You are on page 1of 5

Brief – เสวนาสาธารณะ “อยู่ได้ อยู่ด:ี บ่ มเพาะให้ ลูกพร้ อมเติบโตอย่างมั่นใจ”

วันหนึง่ ในสัปดาห์แรกของการเปิ ดภาคเรียน ท่ามกลางฝนเดือนพฤษภาคมทีโ่ ปรยปรายนอกหน ้าต่าง เด็กเล็กๆ คนหนึง่ ยกมือถาม


ว่า “ครูครับ วิชานีใ้ ช ้สมุดปกอ่อนหรือสมุดปกแข็ง”

วันนัน
้ ดูจะเป็ นวันแสนธรรมดา คำถามนัน
้ ก็ดจ
ู ะเป็ นคำถามแสนธรรมดา

วันหนึง่ ในสัปดาห์ท ี่ 32 ของการประกอบอาชีพ ท่ามกลางฝนเดือนพฤษภาคมทีต ่ น


่ กกระหน่ำ ชะดินสีน้ำตาลแดงหลากลงสูพ ื้ ที่
ลาดเชิงเขา ชายคนหนึง่ เขม ้นมองเอกสารทีจ่ ะบรรเทาปั ญหานีไ
้ ด ้ แล ้วถามว่า “พีค
่ รับ ต ้องย่อหน ้ากีน
่ วิ้ นะ”

วันนีเ้ ป็ นวันอันสาหัส คำถามนีก


้ ็จะดูเป็ นคำถามทีว่ ก
ิ ฤตอย่างสาหัส

ความกังวลว่าหวายจะลงหลังตลอดเวลาไม่ใช่ปยที ุ๋ ท
่ ำให ้ต ้นไม ้งอกงาม ออกดอกผลได ้เต็มศักยภาพของมัน กระนัน
้ เด็กไทยกลับ
ถูกหล่อหลอมด ้วยความกลัวตัง้ แต่วน ิ าทีทรี่ ู ้ความ กลัวว่าจะหกล ้ม กลัวว่าจะถูกตัวอะไรต่อมิอะไรกินตับ กลัวว่าจะผิดพลาด กลัวว่า
จะเข ้ามหาวิทยาลัยไม่ได ้ กลัวว่าจะไม่มอ
ี าชีพทีม ่ ั่นคง กลัวว่าจะถูกให ้ออกเพราะขวางหูขวางตาหัวหน ้าแผนก

เป็ นทีม
่ าของงานเสวนา “อยูไ่ ด ้ อยูด ่ :ี บ่มเพาะให ้ลูกพร ้อมเติบโตอย่างมั่นใจ” โดยสำนักพิมพ์บค ุ๊ สเคป (Bookscape) ร่วมกับ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร ้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพือ ่ เขย่ากรอบวัฒนธรรม ขยับมุมมองของผู ้ใหญ่ ตลอดจนแลกเปลีย ่ น
แนวทางเลีย ้ งดูเพือ
่ สร ้างเด็กทีอ
่ ยูเ่ องได ้ โตเองเป็ น กล ้าคิด กล ้าตัดสินใจ พร ้อมก ้าวข ้ามอุปสรรคในชีวต ิ ด ้วยความสามารถในการ
กำกับดูแลตัวเอง (sense of control) หรือความเชือ ่ มั่นว่าตนเปลีย
่ นแปลงสถานการณ์ทเี่ ผชิญได ้

 
 ความสามารถทีน
่ ายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ บอกอย่างตรงไปตรงมาว่าไม่เห็นความหวังเลย

“สิง่ ทีผ
่ มเป็ นห่วงทีส
่ ด
ุ คือการศึกษา ถ ้าไม่รบ ู การศึกษาให ้ใช ้การได ้ภายในวันพรุง่ นีห
ี ปฏิรป ้ รือสัปดาห์หน ้า ถือว่าเรากำลังเสียเวลา
ไปทุกวัน หลังจากค่อยๆ เสียมันไปตัง้ แต่ปี 2540 คือ 25 ปี มาแล ้ว ไม่มอ ี ะไรเปลีย่ นแปลง เรามาพูดถึงความสามารถในการอยูเ่ อง
ได ้ โตเองเป็ นกัน ก็เพือ ่ เตรียมลูกให ้พร ้อมสำหรับอนาคตทีท ่ ำนายไม่ได ้ ซึง่ การศึกษาไทยวันนีใ้ ห ้ไม่ได ้ และยังไม่มวี แ
ี่ ววว่าจะให ้
ได ้เลย”

