You are on page 1of 882

01–16 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU
1
ขอมูลทั่วไป
2 ภายในรถไฮลักซนนั้ มีหลายระบบทีค่ วบคุมดวย ECU ซึง่ โดยทัว่ ไปแลว ระบบเหลานีค้ อ นขางจะซับซอนเขาใจยาก จําเปน
ตองอาศัยความรูทางเทคนิคระดับสูงในการคนหาสาเหตุปญหา อยางไรก็ตาม ขั้นตอนการตรวจเช็คปญหาสวนมากจะ
3 เกี่ยวของกับการตรวจสอบระบบที่ควบคุมดวย ECU ทีละวงจรเทานั้น หากทานมีความเขาใจเกี่ยวกับระบบดีพอ ตลอด
จนมีความรูพื้นฐานทางไฟฟา ทานก็สามารถทําการวิเคราะหเพื่อคนหาสาเหตุ และแกไขปญหาไดอยางถูกตองสําหรับ
5 รถรุนนี้ ระบบที่ควบคุมดวย ECU เปนหลักจะมีรายละเอียดขั้นตอนในการคนหาสาเหตุปญหาดังนี้:
10 ระบบ ดูหนา
1. ระบบ ECD [1KD-FTV, 2KD-FTV] 05-1
2. ระบบ ABS 05-338
11 3. เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] [A340E, A340F] 05-409
4. ระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) 05-485
12 5. ระบบเครื่องเสียง 05-545
6. มาตรวัดรวม 05-610
13 7. ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05-656
8. ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05-699
14 9. ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05-727
10. ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05-761
15 11. ระบบกันขโมย 05-796
การใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
16 • กอนใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ควรอานคูมือการใชงานอยางละเอียด
• เมือ่ ตอสายเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หาเขากับขัว้ DLC3 โดยทีส่ วิตชจดุ ระเบิดอยูใ นตําแหนง ON และเปดเครือ่ งวิเคราะห
17 ปญหาแลว แตเครื่องไมสามารถสื่อสารกับระบบที่ควบคุมดวย ECU ได แสดงวามีปญหาที่ตัวรถหรือตัวเครื่อง
วิเคราะหปญ  หา
19 (1) ถาตอเครือ่ งวิเคราะหปญ  หาเขากับรถคันอืน่ แลวสามารถสือ่ สารกันไดเปนปกติ ใหตรวจสอบสายเชือ่ มโยง
26 ขอมูล (สาย Bus (+)) หรือวงจรไฟฟาของ ECU ที่ตัวรถ
(2) ถาตอเครือ่ งวิเคราะหปญ  หาเขากับรถคันอืน่ แลวยังไมสามารถสือ่ สารกันได แสดงวาอาจมีปญ  หาทีต่ วั เครือ่ ง
27 ใหทําการทดสอบตามกระบวนการตรวจสอบตนเองที่ใหไวในคูมือการใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา

28
29
30
31
32
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–17

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ขอแนะนํา:
1
ทําการคนหาสาเหตุปญหาตามขั้นตอนดานลาง ซึ่งจะแสดงถึงขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหาเบื้องตนคราวๆ สวนราย
2
ละเอียดจะกลาวไวในหมวด “การวิเคราะหปญหา” โดยจะแสดงวิธีการที่ไดผลดีที่สุดสําหรับแตละวงจร ดังนั้น ควร
ศึกษาขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหาของวงจรที่จะตรวจสอบใหแนใจกอนทุกครั้งที่จะลงมือคนหาสาเหตุปญหา 3
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ
5
ตอไป
10
2 วิเคราะหปญหาของลูกคา
11
(ก) สอบถามลูกคาถึงสภาพการณและสภาวะแวดลอมในขณะที่เกิดปญหา
ตอไป
12
13
3 ตรวจยืนยันอาการปญหาและตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (รวมทั้งขอมูลสภาพเครื่องยนต)
(ก) วัดแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ขั้วบวก 14
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V (ดับเครื่อง)
(ข) ตรวจหาการขาดและลัดวงจรของชุดสายไฟ ขั้วตอตางๆ และฟวส
15
(ค) อุนเครื่องยนตจนถึงอุณหภูมิทํางานปกติ 16
(ง) ตรวจยืนยันสภาพและอาการปญหา แลวตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
ผลที่ได: 17
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา A
รหัสวิเคราะหปญ
 หาไมปรากฏออกมา B
19
B ดูขั้นตอนที่ 5 26
A 27
4 ตารางรหัสวิเคราะหปญหา 28
(ก) ตรวจยืนยันผลที่ไดในขั้นตอนที่ 3 อีกครั้ง จากนั้นทําการตรวจยืนยันตามขั้นตอนการตรวจสอบสําหรับระบบ 29
หรือชิ้นสวนโดยใชตารางรหัสวิเคราะหปญหา
ตอไป ดูขั้นตอนที่ 6 30
31
32
01–18 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

1 5 ตารางสภาพปญหา
(ก) ตรวจยืนยันผลที่ไดในขั้นตอนที่ 3 อีกครั้ง แลวตรวจยืนยันตามขั้นตอนการตรวจสอบสําหรับระบบหรือชิ้นสวน
2 โดยใชตารางสภาพปญหา
3 ตอไป

5 6 ตรวจสอบวงจรหรือชิ้นสวน

10 (ก) ตรวจยืนยันวาวงจรหรือชิ้นสวนคือสาเหตุของความบกพรอง
ตอไป
11
7 ซอม
12
(ก) ซอมระบบหรือชิ้นสวนที่เสียตามการตรวจสอบวงจรหรือชิ้นสวน
13 ตอไป

14 8 ทดสอบยืนยัน
15 (ก) หลังจากซอมเสร็จเรียบรอยแลว ใหตรวจยืนยันวาปญหานัน้ ไดรบั การแกไขเรียบรอยแลว ถาไมเกิดปญหาขึน้ ซ้าํ อีก
ใหทําการทดสอบยืนยันภายใตสภาพการณและสภาวะแวดลอมเดียวกับเมื่อเกิดปญหาขึ้นครั้งแรก
16 ตอไป
17
จบขั้นตอน
19
26
27
28
29
30
31
32
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–19

