You are on page 1of 19

งานกลุ่มภาคเหนือ

ด.ช.ณัฐวีย์ สุขเจริญ เลขที่ 9


ด.ช.ธันย​บูรณ์​เนือง​ใต้ เลขที่ 13
ด.ช.ธีรชัย ชลพิชิตชัย เลขที่ 14
ด.ช.ปุณณวิช หมื่นสา เลขที่ 15
ด.ช.พีรวัส วงษ์ถิรสิทธิ์ เลขที่ 18
ด.ช.ภัทรพล จงดี เลขที่ 20
ด.ช.ชยธร พุมมา เลขที่ 5
ด.ช.วชิรวิชญ์ เกียรติ เลขที่ 22
ด.ชวัศพล วงษ์มั่น เลขที่ 25
ด.ช.พิภัช อภัยพงศ์ เลขที่ 17
ด.ช.ณัฐพล วันดี เลขที่ 8
วัฒนธรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ความเชื่อ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับ ศาสนา ความเชื่อ
ความเชื่อเกี่ยวกับการนับถือผี ชาวเหนือหรือที่เรียกกันว่า "ชาวล้านนา" มีความเชื่อในเรื่องการ
นับถือผีตั้งแต่เดิม โดย เชื่อว่าสถานที่แทบทุกแห่ง มีผีให้ความคุ้มครองรักษาอยู่ ความเชื่อนี้
จึงมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน เห็นได้ จากขนบธรรมเนียม ประเพณี และพิธีกรรม
ต่างๆ ของชาว เหนือ เช่น ผู้เฒ่าผู้แก่ชาวเหนือ (พ่ออุ๊ยแม่อุ๊ย) เมื่อไปวัดฟัง ธรรมก็จะประกอบ
พิธีเลี้ยงผี คือ จัดหาอาหารคาว-หวานเซ่น สังเวยผีปู่ย่าด้วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับประเพณีพื้นเมือง
วัฒนธรรมเกี่ยวกับประเพณีพื้นเมือง
ประเพณีของภาคเหนือ มีลักษณะเป็นพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถี
การดำรงชีวิต ที่เกิดจากการผสมผสาน ระหว่างพุทธศาสนากับ
ความเชื่อ ในเรื่องการนับถือผี ทำให้มีประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์
และลักษณะของ ประเพณีจะแตกต่างกันไปตามฤดูกาล
วัฒนธรรม
เกี่ยวกับที่อยู่
อาศัย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
ลักษณะเด่นชัดในทางสังคมและวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของชุมชนใน
ภาคเหนือ ที่ไม่เหมือนกับภาคอื่นๆ ก็ คือ บรรดาชุมชนหมู่บ้าน
ต่างๆ ที่อยู่ในหุบเขาเดียวกันนั้น จะต้องมี ความสัมพันธ์กันทาง
สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด จึง จะอยู่ร่วมกันได้
สิ่งนี้แลเห็นได้จากการร่วมมือกันในการทำให้มีการ ชลประทาน
เหมืองฝายขึ้น นั่นก็คือแต่ละชุมชนจะต้องมาร่วมกันทำ ฝายหรือ
เขื่อนกั้นน้ำ และขุดลอกลำเหมืองเพื่อระบาย น้ำจากฝายที่ กั้น
ลำน้ำไปเลี้ยงที่นาของแต่ละชุมชน
วัฒนธรรมที่สืบเนื่องจากการทำ
เกษตรกรรม
วัฒนธรรมที่สืบเนื่องจากการทำเกษตรกรรม
คนไทยในอาณาจักรล้านนามีชีวิตและความเป็นอยู่ โดยการประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมเป็นหลัก พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา หุบเขา มีพื้นที่ราบจำนวน
น้อย คือ ประมาณ 1/4 ของพื้นที่ทั้งหมด ชาวบ้านทำนาแบบนาทดน้ำ
พื้นที่สูงปลูกข้าวไร่ พื้นที่ที่ราบในแอ่งเขาอุดมสมบูรณ์ ปลูกข้าวและพืชอื่นๆ
ได้ดี คือ พื้น ที่ราบ
วัฒนธรรมการกิน

วัฒนธรรมการกิน
ชาวเหนือมีวัฒนธรรมการกินที่เป็นเอกลักษณ์ เช่น นิยมรับ
ประทาน ข้าวเหนียวเป็นหลัก จึงมีภาชนะใส่ข้าวเหนียวในขั้นตอน
ต่างๆ เช่น ใช้ภาชนะที่เรียกว่า "หวด" ในการนึ่งข้าวเหนียว
วัฒนธรรมเกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน
เพลงพื้นบ้านในของภาคเหนือ เป็นเพลงสนุกสนาน เช่น เพลง ค่าว
ซึ่งเป็นบทขับร้องที่มีทำนองสูงต่ำ ไพเราะ เพลงซอ เป็นการ ขับ
ร้องโต้ตอบเกี้ยวพาราสีกัน จ๊อย หรือการขับลำนำในโอกาสต่างๆ
และทำฮ่ำหรือคำฮ่ำ ซึ่งเป็นการขับร้องหมู่ เป็นต้น
การแต่งกายของคนภาคเหนือที่เป็นชาวบ้านทั่วไป ชายจะนุ่ง
กางเกงขายาวลักษณะแบบกางเกงขายาวแบบ 3 ส่วน เรียกติด
ปากว่ า “เตี่ยว” หรือ เตี่ยวสะดอ ทำจากผ้าฝ้าย ย้อมสีน้ำเงินหรือ
สีดำ ส่วนเสื้อก็นิยมสวมเสื้อผ้าฝ้ายคอกลม แขนสั้น แบบผ่าอก
กระดุม 5 เม็ด สีน้ำเงินหรือสีดำ เช่นเดียวกัน เรียกว่า เสื้อม่อฮ่อม
ชุดนี้ใส่เวลาทำงาน

สำหรับหญิงชาวเหนือจะนุ่งผ้าซิ่น(ผ้าถุง)ยาวเกือบถึงตาตุ่ม
นิยมนุ่งทั้งสาวและคนแก่ ผ้าถุงจะมีความประณีต งดงาม ตีนซิ่นจะ
มีลวดลายงดงาม ส่วนเสื้อจะเป็นเสื้อคอกลม มีสีสัน ลวดลาย
สวยงามเช่นเดียวกัน เรื่องการแต่งกายนี้ หญิงชาวเหนือจะแต่งตัว
ให้สวยงามอยู่เสมอ ชาวเหนือถือว่าเป็นเรื่องสำคัญ
ขอบคุณคร้าบผม

ขอขอบพระคุณที่รับชม

You might also like