ขณะทีส ่ ภ
ุ าวดี หาญเมธี ประธานสถาบ ันร ักลูกเลิรน ์ นิง่ กรุป
๊  เสริมว่าเมือ่ พิจารณาดัชนีทน ุ มนุษย์ (Human Capital Index –
HCI) ของธนาคารโลก ซึง่ ใช ้ประเมินผลิตภาพในอนาคตจากผลการพัฒนาเยาวชนในปั จจุบน ั “เด็กไทยมีระดับการพัฒนาเพียง
ร ้อยละ 60 ของศักยภาพสูงสุดทีเ่ ป็ นไปได ้ ซึงเมือ ่ ่ เปรียบเทียบกับข ้อมูลทีเ่ รามีก็จะพบว่ากว่าหนึง่ ในสามของเด็กไทยขาดการ
พัฒนา ไม่วา่ จะด ้วยพัฒนาการทีล ่ า่ ช ้าในวัยเด็ก หรือเพราะติดโทรศัพท์มอ ื ถือกันทัง้ บ ้านทัง้ เมือง เด็กทีโ่ ตขึน
้ มาหน่อยก็มไี อคิว
น ้อย ระดับทีช ่ ว่ ยเหลือตัวเองไปวันๆ กินอยูห ่ ลับนอนได ้ แต่ไม่สามารถริเริม ่ สร ้างสรรค์ พัฒนาตัวเองหรือบ ้านเมืองให ้ดีกว่านีไ ้ ด้
กระทั่งกลุม ่ ทีเ่ รียนดีก็มเี ด็กทีเ่ ป็ นโรคซึมเศร ้าจำนวนมาก เคยคิดว่าโรคซึมเศร ้าเป็ นปั ญหาของเด็กโต แต่ความจริงไม่ใช่เลย เดีย ๋ ว
นีเ้ ด็กอายุ 11 ขวบเป็ นโรคซึมเศร ้าก็ม ี ไม่ใช่เด็กจากครอบครัวอดมือ ้ กินมือ
้ อะไรด ้วย”

ภูผา – ภูรภ ิ ัทร ณ สงขลา ตัวแทนเยาวชนในวงเสวนายืนยันว่าปั ญหาดังกล่าวเป็ นปั ญหาทีต ่ นกังวลเช่นกัน โดยภูรภ ิ ัทรย้ำ
ว่าการเป็ นโรคซึมเศร ้านัน
้ “ไม่ใช่เทรนด์” อย่างทีห
่ ลายคนเข ้าใจผิด เพียงแต่โลกไม่มคี วามเข ้าใจหรือคำนิยามโรคดังกล่าวในยุค
ก่อน “ถามว่าทำไมคนรุ่นใหม่เป็ นโรคนีเ้ ยอะจัง ผาอาจให ้คำตอบทัง้ หมดไม่ได ้ แต่เท่าทีร่ ับรู ้มาคือคนรุน่ นีม
้ ค
ี วามเครียดจากการ
ถูกกดดัน ทัง้ ในแง่การศึกษาและการทำงาน”

“ผาเพิง่ จบการศึกษา กำลังจะเข ้าไปเป็ นแรงงานรุน ่ ใหม่ เพือ่ นหลายคนมีงานทำแล ้ว คนทีย ่ ังไม่มก ี ็เริม
่ รู ้สึกกดดันว่าฉั นจะทำอะไร
ต่อไปดี ยิง่ ถ ้าพ่อแม่หรือป้ าข ้างบ ้านคอยถามว่า เรียนจบแล ้วหรือลูก จะเรียนต่อไหม จะไปทำอะไร ลูกป้ าได ้งานแล ้วนะ ฯลฯ ยิง่
รู ้สึกว่าตัวเองดีไม่พอ ต ้องทำให ้ดีกว่านี้ ซึง่ ไม่ใช่อย่างนัน ้ แต่เรากลับหล่อมหลอมให ้เด็กเชือ่ ว่าสังคมมีบรรทัดฐานเดียว ทุกคน
เติบโตขึน ้ พร ้อมกัน ซึง่ ไม่มใี ครในโลกนีท
้ ำอย่างนัน ้ ได ้ บางคนกว่าจะประสบความสำเร็จก็ในวัย 40, 50 หรือ 80 ปี มีคนเข ้ามาพูด
คุยกับผาเยอะ ปั ญหาทีไ่ ด ้ยินบ่อยคือปั ญหานี้ ทำอย่างไรถึงจะทำได ้ดีขน ึ้ ทำอย่างไรถึงจะดีเหมือนคนอืน ่ เสียที”

ิ่ ทีผ
  สง ่ มเป็ นห่วงทีส
่ ด ึ ษา
ุ คือการศก ถ ้าไม่รบ
ี ปฏิรป
ู การศกึ ษาให ้ใชการได้ ้ภายในวันพรุง่ นีห้ รือสปั ดาห์
ี เวลาไปทุกวัน หลังจากค่อยๆ เสย
หน ้า ถือว่าเรากำลังเสย ี มันไปตัง้ แต่ปี 2540 คือ 25 ปี มาแล ้ว ไม่ม ี
อะไรเปลีย ่ นแปลง เรามาพูดถึงความสามารถในการอยูเ่ องได ้ โตเองเป็ นกัน ก็เพือ ่ เตรียมลูกให ้พร ้อม
สำหรับอนาคตทีท ่ ำนายไม่ได ้ ซงึ่ การศก ึ ษาไทยวันนีใ้ ห ้ไม่ได ้ และยังไม่มวี แ ี่ ววว่าจะให ้ได ้เลย

ทัง้ หมดนีข ั กับนิยามความสามารถในการกำกับดูแลตัวเองจากหนังสือ อยูเ่ องได ้ โตเองเป็ น: เลีย


