You are on page 1of 43

ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมที่ 8) มกราคม - มิถุนายน พ.ศ.

2562
ส�ำนักการศึกษา วัดพระธรรมกาย
ISSN 2408-1892
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 117
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

การศึกษาเปรียบเทียบ
พระไตรปิฎกบาลีฉบับใบลาน
เพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิฎก:
กรณีศึกษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย
A Comparative Study of
Palm-leaf Manuscripts of the Pali Canon
for Analysis of Variant Readings:
A Case Study from
the Subhasutta of the Dīghanikaya

บรรเจิด ชวลิตเรืองฤทธิ์
Bunchird Chaowarithreonglith
ศูนย์วิจัยพระไตรปิฎก DCI
Tipiṭaka Research Center, DTP, DCI, Thailand

ตอบรับบทความ: 28 มี.ค. 2562 เริ่มแก้ไขบทความ: 29 มี.ค. 2562


รับบทความตีพิมพ์: 5 เม.ย. 2562 เผยแพร่ออนไลน์ : 22 เม.ย. 2562
118
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

การศึกษาเปรียบเทียบพระไตรปิฎกบาลีฉบับใบลาน
เพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิฎก:
กรณีศึกษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย

บรรเจิด ชวลิตเรื องฤทธิ์

บทคัดย่อ

บทความนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อแสดงประวัตคิ วามเป็ นมาโดยสังเขป


ของพระไตรปิ ฎก 4 ฉบับหลักที่ได้ รับการอ้ างอิงอย่างกว้ างขวางในวงการ
ศึกษาพระพุทธศาสนา คือ พระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษรไทยฉบับสยามรัฐ
พระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษรพม่าฉบับฉัฏฐสังคีติ พระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษรสิงหล
ฉบับพุทธชยันตี และพระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษรโรมันฉบับสมาคมบาลีปกรณ์
แห่ ง ประเทศอัง กฤษ พร้ อมทัง้ น� ำ เสนอผลการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ
พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานจาก 5 สายจารีต คือ อักษรสิงหล อักษรพม่า
อักษรมอญ อักษรขอม และอักษรธรรม เพื่อช่วยวินิจฉัยปั ญหาค�ำต่าง
(Variant reading) ที่พบในพระไตรปิ ฎก โดยจะยก “สุภสูตร” แห่งคัมภีร์
ทีฆนิกายมาเป็ นกรณีศกึ ษา
เมื่อน�ำข้ อความจากพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับพิมพ์ทงั ้ 4 ฉบับข้ าง
ต้ นมาเปรี ยบเทียบกัน จะพบว่ามีข้อความหรื อค�ำอ่านบางแห่งไม่ตรงกัน
ทางวิชาการเรี ยกว่ามีค�ำต่างเกิดขึ ้น ท�ำให้ เกิดค�ำถามตามมาว่าค�ำอ่าน
ของพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใดเป็ นค�ำอ่านที่ดงเดิ ั ้ มกว่ากัน หลักวิชาการ
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 119
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

ทีใ่ ช้ ตอบปัญหานี ้เรียกว่า การตรวจช�ำระเชิงวิเคราะห์ (Textual criticism)


มีขัน้ ตอนตัง้ แต่การรวบรวมคัมภีร์ใบลานเก่าแก่จากทุกสายจารี ตน� ำ
มาเป็ น ต้ น ฉบับ แล้ ว ศึก ษาเปรี ย บเที ย บกัน และน� ำ หลัก ฐานอื่ น เช่ น
อรรถกถา ฎีกา ฯลฯ มาประกอบการวิเคราะห์เพื่อวินิจฉัยหาค�ำอ่านที่
ดังเดิ
้ มที่สดุ เท่าที่จะท�ำได้
ผลการวิจัยครั ง้ นี ท้ � ำให้ ทราบว่า การสืบทอดพระไตรปิ ฎกบาลี
มีความถูกต้ องแม่นย�ำสูงมาก ผู้วิจัยพบค�ำต่างปรากฏอยู่ในสุภสูตร
เพียง 6 เปอร์ เซ็นต์ และไม่มีค�ำต่างใดท�ำให้ ใจความหลักของพระสูตร
เปลี่ยนไป อีกทัง้ ข้ อมูลค�ำต่างที่พบยังฉายภาพให้ เห็นพัฒนาการของ
ภาษาบาลี ลักษณะการสืบทอดคัมภีร์พระไตรปิ ฎก และประวัติศาสตร์
พระพุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์ได้ ชดั เจนยิ่งขึ ้นอีกด้ วย

ค�ำส�ำคัญ : พระไตรปิ ฎกบาลี การตรวจช�ำระ คัมภีร์ใบลาน ทีฆนิกาย


สุภสูตร ค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก
120
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts


of the Pali Canon for Analysis of Variant
Readings: A Case Study from
the Subhasutta of the Dīghanikaya

Bunchird Chaowarithreonglith

Abstract

The present paper is intended to clarify a general


background regarding an editorial approach of four
editions of the Pāli canon which are deemed authoritative
references, namely the Thai Syāmaraṭṭha edition, the Burmese
Chaṭṭhasaṅgīti edition, the Sinhalese Buddhajayanti edition, and
the European Pali Text Society edition. It is also to show a result
of a comparative study of palm-leaf manuscripts of the Pāli
canon from five traditions, namely Sinhalese, Burmese, Mon,
Khom and Tham script traditions, in order to help to determine
problems of variant readings found in the Pāli canon.
The Subhasutta of the Dīghanikāya will be raised as a case study
of this academic attempt of editing the Pāli canon.
When comparing text from the aforementioned four
printed editions, it will reveal inconsistencies will be revealed
among the editions, in other words, an occurrence of variant
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 121
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

readings. Thus an inevitable question is to be asked: the text of


which edition is more original? The academic means used to
pursue this answer is the textual criticism, which is a process
involving first collecting the oldest extant manuscripts of all
traditions, then collating text of each acquired manuscripts,
studying and researching relevant evidence such as
commentaries, sub-commentaries etc., and finally determining
a proper reading as closest to the original text as possible.
The study results show the remarkable accuracy of the
textual transmission of the Pāli canon. In the Subhasutta, only
six percent of the text have variant readings and none of them
make significant changes to a meaning of the text. Moreover,
those variants also provide interesting reflections on the
development of Pāli language, the nature of the Pāli canon’s
transmission, and history of Buddhism in Southeast Asia.

Keywords : Pāli canon, Textual criticism, Palm-leaf manuscript,


Dīghanikāya, Subhasutta, Variant readings
122
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

1. บทน�ำ

พระไตรปิ ฎ กบาลี เ ป็ น คัม ภี ร์ ค� ำ สอนหลัก ในพระพุท ธศาสนา


เถรวาทที่ สื บ ทอดผ่ า นรู ป แบบต่ า งๆ มายาวนานมากกว่ า สองพัน ปี
เริ่มจากการสวดทรงจ�ำทีเ่ รียกว่ามุขปาฐะ แล้ วบันทึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
ลงในคัมภีร์ใบลาน ต่อมาเมือ่ เทคโนโลยีการพิมพ์สมัยใหม่เป็ นทีแ่ พร่หลาย
พระไตรปิ ฎกบาลี ฉ บับ ใบลานจึ ง ถู ก จั ด พิ ม พ์ เ ป็ นหนั ง สื อ กระดาษ
กลายเป็ นพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับพิมพ์ เมื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เข้ ามา
จึงมีการจัดท�ำฐานข้ อมูลของพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับพิมพ์ขึ ้นและได้ กลาย
เป็ นพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับอิเล็กทรอนิกส์ในรู ปแบบของแผ่นซีดี และ
กลายเป็ นพระไตรปิ ฎกออนไลน์บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตตามเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ ที่เจริ ญก้ าวหน้ าตามล�ำดับ แม้ ปัจจุบนั พระไตรปิ ฎกบาลี
ในรู ปแบบข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์จะเป็ นที่นิยมอย่างแพร่ หลายเนื่องจาก
ความสะดวกรวดเร็ วในการสืบค้ นข้ อมูล แต่พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับพิมพ์
ก็ ยัง คงเป็ น แหล่ ง อ้ า งอิ ง ที่ ไ ด้ รั บ ความน่ า เชื่ อ ถื อ สูง สุด ในการชี ข้ าด
ความถูกต้ องของพระไตรปิ ฎกบาลี ปั จจุบนั พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับพิมพ์
ที่ ไ ด้ รั บ การอ้ า งอิ ง อย่ า งกว้ า งขวางในวงการศึก ษาพระพุท ธศาสนา
มี 4 ฉบับ ได้ แก่ (1) พระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษรไทย ฉบับสยามรัฐ ซึง่ ต่อไป
จะเรี ยกว่า “ฉบับไทย” (S – Siam Edition) (2) พระไตรปิ ฎกบาลีอกั ษร
e

พม่า ฉบับฉัฏฐสังคีติ หรื อที่นิยมเรี ยกว่า ฉบับฉัฏฐสังคายนา ซึง่ ต่อไป


จะเรี ยกว่า “ฉบับพม่า” (B – Burmese Edition) (3) พระไตรปิ ฎก
e

บาลีอักษรสิง หล ฉบับ พุทธชยันตี ซึ่ง ต่อ ไปจะเรี ย กว่า “ฉบับสิงหล”


(C – Ceylon Edition) และ (4) พระไตรปิ ฎกอักษรโรมัน ฉบับสมาคม
e

บาลีปกรณ์แห่งประเทศอังกฤษ หรื อที่นิยมเรี ยกว่า ฉบับ PTS ซึง่ ต่อไป


จะเรี ยกว่า “ฉบับยุโรป” (E – European Edition)e
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 123
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

ข้ อเท็จจริงส�ำคัญประการหนึง่ ทีว่ งการวิชาการด้ านพระพุทธศาสนา


ทราบดี คือ เมื่อน�ำข้ อความจากพระไตรปิ ฎกบาลีทัง้ 4 ฉบับข้ างต้ น
มาเปรี ยบเทียบกัน จะพบว่ามีข้อความบางแห่งไม่ตรงกัน ในทางวิชาการ
เรี ยกว่า “มีค�ำอ่านต่างกัน (Variant reading)” ท�ำให้ เกิดค�ำถามขึ ้นว่า
ค�ำอ่านไหนกันแน่ที่เป็ นค�ำอ่านดังเดิ ้ ม (Original reading)? หลักเกณฑ์
ทางวิชาการที่ พยายามตอบค�ำถามเรื่ องนี ้ คือ การตรวจช�ำระคัมภี ร์
เชิ ง วิ เ คราะห์ ( Textual criticism) 1 ซึ่ง มี ก ระบวนการท� ำ งานตัง้ แต่
การรวบรวมแหล่ ง ข้ อมู ล ปฐมภู มิ ท่ี เ ป็ นต้ นฉบั บ เก่ า แก่ กรณี ข อง
พระไตรปิ ฎกบาลี ก็ คื อ “พระไตรปิ ฎกบาลี ฉ บั บ ใบลาน” นั่ น เอง
เมื่อรวบรวมต้ นฉบับเก่าแก่ได้ แล้ วก็จะเข้ าสู่ขนตอนศึั้ กษาเปรี ยบเทียบ
และวินิจฉัยค�ำต่างที่พบในต้ นฉบับทัง้ หมดพร้ อมทัง้ ศึกษาเอกสารอื่น
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า งละเอี ย ดรอบคอบเพื่ อ สาวย้ อ นกลับ ไปหาข้ อ ความ
ที่ใกล้ เคียงกับข้ อความดังเดิ ้ มมากที่สดุ เท่าที่จะท�ำได้
บทความนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อแสดงให้ เห็นถึงแนวทางการศึกษา
เปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อใช้ ประกอบการวินิจฉัย
ค�ำต่างที่พบในสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย โดยใช้ ต้นฉบับที่เป็ นคัมภีร์
ใบลาน 5 สายอักษร ได้ แก่ อักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรมอญ อักษร
ขอม และอักษรธรรม ประกอบกับพระไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์ อีก 4 ฉบับ

1 แม่ชีวิมตุ ติยา (2557: 210) ได้ แปลค�ำภาษาอังกฤษ A Critical edition


of the Tipitaka เป็ น ภาษาไทยว่า “การตรวจสอบช� ำ ระพระไตรปิ ฎ ก
เชิงวิเคราะห์” แนวคิดเรื่ องการตรวจช� ำระเชิงวิเคราะห์เกิดขึน้ ในยุโรป
วิธีการนี ้จึงเริ่ มใช้ กบั คัมภีร์ไบเบิลและวรรณกรรมกรี ก-ละตินก่อน ต่อมา
เมื่ อ นัก วิ ช าการชาวตะวัน ตกเข้ า มาศึก ษาคัม ภี ร์ ใ นอิ น เดี ย จึ ง ได้ น� ำ
วิชาการตรวจช�ำระเชิงวิเคราะห์มาใช้ กบั คัมภีร์สนั สกฤตและคัมภีร์บาลีด้วย
ผู้ส นใจสามารถศึ ก ษาประวัติ ค วามเป็ น มาเกี่ ย วกับ การตรวจช� ำ ระ
เชิงวิเคราะห์และประวัตกิ ารตรวจช�ำระพระไตรปิ ฎกบาลีโดยสังเขปได้ จาก
Clark (2015a: 51-85)
124
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

ผู้เ ขี ย นเชื่ อ ว่า งานวิ จัย ในแขนงนี จ้ ะช่ว ยสนับ สนุน ส่ง เสริ ม การศึก ษา
ภาษาบาลี ใ ห้ เ จริ ญ งอกงาม และสร้ างความรู้ ความเข้ า ใจเกี่ ย วกับ
การสืบทอดพระไตรปิ ฎกบาลีและประวัตศิ าสตร์ พระพุทธศาสนาในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ไปพร้ อมๆ กันด้ วย
ในหัวข้ อถัดไปผู้เขียนจะขอกล่าวถึงประวัตคิ วามเป็ นมาและแหล่ง
ข้ อมูลที่มาของพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับพิมพ์ทงั ้ 4 ฉบับที่นิยมใช้ แพร่หลาย
ในปัจจุบนั ก่อน จากนันจะยกตั ้ วอย่างปัญหาค�ำต่างทีพ่ บในสุภสูตรพร้ อม
ทังแสดงแนวทางการวิ
้ เคราะห์ปัญหาและธรรมชาติของการท�ำงานศึกษา
เปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานโดยละเอียดต่อไป

