You are on page 1of 100

เอกสารประกอบการบรรยาย กฎหมาย

ระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง น 390:
สนธิสญ
ั ญา
นพดล เดชสมบูรณ์รัตน์

det_nop PIL 1
หัวข้อที)จะพิจารณา
• ผู้ที&จะมีอํานาจทําแทนรัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศ
• กระบวนการจัดทําสนธิสญ ั ญา
• การแสดงเจตนายินยอมที&จะผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
• การทําข้ อสงวน
• ความสมบูรณ์ของสนธิสญ ั ญา
• เงื&อนไขการมีผลบังคับใช้ ของสนธิสญ ั ญา
• พันธกรณีที&จะไม่ทําลายเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของสนธิสญ
ั ญาก่อนที&สญ
ั ญาจะมีผล
บังคับใช้
• การแก้ ไขสนธิสญ ั ญา
• การยกเลิกสนธิสญ ั ญา
• การตีความสนธิสญ ั ญา
det_nop PIL 2
ผูท้ ี)จะมีอาํ นาจทําแทนรัฐหรื อองค์การระหว่าง
ประเทศ
• บุคคลใดที)จะกระทําการใดใดเกี)ยวกับสนธิสญ ั ญาแล้ วการกระทํานันมี
; ผลผูกพันตัวรัฐหรื อตัว
องค์การระหว่างประเทศ บุคคลนันจะต้; องเป็ นบุคคลที)มีอํานาจเต็ม (full powers) หากผู้ที)ได้
เข้ าทํากระบวนการใด ๆ เกี)ยวกับสนธิสญ ั ญาไม่ได้ รับอํานาจเต็ม การนันย่
; อมไม่ผกู พันรัฐที)ผ้ ทู ี)ได้ รับ
อํานาจเต็มอ้ างว่าเป็ นผู้แทน และรัฐอื)นไม่สามารถอ้ างการกระทํานันยั
; นรัฐเช่นว่าได้

• กฎหมายระหว่างประเทศนันถื ; อว่าบุคคลต่อไปนี ;โดยตําแหน่ง (ex officio) เป็ นผู้มีอํานาจเต็มคือ


1. ประมุขของรัฐ
2. ประมุขของรัฐบาล
3. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงต่างประเทศ
• สําหรับบุคคลที)หาได้ มีอํานาจเต็มโดยตําแหน่งนัน; ก็อาจจะได้ รับการแต่งตังให้
; เป็ นผู้แทนรัฐได้ โดย
การออกเอกสารแสดงอํานาจเต็มตามกระบวนที)กําหนดไว้ ในกฎหมายภายใน เช่น อาจจะได้ รับ
อํานาจเฉพาะในส่วนของการรับตัวบทแต่หาได้ มีอํานาจในการแสดงออกซึง) ความยินยอมแทนรัฐ
det_nop PIL 3
ผูท้ ี&จะมีอาํ นาจทําแทนรัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศ
• Ar5cle 2 (c) ของ VCLT กําหนดนิยามของอํานาจเต็มไว้ ดงั นี ;
• เอกสารแสดงอํานาจเต็ม หมายถึง เอกสารที)จดั ทําโดยเจ้ าหน้ าที)มีอํานาจของรัฐหรื อจากองค์กรของ
องค์การระหว่างประเทศกําหนดให้ บคุ คลหรื อคณะบุคคลเป็ นผู้แทนรัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศ
สําหรับการเจรจา การรับตัวบท การรับรองความถูกต้ องของเนื ;อหาของสนธิสญ ั ญา การแสดงออกซึง)
ความยินยอมของรัฐหรื อองค์การระหว่างประเทศที)จะผูกพันตามสนธิสญ ั ญา หรื อที)จะกระทําการใด
ๆ อันเกี)ยวข้ องกับสนธิสญ
ั ญา
• “full powers” means a document emana5ng from the competent
authority of a State or from the competent organ of an
interna5onal organiza5on designa5ng a person or persons to
represent the State or the organiza5on for nego5a5ng, adop5ng
or authen5ca5ng the text of a treaty, for expressing the consent
of the State or of the organiza5on to be bound by a treaty, or for
accomplishing any other act with respect to a treaty;
• หมายเหตุ เอกสารแสดงอํานาจเต็มเป็ นชื)อเอกสาร ผู้ที)ได้ เอกสาแสดงอํานาจเต็มหาได้ มีอํานาจเต็มที)
ในการกระทําทุกอย่างทีเกี)ยวข้ องกับสนธิสญ
ั ญาไม่ จําต้ องดูขอบเขตจากเงื)อนไขที)กําหนดไว้ ใน
เอกสารอํานาจเต็มนันเอง
; det_nop PIL 4
กระบวนการจัดทําสนธิสญ
ั ญา

กระบวนการจัดทําสนธิสญ
ั ญา

• การเจรจาและยกร่าง

• การรับตัวบท (adoption) และการยืนยันความถูกต้ อง


(authentication)

det_nop PIL 5
การเจรจาและยกร่ าง
• การเจรจาและยกร่างนันเป็
; นขันตอนของการกํ
; าหนดเนื ;อความของสนธิสญ
ั ญา ซึง)
นอกจากเนื ;อหาทางสิทธิหน้ าที)ของรัฐภาคีแล้ ว ก็รวมไปถึงรูปแบบของการให้ ความ
ยินยอม เงื)อนไขของการมีผลบังคับใช้ การทําข้ อสงวน การแก้ ไขและยกเลิก
สนธิสญ
ั ญา และความสัมพันธ์กบั กฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศอื)น ๆ

• การเจรจาอาจจะแบ่งพิจารณาตามรูปแบบของการเจรจา
การเจรจาที)ทําโดยรัฐที)ต้องการกําหนดเนื ;อหาของสนธิสญ
ั ญาด้ วยกันเอง
การเจรจาที)ทําในกรอบของเวทีระหว่างประเทศ
การเจรจาที)ทําในกรอบขององค์การระหว่างประเทศ

det_nop PIL 6
การเจรจาและยกร่ าง
• ในระหว่างการเจรจานัน; ถ้ าผู้เกี)ยวข้ องนันมี
; ความเห็นที)แตกต่าง ก็จะต้ องมีกระบวนการชี ;ขาดว่า
เนื ;อหาของสนธิสญั ญาจะเป็ นเช่นไร ซึง) อาจจะใช้ กระบวนการต่อไปนี ;
• การออกเสียง
เอกฉันท์ (unanimity)
เสียงข้ างมาก
เสียงข้ างมากพิเศษ
• ฉันทามติ (consensus)
ศ. ดร. จตุรนต์ ถิระวัฒน์: “เป็ นการผ่านหรื อรับเอาข้ อมติหรื อตัวบทโดยปราศจากการลงมติออก
เสียง โดยเมื)อประธานในที)ประชุมเห็นว่าที)ประชุมโดยทัว) ไปมีความเห็นสอดคล้ องกันในหลักการ
แล้ วและปราศจากการคัดค้ านอย่างเป็ นทางการก็จะชี ;ขาดให้ รับเรื) องดังกล่าวโดยหลักฉันทามติ
อย่างไรก็ตามหลักการนี ;มิได้ เหมือนกับหลักเอกฉันท์ เนื)องจากการที)รัฐมิได้ โต้ แย้ งในหลักการมิได้
หมายถึงรัฐให้ ความเห็นชอบในรายละเอียดทังหมด ; รัฐอาจเพียงไม่ต้องการที)จะแสดงตนเป็ น
ปฏิปักษ์ อย่างชัดแจ้ งกับฝ่ ายที)สนับสนุนและขัดขวางการออกข้ อมติหรื อรับตัวบทดังกล่าว และ
โดยเฉพาะอย่างยิ)งในเมื)อการรับตัวบทยังไม่มีผลเป็ นการผูกพันรัฐแต่อย่างใด รัฐก็ยงั มีทางเลือกที)
จะไม่แสดงเจตนาเข้ าผูกพันตามสนธิสญ ั ญาได้ ”
• จตุรนต์ ถิระวัฒน์, กฎหมายระหว่างประเทศ พิมพ์ครัง; ที) 4, กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์วิญ^ู
ชน 2558, 142 det_nop PIL 7
การรับตัวบท (adop&on) และการยืนยันความถูกต้อง
(authen&ca&on)
• เมื$อการเจรจาสําเร็ จนัน/ ขันตอนต่
/ อมาคือการรับตัวบท (adoption) และการยืนยันความถูกต้ อง (authentication)
Article 10 of VCLT
Authentication of the text
The text of a treaty is established as authentic and definitive:
(a) by such procedure as may be provided for in the text or agreed upon by the States participating in its drawing up; or
(b) failing such procedure, by the signature, signature ad referendum or initialling by the representatives of those States
of the text of the treaty or of the Final Act of a conference incorporating the text.
จากข้ อ 10 ของ VCLT นันการรั
/ บตัวบท (adoption) และการยืนยันความถูกต้ อง (authentication) อาจจะกระทําได้ โดย
1. การลงนาม (signature) การลงนามนี /หากเป็ นกรณีที$การแสดงความยินยอมผูกพันตามสนธิสญ ั ญาต้ องกระทําการด้ วยการให้
สัตยาบัน การลงนามในขันนี / /ก็จะเป็ นเพียงการรับรองความถูกต้ องของตัวบทหรื อรับตัวบทเท่านัน/ แต่หากเป็ นกรณีที$เป็ น
สนธิสญ ั ญาอันการแสดงออกซึง$ ความยินยอมสามารถทําได้ ด้วยการลงนาม การลงนามนี /ย่อมอาจมีผลเป็ นการการรับรองความ
ถูกต้ องของตัวบทหรื อรับตัวบทและเข้ าผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
2. การลงนามโดยมีเงื$อนไขว่าจะต้ องนําไปพิจารณาอีกขันหนึ / ง$ (signature ad referendum) เป็ นการลงนามที$อยูบ่ นเงื$อนไขที$วา่
จะต้ องไปปรึกษาหรื อให้ รัฐพิจารณาอีกครัง/ หนึง$ ก่อน แต่อย่างไรนันหากรั
/ ฐตอบรับยืนยันมา หากเป็ นกรณีที$การแสดงความ
ยินยอมผูกพันนันกระทํ
/ าได้ ด้วยการลงนาม ความผูกพันต่อรัฐจะถือเกิดตังแต่ / วนั ที$ลงนามโดยมีเงื$อนไข หาใช่วนั ที$รัฐตอบรับมา
ไม่
3. การลงนามย่อ (initialing) การลงนามย่อนันเป็ / นการยืนยันความถูกต้ องของตัวบทและเป็ นการยุตกิ ารเจรจา แต่อย่างไรนันการ /
ลงนามแบบย่อมิใช่การเข้ าผูกพันตามสนธิสญ ั ญา

det_nop PIL 8
การแสดงเจตนายินยอมที)จะผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา
• การแสดงเจตนายินยอมที)จะผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
Article 11 of VCLT provides:
Means of expressing consent to be bound by a treaty
“The consent of a State to be bound by a treaty may be expressed
by signature, exchange of instruments constituting a treaty,
ratification, acceptance, approval or accession, or by any other
means if so agreed.”
• จากข้ อ 11 ของ VCLT การแสดงความยินยอมเข้ าผูกพันตามสนธิสญ ั ญานันสามารถกระทํ
; าได้
ด้ วยวิธีการดังต่อไปนี ;
การลงนาม (signature)
ั ญา (exchange of instruments
การแลกเปลีย) นตราสารที)ก่อให้ เกิดสนธิสญ
constituting a treaty)
การให้ สตั ยาบัน (ratification)
การยอมรับและการรับรอง (acceptance or approval )
การภาคยานุวตั ิ (accession)
หรื อวิธีการอื)นตามที)ตกลง
det_nop PIL 9
การแสดงเจตนายินยอมที)จะผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา
• การลงนาม (signature)และการแลกเปลีย& นตราสารที&ก่อให้ เกิด
สนธิสญ ั ญา (exchange of instruments)
• การลงนาม (signature)และการแลกเปลีย& นตราสารที&ก่อให้ เกิด
สนธิสญ ั ญา (exchange of instruments) นันเป็ O นกระบวนการให้
ความยินยอมเข้ าผูกพันสนธิสญ ั ญาที&เป็ นสนธิสญ ั ญาแบบย่อ
(Agreement in Simplified Form) หรื อข้ อตกลงของฝ่ ายบริ หาร
(Execu;ve Agreement) ข้ อตกลงเช่นว่านันเป็ O นข้ อตกลงที&ฝ่าย
บริ หารสามารถยินยอมเข้ าผูกพันได้ โดยไม่อาศัยการอนุมตั จิ ากฝ่ ายนิตบิ ญั ญัติ
หรื อประมุขของรัฐ ซึง& มักจะปรับใช้ แก่กรณีที&มีความสําคัญน้ อยกว่าสนธิสญั ญา
ที&ต้องได้ รับความยินยอมจากฝ่ ายนิตบิ ญ ั ญัติ

det_nop PIL 10
การแสดงเจตนายินยอมที)จะผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา
ข้ อ 12 (1) ของ VCLT ได้ วางกฎเกณฑ์เกี1ยวกับการแสดงความยินยอมโดยการลงนามไว้ โดยเฉพาะดังนี A

“Consent to be bound by a treaty expressed by signature


1.The consent of a State to be bound by a treaty is expressed by the signature
of its representative when:
(a) the treaty provides that signature shall have that effect;
(b) it is otherwise established that the negotiating States were agreed that
signature should have that effect; or
(c) the intention of the State to give that effect to the signature appears from
the full powers of its representative or was expressed during the negotiation”

โดยที1ข้อ 12 ของ VCLT ได้ วางกฎเกณฑ์ไว้ วา่ ความยินยอมผูกพันตามสนธิสญ ั ญาจะสามารถกระทําได้ โดยการให้


ความลงนามก็ตอ่ เมื1อ
A. กําหนดไว้ ในสนธิสญ ั ญา
B. ปรากฏว่ารัฐผู้เจรจาตกลงกันว่าให้ การลงนามมีผลเป็ นการยินยอมผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
C. ปรากฏว่ารัฐซึง1 ผู้แทนได้ ลงนามนันมี
A เจตนาที1จะให้ การลงนามมีผลเป็ นการยินยอมผูกพันตามสนธิสญ
ั ญาโดยปรากฏ
จากหนังสืออํานาจเต็มของตัวแทนผู้นนหรืั A อระหว่างการเจรจา
det_nop PIL 11
การแสดงเจตนายินยอมที)จะผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา
• การให้ สตั ยาบัน (ra5fica5on) การยอมรับ (acceptance) และการรับรอง
(approval )
การให้ สตั ยาบันนันเป็
4 นการเปิ ดโอกาสให้ รัฐมีการตรวจสอบอีกครัง4 หนึงA หรื อได้ รับอนุมตั จิ าก
องค์กรทีAมีอํานาจตามกฎหมายภายใน ก่อนทีAจะเข้ าผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
เช่นนัน4 การให้ สตั ยาบันจึงมี 2 มิติ
1. มิตภิ ายใน คือการได้ รับการอนุมตั จิ ากองค์กรทีAมีอํานาจ เช่น ประมุขของรัฐ หรื อ รัฐสภา
2. มิตริ ะหว่างประเทศ ซึงA เป็ นการแลกเปลียA นสัตยาบันสาร ซึงA เป็ นกระบวนในมิตริ ะหว่าง
ประเทศทีAก่อให้ เกิดความผูกพันต่อรัฐ

ส่วนการการยอมรับ (acceptance) และการรับรอง (approval ) เป็ นการกระบวนการทีA


คล้ ายคลึงกับการให้ สตั ยาบัน เป็ นไปตามทีAกฎหมายภายในกําหนดไว้ แต่ก็เป็ นกระบวนการทีA
ยืนยันเจตนาเฉกเช่นเดียวกับการให้ สตั ยาบัน

det_nop PIL 12
ตัวอย่างของสัตยาบันสาร

Credit: Achala Abeysinghe

det_nop PIL 13
การแสดงเจตนายินยอมที)จะผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา
• ภาคยานุวัติ (accession)
เป7นการแสดงความยินยอมเขAาผูกพันตามสนธิสัญญาหลังจากที่กระบวนการเจรจา
และยืนยันตัวเนื้อหาของสนธิสัญญาไดAจบลงและมีการลงนามจากรัฐอื่น ๆ แลAว
การทำภาคยานุวัติจะเกิดขึ้นกVอนหรือหลังการมีผลบังคับใชAของสนธิสัญญาก็ไดA แตV
โดยปรกติจะเกิดขึ้นหลังจากสนธิสัญญามีผลบังคับใชA

det_nop PIL 14
คําถาม
• รัฐ A รัฐ B และรัฐ C และรัฐ D เข้ าร่วมเจรจาสนธิสญ ั ญา X ซึงA มีข้อตกลงยอมรับคุณวุฒิทีAให้
บุคคลทีAได้ รับใบอนุญาตว่าความของรัฐใดก็ตามในรัฐภาคีจะมีสทิ ธิประกอบวิชาชีพทนายในอาณา
เขตของรัฐภาคีทงหมดได้ั4 โดยสนธิสญั ญาได้ ระบุวา่ การรัฐสามารถแสดงความยินยอมได้ ด้วยการลง
นาม เมืAอการเจรจาเสร็จสิ 4นและทุกรัฐยอมรับซึงA เนื 4อหาของสนธิสญ ั ญา โดยสนธิสญ ั ญา X จะมีผล
ั 4 สองรัฐขึ 4นไป ณ วันทีA 31 มกราคม 2560
บังคับใช้ ทนั ทีเมืAอมีรัฐภาคีตงแต่
รัฐ A ได้ ลงนามในสนธิสญ ั ญา
รัฐ B ได้ ลงนามในสนธิสญ ั ญาอย่างย่อ
รัฐ C ได้ ลงนามในสนธิสญ ั ญาแบบ signature ad referendum
รัฐ D ได้ ลงนามในสนธิสญ ั ญา
ข้ อเท็จ ณ วันทีA 14 กุมภาพันธ์ 2560
รัฐ A ได้ มีกฎหมายภายในให้ บคุ คลทีAมีใบประกอบวิชาชีพทนายตามกฎหมายภายในรัฐ B C D
สามารถประกอบวิชาชีพทนายในดินแดนของตนได้ แต่กฎหมายภายในตามรัฐ B C D ยังคงกําหนด
ว่าต้ องเป็ นบุคคลทีAมีใบประกอบวิชาชีพทนายตามกฎหมายภายในของรัฐตนเท่านันจึ
4 งจะสามารถ
ประกอบวิชาชีพทนายในดินแดนของตนได้
ั ญา X
คําถาม รัฐใดละเมิดพันธกรณีตามสนธิสญ
det_nop PIL 15
ข้อสงวน
• ความหมาย
2 (d) of VCLT
“reserva5on” means a unilateral statement, however phrased or
named, made by a State, when signing, ra5fying, accep5ng,
approving or acceding to a treaty, whereby it purports to exclude
or to modify the legal effect of certain provisions of the treaty in
their applica5on to that State;”
ข้ อสงวนหมายถึงคําประกาศฝ่ ายเดียวทีAทําโดยรัฐไม่วา่ จะตังชื
4 Aอว่าอะไรในขณะทีAกําลังจะลงนาม ให้
สัตยาบัน ยอมรับ รับนอง หรื อทําการภาคยานุวตั ติ อ่ สนธิสญ
ั ญา เพืAอจะให้ ตนหลุดพ้ นจากความผูกพัน
หรื อแก้ ไขผลทางกฎหมายของบทบัญญัตบิ างบทบัญญัตเิ มืAอมีการปรับใช้ สนธิสญ ั ญาแก่รัฐนัน4 ๆ
แบบ
ตามข้ อ 23 ของ VCLT นันกํ
4 าหนดให้ การทําข้ อสงวน การยอมรับและคัดค้ าน หรื อเพิกถอนข้ อสงวน
ต้ องทําเป็ นหนังสือ det_nop PIL 16
ข้อสงวน
• Article 19 of VCLT
“Formulation of reservations
A State may, when signing, ratifying, accepting, approving or acceding to
a treaty, formulate a reservation unless:
(a) the reservation is prohibited by the treaty;
(b) the treaty provides that only specified reservations, which do not
include the reservation in question, may be made; or
(c) in cases not failing under subparagraphs (a) and (b), the reservation is
incompatible with the object and purpose of the treaty”
ข้ อ 19 แห่ง VCLT
“การทําข้ อสงวน
รัฐอาจจะทําข้ อสงวนเมืHอเวลาทีHตนลงนาม ให้ สตั ยาบัน ยอมรับ รับรอง หรื อทําการภาคยานุวตั ติ อ่ สนธิสญั ญา
เว้ นแต่
a การทําข้ อสงวนนันต้
S องห้ ามตามสนธิสญ ั ญา
b สนธิสญ ั ญาได้ ระบุข้อสงวนทีHสามารถกระทําได้ แต่ข้อสงวนทีHรัฐต้ องการจะทํานันไม่
S อยูใ่ นขอบเขตทีH
สนธิสญ ั ญากําหนด
c ในกรณีทีHไม่ตกอยูภ่ ายใต้ ข้อ b และ c แต่ข้อสงวนนันไม่
S สอดคล้ องต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ
สนธิสญ ั ญา” det_nop PIL 17
ข้อสงวน
• กรณีข้อสงวนขัดต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสนธิสญ ั ญา
• Chile ได้ ทําข้ อสงวนต่อข้ อ 2 paragraph 3 ของ ConvenKon against Torture and
Other Cruel, Inhuman or Degrading (CAT) โดยจะส่งผลทําให้ ชิลไี ม่จําต้ องให้ มี
พันธกรณีทําให้ ปรับกฎหมายภายในของตนให้ สอดคล้ องกับเรื อS งการห้ ามอนุญาตให้ ยกคําสังH ของ
ผู้บงั คับบัญชาเป็ นข้ อปฏิเสธความรับผิดตาม CAT หากเป็ นกรณีทีHเป็ นไปตามหลัก Considered
Obedience ซึงH เป็ นหลักกฎหมายภายในของ Chile
Ar#cle 2 of Conven#on against Torture and Other Cruel, Inhuman or
Degrading
1. Each State Party shall take effecKve legislaKve, administraKve,
judicial or other measures to prevent acts of torture in any territory
under its jurisdicKon.
2. No excepKonal circumstances whatsoever, whether a state of
war or a threat of war, internal poliKcal instability or any other public
emergency, may be invoked as a jusKficaKon of torture.
3. An order from a superior officer or a public authority may not
be invoked as a jusKficaKon of torture.
• ความเห็นของ the CommiXee Against Torture???
det_nop PIL 18
กรณี ขอ้ สงวนขัดต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ
สนธิสญ ั ญา
คําเห็นของ ของ the Commi5ee Against Torture