การวิเคราะหปญหาของลูกคา
ขอแนะนํา: 1
• ในการคนหาสาเหตุปญ  หานัน้ ใหตรวจยืนยันวาอาการปญหาถูกระบุอยางถูกตองแนนอนแลว โดยขจัดขอสันนิษฐาน
ในเบือ้ งตนออกใหหมดเพื่อระบุจุดที่เปนปญหาไดอยางแมนยํา การที่จะเขาใจอาการปญหาไดอยางชัดเจนนั้น
2
สิ่งที่สําคัญอยางยิ่งก็คือ จะตองสอบถามลูกคาถึงปญหาและสภาพการณ ตลอดจนชวงเวลาที่เกิดปญหานั้นๆ
3
• รวบรวมขอมูลเพื่ออางอิงใหมากที่สุดเทาที่จะทําได แมกระทั่งปญหาเกาๆ ที่ดูเหมือนวาจะไมเกี่ยวของแตก็อาจ
ชวยไดบางในบางกรณี ในหมวด “การวิเคราะหปญหา” นี้ แตละระบบจะมีตารางวิเคราะหปญหาของลูกคา 5
เตรียมไวให
• โดยใชหัวขอสําคัญทั้ง 5 ขอตอไปนี้ในการวิเคราะหปญหา: 10
หัวขอสําคัญในการวิเคราะหปญหาของลูกคา 11
• อะไร_______รุนของรถ, ระบบที่ซอม
• เมื่อไหร_______วันที่, เวลา, ความถี่ของการเกิดปญหา 12
• ที่ไหน_______สภาพถนน
• สภาวะใด_______สภาพการวิ่ง, สภาพการขับขี่, สภาพอากาศ 13
• เกิดอยางไร_______อาการปญหา
14
ตัวอยาง:
15
แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
แบบตรวจเช็คระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) ชื่อผูตรวจสอบ 16
หมายเลขประจํารถ
17
ชื่อลูกคา วันที่ผลิต / /

หมายเลขทะเบียน 19
คามาตรบันทึกระยะทาง กม.
วันที่นํารถเขาซอม / / ไมล
26
วันที่เกิดปญหาขึ้นครั้งแรก / /

สภาพอากาศ แจมใส เมฆมาก ฝนตก หิมะตก อื่นๆ 27


อุณหภูมิ ประมาณ 28
สตารท เดินเบา 29
การทํางานของรถ ขับขี่ ความเร็วคงที่ เรงความเร็ว ลดความเร็ว
[
อื่นๆ ]
30
31
32
01–20 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

การตรวจยืนยันสภาพปญหาและการตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
1 ขอแนะนํา:
ระบบวิเคราะหปญหาในรถไฮลักซนั้นมีหนาที่หลายประการดวยกัน
2 • หนาที่แรกคือการตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (DTC) ความผิดปกติตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นในวงจรสัญญาณที่ตอกับ
ECU จะถูกบันทึกเปนรหัสไวภายในหนวยความจําของ ECU ทุกครั้ง โดยชางเทคนิคจะเปนผูตรวจเช็ครหัสของ
3 ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกอนหนานี้ในระหวางการคนหาสาเหตุปญหา
• หนาที่อีกประการก็คือ การตรวจเช็ควาสัญญาณที่สวิตชตางๆ สงเขามายัง ECU นั้นถูกตองหรือไม
5
การตรวจเช็คดังกลาวนี้ ทําใหเราสามารถจํากัดวงของจุดทีเ่ ปนปญหาใหแคบเขา และวิเคราะหคน หาสาเหตุปญ
 หาได
10 อยางรวดเร็วและแมนยํา สําหรับหนาทีก่ ารวิเคราะหปญ
 หาในรถไฮลักซนนั้ เปนการทํางานรวมกันของระบบตอไปนี:้
โหมดทดสอบการ
ตรวจเช็ค DTC (รหัส การตรวจเช็คสัญญาณเขา
ระบบ วิเคราะหปญหา
11 วิเคราะหปญหา) (ตรวจเช็คเซ็นเซอร)
(Active test)

ระบบ ECD
12 (มีโหมดทดสอบ)
◯ ◯


เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส (ECT) ◯ ◯
13 (มีโหมดทดสอบ)
ระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) ◯ ◯ ◯
ระบบเครื่องเสียง –
14 มาตรวัดรวม



– ◯
ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต ◯ ◯ ◯
15 • ในการตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหานั้น สิ่งสําคัญอยางยิ่งคือ สามารถบอกไดวาปญหาที่แสดงดวยรหัสวิเคราะห
ปญหาเปน:1) ปญหาที่ยังคงเกิดขึ้นอยู หรือ 2) เปนเพียงปญหาที่เคยเกิดขึ้นในอดีตและไดรับการแกไขใหเปน
16
ปกติแลว นอกจากนี้ ควรมีการเทียบดูวารหัสวิเคราะหปญหาที่ตรวจเช็คไดนั้นเกี่ยวของสัมพันธกับอาการปญหา
17 ที่เกิดขึ้นหรือไม ดวยเหตุนี้ จึงควรตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาทั้งกอนและหลังจากตรวจยืนยันสภาพปญหา
(คือ อาการปญหานั้นมีอยูจริงหรือไม) เพื่อใหทราบถึงสภาวะปจจุบัน ดังแผนภูมิขั้นตอนการตรวจเช็คดานลาง
19 หามขามขั้นตอนการตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาโดยเด็ดขาด มิเชนนั้น อาจทําใหตองเสียเวลาไปกับการคนหา
สาเหตุปญหาในระบบตางๆ ที่ทํางานปกติดีอยูแลวโดยไมจําเปน หรืออาจซอมไมตรงจุดที่เปนปญหาได สุดแลว
26 แตกรณี ดังนั้น ควรปฏิบัติตามขั้นตอนดังกลาวตามลําดับอยางถูกตอง
• จากทีก่ ลาวมาขางตน สามารถแสดงกระบวนการคนหาสาเหตุปญ หาโดยใชรหัสวิเคราะหปญ หาไดดงั แผนภูมขิ า งลางนี้
27 ซึง่ แสดงถึงวิธดี าํ เนินการคนหาสาเหตุปญ
 หาโดยใชรหัสวิเคราะหปญ
 หา หรือตารางสภาพปญหาอยางมีประสิทธิภาพ

28 1 การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา

ตอไป
29
30 2 จดบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฎไวแลวจึงลบขอมูลในหนวยความจําออก

31 ตอไป

32
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–21

3 ยืนยันอาการปญหา 1
ผลที่ได:
มีอาการปญหา A 2
ไมมีอาการปญหา B
3
A ดูขั้นตอนที่ 5
B 5
10
4 ทดสอบโดยวิธีจําลองสภาพปญหา