้ ด ้ งลูกให ้เขียนชีวต ิ ด ้วยมือตัว
เอง อย่างยิง่ โดยวิลเลียม สติกซ์รัด (William Stixrud) และเน็ ด จอห์นสัน (Ned Johnson) สองผู ้เขียนซึง่ มีประสบการณ์ชว่ ยเห
ลือเด็กๆ ให ้เติบโตอย่างมั่นใจกว่าหลายทศวรรษอธิบายว่า ความสามารถในการกำกับดูแลตัวเองเป็ นความเชือ ่ มั่นในตัวเองทีเ่ กิด
จากทักษะการจัดการความเครียด ความยืดหยุน ่ เผชิญปั ญหา การกำกับตัวเองให ้ทำสิง่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ในระยะยาวได ้ ตลอด
่ เมือ
จนการเห็นคุณค่าในตนเอง

สำหรับสองผู ้เขียน ความสามารถดังกล่าวบ่มเพาะได ้ด ้วยการเปิ ดโอกาสให ้เด็กตัดส น ิ ใจด ้วยตัวเอง โดยมีผู ้ปกครองหรือผู ้ใหญ่
เป็ นทีป
่ รึกษา ให ้ข ้อมูลเพือ
่ การตัดสินใจอย่างมีวจ
ิ ารณญาณ เป็ นพืน้ ทีป
่ ลอดภัยทีเ่ ด็กๆ จะหันมาหาได ้เมือ ่ เหน็ ดเหนือ
่ ยจากการ
ผจญภัยในโลกกว ้าง และเป็ นผู ้ปลอบโยนเมือ ่ พวกเขาผิดหวัง ด ้วยการชีใ้ ห ้เห็นว่าเส ้นทางสูค่ วามสำเร็จและความสุขในโลกไม่ได ้
มีเพียงเส ้นทางเดียว

 ภูรภ
ิ ัทรบอกว่าตนโชคดีทค ี่ รอบครัวเปิ ดโอกาสให ้เลือกเส ้นทางเดินเองเสมอ แต่เพือ ่ นๆ หลายคนไม่ได ้มีโชคเช่นนัน ้ “พ่อแม่จะ
ให ้ผาเลือกอะไรๆ เองเสมอโดยแนะแนวทางบ ้าง ทำให ้ผามีภม ู คิ ุ ้มกันคำถามทำนองนี้ เพราะผารู ้ว่าตัวเองชอบหรือไม่ชอบอะไร
แต่ในกลุม ่ คนรุน
่ ใหม่ด ้วยกัน ผาคิดว่าโรงเรียนไม่ได ้ส่งเสริมให ้เด็กมีความสามารถทีว่ า่ นีเ้ ลย”

ภูรภ
ิ ัทรบอกว่าหลายครัง้ ระเบียบในโรงเรียนและห ้องเรียนลิดรอนความเป็ นตัวตนของเด็ก ไม่เปิ ดโอกาสให ้เด็กสำรวจหรือรู ้จักตัว
เอง ภูรภิ ัทรไว ้ผมยาวเพราะต ้องการบริจาคผมในภายหลัง แต่เด็กชายในโรงเรียนต่างๆ ทีม่ ค
ี วามปรารถนาดีแบบเดียวกันกลับถูก
้ “ทัง้ ทีผ
บังคับให ้ไว ้ผมสัน ่ มเป็ นส่วนหนึง่ ของร่างกาย ถ ้าเด็กไม่มแ ิ ธิในร่างกายของตัวเอง เด็กก็จะได ้แต่ถามว่าสิง่ ทีฉ
ี ม ้แต่สท ่ ัน
เป็ นนัน
้ ผิดหรือ แล ้วต ้องทำอะไรจึงจะถูก”

อีกตัวอย่างหนึง่ ทีภ ่ รู ภ
ิ ัทรกล่าวถึง และเป็ นตัวอย่างทีค
่ นหลายรุน
่ เคยสัมผัสคือการเขียนวันทีห ่ ัวกระดาษในวัยเรียน “เวลาเขียนวัน
่ ้องใช ้นิว้ วัดว่าห่างเท่านีๆ้ ถึงจะเขียนเดือนได ้ จะแก ้โจทย์คณิตศาสตร์ก็กงั วลว่าต ้องขีดเส ้นใต ้ไหม เพราะครูแต่ละคนไม่ได ้ใช ้
ทีต
มาตรฐานเดียวกัน เด็กๆ จึงไม่กล ้าตัดสินใจด ้วยตัวเอง ไม่รู ้ว่าจริงๆ แล ้วฉั นควรทำอะไร เพราะถ ้าฉั นตัดสินใจเอง ฉั นอาจเป็ นคน
ผิดก็ได ้”

“ไหนจะของเล่นอีก พ่อแม่บางคนไม่ให ้ลูกชายเล่นตุก ๊ ตาหรือชอบสีชมพูเลย เพราะคิดว่าทัง้ สองอย่างเป็ นของเด็กผู ้หญิง ทัง้ ที่
ของเล่นไม่มเี พศ เราเล่นเพราะอยากรู ้ว่ามันเป็ นแบบไหน พอได ้ยินว่าเล่นไม่ได ้ เด็กก็จะได ้แต่ถามว่าแล ้วส งิ่ ทีฉ่ ั นชอบผิดหรือนี่
สิง่ ทีฉ ้ ด ้วยความรู ้สึกว่าต ้องชอบสิง่ ทีค
่ ั นเลือกผิดหรือนี่ เติบโตขึน ่ นอืน
่ บอกให ้ชอบ”