det_nop PIL 19
ข้อสงวน
Ar8cle 20 of VCLT
Acceptance of and objec8on to reserva8ons
1.A reserva8on expressly authorized by a treaty does not require any subsequent acceptance by
the other contrac8ng States unless the treaty so provides.
2.When it appears from the limited number of the nego8a8ng States and the object and purpose
of a treaty that the applica8on of the treaty in its en8rety between all the par8es is an essen8al
condi8on of the consent of each one to be bound by the treaty, a reserva8on requires
acceptance by all the par8es.
3.When a treaty is a cons8tuent instrument of an interna8onal organiza8on and unless it
otherwise provides, a reserva8on requires the acceptance of the competent organ of that
organiza8on.
4. In cases not falling under the preceding paragraphs and unless the treaty otherwise provides:
(a) acceptance by another contrac8ng State of a reserva8on cons8tutes the reserving State a
party to the treaty in rela8on to that other State if or when the treaty is in force for those States;
(b) an objec8on by another contrac8ng State to a reserva8on does not preclude the entry into
force of the treaty as between the objec8ng and reserving States unless a contrary inten8on is
definitely expressed by the objec8ng State;
(c) an act expressing a State’s consent to be bound by the treaty and containing a reserva8on is
effec8ve as soon as at least one other contrac8ng State has accepted the reserva8on.
5.For the purposes of paragraphs 2 and 4 and unless the treaty otherwise provides, a reserva8on
is considered to have been accepted by a State if it shall have raised no objec8on to the
reserva8on by the end of a period of twelve months aUer it was no8fied of the reserva8on or by
the date on which it expressed its consent todet_nop
be bound
PIL by the treaty, whichever is later. 20
ข้อสงวน
• Article 21
1.A reservation established with regard to another party in
accordance with articles 19, 20 and 23:
• (a) modifies for the reserving State in its relations with that other
party the provisions of the treaty to which the reservation relates to
the extent of the reservation; and
• (b) modifies those provisions to the same extent for that other party
in its relations with the reserving State.
• 2.The reservation does not modify the provisions of the treaty for the
other parties to the treaty inter se.
• 3. When a State objecting to a reservation has not opposed the entry
into force of the treaty between itself and the reserving State, the
provisions to which the reservation relates do not apply as between
the two States to the extent of the reservation.
det_nop PIL 21
ข้อสงวน
• ข้ อ 20 ของ VCLT นันกํ A าหนดหลักเกณฑ์วา่ ด้ วยการตอบรับและปฏิเสธข้ อสงวนดังนี A
• 1. หากเป็ นข้ อสงวนที1สนธิสญ ั ญาอนุญาตให้ กระทําได้ การตอบรับจากรัฐอื1นไม่มีความจําเป็ น
• 2. หากปรากฏว่ามีรัฐที1เข้ าร่วมเจราจาเนื Aอหาของสนธิสญ ั ญามีจํานวนน้ อยและจากวัตถุประสงค์และจุดมุง่ หมายของ
สนธิสญ ั ญานันA การบังคับใช้ สนธิสญ ั ญาทุกข้ อบทบัญญัตติ อ่ ทุกรัฐที1เป็ นภาคีเป็ นเหตุผลสําคัญต่อการให้ ความ
ยินยอมเข้ าผูกพันของสนธิสญ ั ญา ข้ อสงวนต้ องได้ รับการตอบรับจากรัฐทังหมดที
A 1เป็ นรัฐภาคี
• 3. หากเป็ นสนธิสญ ั ญาที1จดั ตังองค์
A การระหว่างประเทศ การทําข้ อสงวนต้ องได้ รับการตอบรับจากองค์กรที1มีอํานาจ
เว้ นแต่จะมีการกําหนดไว้ เป็ นอย่างอื1น
• 4. ในกรณี1ที1ไม่ตกอยูภ่ ายใต้ บงั คับของวรรค 1-3 ให้ ใช้ กฎเกณฑ์ตอ่ ไปนี A
A หากรัฐใดยอมรับข้ อสงวนของรัฐที1ทําข้ อสงวน รัฐที1ทําข้ อสงวนนันย่
A อมกลายเป็ นภาคีของสนธิสญ ั ญาในสายตาของ
รัฐที1ยอมรับข้ อสงวน
B การคัดค้ านข้ อสงวนนันหาได้
A เป็ นที1จะทําให้ สนธิสญ
ั ญาไม่มีผลบังคับระหว่างรัฐที1ปฏิเสธและรัฐที1ทําข้ อสงวน เว้ น
แต่มีการแสดงเจตนาอย่างชัดเจนในทางตรงกันข้ ามจากรัฐผู้ปฏิเสธ (แต่บทบัญญัตทิ ี1เกี1ยวข้ องกับข้ อสงวนจะไม่ปรับ
ใช้ ระหว่างรัฐทีทําข้ อสงวนและรัฐที1ปฏิเสธตามข้ อ 21)
C การแสดงความยินยอมเข้ าผูกพันตามสนธิสญ ั ญาโดยมีข้อสงวนนันมี
A ผลทันทีเมื1อมีรัฐภาคีหนึง1 ใดยอมรับข้ อสงวน
นันA
5. เพื1อประโยชน์ในการพิจารณาตามวรรค 2 และวรรค 4 ถ้ าสนธิสญ ั ญาไม่ระบุไว้ เป็ นอย่างอื1น ข้ อสงวนนันจะถู
A กถือ
ว่าได้ รับการยอมรับจากรัฐภาคีหากรัฐภาคีที1ไม่แสดงการคัดค้ านภายในระยะเวลา 12 เดือนนับจากวันที1ได้ รับแจ้ ง
หรื อวันที1รัฐที1รัฐที1ทําข้ อสงวนแสดงเจตนาเข้ าผูกพันตามสนธิสญ
ั ญา

det_nop PIL 22
ข้อสงวน
• ผลของการยอมรับและคัดค้ านข้ อสงวน
• การยอมรับข้ อสงวน
ตามข้ อ 20 ประกอบข้ อ 21 ของ VCLT ทําให้ สนธิสญ ั ญาโดยมีเนื SอหาทีHถกู ลดทอนหรื อแก้ ไขตามข้ อ
สงวนนันปรั
S บใช้ แก่ความสัมพันธ์ของคูก่ รณี
• การคัดค้ านข้ อสงวน
I. ตามข้ อ 20 VCLT นันหากรัS ฐภาคีปฏิเสธข้ อสงวนและระบุวา่ สนธิสญ ั ญาจะไม่ใช้ บงั คับแก่
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐทีHปฏิเสธและรัฐทีHทําข้ อสงวน สนธิสญ ั ญาทังฉบั
S บไม่ปรับใช้ แก่ความสัมพันธ์
ระหว่างรัฐทีHปฏิเสธและรัฐทีHทําข้ อสงวน ตามข้ อ 20 ประกอบข้ อ 21
II. ของ VCLT นันหากรั
S ฐภาคีปฏิเสธข้ อสงวนแต่ไม่ได้ ระบุวา่ สนธิสญั ญาจะไม่ใช้ บงั คับแก่ความสัมพันธ์
ระหว่างรัฐทีHปฏิเสธและรัฐทีHทําข้ อสงวน สนธิสญ ั ญาจะยังบังคับแก่ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐทีHปฏิเสธและรัฐ
ทีHข้อสงวนแต่บทบัญญัตทิ ีHเกีHยวข้ องกับข้ อสงวนไม่ปรับใช้ แก่ความสัมพันธ์” (ในคดี United
Kingdom/France Continental Shelf case : ศาลพิจารณาว่าเฉพาะเนื Sอหาบางส่วนของ
S Hไม่ปรับใช้ ” หมายความว่า หากเนื Sอหาของบทบัญญัตมิ ีหลาย
บทบัญญัตทิ ีHเกีHยวข้ องกับข้ อสงวนเท่านันที
ส่วนทีHแยกออกจากกันได้ ส่วนทีHจะไม่นํามาปรับใช้ คือแค่เฉพาะส่วนทีHเกีHยวข้ องเท่านันS หาใช้ วา่ จะไม่ปรับใช้
บทบัญญัตทิ งหมดเสมอไป)
ัS

det_nop PIL 23
ข้อสงวน
• รัฐ A รัฐ B รัฐ c เป็ นภาคีแรกเริ1 มของสนธิสญ
ั ญา X โดยมีกฎเกณฑ์บางประการดังนี A
Article V: ให้ ผ้ มู ีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพแพทย์ตามกฎหมายภายในของรัฐภาคีใดก็
ตาม สามารถประกอบวิชาชีพแพทย์ภายในดินแดนของรัฐภาคีอื1น ๆ ได้
Article VI: ให้ ผ้ มู ีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพทันตแพทย์ตามกฎหมายภายในของรัฐภาคีใด
ก็ตาม สามารถประกอบวิชาชีพทันตแพทย์ภายในดินแดนของรัฐภาคีอื1น ๆ ได้
Article VII: ให้ ผ้ มู ีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพสัตวแพทย์ตามกฎหมายภายในของรัฐภาคีใด
ก็ตาม สามารถประกอบวิชาชีพสัตวแพทย์ภายในดินแดนของรัฐภาคีอื1น ๆ ได้
เมื1อสนธิสญ ั ญาบังคับใช้ ได้ ไป 2 ปี รัฐ D ได้ ทําการภาคยานุวตั เิ ข้ าเป็ นภาคีของสนธิสญ
ั ญา X โดยมีข้อสงวนว่าจะ
ไม่ใช้ บงั คับ Article VII แก่ตน
รัฐ A คัดค้ านข้ อสงวนของรัฐ D
รัฐ B ตอบรับข้ อสงวนของรัฐ D
รัฐ C คัดค้ านข้ อสงวนของรัฐ D และปฏิเสธที1จะใช้ สนธิสญ ั ญา X แก่ความสัมพันธ์ของตนกับ D
หลังจากเหตุการณ์ดงั กล่าว ปรากฏว่า
1. กฎหมายภายในของรัฐ A B C ยังไม่ได้ รับรองให้ แพทย์ที1ได้ รับใบประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพแพทย์
ตามกฎหมายภายในของรัฐ D สามารถประกอบอาชีพแพทย์ในดินแดนของตนได้ รัฐ A รัฐ B หรื อ รัฐ C ได้ ทําผิด
พันธกรณีตามสนธิสญ ั ญา X หรื อไม่
2. กฎหมายภายในของรัฐ D ได้ รับรองให้ แพทย์ที1ได้ รับใบประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพแพทย์ตาม
กฎหมายภายในของรัฐ A และฺ B สามารถประกอบอาชีพแพทย์ในดินแดนของตนได้ แต่ไม่ได้ รับรองใบประกอบโรค
ศิลปะในประกอบวิชาชีพแพทย์ตามกฎหมายภายในของรัฐ C รัฐ D ได้ ทําผิดพันธกรณีตามสนธิสญ ั ญา X หรื อไม่
3. ไม่มีกฎหมายภายในของรัฐ A B C รับรองให้ สตั วแพทย์ที1ได้ รับใบประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพสัตว
แพทย์ตามกฎหมายภายในของรัฐ D สามารถประกอบอาชีพสัตวแพทย์ในดินแดนของตนได้ รัฐ D เองก็ไม่ได้ ออก
กฎหมายรับรองประกอบโรคศิลปะในวิชาชีพสัตวแพทย์ของรัฐ A B C เช่นนันA A B C D ได้ ทําผิดพันธกรณีตาม
สนธิสญ ั ญา X หรื อไม่

det_nop PIL 24
ข้อสงวน
• รัฐ A รัฐ B และรัฐ C เป็ นภาคีแรกเริH มของสนธิสญ ั ญา X โดยมีกฎเกณฑ์บางประการดังนี S
Article VI กําหนดให้ เครืH องบินสัญชาติของรัฐภาคีบนิ ผ่านน่านฟ้าของรัฐภาคีอืHนได้ เฉกเช่นเครืH องบินทีHมี
สัญชาติของรัฐเจ้ าของดินแดน
Article VII สนธิสญ ั ญากําหนดว่าอากาศยานของรัฐภาคีนนจะต้ ั S องบินอยูเ่ หนือพื SนทีHแหล่งชุมชนอย่างน้ อย
1000 ฟุต จากสิงH กีดขวางทีHสงู ทีHสดุ หากบินอยูใ่ นอาณาเขตของรัฐภาคีอืHน
Article VIII กําหนดว่า หากสนธิสญ ั ญามิได้ ระบุกฎเกณฑ์ในเรืH องใดทีHเกีHยวข้ องกับปฏิบตั ติ ามพันธกรณี การ
ใช้ สทิ ธิ หรื อ การบังคับตามสนธิสญ ั ญาฉบับนี S ให้ นํากฎเกณฑ์ของการบินองค์การการบินพลเรื อนโลก
(องค์กรสมมติ/โดยทีHตามกฎเกณฑ์ขององค์กรกดังกล่าวกําหนดให้ อากาศยานจะต้ องบินอยูเ่ หนือพื SนทีHแหล่ง
ชุมชนอย่างน้ อย 900 ฟุต จากสิงH กีดขวางทีHสงู ทีHสดุ
รัฐ D ทําภาคยานุวตั สิ นธิสญ ั ญา X โดยตังข้
S อสงวนว่า หากอากาศยานของภาคีรัฐอืHนจะบินผ่านรัฐ D จะต้ อง
บินอยูเ่ หนือพื SนทีHแหล่งชุมชนอย่างน้ อย 1200 ฟุต จากสิงH กีดขวางทีHสงู ทีHสดุ
รัฐ A ยอมรับข้ อสงวน
รัฐ B คัดค้ านข้ อสงวนและปฏิเสธการปรับใช้ สนธิสญ
ั ญาแก่ความสัมพันธ์ระหว่างตนกับ D
รัฐ C คัดค้ านข้ อสงวน
คําถาม I อากาศยานของรัฐ D ได้ รับสิทธิการบินเฉกเช่นอากาศยานของรัฐเจ้ าของดินแดนขณะบินผ่านน่าน
ฟ้าของรัฐ A B C หรื อไม่ ถ้ ามี อากาศยานของรัฐ D ต้ องบินผ่านด้ วยความสูงเท่าใดในพื SนทีHของแต่ละรัฐ
II อากาศยานของรัฐ A B C ได้ รับสิทธิการบินเฉกเช่นอากาศยานของรัฐเจ้ าของดินแดนขณะบินผ่านน่านฟ้า
ของรัฐ D หรื อไม่ ถ้ ามี อากาศยานของรัฐ A B C ต้ องบินผ่านด้ วยความสูงเท่าใดในพื SนทีHของรัฐ D
det_nop PIL 25
ข้อสงวน
• รัฐ A รัฐ B รัฐ c เป*นภาคีแรกเริ่มของสนธิสัญญา X โดยมีกฎเกณฑBบางประการดังนี้
Article V: ใหOผูOมีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพแพทยBตามกฎหมายภายในของรัฐ
ภาคีใดก็ตาม สามารถประกอบวิชาชีพแพทยBภายในดินแดนของรัฐภาคีอื่น ๆ ไดO
Article VI: ใหOผูOมีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพทันตแพทยBตามกฎหมายภายใน
ของรัฐภาคีใดก็ตาม สามารถประกอบวิชาชีพทันตแพทยBภายในดินแดนของรัฐภาคีอื่น ๆ ไดO
Article VII: ใหOผูOมีใบอนุญาตประกอบโรคศิลปะในการประกอบวิชาชีพสัตวแพทยBตามกฎหมายภายใน
ของรัฐภาคีใดก็ตาม สามารถประกอบวิชาชีพสัตวแพทยBภายในดินแดนของรัฐภาคีอื่น ๆ ไดO
Article VIII: ใหOผูOมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพพยาบาล หรือ ผูOมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกร
ภายในของรัฐภาคีใดก็ตาม สามารถประกอบวิชาชีพพยาบาลหรือวิชาเภสัชกร ภายในดินแดนของรัฐ
ภาคีอื่น ๆ ไดO

เมื่อสนธิสัญญาบังคับใชOไดOไป 2 ปa รัฐ D ไดOทำการภาคยานุวัติเขOาเป*นภาคีของสนธิสัญญา X โดยมีขOอ


สงวนวdา ขอไมdใชOบังคับเนื้อหาสนธิสัญญาที่เกี่ยวการเปeดเสรีตลาดแรงงานวิชาชีพเภสัชกรระหวdางรัฐภาคี
แกdตน
รัฐ A และ B รับรองขOอสงวนของรัฐ D
รัฐ C คัดคOานขOอสงวนของรัฐ D
• คำถาม ผลของการปฏิเสธขOอสงวนของรัฐ D โดยรัฐ C เป*นเชdนไร
det_nop PIL 26
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• เหตุแห่งความไม่สมบูรณ์ของสนธิสญ ั ญา
I ความบกพร่องของการแสดงเจตนาเข้ ายินยอมผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
- การปราศจากอํานาจตามกฎหมายภายใน (โดยที$รัฐที$เกี$ยวข้ องอื$นทราบถึงความบกพร่องดังกล่าวและเป็ นกฎหมายภายในที$มี
ความสําคัญอย่างยิ$ง) Provisions of internal law regarding competence to conclude treaties
(Article 46)
- การมีข้อจํากัดตามการมอบอํานาจต่อผู้แทนในการเข้ าแสดงเจตนาผูกพันตามสนธิสญั ญา (โดยที$รัฐคูเ่ จรจาได้ รับแจ้ งถึงข้ อจํากัด
ดังกล่าว) Specific restrictions on authority to express the consent of a State (Article 47)
- ความสําคัญผิด Error (Article 48)
- กลฉ้ อฉล Fraud (Article 49)
- การทุจริ ตคอรัปชัน$ ของผู้แทนรัฐ Corruption of a representative of a State (Article 50)
- การบังคับขมขูท่ ีกระทําต่อผู้แทนรัฐ Coercion of a representative of a State ( Article 51)
- การบังคับขมขูท่ ี$กระทําต่อตัวรัฐ Coercion of a State by the threat or use of force (Article 52)

II สนธิสญ
ั ญามีเนื /อหาขัดต่อกฎหมายบังคับเด็ดขาด (jus cogens)
-ขัดต่อกฎหมายบังคับเด็ดขาดที$มีอยูข่ ณะที$ทําสนธิสญ
ั ญา (conflict with existing peremptory
norms (Article 53))
-ขัดต่อกฎหมายบังคับเด็ดขาดที$เกิดขึ /นในภายหลัง (conflict with emerging peremptory norms
(Article 64))
det_nop PIL 27
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• ArHcle 46: Provisions of internal law regarding competence to conclude
treaHes
1.A State may not invoke the fact that its consent to be bound by a
treaty has been expressed in violaHon of a provision of its internal law
regarding competence to conclude treaHes as invalidaHng its consent unless
that violaHon was manifest and concerned a rule of its internal law of
fundamental importance.
2.A violaHon is manifest if it would be objecHvely evident to any State
conducHng itself in the maNer in accordance with normal pracHce and in
good faith.