ตอไป
11
12
5 การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
ผลที่ได:
13
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏ A
รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏ B 14
A คนหาสาเหตุของปญหาที่รหัสแสดง 15
B
16
6 ยืนยันอาการปญหา 17
ผลที่ได:
มีอาการปญหา A
19
ไมมีอาการปญหา B
ถารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏขึ้นในการตรวจเช็คครั้งแรก แสดงวา 26
อาจมีปญหาเกิดขึ้นในชุดสายไฟหรือขั้วตอในวงจรนั้นๆ มากอนให
ตรวจเช็คชุดสายไฟและขั้วตอตางๆ (ดูหนา 01-27)
27
A ระบบปกติ 28
B 29
คนหาสาเหตุปญหาในแตละอาการปญหา 30
ยังคงมีปญหาที่จุดอื่นนอกเหนือจากในวงจรวิเคราะหปญหา (รหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏขึ้นครั้งแรกเปนปญหาที่เคย
31
เกิดในอดีตหรือไมก็เปนปญหาที่เกิดขึ้นใหม)
32
01–22 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

จําลองสภาพปญหา
1 ขอแนะนํา:
สิ่งที่ยากที่สุดในการคนหาสาเหตุปญหาก็คือ เมื่อไมมีอาการปญหาใดๆ ปรากฏใหเห็น กรณีดังกลาว ชางจะตองทําการ
2 วิเคราะหปญหาที่ลูกคาประสบโดยตลอด จากนั้นจึงทําการจําลองสภาพการณที่ลูกคาเคยประสบปญหา และไมวาชางผู
3 นั้นจะมีประสบการณและความชํานาญมากเพียงใด หากคนหาสาเหตุปญหาโดยไมมีการยืนยันอาการปญหาแลว ก็มี
แนวโนมวาชางมักจะมองขามจุดสําคัญที่ตองซอมและอาจทําการซอมผิดจุดหรือทําใหงานลาชาได
5 ยกตัวอยาง เชน:
ปญหาที่จะปรากฎใหเห็นเฉพาะเมื่อเครื่องเย็น หรือเมื่อเกิดการสั่นสะเทือนจากการขับขี่ ฯลฯ ปญหาเหลานี้จะไมมีวัน
10 ตรวจพบตราบใดที่เครื่องรอนหรือขณะจอดรถอยูกับที่
และเนือ่ งจากการสัน่ สะเทือน ความรอน หรือน้าํ รัว่ ซึม (ความชืน้ ) นัน้ เปนปญหาทีส่ รางใหเกิดขึน้ ใหมไดยาก ดังนัน้ วิธจี าํ ลอง
11 สภาพปญหาซึง่ ใชทดแทนกันอยางไดผลในการสรางสถานการณทอี่ าจกอใหเกิดปญหาตางๆ ขึน้ ขณะทีร่ ถยังจอดอยูก บั ที่
จุดสําคัญในการทดสอบดวยการจําลองสภาพปญหา:
12 ในการทดสอบดวยการจําลองสภาพปญหานัน้ อาการปญหาจะตองไดรบั การยืนยันเชนเดียวกับบริเวณทีเ่ ปนปญหาหรือชิน้
สวน โดยขัน้ แรก ใหจาํ กัดขอบเขตของวงจรทีค่ าดวามีปญ  หาใหแคบลงตามสภาพปญหา และตอเครือ่ งวิเคราะหปญ  หา (IT II)
13 ใหเรียบรอยกอน จากนัน้ จึงทําการทดสอบดวยการจําลองสภาพปญหาเพือ่ ดูวา วงจรนัน้ ๆ เสียหายหรือเปนปกติดี และเปนการ
ยืนยันอาการปญหาไปพรอมๆ กัน ทัง้ นี้ ใหใชตารางสภาพปญหาของแตละระบบเพือ่ ตีกรอบสาเหตุของปญหาใหแคบเขา
14 1. วิธีทดสอบความสั่นสะเทือน: เมื่อคาดวาความสั่นสะเทือน
สัน่ เบาๆ
อาจเปนสาเหตุสําคัญ
15 (ก) ชิ้นสวนและเซ็นเซอร
(1) ใชนวิ้ มือจับชิน้ สวนของเซ็นเซอรทคี่ าดวาจะเปนสาเหตุ
16 ของปญหาแลวสั่นเบาๆ และตรวจดูวามีปญหาเกิดขึ้น
หรือไม
17 ขอแนะนํา:
19 การทําใหรีเลยสั่นสะเทือนมากๆ อาจทําใหรีเลยขาดวงจรได
(ข) ขั้วตอตางๆ
โยกเบาๆ
26 (1) โยกขั้วตอขึ้น-ลงเบาๆ
(ค) ชุดสายไฟ
27 (1) โยกชุดสายไฟขึ้น-ลงเบาๆ
ตรงจุดเชือ่ มตอทีไ่ ดรบั แรงสัน่ สะเทือนและสวนทีท่ ะลุ
28 สัน่ เบาๆ ผานตัวถังเปนจุดสําคัญที่ควรตรวจเช็คใหทั่วถึง
B71602

29 2. วิธีใชความรอน: กรณีที่คาดวาปญหาอาจเกิดจากความรอน
(ก) ใชไดรเปาผมหรือเครือ่ งมือทีม่ ลี กั ษณะคลายกันเปาชิน้ สวนทีค่ าด
30 บกพรอง วาจะเปนสาเหตุของปญหา แลวตรวจดูวา มีปญ หาเกิดขึน้ หรือไม
ขอควรระวัง:
31 • อยาใชความรอนเกิน 60oC (140oF) อุณหภูมิที่สูงมากเกินไป
อาจทําใหชิ้นสวนเสียหาย
32 • อยาเปาลมรอนไปที่ชิ้นสวนใน ECU โดยตรง
D25084
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–23

3. วิธีฉีดน้ํา: เมื่อปญหานั้นนาจะเกิดขึ้นในสภาพอากาศชื้นหรือ
วันที่ฝนตก 1
(ก) ฉีดน้ําใหทั่วรถ แลวตรวจดูวามีปญหาเกิดขึ้นหรือไม
ขอควรระวัง: 2
• อยาฉีดน้าํ เขาไปในหองเครือ่ งยนตโดยตรง แตใหใชวธิ ปี รับเปลีย่ น
อุณหภูมิและสรางความชื้นทางออม ดวยการพนละอองน้ําลง 3
ที่กระจังหนาหมอน้ําแทน
D33373

• อยาฉีดน้ําไปที่ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสตางๆ โดยตรง 5
ขอแนะนํา:
ถารถมีปญหาหรือเคยมีปญหาน้ํารั่ว น้ําที่รั่วซึมอาจทําความเสียหาย
10
ใหกบั ECU หรือการเชือ่ มตออุปกรณได ใหตรวจดูรอ งรอยการผุกรอน
11
หรือลัดวงจร และปฏิบัติตามคําเตือนในระหวางการทดสอบน้ํารั่ว
12