 พ่อแม่บางคนไม่ให ้ลูกชายเล่นตุก ี มพูเลย


๊ ตาหรือชอบสช เพราะคิดว่าทัง้ สองอย่างเป็ นของเด็กผู ้หญิง
ทัง้ ทีข
่ องเล่นไม่มเี พศ เราเล่นเพราะอยากรู ้ว่ามันเป็ นแบบไหน พอได ้ยินว่าเล่นไม่ได ้ เด็กก็จะได ้แต่
ถามว่าแล ้วสงิ่ ทีฉ
่ ั นชอบผิดหรือนี่ สงิ่ ทีฉ
่ ั นเลือกผิดหรือนี่ เติบโตขึน ึ ว่าต ้องชอบสงิ่ ทีค
้ ด ้วยความรู ้สก ่ น
อืน
่ บอกให ้ชอบ

 สุภาวดีซงึ่ มีความสนใจในทักษะบริหารจัดการของเด็ก หรือ EF (Executive Function) เป็ นทุนเดิมเชือ ่ ว่าความสามารถในการ


กำกับดูแลตนเองนีเ้ ป็ นปลายทางหนึง่ ของการบ่มเพาะ EF ในเด็ก ซึง่ เป็ นตัวชีว้ ัดความสำเร็จและความสุขในอนาคตด ้วย เพราะ
EF นัน ้ ครอบคลุมการเข ้าใจบุคลิกภาพ จุดแข็ง จุดอ่อนของตนเอง ตลอดจนความโอบอ ้อมอารี ความยืดหยุน ่ และความสามารถ
ในการปรับตัว ซึง่ หลอมรวมเป็ นความสามารถในการกำกับดูแลตนเองทีส ่ ำคัญต่อการเข ้าสังคมโดยไม่ลว่ งล้ำก้ำเกินผู ้อืน
่ และไม่
ให ้ผู ้อืน
่ ล่วงล้ำตนเอง “การเป็ นมนุษย์นัน ่ งต่อการปะทะกับผู ้อืน
้ เสีย ่ เรากำหนดพฤติกรรมของใครไม่ได ้ แต่กำหนดพฤติกรรมของ
ตัวเองได ้ ความสามารถในการกำกับดูแลตัวเองคือสิง่ นี้ คือการพึง่ พาตนเองได ้ ไม่รก ุ ล้ำใคร และไม่ต ้องเป็ นทาสความอุปถัมภ์
ของใคร”

โดย EF ทีเ่ ป็ นพืน้ ฐานของความสามารถดังกล่าวนัน ้ เริม


่ ฝึ กฝนได ้ตัง้ แต่อายุ 2-3 ปี เมือ
่ เด็กเริม
่ ไว ้ใจแม่และคุ ้นเคยกับโลก พร ้อม
กับทีก
่ ล ้ามเนือ
้ มัดใหญ่บริเวณแขนขาเริม ่ แข็งแรง ยืน กระโดด วิง่ เตะได ้ กล ้ามเนือ ้ ลำคอก็แข็งแรงเพียงพอจะสัน ่ ศีรษะปฏิเสธได ้
ความรู ้สึกว่าควบคุมกล ้ามเนือ ้ ด ้จะนำไปสูความภาคภูมใิ จในตัวเอง และค่อยๆ พัฒนาเป็ นความรู ้สึกว่าตนกำกับดูแลสิง่
้ เหล่านีไ ่
ต่างๆ ได ้

“ปั ญหาคือเด็กไทยมักถูกห ้าม บางทีเพราะไปโรงเรียน บางทีเพราะพ่อแม่ไม่อยูบ ่ ้าน ต ้องฝากคนอืน ่ เลีย


้ ง คนเลีย
้ งไม่ได ้มีเวลา
เฝ้ าเด็กตลอดเวลา โรงเรียนอนุบาลบางแห่งก็ไม่มก ี ารจัดการทีด ึ ว่าควบคุมกล ้ามเนือ
่ ี เด็กจึงไม่ได ้รับการฝึ กฝนให ้รู ้ส ก ้ ของตัวเอง
ได ้ ถ ้ากระโดดด ้วยแรงเท่านีๆ้ จะไปได ้ไกลเท่านีๆ้ นะ เป็ นต ้น ซึง่ วงจรประสาทในสมองทีเ่ กิดขึน ้ ระหว่างกระบวนการนีจ ้ ะถูกใช ้เมือ

เด็กๆ ต ้องเข ้ามหาวิทยาลัย ทะเลาะกับเจ ้านาย ทะเลาะกับแฟน หางาน ถูกเจ ้านายลวนลาม มันคือความเป็ นอิสระในตนเอง
(autonomy) หรือความรู ้สึกว่าเราเป็ นเราและเราเลือกได ้” นายแพทย์ประเสริฐอธิบาย