• ArHcle 47:Specific restricHons on authority to express the consent of a State


If the authority of a representaHve to express the consent of a State
to be bound by a parHcular treaty has been made subject to a specific
restricHon, his omission to observe that restricHon may not be invoked as
invalidaHng the consent expressed by him unless the restricHon was noHfied
to the other negoHaHng States prior to his expressing such consent.

det_nop PIL 28
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• มาตรา ๑๗๘ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พระมหากษัตริ ย์ทรงไว้ ซงึH พระราชอํานาจในการทําหนังสือสัญญาสันติภาพสัญญาสงบศึก และสัญญาอืHนกับ
นานาประเทศหรื อกับองค์การระหว่างประเทศ
หนังสือสัญญาใดมีบทเปลียH นแปลงอาณาเขตไทย หรื อเขตพื SนทีHนอกอาณาเขตซึงH ประเทศไทยมีสทิ ธิอธิปไตย
หรื อมีเขตอํานาจตามหนังสือสัญญาหรื อตามกฎหมายระหว่างประเทศหรื อจะต้ องออกพระราชบัญญัตเิ พืHอให้
การเป็ นไปตามหนังสือสัญญา และหนังสือสัญญาอืHนทีHอาจมีผลกระทบต่อความมันH คงทางเศรษฐกิจ สังคม
หรื อการค้ าหรื อการลงทุนของประเทศอย่างกว้ างขวาง ต้ องได้ รับความเห็นชอบของรัฐสภา ในการนี S รัฐสภา
ต้ องพิจารณาให้ แล้ วเสร็ จภายในหกสิบวันนับแต่วนั ทีHได้ รับเรืH อง หากรัฐสภาพิจารณาไม่แล้ วเสร็ จภายใน
กําหนดเวลาดังกล่าว ให้ ถือว่ารัฐสภาให้ ความเห็นชอบ
หนังสือสัญญาอืHนทีHอาจมีผลกระทบต่อความมันH คงทางเศรษฐกิจ สังคม หรื อการค้ า หรื อการลงทุนของ
ประเทศอย่างกว้ างขวางตามวรรคสอง ได้ แก่ หนังสือสัญญาเกีHยวกับการค้ าเสรี เขตศุลกากรร่วมหรื อการให้ ใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ หรื อทําให้ ประเทศต้ องสูญเสียสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทงหมดหรื ัS อบางส่วน หรื อ
หนังสือสัญญาอืHนตามทีHกฎหมายบัญญัติ
ให้ มีกฎหมายกําหนดวิธีการทีHประชาชนจะเข้ ามามีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นและได้ รับการเยียวยาทีH
จําเป็ นอันเกิดจากผลกระทบของการทําหนังสือสัญญาตามวรรคสามด้ วย
เมืHอมีปัญหาว่าหนังสือสัญญาใดเป็ นกรณีตามวรรคสองหรื อวรรคสามหรื อไม่ คณะรัฐมนตรี จะขอให้ ศาล
รัฐธรรมนูญวินิจฉัยก็ได้ ทังนี
S S ศาลรัฐธรรมนูญต้ องวินิจฉัยให้ แล้ วเสร็ จภายในสามสิบวันนับแต่วนั ทีHได้ รับคําขอ
det_nop PIL 29
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• Ar5cle 48: Error
1.A State may invoke an error in a treaty as invalida5ng its
consent to be bound by the treaty if the error relates to a fact or
situa5on which was assumed by that State to exist at the 5me
when the treaty was concluded and formed an essen5al basis of
its consent to be bound by the treaty.
2.Paragraph 1 shall not apply if the State in ques5on
contributed by its own conduct to the error or if the circumstances
were such as to put that State on no5ce of a possible error.
3.An error rela5ng only to the wording of the text of a
treaty does not affect its validity; ar5cle 79 then applies.

det_nop PIL 30
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• Article 49: Fraud
If a State has been induced to conclude a treaty by the
fraudulent conduct of another negotiating State, the State
may invoke the fraud as invalidating its consent to be bound
by the treaty.
• Article 50: Corruption of a representative of a State
If the expression of a State’s consent to be bound by a
treaty has been procured through the corruption of its
representative directly or indirectly by another negotiating
State, the State may invoke such corruption as invalidating its
consent to be bound by the treaty.

det_nop PIL 31
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• Ar;cle 51: Coercion of a representa;ve of a State
The expression of a State’s consent to be
bound by a treaty which has been procured by the
coercion of its representa;ve through acts or threats
directed against him shall be without any legal effect.
• Ar;cle 52: Coercion of a State by the threat or use
of force
A treaty is void if its conclusion has been
procured by the threat or use of force in viola;on of
the principles of interna;onal law embodied in the
Charter of the United Na;ons

det_nop PIL 32
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• Article 53: Treaties conflicting with a peremptory norm of general
international law (“jus cogens”)
A treaty is void if, at the time of its conclusion, it conflicts with a
peremptory norm of general international law. For the purposes of the
present Convention, a peremptory norm of general international law is a
norm accepted and recognized by the international community of States
as a whole as a norm from which no derogation is permitted and which
can be modified only by a subsequent norm of general international law
having the same character.
• Article 64: Emergence of a new peremptory norm of general
international law (“jus cogens”)
If a new peremptory norm of general international law emerges,
any existing treaty which is in conflict with that norm becomes void and
terminates.

det_nop PIL 33
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• ผลทางกฎหมายของความไม่สมบูรณ์ของสนธิสญ ั ญา
• I กรณีโมฆะทังสนธิ
S สญ ั ญาโดยไม่อาจแยกส่วนได้

การบังคับทีHกระทําต่อผูแ้ ทนรัฐ ( ArKcle 51)


การบังคับที5กระทําต่อตัวรัฐ (ArKcle 52)
สนธิสญั ญามีเนื>อหาขัดต่อหลักกฎหมายบังคับเด็ดขาดทีHมีอยูข่ ณะทีHมีการจัดทําขณะทําสนธิสญ
ั ญา
(ArKcle 53)

• II กรณีโมฆะแยกส่วนได้
การปราศจากอํานาจตามกฎหมายภายในหรื อมีขอ้ จํากัดตามการมอบอํานาจต่อผูแ้ ทนในการเข้าแสดงเจตนา
ผูกพัน ตามสนธิสญ ั ญา (โดยที5รัฐที5เกี5ยวข้องอื5นทราบถึงความบกพร่ องดังกล่าว) (ArKcle 46-47)
ความสําคัญผิด (ArKcle 48
กลฉ้ อฉล Fraud (ArKcle 49)
การทุจริ ตคอรัปชันH ของผู้แทนรัฐ (ArKcle 50)
สนธิสญั ญาขัดต่อกฎหมายบังคับเด็ดขาดทีHเกิดขึ Sนในภายหลัง (ArKcle 64)
det_nop PIL 34
ความสมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
• ผู้มีสทิ ธิกล่าวอ้ างความไม่สมบูรณ์ของสนธิสญ
ั ญา
I. เฉพาะรัฐทีHการแสดงความยินยอมเสียไป
การปราศจากอํานาจตามกฎหมายภายในหรื อมีขอ้ จํากัดตามการมอบอํานาจต่อผูแ้ ทนในการเข้าแสดง
เจตนาผูกพันตามสนธิสญ ั ญา (โดยที5รัฐที5เกี5ยวข้องอื5นทราบถึงความบกพร่ องดังกล่าว) (Article 46-47)
ความสําคัญผิด (Article 48)
กลฉ้ อฉล Fraud (Article 49)
การทุจริ ตคอรัปชันH ของผู้แทนรัฐ (Article 50)
II. รัฐภาคีรัฐใดก็ได้
การบังคับทีกระทําต่อผูแ้ ทนรัฐ ( Article 51)
การบังคับที5กระทําต่อตัวรัฐ (Article 52)

III รัฐทุกรัฐแม้ มิใช่รัฐภาคี


สนธิสญ ั ญา (Article 53)
ั ญามีเนื>อหาขัดต่อหลักกฎหมายบังคับเด็ดขาดทีHมีอยูข่ ณะทีHมีการจัดทําสนธิสญ
สนธิสญ ั ญาขัดต่อกฎหมายบังคับเด็ดขาดทีHเกิดขึ Sนในภายหลัง (Article 64)

det_nop PIL 35
เงื)อนไขการมีผลบังคับใช้ของสนธิสญ
ั ญา
• สนธิสญั ญาที&มีความสมบูรณ์ตามกฎหมายนันO อาจจะยังไม่มีผลบังคับใช้ หาก
รัฐกําหนดเงื&อนเวลาหรื อเงื&อนไขบังคับของการมีมีผลบังคับใช้ เช่น กําหนดวันที&
มีผลบังคับใช้ จํานวนรัฐที&เข้ าเป็ นภาคี หรื อเป็ นระยะเวลาหลังจากที&มีจํานวนรัฐ
ภาคีครบจํานวน

เช่นนันO หากแม้ วา่ รัฐได้ แสดงความยินยอมผูกพันตามสนธิสญ ั ญา แต่หากยังไม่


เป็ นไปตามเงื&อนเวลาหรื อเงื&อนไขการบังคับใช้ สนธิสญ
ั ญา สนธิสญ
ั ญายังคงไม่
ปรับใช้ แก่ความสัมพันธ์ของรัฐภาคี

det_nop PIL 36
การแก้ไขสนธิสญ
ั ญา
• การแก้ ไขสนธิสญ
ั ญา
การแก้ ไขสนธิสญั ญาสามารถทําได้ ด้วยข้ อตกลงของรัฐภาคี
มี 2 ลักษณะ

• 1. การแก้ ไขที1จะปรับใช้ แก่ความสัมพันธ์ของรัฐภาคีทกุ รัฐ


รัฐภาคีทกุ รัฐสามารถเลือกที1ยอมรับหรื อไม่ยอมรับข้ อตกลงแก้ ไขนันได้ A
a. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐที1ยอมรับข้ อแก้ ไขย่อมเป็ นไปตามข้ อตกลงแก้ ไข
b.ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐที1ไม่ยอมรับข้ อแก้ ไขย่อมเป็ นไปตามเนื Aอหาของสนธิสญ ั ญาเดิม
c. ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐยอมรับข้ อแก้ ไขและรัฐที1ยอมรับข้ อแก้ ไขย่อมเป็ นไปตามเนื Aอหาของสนธิสญ ั ญา
เดิม
แต่หากสนธิสญ ั ญากําหนดไว้ แตกต่างก็ให้ เป็ นเช่นนันA
• 2. การแก้ ไขสนธิสญ ั ญาที1จะปรับใช้ แก่รัฐภาคีบางส่วน (inter-se modification)
- ในกรณีที1เป็ นสนธิสญ ั ญาหลายฝ่ ายนันA รัฐภาคีบางส่วนสามารถทําข้ อตกลงแก้ ไขสนธิสญ ั ญาที1จะปรับใช้ แก่
ความสัมพันธ์ระหว่างตนเท่านันA โดยที1การแก้ ไขสนธิสญ ั ญาที1จะปรับใช้ แก่รัฐภาคีบางส่วนต้ องทําเป็ นข้ อตกลงระหว่าง
รัฐที1ต้องการจะแก้ ไข ซึง1 การแก้ ไขสนธิสญ ั ญาที1จะปรับใช้ แก่ความสัมพันธ์ของรัฐภาคีบางรัฐจะกระทําได้ ตอ่ เมือ
a. สนธิสญั ญาได้ อนุญาตการแก้ ไขสนธิสญ ั ญาที1จะปรับใช้ แก่รัฐภาคีบางส่วนนันไว้ A
b. การแก้ ไขสนธิสญ ั ญาที1จะปรับใช้ แก่รัฐภาคีบางส่วนไม่ได้ ต้องห้ ามตามสนธิสญ ั ญาและ
I. ไม่กระทบต่อการใช้ สทิ ธิและปฏิบตั ติ ามพันธกรณีของรัฐภาคีอื1นที1การแก้ ไขจะไม่ปรับใช้ แก่
ความสัมพันธ์
II. จะต้ องไม่เป็ นการแก้ ไขบทบัญญัตซิ งึ1 ถ้ าหากถูกแก้ ไขแล้ วนันA จะไม่สอดคล้ องกับการทําให้
วัตถุประสงค์และความมุง่ หมายของสนธิสญ ั ญาเป็ นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

det_nop PIL 37
• คําถาม
• รัฐ A B C D E เป็ นภาคีของสนธิสญ ั ญา X โดยมีกฎเกณฑ์บางประการดังนี 4
Article VI กําหนดให้ เครืA องบินสัญชาติของรัฐภาคีบนิ ผ่านน่านฟ้าของรัฐภาคีอืAนได้ เฉกเช่นเครืA องบิน
ทีAมีสญ
ั ชาติของรัฐเจ้ าของดินแดน
Article VII สนธิสญ ั ญากําหนดว่าอากาศยานของรัฐภาคีนนจะต้ ั 4 องบินอยูเ่ หนือพื 4นทีAแหล่งชุมชน
อย่างน้ อย 1000 ฟุต จากสิงA กีดขวางทีAสงู ทีAสดุ หากบินอยูใ่ นอาณาเขตของรัฐภาคีอืAน
Article VIII กําหนดว่า หากสนธิสญ ั ญามิได้ ระบุกฎเกณฑ์ในเรืA องใดทีAเกีAยวข้ องกับปฏิบตั ติ าม
พันธกรณี การใช้ สทิ ธิ หรื อ การบังคับตามสนธิสญ ั ญาฉบับนี 4 ให้ นํากฎเกณฑ์ของการบินองค์การการ
บินพลเรื อนโลก (องค์กรสมมติ/โดยทีAตามกฎเกณฑ์ขององค์กรกดังกล่าวกําหนดให้ อากาศยาน
จะต้ องบินอยูเ่ หนือพื 4นทีAแหล่งชุมชนอย่างน้ อย 900 ฟุต จากสิงA กีดขวางทีAสงู ทีAสดุ
หากรัฐ A และ Bทําข้ อเสนอ ให้ มีแก้ ไขสนธิสญ
ั ญา X ทีAจะใช้ แก่รัฐภาคีทกุ รัฐโดยให้ แก้ ความสูงขณะ
บินผ่านเป็ น 1200 ฟุต
รัฐ A B C ยอมรับข้ อแก้ ไขดังกล่าว
รัฐ D E ไม่ยอมรับข้ อแก้ ไขดังกล่าว
จงอธิบายว่า หาก อากาศยานของรัฐ A จะบินผ่านพื 4นทีAของรัฐ B และรัฐ C ต้ องบินด้ วยความสูง
เท่าใด
และหาก อากาศยานของรัฐ C จะบินผ่านพื 4นทีAของรัฐ D และรัฐ B ต้ องบินด้ วยความสูงเท่าใด

det_nop PIL 38
คําถาม
• รัฐ A รัฐ B รัฐ C และรัฐ D จัดตังเขตการค้
O ั ญา X
าเสรี ร่วมกันโดยสนธิสญ
โดยมีข้อกําหนดว่าสินค้ าทุกชนิดที&เคลือ& นย้ ายระหว่างดินแดนของรัฐภาคี
จะต้ องเสียภาษี ศลุ กากรไม่เกินร้ อยละ 1 รัฐ A และ B ไปทําข้ อตกลงแก้ ไข
สนธิสญั ญา X และปรับใช้ เฉพาะระหว่างรัฐ A และ B ว่าสําหรับสินค้ า
ประเภทเนื Oอสัตว์ที&เคลือ& นย้ ายระหว่างดินแดนของรัฐ A และ B จะเสียภาษี
ศุลกากรไม่เกินร้ อยละ 0.5

ั ญาระหว่าง A และ B
จงอธิบายผลทางกฎหมายของข้ อตกลงแก้ ไขสนธิสญ
เช่นว่า

det_nop PIL 39
พันธกรณี ที)จะไม่ทาํ ลายเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ของสนธิสญ ั ญาก่อนที)สนธิสญ ั ญาจะมีผลบังคับใช้
• Ar5cle 18 of VCLT: Obliga5on not to defeat the object and
purpose of a treaty prior to its entry into force
A State is obliged to refrain from acts which would defeat the
object and purpose of a treaty when:
(a) it has signed the treaty or has exchanged instruments
cons5tu5ng the treaty subject to ra5fica5on, acceptance or
approval, un5l it shall have made its inten5on clear not to
become a party to the treaty; or
(b) it has expressed its consent to be bound by the treaty, pending
the entry into force of the treaty and provided that such entry
into force is not unduly delayed.