ON
4. วิธีใชโหลดกระแสไฟฟาสูง:เมื่อปญหานาจะเกิดจากการใช 13
กระแสไฟฟาเกิน
(ก) เปดไฟทั้งหมด รวมถึงโบลวเวอรฮีทเตอร ไฟหนา ไลฝา 14
กระจกหลัง และอุปกรณที่ใชกระแสไฟฟาอื่นๆ แลวตรวจดู
วามีปญหาเกิดขึ้นอีกหรือไม 15

B02389
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
01–24 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
1 การกําหนดบริเวณที่เปนปญหาและกระบวนการตรวจสอบที่ถูกตอง สามารถทําไดโดยใชรหัสวิเคราะหปญหา (DTCs)
(จากการตรวจเช็ครหัส) ในตารางขางลางนี้ ซึง่ จะแสดงตารางรหัสวิเคราะหปญ
 หาของระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) ไว
2 ใหเปนตัวอยาง
3
• รหัสวิเคราะหปญหา
5 แสดงหมายเลขรหัสวิเคราะหปญหา
• หนาหรือคําแนะนํา • บริเวณที่เปนปญหา
บอกเลขหนาที่อธิบายถึงขั้นตอนการตรวจสอบวงจรหรือ แสดงบริเวณที่คาดวาเปนปญหา
10 วิธีการตรวจเช็คและซอม

11 • ปญหาที่ตรวจพบ
แสดงระบบที่มีปญหาหรือลักษณะปญหา
12
13 ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
ถารหัสผิดปกติปรากฏขึ้นขณะตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา ใหตรวจเช็ควงจรรหัสนั้นๆ ดังตารางขางลาง
14 (ปฏิบัติตามหนาที่ใหไวสําหรับวงจรนั้นๆ)
รหัส ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เปนปญหา ไฟเตือน SRS
(ดูหนา)
15 • การลัดวงจรในวงจรชนวน D • แปนพวงมาลัย (ชนวน)
B100/13 • สายไฟขด
• ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย ติด
16 (05-119)
• ชุดสายไฟ
• การขาดวงจรในวงจรชนวน D • แปนพวงมาลัย (ชนวน)
17 B0101/14 • สายไฟขด
(05-124) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย ติด
• ชุดสายไฟ
19 • การลัดวงจรในวงจรชนวน D • แปนพวงมาลัย (ชนวน)
B0102/11 (ลงกราวด) • สายไฟขด
(05-128) ติด
26 • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
• ชุดสายไฟ
• การลัดวงจรในวงจรชนวน D • แปนพวงมาลัย (ชนวน)
B0103/12
27 (05-132)
(ไปที่ B+) • สายไฟขด
ติด
• ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
• ชุดสายไฟ
28 B0105/53 • การลัดวงจรในวงจรชนวน P • ชุดถุงลมนิรภัยผูโดยสารเบาะหนา (ชนวน)
(05-136) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย ติด
• ชุดสายไฟ
29 • การขาดวงจรในวงจรชนวน P • ชุดถุงลมนิรภัยผูโดยสารเบาะหนา (ชนวน)
• ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
• ชุดสายไฟ
30 tion • ชุดถุงลมนิรภัยผูโดยสารเบาะหนา (ชนวน)
• ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
31 • ชุดสายไฟ

32
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–25

ตารางสภาพปญหา
วงจรหรือชิน้ สวนทีค่ าดวาจะเปนสาเหตุของแตละปญหาแสดงไวในตารางขางลางนี้ เมือ่ ตรวจเช็คหรือระหวางการตรวจเช็ค 1
รหัสวิเคราะหปญหา แลวมี “รหัสปกติ” ปรากฏขึ้นแตปญหายังคงมีอยู ใหใชตารางนี้ในการคนหาสาเหตุปญหา สวน
หมายเลขในตารางจะแสดงลําดับของวงจรหรือชิ้นสวนที่ควรตรวจสอบ
2
ขอแนะนํา:
3
มีบางกรณีที่ระบบวิเคราะหปญหาตรวจไมพบปญหาแมวาอาการปญหาจะปรากฎใหเห็นอยู ซึ่งเปนเพราะปญหานั้น
เกิดขึน้ นอกขอบขายการตรวจจับของระบบวิเคราะหปญ  หา หรือเปนปญหาทีเ่ กิดขึน้ ในระบบอืน่ ทีแ่ ตกตางกันโดยสิน้ เชิง 5
10
z หนา
บอกเลขหนาที่แผนภูมิของวงจรนั้นๆ อยู 11
z การตรวจสอบวงจร, ลําดับการตรวจสอบ 12
แสดงวงจรที่ตองตรวจเช็คในแตละอาการปญหาโดยตรวจเช็คเรียงตามลําดับหมายเลข
13
z วงจรหรือชื่อชิ้นสวน
z อาการปญหา บอกชื่อวงจรหรือชิ้นสวนที่ตองตรวจเช็ค 14

ตารางสภาพปญหา 15
หมายเหตุ:
ตรวจสอบ “ฟวส” และ “รีเลย” กอนตรวจยืนยันบริเวณที่คาดวาเปนปญหาในตารางขางลาง (ดูหนา 68-1) 16
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. วงจรแหลงจายไฟ (ชุดจอแสดงผลรวม) 05-1267 17
หนาจอมืด
2. จอแสดงผลรวม 67-7
1. วงจรไฟเตือน SRS (ชุดจอแสดงผลรวม) 05-1277 19
ไมสามารถปรับความสวางของหนาจอไดในเวลากลางคืน
2. ชุดจอแสดงผลรวม 67-7
1. วงจรสวิตชแปนพวงมาลัย 05-1183 26
2. วงจร AVC-LAN (ชุดเครื่องเสียง-ชุดจอ 05-1303
ระบบนําทาง (navigation system) ไมสามารถใชงานได แสดงผลรวม) 27
3. ชุดเครื่องเสียง 67-5
4. ชุดจอแสดงผลรวม 67-7
28
29
30
31
32
01–26 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

การตรวจสอบวงจร
1 วิธีการอานและใชงานแตละหนา ดูไดจากตัวอยางขางลางนี้
2
• คําอธิบายวงจร • ขั้นตอนการตรวจสอบ
3 อธิบายบทบาทและหนาที่หลัก ฯลฯ ของวงจรและ
• ใชขั้นตอนการตรวจสอบเพื่อตรวจดูวาวงจรปกติ
ชิ้นสวนประกอบ
หรือผิดปกติ ถาผิดปกติใหใชขั้นตอนนี้ตรวจสอบดู
5 • รหัสวิเคราะหปญหาและปญหาที่ตรวจพบ วาปญหาเกิดขึ้นที่เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ชุดสายไฟ
หรือวากลอง ECU
10 • แสดงรหัสวิเคราะหปญหา ที่มาของรหัส และ
บริเวณที่เปนปญหา
11 05-178