“อายุ 4-7 ขวบ พัฒนาทีว่ า่ จะเคลือ ่ นจากกล ้ามเนื้อมัดใหญ่มาถึงกล ้ามเนื้อนิว้ มือ เด็กควรรู ้ว่าตัวเองใช ้นิว้ มือได ้ ซึง่ การศึกษาไทย
ก็ไม่อนุญาตให ้เด็กรู ้อีก ไม่ให ้เล่นดินน้ำมัน ไม่ให ้ปั น้ นู่นปั น
้ นี่ แต่ให ้เขียน ให ้คัดเลขไทยสวยๆ ทัง้ หมดนีข ้ ด
ั ขวางพัฒนาการตาม
ธรรมชาติ ประเด็นไม่ได ้อยูท ่ ใี่ ช ้นิว้ มือได ้ไหม แต่อยูท ี่ วามรู ้สึกว่าตัวเองใช ้มันได ้ ซึง่ ช่วงเวลาพัฒนากล ้ามเนือ
่ ค ้ ส่วนนี้อยูท
่ รี่ ะหว่าง
7-8 ขวบเท่านัน ้ เอง แล ้วธรรมชาติก็จะปิ ดบัญชีการสร ้างวงจรประสาททีเ่ ป็ น EF ของเด็กคนนัน ้ ๆ เพือ
่ เข ้าสูก่ ระบวนการตัดแต่งมัน
ตัง้ แต่ 9 ขวบเป็ นต ้นไป” 

อย่างไรก็ตาม นายแพทย์ประเสริฐเห็นว่าสถานการณ์ “ความไม่พร ้อม” ดังกล่าวอยูใ่ นระดับทีจ ่ วนสายเกินการ เพราะขาดการ


สนับสนุนจากรัฐอย่างเรือ ้ รัง ไม่วา่ จะด ้วยการส่งเสริมให ้พ่อแม่ได ้ใช ้เวลาทีม
่ ค ุ ภาพกับลูก โดยเฉพาะระหว่างทีเ่ ด็กเรียนรู ้การใช ้
ี ณ
งานกล ้ามเนือ้ มัดต่างๆ ซึง่ ต ้องมีผู ้ใหญ่ดแ
ู ล หรือการยกระดับคุณภาพการศึกษาปฐมวัย ซึง่ ไม่มท ี ท
ี า่ ว่าจะเกิดขึน
้ ในเร็ววัน ดังนัน

“พ่อแม่กล ้าหาญได ้แล ้ว คนชอบคิดว่าผมพูดเล่นเวลาบอกให ้พ่อแม่ชว่ ยลูกทำการบ ้าน จะได ้เสร็จเร็วๆ แล ้วไปเล่นเสียที”

 พ่อแม่กล ้าหาญได ้แล ้ว คนชอบคิดว่าผมพูดเล่นเวลาบอกให ้พ่อแม่ชว่ ยลูกทำการบ ้าน จะได ้เสร็จเร็วๆ


ี ที
แล ้วไปเล่นเสย
 “ก็ทา่ นไม่ปฏิรป
ู การศึกษาเสียที เรารอไม่ได ้นะ ลูกอายุแปดขวบต ้องตัดสินใจในประเด็นทีซ ั ซ ้อนขึน
่ บ ้ แล ้ว อย่างทะเลาะกับเพือ
่ น
จะต่อยเพือ ่ นหรือทำอย่างไรต่อไป จบ ม.6 จะเรียนต่อไหม เรียนต่อแล ้วไม่ชอบจะทำอย่างไร ทำงานแล ้วไม่ชอบจะออกหรือทำ
อย่างไร ถูกรังแกแล ้วจะสู ้ จะเจรจา หรือจะหนี ความสามารถนีม้ าจากวงจรประสาททีพ ่ ัฒนาขึน้ ตัง้ แต่สองขวบ ถ ้าเอาเวลาทัง้ หมด
นีไ
้ ปเรียน ผมว่าไม่น่ารอด”

นอกจากนี้ นายแพทย์ประเสริฐยังย้ำความสำคัญของเวลาคุณภาพในครอบครัวในฐานะวัตถุดบ ิ สำหรับสร ้างพืน


้ ทีป
่ ลอดภัย หรือ
ความรู ้สึกว่าบ ้านและครอบครัวจะสนับสนุนเด็กเสมอเมือ
่ พลาดพลัง้ ขณะสำรวจโลกกว ้างด ้วย

ความรู ้สึกปลอดภัยทีว่ า่ ย่อมงอกงามจากความไว ้เนือ ่ ใจซึง่ กันและกัน ความเชือ


้ เชือ ่ มั่นว่าจะไม่ถก
ู ตัดสิน ดูแคลน หรือด่าทอเมือ

ตัดสินใจผิดพลาด โดยภูผาเสนอวิธห ี นึง่ ทีถ
่ ักทอสายใยดังกล่าวได ้ แม ้ในครอบครัวทีอ ่ าจเคอะเขิน ไม่คุ ้นเคยกับการแสดงความ
รู ้สึกอ่อนหวานต่อกันอย่างตรงไปตรงมา

“ถ ้าเราไม่สามารถพูดออกมาได ้ ลองใช ้การเขียนไหมครับ เขียนเป็ นจดหมายน ้อยวางไว ้บนโต๊ะของพ่อแม่หรือของลูก วิธน


