 7 การเสริมแรงของบุคคล เสพสารแอมเฟตามีน
ระยะที่ 3 ระยะยุติกลุ่ม
ครั้งที่ 8 การเสริมแรงของบุคคล

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

วิธีด�ำเนินการวิจัย 85 คน โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกกลุม่ ตัวอย่าง คือ 1) มีอายุ


การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi- อยูใ่ นช่วง 18-24 ปี 2) เข้ารับการบ�ำบัดสารแอมเฟตามีน
experimental research) ชนิดสองกลุ่ม วัดก่อน-หลัง เป็นครั้งแรก 3) มีสติสัมปชัญญะดี 4) สามารถสื่อสาร
การทดลอง และติดตามผล (two groups, pretest- ภาษาไทยได้ดี 5) มั่นใจว่าสามารถเข้าร่วมกลุ่มจิตบ�ำบัด
posttest and follow-up design) แบบประคับประคองได้ครบตามทีก่ ำ� หนด และ 6) ยินยอม
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรเป็นวัยรุน่ เข้าร่วมการวิจัย ส่วนเกณฑ์การยุติการเข้าร่วมการวิจัย
ชายที่มารับการบ�ำบัดสารแอมเฟตามีนที่ศูนย์สุขภาพ คือ 1) มีอาการทางจิตเฉียบพลันที่ไม่สามารถเข้าร่วม
ชุมชนเจริญราษฎร์ อ�ำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มจิตบ�ำบัดฯ ได้ 2) เข้าร่วมการวิจัยไม่ครบขั้นตอน
ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม 2558 จ�ำนวน และ 3) ขอถอนตัวจากการวิจัย ก�ำหนดขนาดตัวอย่าง

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


177
PAGE
ตามหลักการของ Polit and Hungler (1995) ทีร่ ะบุวา่ ครั้งที่ 3 การรับรู้สภาวะทางอารมณ์
การวิจยั กึง่ ทดลองควรมีกลุม่ ตัวอย่างอย่างน้อย 20-30 คน โดยจัดกิจกรรม “เราเป็นนายอารมณ์” เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่
หากมีการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม แต่ละกลุ่มไม่ควร สามารถวิเคราะห์และเข้าใจลักษณะอารมณ์ของตนเอง
น้อยกว่า 10 คน และการท�ำกลุม่ จิตบ�ำบัดควรมีสมาชิกกลุม่ และผู้อื่น รู้เท่าทันอารมณ์ สามารถปรับสมดุลอารมณ์
8-12 คน (Yalom, 1995) หากสมาชิกกลุ่มมากเกินไป และจัดการอารมณ์ทางลบได้ โดยให้สมาชิกกลุม่ ผลัดกัน
อาจท�ำให้ผบู้ ำ� บัด (ผูน้ ำ� กลุม่ ) ท�ำหน้าทีใ่ นการเอือ้ อ�ำนวย แสดงอารมณ์ตา่ งๆ และให้เพือ่ นสมาชิกกลุม่ ทาย จากนัน้ ให้
การท�ำกลุม่ ไม่ทวั่ ถึง ผูว้ จิ ยั จึงได้กำ� หนดจ�ำนวนกลุม่ ตัวอย่าง สมาชิกกลุม่ ร่วมกันแสดงความคิดเห็น แบ่งปันประสบการณ์
ทัง้ สิน้ 24 คน แบ่งออกเป็นกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม ของตนเอง และหาแนวทางในการจัดการกับอารมณ์ทางลบ
กลุม่ ละ 12 คน (เพือ่ เพิม่ โอกาสทีจ่ ะมีกลุม่ ตัวอย่างคงอยู่ เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ สามารถน�ำแนวทางและวิธกี ารไปปรับใช้
ในขั้นตอนสุดท้ายมากที่สุด) เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี กับตนเองได้อย่างเหมาะสม
การสุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลาก ครั้งที่ 4 การได้เห็นประสบการณ์ที่
เครือ่ งมือการวิจยั เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ ประสบความส�ำเร็จจากผูอ้ นื่ โดยจัดกิจกรรม “ความส�ำเร็จ
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ที่มีคุณค่า” เพื่อให้สมาชิกกลุ่มได้เรียนรู้ประสบการณ์
ส่วนที่ 1 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการทดลอง คือ แผนการท�ำ ความส�ำเร็จของผูอ้ นื่ เพือ่ เสริมสร้างการรับรูค้ วามสามารถ
กลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตาม ของตนเอง และเกิดพฤติกรรมเลียนแบบ โดยให้สมาชิก
แนวคิดกลุ่มบ�ำบัดของ Yalom (1995) แบ่งออกเป็น กลุ่มแต่ละคนเล่าเหตุการณ์ความส�ำเร็จที่มีคุณค่าในชีวิต
3 ระยะ ประกอบด้วยกิจกรรมทั้งสิ้น 8 ครั้ง ดังนี้ หรือเรื่องที่ภาคภูมิใจ ให้เพื่อนสมาชิกกลุ่มชมเชย และ
ระยะที่ 1 ระยะเริ่มกลุ่ม มีกิจกรรม 1 ครั้ง ให้สมาชิกกลุ่มที่เล่าเหตุการณ์บอกความรู้สึกที่ได้รับ
ดังนี้ การชืน่ ชม เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ เกิดความภูมใิ จ เกิดแรงจูงใจ
ครัง้ ที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพ โดยจัด และมีก�ำลังใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
กิจกรรม “สร้างสัมพันธ์ผกู ไมตรี” ซึง่ เป็นการพบกันครัง้ แรก ครั้งที่ 5 การประสบความส�ำเร็จจาก
ของผูน้ ำ� กลุม่ และสมาชิกกลุม่ เพือ่ ให้ทกุ คนได้ทำ� ความรูจ้ กั การกระท�ำด้วยตนเอง โดยจัดกิจกรรม “อุปสรรคต้องฝ่าฟัน”
และสร้างความคุ้นเคยกัน เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดี และ เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ มีทกั ษะในการปฏิเสธเมือ่ อยูใ่ นสถานการณ์
เพื่ อ ให้ ส มาชิ ก กลุ ่ ม รั บ ทราบวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการท� ำ ที่เสี่ยงต่อการเสพสารแอมเฟตามีน โดยให้สมาชิกลุ่ม
กลุ่มจิตบ�ำบัดฯ และเข้าใจกฎกติกาที่ต้องปฏิบัติ เช่น พูดถึงเหตุการณ์ที่เกือบจะท�ำผิดพลาด แต่ไม่ได้ท�ำและ
การรักษาความลับของเพื่อนสมาชิกกลุ่ม ผ่านมาได้ แล้วแลกเปลี่ยนถึงสถานการณ์ที่ท�ำให้ตน
ระยะที่ 2 ระยะท�ำงานร่วมกัน มีกิจกรรม อาจต้ อ งกลั บ ไปเสพสารแอมเฟตามี น อี ก จากนั้ น ให้
6 ครั้ง ดังนี้ สมาชิกกลุม่ ช่วยกันหาแนวทางในการปฏิเสธการเสพสาร
ครัง้ ที่ 2 การปรับทัศนคติและความเชือ่ แอมเฟตามีน
โดยจัดกิจกรรม “รู้เท่าทันพิษภัยแอมเฟตามีน” เพื่อให้ ครัง้ ที่ 6 การเสริมแรงของบุคคล โดยจัด
สมาชิ ก กลุ ่ ม ได้ รั บ ความรู ้ เ กี่ ย วกั บ สารแอมเฟตามี น “กิจกรรมก้าวใหม่แห่งชีวติ ” เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ มีความมัน่ ใจ
โดยเรี ย นรู ้ จ ากบทความ “เรื่ อ งของน�้ ำ พุ ” จากนั้ น ให้ ในตนเอง เกิดความมุ่งมั่น ความตั้งใจในการเลิกเสพ
สมาชิกกลุม่ แสดงความคิดเห็นร่วมกัน หาแนวทางในการเลิก สารแอมเฟตามีน โดยผูน้ ำ� กลุม่ เล่าถึง “ชีวติ ใหม่ของโก้”
เสพสารแอมเฟตามีน เพือ่ น�ำไปปรับใช้กบั ตนอง ผูน้ ำ� กลุม่ ซึง่ เป็นสถานการณ์ทโี่ ก้เคยติดยาเสพติดแล้วเลิกได้สำ� เร็จ
สรุปและให้ความรู้เรื่องกลไกของสมองติดยาและพิษภัย จนได้รับการยอมรับจากครอบครัวและเพื่อนๆ ท�ำให้โก้
ของสารแอมเฟตามีน และให้ก�ำลังใจสมาชิกกลุ่ม เหมือนมีชีวิตใหม่ จากนั้นให้สมาชิกกลุ่มร่วมกันแสดง

วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562


178
PAGE
ความคิดเห็นและความรูส้ กึ ร่วมกันมองหาจุดแข็งของโก้ Abstinence Self-Efficacy Scale) ของสงวน ธานี (2547)
และน�ำมาวิเคราะห์จดุ แข็งของตนเองทีจ่ ะน�ำมาใช้ในการเลิก ที่สร้างขึ้นตามทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง
เสพสารแอมเฟตามีน ของ Bandura ปี ค.ศ. 1987 และ 1997 เป็นการวัด
ครัง้ ที่ 7 การเสริมแรงของบุคคล โดยจัด ความเชือ่ มัน่ ว่าจะไม่เสพสารแอมเฟตามีนในสถานการณ์
กิจกรรม “เป้าหมายชีวติ ฉันนับจากนี”้ เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ ต่างๆ ซึง่ ประกอบด้วยอารมณ์ทางลบและความคับข้องใจ
ตระหนักรูถ้ งึ เป้าหมายในชีวติ ของ ตนเอง โดยให้ดวู ดิ โี อ จ�ำนวน 9 ข้อ ความไม่สุขสบายทางกาย จ�ำนวน 2 ข้อ
เรือ่ ง “หน่อค�ำ สมสวัสดิ์ (ผูท้ อแสงแห่งความหวังให้ผพู้ กิ าร)” อารมณ์ทางบวกและสถานการณ์ทางสังคม จ�ำนวน 3 ข้อ
จากรายการคนค้นฅน (ใช้เวลา 10 นาที) ซึง่ เป็นเรือ่ งราว และสิง่ กระตุน้ จ�ำนวน 4 ข้อ จ�ำนวนทัง้ สิน้ 18 ข้อ มีลกั ษณะ
ของชายพิการแต่ไม่ยอ่ ท้อต่อชีวติ แล้วให้สมาชิกกลุม่ ได้ ค�ำตอบเป็นแบบให้เติมร้อยละของความมั่นใจ โดยแบ่ง
ฝึกวางแผนเป้าหมายในชีวิตของตนเองทั้งในระยะสั้น ออกเป็น 5 ระดับ จากคะแนน 1-5 ได้แก่ ไม่มคี วามเชือ่ มัน่ เลย
และระยะยาว และให้น�ำเสนอแก่กลุ่ม จากนั้นผู้น�ำกลุ่ม (0%) มีความเชือ่ มัน่ น้อย (25%) มีความเชือ่ มัน่ ปานกลาง
และสมาชิกกลุ่มร่วมกันอภิปราย พร้อมทั้งเสนอแนะ (50%) มีความเชื่อมั่นมาก (80%) และมีความเชื่อมั่น
เพื่อให้แผนส�ำเร็จตามเป้าหมาย อย่างเต็มที่ (100%) ส�ำหรับการแปลผลคะแนน คะแนน
ระยะที่ 3 ระยะยุติกลุ่ม มีกิจกรรม 1 ครั้ง รวมน้อย หมายถึง มีการรับรู้ความสามารถน้อย และ
ดังนี้ คะแนนรวมมาก หมายถึง มีการรับรู้ความสามารถมาก
ครัง้ ที่ 8 การเสริมแรงของบุคคล โดยจัด ชุดที่ 3 แบบสอบถามความตัง้ ใจในการเลิก
กิจกรรม “เติมก�ำลังใจจากเพือ่ นสูเ่ พือ่ น” เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ เสพสารแอมเฟตามีน ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามความตั้งใจ
ได้ทบทวนสาระส�ำคัญของการเข้าร่วมกลุ่มจิตบ�ำบัดฯ เลิกยาเสพติดของวันเพ็ญ อ�ำนาจกิตกิ ร (2552) ทีส่ ร้างขึน้
ต่อการรับรูค้ วามสามารถของตนและความตัง้ ใจในการเลิก ตามทฤษฎีการกระท�ำด้วยเหตุผลของ Ajzen and Fishbein
เสพสารแอมเฟตามี น และได้ บ อกเล่ า ประสบการณ์ ปี ค.ศ. 1980 แบ่งออกเป็น 2 องค์ประกอบ คือ ความตัง้ ใจ
ความประทับใจต่อเพื่อนสมาชิกกลุ่ม ท�ำให้เกิดมิตรภาพ ไม่ร่วมกิจกรรมที่น�ำไปสู่การเสพสารแอมเฟตามีน และ
อันดีตอ่ กัน และเกิดเครือข่ายทางสังคม เมือ่ สมาชิกกลุม่ ความตัง้ ใจไม่เสพสารแอมเฟตามีน จ�ำนวนทัง้ สิน้ 13 ข้อ
ประสบปัญหาหรืออุปสรรคในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ประกอบด้วยข้อค�ำถามทางบวก จ�ำนวน 6 ข้อ และข้อค�ำถาม
จะสามารถช่วยเหลือกันได้ภายหลังยุตกิ ลุม่ จากนัน้ ผูน้ ำ� กลุม่ ทางลบ จ�ำนวน 7 ข้อ มีลักษณะค�ำตอบเป็นแบบมาตร
สรุปอีกครั้ง พร้อมทั้งให้ก�ำลังใจสมาชิกกลุ่มให้สามารถ ประมาณค่า 4 ระดับ จากคะแนน 1-4 ของข้อค�ำถาม
เลิกเสพสารแอมเฟตามีนได้ ทางบวก ได้แก่ ไม่จริง ค่อนข้างไม่จริง ค่อนข้างจริง และจริง
ส่วนที่ 2 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนข้อค�ำถามทางลบให้คะแนนในลักษณะตรงกันข้าม
มี 3 ชุด ดังนี้ ส�ำหรับการแปลผลคะแนน คะแนนรวมน้อย หมายถึง
ชุดที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ผูว้ จิ ยั มีความตัง้ ใจน้อย และคะแนนรวมมาก หมายถึง มีความตัง้ ใจ
สร้างขึ้น ประกอบด้วยข้อค�ำถามเกี่ยวกับอายุ ศาสนา มาก
ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อาชีพ รายได้ต่อเดือน ส�ำหรับการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือนั้น
และระยะเวลาในการใช้สารแอมเฟตามีน จ�ำนวนทั้งสิ้น ผูว้ จิ ยั น�ำแผนการท�ำกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง
7 ข้อ มีลกั ษณะค�ำตอบเป็นแบบเลือกตอบและแบบเติมค�ำ ไปให้ผทู้ รงคุณวุฒิ จ�ำนวน 5 คน ตรวจสอบความตรงตาม
ชุดที่ 2 แบบสอบถามการรับรูค้ วามสามารถ โครงสร้างและตามเนื้อหา ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิประกอบด้วย
ของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ผูว้ จิ ยั ใช้แบบประเมิน จิตแพทย์ ผูป้ ฏิบตั กิ ารพยาบาลขัน้ สูง (2 คน) และอาจารย์
การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกยาเสพติด (Drug พยาบาล (2 คน) ได้คา่ ความสอดคล้องของผูท้ รงคุณวุฒิ