รหัส P050042 เซ็นเซอรความเร็วรถทํางานบกพรอง


การวิเคราะหปญหา – ระบบ SFI (1ZZ-FE)

ขัน้ ตอนการตรวจสอบ
การวิเคราะหปญ
 หา – ระบบ SFI (1ZZ-FE) 05-178

คําอธิบายวงจร 1 อานคาความเร็วรถ (การทํางานของมาตรวัดความเร็ว)


เซ็นเซอรตรวจจับความเร็วของรถนีจ้ ะสงสัญญาณแบบ 4 พัลส ออกมาตอการหมุนของเพลาโรเตอร 1 รอบ โรเตอรนจ้ี ะ
12
(ก) เลือกขอมูลบนเครื่องรหัสวิเคราะหปญ หามือถือ (OBD)
หมุนจากการขับของเพลาสงกําลังผานทางเฟองขับ หลังจากสัญญาณนีถ้ กู แปลงเปนคลืน่ รูป 4 เหลีย่ มทีช่ ดั เจนขึน้ โดยวงจร (ข) ขับทดสอบ
ปรับแตงสัญญาณทีอ่ ยูภ ายในมาตรวัดรอบแลวก็จะถูกสงไปยัง ECU เครือ่ งยนต ซึง่ ECU เครือ่ งยนต จะใชความถีข่ อง (ค) อานคาความเร็วรถจากเครื่องวิเคราะหปญ หามือถือ (OBD)
สัญญาณพัลสนี้ เพือ่ ประเมินความเร็วรถ ผลที่ได: เชนเดียวกับคาที่ปรากฏบนมาตรวัดความเร็ว
บกพรอง เปลีย่ นชุดมาตรวัดรวม
4 พัลส 4 พัลส

13
เซ็นเซอรตรวจจับ
ความเร็วรถ ตัวที่ 1 ปกติ
2 ตรวจสอบ ECU
(ก) ตรวจเช็คลักษณะของคลื่นสัญญาณ
มาตรวัดรวม หมายเหตุ:
14 ECU เครือ่ งยนต
เลือกใชฟง กชนั่ ออสซิลโลสโคบของเครือ่ งวิเคราะหปญ หา เพือ่ ตรวจเช็ค
การทํางานระหวาง ECU เครือ่ งยนตกบั เซ็นเซอรตรวจจับการน็อคได
ในภาพคือ ตัวอยางคลืน่ สัญญาณโดยไมมคี ลืน่ สัญญาณรบกวนจาก
ชุดเกียร ภายนอก
(1) ตอเครื่องวิเคราะหปญ  หาเขาระหวางขั้ว SPD ของขั้วตอ
15 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา
ขณะขับรถไมมีสัญญาณจากเซ็นเซอรความเร็วรถสงไป •

มาตรวัดรวม
บริเวณที่เปนปญหา

วงจรเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 1 ขาดหรือลัดวงจร
E7 ของ ECU เครื่องยนต กับขั้ว EI ของขั้วตอ E8 ของ
ECU เครื่องยนต
P0500/42 ยัง ECU เครื่องยนต (ระบบตรวจจับปญหา 2 ครั้ง (2 trip • เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 1
(2) เลื อ กใช ฟงก ชั่ นออสซิลโลสโคบของเครื่องวิเคราะห
detection logic)) • ECU เครื่องยนต ปญหามือถือ (ดูวธิ กี ารใชจากคูม อื การใชเครือ่ งวิเคราะห

16
ปญหามือถือ)
ผังวงจรไฟฟา ผลที่ได: เกิดแรงดันไฟฟาเปนชวงๆ
ECU เครือ่ งยนต เรือ่ ง คําอธิบาย
มาตรวัดรวม J9 หมุนลอ ขั้ว SPD ⇔ E1
ขั้วตอรวม การตั้งเครือ่ งมือ 5 โวลท/หอง, 20 มิลลิวินาที/หอง

17
สภาวะเงื่อนไข รถแลนดวยความเร็ว 20 กม./ชม.
หมายเหตุ
• ความถี่ของยอดคลื่นจะเพิ่มขึ้นตามความเร็วของรถ
ปกติ ตรวจเช็คและเปลีย่ น ECU

19
บกพรอง

• แสดงสภาวะขั้วตอของ ECU ขณะตรวจเช็ค

26
• ผังวงจรไฟฟา
27 แสดงภาพผังวงจรไฟฟา:
ใหใชผงั วงจรนีร้ ว มกับคูม อื วงจรไฟฟาเพือ่ ความเขาใจยิง่ ขึน้ ตอขั้วตออยู ปลดขั้วตอออก
สีของสายไฟจะบอกเปนรหัสตัวอักษร จุดเชื่อมตอของเครื่องมือ ไมตอ งตรวจสอบดานกราวด
28 B = ดํา, L = น้าํ เงิน, R = แดง, BR = น้าํ ตาล, LG = เขียว ทดสอบจะแสดงดวยเครื่อง ตัวถัง
ออน, V = มวง, G =เขียว, O = สม, W = ขาว, GR = เทา, หมาย (+), (-) ตามหลังชื่อขั้ว
29 P = ชมพู, Y = เหลือง, SB = ฟา,
ตัวอักษรตัวแรกจะบอกสีพนื้ สวนตัวถัดไปจะบอกแถบ
30 สีของสายไฟ
D25842

31
32
บทนํา − ขอมูลจําเพาะ 01–3

ขอมูลจําเพาะ
1
หมายเลขประจํารถและหมายเลขรุนเครื่องยนต
2
1. หมายเลขประจํารถ 3
(ก) หมายเลขประจํารถจะประทับอยูในหองเครื่องยนตดังภาพ
ทานจะพบหมายเลขนี้อยูที่ปายผูผลิตดวย 5
A: หมายเลขประจํารถ
B: ปายผูผลิต 10
A
11
12

B
13
14
B86792
15
2. หมายเลขรุนเครื่องยนตและหมายเลขรุนชุดเกียร 16
(ก) หมายเลขรุนเครื่องยนตจะประทับอยูที่เสื้อสูบ และหมายเลขรุนชุดเกียรจะประทับอยูที่เสื้อเกียร ดังภาพ
17
หมายเลขรุนเครื่องยนต หมายเลขรุนชุดเกียร
19
26