det_nop PIL 40
พันธกรณี ที)จะไม่ทาํ ลายเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ของสนธิสญ ั ญาก่อนที)สนธิสญ ั ญาจะมีผลบังคับใช้
• หลักเกณฑ์ตามข้ อ 18 of VCLT
• รัฐมีหน้ าทีAจะไม่ไม่ทําลายเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของสนธิสญ ั ญา แม้ สนธิสญ ั ญายังไม่มีผล
บังคับใช้ หาก
1. รัฐได้ ลงนามในสนธิสญ ั ญาหรื อได้ แลกเปลียA นตราสาร โดยมีเงืAอนไขว่าจะมีการให้ สตั ยาบัน
รับรอง หรื ออนุมตั ใิ นภายหลัง จนกว่ารัฐจะแสดงเจตนาอย่างชัดเจนว่าตนจะไม่เข้ าเป็ นรัฐภาคีของ
สนธิสญ ั ญา
2. รัฐได้ แสดงออกความยินยอมเข้ าผูกพันตามสนธิสญ ั ญา แต่สนธิสญ ั ญานันยั
4 งไม่มีผลบังคับใช้
โดยทีAจะต้ องไม่ใช่ทีAมีความล่าช้ าของการมีผลบังคับใช้ ของสนธิสญั ญาอย่างไม่สมเหตุสมผล
• อยูบ่ นพื 4นฐานของหลักสุจริ ต
• ดูคดี Opel Austria GmbH v Council of the European Union
(European Court of First Instance): Council of the European
Union ออก Regulation ทีAเป็ นการเก็บภาษี นําเข้ าสินค้ าบางชนิดก่อนทีA Agreement
on the European Economic Area จะมีผลบังคับใช้
det_nop PIL 41
พันธกรณี ที)จะไม่ทาํ ลายเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ของสนธิสญ ั ญาก่อนที)สนธิสญ ั ญาจะมีผลบังคับใช้
คดี Opel Austria GmbH v Council of the European Union
(European Court of First Instance):
• ก่อนหน้ าทีA Agreement on the European Economic Area ซึงA
The European Communi5es และรัฐสมาชิกของ The European
Communi5es และ Austria เป็ นภาคีในสนธิสญ ั ญาดังกล่าว ซึงA สนธิสญ ั ญา
ดังกล่าวนันห้ 4 ามการจัดเก็บภาษี ศลุ กากรระหว่างรัฐภาคี เว้ นแต่จะเข้ าข้ อยกเว้ น
• Council of the European Union ยกเลิก Regula5on ทีAให้ สทิ ธิทาง
ภาษี เป็ นการพิเศษทีAแก่ Austria ในสินค้ าบางประเภทและประกาศ
Regula5on ตัวใหม่ทีAกําหนดภาษี สนิ ค้ า F-15 car gearboxes อันเป็ น
สินค้ าทีAออสเตรี ยเคยได้ สทิ ธิประโยชน์ทางภาษี ในอัตราร้ อยล่ะ 4.9 ซึงA กระทบต่อผู้
ร้ องซึงA เป็ นบริ ษัทสัญชาติออสเตรี ย

det_nop PIL 42
พันธกรณี ที)จะไม่ทาํ ลายเป้าหมายและวัตถุประสงค์
ของสนธิสญ ั ญาก่อนที)สนธิสญ ั ญาจะมีผลบังคับใช้
• คําตัดสิน
• ศาลพิจารณาว่าหลักสุจริ ตในฐานะกฎเกณฑ์ตามกฎหมายระหว่างประเทศทัวA ไปผูกพันจําเลยและ
สะท้ อนอยูใ่ นข้ อ 18 ของ VCLT (para 91-92) และได้ วินิจฉัยว่า:
Para 93: .….the principle of good faith is the corollary in public
international law of the principle of protection of legitimate
expectations which, according to the case- law, forms part of the
Community legal order ….
Para 94: In a situation where the Communities have deposited
their instruments of approval of an international agreement and
the date of entry into force of that agreement is known, traders
may rely on the principle of protection of legitimate expectations
in order to challenge the adoption by the institutions, during the
period preceding the entry into force of that agreement, of any
measure contrary to the provisions of that agreement which will
have direct effect on them after it has entered into force.
det_nop PIL 43
การยกเลิกสนธิสญ
ั ญา
• การยกเลิกสนธิสญ
ั ญาโดยอาศัยเจตนาของรัฐภาคี
ข้ อตกลงชัดแจ้ ง
ข้ อตกลงโดยปริ ยาย
การบอกเลิกหรื อถอนตัวจากสนธิสญ
ั ญาฝ่ ายเดียว

• การยกเลิกสนธิสญ ั ญาโดยมีเหตุภายนอกแทรกแซง
เหตุสดุ วิสยั
การเปลีย& นแปลงของสถานการณ์แวดล้ อมในสาระสําคัญ

• การยกเลิกสนธิสญ
ั ญาโดยเหตุของการละเมิดพันธกรณีอย่างร้ ายแรง

det_nop PIL 44
การยกเลิกสนธิสญ
ั ญา
• การยกเลิกสนธิสญ
ั ญาโดยอาศัยเจตนาของรัฐภาคี
I การตกลงยกเลิกโดยชัดแจ้ ง
a. หากสนธิสญ ั ญากําหนดไว้ ให้ เป็ นไปตามนัน4
b. แม้ ไม่กําหนดไว้ ในสนธิสญ
ั ญา รัฐภาคีทกุ รัฐย่อมสามารถตกลงเลิกสนธิสญ
ั ญาเมืAอใดก็
ได้
II การตกลงยกเลิกโดยปริ ยาย
สนธิสญั ญาฉบับก่อนหน้ าย่อมถือว่าถูกยกเลิกไปหาก
a. รัฐทุกรัฐเข้ าเป็ นภาคีของสนธิสญ ั ญาฉบับใหม่ และปรากฏเจตนาของรัฐว่าให้
ความสัมพันธ์ของรัฐในเรืA องนันตกอยู
4 ภ่ ายใต้ บงั คับของสนธิสญ
ั ญาฉบับหลัง
b รัฐทุกรัฐเข้ าเป็ นภาคีของสนธิสญ ั ญาฉบับใหม่ ซึงA มีเนื 4อหาแตกต่างจากสนธิสญ ั ญาเดิม
และปรากฏว่าเนื 4อหาขัดแย้ งกับสนธิสญ ั ญาฉบับแรกอย่างมาก จนสนธิสญ ั ญาทังสองฉบั
4 บไม่อาจ
บังคับใช้ ในเวลาเดียวกันได้
III การบอกเลิกหรื อถอนตัวจากสนธิสญ ั ญาฝ่ ายเดียว
โดยหลักแล้ ว รัฐไม่อาจบอกเลิกหรื อถอนตัวจากสนธิสญ ั ญาฝ่ ายเดียวได้ เว้ นแต่จะได้ กําหนด
ไว้ ในสนธิสญั ญานัน4 ๆ
det_nop PIL 45
• การยกเลิกสนธิสญ
การยกเลิ ก
ั ญาโดยมีเหตุภายนอกแทรกแซง
สนธิ สญั ญา
I การปฎิบตั ติ ามสนธิสญ
ั ญาตกเป็ นพ้ นวิสยั (impossibility/ arHcle 61)
รัฐภาคีสามารถอ้ างเหตุแห่งความเป็ นไปไม่ได้ ในการปฏิบตั ิตามสนธิสญ ั ญาเป็ นเหตุการยกเลิกสนธิสญ ั ญาหรื อถอนตัว
จากการเป็ นภาคีของเป็ นสนธิสญ ั ญา หากความเป็ นไปไม่ได้ นนเกิ ั A ดจากการสูญหายหรื อถูกทําลายเป็ นการถาวรของ
วัตถุซงึ1 เป็ นสิง1 จําเป็ นในการปฏิบตั ติ ามสนธิสญั ญา ถ้ าความเป็ นไปไม่ได้ นนเป็
ั A นแค่การชัว1 คราว ก็สามารถเป็ นเหตุแห่ง
การยุตกิ ารบังคับสนธิสญ ั ญาเป็ นการชัว1 คราว แต่หากความเป็ นไปไม่ได้ นนเกิ
ั A ดจากการละเมิดพันธกรณีตาม
สนธิสญ ั ญา หรื อพันธกรณีอื1นใดที1มีตอ่ รัฐภาคีอื1น รัฐที1ทําการละเมิดเช่นว่าไม่อาจอ้ างความเป็ นไปไม่ได้ ในการปฏิบตั ิ
ตามสนธิสญ ั ญาเป็ นเหตุการยกเลิกสนธิสญ ั ญาหรื อถอนตัวจากการเป็ นภาคีของเป็ นสนธิสญ ั ญาได้
หากความเป็ นไปไม่ได้ นนเกิ
ั A ดขึ Aนในลักษณะชัว1 คราวก็อาจเป็ นเหตุให้ ระงับการใช้ บงั คับสนธิสญ
ั ญาไว้ ชวั1 คราว
II การเปลีย1 นแปลงของสถานการณ์แวดล้ อมในขันรากฐาน A (Fundamental change of
circumstances/ arHcle 62)
• รัฐภาคีไม่ สามารถยกการเปลีย1 นแปลงของในขันรากฐานสถานการณ์
A แวดล้ อมที1มีอยูข่ ณะทําสัญญาและไม่อาจ
คาดหมายได้ ในขณะทําสนธิสญ ั ญาเพื1อเป็ นเหตุในการยกเลิกหรื อเพิกถอนสนธิสญ ั ญา เว้ นแต่
I. สถานการณ์นนั1 เป็ นเหตุสาํ คัญที1รัฐภาคีนนตัั A ดสินใจเข้ ายินยอมผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
II ผลของการเปลีย1 นแปลงนันกระทบต่
A อเนื Aอหาสาระของพันธกรณีที1ต้องปฏิบตั ติ ามสนธิสญ ั ญาอย่างยิ1ง
แต่อย่างไร แม้ จะเข้ าเงื1อนไขทังสองข้
A างต้ น ถ้ าเข้ ากรณีดงั ต่อไปนี Aก็ไม่อาจยกเหตุแห่งการเปลีย1 นแปลงในการยกเลิก
สนธิสญ ั ญาหรื อถอนตัวจากการเป็ นภาคีของเป็ นสนธิสญ ั ญา หากเป็ นกรณีดงั ต่อไปนี A
a. เป็ นสนธิสญั ญาเกี1ยวกับดินแดน
b. การเปลีย1 นแปลงนันเป็ A นผลจากการกระทําละเมิดพันธกรณีของสนธิสญ ั ญาหรื อพันธกรณีอื1นใดที1มีตอ่ รัฐภาคีอื1น
ของรัฐที1จะกล่าวอ้ างเป็ นเหตุแห่งการยกเลิกสนธิสญ ั ญาหรื อ ถอนตัวจากสนธิสญ ั ญา โดยที1รัฐที1สามารถที1จะอ้ างเหตุ
การเปลีย1 นแปลงของสถานการณ์แวดล้ อมในขันรากฐานในการยกเลิ
A กสนธิสญั ญาหรื อถอนตัว สามารถที1จะใช้ เหตุแห่ง
การเปลีย1 นแปลงนันระงั
A บการใช้ บงั คับขอสนธิสญ ั ญาไว้ ชวั1 คราวก็
det_nop PIL ได้ 46
คดีตวั อย่าง
• ICJ Gabcikovo-Nagymaros Project (Hungary/Slovakia)

ในปี 1977 นันฮั


O งการี กบั เช็คโกสโลวาเกียทําสนธิสญั ญาที&จะทําการพัฒนาแม่นํ Oาดานูปที&ไหล
ผ่านกันทั
O งสองประเทศ
O โดยการสร้ างเขื&อน การผลิตกระแสไฟฟ้าพลังนํ Oา การปรับปรุงพื Oนที&
พัฒนาการเดินเรื อ

หนึง& ในประเด็นในคดีนนคื
ั O อ ฮังการี อ้างว่ามีการเปลีย& นแปลงของสถานการณ์แวดล้ อมในขันO
รากฐานเพื&อขอยกเลิกสนธิสญ ั ญา โดยเหตุที&ฮงั การี อ้างนันได้
O แก่ ข้ อเท็จจริ งที&วา่ สนธิสญ
ั ญา
ปี 1977 นันO มีจดุ ประสงค์ในการก่อให้ เกิดระบบบูรณภาพของรัฐที&เป็ นสังคมนิยม (socialist
integration) แต่ในขณะนันรั O ฐพิพาทนันได้O กลายเป็ นรัฐที&ใช้ ระบบตลาดเสรี ไปเสียแล้ ว มูลค่า
ทางเศรษฐกิจที&ลดลง และความรู้ทางสิง& แวดล้ อมที&มากขึ Oนซึง& อาจเป็ นข้ อมูลที&ทําให้ ทราบถึง
ผลกระทบที&เกินกว่าที&ได้ คาดหมายในปี 1977
det_nop PIL 47
Credit: wp.iwaponline.com

det_nop PIL 48
คดีตวั อย่าง
• ศาลปฏิเสธการเปลีย$ นแปลงในระบบการเมืองว่าก่อให้ เกิดการเปลีย$ นแปลงของสถานการณ์แวดล้ อมในขันรากฐานเพราะ
/
สภาพแวดล้ อมทางการเมืองหาได้ มีความเกี$ยวพันใกล้ ชิดกับวัตถุประสงค์ของสนธิสญ
ั ญาอันเป็ นรากฐานที$รัฐตัดสินใจเข้ า
ยินยอมผูกพันตามสนธิสญ ั ญา
ศาลพิจารณาว่าการลดลงของผลกําไรนันไม่ / ถงึ ขนาดทําให้ เนื /อหาสาระของพันธกรณีที$ต้องปฏิบตั เิ ปลีย$ นแปลงไป และศาลเห็นว่า
ความรู้ทางสิง$ แวดล้ อมที$มากขึ /นนันหาใช่
/ ั ญาปี 1977 ก็มีบทบัญญัตทิ ี$จะทําให้ รัฐ
สงิ$ ที$ไม่สามารถคาดหมายได้ และสนธิสญ
สามารถใช้ ความรู้เหล่านันขณะปฏิ
/ บตั ติ ามสนธิสญ ั ญา
ย่อหน้ าที$ 104 “The prevailing political situation was certainly relevant for the
conclusion of the 1977 Treaty. But the Court will recall that the Treaty provided for
a joint investment programme for the production of energy, the control of floods
and the improvement of navigation on the Danube. In the Court's view, the
prevalent political conditions were thus not so closely linked to the object and
purpose of the Treaty that they constituted an essential basis of the consent of the
parties and, in changing, radically altered the extent of the obligations still to be
performed. The same holds good for the economic system in force at the time of
the conclusion of the 1977 Treaty. Besides, even though the estimated profitability
of the Project might have appeared less in 1992 than in 1977, it does not appear
from the record before the Court that it was bound to diminish to such an extent
that the treaty obligations of the parties would have been radically transformed as
a result.
The Court does not consider that new developments in the state of environmental
knowledge and of environmental law can be said to have been completely
unforeseen. What is more, the formulation of Articles 15, 19 and 20, designed to
accommodate change, made it possible for the parties to take account of such
developments and to apply them when implementing those treaty provisions.”
det_nop PIL 49
คดี ต วั อย่
ECJ’s A. Racke GmbH & Co. v Hauptzollamt Mainz.
า ง
EC และยูโกสลาเวียไดKเขKาเปNนภาคีสนธิสัญญา "The Cooperation Agreement between the European Economic
Community and the Socialist Federal Republic of Yugoslavia” ซึ่งเปNนสนธิสัญญาที่สถาปนาความรkวมมือระหวkาง
EC กับ ยูโกสลาเวีย โดยใน Article 1 นั้นไดKระบุวัตถุประสงคuของขKอตกลงไวKวkา ” 'is to promote overall cooperation
between the contracting parties with a view to contributing to the economic and social development of
the Socialist Federal Republic of Yugoslavia and helping to strengthen relations between the parties'. โดย
ในคำปรารภเองไดKมีใจความในลักษณะที่แสดงใหKเห็นวkารัฐภาคีตKองการกkอใหKเกิดการพัฒนาและความหลากหลายของความ
รkวมมือทั้งทางดKานเศรษฐกิจ การคKา และการเงิน โดยมุkงหมายใหKเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรKางและดุลบัญชีของรัฐ
เกี่ยวกับการคKาที่ดีขึ้น เพิ่มปริมาณการคKา และทำใหKสภาพชีวิตของชาวยูโกสลาเวียดีขึ้น โดยที่รัฐภาคีตระหนักถึงความจำเปNน
ในการที่ตKองการสรKางความสัมพันธuที่เปNนไปไดKดKวยดีทางการคKาและเศรษฐกิจระหวkางรัฐภาคี
หนึ่งในนั้นมีขKอตกลงที่ EC ใหKสิทธิพิเศษทางศุลกากรใหKแกkสินคKาบKางประเภทตkอสินคKาที่นำเขKาจากยูโกสลาเวีย
เมื่อเกิดวิกฤติการณuขึ้นในยูโกสลาเวีย EC นั้นไดKขอระงับการบังคับใชKสนธิสัญญาเปNนการชั่วคราว Racke ผูKนำเขKาไวนuจาก
ยูโกสลาเวียไดKฟ„อง the Hauptzollamt Mainz หนkวยงานของเยอรมนีเนื่องจากไดKเก็บภาษีศุลกากรในอัตราที่ไมkไดKลดลงตาม
The Coopertation Agreement ที่ถูก EC ระงับการใชKบังคับฝ†ายเดียว คดีขึ้นสูkศาล European Court of Justice (ECJ)
และศาลตKองพิจารณาวkา EC สามารถระงับการใชKบังคับของ The Coopertation Agreement เปNนการชั่วคราวฝ†ายเดียวบน
ฐานของการเปลี่ยนแปลงของสถานการณuแวดลKอมในขั้นรากฐานหรือไมk โดยศาลไดKอธิบายวkาเงื่อนไขในการกลkาวอKางวkาการ
เปลี่ยนแปลงของสถานการณuแวดลKอมในขั้นรากฐานนั้นมี 2 ประการคือ
1.สถานการณuแวดลKอมนั้นเปNนรากฐานที่รัฐตัดสินใจยินยอมผูกพันตามสนธิสัญญา
2.การเปลี่ยนแปลงไปสถานการณuแวดลKอมของซึ่งทำใหKกระทบตkอเนื้อหาสาระของพันธกรณีที่ตKองปฏิบัติตามสนธิสัญญาอยkาง
ยิ่ง
หมายเหตุ: ในคดีดังกลkาวเปNนเรื่องของการระงับใชKสนธิสัญญาเปNนการชั่วคราว แตkในเรื่องของเงื่อนไขนั้นเปNนเชkนเดียวกันกับ
การยกเลิกสนธิสัญญา det_nop PIL 50
Credit:
h*p://news.bbc.co.uk/2/hi/europe/4997380.stm

det_nop PIL 51
คดีตวั อย่าง
• ศาลพิจารณาว่า สันติภาพในยูโกสลาเวียเป็ นสถานการณ์แวดล้ อมที$เป็ นเหตุสาํ คัญ ที$ EC และรัฐสมาชิก EC เข้ าเป็ นภาคีของ
สนธิสญ
ั ญาโดยให้ เหตุผลว่า
“ด้ วยวัตถุประสงค์ที$กว้ างขวางของสนธิสญ ั ญา การคงไว้ ซงึ$ สันติภาพในยูโกสลาเวียนันมี
/ ความจําเป็ นต่อความสัมพันธ์ในฐานะ
เพื$อนบ้ านที$ดีและการมีดํารงอยูข่ องสถาบันหรื อหน่วยงานที$จะปฏิบตั ติ ามพันธกรณีที$กําหนดไว้ ในข้ อตกลงในบริ เวณดินแดนของ
ยูโกสลาเวีย เช่นนัน/ การคงไว้ ซงึ$ สันติภาพในยูโกสลาเวียจึงเป็ นเงื'อนไขจําเป็ นต่ อการเริ'มต้ นและพยายามให้ เกิดขึน> ของ
ความร่ วมมือ”
ย่อหน้ า 19 In view of such a wide-ranging objective, the maintenance of a situation of
peace in Yugoslavia, indispensable for neighbourly relations, and the existence of
institutions capable of ensuring implementation of the cooperation envisaged by
the Agreement throughout the territory of Yugoslavia constituted an essential con-
dition for initiating and pursuing that cooperation.
/ าให้ เกิดผลกระทบต่อการค้ าระหว่าง EC และยูโกสลาเวีย และระหว่างรัฐใน
• และศาลได้ พิจารณาด้ วยว่า การเกิดการสู้รบนันทํ
EC ซึง$ ทําให้ กระทบต่ อเนือ> หาสาระของพันธกรณีท' ตี ้ องปฏิบตั ติ ามสนธิสัญญาอย่ างยิ'ง
ย่อหน้ า 20 ”Regarding the second condition, it does not appear that, by holding in the
second recital in the preamble to the disputed regulation that 'the pursuit of
hostilities and their consequences on economic and trade relations, both between
the Republics of Yugoslavia and with the Community, constitute a radical change in
the conditions under which the Cooperation Agreement between the European
Economic Community and the Socialist Federal Republic of Yugoslavia and its
Protocols ... were concluded' and that 'they call into question the application of
such Agreements and Protocols', the Council made a manifest error of assessment.”