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


179
PAGE
(interrater opinion) เท่ากับร้อยละ 80 ด�ำเนินการแก้ไข การสังเกตและการบันทึกร่วมกับผู้วิจัย 2 ครั้ง
ตามค�ำแนะน�ำ จากนั้นน�ำไปทดลองใช้กับวัยรุ่นที่เข้ารับ 3. ในสัปดาห์ที่ 1 ผู้วิจัยพบกลุ่มทดลองใน
การบ�ำบัดสารแอมเฟตามีนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ วันอังคาร และพบกลุ่มควบคุมในวันจันทร์ แนะน�ำตัว
ต�ำบลวัดสลุด อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ที่มี และด�ำเนินการพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง (ข้อ 2) จากนั้น
คุณสมบัติคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 6 คน และ ให้ตอบแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม
น�ำแบบสอบถามการรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิก การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
เสพสารแอมเฟตามี น และแบบสอบถามความตั้ ง ใจ และแบบสอบถามความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ไปทดลองใช้กับวัยรุ่น ระยะก่อนการทดลอง (pre-test) โดยให้เวลา 20-25 นาที
ทีเ่ ข้ารับการบ�ำบัดสารแอมเฟตามีนทีโ่ รงพยาบาลส่งเสริม 4. ในสัปดาห์ที่ 1-4 ผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัยให้
สุขภาพต�ำบลวัดสลุด ทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ ล้ายคลึงกับกลุม่ ตัวอย่าง กลุ่มทดลองเข้าร่วมกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง
จ�ำนวน 30 คน หาค่าความเชือ่ มัน่ ด้วยวิธกี ารของครอนบาช สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ในวันอังคารและวันพฤหัสบดี เวลา
ได้ค่าเท่ากับ .82 และ .94 ตามล�ำดับ 17.00-18.30 น. ณ ห้องให้ค�ำปรึกษาของศูนย์สุขภาพ
การพิทกั ษ์สทิ ธิกลุม่ ตัวอย่าง มีดงั นี้ 1) หลังจาก ชุมชนเจริญราษฎร์ ส่วนกลุม่ ควบคุมให้ได้รบั การพยาบาล
โครงร่างวิจยั ได้รบั การพิจารณาเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตามปกติ จากเจ้าหน้าทีข่ องศูนย์สขุ ภาพชุมชนเจริญราษฎร์
พิจารณาจริยธรรมการวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษา คณะพยาบาล ซึง่ ประกอบด้วยการให้คำ� ปรึกษารายบุคคล การฝึกทักษะ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (เอกสารรับรอง เลขที่ 06-07- การเลิกยา การป้องกันการกลับไปเสพซ�้ำ และการให้
2558 วั น ที่ 1 กั น ยายน 2558) ผู ้ วิ จั ย จึ ง เริ่ ม ด� ำ เนิ น ความรู้แก่ครอบครัว
การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล และ 2) ผู้วิจัยชี้แจง 5. ในสั ป ดาห์ ที่ 4 วั น พฤหั ส บดี ผู ้ วิ จั ย ให้
วัตถุประสงค์การวิจยั ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ขัน้ ตอน กลุ่มทดลองตอบแบบสอบถามการรับรู้ความสามารถ
การทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล และสิทธิในการถอนตัว ของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และแบบสอบถาม
จากการวิจัย รวมทั้งแจ้งว่าข้อมูลจะได้รับการเก็บรักษา ความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ระยะหลัง
เป็นความลับและน�ำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้เท่านั้น โดยจะ การทดลองเสร็จสิน้ ทันที (post-test) โดยให้เวลา 15-20
น�ำเสนอข้อมูลในภาพรวม นาที ส่วนกลุม่ ควบคุม ผูว้ จิ ยั ให้ตอบแบบสอบถามดังกล่าว
การด�ำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ในวันจันทร์
มีขั้นตอนดังนี้ 6. ในสั ป ดาห์ ที่ 8 วั น พฤหั ส บดี ผู ้ วิ จั ย ให้
1. ผูว้ จิ ยั ขออนุญาตด�ำเนินการวิจยั จากหัวหน้า กลุ่มทดลองตอบแบบสอบถามการรับรู้ความสามารถ
ศูนย์สุขภาพชุมชนเจริญราษฎร์ จากนั้นเข้าพบเจ้าหน้าที่ ของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และแบบสอบถาม
ทีร่ บั ผิดชอบงานบ�ำบัดสารเสพติด เพือ่ ชีแ้ จงวัตถุประสงค์ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ระยะติดตามผล
การวิจยั ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั และขัน้ ตอนการทดลอง 1 เดือน (follow-up) โดยให้เวลา 15-20 นาที ส่วนกลุม่
และเก็บรวบรวมข้อมูล ควบคุม ผูว้ จิ ยั ให้ตอบแบบสอบถามดังกล่าวในวันจันทร์
2. ผูว้ จิ ยั คัดเลือกและเตรียมผูช้ ว่ ยผูว้ จิ ยั ซึง่ เป็น ทัง้ นี้ ด�ำเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล
พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานด้านการบ�ำบัดรักษาผู้ติด ในช่วงวันที่ 3 พฤศจิกายน ถึงวันที่ 29 ธันวาคม 2558
สารเสพติดอย่างน้อย 1 ปี ถึงปัจจุบัน และมีประสบการณ์ เมือ่ เสร็จสิน้ ระยะติดตามผล 1 เดือน และวิเคราะห์ขอ้ มูล
ในการท�ำกลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง จ�ำนวน 1 คน แล้ว ผู้วิจัยด�ำเนินการให้กลุ่มควบคุมได้เข้าร่วมกลุ่ม
ท�ำหน้าที่ช่วยเก็บรวบรวมข้อมูล สังเกตพฤติกรรม และ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง ตามความสมัครใจ
บันทึกการท�ำกิจกรรมแต่ละครั้ง โดยผู้ช่วยผู้วิจัยได้ฝึก

วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562


180
PAGE
การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลส่วนบุคคล วิเคราะห์ 2. การรับรู้ความสามารถของตนในการเลิกเสพ
ด้วยสถิตคิ วามถีแ่ ละร้อยละ ข้อมูลการรับรูค้ วามสามารถ สารแอมเฟตามีนของกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม พบว่า
ของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และข้อมูลความตัง้ ใจ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันที
ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน วิเคราะห์ดว้ ยสถิตคิ า่ เฉลีย่ และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบการรับรู้ การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ความสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน เท่ากับ 36.58 (SD = 3.02), 46.50 (SD = 4.05) และ
และความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ระหว่าง 47.25 (SD = 3.13) ตามล� ำ ดั บ ส่ ว นกลุ ่ ม ควบคุ ม
กลุม่ ทดลองกับกลุม่ ควบคุม ระยะก่อนการทดลอง วิเคราะห์ มีคะแนนเฉลีย่ การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพ
ด้วยสถิติ independent t-test ส่วนการเปรียบเทียบ สารแอมเฟตามีนเท่ากับ 36.42 (SD = 3.05), 37.33
การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน (SD = 2.74) และ 38.17 (SD = 2.82) ตามล�ำดับ
และความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ระหว่าง 3. ความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
กลุม่ ทดลองกับกลุม่ ควบคุม ระหว่างระยะก่อนการทดลอง ของกลุ ่ ม ทดลองและกลุ ่ ม ควบคุ ม พบว่ า ระยะก่ อ น
ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล การทดลอง ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะ
1 เดือน วิเคราะห์ดว้ ยสถิติ two-way repeated measures ติดตามผล 1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจ
ANOVA โดยทดสอบความแตกต่างรายคูด่ ว้ ยวิธี Bonferroni ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนเท่ากับ 26.08 (SD = 2.77),
39.08 (SD = 5.07) และ 38.67 (SD = 4.37) ตามล�ำดับ
ผลการวิจัย ส่วนกลุม่ ควบคุมมีคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพ
1. ข้อมูลส่วนบุคคลของกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม สารแอมเฟตามีนเท่ากับ 27.83 (SD = 2.85), 30.83
พบว่า มีอายุ 20 ปี และ 24 ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ (SD = 2.69) และ 29.75 (SD = 2.49) ตามล�ำดับ
41.70 และ 50 ตามล�ำดับ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ 4. การเปรียบเทียบการรับรูค้ วามสามารถของตน
คิดเป็นร้อยละ 91.70 เท่ากัน มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนและความตัง้ ใจในการเลิก
ตอนต้น มากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 33.30 เท่ากัน ส่วนใหญ่ เสพสารแอมเฟตามีน ระหว่างกลุม่ ทดลองกับกลุม่ ควบคุม
มีสถานภาพสมรสโสด คิดเป็นร้อยละ 91.70 และ 83.30 ระยะก่อนการทดลอง พบว่า กลุม่ ทดลองกับกลุม่ ควบคุม
ตามล�ำดับ มีอาชีพรับจ้าง คิดเป็นร้อยละ 91.70 และ มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิก
100 ตามล�ำดับ มีรายได้ตอ่ เดือนอยูใ่ นช่วง 5,001-10,000 เสพสารแอมเฟตามีน และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิก
บาท มากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 33.30 และ 41.70 ตามล�ำดับ เสพสารแอมเฟตามีน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญ
และส่ ว นใหญ่ มี ร ะยะเวลาในการใช้ ส ารแอมเฟตามี น ทางสถิติ ดังแสดงในตารางที่ 1
คือ น้อยกว่า 1 ปี คิดเป็นร้อยละ 75 และ 83.30 ตามล�ำดับ