ี ี้
ครอบครัวของผาใช ้ พีส่ าวใช ้ก่อน แล ้วผาก็ใช ้ตาม ผาจำได ้ว่าจดหมายฉบับแรกเป็ นจดหมายขอโทษตอนผาอายุ 5-6 ขวบ ผา
เขียนว่าผาทำอะไรไม่ดบ ี ้าง แล ้วสัญญาว่าจะปรับปรุงตัวเอง”

“การเขียนเงียบๆ คนเดียวง่ายกว่าการพูด เพราะไม่มค ี สู่ นทนาให ้เรารู ้สึกกดดัน การเขียนสือ่ สารกันลดความเครียดได ้ เพราะต ้อง
อาศัยการกลั่นกรองมากกว่า คนอ่านเองก็ต ้องคิดขณะอ่าน พร ้อมเมือ ่ ไรค่อยเปิ ดใจพูดคุยกัน แต่ถ ้าเขียนก็ไม่กล ้า พูดก็ไม่กล ้า หา
ทีป ่ รึกษาก่อน ไปผ่อนอารมณ์กบ ั คนกลางก่อน แทนทีจ ่ ะส่งสารตอนมีอารมณ์ ให ้สงบสติอารมณ์กอ ่ นแล ้วค่อยพูดจากัน อีกอย่าง
หนึง่ คือทุกคนต ้องลดทิฐลิ ง ลดความยึดมั่นถือมั่น ไม่วา่ จะเป็ นการคิดว่าฉั นโตแล ้ว ฉั นดูแลตัวเองได ้ หรือการคิดว่าตัวเองอาบน้ำ
ร ้อนมาก่อน การลดทิฐล ่ มั่นในกันและกันว่าต่างฝ่ ายจะพูดจากันด ้วยเหตุผล และพูดคุยกันได ้จริง”
ิ งจะทำให ้เราเชือ

โดยสุภาวดีเห็นว่าอุปสรรคใหญ่หลวงทีส
่ ด
ุ ต่อการพัฒนาความสามารถในการกำกับดูแลตัวเอง น่าจะเป็ นวัฒนธรรมและค่านิยม
นั่นเอง

“เราอยูใ่ นสังคมทีไ่ ม่คอ ่ ยเชือ่ เรือ


่ งนีม้ งั ้ ไม่เชือ ่ ว่าแต่ละคนจะกำกับดูแลตัวเองได ้ เรามักเชือ
่ ว่าคนไทยต ้องถูกควบคุม ฟั งทีภ ่ ผ ู าพูด
ถึงการขีดเส ้นใต ้ ก็ได ้แต่คด ิ ว่าสมัยก่อนไม่มน ี ะ แสดงว่าเดีย ๋ วนีอ
้ าการหนักขึน
้ การดูแลคนด ้วยวิธน ี เี้ องทีห
่ ล่อหลอมสังคมให ้เป็ น
แบบนี้ เห็นได ้ชัดว่าเป็ นระบบทีแ ่ ข็งแกร่งทีส ่ ดุ ในแง่ความคงทนไม่เปลีย ่ นแปลง แต่ออ่ นแอทีส ุ เช งิ ประสิทธิภาพ สมัยนีด
่ ด ้ ข
ี นึ้ บ ้าง
เพราะเทคโนโลยีทท ี่ ำให ้มนุษย์จัดการตัวเองได ้มากขึน ้ ถือว่าเป็ นเทรนด์ของโลก เทคโนโลยีส ง่ มาแล ้ว ภาคเอกชนส่งมาแล ้ว แต่
เมือ
่ ค่านิยมพืน
้ ฐานไม่ใช่ มันก็ไปได ้ไม่ไกล”

 การเขียนเงียบๆ คนเดียวง่ายกว่าการพูด เพราะไม่มค ี ส ึ กดดัน การเขียนสอ


ู่ นทนาให ้เรารู ้สก ื่ สารกันลด
ความเครียดได ้ เพราะต ้องอาศย ั การกลัน
่ กรองมากกว่า คนอ่านเองก็ต ้องคิดขณะอ่าน พร ้อมเมือ ่ ไร
ค่อยเปิ ดใจพูดคุยกัน แต่ถ ้าเขียนก็ไม่กล ้า พูดก็ไม่กล ้า หาทีป ่ รึกษาก่อน ไปผ่อนอารมณ์กบ ั คนกลาง
ก่อน แทนทีจ ่ ะสง่ สารตอนมีอารมณ์ ให ้สงบสติอารมณ์กอ ่ นแล ้วค่อยพูดจากัน อีกอย่างหนึง่ คือทุกคน
ต ้องลดทิฐลิ ง ลดความยึดมั่นถือมั่น ไม่วา่ จะเป็ นการคิดว่าฉั นโตแล ้ว ฉันดูแลตัวเองได ้ หรือการคิดว่า
ตัวเองอาบน้ำร ้อนมาก่อน การลดทิฐล ิ งจะทำให ้เราเชอ ื่ มั่นในกันและกันว่าต่างฝ่ ายจะพูดจากันด ้วย
เหตุผล และพูดคุยกันได ้จริง