2. พระไตรปิฎกบาลีฉบับพิมพ์

พระไตรปิ ฎกบาลีในปั จจุบนั สืบทอดกันมาตังแต่ ้ เมื่อครัง้ สังคายนา


ครั ง้ ที่ 1 ที่ จัด ขึน้ ณ กรุ ง ราชคฤห์ หลัง พุท ธปริ นิ พ พานได้ 3 เดื อ น
ค� ำ สอนที่ ไ ด้ ร วบรวมเรี ย บเรี ย งในครั ง้ นัน้ เรี ย กว่ า “ธรรมวิ นัย ” 2 ต่ อ
มาจึง ค่อ ยเรี ย กเป็ น “พระไตรปิ ฎ ก” ในภายหลัง ค� ำ ถามคื อ คัม ภี ร์
พระไตรปิ ฎ กบาลี ถูก เรี ย กว่ า เป็ น “พระไตรปิ ฎ ก” ตัง้ แต่ ส มัย ไหน?
วิ ธี ก ารหนึ่ง ในการแสวงหาค� ำ ตอบโดยอ้ อ มคื อ การศึก ษาว่า ชื่ อ เรี ย ก
“พระไตรปิ ฎ ก” หรื อ ค� ำ ศัพ ท์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกัน มี ป รากฏอยู่ใ นหลัก ฐาน

2 หลักฐานปฐมภูมแิ รกสุดทีก่ ล่าวเหตุการณ์สงั คายนาครัง้ ที่ 1 คือ บันทึกเรื่อง


“ปัญจสติกขันธกะ” ในคัมภีร์จลุ วรรคแห่งพระวินยั ปิ ฎก (วิ.จู. 7/614/379 ff.)
ที่เป็ นบันทึกเหตุการณ์การสังคายนาโดยพระเถระ 500 รูป ณ กรุงราชคฤห์
บันทึกเหตุการณ์ สงั คายนาครัง้ ที่ 1 นีค้ ่อนข้ างมีน�ำ้ หนักมาก เนื่องจาก
เหตุการณ์ สงั คายนาครัง้ ที่ 1 ยังถูกบันทึกไว้ ในพระวินัยปิ ฎกของนิกาย
หินยานอื่นๆ อีก 5 นิกายด้ วย ได้ แก่ มหาสังฆิกะ มหิงสาสกะ ธรรมคุปต์
สรวาสติ ว าท และมูล สรวาสติ ว าท ซึ่ง ได้ สื บ ทอดต่อ มาจนปั จ จุบัน ได้
ถูกผนวกเป็ นส่วนหนึง่ ในชุดพระไตรปิ ฎกจีน
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 125
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

ที่เก่าแก่ที่สดุ ชิ ้นใดและมีอายุเก่าแก่แค่ไหน หลักฐานดังกล่าวจะเป็ นการ


ยืนยันว่าอย่างน้ อยทีส่ ดุ ในสมัยนันก็
้ มชี ื่อเรี ยก “พระไตรปิ ฎก” เกิดขึ ้นแล้ ว
ส�ำหรั บหลักฐานที่เป็ นคัมภีร์บาลีนัน้ Norman ได้ ชีใ้ ห้ เห็นว่ามีค�ำว่า
“tipeṭaka” และ “tepiṭaka” ปรากฏอยูใ่ นคัมภีร์มลิ นิ ทปัญหา และมีคำ� ว่า
“tipeṭakin (ทรงพระไตรปิ ฎก)” ปรากฏอยูใ่ นคัมภีร์ปริ วาร3 แต่ Norman
สันนิษฐานว่าค�ำศัพท์ดงั กล่าวน่าจะเป็ นข้ อความที่ถกู แทรกเข้ ามาภาย
หลังเมือ่ พระไตรปิ ฎกได้ เผยแพร่ไปถึงเกาะลังกาแล้ ว ซึง่ อาจเป็ นช่วงเวลาที่
ล่วงเลยไปถึงพุทธศตวรรษที่ 6 แล้ วก็ได้ 4 แต่เมื่อพิจารณาหลักฐานฝ่ าย
โบราณคดีที่เป็ นศิลาจารึ กรายนามผู้บริ จาคจ�ำนวน 38 แผ่นที่ขุดค้ น
พบจากสถูป Bharhut พบว่ามีค�ำที่เกี่ยวเนื่องกับชื่อเรี ยกพระไตรปิ ฎก
ปรากฏอยูบ่ นศิลาจารึกเหล่านี ้หลายค�ำ ได้ แก่ suttantika (ผู้ทรงพระสูตร),
vinayadhara (ผู้ทรงพระวินย ั ), peṭakin (ผู้ทรงปิ ฎก), pacanekāyika
(ผู้ทรงนิกายทังห้ ้ า) และ trepiṭaka (ผู้ทรงพระไตรปิ ฎก) ค�ำศัพท์เหล่านี ้
เป็ นการระบุถึงผู้เชี่ยวชาญพระไตรปิ ฎก ดังนันจึ ้ งอาจสันนิษฐานได้ ว่า
คัมภีร์ค�ำสอนหลักของพระพุทธศาสนาน่าจะถูกเรี ยกเป็ น “พระไตรปิ ฎก”
อย่างช้ าที่สดุ ในสมัยสถูป Bharhut คือ ราวพุทธศตวรรษที่ 35
คัมภีร์ค�ำสอนของพระพุทธศาสนาที่เรี ยกว่า “ธรรมวินยั ” ได้ ถูก
สืบทอดต่อมาด้ วยการสวดทรงจ�ำแบบมุขปาฐะตังแต่ ้ เมื่อครัง้ สังคายนา
ครัง้ ที่ 1 และเราทราบจากคัมภีร์ทีปวงศ์วา่ ต่อมาคัมภีร์พระไตรปิ ฎกและ
คัมภีร์อรรถกถาได้ ถูกบันทึกเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรที่เกาะลังกาในสมัย

3 Norman อ้ างค� ำ อ่ า น Khemanāmo tipeṭakī จากฉบั บ ยุ โ รป


(Vin (E ) V 3,14) ซึ่งตรงกับฉบับไทย (วิ.ป. 8/3/4) แต่ในฉบับพม่า
e

(Vin (B ) V 3,12) ใช้ ค�ำว่า “tipeṭako” แทน


e

4 Norman (1997: 133)


5 Shimoda (1997: 15)
126
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

พระเจ้ าวัฏฏคามินอี ภัยซึง่ ตรงกับช่วงราวพุทธศตวรรษ 56 ตังแต่ ้ นนเป็ ั ้ นต้ น


มาพระไตรปิ ฎกบาลีก็ได้ สบื ทอดมาในรูปแบบของคัมภีร์ใบลานเป็ นเวลา
ยาวนานกว่าสองพันปี จนกระทัง่ นักวิชาการชาวเดนมาร์ ก Rasmus Rask
(พ.ศ. 2330-2375) ได้ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจ�ำนวนมากจากศรี ลงั กา
มาเก็บรั กษาไว้ ที่หอสมุดในเมืองโคเปนเฮเกน ซึ่งต่อมาคัมภีร์ใบลาน
ชุด นี เ้ องได้ ก ลายเป็ น ต้ น ฉบับ ในการจัด พิ ม พ์ คัม ภี ร์ บ าลี เ ป็ น หนัง สื อ
กระดาษครัง้ แรกเมื่อปี พ.ศ. 2384-2398 คัมภีร์บาลีฉบับยุโรปที่ทยอย
จัด พิ ม พ์ อ อกมาในช่ ว งเวลาดัง กล่า ว คื อ คัม ภี ร์ กัม มวากยะ คัม ภี ร์
รสวาหิน(ี เฉพาะท่อนแรก) และธรรมบท7 เหตุการณ์นี ้ถือเป็ นประวัตศิ าสตร์
ที่น่าสนใจว่าคัมภีร์บาลีที่สืบทอดต่อกันมาในรู ปแบบของคัมภีร์ใบลาน
ในเอเชียได้ ถกู จัดพิมพ์ในรูปแบบหนังสือกระดาษเป็ นครัง้ แรกในยุโรปด้ วย
ตัวอักษรโรมัน แต่การจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับยุโรปเป็ นการจัดพิมพ์
แยกเป็ นเล่มๆ ไม่ได้ จดั พิมพ์ทงชุั ้ ดอย่างเป็ นระบบ กว่าทีพ่ ระไตรปิ ฎกบาลี

6 20-21: piṭakattayapāliñ ca tassā aṭṭhakatham pi ca,


Dīp XX.
mukhapāṭhena ānesuṃ pubbe bhikkhu mahāmati (20) | hāniṃ
disvāna sattānaṃ tadā bhikkhu samāgatā, ciraṭṭhitatthaṁ
dhammassa potthakesu likhāpayuṃ ( 21). Odenberg (1879, 211)
แปลคาถาบาลีเป็ นภาษาอังกฤษไว้ ดงั นี:้ 20. Before this time, the wise
Bhikkhus had orally handed down the text of the three Piṭakas
and also the Aṭṭhakathā. 21. At this time, the Bhikkhus who
perceived the decay of created beings, assembled and in order
that the Religion might endure for a long time, they recorded
(the above-mentioned texts) in written books.
7 Balbir (2009: 3)
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 127
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

ฉบับยุโรปจะจัดพิมพ์ออกมาครบชุดก็ต้องใช้ เวลาอีกเกือบ 150 ปี ต่อ


มา8 ส่วนพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับพิมพ์ที่จดั พิมพ์ออกมาทังชุ ้ ดเป็ นครัง้ แรก
ของโลกนันได้
้ จดั พิมพ์ขึ ้นในประเทศไทยด้ วยอักษรไทย คือ พระไตรปิ ฎก
ฉบับ พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่หัว นั่น เอง ซึ่ง ต่อ มาได้
กลายเป็ นพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับสยามรัฐที่ใช้ อ้างอิงอย่างกว้ างขวางใน
ประเทศไทย

2.1 ประวัติความเป็นมาของพระไตรปิฎกบาลีฉบับสยามรัฐ
(ฉบับไทย)
พระไตรปิ ฎ กฉบับ พระบาทสมเด็จ พระจุล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่หัว
(ต่อ ไปจะเรี ย กว่า พระไตรปิ ฎ กฉบับ รั ช กาลที่ 5) ที่ จัด พิ ม พ์ ขึน้ เมื่ อ ปี
พ.ศ. 2436 เพื่ อ เฉลิ ม ฉลองการครองสิ ริ ร าชสมบัติ ค รบ 25 ปี ข อง
พระองค์ ถือเป็ นการจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกบาลีทงชุ ั ้ ดเป็ นครัง้ แรกของโลก
ซึ่งประกอบด้ วยคัมภีร์จ�ำนวน 39 เล่ม ขาดเพียงคัมภีร์บางเล่มเท่านัน้
ที่ไม่ได้ จดั พิมพ์ในคราวนัน้ 9 การจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกฉบับรัชกาลที่ 5
ได้ สร้ างนวัตกรรมหลายประการในการสืบทอดพระไตรปิ ฎกบาลีของไทย
เช่น เปลีย่ นวิธีการในการสืบทอดจากการจารลงในใบลานมาเป็ นการพิมพ์
ลงบนหนังสือกระดาษ เปลี่ยนชุดอักษรที่ใช้ บนั ทึกจากอักษรขอมมาเป็ น
อักษรไทย เป็ นต้ น อีกทังยั
้ งแสดงให้ เห็นถึงพระปรีชาสามารถของพระบาท

8 พระไตรปิ ฎกบาลี ฉ บั บ ยุ โ รปที่ จั ด พิ ม พ์ โ ดยสมาคมบาลี ป กรณ์


(Pali Text Society) ถื อเป็ นฉบับมาตรฐานที่นักวิชาการทั่วโลกนิยม
ใช้ อ้างอิง คัมภีร์พระไตรปิ ฎกเล่มสุดท้ ายของสมาคมบาลีปกรณ์ คือ คัมภีร์
Dhammapada ที่ตรวจช�ำระโดย O. v. Hinüber และ K. R. Norman
และจัดพิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2537
9 คัม ภี ร์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ จัด พิ ม พ์ ร วมอยู่ใ นพระไตรปิ ฎ กฉบับ รั ช กาลที่ 5 ได้ แ ก่
วิมานวัตถุ เปตวัตถุ เถรคาถา เถรี คาถา ชาดก อปทาน พุทธวงศ์ จริ ยาปิ ฎก
และเนื ้อหาตอนท้ ายของคัมภีร์มหาปั ฏฐาน (แม่ชีวิมตุ ติยา 2557: 86-87)
128
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

สมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ทังพระราชกรณี


้ ยกิจในด้ านงานการ
ศาสนาและด้ านวิเทโศบายต่างประเทศที่ชว่ ยประคับประคองให้ ประเทศ
ชาติมนั่ คงผ่านพ้ นสภาวการณ์ทบี่ ้ านเมืองก�ำลังตกอยูใ่ นยุคล่าอาณานิคม
ของชาติตะวันตกในขณะนัน้
นอกจากนี ้ยังมีรายละเอียดเกี่ยวกับพระไตรปิ ฎกฉบับรัชกาลที่ 5
ที่น่าสนใจอีกหลายประการ ทังในเรื ้ ่ องต้ นฉบับและกระบวนการตรวจ
ช� ำ ระ รู ป แบบและการด� ำ เนิ น การจัด พิ ม พ์ รายนามคณะกรรมการ
ที่รับผิดชอบ การประสานงานกับต่างประเทศ ปั ญหาและอุปสรรคในการ
จัดสร้ างพระไตรปิ ฎก ตลอดจนเหตุการณ์ส�ำคัญอื่นที่เกี่ยวข้ อง ผู้สนใจ
สามารถศึกษาค้ นคว้ าเพิ่มเติมได้ จากงานวิจยั ของแม่ชีวิมตุ ติยา (2557)
ซึง่ ถือเป็ นงานวิจยั ที่ครบถ้ วนสมบูรณ์ที่สดุ ในขณะนี ้ในบทความนี ้ผู้เขียน
ขอกล่าวเฉพาะประเด็นทีเ่ กี่ยวข้ องกับต้ นฉบับและแนวทางการตรวจช�ำระ
ของพระไตรปิ ฎกฉบับรัชกาลที่ 5
ค� ำ น� ำ ในตัว เล่ ม ของพระไตรปิ ฎ กฉบับ รั ช กาลที่ 5 ไม่ ไ ด้ ร ะบุ
รายละเอียดเกี่ยวกับต้ นฉบับที่ใช้ ในการตรวจช�ำระ เราจึงไม่ทราบเลยว่า
คณะผู้ตรวจช�ำระน�ำคัมภีร์ใบลานฉบับใดบ้ างมาเป็ นต้ นฉบับ จนกระทัง่
แม่ชีวิมตุ ติยาได้ ศึกษาเอกสารหอจดหมายเหตุแห่งชาติที่เกี่ยวข้ องกับ
การจัดสร้ างพระไตรปิ ฎกฉบับรัชกาลที่ 5 จึงท�ำให้ ทราบว่าต้ นฉบับหลัก
น่าจะเป็ นพระไตรปิ ฎกใบลานฉบับทองใหญ่และฉบับทองน้ อยที่สร้ างขึ ้น
ในสมัยรัชกาลที่ 1 หรื อฉบับอื่นที่สบื ทอดต่อกันมา แม่ชีวมิ ตุ ติยาได้ กล่าว
สรุปไว้ ดงั นี ้