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


181
PAGE
ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และ
คะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม
ระยะก่อนการทดลอง

กลุ่มตัวอย่าง n M SD t p
การรับรู้ความสามารถของตนใน
การเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
กลุ่มทดลอง 12 36.58 3.02 .134 .895
กลุ่มควบคุม 12 36.42 3.05
ความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
กลุ่มทดลอง 12 26.08 2.77
1.520 .142
กลุ่มควบคุม 12 27.83 2.85

5. การเปรียบเทียบการรับรูค้ วามสามารถของตน และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน


ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนและความตัง้ ใจในการเลิก อย่ า งมี นัยส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ (p < .001) โดยระยะหลั ง
เสพสารแอมเฟตามีน ระหว่างกลุม่ ทดลองกับกลุม่ ควบคุม การทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน
ระหว่างระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ การรับรูค้ วามสามารถของตน
ทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน พบว่า มีปฏิสัมพันธ์ ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจ
ระหว่างวิธกี ารทดลองกับระยะเวลาของการทดลองอย่างมี ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน สูงกว่ากลุม่ ควบคุมอย่างมี
นัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .001) แสดงว่า วิธีการทดลอง นัยส�ำคัญทางสถิติ (p < .001) และระยะก่อนการทดลอง
กับระยะเวลาของการทดลองส่งผลร่วมกันต่อคะแนนเฉลีย่ ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล
ความสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน 1 เดือน กลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุมมีคะแนนเฉลีย่ การรับรู้
และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ความสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
และพบว่า วิธีการทดลองที่แตกต่างกัน และระยะเวลา และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ของการทดลองที่ แ ตกต่ า งกั น มี ผ ลต่ อ คะแนนเฉลี่ ย แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (p < .001) ดังแสดง
การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ในตารางที่ 2

วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562


182
PAGE
ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ความแปรปรวนของคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิกเสพ
สารแอมเฟตามีน และคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ของวัยรุ่นที่ติดสารแอมเฟตามีน ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาของการทดลอง

แหล่งความแปรปรวน SS df MS F p
การรับรู้ความสามารถของตนใน
การเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ระหว่างกลุ่ม
วิธีการทดลอง 678.34 1 678.34 40.200 < .001
ความคลาดเคลื่อน 371.19 22 16.87
ภายในกลุ่ม
ระยะเวลาของการทดลอง 548.08 2 502.82 41.260 < .001
วิธีการทดลองกับระยะเวลาของการทดลอง 321.02 2 294.51 24.160 < .001
ความคลาดเคลื่อน 292.22 44 12.18
ความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ระหว่างกลุ่ม
วิธีการทดลอง 475.34 1 475.34 22.210 < .001
ความคลาดเคลื่อน 470.86 22 21.40
ภายในกลุ่ม
ระยะเวลาของการทดลอง 937.00 2 798.75 59.710 < .001
วิธีการทดลองกับระยะเวลาของการทดลอง 428.44 2 365.23 27.300 < .001
ความคลาดเคลื่อน 345.22 44 13.37

6. การทดสอบความแตกต่างรายคูข่ องคะแนนเฉลีย่ ระยะก่อนการทดลองกับระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันที


การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน แตกต่ า งกั นอย่ างมี นัยส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ (p < .01 และ
และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน p < .001 ตามล�ำดับ) ระยะก่อนการทดลองกับระยะติดตามผล
ของกลุม่ ทดลอง ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง 1 เดือน แตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ (p < .001)
เสร็จสิน้ ทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน พบว่า คะแนนเฉลีย่ ส่วนระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันทีกบั ระยะติดตามผล
การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน 1 เดือน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
และคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ดังแสดงในตารางที่ 3

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


183
PAGE
ตารางที่ 3 การทดสอบความแตกต่างรายคู่ของคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิกเสพ
สารแอมเฟตามีน และคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ของกลุ่มทดลอง
ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน

ผลต่างของคะแนนเฉลี่ย
ระยะเวลาของการทดลอง M
ก่อนการทดลอง หลังการทดลองฯ ติดตามผล 1 เดือน
การรับรู้ความสามารถของตนใน
การเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ก่อนการทดลอง 36.58 - 9.92* 10.67**
หลังการทดลองฯ 46.50 - - .75
ติดตามผล 1 เดือน 47.25 - - -
ความตั้งใจในการเลิกเสพ
สารแอมเฟตามีน
ก่อนการทดลอง 26.08 - 13.00** 12.59**
หลังการทดลองฯ 39.08 - - .41
ติดตามผล 1 เดือน 38.67 - - -
* p < .01, ** p < .001

การอภิปรายผลการวิจัย ทั้ ง นี้ แผนการท� ำ กลุ ่ ม จิ ต บ� ำ บั ด แบบประคั บ ประคอง


การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยอภิปรายผลการวิจัยตาม ตามแนวคิดของ Yalom (1995) เน้นหลักการ “ทีน่ แี่ ละ
สมมติฐานการวิจัย ดังนี้ เดีย๋ วนี้ (here and now)” และการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างสมาชิก
ผลการวิจัยพบว่า ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้น ท�ำให้สมาชิกตระหนักถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ ในช่วงเวลานั้น โดยกระบวนการกลุ่มจะก่อให้เกิดปัจจัย
การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน บ�ำบัดต่างๆ ทีท่ ำ� ให้สมาชิกกลุม่ เกิดการเรียนรู้ มีการสร้าง
สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ และพบว่า สัมพันธภาพระหว่างบุคคล และการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันที ไปในทางทีด่ แี ละเหมาะสมมากขึน้ (ภัทราภรณ์ ทุง่ ปันค�ำ,
และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ 2551) ประกอบกับแนวคิดทฤษฎีการรับรูค้ วามสามารถ
การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน ของตนเองของ Bandura (1997) ซึง่ ประกอบด้วยแนวคิด
แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตาม พืน้ ฐาน 2 ประการ คือ 1) การรับรูค้ วามสามารถของตนเอง
สมมติฐานการวิจัย ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มทดลองได้เข้าร่วม อันเป็นการตัดสินใจของบุคคลเกี่ยวกับความสามารถ
กลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง โดยผูว้ จิ ยั ได้วางแผน ในการกระท� ำ พฤติ ก รรมได้ ส� ำ เร็ จ ตามความมุ ่ ง หมาย
และด�ำเนินการท�ำกลุม่ ตามแผนทีก่ ำ� หนด ซึง่ กิจกรรมต่างๆ และ 2) ความคาดหวังในผลลัพธ์ อันเป็นการตัดสินใจว่า
ล้วนช่วยเสริมสร้างการรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิก การกระท�ำพฤติกรรมนั้นจะน�ำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ
เสพสารแอมเฟตามีนให้แก่วัยรุ่นที่ติดสารแอมเฟตามีน ซึ่งการรับรู้ความสามารถของตนเองและความคาดหวัง

วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562


184
PAGE
ที่แตกต่างกัน จะมีผลต่อการตัดสินใจกระท�ำพฤติกรรม เมื่อเกิดปัญหา อุปสรรคในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
หรือเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของบุคคล โดยการท�ำกลุม่ จิตบ�ำบัด และได้ให้ก�ำลังใจกัน ดังตัวอย่างที่สมาชิกกลุ่มกล่าวว่า
แบบประคับประคองในครัง้ นี้ ผูน้ ำ� กลุม่ ท�ำหน้าทีเ่ อือ้ อ�ำนวย “พวกเราต้องเลิกได้ เราจะช่วยกันครับ สู้ๆ” ท�ำให้เกิด
สร้าง และคงไว้ซึ่งความเป็นกลุ่ม สร้างบรรทัดฐานและ ความรูส้ กึ เชือ่ มัน่ ในตนเองมากขึน้ และมีการรับรูค้ วามสามารถ
วัฒนธรรมของกลุ่ม และตระหนักถึงกระแสของกลุ่ม ของตนเองเพิ่มขึ้น (Bandura, 1997) จากการบันทึก
ในช่วงเวลานั้นๆ ท�ำให้กระบวนการกลุ่มสามารถด�ำเนิน ปัจจัยบ�ำบัดที่เกิดขึ้นในการเข้ากลุ่มแต่ละครั้ง พบว่า
ไปได้อย่างมีขั้นตอนและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ มีปัจจัยบ�ำบัดที่เกิดขึ้น ได้แก่ การเรียนรู้สัมพันธภาพ
แผนการท�ำกลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคองในแต่ละครัง้ ระหว่างบุคคลการให้ขอ้ มูล การเพาะความหวัง ความเป็น
แผนการท�ำกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง ปึกแผ่น ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน การได้เลียนแบบ
ทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ ประกอบด้วยกิจกรรมทัง้ สิน้ 8 ครัง้ และการรู้สึกได้ทำ� คุณประโยชน์ ซึง่ ปัจจัยบ�ำบัดทีเ่ กิดขึน้
ครัง้ ละ 90 นาที สัปดาห์ละ 2 ครัง้ โดยครัง้ ที่ 1 เป็นกิจกรรม เหล่านีล้ ว้ นท�ำให้สมาชิกกลุม่ มีกำ� ลังใจ ภาคภูมใิ จ มองเห็น
“สร้างสัมพันธ์ผกู ไมตรี” เพือ่ ให้สมาชิกกลุม่ เกิดความไว้วางใจกัน คุณค่าของตนเองมากขึ้น รับรู้ความสามารถของตนเอง
กล้าเปิดเผยทีจ่ ะแลกเปลีย่ นประสบการณ์กนั ท�ำให้รสู้ กึ ว่า เพิ่มขึ้น
ตนเองมีสว่ นร่วมและเป็นส่วนหนึง่ ของกลุม่ มีปฏิสมั พันธ์ ส่วนผลการวิจยั ทีพ่ บว่า กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่
ที่ดีกับสมาชิกในกลุ่ม ครั้งที่ 2 เป็นกิจกรรม “รู้เท่าทัน การรับรูค้ วามสามารถของตนในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
พิษภัยแอมเฟตามีน” ท�ำให้สมาชิกกลุม่ ตระหนักถึงอันตราย ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันทีกับระยะติดตามผล
จากการเสพสารแอมเฟตามีน โดยผู้น�ำกลุ่มได้ให้ข้อมูล 1 เดือน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทั้งนี้
และสมาชิกกลุ่มได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับพิษภัย อาจเนื่องจากการท�ำกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง
ของสารแอมเฟตามีน ดังตัวอย่างที่สมาชิกกลุ่มกล่าวว่า ในครั้งนี้ สมาชิกกลุ่มเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 8 ครั้ง และ
“แรกๆ ยามันก็ชว่ ยให้ลมื ปัญหา แต่หลังๆ ไม่ชว่ ยเลยครับ ในแต่ละครั้งสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิต
แล้วยังท�ำให้ผมไปท�ำงานไม่ได้อีกครับ” การที่สมาชิก ประจ�ำวันได้ โดยผู้วิจัยไม่ได้ให้ความรู้หรือจัดกิจกรรม
กลุ่มพยายามจะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดี ท�ำให้ เพิม่ เติมหลังการทดลองเสร็จสิน้ ถึงระยะติดตามผล 1 เดือน
เกิดความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น ส่งผลให้การรับรู้ แต่คะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนในการเลิก
ความสามารถของตนเองเพิม่ ขึน้ (Bandura, 1997) ครัง้ ที่ 3 เสพสารแอมเฟตามีนทั้งสองระยะดังกล่าว สูงกว่าระยะ
เป็นกิจกรรม “เราเป็นนายอารมณ์” สมาชิกกลุม่ ได้แลกเปลีย่ น ก่อนการทดลองอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ แสดงให้เห็นถึง
ประสบการณ์ น�ำไปปรับสมดุลอารมณ์ และปรับพฤติกรรม ประสิทธิผลความคงอยูข่ องการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ จิตบ�ำบัด
ตนเองให้เหมาะสม ดังตัวอย่างที่สมาชิกกลุ่มกล่าวว่า แบบประคับประคองในครัง้ นี้ ซึง่ ผลการวิจยั ครัง้ นีส้ อดคล้อง
“กลับไปบ้าน หากผมรูส้ กึ โกรธ ผมจะลองเดิน นับก้าวไป กับการศึกษาของลลดา พลคะชา (2554) ทีศ่ กึ ษาผลของ
เรือ่ ยๆ แบบพีเ่ ขาบ้าง อารมณ์จะได้เย็นลง ไม่ไปเสพยาอีก” การใช้กลุ่มจิตบ�ำบัดตามแนวคิดของยาลอมต่อการเพิ่ม
การที่สมาชิกกลุ่มได้เห็นตัวแบบประสบการณ์ที่ส�ำเร็จ คุณค่าในตนเองของวัยรุน่ ชายทีเ่ สีย่ งต่อการดืม่ แอลกอฮอล์
ของผู้อื่น ท�ำให้เกิดความพยายามที่จะกระท�ำพฤติกรรม พบว่ า กลุ ่ ม ทดลองมี ค ะแนนเฉลี่ ยความรู ้ สึ ก มี คุ ณ ค่ า
ไปในทางที่เหมาะสม น�ำไปสู่การรับรู้ความสามารถของ ในตนเอง ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง
ตนเองเพิม่ ขึน้ (Bandura, 1997) ส่วนครัง้ ที่ 8 เป็นกิจกรรม เสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล 1 เดือน แตกต่างกัน
“เติมก�ำลังใจจากเพือ่ นสูเ่ พือ่ น” ช่วยให้สมาชิกกลุม่ มีแหล่ง อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ส่วนระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้
ช่วยเหลือและเกือ้ กูลกัน มีเครือข่ายทางสังคมในการช่วยเหลือ ทันทีกับระยะติดตามผล 1 เดือน ไม่แตกต่างกันอย่างมี