A340F, A340E
27
1KD-FTV, 2KD-FTV G50 R151, R151F

28
B86426 29
30
31
32
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–27

ขั้นตอนการตรวจสอบวงจรอิเล็กทรอนิกส
1. การตรวจสอบเบื้องตน
1
(ก) เมื่อทําการวัดความตานทานของชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
2
(1) ถาไมไดระบุไวเปนอยางอื่น การวัดความตานทานทุกชนิดใหทําที่อุณหภูมิ 20oC (68oF) คาความตานทาน
ที่วัดอาจอยูนอกเหนือคากําหนดไดหากวัดที่อุณหภูมิสูง (ยกตัวอยาง เชน วัดทันทีหลังจากการขับขี่) ดัง 3
นั้น การวัดคาควรทําหลังจากที่รอใหเครื่องยนตเย็นลงแลว
5
(ข) การทํางานกับขั้วตอ
(1) การปลดขั้วตอออก ขั้นแรกใหดันขั้วตอเขาดวยกันเพื่อ 10
ปลดล็อค แลวจึงกดตัวสลักล็อคแยกขั้วตอออก
(2) เมื่อทําการปลดขั้วตอ อยาดึงตรงสายไฟ ใหจับที่ตัวขั้ว 11
ตอแยกออกโดยตรง
(3) กอนเสียบขั้วตอ ใหตรวจเช็คดูวาขั้วไฟฟาอยูในสภาพ 12
ดี ไมเสียหาย คดงอ หลุดหลวมหรือขาดหายไป
(4) การเสียบขั้วตอ ใหกดเขาสนิทจนไดยินเสียงล็อคดัง 13
ผิด “คลิก”
(5) กรณีที่ใชเครื่องทดสอบทางไฟฟาของโตโยตาตรวจ 14
ผิด เช็คขัว้ ตอ ใหตอ ลวดทดสอบขนาดเล็กเขาทางดานหลัง
ของขั้วตอ (ดานชุดสายไฟ) 15
ขอควรระวัง:
ถูก • ขั้วตอชนิดกันน้ํานั้นไมสามารถตรวจเช็คจากดานหลังได ให
16
ตรวจเช็คโดยตอเขากับชุดสายไฟยอย
17
D32092

• ขณะเสียบลวดทดสอบ ตองระวังอยาใหขั้วไฟฟาเสียหาย
(ค) การตรวจเช็คขั้วตอ 19
(1) การตรวจเช็คขณะที่ขั้วตอเสียบอยู:
ดันขั้วตอเขาดวยกันเพื่อตรวจยืนยันวาตอขั้วตอเขาจน 26
สุดและล็อคแนน
(2) การตรวจเช็คขณะที่ปลดขั้วตอออกแลว:
27
การหลุดหลวมของคลิป
ตรวจเช็ ค โดยดึ ง ชุ ด สายไฟทางด า นหลั ง ของขั้ ว ต อ
28
เบาๆ เพื่อดูวาขั้วไฟฟาหลุด ขาดหาย คลิปล็อคหลุด
สายไฟแกน หลวม หรือสายตัวนําไฟฟาแตกเสียหายหรือไม 29
ขั้วเสียรูป ตรวจดูขั้วไฟฟาวามีการผุกรอน เศษโลหะ หรือสิ่ง
แปลกปลอมและน้ํา ตลอดจนการคดงอ เปนสนิม รอน 30
ดึงเบาๆ จัด สกปรก และเสียรูปหรือไม
D25087

ขอควรระวัง: 31
เมือ่ ทดสอบขัว้ ตัวเมียแบบขัว้ เคลือบดวยทอง ใหใชขวั้ ตัวผูช นิดเดียว
กันเสมอ 32
01–28 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

(3) ตรวจเช็คการยึดเกาะที่หนาสัมผัสของขั้วไฟฟา:
1 เตรียมขัว้ ปลัก๊ สํารองตัวผู นํามาเสียบเขากับปลัก๊ ตัวเมีย
และตรวจเช็ควาแนนตึงดีหรือไมเมื่อเสียบขั้วตอสนิท
2
3
ขั้วชนิดเดียวกันกับขั้วตัวผู
5 D25088

(ง) การซอมขั้วของขั้วตอ
10 (1) ถามีเศษสิ่งสกปรกเกาะที่ขั้วไฟฟา ใหทําความสะอาด
ถูก ผิด บริเวณนั้นดวยผาหรือปนลม หามใชกระดาษทรายขัด
11 เพราะจะทําใหขั้วไฟฟาถลอก
(2) ถาขั้วตอหลวม ควรเปลี่ยนปลั๊กตัวเมียใหมใหเปนขั้ว
12 ชนิดเดียวกันกับปลั๊กตัวผู เชน ถาใชปลั๊กตัวผูแบบขั้ว
เคลือบทอง (สีทอง) หรือเคลือบเงิน (สีเงิน) ก็ตอง
13
D32093

เปลีย่ นปลัก๊ ตัวเมียใหเปนแบบขัว้ เคลือบทองหรือเงินดวย


(3) หากขั้วไฟฟาผุกรอนเปนสนิม บิดเบี้ยวหรือชํารุด ควร
14 เปลี่ยนใหม กรณีที่ขั้วไมล็อคเขากับตัวเรือน อาจตอง
เปลี่ยนตัวเรือนใหม
15
ผิด (จ) การทํางานกับชุดสายไฟ
ผิด
16 (1) กอนถอดชุดสายไฟ ใหตรวจเช็คสภาพและตําแหนง
ของแคลมปรัดสายไฟเสียกอน เพื่อจะไดติดตั้งเขาที่
17 อยางถูกตอง
(2) อยาบิด ดึง หรือปลอยสายไฟใหหยอนมากเกินไป
19 (3) ชุดสายไฟไมควรอยูใกลกับชิ้นสวนที่มีความรอนสูง
ผิด D32094
หมุน เคลื่อนที่ได สั่นหรือมีขอบแหลมคม โดยหลีก
26 เลี่ยงการสัมผัสกับขอบแผงโลหะ ปลายของสกรูและ
ของแหลมคมตางๆ
27 (4) การติดตัง้ ชิน้ สวนตางๆ ตองระวังอยาใหหนีบทับสายไฟ
(5) อยาตัดหรือเจาะฉนวนหุม สายไฟ ถาฉนวนหุม สายไฟมี
28 รอยขาด ใหเปลีย่ นใหมหรือพันดวยเทปไวนิลใหเรียบรอย
29 2. การตรวจเช็คการขาดวงจร
รูFig.
ปที่ 11
ECU (ก) กรณีการขาดของวงจรในชุดสายไฟ ดังรูปที่ 1 ใหทําการ
ขาด A
ตรวจเช็คความตานทาน (ขอ ข) หรือตรวจเช็คแรงดันไฟฟา
30 เซ็Sensor
นเซอร
C
1
OPEN
1
B
1 1
2 2 2 2
(ขอ ค) เพื่อหาตําแหนงที่วงจรขาด
31
32 Z17004
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–29