หนังสือข้ างต้ นเป็ นหลักฐานว่า พระเจ้ าน้ องยาเธอ กรมหมื่น


วชิรญาณวโรรส (และกรรมการตรวจช�ำระพระไตรปิ ฎกฉบับรัชกาล
ที่ 5 ท่านอืน่ ๆ) ได้ ใช้ “พระคัมภีรไ์ ตรปิฎกในหอพระมณเฑียรธรรม”
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 129
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

เป็นฉบับหลักในการตรวจช�ำระพระไตรปิฎก ขณะเดียวกันก็ได้
รวบรวม “พระคัมภีร์ไตรปิฎกฉบับต่างๆ” “เพื่อที่จะได้สอบ (คือ
เทียบกับ) พระไตรปิฎกซึ่งตรวจแก้ลงพิมพ์อยู่นั้น”..
“พระคัมภีรไ์ ตรปิฎกในหอพระมณเฑียรธรรม” ทีก่ ล่าวถึงนี ้น่า
จะเป็ นพระไตรปิ ฎกฉบับทองใหญ่และฉบับทองน้ อย ภาษาบาฬี
อักษรขอม หรื อฉบับที่จารสืบทอดมาจากฉบับทองใหญ่และฉบับ
ทองน้ อยนัน.้
พระไตรปิ ฎกฉบับทองใหญ่เป็ นพระไตรปิ ฎกหลวงฉบับแรก
ของกรุ งรัตนโกสินทร์ เป็ นผลจากการสังคายนาเมื่อพุทธศักราช
2331 ตามพระราชด� ำริ และพระราชูปถัมภ์ ในพระบาทสมเด็จ
พระพุท ธยอดฟ้า จุฬ าโลก ปฐมกษั ต ริ ย์ แ ห่ง บรมราชจัก รี ว งศ์ .
การสังคายนาใช้ เวลา 5 เดือน เมื่อสิ ้นสุดการสังคายนา ได้ โปรดฯ
ให้ จารพระไตรปิ ฎกลงในใบลาน ปิ ดทองแท่งทึบทังปกหน้้ าหลัง
และกรอบ. 10

คณะผู้ตรวจช� ำระพระไตรปิ ฎกฉบับรั ช กาลที่ 5 ประกอบด้ ว ย


พระสงฆ์ เ ถรานุเ ถระผู้เ ชี่ ย วชาญพระไตรปิ ฎ กและพระสงฆ์ เ ปรี ย ญ
ประโยคสูงและจบเปรียญ 3 ประโยคจ�ำนวน 110 รูป11 นอกจากต้ นฉบับหลัก
ที่ เ ป็ นพระไตรปิ ฎกใบลานฉบั บ ทองใหญ่ แ ละฉบั บ ทองน้ อยแล้ ว
คณะตรวจช�ำระยังได้ ใช้ พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับสิงหล (สี.) พม่า (พ. หรื อ
ม.) มอญ (รา. ซึง่ มาจากค�ำว่ารามัญ) ยุโรป (ยุ. คือฉบับสมาคมบาลีปกรณ์
ของอังกฤษ) และคัมภีร์อรรถกถา (อ.) มาประกอบในการตรวจช�ำระด้ วย
ซึ่ง สัง เกตได้ จ ากอัก ษรย่อ ที่ ป รากฏอยู่ใ นเชิ ง อรรถพระไตรปิ ฎ กฉบับ

10 แม่ชีวิมตุ ติยา (2557: 207-208)


11 เรื่ องเดียวกัน (49-74)
130
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

รั ช กาลที่ 5 12 ความหลากหลายของต้ น ฉบับ เหล่า นี แ้ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง


ความสามารถและความเชีย่ วชาญของคณะผู้ตรวจช�ำระทีอ่ า่ นภาษาบาลี
อักษรต่างๆ รวมทังอั ้ กษรโรมันได้ อย่างแตกฉานมาตังแต่ ้ ในสมัยนันแล้ ้ ว
สิ่งที่ น่าสนใจที่ สุดคื อ แนวทางในการตรวจช� ำระพระไตรปิ ฎก
ฉบับรัชกาลที่ 5 ซึง่ แม่ชีวิมตุ ติยาได้ ตรวจสอบเชิงอรรถพระไตรปิ ฎกฉบับ
รัชกาลที่ 5 โดยละเอียดและได้ ข้อสรุปว่า เป็ นการตรวจช�ำระเพื่อสืบทอด
ต้ นฉบับเป็ นส�ำคัญ กล่าวคือผู้ตรวจช�ำระจะคงข้ อความของต้ นฉบับหลัก
เอาไว้ แล้ วแสดงค�ำต่างที่พบในพระไตรปิ ฎกฉบับอื่นๆ ไว้ ในเชิงอรรถ
แม้ เมื่อผู้ตรวจช�ำระจะมีความเห็นต่างจากต้ นฉบับ แต่ก็จะยังคงข้ อความ
ตามต้ นฉบับเอาไว้ แล้ วแสดงความเห็นของตนไว้ ในเชิงอรรถเท่านัน้ แม่ชี
วิมตุ ติยาตรวจพบเพียงกรณีเดียวเท่านัน้ ทีผ่ ้ ตู รวจช�ำระได้ เปลีย่ นข้ อความ
ต้ นฉบับตามผลการวินจิ ฉัยของตนทีไ่ ด้ จากการตรวจสอบกับพระไตรปิ ฎก
ฉบับต่างๆ รวมถึงคัมภีร์อรรถกถาและฎีกา พร้ อมทังแสดงเหตุ
้ ผลประกอบ
ไว้ ในเชิงอรรถด้ วย กรณี ดงั กล่าวนีป้ รากฏอยู่ในหน้ า 105 ของคัมภีร์
มหาวรรคแห่งพระวินยั ปิ ฎก ซึง่ มีพระเจ้ าน้ องยาเธอกรมหมื่นวชิรญาณ-
วโรรสเป็ นผู้ตรวจช�ำระ13
หลัง จากที่ พ ระไตรปิ ฎ กฉบับ รั ช กาลที่ 5 จัด พิ ม พ์ อ อกมาแล้ ว
ก็ถกู น�ำไปอ้ างอิงอย่างแพร่ หลายโดยนักวิชาการต่างประเทศในฐานะที่
เป็ นพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับตัวแทนจากสายอักษรขอมทีบ่ ริสทุ ธิ์ ปราศจาก
ข้ อความจากพระไตรปิ ฎกสายอืน่ มาเจือปน14 ซึง่ เป็ นผลลัพธ์จากแนวทาง

12 แม่ชีวิมตุ ติยา (2557: 151)


13 เรื่ องเดียวกัน (151-172)
14 Balbir (2009: 4) และ แม่ชีวิมต
ุ ติยา (2557: 209-212) อ้ างถึงค�ำกล่าว
ของ Chalmers (1898: 8-9) ที่กล่าวไว้ ว่า “It is from these and
copies made there from that the present Siamese edition has

(อ่านเชิงอรรถในหน้ าต่อไป)
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 131
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

การตรวจช�ำระที่พยายามรักษาต้ นฉบับเอาไว้ อย่างเคร่งครัดตามที่กล่าว


ไปแล้ วข้ างต้ น
ต่อมาพระไตรปิ ฎกฉบับรั ชกาลที่ 5 ได้ กลายเป็ นต้ นฉบับหลัก
ของการสัง คายนาในรั ช สมัย พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่หัว
รัชกาลที่ 7 โดยได้ ตรวจช�ำระและจัดพิมพ์เป็ นพระไตรปิ ฎกครบทังชุ ้ ด
45 เล่มเป็ นพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับสยามรั ฐในปี พ.ศ. 2468-247115
โดยปรับข้ อความบางแห่งในตัวเนื ้อความพระไตรปิ ฎกและเพิ่มค�ำต่าง
ในเชิงอรรถให้ มากขึ ้น พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับสยามรัฐนี ้เองที่ได้ รับการ

(เชิงอรรถต่อจากหน้ าที่แล้ ว)

been prepared by the scholars whose names appear on the


title-pages of the several volumes. It appears that the learned
editors did not feel themselves at liberty to prepare what we should
call a critical edition of the Tipitaka; they restricted themselves,
very naturally and intelligibly, to restoring the national redaction,
and to removing the errors which had marred the work of the last
century. From the European point of view this self-imposed
restriction is one of the most valuable features of this most
valuable edition. In the present Siamese redaction, we have
no eclectic text pieced together from the divergent recensions
of Siam, Burma, and Ceylon; on the contrary, we have a purely
Siamese text, embodying to a very high pitch of accuracy
the ancient traditions of Siamese scholarship.”
15 ส� ำ หรั บ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกับ คัม ภี ร์ ที่ ถูก จัด พิ ม พ์ เ สริ ม จนครบชุด และ
ความแตกต่างในการจัดแบ่งเล่มและการนับล�ำดับเล่มระหว่างพระไตรปิ ฎก
ฉบับรัชกาลที่ 5 และพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับสยามรัฐ สามารถศึกษาได้ จาก
แม่ชีวิมตุ ติยา (2557, 86-90)
132
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

พิมพ์ซ� ้ำและได้ รับการอ้ างอิงอย่างแพร่ หลายตลอดมาจนถึงในปั จจุบนั


โดยได้ รับการยอมรั บว่าเป็ นพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับที่ บริ สุทธิ์ บริ บูรณ์
ที่สืบทอดมาจากคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย16

16 Clark (2015 a: 68) อ้ า งถึ ง Hamm (1973: 127, 131-134) แต่


von Hinüber (1983: 75-76, 88) ได้ ตงข้ ั ้ อสังเกตไว้ วา่ คัมภีร์ใบลานในไทย
รวมทัง้ คัม ภี ร์ ใ บลานบาลี ไ ด้ ถูก ท� ำ ลายและสูญ หายเป็ น จ� ำ นวนมาก
ในคราวเสี ย กรุ ง ครั ง้ ที่ 2 เมื่ อ ปี พ.ศ. 2310 ต่ อ มาไทยจึ ง ค่ อ ยฟื ้น ฟู
พระไตรปิ ฎกบาลีของตนขึน้ ใหม่ภายหลังโดยอาศัยคัมภี ร์ใบลานจาก
ศรี ลงั กาและพม่า จึงเป็ นเหตุให้ มีข้อความจากพระไตรปิ ฎกสายสิงหลและ
พม่าเข้ ามาปนอยู่ในพระไตรปิ ฎกบาลีของไทยด้ วย หากต้ องการฟื ้นฟู
พระไตรปิ ฎกบาลีของไทยที่บริ สทุ ธิ์สมบูรณ์อย่างแท้ จริ ง จ�ำเป็ นจะต้ องใช้
คั ม ภี ร์ ใ บลานที่ มี อ ายุ เ ก่ า แก่ ก ว่ า สมั ย เสี ย กรุ ง ครั ง้ ที่ 2 โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมเก่าแก่ที่น่าจะหลงเหลืออยู่ตามวัดใน
ภาคเหนือของไทย อย่างไรก็ตามผู้วิจยั มีความเห็นต่างออกไปว่าคัมภีร์
ใบลานที่ถูกท�ำลายเมื่อครัง้ เสียกรุ งครัง้ ที่ 2 น่าจะจ�ำกัดวงอยู่เฉพาะใน
อยุธยาและพื ้นทีท่ ที่ พั พม่าไปถึงเท่านัน้ ดังจะเห็นได้ จากบันทึกหอพระสมุดฯ
ว่า “พระเจ้ ากรุ งธนบุรีเสด็จยกทัพหลวงลงไปตีถึงเมืองนครศรี ธรรมราช
เมื่อได้ เมือง พบคัมภีร์พระไตรปิ ฎกยังมีอยู่ที่เมืองนครศรี ธรรมราชมาก
ด้ วยคราวเมื่อเสียกรุงเก่า พม่าหาได้ ยกลงไปตีถงึ เมืองนครศรี ธรรมราชไม่
พระเจ้ ากรุงธนบุรีจงึ มีรับสัง่ ให้ ยมื คัมภีร์พระไตรปิ ฎกทีเ่ มืองนครศรีธรรมราช
ขนเข้ ามายังกรุงธนบุรี และต่อมาโปรดให้ พระราชาคณะไปเที่ยวหาหนังสือ
ซึง่ ยังขาดต้ นฉบับ ถึงกรุ งกัมพูชาแลเมืองอื่นๆ อีก” (กรมพระด�ำรงราชา-
นุภาพ 2459: 4) พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานที่รวบรวมครัง้ นันก็ ้ ได้ กลาย
เป็ นต้ นฉบับหลักของการสังคายนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ-
ยอดฟ้า จุฬ าโลกมหาราช เมื่ อ ปี พ.ศ. 2331 อี ก ทัง้ ผลจากการศึก ษา

(อ่านเชิงอรรถในหน้ าต่อไป)
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 133
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

หลังจากที่พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับสยามรัฐได้ จดั พิมพ์ออกมาแล้ ว


ต่อมาประเทศพม่าและศรี ลงั กาก็ได้ จดั พิมพ์พระไตรปิ ฎกบาลีของตนขึ ้น
บ้ างในวาระเฉลิมฉลองกึ่งพุทธกาล พ.ศ. 2500 โดยประเทศพม่าได้ จดั
สังคายนาครัง้ ที่ 6 ณ กรุ งย่างกุ้ง แล้ วจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับ
ฉัฏฐสังคีตอิ อกมาก่อน ประเทศศรี ลงั กาจึงได้ ทยอยจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎก
ฉบับพุทธชยันตีออกมาในช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน

2.2 ประวั ติ ค วามเป็ น มาของพระไตรปิ ฎ กบาลี ฉ บั บ


ฉัฏฐสังคีติ (ฉบับพม่า)
เมื่ อ พม่ า ได้ รั บ เอกราชจากประเทศอัง กฤษในปี พ.ศ. 2491
ได้ ไม่นาน ทางรัฐบาลพม่าก็ได้ จดั ท�ำโครงการขนาดยักษ์ ระดับประเทศ
เพื่ อ ตรวจช� ำ ระพระไตรปิ ฎกบาลี ค รั ง้ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ครั ง้ หนึ่ ง ใน
ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนา ณ กรุ งย่างกุ้ง เมื่อปี พ.ศ. 2497-2499
ทังนี้ ้เพือ่ เป็ นการเฉลิมฉลองในวาระพระพุทธศาสนาครบรอบกึง่ พุทธกาล17
ประเทศพม่าเรี ยกการตรวจช�ำระครัง้ นี ้ว่าเป็ น “การสังคายนาครัง้ ที่ 6”
ซึง่ เป็ นที่มาของชื่อเรี ยกพระไตรปิ ฎกฉบับนี ้นัน่ เอง18

(เชิงอรรถต่อจากหน้ าที่แล้ ว)

เปรียบเทียบข้ อความบาลีในสุภสูตรฉบับใบลานสายอักษรสิงหล พม่า มอญ


ขอม และธรรม ผู้ วิ จัย ไม่ พ บว่ า มี ร่ อ งรอยค� ำ อ่ า นจากคัม ภี ร์ ใ บลาน
สายสิงหลหรื อพม่าปะปนอยู่ในพระไตรปิ ฎกใบลานสายอักษรขอมหรื อ
พระไตรปิ ฎกฉบับสยามรัฐแต่อย่างใด
17 พม่ามีธรรมเนียมนับปี พทุ ธศักราชเร็ วกว่าไทย 1 ปี ท�ำให้ การสังคายนา
ครัง้ ที่ 6 นี ้เสร็จสิ ้นในปี พ.ศ. 2499
18 ไทย พม่า และศรีลงั กามีธรรมเนียมการนับล�ำดับการสังคายนาแตกต่างกัน

(อ่านเชิงอรรถในหน้ าต่อไป)
134
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

ในการสังคายนาครัง้ นัน้ รัฐบาลพม่าได้ อาราธนาพระเถรานุเถระ


ชาวพม่าผู้เชี่ยวชาญพระไตรปิ ฎกจ�ำนวน 1,129 รูปท�ำสังคายนาเป็ นเวลา
หลายปี นอกจากนี ้ยังได้ เชิญคณะสงฆ์จากประเทศศรี ลงั กา ไทย กัมพูชา
และลาวให้ มีส่วนร่ วมในการตรวจสอบความถูกต้ องของพระไตรปิ ฎก
ฉบับฉัฏฐสังคายนาอีกด้ วย19 โดยในระหว่างปี พ.ศ. 2496-2499 ได้ มีการ
จั ด พิ ม พ์ พ ระไตรปิ ฎกตามเนื อ้ หาในพระไตรปิ ฎกฉบั บ สั ง คายนา
ครั ง้ ที่ 5 หรื อที่ เรี ย กว่าพระไตรปิ ฎ กฉบับหิ น อ่อ นสมัย พระเจ้ า มิ น ดง
เพื่อใช้ เป็ นต้ นฉบับหลักในการตังต้ ้ นพิจารณาในการสังคายนา จากนัน้
จึ ง ได้ จั ด พิ ม พ์ พ ระไตรปิ ฎกที่ ผ่ า นการสั ง คายนาครั ง้ นี เ้ ผยแพร่
ออกมาในปี พ.ศ. 2500-2506 จ�ำนวน 40 เล่ม20 ซึง่ ได้ ผนวกเอาคัมภีร์
เนตติปกรณ์ เปฏโกปเทส และมิลนิ ทปั ญหาไว้ ในหมวดขุททกนิกายแห่ง
พระสุตตันตปิ ฎกไว้ ด้วย

(เชิงอรรถต่อจากหน้ าที่แล้ ว)

ตามธรรมเนียมพม่าแล้ ว สังคายนาครัง้ ที่ 1 จัดขึ ้นที่กรุงราชคฤห์ภายหลัง


พุทธปริ นิพพานได้ 3 เดือน สังคายนาครัง้ ที่ 2 จัดขึ ้นที่กรุ งเวสาลีราวปี
พ.ศ. 100 สังคายนาครั ง้ ที่ 3 จัดขึน้ ที่ กรุ งปาฏลีบุตรราวปี พ.ศ. 235
สังคายนาครัง้ ที่ 4 จัดขึ ้นที่อาโลกเลนสถาน เมืองมตเลชนบท ประเทศ
ศรี ลงั กา ราวปี พ.ศ. 450 และสังคายนาครัง้ ที่ 5 จัดขึ ้นที่เมืองมัณฑเลย์
ประเทศพม่า เมื่อปี พ.ศ. 2414
19 Clark (2015b: 95)
20 สนทนาธรรมน� ำสุข (2549: 109-117). นอกจากนีส้ นทนาธรรมน� ำสุข
(2549: 109-131) ยัง ได้ เ ปรี ย บเที ย บพระไตรปิ ฎ กฉบับ ฉัฏ ฐสัง คี ติ ที่
จั ด พิ ม พ์ ใ นแต่ ล ะครั ง้ อย่ า งละเอี ย ดและสรุ ป ว่ า พระไตรปิ ฎกฉบั บ
ฉั ฏ ฐสัง คี ติ ที่ ถู ก ต้ องสมบู ร ณ์ ที่ สุ ด ต้ องเป็ นฉบับ ที่ จั ด พิ ม พ์ ร ะหว่ า งปี
พ.ศ. 2500-2506 นี ้เท่านัน้ เพราะฉบับที่จดั พิมพ์ก่อนหน้ านี ้หรื อหลังจากนี ้
เป็ นฉบับที่มีเนื ้อหาตามฉบับสังคายนาครัง้ 5 ไม่ใช่ฉบับสังคายนาครัง้ ที่ 6
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 135
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

นอกจากต้ น ฉบับ หลัก ที่ เ ป็ น พระไตรปิ ฎ กฉบับ สัง คายครั ง้ ที่ 5


สมัยพระเจ้ ามินดงแล้ ว ค�ำน�ำของพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับฉัฏฐสังคีตยิ งั ได้
ระบุถงึ หลักฐานที่ใช้ ประกอบในการตรวจช�ำระไว้ ดงั นี ้
พระไตรปิ ฎกสิงหล (sī.) พระไตรปิ ฎกสิงหลบางเล่ม ( ka-sī.)
พระไตรปิ ฎกสยาม (syā.) พระไตรปิ ฎกกัมพูชา (kaṃ.) พระไตรปิ ฎก
ฉบับสมาคมบาลีปกรณ์ (i.) พระไตรปิ ฎกพม่าบางเล่ม (ka-ma.)21 และ
อรรถกถา (ṭṭha.)
Clark ได้ ตรวจสอบเนื อ้ ความในสีหาสนิ ยวรรคซึ่งเป็ นวรรคที่ 2
ในคัมภีร์อปทานฉบับฉัฏฐสังคีติเทียบกับพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลาน
และฉบับพิมพ์อื่นๆ อีก 28 ฉบับรวมทังพระไตรปิ ้ ฎกฉบับหินอ่อน และ
กล่าวว่าแนวทางในการตรวจช�ำระของพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับฉัฏฐสังคีติ
มีดงั นี ้
1. ปรั บ ให้ ตัว สะกดสอดคล้ อ งกัน ทัง้ ชุด พระไตรปิ ฎ กโดย
เลื อ กค� ำ อ่ า นที่ ส อดคล้ องกั บ รากศั พ ท์ สัน สกฤต เช่ น เลื อ ก
cittappasādena แทน cittapasādena เป็ นต้ น
2. เลือกค�ำที่สอดคล้ องกับกฎฉันทลักษณ์
3. เลือกค�ำที่เป็ นไปตามหลักไวยากรณ์ มาตรฐานของบาลี
และหลีกเลีย่ งค�ำอ่านแปลกๆ ทีอ่ ธิบายได้ ยากในเชิงไวยากรณ์ เช่น
เลือก so ’haṃ aṭṭhārasavasso แทน aṭṭhārasañ ca vasso
’ham
4. เลือกค�ำอ่านที่ ท�ำให้ บริ บทในประโยคเข้ าใจได้ ง่ายขึน้
เช่น varanāga … sakappano “an excellent elephant with
trappings” แทน varanāga … sāthabbaṇo “an excellent

21 สนทนาธรรมน� ำสุข (2549: 123) ระบุว่าอักษรย่อ ka-ma. หมายถึง


พระไตรปิ ฎกฉบับสังคายนาครั ง้ ที่ 5 สมัยพระเจ้ ามินดงที่จัดพิมพ์ ในปี
พ.ศ. 2496-2499 เพื่อใช้ พิจารณาในการท�ำสังคายนาครัง้ ที่ 6 นัน่ เอง
136
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

elephant with a brahman versed in the Atharva Veda”22


นอกจากนี ้ Clark ยังกล่าวอี กว่าพระไตรปิ ฎกฉบับฉัฏฐสังคีติ
ได้ เ ลื อ กใช้ ค�ำ อ่า นของสายสิง หลตามค�ำ แนะน� ำ ของท่า นพุท ธทัต ตะ
ซึง่ เป็ นหนึง่ ในพระสงฆ์ชาวศรี ลงั กาที่ชว่ ยตรวจสอบร่างต้ นฉบับของฉบับ
ฉัฏฐสังคีติ23 ซึง่ ค้ านกับข้ อสังเกตของ Hamm ที่กล่าวไว้ วา่ “we may,
however, note that it [i.e. the Chaṭṭhasaṅgīti Piṭaka series]
24
at least appears uncontaminated with any foreign tradition”
อย่างไรก็ตามค�ำกล่าวของ Clark ทังหมดเป็ ้ นเพียงข้ อสังเกตเบื ้องต้ นทีย่ งั
ไม่สามารถน�ำไปตัดสินพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับฉัฏฐสังคีตไิ ด้ ทงชุ ั ้ ด เนือ่ งจาก
เป็ นผลการศึกษาเปรี ยบเที ยบคัมภี ร์อปทานเพี ยงส่วนหนึ่งประมาณ
13 หน้ าเท่านัน้
ตัง้ แต่ มี ก ารจัด พิ ม พ์ พ ระไตรปิ ฎกฉบับ ฉั ฏ ฐสัง คี ติ เ ป็ น ต้ น มา
พระไตรปิ ฎกฉบับนี ้ก็ได้ รับการยอมรับและถูกใช้ อ้างอิงอย่างกว้ างขวาง
ทัว่ โลก โดยได้ จดั ท�ำเป็ นซอฟต์แวร์ และแอพพลิเคชัน่ ที่สามารถสืบค้ น
เป็ นอักษรโรมันได้ อย่างสะดวกรวดเร็ ว พระไตรปิ ฎกฉบับฉัฏฐสังคีติ
ในรู ปแบบที่เป็ นฐานข้ อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ถกู ต้ องแม่นย�ำที่สดุ เรี ยกว่า
“พระไตรปิ ฎกบาฬี ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500
อักษรโรมัน” ซึง่ จัดท�ำโดยกองทุนสนทนาธรรมน�ำสุขเมื่อปี พ.ศ. 2545
และ 2548 ปั จจุบนั เว็บไซต์ www.suttacentral.net ที่เป็ นแหล่งอ้ างอิง
หลักส�ำคัญแหล่งหนึง่ ของนักวิชาการทัว่ โลกยังได้ เลือกน�ำฐานข้ อมูลชุดนี ้
ไปใช้ ในเว็บไซต์ในฐานะที่เป็ นฉบับตัวแทนของพระไตรปิ ฎกบาลีอีกด้ วย

22 Clark (2015b: 101-105)


23 เรื่ องเดียวกัน (105-106)
24 Hamm (1973: 126) อ้างโดย Clark (2015b: 101)
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 137
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

2.3 ประวั ติ ค วามเป็ น มาของพระไตรปิ ฎ กบาลี ฉ บั บ


พุทธชยันตี (ฉบับสิงหล)
นอกจากพม่าแล้ ว ประเทศศรี ลงั กาก็เป็ นอีกประเทศหนึ่งที่ตรวจ
ช�ำระนอกจากพม่าแล้ ว ประเทศศรีลงั กาก็เป็ นอีกประเทศหนึง่ ทีต่ รวจช�ำระ
พระไตรปิ ฎกบาลีและจัดพิมพ์เผยแพร่เพือ่ เฉลิมฉลองในวาระกึง่ พุทธกาล
ตามที่ ได้ กล่าวไปแล้ วข้ างต้ นว่าในการท�ำสังคายนาครั ง้ ที่ 6 รั ฐบาล
พม่าได้ เชิญคณะสงฆ์จากประเทศศรี ลงั กา ไทย กัมพูชา และลาวให้ มี
ส่ ว นร่ ว มในการตรวจสอบความถูก ต้ อ งของพระไตรปิ ฎ กบาลี ฉ บับ
ฉัฏฐสัง คี ติ ในบรรดาประเทศทัง้ หลายเหล่า นี ้ ศรี ลังกาเป็ น ประเทศ
ที่ มี ค วามกระตื น รื อ ร้ นมี ส่ ว นร่ ว มตรวจสอบร่ า งต้ นฉบั บ มากที่ สุ ด
โดยศรี ลัง กาได้ ตัง้ คณะตรวจช� ำ ระที่ ป ระกอบด้ ว ยพระเถรานุ เ ถระ
ผู้เชีย่ วชาญพระไตรปิ ฎกจ�ำนวน 185 รูปเพือ่ ท�ำหน้ าทีต่ รวจแก้ ร่างต้ นฉบับ
ของฉบับฉัฏฐสังคีติโดยสอบเทียบกับพระไตรปิ ฎกสายสิงหลแล้ วสรุ ป
แก้ ไขตามมติของคณะตรวจช�ำระชุดนี ้ก่อนที่จะส่งต้ นฉบับที่แก้ ไขแล้ ว
กลับไปยังประเทศพม่า25
ต่ อ มารั ฐ บาลศรี ลัง กาได้ จัด สัง คายนาของตนต่ า งหากเมื่ อ ปี
พ.ศ. 2500 เพียงปี เดียวหลังจากที่สงั คายนาครัง้ ที่ 6 ในพม่าเสร็ จสิ ้นลง
ศรี ลงั กาทยอยจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกบาลีออกมาพร้ อมกับค�ำแปลภาษา
สิงหลออกมาจ�ำนวน 52 เล่มในปี พ.ศ. 2500-2532 เรี ยกว่าพระไตรปิ ฎก
ฉบับพุทธชยันตี โดยหน้ าคูจ่ ะเป็ นเนื ้อความภาษาบาลี และหน้ าคี่จะเป็ น
ค�ำแปลภาษาสิงหล จึงท�ำให้ พระไตรปิ ฎกฉบับนีม้ ีขนาดรู ปเล่มและมี
จ� ำนวนเล่มมากกว่าฉบับอื่น26 เมื่อตรวจสอบค�ำน� ำของพระไตรปิ ฎก