det_nop PIL 52
คําถาม
รัฐ A กับรัฐ B มีพรมแดนติดกันโดยมีแมVน้ำเธมมีสซึ่งมีกระแสน้ำไหลVเชี่ยวกั้นกลางไดAจัดทำและ
เขAาเป7นภาคีของสนธิสัญญา X เพื่อลงทุนรVวมกันสรAางระบบผลิตกระไฟฟ`าพลังน้ำและจัดการ
ชลประทานรVวมกัน ตVอมา แมVน้ำเธมมีสแหAงเหือดลงอยVางถาวรเพราะรัฐ B ดึงน้ำไปใชAและกักเก็บ
ไวA รัฐ B เห็นวVาแมVน้ำดังกลVาวเหือดแหAงไปจนหมดแลAวจึงขอยกเลิกสนธิสัญญาเพื่อยุติโครงการที่มี
รวมกัน รัฐ B มีสิทธิเชVนวVาหรือไมV

คำตอบจะเปลี่ยนไปหรือไมV หากการที่แมVน้ำนั้นเหือดแหAงไปอยVางถาวรเพราะมีการเคลื่อนตัวของ
เปลือกโลกและทำใVหAแหลVงตAนน้ำของแมVน้ำเธมมีสหายไป

det_nop PIL 53
การยกเลิกสนธิสญ
ั ญา
• การยกเลิกสนธิสญั ญาโดยเหตุของการละเมิดพันธกรณีอย่างร้ ายแรง
• มีการละเมิดพันธกรณีของสนธิสญั ญาอย่างร้ ายแรง ข้ อ 60
I สนธิสญ
ั ญา 2 ฝ่ าย
การละเมิดพันธกรณีของสนธิสญั ญาอย่างร้ ายแรงของฝ่ ายหนึงA นันย่
4 อมเป็ นให้ รัฐภาคีอีกฝ่ ายหนึงA
ยกเลิกสนธิสญ
ั ญาทังหมดหรื
4 อบางส่วนก็ได้
II สนธิสญ ั ญาหลายฝ่ าย
รัฐภาคีอืAนทังหมดอาจตกลงกั
4 นยกเลิกสนธิสญ
ั ญาทังหมดหรื
4 อบางส่วน
a. ต่อความสัมพันธ์ระหว่างตนและรัฐทีAละเมิดพันธกรณี
b. ต่อความสัมพันธ์ของรัฐภาคีทงหมด
ั4
รัฐทีได้ ผลกระทบเป็ นพิเศษ (specially affected)มีสทิ ธิกล่าวอ้ างเหตุแห่งการละเมิด
พันธกรณีเพืAอระงับการบังคับใช้ สนธิสญ
ั ญาทังหมดหรื
4 อบางส่วนระหว่างตนกับรัฐทีAทําการ
ละเมิดพันธกรณีเป็ นการชัวA คราว
รัฐอืAนนอกเหนือจากรัฐทีAละเมิดพันธกรณีนนสิ
ั 4 ทธิกล่าวอ้ างเหตุแห่งการละเมิดพันธกรณีเพืAอระงับ
การบังคับใช้ สนธิสญั ญาทังหมดหรื
4 อบางส่วนระหว่างตนกับรัฐทีAทําการละเมิดพันธกรณีเป็ นการ
ชัวA คราว หากเห็นว่ากระละเมิดพันธกรณีอย่างร้ ายแรงนันทํ
4 าให้ สถานการณ์ของทุกรัฐภาคีในการ
ปฏิบตั ติ ามพันธกรณีในอนาคตเปลียA นไปอย่างมีนยั สําคัญ
det_nop PIL 54
ั ญาด้วยเหตุที)กาํ หนดไว้ใน
การสิN นสุ ดของสนธิสญ
สนธิสญ ั ญา
• การสิ Oนสุดของสนธิสญ ั ญาตามเหตุที&สนธิสญั ญากําหนดไว้
: รัฐภาคีอาจจะกําหนดเหตุที&ทําให้ สญ ั ญาสิ Oนสุดไว้ เป็ นการเฉพาะ เช่น
โดยทัว& ไปนันสนธิ
O สญ ั ญาจะกําหนดว่าหากมีเหตุแห่งการขัดกันทางอาวุธ
ระหว่างรัฐภาคีให้ สนธิสญั ญาสิ Oนสุด

det_nop PIL 55
กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที)เกี)ยวข้องกับการตีความ
สนธิสญ
ั ญา
• ข้ อ 31-33 ของ VCLT ได้ กําหนดกฎเกณฑ์ของการตีความสนธิสญ ั ญา
• เนื Oอความของข้ อ 31-33 ของ VCLT มีสถานะเป็ นกฎหมายจารี ตประเพณี
ระหว่างประเทศจึงมีสถานะเป็ นกฎเกณฑ์ทวั& ไปของกฎหมายระหว่างประเทศจึงมี
สภาพบังคับใช้ เป็ นการทัว& ไป
• แต่อย่างไรนันปรากฏวิ
O ธีการตีความสนธิสญ ั ญานอกเหนือจากที&ปรากฏในข้ อ 31-
33 ของ VCLT หรื อที&ถกู โต้ แย้ งว่าไม่อาจถูกรองรับได้ ด้วยเนื Oอความของข้ อ 31-
33 ของ VCLT

det_nop PIL 56
กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที)เกี)ยวข้องกับการตีความสนธิสญ
ั ญา
ข้ อ 31
กฎเกณฑ์ ท4 วั ไปของการตีความ
1.สนธิสัญญาพึงจะตKองถูกตีความโดยสุจริต โดยเปNนไปตามความหมายปรกติของที่ถูกกำหนดไวKสำหรับถKอยคำของสนธิสัญญา
บนพื้นฐานของบริบทและการพิจารณาถึงวัตถุประสงคuและเป„าหมายของสนธิสัญญา
2. เพื่อวัตถุประสงคuในการตีความสนธิสัญญา นอกเหนือจากเนื้อหาของสนธิสัญญาซึ่งรวมถึงคำปรารภและภาคผนวกแลKวนั้น
ใหKบริบทหมายรวมถึง
(a) ความตกลงใด ๆ ที่เกี่ยวขKองกับสนธิสัญญาซึ่งไดKถูกจัดทำขึ้นระหวkางภาคีทั้งหมดของสนธิสัญญาอันเกี่ยวเนื่อง
กับการจัดทำสนธิสัญญานั้น ๆ;
(b) ตราสารใด ๆ ที่จัดทำโดยภาคีหนึ่งใดของสนธิสัญญา หรือภาคีจำนวนมากกวkานั้น อันเกี่ยวเนื่องกับการจัดทำ
สนธิสัญญานั้น ๆ และไดKรับการยอมรับโดยภาคีอื่น ๆ วkาเปNนตราสารที่เกี่ยวขKองกับสนธิสัญญา
3.ควบคูkกับการพิจารณาบริบท จะตKองมีการคำนึง
(a) ความตกลงใด ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังระหวkางภาคีเกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญา หรือการปรับใชKขKอบทของ
สนธิสัญญา;
(b) ทางปฏิบัติในภายหลังใด ๆ ในการปรับใชKสนธิสัญญาซึ่งกkอใหKเกิดความตกลงของภาคีเกี่ยวกับการตีความ
สนธิสัญญา;
(c) กฎเกณฑuใด ๆ ของกฎหมายระหวkางประเทศที่เกี่ยวขKองและสามารถปรับใชKกับความสัมพันธuระหวkางภาคี

4. ถKอยคำจะตKองถูกใหKความหมายตามความหมายพิเศษ หากเปNนกรณีที่เปNนที่ปรากฏวkาภาคีเจตนาใหKเปNนเชkนนั้น
det_nop PIL 57
กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที5เกี5ยวข้องกับการตีความ
สนธิสญ
ั ญาArticle 31 of VCLT General rule of interpretation
1.A treaty shall be interpreted in good faith in accordance with the ordinary meaning to
be given to the terms of the treaty in their context and in the light of its object and
purpose.
2.The context for the purpose of the interpretation of a treaty shall comprise, in
addition to the text, including its preamble and annexes:
(a) any agreement relating to the treaty which was made between all the parties in
connection with the conclusion of the treaty;
(b) any instrument which was made by one or more parties in connection with the
conclusion of the treaty and accepted by the other parties as an instrument related to
the treaty.
3.There shall be taken into account, together with the context:
(a) any subsequent agreement between the parties regarding the interpretation of the
treaty or the application of its provisions;
(b) any subsequent practice in the application of the treaty which establishes the
agreement of the parties regarding its interpretation;
(c) any relevant rules of international law applicable in the relations between the
parties.
4. A special meaning shall be given to a term if it is established that the parties so
intended det_nop PIL 58
กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที)เกี)ยวข้องกับการ
ตีความสนธิสญ
ั ญา
ข้ อ 32
วิธีการเสริมในการตีความ
วิธีการเสริ มในการตีความอาจถูกนํามาใช้ ได้ ซึง& รวมถึงงานเตรี ยมร่างสนธิสญ
ั ญา
และสถานการณ์แวดล้ อมในการจัดทําสนธิสญ ั ญา เพื&อที&จะยืนยันความหมายที&
เกิดจากการปรับใช้ ข้อ 31 หรื อกําหนดความหมายของสนธิสญ ั ญาในกรณีที&การ
ตีความตามข้ อ 31 นัน: O
(a) นําไปสูค่ วามหมายที&ไม่ชดั เจนหรื อกํากวม หรื อ;
(b) นําไปสูผ่ ลที&ชดั เจนว่าประหลาดหรื อไม่สมเหตุสมผล

det_nop PIL 59
กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที)เกี)ยวข้องกับการตีความ
สนธิสญ
ั ญา
Article 32
Supplementary means of interpretation
Recourse may be had to supplementary means of
interpretation, including the preparatory work of the
treaty and the circumstances of its conclusion, in order to
confirm the meaning resulting from the
application of article 31, or to determine the meaning
when the interpretation according to article 31:
(a) leaves the meaning ambiguous or obscure; or
(b) leads to a result which is manifestly absurd or
unreasonable.

det_nop PIL 60
กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที)เกี)ยวข้องกับการตีความ
สนธิสญ
ั ญา
ข้ อ ;;
การตีความสนธิสัญญาที4มีการจัดทําฉบับที4ถกู รั บรองความถูกต้ องแท้ จริงในสองภาษาหรื อมากกว่ านันL

w. ในกรณีที1สนธิสญ ั ญามีฉบับที1ถกู รับรองความถูกต้ องแท้ จริ งในสองภาษาหรื อมากกว่านันA เนื Aอความของฉบับที1ถกู รับรอง
ความถูกต้ องแท้ จริ งในแต่ละภาษานันมี A ความผูกพันทางกฎหมายเท่าเทียมกัน เว้ นแต่ในกรณีที1สนธิสญ ั ญากําหนดไว้ หรื อ
ภาคีตกลงกันว่าในกรณีของความแตกต่าง เนื Aอความเฉพาะในภาษาหนึง1 ใดอยูใ่ นสถานะที1เหนือกว่า
x. สนธิสญ ั ญาในภาษาอื1นใดนอกจากฉบับที1ถกู รับรองความถูกต้ องแท้ จริ งจะถูกพิจารณาว่าเป็ นฉบับที1ถกู ต้ องแท้ จริ งก็
ต่อเมื1อ สนธิสญั ญาได้ กําหนดไว้ เช่นว่า หรื อ ภาคีได้ มีการตกลงไว้ ดงั กล่าว
y. ให้ สนั นิษฐานว่าถ้ อยคําของสนธิสญ ั ญาฉบับที1ถกู ต้ องแท้ จริ งในแต่ละฉบับมีความหมายอย่างเดียวกัน
z. เว้ นแต่ในกรณีที1เนื Aอความเฉพาะในภาษาหนึง1 ใดอยูใ่ นสถานะที1เหนือกว่าตามวรรคที1 w เมื1อมีการเปรี ยบเทียบกัน
ระหว่างเนื Aอความของสนธิสญ ั ญาฉบับที1ถกู ต้ องแท้ จริ งเหล่านันแสดงให้
A เห็นถึงความแตกต่างของความหมายซึง1 การปรับ
ใช้ ข้อ yw และ yx ไม่สามารถแก้ ไขได้ ความหมายที1สามารถประสานความแตกต่างของถ้ อยคําได้ ดีที1สดุ โดยคํานึงถึง
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของสนธิสญ ั ญาเป็ นความหมายที1ต้องถูกเลือก

det_nop PIL 61
กฎเกณฑ์ทางกฎหมายที)เกี)ยวข้องกับการตีความ
สนธิสญ
ั ญา
Article 33
Interpretation of treaties authenticated in two or more languages
1. When a treaty has been authenticated in two or more languages, the
text is equally authoritative in each language, unless the treaty provides or
the parties agree that, in case of divergence, a particular text shall prevail.
2. A version of the treaty in a language other than one of those in which
the text was authenticated shall be considered an authentic text only if
the treaty so provides or the parties so agree.
3. The terms of the treaty are presumed to have the same meaning in each
authentic text.
4. Except where a particular text prevails in accordance with paragraph 1,
when a comparison of the authentic texts discloses a difference of
meaning which the application of articles 31 and 32 does not remove, the
meaning which best reconciles the texts, having regard to the object and
purpose of the treaty, shall be adopted.

det_nop PIL 62
กฎเกณฑ์การตีความสนธิสญ
ั ญา
• ArKcle 31 กฎเกณฑ์ทวัH ไปในการตีความสนธิสญ
ั ญา
-ถ้ อยคําของสนธิสญั ญา (Terms of Treaty) ในฐานะวัตถุและข้ อจํากัดของการตีความสนธิสญ ั ญา
-การตีความบนพื Sนฐานของหลักสุจริ ต (Good faith)
-การตีความตามความหมายปรกติ (Ordinary Meaning)
-การตีความบนพื Sนฐานของวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสนธิสญ ั ญา (Object and Purpose)
-การตีความบนพื Sนฐานของบริ บท (Context)
-การตีความสนธิสญ ั ญา/การตีความทีHแท้ จริ ง (authenKc
ั ญาตามเจตนาของผู้ก่อให้ เกิดสนธิสญ
interpretaKon
-การตีความอย่างเป็ นระบบกฎหมาย (SystemaKc interpretaKon)
-การตีความตามความหมายพิเศษ (Special Meaning)

• ArKcle 32 วิธีการเสริ มในการตีความสนธิสญ ั ญา


-วิธีการเสริ มในการตีความซึงH รวมถึงงานเตรี ยมร่างสนธิสญ ั ญาและสถานการณ์แวดล้ อมในการจัดทํา
สนธิสญ ั ญา เพืHอใช้ ยืนผลของการตีความอันได้ มาจากการตีความบนพื Sนฐานของกฎเกณฑ์ทวัH ไปในการ
ตีความสนธิสญ ั ญาในข้ อ 31 หรื อกําหนดความหมาย หากการตีความตามข้ อ xy นันS นําไปสูค่ วามหมายทีH
ไม่ชดั เจนหรื อกํากวมหรื อนําไปสูผ่ ลทีHชดั เจนว่าประหลาดหรื อไม่สมเหตุสมผล

• ArKcle 33 การตีความสนธิสญ
ั ญาทีHมีการจัดทําฉบับทีHถกู รับรองความถูกต้ องแท้ จริ งในสองภาษาหรื อ
มากกว่านันS
det_nop PIL 63
การตีความบนพืAนฐานของหลักสุ จริ ต
• Villiger: “ในการตีความสนธิสญ ั ญานันS หลักสุจริ ตนําไปสูส่ มมติฐานทีHวา่ ถ้ อยคําในสนธิสญ
ั ญาถูก
กําหนดมาให้ มีความหมายบางอย่าง มากกว่าทีHจะปราศจากความหมาย หลักสุจริ ตนันกํ S าหนดให้ ภาคี
จะต้ องกระทําการอย่างซืHอสัตย์ เป็ นธรรม และสมเหตุสมผล และงดเว้ นจากการแสวงหาประโยชน์ทีHไม่
เป็ นธรรม รัฐภาคีจะต้ องให้ เกียรติความคาดหมายทีHชอบธรรมทีHรัฐภาคีอืHนมีตอ่ ตน สิทธิใดใดทีHภาคี
สูญเสียไปเพราะตนทําผิดจะไม่สามารถถูกกล่าวอ้ างใช้ ยนั ได้ อีกต่อไป และหลักสุจริ ตก็นําไปสูก่ ารห้ ามใช้
สิทธิไปในทางทีHไม่ชอบซึงH ย่อมมีผลเป็ นการห้ ามมิให้ ภาคีหลีกเลียH งการปฏิบตั ติ ามพันธกรณีหรื อใช้ สทิ ธิ
ของตนในลักษณะทีHจะทําให้ เกิดความเสียหายแก่ภาคีอืHน”

• “When interpreting a treaty, good faith raises at the outset the


presumption that the treaty terms were intended to mean
something, rather than nothing. Furthermore, good faith requires
the parties to a treaty to act honestly, fairly and reasonably, and to
refrain from taking unfair advantage. Legitimate expectation raised
in other parties shall be honoured (Vertrauensschutz). A right which
has been forfeited may no longer be claimed (venire contra factum).
The prohibition of the abuse of rights, flowing from good faith,
prevents a party from evading its obligations and from exercising its
rights in such a way to casue injury to the other party.”

det_nop PIL 64
การตีความบนพืNนฐานของหลักสุ จริ ต
• การพิจารณาถึงคําจํากัดความและการปรับใช้ หลักสุจริ ตนันO จะต้ องทําความ
เข้ าใจเสียก่อนว่า หลักสุจริ ตนันมีO ความหมายมิใช่เพียงแค่วา่ การปราศจาก
เจตนาร้ าย แต่มีมิตทิ ี&รวมไปถึงหลักความมีประสิทธิภาพและความสมเหตุสมผล
โดยที&หากจะพิจารณาถึงผลของหลักสุจริ ตโดยกว้ างในการตีความสนธิสญ ั ญา
อาจจะกล่าวได้ วา่ ปรากฏใน 2 ลักษณะคือ
• 1. การตีความสนธิสญ ั ญานันควรนํ
O าไปสูก่ ารมีผลของบทบัญญัตขิ อง
สนธิสญ ั ญา
• 2. การตีความสนธิสญ ั ญานันควรนํ
O าไปสูก่ ารมีผลของบทบัญญัตขิ อง
สนธิสญ ั ญาที&สมเหตุสมผล

det_nop PIL 65
การตีความบนพืNนฐานของหลักสุ จริ ต
-การตีความสนธิสญ
ั ญานันควรนํ
A าไปสูก่ ารมีผลของบทบัญญัตขิ องสนธิสญ
ั ญา

• Villiger: “ในการตีความสนธิสญ ั ญานันA หลักสุจริ ตนําไปสูส่ มมติฐานที1วา่ ถ้ อยคําในสนธิสญั ญาถูกกําหนดมาให้ มี


ความหมายบางอย่าง มากกว่าที1จะปราศจากความหมาย หลักสุจริ ตนันกํ A าหนดให้ ภาคีจะต้ องกระทําการอย่างซื1อสัตย์
เป็ นธรรม และสมเหตุสมผล และงดเว้ นจากการแสวงหาประโยชน์ที1ไม่เป็ นธรรม รัฐภาคีจะต้ องให้ เกียรติความ
คาดหมายที1ชอบธรรมที1รัฐภาคีอื1นมีตอ่ ตน สิทธิใดใดที1ภาคีสญ ู เสียไปเพราะตนทําผิดจะไม่สามารถถูกกล่าวอ้ างใช้ ยนั
ได้ อีกต่อไป และหลักสุจริ ตก็นําไปสูก่ ารห้ ามใช้ สทิ ธิไปในทางที1ไม่ชอบซึง1 ย่อมมีผลเป็ นการห้ ามมิให้ ภาคีหลีกเลีย1 งการ
ปฏิบตั ติ ามพันธกรณีหรื อใช้ สทิ ธิของตนในลักษณะที1จะทําให้ เกิดความเสียหายแก่ภาคีอื1น”