(ข) ตรวจเช็คคาความตานทาน
รูFig.
ปที่ 22
(1) ปลดขัว้ ตอ A กับ C แลววัดความตานทานระหวางขัว้ ตอ 1
ECU ทั้งสอง
เซ็Sensor
นเซอร 1
คามาตรฐาน (รูปที่ 2): 2
1 1
2 2 2 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
C B A ขั้ว 1 ของขั้วตอ A - ขั้ว 1 ของขั้วตอ C 10 kΩ หรือสูงกวา 3
ขั้ว 2 ของขั้วตอ A - ขั้ว 2 ของขั้วตอ C ต่ํากวา 1 Ω
Z17005

ขอแนะนํา: 5
คอยๆ ขยับชุดสายไฟขึ้น-ลงไปมาในขณะที่วัดความตานทาน
หากผลที่ไดตรงกันกับตัวอยางที่กลาวมา แสดงวา มีการขาดของวง 10
จรระหวางขั้ว 1 ของขั้วตอ A กับขั้ว 1 ของขั้วตอ C
11
(2) ปลดขั้วตอ B แลววัดความตานทานระหวางขั้วตอ
รูFig.
ปที่ 33
คามาตรฐาน (รูปที่ 3): 12
ECU การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
เซ็ นเซอร ขั้ว 1 ของขั้วตอ A - ขั้ว 1 ของขั้วตอ B1 ต่ํากวา 1 Ω
Sensor
13
ขั้ว 1 ของขั้วตอ B2 - ขั้ว 1 ของขั้วตอ C 10 kΩ หรือสูงกวา

2
1 1
2 2
1 1
2
หากผลทีไ่ ดตรงกันกับตัวอยางทีก่ ลาวมา แสดงวา มีการขาดของวงจร 14
C B2 B1 A
B04722
ระหวางขั้ว 1 ของขั้วตอ B2 กับขั้ว 1 ของขั้วตอ C
15
(ค) ตรวจเช็คแรงดันไฟฟา
รูFig.
ปที่ 44
(1) สําหรับวงจรที่มีไฟไปเลี้ยงขั้วของขั้วตอ ECU นั้น 16
สามารถตรวจหาการขาดของวงจรไดโดยการตรวจ
5V
เซ็Sensor
นเซอร 0V เช็คแรงดันไฟฟา 17
5V 1 1
2
1
2 2
รูปที่ 4:
C B A ขณะทีข่ วั้ ตอแตละตัวยังตอกันอยูน นั้ ใหวดั แรงดันไฟฟา 19
Z17007
ระหวางกราวดตัวถังกับขั้วตางๆ เหลานี้ (ตามลําดับ):
1) ขั้ว 1 ของขั้วตอ A, 2) ขั้ว 1 ของขั้วตอ B, และ 3) 26
ขั้ว 1 ของขั้วตอ C
ตัวอยางผลที่ได: 27
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
ขั้ว 1 ของขั้วตอ A - กราวดตัวถัง 5V 28
ขั้ว 1 ของขั้วตอ B - กราวดตัวถัง 5V
ขั้ว 1 ของขั้วตอ C - กราวดตัวถัง 0V 29
หากผลทีไ่ ดตรงกันกับตัวอยางทีก่ ลาวมา แสดงวา มีการขาดของวงจร
ในชุดสายไฟระหวางขั้ว 1 ของขั้วตอ B กับขั้ว 1 ของขั้วตอ C 30
31
32
01–30 บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU

3. การตรวจเช็คการลัดวงจร
รูFig.
ปที่ 55
1 ลัดวงจร (ก) หากชุดสายไฟมีการลัดวงจรลงกราวด (รูปที่ 5) ใหตรวจหา
C SHORT B A
1 1 1 ตําแหนงโดยทําการตรวจเช็คความตานทานลงกราวด (ดานลาง)
2 2 2 2

3
5 Z17008

(ข) ตรวจเช็คความตานทานลงกราวดตัวถัง
รูFig.
ปที่ 66
10 (1) ปลดขั้วตอ A กับ C แลววัดความตานทาน
คามาตรฐาน (รูปที่ 6):
ECU
11 เซ็Sensor
นเซอร การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1 1 1 ขั้ว 1 ของขั้วตอ A - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
2 2 2
12 C B A ขั้ว 2 ของขั้วตอ A - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ขอแนะนํา:
13
Z17009

คอยๆ ขยับชุดสายไฟขึ้น-ลงไปมาในขณะที่วัดความตานทาน
หากผลที่ไดตรงกันกับตัวอยางที่กลาวมา แสดงวา มีการลัดวงจร
14 ระหวางขั้ว 1 ของขั้วตอ A กับขั้ว 1 ของขั้วตอ C
(2) ปลดขั้วตอ A กับ B แลววัดความตานทาน
15 รูFig.
ปที่ 77
คามาตรฐาน (รูปที่ 7):
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
16 ขั้ว 1 ของขั้วตอ A - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ECU
เซ็Sensor
นเซอร ขั้ว 1 ของขั้วตอ B2 - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
17 1 1 1 1

C
2 2 2 2
A
หากผลที่ไดตรงกันกับตัวอยางที่กลาวมา แสดงวา มี
B2 B1
19 Z17808
การลัดวงจรระหวางขั้ว 1 ของขั้วตอ B2 กับขั้ว 1 ของ
ขั้วตอ C
26 4. การตรวจเช็คและเปลี่ยน ECU
ขอควรระวัง:
27 • ไมควรปลดขั้วตอออกจาก ECU ใหทําการตรวจสอบจาก
ดานหลังของขั้วตอทางดานชุดสายไฟ
28 • ถาคูมือไมไดระบุสภาพในการตรวจวัดเอาไว ใหทําการตรวจ
สอบโดยดับเครื่องยนตแลวบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง
29 ON
• ตรวจดูวาเสียบขั้วตอตางๆ เขาจนสุด ไมมีการหลุดหลวม
30 เปนสนิม หรือสายไฟแตกหักเสียหาย
(ก) ขั้นแรก ใหตรวจเช็ควงจรกราวดตัวถังของ ECU ถาเสียให
31 ซอม ถาปกติดี แสดงวา ECU อาจเสีย ใหลองเปลี่ยน ECU
แลวตรวจเช็คดูวายังเกิดอาการปญหาอยูอีกหรือไม หากไมมี
32 อาการขัดของ แสดงวาตองเปลี่ยน ECU ใหม
บทนํา − การคนหาสาเหตุปญหาของระบบที่ควบคุมดวย ECU 01–31