25 Clark (2015b: 97)


26 ก่อนหน้ าพระไตรปิ ฎกฉบับพุทธชยันตี ศรี ลงั กาเคยจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎก
ในชุด Simon Hewavitarne Bequest ออกมาเมื่อปี พ.ศ. 2459-2461
แต่ฉบับที่ใช้ อ้างอิงแพร่หลายทัว่ ไปในศรี ลงั กาคือฉบับพุทธชยันตี
138
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

ฉบับพุทธชยันตีก็พบว่าโดยภาพรวมแล้ วต้ นฉบับที่ใช้ ประกอบการตรวจ


ช�ำระมีดงั นี ้ พระไตรปิ ฏกฉบับใบลานสิงหล (sī.) พระไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์
อักษรสิงหล (sī.mu.) พระไตรปิ ฎกสยาม (syā.) พระไตรปิ ฎกพม่าฉบับ
ฉัฏฐสังคีติ (ma.cha.sa.) และพระไตรปิ ฎกฉบับสมาคมบาลีปกรณ์ (PTS.)
แม้ พระไตรปิ ฎกฉบั บ พุ ท ธชยั น ตี จ ะจั ด ท� ำ ในเวลาที่ ไ ล่ เ ลี่ ย
กั บ พระไตรปิ ฎ กฉบับ ฉั ฏ ฐสัง คี ติ และยัง จัด พิ ม พ์ อ อกมาทัน ที ห ลัง
สังคายนาครัง้ ที่ 6 ของพม่า แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าคณะตรวจช�ำระ
ของศรี ลังกาท� ำหน้ าที่ เพี ยงแค่ถ่ายถอดพระไตรปิ ฎกฉบับฉัฏฐสังคีติ
ออกมาเป็ นอักษรสิงหลเท่านัน้ แต่ได้ ลงมือตรวจช�ำระใหม่เป็ นพระไตรปิ ฎก
อีกฉบับต่างหากที่เป็ นการสืบทอดพระไตรปิ ฎกของสายศรี ลงั กาจจริ งๆ27
อีกทัง้ จากประสบการณ์ ที่ผ้ ูวิจัยศึกษาเปรี ยบเทียบเนือ้ ความในคัมภีร์
ทีฆนิกายทัง้ ฉบับใบลานและฉบับพิมพ์ พบว่า ณ ต�ำแหน่งที่มีปัญหา
ค�ำต่างเกิดขึ ้น พระไตรปิ ฎกฉบับพุทธชยันตียงั คงยึดค�ำอ่านตามคัมภีร์
ใบลานอักษรสิงหลของตน ไม่ได้ รับอิทธิพลจากค�ำอ่านของพระไตรปิ ฎก
ฉบับฉัฏฐสังคีติแต่อย่างใด28 อย่างไรก็ตามพระไตรปิ ฎกฉบับพุทธชยันตี
ค่ อ นข้ างได้ รั บ การอ้ างอิ ง ในวงจ� ำ กั ด เฉพาะประเทศศรี ลัง กาและ
นักวิชาการที่อา่ นอักษรสิงหลได้ เท่านัน้

27 Clark (2015b: 107 n. 52)


28 ในทางตรงกันข้ าม Clark (2015b: 105-106) กลับมองว่าพระไตรปิ ฎก
ฉบับฉัฏฐสังคายนาต่างหากที่ได้ รับอิทธิ พลจากค�ำอ่านสายสิงหลตาม
ค�ำแนะน�ำของท่านพุทธทัตตะซึ่งเป็ นหนึ่งในคณะที่ท�ำหน้ าที่ตรวจสอบ
ร่ า งต้ น ฉบับ ของฉบับ ฉัฏ ฐสัง คี ติ อี ก ทัง้ ในเวลาต่อ มาท่ า นพุท ธทัต ตะ
ยังได้ เป็ นหนึง่ ในคณะตรวจช�ำระพระไตรปิ ฎกฉบับพุทธชยันตีอีกด้ วย
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 139
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

2.4 ประวัติความเป็นมาของพระไตรปิฎกบาลีฉบับสมาคม
บาลีปกรณ์ (ฉบับยุโรป)
แม้ ว่ า เราอาจจะเห็ น ท่ า ที เ ชิ ง วิ เ คราะห์ ข องคณะผู้ต รวจช� ำ ระ
พระไตรปิ ฎกบาลีฉบับไทย พม่า และสิงหลอยูบ่ ้ าง แต่โดยภาพรวมแล้ ว
พระไตรปิ ฎกสายเอเชียได้ ใช้ แนวทางตรวจช�ำระแบบสืบทอดเป็ นหลัก
อีกทังงานการตรวจช�
้ ำระก็เป็ นงานในระดับประเทศที่ได้ รับการอุปถัมภ์
จากกษัตริ ย์หรื อจากรัฐบาลโดยตรง ท�ำให้ สามารถท�ำงานตรวจช�ำระ
พระไตรปิ ฎกทัง้ ชุดได้ ในคราวเดียวโดยคณะผู้ตรวจช�ำระจ�ำนวนมาก
จึง เป็ น เหตุใ ห้ พ ระไตรปิ ฎ กฉบับ ไทย พม่า และสิง หลสามารถรั ก ษา
เนื อ้ ความตามสายจารี ต ของตนได้ เ ป็ น อย่า งดี ม าจนกระทั่ง ปั จ จุบัน
แต่ประวัติความเป็ นมาและสถานการณ์ของพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับยุโรป
ค่อนข้ างต่างออกไป
ตามทีก่ ล่าวไว้ แล้ วในตอนต้ นบทความว่า คัมภีร์ธรรมบทเป็ นคัมภีร์
พระไตรปิ ฎกบาลีเล่มแรกที่ได้ จัดพิมพ์ในรู ปแบบของหนังสือกระดาษ
ด้ วยอักษรโรมันเป็ นครัง้ แรกของโลกเมื่อปี พ.ศ. 2384-239829 แต่การ
จัดท� ำ พระไตรปิ ฎ กฉบับ ยุโรปได้ เริ่ มต้ น อย่า งจริ งจังเมื่ อ สมาคมบาลี
ปกรณ์ (Pali Text Society, PTS) ในประเทศอังกฤษได้ ก่อตังขึ ้ ้นโดย
T.W. Rhys Davids ในปี พ.ศ. 2424 สมาคมบาลีปกรณ์ต้องใช้ เวลาตังแต่ ้ ปี
พ.ศ. 2424-2537 ในการจัดพิมพ์พระไตรปิ ฎกของตนออกมาจนครบชุด
56 เล่ม ซึง่ ใช้ เวลามากกว่า 100 ปี ทังนี ้ ้เนื่องจากสมาคมบาลีปกรณ์ไม่
ได้ ตงคณะตรวจช�
ั้ ำระขนาดใหญ่อย่างประเทศไทย พม่า หรื อศรี ลงั กา
จึงไม่ได้ ด�ำเนินการตรวจช�ำระพระไตรปิ ฎกทังชุ ้ ดในคราวเดียว แต่ทยอย
มอบหมายให้ นัก วิ ช าการแต่ ล ะคนแยกกัน ไปตรวจช� ำ ระคัม ภี ร์ เ ป็ น
เล่มๆ ไป ท�ำให้ ความสามารถในการจัดหาต้ นฉบับ แนวทางการตรวจ
ช�ำระ หลักเกณฑ์ ในการวินิจฉัยค�ำต่าง ตลอดจนรู ปแบบการจัดพิมพ์

29 Balbir (2009: 3)
140
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

พระไตรปิ ฎกแต่ละเล่มแตกต่างกันไป ในทีส่ ดุ แล้ วระดับคุณภาพการตรวจ


ช�ำระของคัมภีร์แต่ละเล่มในพระไตรปิ ฎกฉบับยุโรปนี ้จึงไม่สม�่ำเสมอกัน
ถือเป็ นจุดอ่อนส�ำคัญของพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับนี ้
อย่ า งไรก็ ต ามพระไตรปิ ฎ กฉบับ ยุโ รปยัง มี จุด แข็ ง ที่ ส�ำ คัญ อยู่
ประการหนึ่งที่ท�ำให้ พระไตรปิ ฎกฉบับนี ้เป็ นฉบับมาตรฐานที่ได้ รับการ
อ้ างอิงอย่างกว้ างขวางในวงการวิชาการทัว่ โลก นัน่ คือ แนวทางในการ
ตรวจช�ำระนัน่ เอง ในขณะที่พระไตรปิ ฎกบาลีของเอเชียจะใช้ แนวทาง
การ “ตรวจช� ำ ระแบบสื บ ทอด” ที่ มี จุด มุ่ง หมายเพื่ อ รั ก ษาเนื อ้ ความ
พระไตรปิ ฎกของสายตนเอาไว้ เช่น พระไตรปิ ฎกฉบับสิงหลยึดเอา
ค�ำอ่านสายสิงหลเป็ นหลัก พระไตรปิ ฎกพม่ายึดเอาค�ำอ่านสายพม่าเป็ น
หลัก พระไตรปิ ฎกไทยยึดค�ำอ่านสายขอมเป็ นหลัก แต่พระไตรปิ ฎกฉบับ
ยุโรปจะใช้ แนวทางการ “ตรวจช�ำระเชิงวิเคราะห์” ทีม่ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ สาว
ย้ อ นกลับ ไปยัง เนื อ้ ความดัง้ เดิ ม ที่ สุด โดยไม่ ยึ ด ตามเนื อ้ ความของ
สายจารี ตใดจารี ตหนึง่ เป็ นการเฉพาะ
อย่า งไรก็ ต ามคัม ภี ร์ พ ระไตรปิ ฎ กเล่ม ส� ำ คัญ ๆ ของฉบับ ยุโ รป
ได้ ถกู จัดอย่างไรก็ตามคัมภีร์พระไตรปิ ฎกเล่มส�ำคัญๆ ของฉบับยุโรปได้ ถกู
จัดท�ำนานแล้ วตังแต่ ้ ในยุคที่การเดินทางข้ ามประเทศยังไม่สะดวกสบาย
ท�ำให้ มีข้อจ�ำกัดในการหาคัมภีร์ใบลานที่จะน�ำมาใช้ เป็ นต้ นฉบับ คัมภีร์
หลายเล่มในพระไตรปิ ฎกฉบับยุโรปใช้ ต้นฉบับประกอบการตรวจช�ำระ
เพียงแค่ 3-6 ฉบับเท่านัน้ ซึง่ น้ อยมากเมื่อเทียบกับคัมภีร์ไบเบิลที่อาจใช้
ต้ นฉบับประกอบการตรวจช�ำระเชิงวิเคราะห์มากกว่า 200 ฉบับ นอกจากนี ้
พระไตรปิ ฎกฉบับยุโรปยังมีความโน้ มเอียงใช้ คมั ภีร์ใบลานสายสิงหลและ
พม่าเป็ นหลักในการตรวจช�ำระ มีการอ้ างอิงถึงคัมภีร์ใบลานสายขอม
น้ อยมาก และแทบไม่มีการอ้ างถึงคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมและมอญเลย
จึง เป็ น เหตุใ ห้ มี นัก วิ ช าการหลายคนเรี ย กร้ องให้ จัด ท� ำ พระไตรปิ ฎ ก
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 141
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

ฉบับยุโรปหรื อพระไตรปิ ฎกบาลีเชิงวิเคราะห์ขึ ้นมาใหม่30 โดยสรุ ปอาจ


กล่าวได้ วา่ พระไตรปิ ฎกฉบับยุโรปมีแนวทางการตรวจช�ำระที่ดี แต่ยงั มี
ข้ อจ�ำกัดในการด�ำเนินการหลายด้ าน ท�ำให้ การตรวจช�ำระคัมภีร์ชดุ ใหญ่
อย่างพระไตรปิ ฎกบาลียงั ขาดความสมบูรณ์อยูม่ าก

3. การศึกษาเปรียบเทียบสุภสูตรฉบับใบลาน31

ความพยายามหนึ่ ง ในการจั ด ท� ำ พระไตรปิ ฎกเชิ ง วิ เ คราะห์


ขึ ้นมาใหม่ คือ โครงการพระไตรปิ ฎกวิชาการที่ศึกษาเปรี ยบเทียบเนื ้อ
ความพระไตรปิ ฎกจากคัมภีร์ใบลาน 5 สายจารี ตอักษร คือ สิงหล (C)
พม่า (B) หรื อมอญ (M) ขอม (K) และธรรม (T)32 ในบทความนี ้ผู้วิจยั