• “When interpreting a treaty, good faith raises at the outset the presumption
that the treaty terms were intended to mean something, rather than
nothing. Furthermore, good faith requires the parties to a treaty to act
honestly, fairly and reasonably, and to refrain from taking unfair advantage.
Legitimate expectation raised in other parties shall be honoured
(Vertrauensschutz). A right which has been forfeited may no longer be
claimed (venire contra factum). The prohibition of the abuse of rights,
flowing from good faith, prevents a party from evading its obligations and
from exercising its rights in such a way to casue injury to the other party.”
det_nop PIL 66
การตีความบนพืNนฐานของหลักสุ จริ ต
-การตีความสนธิสญ ั ญานันควรนํ
O าไปสูก่ ารมีผลของบทบัญญัตขิ องสนธิสญ ั ญา
• มิตขิ องการตีความสนธิสญ ั ญาตามหลักสุจริ ตในข้ อนี Oนันมี
O ความสัมพันธ์กบั การตีความ
สนธิสญ ั ญาบนพื Oนฐานของหลักความมีประสิทธิภาพ (principle of effec;veness
หรื อภาษิตกฎหมาย ut res magis valeat quam pereat
• Fitzmaurice ได้ ให้ คําอธิบายของการตีความสนธิสญ ั ญาบนพื Oนฐานของของหลักความ
มีประสิทธิภาพไว้ วา่ :
“สนธิสญ ั ญาพึงจะต้ องถูกตีความโดยการอ้ างอิงถึง วัตถุประสงค์และเป้าหมายที&ได้ ประกาศไว้
หรื อเป็ นที&เห็นได้ ประจักษ์ และบทบัญญัตเิ ฉพาะใด ๆ [ของสนธิสญ ั ญา] จะต้ องพึงถูกตีความ
ในลักษณะที&ให้ นํ Oาหนักต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสนธิสญ ั ญาให้ มากที&สดุ และก่อให้ เกิด
ผลที&สอดคล้ องต่อความเข้ าใจตามปรกติของถ้ อยคํา และส่วนอื&น ๆ ของถ้ อยคําที&เป็ นเนื Oอความ
ของสนธิสญ ั ญา และในทางลักษณะที&วา่ เหตุผลและความหมายนันสามารถระบุ O รากฐานที&มา
จากทุกส่วนของเนื Oอความของสนธิสญ ั ญา”
det_nop PIL 67
การตีความบนพืNนฐานของหลักสุ จริ ต
-การตีความสนธิสญ
ั ญานันควรนํ
O าไปสูก่ ารมีผลของบทบัญญัตขิ องสนธิสญ
ั ญา

Gardiner พิจารณาว่าการตีความบนพื Oนฐานของหลักความมีประสิทธิภาพจะกําหนด


ทิศทางของการตีความใน 2 ลักษณะ คือ
1. การตีความควรจะต้ องนําไปสูก่ ารทําให้ ถ้อยคํามีความหมายมากกว่าที&จะปฏิเสธการมีอยู่
ของความหมายของถ้ อยคํา
2. เมื&อพิจารณาควบคูก่ บั การตีความสนธิสญ ั ญาบนพื Oนฐานของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ของสนธิสญ ั ญานันO ผลนันจะต้
O องนําไปสูก่ ารทําให้ เกิดขึ Oนจริ งของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ของสนธิสญ ั ญานันO

det_nop PIL 68
การตีความบนพืNนฐานของหลักสุ จริ ต
-การตีความสนธิสญ ั ญานันควรนํ
4 าไปสูก่ ารมีผลของบทบัญญัตขิ องสนธิสญ ั ญาทีAสมเหตุสมผล
• Kolb: “หลักสุจริ ตเรี ยกร้ องให้ มีการตีความถ้ อยคําอย่างสมเหตุสมผล (ทีAสามารถเป็ นไปได้
และทีAควรเป็ นตามทีAสามารถเข้ าใจได้ บนพื 4นฐานของความคาดหมายทีAชอบธรรม
(legi5mate expecta5ons) [การตีความลักษณะ]นี 4คือการตีความทีAไม่พยาม
หลบเลียA งบทบัญญัตหิ รื อพันธกรณี และเป็ นการตีความซึงA ไม่ได้ ยดึ ติดกับถ้ อยคําในลักษณะ
จะทําให้ เหตุผลเบื 4องหลังของการเข้ าทําและผูกพันตามสนธิสญ ั ญาไม่ประสบความสําเร็จ
ดังนันหลั
4 กสุจริ ตจึงส่งเสริ ม การตีความตามแขนงของความหมายปรกติของถ้ อยคําแต่ใน
ขณะเดียวกันก็บรรเทาการตีความตามถ้ อยคําทีAเป็ นเนื 4อหาของสนธิสญ ั ญาทีAเคร่งครัดเกินไป
มัน[การตีความบนหลักสุจริ ต]มีทงแง่ ั 4 มมุ ทีAห้ามกระทําการบางอย่าง และแง่มมุ ทีAก่อให้ เกิด
หน้ าทีAทีAจะต้ องกระทําการบางอย่าง และแง่มมุ แรกนันมุ 4 ง่ หมายให้ มีการหลีกเลียA งการตีความ
ทีAฉ้อฉล (fraudulent) หรื อในทางทีAผิด (abusive) ในแง่มมุ ทีAสองนันจะเป็ 4 นการ
กําหนดทิศทางให้ ผ้ ตู ีความนําไปสูก่ ารตีความทีAสมเหตุสมผลทีAสดุ (most reasonable
construc5on)”
det_nop PIL 69
การตีความตามความหมายปรกติ
• Vattel
“ในกรณีทีHเอกสารทางกฎหมายถูกเขียนด้ วยถ้ อยคําทีHชดั เจนและแม่นยํา — หมายถึงในกรณีทีHความหมาย
ชัดเจนและไม่นําไปสูผ่ ลประหลาด — มันย่อมไม่มีเหตุผลอันใดทีHจะปฏิเสธการใช้ ความหมายทีHเอกสาร
กฎหมายนันสื S อH ถึง การไปหาความคิดเห็นหรื อข้ อมูลอืHนใดบนเหตุของความไม่เพียงพอเพืHอจํากัดหรื อขยาย
ความหมายจะเป็ นการหลบหลีกความหมายของเอกสารทางกฎหมายนันเท่ S านันหาใช่S สงิH อืHนไม่ หากการ
หลีกเลียH งทีHอนั ตรายเช่นว่าได้ รับการยอมรับ ย่อมเป็ นสิงH ทีHสามารถนํามาใช้ เพืHอทําลายเอกสารกฎหมายทังS
ปวงให้ สิ Sนประโยชน์ไปได้ ไม่วา่ ข้ อบทจะเขียนลงรายละเอียดไว้ มากเท่าใด หรื อชัดเจนหรื อแม่นยําสักเท่าใด
สิงH เหล่านี Sก็ไม่อาจจะนํามาใช้ ได้ หากเรายังอนุญาตให้ นําข้ อโต้ เถียงโต้ แย้ งทีHเกินขอบเขตมาหักล้ างมิให้ เข้ าใจ
ความหมายของถ้ อยคําทีHมีตามธรรมชาติของมัน”
• “When a deed is worded in clear and precise terms, — when its
meaning is evident, and leads to no absurd conclusion, — there can be
no reason for refusing to admit the meaning which such deed
naturally presents. To go elsewhere in search of conjectures, in order
to restrict or extend it, is but an attempt to elude it. If this dangerous
method be once admitted, there will be no deed which it will not
render useless. However luminous each clause may be, — however
clear and precise the terms in which the deed is couched, — all this
will be of no avail, if it be allowed to go in quest of extraneous
arguments, to prove that it is not to be understood in the sense which
it naturally presents.” det_nop PIL 70
การตีความตามความหมายปรกติ
ข้ อควรระวังประการหนึง& ของการตีความตามความหมายปรกตินนคื ั O อการจะทราบถึง
ความหมายปรกติของถ้ อยคําในบางกรณีอาจจะอาศัยความรู้ความเข้ าใจในเรื& องที&
เกี&ยวข้ องในลําดับหนึง& ซึง& บุคคลปรกติอาจจะไม่สามารถเข้ าใจความหมายปรกติของคํา
เช่นว่าได้ โดยอัตโนมัติ เช่นการค้ นหาความหมายของคําว่า “diagnos;c
method” ตาม the European Patent Conven;on ที&อาจแปลเป็ น
ไทยได้ วา่ “กระบวนในการวินิจฉัยโรค” ซึง& ต้ องอาศัยความรู้ทางการแพทย์ในการเข้ าใจ
ความหมายปรกติ หรื อในคดี Bankovic and Others v Belgium and
Others ของศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป ( the European Court of Human
Rights) ต้ องตีความคําว่า “within their jurisdic;on”ตามข้ อ ‚ ของ
อนุสญ ั ญายุโรปว่าด้ วยสิทธิมนุษยชนยุโรป (European Conven;on of
Human Rights) ซึง& อาจจะแปลความเป็ นภาษาไทยได้ วา่ “ภายใต้ เขตอํานาจรัฐ”
ซึง& ความหมายปรกติของคําดังกล่าวนันบุ O คคลธรรมดาที&ไม่มีความรู้ทางด้ านกฎหมาย
อาจจะไม่สามารถเข้ าใจได้ โดยทันที และศาลสิทธิมนุษยชนยุโรปก็ได้ ให้ ความหมาย
ปรกติของถ้ อยคําดังกล่าวจากองค์ความรู้ของกฎหมายระหว่างประเทศ
det_nop PIL 71
การตีความสนธิสญ
ั ญาตามวัตถุและเป้าหมายของ
สนธิสญั ญา
• การตีความสนธิสญ ั ญาตามวัตถุและเป้าหมายของสนธิสญ ั ญาเป็ นการตีความแบบอันต
นิยม (teleological approach) ซึง& ให้ พิจารณาถึงเหตุผลของกฎหมาย (ratio
legis) ในการตีความโดยได้ กําหนดให้ ต้องพิจารณาถึงองค์ประกอบคือ “object”
(วัตถุประสงค์) และ “purpose” (เป้าหมาย) ของสนธิสญ ั ญา
• การกําหนดเนื Oอหากฎหมายรวมทังสนธิ O สญ ั ญาเป็ นกิจกรรมที&มีความมุง่ หมายกํากับอยูเ่ สมอ
การทําความเข้ าใจวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสนธิสญ ั ญาย่อมจะทําให้ ให้ เข้ าใจเหตุผล
ของเรื& อง (“reason of thing”) ซึง& จําเป็ นอย่างยิ&งในการทําความเข้ าใจบทบัญญัตทิ ี&
เกี&ยวข้ องและนําไปสูก่ ารตีความที&จะทําให้ วตั ถุประสงค์และเป้าหมายนันเกิ
O ดขึ Oนจริ ง
• การค้ นหาวัตถุและเป้าหมายของสนธิสญ ั ญานันทํ O าได้ อย่างไร

det_nop PIL 72
การตีความสนธิสญ
ั ญาตามวัตถุและเป้าหมายของ
สนธิสญั ญา
• การค้ นหาวัตถุและเป้าหมายของสนธิสญ ั ญา
คณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ (InternaKonal Law Commission) ในเอกสาร
ั ญา (Guide to PracKce on ReservaKons to
แนวทางในการปฏิบตั เิ กีHยวกับข้ อสงวนต่อสนธิสญ
TreaKes) ได้ เสนอแนวทางในการพิจารณาว่าสิงH ใดคือวัตถุประสงค์และเป้าหมายของสนธิสญ
ั ญาไว้ ในข้ อ
x.y.{.y ไว้ ดงั นี S
3.1.5.1 DeterminaKon of the object and purpose of the treaty
The object and purpose of the treaty is to be determined in good faith,
taking account of the terms of the treaty in their context, in parKcular
the Ktle and the preamble of the treaty. Recourse may also be had to
the preparatory work of the treaty and the circumstances of its
conclusion and, where appropriate, the subsequent pracKce of the
parKes.
ข้ อ 3.1.5.1 การพิจารณาว่าสิงH ใดคือวัตถุและเป้าหมายของสนธิสญ
ั ญา
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของสนธิสญ ั ญานันจะต้
S องถูกพิจารณาบนฐานของหลักสุจริ ต โดยคํานึงถึงถ้ อยคํา
ของสนธิสญั ญาตามบริ บททีHเกีHยวข้ อง โดยเฉพาะชืHอและคําปรารภของสนธิสญ ั ญา งานเตรี ยมร่างสนธิสญ
ั ญา
และสถานการณ์แวดล้ อมในการจัดทําสนธิสญ ั ญา รวมทังหากเป็
S นกรณีทีHเหมาะสมทางปฏิบตั ใิ นภายหลังนันS
สามารถนํามาใช้ ในการพิจารณาได้ det_nop PIL 73
การตีความสนธิสญ
ั ญาตามวัตถุและเป้าหมายของ
สนธิสญั ญา
• การค้ นหาวัตถุและเป้าหมายของสนธิสญ ั ญา
คณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศได้ พยายามวิเคราะห์จากแนวคําพิพากษาของศาลยุตธิ รรมระหว่าง
ประเทศว่าศาลยุตธิ รรมระหว่างประเทศพิจารณาจากข้ อมูลส่วนใดในการค้ นหาวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ
สนธิสญ ั ญา โดยมีรายการดังต่อไปนี Sคือ:
-ชืHอสนธิสญ ั ญา
-คําปรารภ
-ข้ อบททีHปรากฏตอนเริH มต้ นของสนธิสญ ั ญาซึงH เมืHอพิจารณาแล้ วเป็ นข้ อบททีHกําหนดถึงวัตถุประสงค์ซงึH เป็ น
พื Sนฐานของการตีความและปรับใช้ ข้อบทอืHน ๆ ในสนธิสญ ั ญานันS ๆ
-ข้ อบททีHได้ แสดงให้ เห็นถึงประเด็นหลัก*ทีHก่อให้ เกิดความกังวลแก่แต่ละภาคีอนั นํามาสูก่ ารจัดทําสนธิสญ ั ญา
-จากงานเตรี ยมร่างสนธิสญ ั ญา
-จากหลักการในภาพรวม (overall tenor)
• *หมายเหตุในหนังสือกฎเกณฑ์และหลักการพื Sนฐานว่าด้ วยการตีความสนธิสญ ั ญาในหน้ า 115 มีการพิมพ์
ถ้ อยคําดังกล่าวผิดพลาดเป็ น ประเด็นหลัง แต่ทีHถกู ต้ องนันเป็
S น ประเด็นหลัก ตามข้ อความด้ านบน
det_nop PIL 74
การตีความบนพืNนฐานของบริ บท
• Lord Hoffman:“No one has ever made an
‘acontextual’ statement. There is always some
context to any uaerance, however meagre (“ไม่เคยมี
ผู้ใดเคยกล่าวคําพูดที&ปราศจากบริ บท มันย่อมมีบริ บทแฝงอยูใ่ นคําพูดในทุก
กรณี ไม่วา่ คําพูดนันจะสั
O นห้ O วนสักเท่าไร)

det_nop PIL 75
การตีความบนพืNนฐานของบริ บท
• Kolb: “ถ้ อยคําถูกใส่ไว้ ในประโยค ประโยคดํารงอยูใ่ นวรรคย่อยของบทบัญญัติ
วรรคย่อยของบทบัญญัตปิ รากฏในบทบัญญัติ บทบัญญัตปิ รากฏในส่วน[หรื อหมวด]
ของสนธิสญ ั ญา (section) ส่วน[หรื อหมวด] ของสนธิสญ ั ญาปรากฏในเนื 4อหา
ของสนธิสญ 4 บ และสิงA สุดท้ ายทีAกล่าวมาข้ างต้ น[เนื 4อหาของสนธิสญ
ั ญาทังฉบั ั ญาทัง4
ฉบับ]ปรากฏตามหลังคําปรารภ หากเป็ นกรณีทีAมีคําปรารภ องค์ประกอบทังหลายที 4 A
กล่าวมาจะช่วยอธิบายซึงA กันและกัน มันย่อมเป็ นไปตามเหตุผลว่า ถ้ อยคําไม่อาจถูก
เข้ าใจโดยไม่คํานึงถึงประโยคทีAถ้อยคําดํารงอยู่ ไม่เช่นกันสําหรับประโยคหากไม่
คํานึงถึงวรรคของบทบัญญัตทิ ีAประโยคดํารงอยู่ ไม่เช่นกันสําหรับวรรคของบทบัญญัติ
หากไม่คํานึงถึงบทบัญญัตทิ ีAวรรคนันเป็
4 นส่วนประกอบ และเป็ นเช่นนันต่ 4 อไป[สําหรับ
องค์ประกอบอืAน ๆ ในภาพรวมทีAใหญ่ขึ 4นไปตามลําดับ ๆ] ผู้ตีความจะต้ องพิจารณา
สนธิสญ ั ญาทังฉบั
4 บเพืAอจะเข้ าใจความหมายอย่างเหมาะสมของส่วนต่าง ๆ ของ
สนธิสญ ั ญา”

det_nop PIL 76
การตีความบนพืNนฐานของบริ บท
สิงH ทีHข้อ xy(}) ของ VCLT กําหนดว่าเป็ นบริ บทของสนธิสญ ั ญานันS ได้ แก่
-เนื Sอหาของสนธิสญ ั ญา
-คําปรารภ
-ภาคผนวก
-ความตกลงใด ๆ ทีHเกีHยวข้ องกับสนธิสญ ั ญาซึงH ได้ ถกู จัดทําขึ Sนระหว่างภาคีทงหมดของสนธิ
ัS สญ ั ญาอัน
เกีHยวเนืHองกับการจัดทําสนธิสญ ั ญานันS ๆ
-ตราสารใด ๆ ทีHจดั ทําโดยภาคีหนึงH ใดของสนธิสญ ั ญา หรื อภาคีจํานวนมากกว่านันS อันเกีHยวเนืHองกับการจัดทํา
สนธิสญ ั ญานันS ๆ และได้ รับการยอมรับโดยภาคีอืHน ๆ ว่าเป็ นตราสารทีHเกีHยวข้ องกับสนธิสญ ั ญา
ซึงH หากพิจารณาแล้ วอาจจะสามารถแบ่งกลุม่ เป็ น } ประเภทคือ บริ บทภายในสนธิสญ ั ญาทีHถกู ตีความเองอัน
ได้ แก่ เนื Sอหาของสนธิสญ ั ญา คําปรารภ และภาคผนวก และบริ บทภายนอกสนธิสญ ั ญาทีHถกู ตีความอันได้ แก่
ความตกลงใด ๆ ทีHเกีHยวข้ องกับสนธิสญ ั ญาซึงH ได้ ถกู จัดทําขึ Sนระหว่างภาคีทงหมดของสนธิ
ัS สญ ั ญาอันเกีHยวเนืHอง
กับการจัดทําสนธิสญ ั ญานันS ๆ และตราสารใด ๆ ทีHจดั ทําโดยภาคีหนึงH ใดของสนธิสญ ั ญา หรื อภาคีจํานวน
มากกว่านันS อันเกีHยวเนืHองกับการจัดทําสนธิสญ ั ญานันS ๆ และได้ รับการยอมรับโดยภาคีอืHน ๆ ว่าเป็ นตราสารทีH
เกีHยวข้ องกับสนธิสญ ั ญา
หมายเหตุ แม้ ถ้อยคําของ VCLT ทําให้ มีประเด็นปั ญหาว่า การตีความตามข้ อ 31(3) นันเป็ S นการตีความ
บนพื Sนฐานของบริ บทหรื อไม่ แต่อย่างไรนันตามความหมายปรกติ
S ของคําว่าบริ บท การตีความตามข้ อ 31(3)
ย่อมเป็ นการตีความบนพื Sนฐานของบริ บท
det_nop PIL 77
ั ญาตามเจตนาของผูก้ ่อให้เกิด
การตีความสนธิสญ
สนธิสญั ญา/การตีความที5แท้จริ ง (authentic
interpretation
ตามขAอ 31(3)(a) และ (b) ไดAกำหนดใหAการตีความสนธิสัญญาตAองพิจารณาสิ่งตVอไปนี้คือ
(a)ความตกลงใด ๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังระหวVางภาคีเกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญา หรือการปรับใชA
ขAอบทของสนธิสัญญา;
(b)ทางปฏิบัติในภายหลังใด ๆ ในการปรับใชAสนธิสัญญาซึ่งกVอใหAเกิดความตกลงของภาคีเกี่ยวกับ
การตีความสนธิสัญญา;