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


185
PAGE
นัยส�ำคัญทางสถิติ กระตือรือร้น น�ำไปสูค่ วามตัง้ ใจทีจ่ ะเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ผลการวิจยั พบว่า ระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันที ให้ได้ ดังกิจกรรมที่ 6 “ก้าวใหม่แห่งชีวิต” สมาชิกกลุ่ม
และระยะติดตามผล 1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ ได้เข้าใจธรรมชาติของชีวติ ว่าบางครัง้ ก็สมหวัง บางคนอาจท�ำ
ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนสูงกว่ากลุม่ ควบคุม ผิดพลาด แต่สามารถเริม่ ต้นใหม่ได้ และได้เข้าใจกฎเกณฑ์
อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ และพบว่า ระยะก่อนการทดลอง ของสังคม ฝึกการใช้เหตุผล ดังตัวอย่างสมาชิกกลุ่มที่
ระยะหลังการทดลองเสร็จสิ้นทันที และระยะติดตามผล กล่าวถึงความตั้งใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน และ
1 เดือน กลุม่ ทดลองมีคะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิก วางเป้าหมายชีวติ ในอนาคตของตนเอง การทีส่ มาชิกกลุม่
เสพสารแอมเฟตามีนแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ได้ปลดปล่อยความรู้สึกที่ไม่ดีของตนเอง และได้ระบาย
ซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานการวิจยั ทัง้ นีเ้ นือ่ งจากกลุม่ ทดลอง สิง่ ทีค่ า้ งคาในใจ ท�ำให้เกิดปัจจัยบ�ำบัด คือ การปลดปล่อย
ได้เข้าร่วมกลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง ซึง่ ผูน้ ำ� กลุม่ ความรู้สึก อันเป็นปัจจัยบ�ำบัดที่เกิดขึ้นเมื่อสมาชิกกลุ่ม
ท�ำหน้าที่เอื้ออ�ำนวยและให้ข้อมูลในการท�ำกลุ่ม รวมทั้ง เกิดความไว้วางใจ เมือ่ สมาชิกกลุม่ ได้แนวทางในการปรับใช้
ช่วยสร้างบรรยากาศของกลุ่ม ท�ำให้สมาชิกกลุ่มรู้สึก เพื่อการแก้ไขปัญหาของตนเองอย่างเหมาะสม จะเกิด
ปลอดภัยและไว้วางใจในการเข้ากลุ่ม รู้สึกว่ามีความเป็น ปัจจัยบ�ำบัด คือ การเพาะความหวัง การเรียนรู้สัจธรรม
อิสระกล้าเปิดเผยในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน แห่งชีวิต และการรู้สึกได้ท�ำคุณประโยชน์ ท�ำให้สมาชิก
โดยกระบวนการกลุม่ จิตบ�ำบัดแบบประคับประคองจะท�ำให้ กลุม่ เกิดความเชือ่ มัน่ ในตนเอง มีความกระตือรือร้น และมี
เกิดปัจจัยบ�ำบัด ซึง่ จะค่อยๆ พัฒนาและเกิดขึน้ ซึง่ ปัจจัย ความมุง่ มัน่ ซึง่ เป็นคุณลักษณะพืน้ ฐานของความตัง้ ใจทีจ่ ะ
บ�ำบัดนี้เป็นเสมือนเป้าหมายส�ำคัญที่ต้องการให้เกิดกับ ไม่กลับไปเสพสารแอมเฟตามีนอีก จึงท�ำให้คะแนนเฉลี่ย
สมาชิกกลุ่ม ปัจจัยบ�ำบัดตัวหนึ่งอาจเป็นพื้นฐานต่อ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนของกลุม่ ทดลอง
การเกิดปัจจัยบ�ำบัดอีกตัวหนึ่งได้ หรือเอื้อให้เกิดปัจจัย สูงกว่ากลุม่ ควบคุม ในระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันที
บ� ำ บั ด ตั ว ต่ อ ไป โดยปั จ จั ย การเรี ย นรู ้ สั จ ธรรมในชี วิ ต และมีประสิทธิผลคงอยู่ถึงในระยะติดตามผล 1 เดือน
(จากสถานการณ์ชวี ติ ใหม่ของโก้) โก้เลิกเสพสารแอมเฟตามีน แม้วา่ คะแนนเฉลีย่ ความตัง้ ใจในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีน
ได้สำ� เร็จ เขาจึงได้มชี วี ติ ทีด่ ี มีคนยอมรับ ท�ำให้สมาชิกกลุม่ ระยะหลังการทดลองเสร็จสิน้ ทันทีกบั ระยะติดตามผล 1 เดือน
เกิดการเรียนรู้ เข้าใจเหตุและผล จนเกิดความกระตือรือร้น จะไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติก็ตาม
มุง่ มัน่ ซึง่ จะน�ำไปสูค่ วามตัง้ ใจทีจ่ ะปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
ไปในทางที่เหมาะสมขึ้น ดังกิจกรรมที่ 5 “อุปสรรคต้อง ข้อเสนอแนะ
ฝ่าฟัน” สมาชิกกลุม่ ได้ปลดปล่อยความรูส้ กึ ทีไ่ ม่ดขี องตนเอง 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้
ได้ระบายสิง่ ทีค่ า้ งคาในใจ ดังตัวอย่างทีส่ มาชิกกลุม่ กล่าวว่า 1.1 บุคลากรทางสุขภาพทีผ่ า่ นการอบรมและ
“ผมรูว้ า่ ผมไม่ดี ผมก็ไม่อยากใช้มนั อีก ผมอยากเลิก และ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารท� ำ กลุ ่ ม จิ ต บ� ำ บั ด แบบประคั บ ประคอง
ผมตัง้ ใจจะไม่เสพยาอีก และผมก็ทำ� ได้ พ่อแม่ให้กำ� ลังใจ ควรน�ำหลักการท�ำกลุม่ จิตบ�ำบัดฯ ไปประยุกต์ใช้ในผูต้ ดิ
ผมรู้สึกดีและมีความสุขมากครับ” อีกทั้งสมาชิกกลุ่ม สารเสพติดชนิดต่างๆ เพือ่ เสริมสร้างการรับรูค้ วามสามารถ
มีการให้กำ� ลังใจซึง่ กันและกัน ท�ำให้มองเห็นคุณค่าของตนเอง ของตนในการเลิกเสพสารเสพติดและความตัง้ ใจในการเลิก
และผู้อื่น และมีความตั้งใจที่จะเลิกเสพสารแอมเฟตามีน เสพสารเสพติด
ซึ่งความตั้งใจถือเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ท�ำให้สมาชิกกลุ่ม 1.2 อาจารย์พยาบาลควรน�ำหลักการท�ำกลุ่ม
สามารถเลิกเสพสารแอมเฟตามีนได้ การได้กำ� ลังใจ การได้รบั จิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง ไปสอดแทรกในเนื้อหา
การยอมรับ การชี้น�ำแนวทางความเป็นเหตุเป็นผลจาก การเรียนการสอนเกีย่ วกับการเสริมสร้างการรับรูค้ วามสามารถ
สมาชิกกลุม่ ท�ำให้สมาชิกกลุม่ มีความคาดหวัง เกิดความมุง่ มัน่ ของตนในการเลิกเสพสารเสพติด และความตัง้ ใจในการเลิก

วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2562


186
PAGE
เสพสารเสพติดของผู้ติดสารเสพติด วันเพ็ญ อ�ำนาจกิตกิ ร. (2552). อัตมโนทัศน์ ความวิตกกังวล
2. ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ทางสังคม และความตัง้ ใจเลิกยาของผูต้ ดิ ยาเสพติด
ควรมีการศึกษาในลักษณะเดียวกับการวิจัย ในศูนย์บำ� บัดรักษายาเสพติดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์
ครั้งนี้ และมีการติดตามการรับรู้ความสามารถของตน ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ในการเลิกเสพสารแอมเฟตามีนและความตัง้ ใจในการเลิก สงวน ธานี. (2547). การรับรู้ความสามารถของตนเอง
เสพสารแอมเฟตามีนเป็นระยะๆ เช่น 3 เดือน 6 เดือน ในกระบวนการการเลิกยาเสพติด: ศึกษาการบ�ำบัด
หรือ 1 ปี เพื่อประเมินประสิทธิผลด้านความคงอยู่ของ รักษายาเสพติดของสถาบันธัญญารักษ์ (ดุษฎีนพิ นธ์
การท�ำกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบประคับประคอง ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัย
มหิดล.
เอกสารอ้างอิง สถาบันธัญญารักษ์. (2556). รายงานประจ�ำปี 2556 สถิติ
ไข่มกุ ไชยเจริญ, ชนัดดา แนบเกษร, และดวงใจ วัฒนสินธุ.์ ผู้เข้ารับการบ�ำบัดรักษา. ปทุมธานี: ผู้แต่ง.
(2561). ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบ�ำบัดแบบ ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.
ประคับประคองต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง (2555). ระบบการบ�ำบัดรักษาผูต้ ดิ ยาเสพติดของ
และภาวะซึมเศร้าในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2. ประเทศไทย. สืบค้นจาก http://www.nctc.oncb.
วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, go.th
29(1), 1-16. Bandura, A. (1997). Self-efficacy: The exercise
ไพฑู ร ย์ แสงพุ ่ ม , และธนะรั ช ต์ นามผลดี . (2550). of control. New York: W. H. Freeman.
ปกิณกะสาระ เส้นทางผูต้ ดิ ยาเสพติด. กรุงเทพฯ: Polit, D. F., & Hungler, B. P. (1995). Nursing
ศิลป์การพิมพ์. research: Principles and methods (5th ed.).
ภัทราภรณ์ ทุง่ ปันค�ำ. (2551). การท�ำกลุม่ จิตบ�ำบัดส�ำหรับ Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.
บุคลากรทางสุขภาพ. เชียงใหม่: นันทพันธ์พริน้ ติง้ . Yalom, I. D. (1995). The theory and practice
ลลดา พลคะชา. (2554). ผลของการใช้กลุ่มบ�ำบัดตาม of group psychotherapy (4th ed.). New York:
แนวคิดของยาลอมต่อการเพิ่มคุณค่าในตนเอง Basic Books.
ของวั ย รุ ่ น ชายที่ เ สี่ ย งต่ อ การดื่ ม แอลกอฮอล์
(วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบั ณ ฑิ ต ). ชลบุ รี :
มหาวิทยาลัยบูรพา.

JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE Vol. 30 No. 1 January - June 2019


187
PAGE

You might also like