30 Clark (2015b: 72-80). นอกจากนี ้แล้ วผู้สนใจยังสามารถดูรายละเอียด


เพิ่มเติมได้ จาก Norman (1997: 2) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Balbir (2009)
ที่กล่าวถึงจุดอ่อนของฉบับยุโรปไว้ โดยละเอียด นอกจากนี ้ Yamazaki
(1998) ยังได้ ชีถ้ ึงข้ อบกพร่ องด้ านต่างๆ ของคัมภีร์ทีฆนิกายฉบับยุโรป
ไว้ อย่างละเอียด เช่น รูปแบบการแสดงเนื ้อความ ปั ญหาในการวิเคราะห์
ค�ำต่าง ความผิดพลาดในการจัดพิมพ์ ความผิดพลาดของผู้ตรวจช�ำระ ฯลฯ
31 เนื ้อหาส่วนนี ้ปรับปรุ งจากบทความของ Bunchird (2018) ที่ตีพิมพ์เป็ น
ภาษาอังกฤษในวารสาร Journal of Indian and Buddhist Studies
ฉบับที่ 66-3 ของประเทศญี่ปนุ่
32 โครงการพระไตรปิ ฎ กวิ ช าการเป็ น โครงการทางวิ ช าการที่ ด� ำ เนิ น การ
โดยวัดพระธรรมกายมาตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2553 มีวตั ถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์
รวบรวมพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานทุกสายจารี ต จัดท� ำฐานข้ อมูล
พระไตรปิ ฎกบาลี ทั ง้ ฉบั บ ใบลานและฉบั บ พิ ม พ์ แ บบบู ร ณาการ
และจัดท� ำพระไตรปิ ฎกบาลีเชิ งวิเคราะห์ ฉบับสมบูรณ์ มี คณะท� ำงาน
ที่ ป ระกอบด้ ว ยนัก วิ ช าการนานาชาติ ที่ มี ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญด้ า น
พุทธศาสนา ภาษาบาลี และคัมภีร์ใบลานเป็ นจ�ำนวนมาก
142
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

จะยกเอาสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกายขึ ้นมาเป็ นตัวอย่างแสดงให้ เห็นถึง


ธรรมชาติของการท�ำงานศึกษาเปรี ยบเทียบคัมภีร์ใบลานเพือ่ ช่วยวินิจฉัย
ค�ำต่างที่พบในพระไตรปิ ฎกบาลี

3.1 เนื้อความพระสูตรโดยย่อ
สุภสูตรเป็ นพระสูตรที่ 10 ในคัมภีร์ทีฆนิกายเล่มแรกที่เรี ยกว่า
สี ล ขัน ธวรรค เรื่ อ งราวในพระสูต รเกิ ด ขึ น้ ภายหลัง พุท ธปริ นิ พ พาน
ไม่นานนัก พระสูตรนี ก้ ล่าวถึงพระอานนท์ ว่าเป็ นผู้แสดงธรรมให้ แก่
สุภพราหมณ์ในหัวข้ อเรื่ องศีล สมาธิ และปั ญญา โดยยกอุปมาอุปไมย
ประกอบการอธิบายหลายอย่างทีม่ เี นื ้อความซ� ้ำกับสามัญญผลสูตรหลาย
ย่อหน้ า ในพระสูตรนีส้ ภุ พราหมณ์ เป็ นผู้นิมนต์พระอานนท์มายังที่พกั
ของเขา เมื่อฟั งธรรมจากพระอานนท์จบก็ขอถึงพระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์เป็ นสรณะ

3.2 ต้นฉบับในการศึกษาเปรียบเทียบ
ต้ น ฉบับ ที่ ใ ช้ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ คื อ คัม ภี ร์ ใ บลานบาลี เ รื่ อ ง
สีลขันธวรรคจ� ำนวน 82 ฉบับจาก 5 สายจารี ต ประกอบด้ วยคัมภี ร์
ใบลานอักษรสิงหล 26 ฉบับ อักษรพม่า 32 ฉบับ อักษรขอม 15 ฉบับ
อักษรธรรม 9 ฉบับ และอักษรมอญ 1 ฉบับ โดยคัดเลือกคัมภีร์ใบลาน
ที่เป็ นตัวแทนที่ดีที่สุดจากแต่ละสายจารี ตมาสายละ 5 ฉบับ33 คัมภีร์
ใบลานดังกล่าวมีอายุตงแต่ ั ้ ราว 151-340 ปี มีรายละเอียดของปี ที่จาร
เทียบเป็ นปี พทุ ธศักราชดังนี ้

33 ส� ำ หรั บ วิ ธี ก ารคัด เลื อ กคัม ภี ร์ ใ บลานเพื่ อ เป็ นต้ นฉบับ ในการศึ ก ษา


เปรี ยบเที ยบ สามารถศึกษาได้ จาก Wynne (2013: 141-142) และ
Somaratne (2015: 217-226)
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 143
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

ตารางที่ 1 แสดงปี จารคัมภีร์ใบลานแต่ละสายจารี ตที่ใช้ ศกึ ษา


เปรี ยบเทียบ

อักษรพม่า อักษรสิงหล อักษรขอม อักษรธรรม อักษรมอญ


B1 - 2222 C1 - 2287 K1 - 2320 T1 - 2141 M - ไม่ปรากฏปี
B2 - 2311 C2 - 2326 K2 - 2325-2352 T2 - 2365
B3 - 2317 C3 - 2375 K3 - 2367-2394 T3 - 2378
B4 - 2335 C4 - 2398 K4 - 2394-2411 T4 - 2378
B5 - 2349 C5 - ไม่ปรากฎปี K5 - ไม่ปรากฎปี T5 - ไม่ปรากฎปี

จากการศึกษาเปรี ยบเที ยบต้ นฉบับคัมภี ร์ใบลานข้ างต้ นท� ำให้


ทราบว่ า เนื อ้ ความในพระสูต รมี ค วามถูก ต้ อ งตรงกัน เกื อ บทัง้ หมด
มี ค� ำ บาลี ป รากฎอยู่ใ นสุภ สูต รทัง้ หมดราว 3,200 ค� ำ พบค� ำ อ่ า นที่
แตกต่างเพียง 200 ค�ำ คือ ประมาณ 6 เปอร์เซ็นต์เท่านัน้ ข้ อเท็จจริงนี ้แสดงให้
เห็นว่าการสืบทอดพระไตรปิ ฎกบาลีมีความแม่นย�ำสูงมาก แม้ จะผ่าน
การสืบทอดต่อกันมาหลายชัว่ อายุคนเป็ นเวลามากกว่า 2,500 ปี และ
สืบทอดกระจายกันออกไปในหลายสายจารีตก็ตาม ดังนันจึ ้ งน่าจะเป็ นไป
ได้ ท่ีเราจะสืบย้ อนกลับไปยังเนื ้อความดังเดิ
้ มได้ โดยอาศัยคัมภีร์ใบลานที่
หลงเหลืออยูใ่ นปั จจุบนั 34

34 โดยทัว่ ไปนักวิชาการฝั่ งตะวันตกจะมีความเห็นว่าการสาวย้ อนกลับไปสู่


เนื อ้ ความดั ง้ เดิ ม ในสมั ย พุ ท ธกาลหรื อ สมั ย สัง คายนาครั ง้ ที่ 1 นั น้
แทบเป็ นไปไม่ได้ เลย เพราะนักวิชาการยังมีทศั นะไม่ตรงกันว่าในตอนนัน้
พระไตรปิ ฎกมี หน้ าตาอย่างไร ดังนัน้ ค�ำว่า “เนื อ้ ความดัง้ เดิม” ในที่ นี ้

(อ่านเชิงอรรถในหน้ าต่อไป)
144
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

ส� ำ หรั บ ค� ำ ต่ า งที่ พ บนัน้ การวิ นิ จ ฉั ย ว่ า ค� ำ อ่ า นใดเป็ น ค� ำ อ่ า น


ดังเดิ
้ มจะพิจารณาจากปั จจัยหลายอย่างประกอบได้ แก่ บริ บท ต้ นฉบับ
ใบลาน หลักฐานประกอบอืน่ ๆ เช่น อรรถกถา ฎีกา ฯลฯ หลักภาษาศาสตร์
ไวยากรณ์บาลี และปั จจัยอื่นๆ เช่น สภาพสังคม วัฒนธรรมในยุคโบราณ
ของอินเดีย เป็ นต้ น
ต่อ ไปนี จ้ ะได้ แ สดงตัว อย่า งปั ญ หาค� ำ ต่า งที่ พ บจากการศึก ษา
เปรียบเทียบสุภสูตรฉบับใบลาน โดยขอยกเนื ้อความจากพระไตรปิ ฎกบาลี
ฉบับพม่า (ฉบับฉัฏฐสังคีต)ิ เป็ นจุดตังต้ ้ นเพือ่ ความสะดวกในการวินจิ ฉัย
เท่านัน้ ไม่ได้ หมายความว่าผู้เขียนให้ น� ้ำหนักเป็ นพิเศษกับพระไตรปิ ฎก
ฉบับพม่าแต่อย่างใด ทังนี ้ ้จะได้ แสดงเนื ้อความบาลีเป็ นอักษรโรมันเพื่อ
ความสะดวกในการท�ำงานกับต้ นฉบับทีม่ ชี ดุ อักษรแตกต่างกันถึง 5 สาย
ส�ำหรับรูปแบบการอ้ างอิงในพระไตรปิ ฎกแต่ละฉบับจะยึดตามรูปแบบที่
นิยมใช้ ในวงการวิชาการนานาชาติ แต่ผ้ เู ขียนจะเพิม่ เติมรูปแบบการอ้ างอิง
แบบไทยส�ำหรับพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับสยามรัฐไว้ ด้วย

(เชิงอรรถต่อจากหน้ าที่แล้ ว)

จึงหมายถึงพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับมหาวิหารในลังกา ซึง่ เป็ นพระไตรปิ ฎก


ในยุค ที่ มี คัม ภี ร์ อ รรถกถารองรั บ แล้ ว ท� ำ ให้ นัก วิ ช าการเห็ น ตรงกัน ว่า
พระไตรปิ ฎกในยุคนัน้ มีโครงสร้ างและเนือ้ หาตรงกับพระไตรปิ ฎกบาลี
ในปั จจุบนั ส�ำหรับประเด็นปั ญหาเพิ่มเติมในการตรวจช� ำระคัมภีร์บาลี
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตรวจช�ำระเชิงวิเคราะห์ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้
จากวารสาร Thai International Journal for Buddhist Studies
เล่มที่ 1 หน้ า 1-63
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 145
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

3.3 ค�ำอ่านที่พ้องกันในคัมภีร์ใบลานจ�ำนวนหลายฉบับกว่า
ไม่ได้ถกู ต้องเสมอไป
ตัวอย่างที่ 1 สุภพราหมณ์สงั่ ให้ คนของตนไปนิมนต์พระอานนท์
ถึงที่พ�ำนักของท่าน

atha kho Subho māṇavo Todeyyaputto aññataraṃ


māṇavakaṃ āmantesi: “ehi tvaṃ, māṇavaka, yena
samaṇo Ānando ten’ upasaṅkama, upasaṅkamitvā mama
vacanena samaṇaṃ Ānandaṃ appābādhaṃ appātaṅkaṃ
lahuṭṭhānaṃ balaṃ phāsuvihāraṃ puccha …”
35

ครัง้ นัน้ สุภมาณพโตเทยยบุตรเรี ยกมาณพคนหนึ่งมาสัง่ ว่า


“มานี่แน่ะพ่อหนุ่ม เธอจงเข้ าไปหาพระสมณะชื่ออานนท์ แล้ ว
เรี ยนถามพระสมณะชื่ออานนท์ถึงสุขภาพ ความมีโรคาพาธน้ อย
กระปรี ้กระเปร่า มีพลานามัยสมบูรณ์ อยูส่ ำ� ราญตามค�ำของเรา ...”36

• upasaṅkama (B2.4 K1 M B C S ); upasaṃkama (C1 E ) e e e e

• upasaṅkami (B3.5 K2.3.4.5 T1.2.3.4.5); upasaṃkami (B1 C2.3.4.5)

ในที่นี ้สุภพราหมณ์ก�ำลังออกค�ำสัง่ กับคนของตน ดังนันโดยบริ


้ บท
แล้ วจึงเป็ นที่ชดั เจนว่ากริ ยาหลักในประโยคควรอยู่ในรู ป imperative
คือ ehi “จงมา”, upasaṅkama “จงเข้ าไปหา”, และ puccha “จงถาม”
แต่จะเห็นได้ ว่าคัมภีร์ใบลานส่วนใหญ่กลับอ่านค�ำนี ้เป็ นอดีตกาลในรู ป
aorist คือ upasaṅkami “เข้ าไปหาแล้ ว” แทนที่จะเป็ น upasaṅkama

35 DN (Be) I 187, para. 445; (E ) I 204; (S ) I 250


e e

= ที.สี. 9/315/250
36 ที.สี. 9/445/197 (แปล.มจร)
146
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

ซึง่ เป็ นรู ป imperative ที่สอดคล้ องกับบริ บท นี ้เป็ นความคลาดเคลื่อน


ในการสืบทอดคัมภี ร์ใบลานที่ อาจเกิ ดขึน้ ได้ จากความคล้ ายคลึงกัน
ของวลี “upasaṅkami, upasaṅkamitvā” ที่ปรากฏอยู่ถึง 35 แห่งใน
เล่มสีลขันธวรรค กับวลี “upasaṅkama, upasaṅkamitvā” ที่ปรากฏอยู่
เพียง 6 แห่งเท่านัน้ จะเห็นได้ วา่ วลีทงสองคล้
ั้ ายคลึงกันมาก ท�ำให้ ผ้ จู าร
อาจพลาดได้ ง่าย ความคลาดเคลื่อนในการสืบทอดคัมภี ร์ใบลานใน
ลักษณะนีม้ ีให้ เห็นอยู่เนืองๆ แต่ก็ไม่ใช่เรื่ องยากที่จะวิเคราะห์ ปัญหา
และตัดสินว่าค�ำอ่านใดเป็ นค�ำอ่านดังเดิ ้ มกันแน่ ซึง่ จะเห็นได้ ว่าในพระ
ไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์ทงของไทย
ั้ พม่า สิงหล และยุโรปก็ล้วนเลือกใช้ ค�ำว่า
upasaṅkama ทังสิ ้ ้น

3. 4 ค�ำต่างที่เกิดจากความสับสนจากรูปลักษณ์อักษร
ตัวอย่างที่ 2 อุปมาอุปไมยผลแห่งปฐมฌาน ร่างของภิกษุเอิบอาบ
ไปด้ วยปี ตแิ ละสุขเหมือนก้ อนผงอาบน� ้ำที่ชมุ่ ชื ้น

s e y y a t h ā p i , m ā ṇ a v a , d a k k h o n h ā p a ko v ā
nhāpakantevāsī vā kaṃsathāle nhānīyacuṇṇāni ākiritvā
udakena paripphosakaṃ paripphosakaṃ sanneyya.
sāyaṃ nhānīyapiṇḍi snehānugatā snehaparetā
santarabāhirā phuṭā snehena, na ca paggharaṇī37
[ดูก่อนมาณพ] เปรี ยบเหมือนพนักงานสรงสนานหรื อลูกมือ
พนักงานสรงสนานผู้ช�ำนาญเทผงถูตวั ลงในภาชนะสัมฤทธิ์แล้ ว
เอาน�ำ้ ประพรมให้ ติดเป็ นก้ อน พอตกเย็น ก้ อนถูตวั ที่ยางซึมไป