การตีความสนธิสญ ั ญาตามข้ อ 31(2)(a)และ(b) นันเป็O นการตีความบนพื Oนฐานของของ


ความตกลงของภาคีในการตีความสนธิสญ ั ญา ซึง& ย่อมแสดงให้ เห็นเจตนาร่วมกัน
(common intent) ของภาคีผ้ กู ่อให้ เกิดสนธิสญ ั ญาอันถูกพิจารณาว่าเป็ นการตีความที&
แท้ จริ ง (authentic interpretation)
det_nop PIL 78
ั ญาตามเจตนาของผูก้ ่อให้เกิด
การตีความสนธิสญ
สนธิสญั ญา/การตีความที5แท้จริ ง (authen&c
interpreta&on
• Berner: “ในการพิจารณาว่าสิง& ใดคือวัตถุประสงค์ของการตีความสนธิสญ ั ญา มันเป็ น
ประโยชน์ที&จะระลึกเอาไว้ วา่ ถึงสิง& ที&ชดั เจนประการหนึง& : สนธิสญ
ั ญาหาได้ เกิดจากความ
บังเอิญ แต่สนธิสญ ั ญาเกิดจากเจตนาที&ต้องตรงกันของรัฐอธิปไตยหรื อผู้เล่นอื&น ๆ ซึง&
ความสําคัญอย่างยิ&งของเจตนาที&ต้องตรงกันสะท้ อนอยูใ่ นหลักการพื Oนฐานที&วา่ สัญญาต้ อง
เป็ นสัญญา … การตีความที&ถกู ต้ องจึงมิใช่การตีความที&ผ้ ตู ีความเห็นว่าเหมาะสมที&สดุ โดย
ความคิดของผู้ตีความเอง; แต่เป็ นการตีความที&ใกล้ เคียงกับการให้ เจตนาที&ต้องตรงกันของ
ภาคีเกิดขึ Oนจริ งให้ มากที&สดุ มิเช่นนันการจั
O ดทําสนธิสญ
ั ญาก็จะไม่มีความหมายใด ๆ อย่าง
ที&สดุ ”

det_nop PIL 79
การตีความอย่างเป็ นระบบกฎหมาย
ข้ อ 31 (3) (c) กําหนดให้ ในการตีความสนธิ สญ ั ญานั2นจะต้ องคํานึงถึงกฎเกณฑuของกฎหมายระหวkางประเทศที่
เกี่ยวขKองและสามารถปรับใชKกับความสัมพันธuระหวkางภาคี

Article 31 (3) C of VCLT provides


"3. There shall be taken into account, together with the context:
…(c) any relevant rules of international law applicable in the relations
between the parties”

การตีความอย่างเป็ นระบบนันหมายถึA งการตีความถ้ อยคําของกฎเกณฑ์สนธิสญ ั ญาในฐานะส่วนหนึง1 ของระบบ


กฎหมายระหว่างประเทศ มิใช่ในฐานะของกฎเกณฑ์ที1อยูอ่ ย่างเป็ นเอกเทศหรื อส่วนหนึง1 ของระบบกฎหมายย่อย ๆ ที1
แยกกันอยู่ กฎเกณฑ์การตีความอย่างเป็ นระบบกฎหมายนันA เป็ นหนึง1 ในเครื1 องมือในการแก้ ไขปั ญหาการกระจัด
กระจายของกฎหมายระหว่างประเทศ (fragmentation of international law) อันเป็ นปั ญหาตาม
ธรรมชาติของระบบกฎหมายที1มีลกั ษณะเป็ นการกระจายอํานาจและอยูบ่ นพื Aนฐานของความยินยอมของรัฐเป็ นหลัก ซึง1
กําหนดให้ ผ้ ตู ีความต้ องคํานึงกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศอื1น ๆ ที1เกี1ยวข้ องแม้ จะอยูใ่ นระบบกฎหมายย่อยอีก
ระบบก็ตาม เพื1อสร้ างความสอดคล้ องของเนื Aอหาของกฎหมายผ่านการตีความอันจะเป็ นการสร้ างความเป็ นระบบของ
กฎหมายระหว่างประทศ det_nop PIL 80
การตีความอย่างเป็ นระบบกฎหมาย
• Campbell Mclachlan: “แต่อย่างไรนันO มันถูกเสนอว่าหลักการ(หลักการตีความ
อย่างเป็ นระบบกฎหมาย) ไม่ควรจะถูกมองว่าเป็ นข้ อความที&เป็ นจริ งซํ Oาซาก หลักการเช่นว่า
นันมี
O สถานะเป็ นกฎเกณฑ์ทางรัฐธรรมนูญของระบบกฎหมายระหว่างประเทศ โดยบทบาท
ของมันนันO หลักการตีความดังกล่าวทําหน้ าที&เหมือน master key ของตึกขนาดใหญ่ กุญแจ
ธรรมดานันสามารถไขเข้
O าประตูของห้ องเฉพาะห้ องหนึง& ใดได้ แต่ในบางสถานการณ์ที&จําเป็ น
เราจําเป็ นต้ องมี master key ที&เราสามารถใช้ ไขได้ ทกุ ประตู ในลักษณะเดียวกัน สนธิสญ ั ญา
นันโดยปรกติ
O จะสามารถถูกตีความได้ โดยอาศัยถ้ อยคําและบริ บทโดยตัวของมันเอง แต่ใน
กรณีที&มีข้อขัดแย้ งที&ยงุ่ ยากนันO มันอาจจะมีความจําเป็ นที&เราจะต้ องหาสิง& ที&ให้ ความชอบ
ธรรมในการปรับใช้ สงิ& อื&นอันอยูน่ อกขอบเขตของสนธิสญ ั ญาที&ถกู ตีความในการมาช่วย
ตีความ เช่น การปรับใช้ หลักเกณฑ์ทวั& ไปของกฎหมายระหว่างประเทศ”

det_nop PIL 81
การตีความอย่างเป็ นระบบกฎหมาย
• Campbell Mclachlan: “However, it is submitted that the
principle [Principle of Systemic Integration] is not to be
dismissed as a mere truism. Rather, it has the status of a
constitutional norm within the international legal system. In this
role, it serves a function analogous to that of a master-key in a
large building. Mostly the use of individual keys will suffice to
open the door to a particular room. But, in exceptional
circumstances, it is necessary to utilize a master-key which
permits access to all of the rooms. In the same way, a treaty will
normally be capable of interpretation and application according
to its own terms and context. But in hard cases, it may be
necessary to invoke an express justification for looking outside
the four corners of a particular treaty to its place in the broader
framework of international law, applying general principles of
international law.”
det_nop PIL 82
การตีความตามความหมายพิเศษ
• เนื 4อความในข้ อ 31(4) ของ VCLT มีวา่ :
A special meaning shall be given to a term if it is
established that the par5es so intended.”
“ถ้ อยคําจะต้ องถูกให้ ความหมายตามความหมายพิเศษ หากเป็ นกรณีทีAเป็ นทีAปรากฏว่า
ภาคีมีเจตนาให้ เป็ นเช่นนัน”
4

• ข้ อ 31(4) กําหนดให้ การตีความตามความหมายพิเศษจะนํามาใช้ ในการตีความได้


ก่อต่อเมืAอเป็ นทีAปรากฏว่าภาคีมีเจตนาให้ เป็ นเช่นนัน4 เช่นนันแล้
4 วภาคีทีAต้องการให้
ถ้ อยคําของสนธิสญ ั ญาถูกตีความโดยใช้ ความหมายพิเศษ มิใช่ความหมายปรกติ
ย่อมจะต้ องเป็ นผู้มีภาระการพิสจู น์ถงึ เจตนาดังกล่าว

det_nop PIL 83
การตีความโดยอาศัยเอกสารการร่ างสนธิสญ
ั ญาและ
บริ บทแวดล้อม
• Article 32 Supplementary means of interpretation
วิธีการเสริ มในการตีความอาจถูกนํามาใช้ ได้ ซึงA รวมถึงงานเตรี ยมร่างสนธิสญ
ั ญาและ
สถานการณ์แวดล้ อมในการจัดทําสนธิสญ ั ญา เพืAอทีAจะยืนยันความหมายทีAเกิดจากการ
ปรับใช้ ข้อ 31 หรื อกําหนดความหมายของสนธิสญ ั ญาในกรณีทีAการตีความตามข้ อ 31
นัน:
4
(a) นําไปสูค่ วามหมายทีAไม่ชดั เจนหรื อกํากวม หรื อ;
(b) นําไปสูผ่ ลทีAชดั เจนว่าประหลาดหรื อไม่สมเหตุสมผล

วิธีการเสริ มในการตีความสนธิสญ
ั ญาซึงA รวมถึงโดยงานเตรี ยมร่างสนธิสญ ั ญาและ
สถานการณ์แวดล้ อมในการจัดทําสนธิสญ ั ญานันเป็
4 นวิธีการเสริ มในการตีความทีAถกู น
นํามาใช้ เพืAอยืนยันความหมายทีAได้ มาจากการปรับใช้ ข้อ 31 หรื อนํามาใช้ ในการกําหนด
ความหมายหากการตีความตามข้ อ 31 นําไปสูค่ วามหมายทีAกํากวมหรื อไม่ชดั เจน หรื อ
นําไปสูผ่ ลประหลาดหรื อไม่สมเหตุสมผลอย่างเห็นได้ ชดั
det_nop PIL 84
งานเตรี ยมร่ างสนธิสญ
ั ญา
• McNair อธิบายความหมายของคําว่างานเตรี ยมร่างสนธิสญ ั ญา (the preparatory work
/travaux préparatoires) ไว้ วา่ “เป็ นคําพูดทีHแสดงออกถึงหลายสิงH หลายอย่างซึงH ถูกใช้ อย่างไม่
เคร่งครัดทีHเพืHอหมายถึงเอกสารทังหมด
S เช่น เอกสารบันทึก บันทึกการประชุม ร่างของสนธิสญ ั ญาใช้ ในการ
การเจรจา”(“an omnibus expression which is used rather loosely to
indicate all documents, such as memoranda, minutes of conferences,
and drams of the treaty under negoKaKon”)
• Aust เห็นว่างานเตรี ยมร่างสนธิสญ ั ญานันถู
S กเข้ าใจโดยทัวH ไปว่ารวมถึงร่างฉบับต่าง ๆ ของสนธิสญ
ั ญาทีH
ถูกตีความและบันทึกการประชุม เอกสารคําอธิบาย (explanatory notes) ของผู้เชีHยวชาญอันเป็ น
ทีHปรึกษา (expert consultant) ในการประชุมเพืHอประมวลกฎเกณฑ์เป็ นสนธิสญ ั ญา
(codifying conferences) คําอธิบายการตีความของประธานคณะกรรมการร่างทีHไม่ถกู โต้ แย้ ง
หรื อคําอธิบาย (commentaries) ของคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ
• โดยทีHคณะกรรมาธิการกฎหมายระหว่างประเทศ(InternaKonal Law Commission)ยอมรับถึง
ความยากลําบากของการให้ คําจํากัดความของเอกสารในการร่างสนธิสญ ั ญาและมีมมุ มองว่าการให้ คํา
จํากัดความแก่เอกสารในการร่างสนธิสญ ั ญาดังกล่าวอย่างชัดเจนอาจจะนําไปสูผ่ ลลัพธ์ในเชิงลบในการ
ปฏิเสธเอกสารหรื อข้ อมูลบางอย่างของออกจากขอบเขตของถ้ อยคําเช่นดังกล่าว

det_nop PIL 85
PCIJ’s Advisory Opinion: Polish
Postal Service In Danzig
• ตาม Article 104 ของ the Treaty of Versailles ระหว่าง Poland และ the Free City of Danzig ได้
กําหนดให้ สทิ ธิโปแลนด์ทีAจะจัดตังการให้
4 บริ การทางไปรษณีย์ โทรเลขและโทรศัพท์ทีAเชืAอมต่อโดยกับ
ประเทศโปแลนด์ “to establish in the Port of Danzig a post, telegraph and telephone
service communicating directly with Poland” และให้ สทิ ธิโปแลนด์ทีAจะซื 4อหรื อเช่า
อสังหาริ มทรัพย์สาํ หรับเป็ นทีAตงและทํ
ั4 างานบริ การทางไปรษณีย์ และโปแลนด์ได้ รับมอบอาคาร
จํานวนหนึงA ทีAจตั รุ ัส Heveliusplatz เพืAอการดังกล่าว
ข้ อพิพาทเกิดขึ 4นเมืAอไปรษณีย์โปแลนด์ ณ เมือง Danzig ได้ ตดิ ตังกล่
4 องไปรษณีย์ไปทัวA นคร Danzig
นอกตัวอาคารทีAทําการทีAจตั รุ ัส Heveliusplatz สําหรับจดหมายทีAจะส่งไปทีAโปแลนด์โดยผ่าน
ไปรษณีย์โปแลนด์ โดยทีAโปแลนด์ได้ อ้างด้ วยว่าตนมีสทิ ธิทีAจะทําการจัดส่งไปรษณีย์หรื อวัสดุทีAสง่ มา
จากโปแลนด์ในเขตเมืองแดนซิกนอกเหนือจากอาคารของตน สมาชิกวุฒิสภาของ Danzig เห็นว่า
ไปรษณีย์โปแลนด์มีอํานาจในการประกอบกิจการในบริ เวณอาคารของตนเท่านันและร้ 4 องขอให้
High Commissioner ตัดสินและ High Commissioner ตัดสินไปในทางทีAสอดคล้ องกับสมาชิก
วุฒิสภาของ Danzig รัฐบาลโปแลนด์ไม่เห็นด้ วยจึงนําเรืA องเข้ าสู่ the Council of the League of
NationซึงA ต่อมาได้ ร้องขอต่อ PCIJ ให้ มีคําปรึdet_nop
กษาแนะนํPIL
า (Advisory Opinion) 86
PCIJ’s Advisory Opinion: Polish
Postal Service In Danzig
• “จะเห็นได้ วา่ ไม่ปรากฏว่ามีบทบัญญัตใิ ดใดทีAจํากัดให้ การดําเนินงานของไปรษณีย์โปแลนด์นนให้ ั4
อยูภ่ ายในอาคารสถานประกอบการ กิจการไปรษณีย์ทีAโปแลนด์มีสทิ ธิจะจัดตังขึ 4นมานันจะต้ 4 องถูก
ตีความในความหมายปกติ (in its ordinary sense) ซึงA หมายรวมถึงกิจการตามปกติของ
การให้ บริ การไปรษณีย์ในการรับและส่งวัสดุไปรษณีย์นอกเขตพื 4นทีAทําการไปรษณีย์ ขอบเขตหรื อ
ข้ อจํากัดทีAเกีAยวข้ องในการให้ บริ การเช่นว่ามีลกั ษณะทีAเป็ นเรืA องไม่ปรกติ เช่นนันหากจะตี
4 ความให้ มี
ขอบเขตหรื อมีข้อจํากัดดังกล่าวจะกระทํามิได้ หากไม่ปรากฏว่ามีการกําหนดไว้ ในสนธิสญ ั ญา”
• Page 37 “It will be seen that there is no trace of any provision
confining the opera5on of the Polish postal authori5es to the
inside of its postal building. The postal service which Poland is
en5tled to establish in the port of Danzig must be interpreted in
its ordinary sense so as to include the normal func5ons of a
postal service as regards the collec5on and distribu5on of postal
maier outside the post-office. Indeed, any limita5ons or
restric5ons in this respect would be of so excep5onal a character
that they cannot, in the absence of express reserva5ons, be read
into the text of treaty s5pula5ons.”
det_nop PIL 87
Esphahanian v. Bank Tejarat
• โจทก์ Nasser Esphahanian เกิดในอิหร่านโดยมีบดิ าเป็ นชาวอิหร่านจึงได้ สญ ั ชาติอิหร่าน
ตามกฎหมายของอิหร่าน แต่อย่างไรนันO Nasser Esphahanian แม้ จะเติบโตในอิหร่านได้ ไป
ศึกษาต่อที&สหรัฐอเมริ กาและเข้ าปฏิบตั หิ น้ าที&ในกองทัพสหรัฐจนได้ สญ
ั ชาติอเมริ กนั โดยที
Esphahanian นันใช้
O สทิ ธิเลือกตังในการเลื
O อกตังของสหรั
O ฐอย่างสมํ&าเสมอและมี
อสังหาริ มทรัพย์ในอเมริ กา รวมทังเข้
O าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ทางการเมืองท้ องถิ&น และ
ดําเนินธุรกิจในอเมริ กา

• ระหว่างปี 1970-1978, Esphahanian ทํางานเป็ น Middle-east area general manager


ของ Houston Contracting Company อันมีที&ตงหลั ั O กอยูท่ ี& Houston ในระหว่างช่วงเวลา
ดังกล่าว Esphahanian และครอบครัวใช้ ชีวิตที& Iran 9 เดือน และที&อเมริ กา 3 เดือนต่อปี
และในช่วงเวลาดังกล่าวนันO Esphahanian และได้ ทําการแลกเงินสกุล Rials เป็ น US
Dollar ต่อ the Iranians' Bank โดยให้ ทางธนาคารออกเป็ นเช็คของธนาคาร Citibank แต่
เมื&อ Esphahanian นําเช็คไปขึ Oนเงินทาง Citibank ปฏิเสธการจ่ายเงินเพราะเงินในบัญชีของ
the Iranians' Bank ไม่เพียงพอ
det_nop PIL 88
Esphahanian v. Bank Tejarat
• Esphahanian ได้ ฟอ้ งร้ อง the Iranians' Bank ทีHภายหลังได้ ถกู ควบรวมเป็ นส่วนหนึงH ของ Bank Tejarat ทีH
เป็ นของรัฐบาลอิหร่าน ต่อ Federal District Court for the Southern District of New York
• แต่ทว่าตาม executive order ทีHออกในปี January 19, 1981 นันได้ S ระงับการดําเนินคดีไว้ ชวัH คราวและ
เพืHอให้ เป็ นไปตาม Declaration of the Government of the Democratic and Popular Republic of
Algeria Concerning the Settlement of Claims by the Government of the United States of America
and The Government of the Islamic Republic of Iran (the Claims Settlement Declaration)
Esphahanian ได้ ยืHนฟ้องต่อ the Iran-United States Claims Tribunal
• โดยทีประเด็นอย่างหนึงH ทีHต้องพิจารณาคือ เขตอํานาจของ the Iran-United States Claims Tribunal อัน
เนืHองจากการมีสองสัญชาติของ Esphahanian ซึงH ตามข้ อ 1 ได้ กําหนดเขตอํานาจของคณะอนุญาโตตุลาการ
ไว้ วา่
• Article 1 of the Claims Settlement Declaration: “An international arbitral tribunal (the Iran-United
States Claims Tribunal) is hereby established for the purpose of deciding claims of nationals of
the United States against Iran and claims of nationals of Iran against the United States, and any
counterclaim which arises out of the same contract, transaction or occurrence that constitutes the
subject matter of that national's claim, if such claims and counterclaims are outstanding on the
date of this Agreement, …”
• The Tribunal พิจารณาว่าการตีความข้ อนี Sต้ องอาศัยการตีความตามข้ อ 31(3) (c)
• คําถาม: กรณีเช่นว่า การทีH Esphahanian มีสญ ั ชาติอิหร่านนันทํ
S าให้ สหรัฐอเมริ กาไม่มีสทิ ธิดําเนินกาให้
คุ้มครองทางการทูตหรื อไม่
det_nop PIL 89
Esphahanian v. Bank Tejarat
โดยคณะอนุญาโตตุลาการได้ พิจารณาถึงกฎเกณฑ์ทางกฎหมายระหว่างประเทศอืHน ๆ ทีHเกีHยวข้ องภายนอกนอก
Claims Settlement Declaration
1.Tribunal ได้ พิจารณาถึงหลัก Doctrine of non-responsibility ทีHสะท้ อนอยูใ่ นข้ อ 4 ของ Convention On
Certain Questions Relating To The Conflict Of Nationality Laws The Hague -12 April 1930:
“A State may not afford diplomatic protection to one of its nationals against a State whose nationality
such person also possesses.” ซึงH กําหนดให้ รัฐไม่สามารถให้ ความคุ้มครองทางการทูตแก่ปัจเจกชนทีHมี
สัญชาติของรัฐทีHถกู ฟ้อง
2.แต่อย่างไรนันS Tribunalเองได้ พิจารณาว่าหลัก Doctrine of non-responsibility ต้ องพิจารณาควบคูก่ บั
หลัก'dominant' or 'effective' nationality” และ Tribunal ได้ พิจารณาว่า “หลักการว่าด้ วยความไม่มีความ
รับผิดชอบนันไม่
S ได้ เป็ นกฎเกณฑ์ทีHไร้ ข้อจํากัด แต่จะต้ องถูกพิจารณาควบคูก่ บั หลักว่าด้ วยหลัก 'dominant' or
'effective' nationality”