 “พ่อแม่เองก็ต ้องถามตัวเองนะว่าโตมาได ้อย่างไร โตมาเพราะถูกตีหรือ โตมาเพราะลองโน่นลองนี่ กล ้าคิดกล ้าทำต่างหาก พ่อ


แม่ต ้องมีสติ ชีวต
ิ ไม่ได ้มีหนทางเดียว วิธอ
ี ยูร่ อดและประสบความสำเร็จไม่ได ้มีวธิ เี ดียว”

้ “สิง่ ทีเ่ ราจะต ้องพูดถึงกันอีกมากๆ คือสถานศึกษาว่าเป็ นอย่างไรบ ้าง มันเป็ นเบ ้าทีใ่ หญ่ทส
กระนั น ุ เราใช ้เวลากับมันตัง้ สิบกว่าปี
ี่ ด
ถ ้าไม่ได ้ประโยชน์อะไรจะอยูท ่ ำบ ้าอะไรตัง้ สิบกว่าปี ซึง่ ระบบการศึกษาไทยก็ไม่เรียนรู ้ ไม่สนใจว่ามีองค์ความรู ้อะไรใหม่เกีย ่ วกับ
สมองของมนุษย์บ ้างเลย บางครัง้ เพราะมักง่าย บางครัง้ เพราะผลประโยชน์ ก็คงอย่างทีห ่ มอพูด คงต ้องกลับมาทีพ ่ อ
่ แม่ ต ้องกล ้า
หาญให ้มากในสภาวะทีไ่ ม่มใี ครช่วยเหลืออะไรได ้อย่างนี้ สิง่ ทีต ่ ้องถามตัวเองให ้มากทีส
่ ดุ คือ ถ ้าเราไม่อยูแ ่ ล ้วลูกอยูไ่ ด ้ไหม ถ ้าอยู่
ไม่ได ้ ไม่ได ้เพราะอะไร พอเตัง้ คำถามแบบนี้ เราจะพบว่ามีสถานการณ์ทเี่ ราทำอะไรได ้อยูบ ่ ้าง ไม่ใช่ไม่มเี ลย”
ในทีส
่ ด
ุ คำถามจึงถูกส่งกลับไปหานายแพทย์ประเสริฐผู ้คุ ้นเคยกับคำถามและความกังวลของพ่อแม่มากหน ้าหลายตา ว่าขณะทีว่ ง
เสวนากระตุ ้นให ้พ่อแม่ “กล ้าหาญ” ยืนหยัดในหนทางทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ
่ บุตรหลานนัน
้ ความกลัวชนิดใดกันทีฉ
่ ุดรัง้ พ่อแม่ไว ้

นายแพทย์ประเสริฐตอบว่า “ความกลัวของพ่อแม่นัน ้ เข ้าใจได ้และพบได ้ทั่วโลกอย่างทีว่ า่ ไว ้ในหนังสือ คือหนึง่ ลูกจะทำอะไรกิน


โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศนี้ เราอาจวิจารณ์ได ้ว่าหนังสือเล่มนีฝ ้ รั่งเขียน ต่อให ้เรียนไม่จบก็มส ี วัสดิการในประเทศนัน ้ รองรับ แต่
เมือ
่ หนังสือเล่มนีเ้ ข ้ามาในประเทศไทย ผมคิดว่าพ่อแม่หลายคนตัง้ ข ้อสงสัย เพราะการไม่มก ี นิ ในประเทศนีเ้ ป็ นเรือ
่ งใหญ่มาก”

“ความกลัวทีส่ องคือกลัวอันตราย ซึง่ ผมต ้องวิจารณ์วา่ เป็ นห่วงทีไ่ ม่พาตัวเองไปไหน เพราะห่วงไปก็ไม่มใี ครปฏิรป ู การศึกษาเสียที
โรงเรียนก็หมดสภาพลงทุกทีๆ โรงเรียนไม่มป ี ระโยชน์แน่นอนแล ้วตอนนี้ การไปโรงเรียนกลายเป็ นการเสียเวลา แต่บ ้านเรียน
(homeschool) กับโรงเรียนทางเลือกก็เป็ นทางเลือกทีพ ่ ่อแม่เลือกไม่ได ้ ดังนัน
้ เราต ้องบริหารเวลาใหม่ สอนให ้ลูกบริหารเวลา
ใหม่ ต ้องขโมยเวลาคืนจากการศึกษาทีไ่ ม่ยอมพัฒนา ขโมยเวลาแปดชัว่ โมงทีโ่ รงเรียน เวลาเตรียมสอบ เวลาทำการบ ้าน ทำ
รายงาน เวลานั่งฟั งบรรยายวิชาทีไ่ ม่ชอบไปทำอย่างอืน ่ ทีช ่ อบ ไปพัฒนาอิสระในตนเองด ้วยการพัฒนากล ้ามเนื้อใหญ่ ไปพัฒนา
ทักษะการริเริม
่ และลงมือทำ (initiating) ด ้วยการพัฒนากล ้ามเนือ ้ เล็ก เพือ
่ สร ้างวงจรสมองส่วนทีจ่ ำเป็ นต่อตัดสินใจประเด็นยากๆ
ในอนาคต”