37 DN (Be) I 201, para. 467; [(E ) I 74]; (Se) I 260


e

= ที.สี. 9/325/260.
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 147
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

จับก็ตดิ กันหมด ไม่กระจายออก ฉันใด38



• sā ’ssa (C1.2.3.5 [E ]); sā (B [T ])39
e 1 1.2.3

• tassa (B3.4.5)
• sāya(ṃ) (K1.2.3.4 M T5 B C S ); sāha (K ) e e e 5

• ไม่ปรากฏ (B C T ) 2 4 4

พระไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์ของเอเชียทังหมด ้ (B C S ) และคัมภีร์ใบ e e e

ลานอักษรขอมอ่านเป็ น sāyaṃ โดยอาจแปลเป็ น “พอตกเย็น” หรื ออาจ


วินิจฉัยเป็ น sā’ yaṃ ที่มาจาก sā ayaṃ แล้ วแปลว่า “(ก้ อน)นันเที ้ ยว”
ก็ได้ แต่อย่างไรก็ตาม ค�ำอ่านจากคัมภีร์ใบลานสิงหลในที่นี ้ปรากฏเป็ น
sā ’ssa ทีม
่ าจาก sā assa ซึง่ ให้ ความหมายทีส่ อดคล้ องกับบริบทมากกว่า
คือ “(ก้ อนถูตวั )นันจะ”
้ และค�ำอ่านนี ้ยังได้ รับการสนับสนุนจากคัมภีร์
ใบลานที่เก่าแก่ที่สดุ จากสายอักษรพม่าและอักษรธรรม (B1 และ T1)
อีกด้ วย ยิ่งไปกว่านัน้ เมื่อพิจารณาค�ำอุปมาอุปไมยอื่นๆ ในสุภสูตร ก็จะ
พบว่ามีแนวโน้ มที่จะใช้ กริ ยาหลักเป็ น √as ในรูป optative คือ assa ใน
กรณีเช่นนี40้ ความสับสนระหว่างค�ำอ่าน sā ’ssa กับ sāyaṃ (หรื อ sā
’yaṃ) นันสามารถอธิ
้ บายได้ ไม่ยาก เพราะค�ำนี ้เมื่อปรากฏอยู่ในคัมภีร์
ใบลานสายอักษรเอเชียอาคเนย์ คือ พม่า มอญ ธรรม และขอม อักษร
“ssa” และ “ya” จะคล้ ายคลึงกันมาก เราจะพบความคลาดเคลื่อนของ
เนื ้อความที่เกิดขึ ้นจากความคล้ ายคลึงกันของตัวอักษรคูน่ ี ้อยูเ่ ป็ นระยะ

38 ที.สี. 10/467/203 (แปล.มจร)


39 หลักฐานที่ปรากฏในวงเล็บเหลี่ยม คือค�ำอ่านจากย่อหน้ าที่ตรงกันใน
สามัญญผลสูตร
40 DN (E ) I 71.33, 72.5, 72.16, 72.23, 74.21, 75.19 เป็นต้น
e
148
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

3.5 ค�ำต่างในคัมภีร์ใบลานสายสิงหลและเอเชียอาคเนย์
นอกจากค�ำต่างที่เกิดจากความสับสนของรู ปลักษณ์ อกั ษรแล้ ว
ลักษณะค�ำต่างที่พบได้ บ่อยที่สดุ อีกรู ปแบบหนึ่ง คือ ค�ำอ่านที่แตกต่าง
กันตามสายอักษร โดยเฉพาะอย่างยิ่งสายอักษรสิงหลกับสายอักษร
เอเชียอาคเนย์ ท�ำให้ เราทราบว่าพระไตรปิ ฎกบาลีได้ ถกู สืบทอดต่อกัน
มาเป็ น 2 สายใหญ่ๆ หากในอนาคตสามารถรวบรวมข้ อมูลค�ำต่างเหล่านี ้
ได้ ม ากเข้ า เราอาจใช้ ข้ อ มูล ค�ำ ต่า งเป็ น ตัว ช่ ว ยในการวิ เ คราะห์ แ ละ
ฉายภาพการสืบทอดพระพุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์ให้ ชดั เจนยิง่ ขึ ้นได้

ตัวอย่างที่ 3 เมื่อคนของสุภพราหมณ์ ไปนิมนต์พระอานนท์แล้ ว


เขาก็กลับมารายงานสุภพราหมณ์

… avocumhā kho mayaṃ bhoto vacanena taṃ


bhavantaṃ Ānandaṃ.41
... ข้ า พเจ้ า ทัง้ หลายได้ บ อกท่า นพระอานนท์ นัน้ แล้ ว ตาม
ค�ำของท่าน

• bhavantaṃ (B1.2.3.5 K1.2.3.4.5 M T1.2.3.4.5 Be Ce Ee Se)


• bhagavantaṃ (B4 C1.2.3.4.5)

ค�ำอ่านในตัวอย่างนี ้แบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ bhavantaṃ


และ bhagavantaṃ ซึง่ เป็ นค�ำอ่านของสายเอเชียอาคเนย์และสายสิงหล
ตามล�ำดับ ในที่นี ้ bhavantaṃ น่าจะเป็ นค�ำอ่านที่เหมาะสมมากกว่า
เพราะโดยทัว่ ไปแล้ วค�ำว่า bhagavantaṃ มักใช้ หมายถึงพระพุทธเจ้ า
จึงไม่นา่ น�ำมาใช้ กบั พระอานนท์ได้

41 DN (Be) I 188, para. 447; (Ee) I 205; (Se) I 251 = ที.สี. 9/316/251
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 149
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

อันทีจ่ ริงแล้ ว ค�ำต่างทีแ่ บ่งออกเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่เช่นนี ้ในหลายกรณี


จะเป็ นค�ำอ่านทีเ่ ป็ นไปได้ ทงคู
ั ้ ่ ท�ำให้ ยากแก่การตัดสินว่าค�ำอ่านใดดังเดิ
้ ม
กว่ากัน ต่อไปจะเป็ นตัวอย่างค�ำต่างที่ตดั สินยากยิ่งขึ ้น

ตัวอย่างที่ 4 อุปมาอุปไมยผลแห่งทุตยิ ฌาน ร่างของภิกษุเอิบอาบ


ไปด้ ว ยปี ติ แ ละสุข เหมื อ นห้ ว งน� ำ้ ลึก ที่ มี ก ระแสน� ำ้ เย็ น ไหลมารวมกัน
ทังสี
้ ่ทิศ

seyyathāpi, māṇava, udakarahado gambhīro


ubbhidodako. tassa nevassa puratthimāya disāya
udakassa āyamukhaṃ, na dakkhiṇāya disāya
udakassa āyamukhaṃ, na pacchimāya disāya
udakassa āyamukhaṃ, na uttarāya disāya udakassa
āyamukhaṃ, devo ca na kālena kālaṃ sammā dhāraṃ
anupaveccheyya42
ดูก่อนมาณพ เปรี ยบเหมือนห้ วงน� ้ำลึกเป็ นวังวน ไม่มีทางที่
กระแสน� ้ำจะไหลเข้ าได้ ทางด้ านตะวันออก ไม่มีทางที่กระแสน� ้ำจะ
ไหลเข้ าได้ ทางด้ านใต้ ไม่มีทางที่กระแสน� ้ำจะไหลเข้ าได้ ทางด้ าน
ตะวันตก ไม่มีทางที่กระแสน� ้ำจะไหลเข้ าได้ ทางด้ านเหนือ และฝน
ก็ไม่ตกตามฤดูกาล

• puratthimāya, dakkhiṇāya, pacchimāya, uttarāya


(B[1].2.3.4.5 K1.2.3.4.5 M T1.2.3.4.[5] Be Ce Se)

42 DN (Be) I 195, para. 468; [(E ) I 74]; (S ) I 260-261


e e

= ที.สี. 9/326/260-261
150
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

• puratthimāya, pacchimāya, uttarāya, dakkhiṇāya


(C1.2.3.4.5 [Ee])

กรณี นี เ้ ป็ น ปั ญ หาเรื่ อ งล� ำ ดับ ของทิ ศ ทัง้ สี่ คัม ภี ร์ ใ บลานสิ ง หล


อ่านตามล�ำดับ “ตะวันออก ตะวันตก เหนือ และใต้ ” ในขณะที่คมั ภีร์
ใบลานเอเชียอาคเนย์อา่ นตามล�ำดับ “ตะวันออก ใต้ ตะวันตก และเหนือ”
ซึง่ จะเห็นได้ วา่ เป็ นล�ำดับตามเข็มนาฬิกา คัมภีร์อรรถกถาไม่ได้ ให้ ข้อมูล
อะไรที่จะช่วยแก้ ปัญหานี ้ ดังนัน้ หนทางเดียวที่เหลืออยู่ คือการค้ นหา
เนื อ้ ความที่ ก ล่ า วถึ ง ทิ ศ ทั ง้ สี่ ใ นต� ำ แหน่ ง อื่ น ๆ เพื่ อ ช่ ว ยวิ เ คราะห์
ปั ญ หาเรื่ อ งล�ำ ดับ ของทิ ศ ที่ พ บในตัว อย่า งนี ้ ผู้เ ขี ย นพบว่า ในคัม ภี ร์
สีลขันธวรรคยังมีเนื ้อความที่กล่าวถึงทิศทังสี ้ อ่ ยูอ่ ีก 7 แห่ง43 ซึง่ ในทุกแห่ง
คัมภีร์ใบลานสายสิงหลอ่านทิศทังสี ้ ่ตามล�ำดับ “ตะวันออก ใต้ ตะวันตก
และเหนือ” เหมือนคัมภีร์ใบลายสายเอเชียอาคเนย์ ยกเว้ นเนื ้อความทีเ่ ป็ น
การอุปมาอุปไมย 2 แห่งเท่านันที ้ ่คมั ภีร์ใบลานสายสิงหลยังคงอ่านตาม
ล�ำดับ “ตะวันออก ตะวันตก เหนือ และใต้ ”44 ส�ำหรับประเด็นเรื่ องการ

43 ในกูฏทันตสูตรพบ 1 แห่งทีก่ ล่าวถึงโรงทานในทิศทังสี ้ ่ (DN (E ) I 142.16ff.)


e

ในมหาลิสตู รพบ 3 แห่ง ที่กล่าวถึงกายทิพย์และเสียงทิพย์ลอยมาจากทิศ


ทังสี
้ ่ (DN (E ) 153.1ff., 154.1ff., 154.36ff.) ในโปฏฐปาทสูตรพบ 2 แห่ง
e

ที่มีอุปมากล่าวถึงที่ตงของปราสาท
ั้ (DN (E ) I 194.18ff., 198.21ff.)
e

และในเกวัฏฏสูตรพบ 1 แห่งที่ มีอุปมากล่าวถึงนกที่ บินอยู่ในทิ ศทัง้ สี่


(DN (E ) I 22.23ff.)
e

44 อันที่ จริ งพระไตรปิ ฎกสายเอเชี ยอาคเนย์ ก็กล่าวถึงทิ ศทัง้ สี่ตามล�ำดับ


“ตะวันออก ตะวันตก เหนื อ และใต้ ” ไว้ ด้วย แต่จะปรากฏในบริ บทที่
ต่างออกไป กล่าวคือ ใช้ อธิ บายขนาดกว้ างยาวสูงของวัตถุขนาดใหญ่
เช่น เมือง ปราสาท ฯลฯ ดูรายละเอียดจาก DN (E ) II 170.2ff. ซึง่ ในที่นี ้ e

ค� ำ อ่า นสายสิง หลอาจสับ สนกับ ล� ำ ดับ ทิ ศ ที่ มี ใ ช้ 2 รู ป แบบในบริ บ ทที่


ต่างกันออกไป
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 151
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

เรี ยงล�ำดับของทิศทังสี
้ ่ในสังคมอินเดียโบราณนัน้ Wessels-Mevissen
ได้ ศึกษาค้ นคว้ าคัมภีร์พราหมณ์ ในแต่ละยุค และพบว่าล�ำดับของทิศ
ในอินเดียโบราณนัน้ น่าจะเป็ น “ตะวันออก ใต้ ตะวันตก และเหนือ”
โดยเฉพาะอย่ า งเมื่ อ กล่า วถึ ง เทพเจ้ า ประจ� ำ ทิ ศ ทัง้ สี่ ห รื อ ทิ ศ ทัง้ แปด
ซึง่ เป็ นล�ำดับตามเข็มนาฬิกา45 หากเราอนุโลมน�ำเอาผลการศึกษาของ
Wessels-Mevissen มาประกอบการพิจารณาแล้ ว ค�ำอ่านของคัมภีร์
สายเอเชียอาคเนย์นา่ จะสอดคล้ องกับพื ้นเพทางสังคมและวัฒนธรรมของ
อินเดียโบราณมากกว่า

3.6 คัมภีร์อรรถกถาเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการช่วยวินิจฉัย
ส่วนที่ส�ำคัญที่สดุ ของคัมภีร์อรรถกถาในงานศึกษาเปรี ยบเทียบ
พระไตรปิ ฎ กฉบับ ใบลาน คื อ ค� ำ อ่า นที่ ป รากฏอยู่ใ นส่ว นที่ เ ป็ น การ
ยกศัพท์ (lemma) ที่พระพุทธโฆสาจารย์ หรื อพระอรรถกถาจารย์ ได้
บันทึกไว้ เมื่อคัมภีร์อรรถกถาในแต่ละสายจารี ตยกศัพท์ ตรงกันหมด
ทุก สายโดยทฤษฎี แ ล้ ว อาจกล่า วได้ ว่า เราก� ำ ลัง มองเห็ น ค� ำ อ่ า นใน
พระไตรปิ ฎกใบลานฉบับที่พระพุทธโฆสาจารย์ท่านใช้ เป็ นตัวตังต้ ้ นใน
การรจนาอรรถกถาในสมัยนัน้ ซึง่ แน่นอนว่าค�ำอ่านดังกล่าวย่อมเก่าแก่
กว่าคัมภีร์ใบลานที่หลงเหลืออยูใ่ นปั จจุบนั มาก46
แต่ ใ นกรณี เ ฉพาะบางกรณี การที่ พ ระพุท ธโฆสาจารย์ ไ ม่ ไ ด้
ยกศัพ ท์ นัน้ ๆ ไว้ ใ นคัม ภี ร์ อ รรถกถาก็ ส ามารถใช้ เ ป็ น หลัก ฐานยื น ยัน
ทางอ้ อมได้ เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น กรณีรายชื่อเดรัจฉานวิชา 26 วิชาใน
สุภสูตรเป็ นต้ น47 จุดทีเ่ ป็ นปัญหาคือเดรัจฉานวิชาในล�ำดับที่ 3 คัมภีร์ใบลาน