“The principle of non-responsibility is not absolute, but must be tempered by the doctrine of
'dominant' or 'effective' nationality”

เช่นนันS Tribunal ตัดสินให้ Esphahanian สามารถนําคดีขึ4นสู่การตัดสิ นของอนุญาโตตุลาการได้

det_nop PIL 90
Case concerning the Dispute regarding NavigaConal
and Related Rights (Costa Rica v. Nicaragua)
Case concerning the Dispute regarding Navigational and Related Rights (Costa Rica v. Nicaragua)
ข้ อพิพาท ในสนธิสญ ั ญา 1858 Treaty of Limits ระหว่างคอสตาริ กาและนิการากัว ข้ อ VI ซึง$ ได้ กําหนดให้ นิการากัวมีอํานาจอธิปไตย
เหนือแม่นํ /า San Juan และกําหนดให้ คอสตาริ กามีสทิ ธิตลอดกาล (perpetual right) ในการสัญจรได้ อย่างเสรี ผา่ นในแม่นํ /าดังกล่าว
ในบริ เวณที$กําหนดแต่จะต้ องเป็ นไปเพื$อ con objetos de comercio (สนธิสญั ญาจัดทําขึ /นเป็ นภาษาสเปน)
คําแปลของข้ อ VI ในภาษาอังกฤษมีดงั ต่อไปนี /:
“The Republic of Nicaragua shall have exclusive dominium and imperium over the waters of the San Juan river from its
origin in the lake to its mouth at the Atlantic Ocean; the Republic of Costa Rica shall however have a perpetual right of
free navigation on the said waters between the mouth of the river and a point located three English miles below Castillo
Viejo, con objetos de comercio, whether with Nicaragua or with the interior of Costa Rica by the rivers San Carlos or
Sarapiquí or any other waterway starting from the section of the bank of the San Juan established as belonging to that
Republic. The vessels of both countries may land indiscriminately on either bank of the section of the river where
navigation is common, without paying any taxes, unless agreed by both Governments.”

คอสตาริ กาและนิการากัวมีความเห็นที$แตกต่างกันในขอบเขตในสิทธิในการสัญจรได้ อย่างเสรี ของคอสต้ าริ กาว่ามีขอบเขตแค่ไหน


อย่างไร จากการตีความคําว่า con objetos de comercio

โดยที$นิการากัวให้ ความหมายของถ้ อยคําดังกล่าวว่า “with articles of trade” หมายถึง ที$มีสนิ ค้ าทางพาณิชย์ ซึง$ เป็ นการตีความคํา
ว่า Objetos ในความหมายของวัตถุในเชิงกายภาพ (objects in the concrete and material sense of the term)
ขณะที$คอสตาริ กาให้ ความหมายของถ้ อยคําดังกล่าวว่าเพื$อวัตถุประสงค์ทางพาณิชย์ “for the purposes of commerce” ซึง$ เป็ นการ
ตีความคําว่า the “objetos” ในความหมายเชิงนามธรรมอันหมายถึงวัตถุประสงค์หรื อความมุง่ หมาย (in the abstract sense of
ends and purpose)
det_nop PIL 91
Case concerning the Dispute
regarding Navigational and Related
Rights (Costa Rica v. Nicaragua)
ศาลพิจารณาว่าหากตีความคําว่า con objetos de comercio ให้ หมายความว่า “with articles of trade” ซึงH
หมายถึง ทีHมีสนิ ค้ าทางพาณิชย์ เมืHอใส่เข้ าไปในเนื Sอความของบทบัญญัตดิ งั กล่าวจะไม่สามารถทําความเข้ าใจ
ได้ ศาลจึงพิจารณว่าถ้ อยคําดังกล่าวควรจะถูกตีความให้ มีความหมายว่า เพืHอวัตถุประสงค์ทางการพาณิชย์
“for the purposes of commerce”
“If Nicaragua’s interpretation were to be accepted, there would be no intelligible relationship
between the clause following the phrase “con objetos de comercio”, i.e., “ya sea con Nicaragua ó al
interior de Costa Rica” (“whether with Nicaragua or with the interior of Costa Rica”), and the
preceding part of the sentence.
Either the words “with Nicaragua” would relate to “objetos de comercio”, which would hardly make
sense, since it would not be meaningful to speak of “goods (or articles) of trade with Nicaragua”; or
these words relate to “navegación” and that would make even less sense, because the expression
“navegación . . . con Nicaragua” would simply be incomprehensible.”
ศาลพิจารณอีกด้ วยว่าในการระงับข้ อพิพาทในปี 1887 โดยใช้ วิธีอนุญาโตตุลาการโดยประธานาธิบดี
Cleveland นันได้
S มีการยืHนคําแปลภาษาอังกฤษเพืHอประโยชน์ในการตัดสินคดีและได้ แปลถ้ อยคํา con objetos
de comercio ว่าหมายถึง “for the purposes of commerce” แต่อย่างไรนันศาลพิ
S จารณาเช่นกันว่าคําแปล
ดังกล่าวไม่ใช่คําแปลทางการ (ดูยอ่ หน้ าทีH56)
det_nop PIL 92
Case concerning the Dispute
regarding Naviga&onal and Related
Rights (Costa Rica v. Nicaragua)
• ศาลจึงต้ องพิจารณาต่อว่า “เพื&อวัตถุประสงค์ทางการพาณิชย์” นันมี O ขอบเขตอย่างไร
นิการากัวนันต่ O อสู้วา่ หากศาลตีความคําว่า con objetos de comercio ให้ หมายถึงเพื&อ
วัตถุประสงค์ทางการพาณิชย์ ให้ หมายถึงการพาณิชย์เกี&ยวกับสินค้ าแต่ไม่รวมถึงการพาณิชย์
เกี&ยวกับการบริ การเพราะในปี 1958 นันคํ O าว่า การพาณิชย์นนหมายถึัO งการค้ าสินค้ าโดยไม่
หมายรวมไปถึงการค้ าบริ การ ซึง& การค้ าบริ การนันเพิ O &งจะได้ มีการพัฒนาในระยะเวลาไม่นาน
มานี O (“... in 1858 the word “commerce” necessarily meant trade in goods and did
not extend to services, the inclusion of services being a very recent development”)
• โดยที&นิการากัวยอมรับว่าการขนส่งผู้โดยสารในแม่นํ Oา San Juan นันมามาตั O งแต่
O ปี 1958
และเป็ นกิจการที&มีผลกําไรดี แต่หาได้ อยูใ่ นขอบเขตของคําว่าการพาณิชย์ที&คนทัว& ไปเข้ าใจ
และไม่มีการขนส่งนักท่องเที&ยวในช่วงเวลาที&จดั ทําสนธิสญ ั ญา และนิการากัวต่อสู้วา่ การจะ
ตีความถ้ อยคําในสนธิสญ ั ญาควรจะเป็ นไปตามความหมายที&เข้ าใจกันขณะทําสนธิสญ ั ญา
ไม่ใช่ความหมายปั จจุบนั det_nop PIL 93
Case concerning the Dispute regarding
Navigational and Related Rights (Costa
Rica v. Nicaragua)
• คอสตาริ กาต้ อสู้วา่ คําว่า การพาณิชย์นนที ั S Hใช้ ในสนธิสญ ั ญาหมายรวมถึงกิจการใดใดทีHมีวตั ถุประสงค์ทาง
พาณิชย์ซงึH รวมถึงสิงH เหล่านี Sแต่ไม่จํากัดแค่สงิH เหล่านี Sคือ การขนส่งผู้โดยสารทีHรวมถึงนักท่องเทีHยวและสินค้ า
• คอสตาริ กาต่อสู้ด้วยว่าตามความหมายทีHให้ ไว้ ใน DicKonary of the Royal Spanish
Academy คําว่าการพาณิชย์นนหมายรวมไปมากกว่
ัS าเฉพาะการกระทําทีHแสวงหากําไรซึงH มีความหมายทีH
สอง (second meaning) อันให้ มีขอบเขตรวมถึงการติดต่อสือH สารและการจัดการของบุคคลหรื อกลุม่
บุคคลทีHมีตอ่ บุคคลอืHน “communicaKon and dealings of some persons or
peoples with others”
• และบนฐานดังกล่าวได้ ตอ่ สู้วา่ คําว่าการพาณิชย์นนให้ ั S หมายรวมถึงการเคลือH นย้ ายและการมีปฏิสมั พันธ์กนั
ระหว่างบุคคลทีHอาศัยอยูใ่ นหมูบ่ ้ านริ มแม่นํ Sาฝัง San Juan ฝัHงคอสตาริ กา และการเดินทางทางเรื อโดย
เจ้ าหน้ าทีHของคอสตาริ กาเพืHอจะจัดบริ การให้ แก่ประชาชนในบริ เวณดังกล่าวเช่น บริ การทางสุขภาพ
การศึกษาและความมันH คง “movement and contact between inhabitants of
the villages on the Costa Rican bank of the San Juan River, and the use
of the river for purposes of navigaKon by Costa Rican public officials
pro- viding the local populaKon with essenKal services, in areas such
as health, educaKon and security”

det_nop PIL 94
Case concerning the Dispute regarding
Naviga&onal and Related Rights (Costa
Rica v. Nicaragua)
• คําวินิจฉัยของศาล
• ย่อหน้ าที$ “….63 It is true that the terms used in a treaty must be interpreted in light
of what is determined to have been the par]es’ common inten]on, which is, by
defini]on, contemporaneous with the treaty’s conclusion. That may lead a court
seised of a dispute, or the par]es themselves, when they seek to determine the
meaning of a treaty for purposes of good-faith compliance with it, to ascertain the
meaning a term had when the treaty was dra`ed, since doing so can shed light on
the par]es’ common inten]on. The Court has so proceeded in certain cases requiring
it to interpret a term whose meaning had evolved since the conclusion of the treaty
at issue, and in those cases the Court adhered to the original meaning (to this effect,
see, for example, the Judgment of 27 August 1952 in the case concerning Rights of
Na=onals of the United States of America in Morocco (France v. United States of
America) (I.C.J. Reports 1952, p. 176), on the ques]on of the meaning of “dispute” in
the context of a treaty concluded in 1836, the Court having determined the meaning
of this term in Morocco when the treaty was concluded; the Judgment of 13
December 1999 in the case concerning Kasikili/Sedudu Island (Bot- swana/Namibia)
(I.C.J. Reports 1999 (II), p. 1062, para. 25) in respect of the meaning of “centre of the
main channel” and “thalweg” when the Anglo-German Agreement of 1890 was
concluded).”

det_nop PIL 95
ICJ Judgement: DISPUTE REGARDING NAVIGATIONAL
AND RELATED RIGHTS (COSTA RICA v. NICARAGUA)

• Para 66: “Though adopted in connec5on with the interpreta5on


of a reserva5on to a treaty, the Court’s reasoning in that case is
fully transposable for purposes of interpre5ng the terms
themselves of a treaty. It is founded on the idea that, where the
par5es have used generic terms in a treaty, the par5es
necessarily having been aware that the meaning of the terms
was likely to evolve over 5me, and where the treaty has been
entered into for a very long period or is “of con5nuing
dura5on”,the par5es must be presumed, as a general rule, to
have intended those terms to have an evolving meaning.”
• Para 67: “This is so in the present case in respect of the term
“comercio” as used in Ar5cle VI of the 1858 Treaty. First, this is a
generic term, referring to a class of ac5vity. Second, the 1858
Treaty was entered into for an unlimited dura5on; from the
outset it was intended to create a legal regime characterized by
its perpetuity.”
96
Case concerning the Dispute
regarding Naviga&onal and Related
Rights (Costa Rica v. Nicaragua)
• ย่อหน้ าที$70 “The Court concludes from the foregoing that the terms by which the
extent of Costa Rica’s right of free naviga]on has been defined, including in
par]cular the term “comercio”, must be understood to have the meaning they bear
on each occasion on which the Treaty is to be applied, and not necessarily their
original meaning.
• ย่อหน้ าที$ 71 “Thus, even assuming that the no]on of “commerce” does not have the
same meaning today as it did in the mid-nineteenth century, it is the present
meaning which must be accepted for purposes of applying the Treaty.
Accordingly, the Court finds that the right of free naviga]on in ques]on applies to
the transport of persons as well as the transport of goods, as the ac]vity of
transpor]ng persons can be commercial in nature nowadays. This is the case if the
carrier engages in the ac]vity for profit-making purposes. A decisive considera]on
in this respect is whether a price (other than a token price) is paid to the carrier —
the boat operator — by the passengers or on their behalf. If so, then the carrier’s
ac]vity is commercial in nature and the naviga]on in ques]on must be regarded as
“for the purposes of commerce” within the meaning of Ar]cle VI. The Court sees no
persuasive reason to exclude the transport of tourists from this category, subject to
fulfilment of the same condi]on.”

det_nop PIL 97
Case concerning the Dispute regarding
Navigational and Related Rights (Costa
Rica v. Nicaragua
คําวินิจฉัยของศาล

สรุป: ศาลได้ ตีความคําว่า “for the purpose of commerce” ตาม


บริ บทในปั จจุบนั โดยพิจารณาถ้ อยคําที&ใช้ กนั ทัว& ไปนันย่
O อมสามารถมีความหมายที&
เปลีย& นไปตามกาลเวลาได้ (“the meaning of the terms was
likely to evolve over time”) ศาลพิจารณาว่าคําว่าการพาณิชย์นนั O
รวมถึงการขนส่งสินค้ าและบุคคล โดยที&ขอเพียงแค่ผ้ ปู ระกอบการขนส่งนันO
แสวงหากําไรจากขนส่งดังกล่าวก็จะสามารถพิจารณาได้ วา่ เป็ นไปเพื&อ
วัตถุประสงค์ทางการพาณิชย์ โดยให้ พิจารณาจากหลักเกณฑ์ที&วา่ มีการจ่าย
ค่าบริ การต่อผู้ประกอบการโดยผู้โดยสารหรื อในนามผู้โดยสารหรื อไม่
det_nop PIL 98
ความสัมพันธ์ระหว่างสนธิสญ
ั ญาและกฎหมายจารี ต
ประเพณี ระหว่างประเทศ (แก้ไข)
• ตัวอย่าง
• หากมีกฎหมายจารี ตประเพณีทางกฎหมายระหว่างประเทศทีHบงั คับใช้ เป็ นการทัวH ไปและผูกพันรัฐ A B C
D และ E ว่าอากาศยานนันจะต้ S องบินอยูเ่ หนือพื SนทีHแหล่งชุมชนอย่างน้ อย 1000 ฟุต จากสิงH กีดขวางทีHสงู
ทีHสดุ ในบริ เวณนันS
• รัฐ A B C และ D ทําสนธิสญ ั ญา X เกีHยวกับการบินระหว่างประเทศในอาณาเขตของตนว่าอากาศยาน
ั S องบินอยูเ่ หนือพื SนทีHแหล่งชุมชนอย่างน้ อย 1000 ฟุต จากสิงH กีดขวางทีHสงู ทีHสดุ ใน
ของรัฐภาคีนนจะต้
บริ เวณนันS (เพิHมข้ อความทีHขีดเส้ นใต้ ) หากบินอยูใ่ นอาณาเขตของรัฐภาคีอืHน
• ภายหลัง รัฐ A B C และ D แก้ ไขสนธิสญ ั ญา X ดังกล่าว โดยมีใจความใหม่วา่ อากาศยานของรัฐภาคี
S องบินอยูเ่ หนือพื SนทีHแหล่งชุมชนอย่างน้ อย 800 ฟุต จากสิงH กีดขวางทีHสงู ทีHสดุ ในบริ เวณนันS
นันจะต้
• คําถาม:
• I หากอากาศยานของรัฐ B ต้ องบินผ่านพื SนทีHแหล่งชุมชนภายในอาณาเขตของรัฐ A อากาศยานของรัฐ B
ต้ องยินด้ วยความสูงอย่างน้ อยเท่าไรจากสิงH กีดขวางทีHสงู ทีHสดุ ในบริ เวณนันS
• II หากอากาศยานของรัฐ B ต้ องบินผ่านพื SนทีHแหล่งชุมชนภายในอาณาเขตของรัฐ E อากาศยานของรัฐ B
ต้ องยินด้ วยความสูงอย่างน้ อยเท่าไรจากสิงH กีดขวางทีHสงู ทีHสดุ ในบริ เวณนันS
detnopp PIL 99
ความสัมพันธ์ของกฎเกณฑ์ที5มาจากที5มาของกฎหมาย
ระหว่างประเทศที5แตกต่างกันตามข้อ 38 แห่งธรรมนูญ
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (แก้ไข)
• มีกฎหมายจารี ตประเพณีทางกฎหมายระหว่างประเทศทีHมีขอบเขตบังคับเป็ นการทัวH ไปทีHกําหนดให้ ทีHตงั S
ของสถานทูตได้ รับความคุ้มครองจากหลักความห้ ามล่วงละเมิด (inviolability) และเจ้ าหน้ าทีHของ
รัฐผู้รับไม่อาจส่งเจ้ าหน้ าทีHเข้ าไปในบริ เวณสถานทูตได้ เว้ นแต่จะได้ ความยินยอมจากหัวหน้ าคณะผู้แทน
ทางการทูต (head of mission)
รัฐ A รัฐ B และรัฐ C และรัฐ D เข้ าทํา แก้ เป็ น เข้ าเป็ นภาคี*สนธิสญ ั ญา X และกําหนดให้ เจ้ าหน้ าทีH
ของรัฐผู้รับไม่อาจส่งเจ้ าหน้ าทีHเข้ าไปในบริ เวณสถานทูตได้ เว้ นแต่จะได้ ความยินยอมจากหัวหน้ าคณะ
ผู้แทนทางการทูตหรื อมีคําสังH ร่วมกันจากประธานศาลฎีกาและหัวหน้ าบริ หารของรัฐผู้รับ

• กฎหมายระหว่างประเทศทีHใช้ กบั ความสัมพันธ์ของรัฐ A และ B ในเรืH องของข้ อยกเว้ นของหลักความ


ห้ ามล่วงละเมิด (inviolability) คือกฎหมายใด
• กฎหมายระหว่างประเทศทีHใช้ กบั ความสัมพันธ์ของรัฐ A และ E ในเรืH องของข้ อยกเว้ นของหลักความ
ห้ ามล่วงละเมิด (inviolability) คือกฎหมายใด
*แก้ คําว่า เข้ าทํา เป็ น เข้ าเป็ นภาคี เพราะ การเข้ าทําสนธิสญ
ั ญายังไม่ก่อให้ เกิดความผูกพันของ
สนธิสญั ญาต่อรัฐ
detnopp PIL 100

You might also like