สงิ่ ทีเ่ ราจะต ้องพูดถึงกันอีกมากๆ คือสถานศก ึ ษาว่าเป็ นอย่างไรบ ้าง มันเป็ นเบ ้าทีใ่ หญ่ทส ุ เราใช ้
ี่ ด
เวลากับมันตัง้ สบ ิ กว่าปี … ซงึ่ ระบบการศก
ึ ษาไทยก็ไม่เรียนรู ้ ไม่สนใจว่ามีองค์ความรู ้อะไรใหม่เกีย ่ ว
กับสมองของมนุษย์บ ้างเลย … ก็คงอย่างทีห ่ มอพูด คงต ้องกลับมาทีพ ่ อ
่ แม่ ต ้องกล ้าหาญให ้มากใน
สภาวะทีไ่ ม่มใี ครชว่ ยเหลืออะไรได ้อย่างนี้ สงิ่ ทีต
่ ้องถามตัวเองให ้มากทีส ่ ด
ุ คือ ถ ้าเราไม่อยูแ่ ล ้วลูกอยู่
ได ้ไหม ถ ้าอยูไ่ ม่ได ้ ไม่ได ้เพราะอะไร พอเตัง้ คำถามแบบนี้ เราจะพบว่ามีสถานการณ์ทเี่ ราทำอะไรได ้
อยูบ ่ ้าง ไม่ใชไ่ ม่มเี ลย
 เขาย้ำว่า “ทัง้ หมดนีต
้ ้องทำในวัยเด็ก เพราะทำในวัยรุน ่ จะน่ากลัวเกิน โจทย์ของวัยรุ่นซับซ ้อนกว่า ยากกว่า ความเสีย
่ งของวัยเจ็ด
ปี คอ
ื กระโดดแล ้วจะคะมำไหม เอาปากกาเคมีไปขีดเฟอร์นเิ จอร์แล ้วจะเกิดอะไรขึน ้ ตัดสินใจผิดอย่างมากก็เข่าแตก ตัดสินใจผิด
อย่างมากก็ถก ู พ่อว่า เป็ นโจทย์ทงี่ า่ ยทีส
่ ด
ุ แล ้ว ลูกริเริม
่ สร ้างสรรค์ได ้โดยไม่มก
ี ฎกติกามารยาทมากเท่าไร”

ยิง่ กว่านัน ่ มั่นในตนเองอาจเริม


้ การสร ้างเสริมความเชือ ่ ต ้นได ้ตัง้ แต่อายุเพียงแปดเดือน ด ้วยการให ้ลูกเลือกอาหารทีต ่ ้องการรับ
ประทานเอง โดยทุกพฤติกรรมของพ่อแม่จะก่อรูปร่างเป็ นวงจรในสมองของลูก “หากสอนให ้ลูกเชือ ่ ตลอดเวลา เราจะได ้เด็กทีม ่ ี
สมองประเภททำอะไรก็ได ้เพือ ่ ให ้คนอืน่ ปลืม
้ จากพ่อแม่ปลืม ้ ก็เป็ นเพือ ่ นปลืม้ เจ ้านายปลืม
้ คนรักปลืม
้ ถูกทุบตีก็พยายามทำให ้
เขาปลืม ้ เพราะไม่เคยทำอะไรด ้วยตนเองเพือ ่ ตัวเอง มันไปไกลถึงขัน ้ ทำให ้คนทัง้ โลกปลืม
้ คนเดียวทีไ่ ม่ปลืม
้ คือตัวเอง”

หากสอนให ้ลูกเชอ ื่ ตลอดเวลา เราจะได ้เด็กทีม ่ ส


ี มองประเภททำอะไรก็ได ้เพือ ่ ให ้คนอืน่ ปลืม
้ จากพ่อ
แม่ปลืม
้ ก็เป็ นเพือ
่ นปลืม ้ เจ ้านายปลืม
้ คนรักปลืม้ ถูกทุบตีก็พยายามทำให ้เขาปลืม ้ เพราะไม่เคยทำ
อะไรด ้วยตนเองเพือ ่ ตัวเอง มันไปไกลถึงขัน้ ทำให ้คนทัง้ โลกปลืม
้ คนเดียวทีไ่ ม่ปลืม้ คือตัวเอง
อาจถึงเวลาแล ้วทีเ่ ราควรตัง้ คำถามว่าเด็กต ้องขีดเส ้นใต ้สองเส ้นด ้วยปากกาสีแดงเพราะต ้องทำหรือเพราะทำแล ้วขัดหูขด ั ตาครู
ประจำวิชาน ้อยกว่า และเรากำลังสร ้างทรัพยากรมนุษย์แบบใดจากคำสัง่ นัน ้ ทรัพยากรมนุษย์ทต
ี่ ด
ั สินใจได ้อย่างมีวจ
ิ ารณญาณ
พร ้อมรับมือโลกอันผันผวนในศตวรรษที่ 21 หรือทรัพยากรมนุษย์ทต ี่ ้องรอคำสัง่ ร่ำไป

หรือจริงๆ อาจไม่ใช ่ “อาจถึงเวลาแล้ว” แต่เป็น “ถึงเวลานานแล้ว และเวลานนก็


ั้ ผา
่ นเลยไปแล้ว” ต่างหาก!

You might also like