45 Wessels-Mevissen (2001)
46 Somaratne (2015: 213)
47 DN (B ) I 191, (E ) I 206 อ้ างถึงข้ อความที่ซ� ้ำกันในสามัญญผลสูตร
e e

(DN I 69.21ff.).
152
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

สายเอเชียอาคเนย์มีค�ำอ่านต่างกันหลายแบบ ได้ แก่ bhūtikamma/


bhūta-°/puri-°/bhūmi-° แต่ในคัมภีร์ใบลานสายสิงหลกลับไม่ปรากฏ
ชื่อเดรัจฉานวิชาในล�ำดับที่ 3 นี ้เลย กล่าวคือมีเดรัจฉานวิชาเพียง 25 วิชา
เท่านัน้ ค�ำถามคือคัมภีร์ใบลานสายเอเชียอาคเนย์มีเดรัจฉานวิชาเกินมา
1 วิชา หรื อคัมภีร์ใบลานสายสิงหลมีเดรัจฉานวิชาขาดไป 1 วิชากันแน่?
โชคดีที่พระพุทธโฆสาจารย์น่าจะเห็นว่ารายชื่อวิชาเดรัจฉานวิชาเหล่านี ้
เป็ นศัพท์เทคนิคที่ต้องการค�ำอธิ บาย ท่านจึงยกศัพท์ชื่อเดรัจฉานวิชา
พร้ อมให้ ค�ำอธิ บายไล่ไปทีละวิชาตามล�ำดับตัง้ แต่วิชาแรกจนถึงวิชา
สุดท้ าย แต่ท่านไม่ได้ ยกศัพท์และไม่ได้ ให้ ค�ำอธิบายเกี่ยวกับเดรัจฉาน
วิชาในล�ำดับที่ 3 ไว้ เลย48 ซึง่ อธิบายได้ วา่ อาจเป็ นเพราะพระไตรปิ ฎกใบ
ลานฉบับที่ท่านใช้ อยู่ในตอนนันไม่ ้ ปรากฏศัพท์ค�ำนี ้อยู่ ดังนันเดรั ้ จฉาน
วิชาล�ำดับที่ 3 ในคัมภีร์ใบลานสายเอเชียอาคเนย์นา่ จะเป็ นค�ำอ่านที่ถกู
เพิ่มเข้ ามาภายหลัง และสรุ ปได้ ว่าค�ำอ่านของคัมภีร์ใบลานสายสิงหล
ดังเดิ
้ มกว่าในกรณีนี49้
นอกจากนีค้ �ำอธิ บายในคัมภีร์อรรถกถายังสามารถให้ แนวทาง
ทีเ่ ป็ นประโยชน์ในกรณีทยี่ ากยิง่ ขึ ้นได้ อกี ด้ วย50 ยกตัวอย่างเช่น การอุปมา
อุปไมยทิพยจักษุ ในสุภสูตร51 ผู้วิจยั พบความไม่สอดคล้ องกันระหว่าง
พระไตรปิ ฎกกับอรรถกถาฉบับยุโรป กล่าวคือ ค�ำอ่านในพระไตรปิ ฎก
เป็ น vīthiṃ sañcarante (DN (E ) I 83.6) แต่ในอรรถกถากลับยกศัพท์
e

ตรงนี ้ว่าเป็ น vītisañcarante (Sv (E ) I 224.1) นอกจากนี ้ในค�ำอธิบาย


e

48 ( ) I 91ff., (E ) I 97ff.
Sv Be e

49 Wynne (2013: 159-160) ได้ ตงข้ั ้ อสังเกตเรื่องนี ้ไว้ แล้ วจากรายชือ่ เดรัจฉาน
วิชาที่ปรากฏในพรหมชาลสูตร
50 ส�ำหรับตัวอย่างเพิ่มเติมการใช้ อรรถกถาในการช่วยตรวจช�ำระ สามารถ
ดูได้ จาก Wynne (2013: 159-164)
51 ฉบับยุโรปได้ ละเนื อ้ ความส่วนนี ไ้ ว้ และบอกให้ ย้อนกลับไปดูเนื อ้ ความ
ที่ตรงกันในสามัญญผลสูตร
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 153
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

ของพระพุท ธโฆสาจารย์ ท่ า นยัง กล่ า วถึ ง ค� ำ อ่ า นอื่ น ๆ เพิ่ ม เติ ม อี ก


ซึง่ น่าจะเป็ นค�ำต่างโบราณทีเ่ กิดขึ ้นตังแต่
้ สมัยพระพุทธโฆสาจารย์ ผู้เขียน
จะขอวินิจฉัยปั ญหานี ้โดยละเอียดในโอกาสถัดไป

4. บทสรุป

จากการศึ ก ษาเปรี ยบเที ย บสุ ภ สู ต รฉบั บ คั ม ภี ร์ ใบลาน


โดยใช้ ต้ น ฉบับ เป็ น คัม ภี ร์ ใ บลานจ� ำ นวน 21 ฉบับ จาก 5 สายจารี ต
และพระไตรปิ ฎกฉบับพิมพ์อีก 4 ฉบับ พบว่า พระไตรปิ ฎกบาลีมีความ
แม่นย�ำในการสืบทอดเนื ้อความสูงมาก มีคำ� ต่างเพียง 6 เปอร์ เซ็นต์เท่านัน้
อีกทังค�้ ำต่างทังหมดก็
้ เป็ นปั ญหาในเชิงไวยากรณ์หรื อภาษาศาสตร์ ที่ไม่
ได้ สง่ ผลต่อเนื ้อหาหลักของพระไตรปิ ฎกแต่อย่างใด ส�ำหรับการวินิจฉัย
ค�ำต่างที่พบในพระไตรปิ ฎกนัน้ การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎก
บาลีฉบับใบลานจากหลายสายจารี ตท� ำให้ ผ้ ูศึกษาเห็นที่ มาที่ ไปของ
ค�ำต่างทีพ่ บในคัมภีร์ใบลานแต่ละฉบับ แต่จ�ำเป็ นต้ องอาศัยประสบการณ์
ในการจ� ำแนกค� ำต่างที่ ไม่มี นัย ส�ำคัญออกไป เช่น ค� ำ ต่า งที่ เกิ ด จาก
ความสับสนของรู ปลักษณ์อกั ษรหรื อรู ปแบบวลีที่คล้ ายคลึงกัน เป็ นต้ น
อีกทังยั ้ งต้ องสามารถน�ำอรรถกถา ฎีกา ไวยากรณ์ บาลี และหลักฐาน
อื่ น มาประกอบการวิ นิ จ ฉั ย ด้ ว ย นอกจากนี ก้ ารศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ
พระไตรปิ ฎกบาลี ฉ บับ ใบลานยัง ช่ ว ยให้ เห็ น ภาพรวมการสื บ ทอด
พระไตรปิ ฎกบาลีได้ ชัดเจนยิ่งขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลักษณะค�ำอ่าน
ที่แตกออกไป 2 สาย คือ สายสิงหลและสายเอเชียอาคเนย์ ท�ำให้ ทราบว่า
มีการสืบทอดพระไตรปิ ฎกบาลีเป็ น 2 สาย ในอนาคตเมื่อมีข้อมูลมากขึ ้น
ค� ำ ต่ า งเหล่ า นี จ้ ะเป็ นวัต ถุ ดิ บ ส� ำ คัญ ที่ เ ป็ นประโยชน์ ใ นการศึ ก ษา
การสืบทอดพระไตรปิ ฎก ประวัตศิ าสตร์ พระพุทธศาสนา และพัฒนาการ
ภาษาบาลี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์อีกด้ วย
154
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

อักษรย่อ
B คัมภีร์ใบลานอักษรพม่า (Burmese script manuscript)
Be พระไตรปิ ฎ กและอรรถกถาอัก ษรพม่ า ฉบับ ฉั ฏ ฐสัง คี ติ
(Burmese edition – Chaṭṭhasaṅgīti)
C คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล (Sinhalese script manuscript)
Ce พระไตรปิ ฎ กอัก ษรสิ ง หล ฉบับ พุท ธชยัน ตี ( Sinhalese
edition - Buddhajanti editon) หรื อ อรรถกถาอักษรสิงหล
ฉบับ Simon Hewavitarne Beduest
DN ทีฆนิกาย (Dīghanikāya)
Ee พระไตรปิ ฎกและอรรถกถาอั ก ษรโรมั น ฉบั บ สมาคม
บาลีปกรณ์ (PTS) หรือเรียกว่าฉบับยุโรป (European edition)
K คัมภีร์ใบลานอักษรขอม (Khom script manuscript)
T คัมภีร์ใบลานอักษรธรรม (Tham script manuscript)
Se พระไตรปิ ฎกและอรรถกถาฉบับสยามรัฐ (Siam edition -
Syāmaraṭṭha edition)
Sv สุมงั คลาวิลาสินี (Sumaṅgalāvilāsinī) - อรรถกถาส�ำหรับ
คัมภีร์ทีฆนิกาย

บรรณานุกรม
กรมพระด�ำรงราชานุภาพ.
2459 ต�ำนานหอพระสมุด หอพระมณเฑียรธรรม หอวชิรญาณ
หอพุ ท ธสาสนสั ง คหะ แลหอสมุ ด ส� ำ หรั บ พระนคร.
กรุงเทพ: โสภณพิพรรฒธนากร.
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 155
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

แม่ชีวิมตุ ติยา (สุภาพรรณ ณ บางช้ าง).


2557 พระไตรปิฎกฉบับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพ: คราฟแมนเพรส.

สนทนาธรรมน�ำสุข, กองทุน.
2549 บันทึกโครงการพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน. กรุงเทพ.

Balbir, Nalini.
2009 “Thoughts about ‘European Editions’ of Pāli Texts.”
Thai International Journal for Buddhist Studies 1: 1-19.

Bunchird Chaowarithreonglith.
2018 “Variant Readings in the Subhasutta of the
Dīghanikāya: Based on Palm-leaf Manuscripts from
Five Tradtions.” Journal of Indian and Buddhist
Studies 66-3: 58-63.

Chalmers, Robert.
1898 “The King of Siam’s Edition of the Pāli Tipitaka.”
Journal of the Royal Asiatic Society 30-1: 135-170.

Clark, Chris.
2015a “A Study of the Apadāna, Including an Edition and
Annotated Translation of the Second, Third, and Fourth
Chapters.” PhD Thesis. University of Sydney
156
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

2015b “The Sixth Buddhist Council: Its Purpose, Presentation,


and Product.” The Journal of Burma Studies 19-1:
79-112.

Hamm, Frank Richard.


1973 “On Some Recent Editions of the Pāli Tipiṭaka.”
German Scholars on India: Contributions to Indian
Studies, ed. New Delhi Cultural Department of the
Embassy of the Federal Republic of Germany.
Varanasi: Chowkhamba Sanskrit Series Office,
123–35 อ้ างโดย Clark (2015a).

von Hinüber, Oskar.


1983 “Pāli Manuscripts of Canonical Texts from North
Thailand ― A Preliminary Report.” Journal of the
Siam Society 71: 75-88.

Hirakawa, Akira (平川彰).


2000 Ritsuzō-no- kenkyū 律蔵の研究 (งานวิจย
ั พระวินยั ปิ ฎก).
vol. 2. Tokyo: Shunjusha 春秋社.
การศึกษาเปรี ยบเทียบพระไตรปิ ฎกบาลีฉบับใบลานเพื่อวินิจฉัยค�ำต่างในพระไตรปิ ฎก: กรณีศกึ ษาจากสุภสูตรแห่งคัมภีร์ทีฆนิกาย 157
A Comparative Study of Palm-leaf Manuscripts of the Pāli Canon for Analysis of Variant Readings
: A Case Study from the Subhasutta of the Dīghanikāya

Norman, K. R.
1997 A Philological Approach to Buddhism. The Buddhist
Forum, vol. 5. London: School of Oriental and African
Studies.
Oldenberg, Hermann.
1879 Dīpavaṃsa – An Ancient Buddhist Historical Record,
edited and translated by Hermann Oldenberg.
UK: PTS.

Shimoda, Masahiro (下田正弘).


1997 Nehankyō-no-kenkyū: Daijō-butten-no-kenkyū-
hōhōron 涅槃経の研究:大乗経典の研究方法試論 (งานวิจย

คัมภีร์นพิ พานสูตร: ทฤษฎีวธิ ีการวิจยั คัมภีร์มหายาน). Tokyo:
Shunjusha 春秋社.

Somaratne, G. A.
2015 “Middle Way Eclecticism: The Text-Critical Method
of the Dhammachai Tipiṭaka Project.” Journal of
Buddhist Studies 12: 207-239.

Wessels-Mevissen, C.
2001 The Gods of the Directions in Ancient India:
Origin and Early Development in Art and Literature
(until c. 1000 A.D.). Berlin: Dietrich Reimer Verlag.
158
ธรรมธารา
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปี ที่ 5 ฉบับที่ 1 (ฉบับรวมเล่มที่ 8) ปี 2562

Wynne, Alexander.
2013 “A Preliminary Report on the Critical Edition of
the Pāli Canon Being Prepared at Wat Phra
Dhammakāya.” Thai International Journal for Buddhist
Studies 4 : 135-170.

Yamazaki, Mori-ichi (山崎守一).


1998 “PTS-ban Tekisuto-no-genkai: Dīganikāya-wo-
chūshin-ni PTS 版テキストの限界―『ディーガ・ニカーヤ』
を中心に( ขีดจ�ำกัดของคัมภีร์ฉบับ PTS: โดยเฉพาะ”คัมภีร์
ที ฆ นิ ก าย” ).” Bukkyō-kenkyū 仏教研究 ( งานวิ จั ย
พระพุทธศาสนา) 27: 137-149.

You might also like