You are on page 1of 2

เนือ้ หาคาพิพากษา/คาวินิจฉัย รูปแบบและวิธีการให้ เหตุผล ข้ อโต้ แย้ ง

1.บ่งวิธีการว่าเรื่องนี ้มีข้อเท็จจริงอัน - โต้ แย้ งได้ ว่าข้ อเท็จจริงไม่ถูกต้ อง ไม่


เป็ นที่มาของข้ อพิพาทอย่างไร ครบถ้ วนปั ญหาข้ อเท็จจริง
ผู้โต้ แย้ งพอใจ - ไม่โต้ แย้ ง
2.ข้ อกล่าวอ้ างของผู้ร้องมี 3 ประเด็น
ย่อย ได้ แก่
ก. 1448 ขัดต่อหลักความเสมอภาค
ข. ขัดต่อหลักนิติธรรมและหลักอื่น ๆ
ในรัฐธรรมนูญ
ค. ไม่สอดคล้ องกับบรรทัดฐานสากล
ในประเทศต่างๆ
3. มีเขตอานาจตามมาตรา 212 ดีแล้ ว เพราะแปลว่าศาลรับคดีนี ้ไว้
พิจารณา แต่ถ้าศาลไม่รับ เราก็ต้อง
โต้ แย้ งในประเด็นว่าศาลตีความ
เงื่อนไขการรับคดีตามมาตรา 212
ไม่ถูกต้ อง
4. ไม่ต้องไต่สวนเพิ่มเติม -
5. เป็ นปั ญหาข้ อกฏหมาย
6. วางหลักกฎหมายมาตรา 25 26 27
7. มาตรา 4 และ 5 เป็ นหลักทั่วไป ?????
ไม่ได้ ใช้ กับกรณีเฉพาะ จึงแย้ งไม่ได้
8. การให้ เหตุผลส่วนที่หนึ่ง นิรนัย Deductive reasoning ?????
ก. บ่งเจตนารมณ์ของการร่ างประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตีความตัวบทกฎหมาย
ข. บ่งความหมายของการสมรสตาม Legal culture
มาตรา 1448
ค. วิเคราะห์คาว่า เพศ และ เพศสภาพ
ง. วินิจฉัยว่าการสมรสดูที่เพศ มิใช่เพศ
สภาพ
จ. เพศสภาพเป็ นเพียงความพึ่งพอใจ
มิใช่สิทธิตามกฎหมาย
9. วินิจฉัยมาตรา 25 26 นิรนัย ?????
Legal culture
ก. ตีความว่ากฎหมายธรรมชาติควร Historical survey
Functional reasoning
เป็ นอย่างไร
- สอดคล้ องตามธรรมชาติ
- สอดคล้ องกับจารี ตประเพณี
- ต้ องเป็ นที่ยอมรับ
- แตกต่างจากประเทศอื่นได้
ข. มาตรา 1448 สอดคล้ องกับการ
ตีความดังกล่าว
ค. รัฐยอมรับผู้มีความหลากหลายทาง
เพศได้ โดยวิธีการอื่น
ง. บุคคลสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยไม่
จาเป็ นต้ องสมรส
10. วินิจฉัยมาตรา 27 นิรนัย ?????
ก. ความเสมอภาคพิจารณาอย่างไร
ข.ความเสมอภาคสร้ างโดยกฎหมาย Doctrinal reasoning
เฉพาะ Functional reasoning
ค. พิจารณาความเสมอภาคไม่ควร Analogy
กระทบกฎหมายหลัก คือ 1448
ง. มีการอุปมา อุปมัย กับบทบัญญัติ
อื่นใน ป.พ.พ. บรรพ 5
จ. เพศที่มาโดยกาเนิด เลือกไม่ได้
ฉ. การให้ ความเสมอภาคไม่จาต้ อง
เหมือนกัน
ช. ผลลัพธ์เกี่ยวกับการจัดสวัสดิการ
ของรัฐ
ซ. การหวังผลด้ านภาษี
สรุปผล อุปนัย
ก. ไม่ขดั ต่อรัฐธรรมนูญ
ข. มีข้อแนะนา

You might also like