(1) วัดความตานทานระหวางขั้วกราวดของ ECU กับ


ตัวอยาง
กราวดตัวถัง 1
คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
กราวด
2
3
IN0383
5
(2) ปลดขัว้ ตอ ECU ออก ตรวจดูขวั้ กราวด (ของดาน ECU
ดาน ECU
และดานชุดสายไฟ) วามีรอยรอยการคดงอ ผุกรอน 10
เปนสนิม หรือสิ่งแปลกปลอมหรือไม สุดทายใหตรวจ
ดานชุดสายไฟ
กราวด เช็คการยึดเกาะที่หนาสัมผัสของขั้วปลั๊กตัวเมีย 11

กราวด 12
13
IN0384

14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
01–32 บทนํา − ศัพทเฉพาะ

ศัพทเฉพาะ
1 คํายอที่ใชในคูมือเลมนี้
คํายอ ความหมาย
2 ABS ระบบปองกันเบรกล็อค
A/C เครื่องปรับอากาศ
3 AC ไฟฟากระแสสลับ
ACC อุปกรณเสริม
5 ACIS
ACM
ระบบประจุอากาศแบบแปรผัน
ยางแทนเครื่องควบคุมการทํางาน
ACSD อุปกรณสตารทเย็นอัตโนมัติ
10 A.D.D. เฟองทายแบบตัด-ตออัตโนมัติ
A/F อัตราสวนผสมอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิง
11 AHC ระบบปรับระดับความสูงของตัวรถ
ALR ชุดรั้งกลับเข็มขัดนิรภัยแบบล็อคอัตโนมัติ
ALT อัลเทอรเนเตอร
12 AMP แอมปลิฟายเออร
ANT เสาอากาศ
13 APPROX. โดยประมาณ
ASSY ชุด
A/T, ATM เกียรอัตโนมัติ (เพลาสงกําลัง)
14 ATF น้ํามันเกียรอัตโนมัติ
AUTO อัตโนมัติ
15 AUX อุปกรณเสริม
AVG โดยเฉลี่ย/ คาเฉลี่ย
16 AVS
B+
ระบบรองรับชนิดปรับได
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
BA ระบบชวยเบรก
17 BACS ระบบชดเชยในที่สูง
BAT แบตเตอรี่
19 BDC
B/L
ศูนยตายลาง
2 ระดับ
B/S ระยะชัก-กระบอกสูบ
26 BTDC กอนศูนยตายบน
BVSV วาลวตัดตอสุญญากาศแบบไบเมทัลลิก
27 CB ตัวตัด-ตอวงจร
CCo ตัวแปลงสภาพไอเสียเพื่อการเผาไหม
CCV วาลวปดคานิสเตอร
28 CD คอมแพ็คดิสก
CF แรงเหวี่ยงขณะเขาโคง
29 CG จุดศูนยถวง
CH ชอง
CKD รถที่ประกอบในประเทศ
30 COMB. รวมกัน
CPE รถยนตโดยสารแบบ 2 ประตู
31 CPS เซ็นเซอรแรงดันการเผาไหม
CPU ชุดประมวลผลกลาง
32 CRS
CTR
ระบบนิรภัยสําหรับเด็ก
จุดศูนยกลาง
บทนํา − ศัพทเฉพาะ 01–33

คํายอ ความหมาย
C/V วาลวกันกลับ
CV วาลวควบคุม
1
CW น้ําหนักรถเปลา
DC ไฟฟากระแสตรง 2
DEF อุปกรณไลฝา
DFL
DIFF.
ตัวสะทอนแสง
เฟองทาย
3
DIFF. LOCK ชุดล็อคเฟองทาย
D/INJ การฉีดเชื้อเพลิงโดยตรง (Direct Injection) 5
DLC ขั้วตอเชื่อมโยงขอมูล
DLI การจุดระเบิดแบบไมใชจานจาย 10
DOHC เพลาลูกเบี้ยวคูเหนือฝาสูบ
DP อุปกรณหนวงลิ้นเรง
DS การจุม/ แช 11
DSP ชุดประมวลผลสัญญาณดิจิตอล
DTC รหัสวิเคราะหปญหา 12
DVD แผนดิสกแบบดิจิตอล
EBD ระบบกระจายแรงเบรกดวยอิเล็กทรอนิกส
EC อิเล็กโทรโครโรมิก
13
ECAM ระบบการวัดและควบคุมเครื่องยนต
ECD ระบบน้ํามันดีเซลควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 14
ECDY เครื่องวัดกระแสหมุนวน
ECT
ECU
เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส
ชุดควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส
15
ED การชุบเคลือบดวยไฟฟา
EDU ชุดแปลงไฟแรงเคลื่อนต่ําใหเปนไฟแรงเคลื่อนสูง 16
EDIC ระบบควบคุมการฉีดเชื้อเพลิงดีเซลดวยไฟฟา
EFI
E/G
การฉีดเชื้อเพลิงดวยอิเล็กทรอนิกส
เครื่องยนต
17
EGR การหมุนเวียนของแกสไอเสีย
EGR-VM ชุดควบคุมสุญญากาศ EGR 19
ELR ชุดรั้งกลับเข็มขัดนิรภัยแบบล็อคฉุกเฉิน
EMPS พวงมาลัยเพาเวอรแบบมอเตอรไฟฟา 26
ENG เครื่องยนต
ESA ระบบควบคุมการจุดระเบิดลวงหนาดวยอิเล็กทรอนิกส
ETCS-i ระบบควบคุมลิ้นเรงแบบอิเล็กทรอนิกส-อัจฉริยะ 27
EVAP ระบบควบคุมไอระเหยของน้ํามันเชื้อเพลิง
EVP อีวาปอเรเตอร 28
E-VRV วาลวควบคุมสุญญากาศดวยไฟฟา
EX ไอเสีย
FE การประหยัดเชื้อเพลิง
29
FF เครื่องยนตหนา-ขับเคลื่อนลอหนา
F/G เกจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง 30
FIPG ปะเก็นเหลว
FL
F/P
ฟวสแบบสาย
ปมเชื้อเพลิง
31
FPU ตัวเพิ่มแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
FR ดานหนา 32
01–34 บทนํา − ศัพทเฉพาะ
คํายอ ความหมาย
F/W ลอชวยแรง
1 FW/D ตัวดูดซับแรงสั่นสะเทือนของลอชวยแรง
FWD ขับเคลื่อนลอหนา
2 GAS น้ํามันเบนซิน
GND กราวด
3 GPS
HAC
ระบบระบุตําแหนงดวยดาวเทียม
ชุดชดเชยการฉีดเชื้อเพลิงในที่สูง
H/B รถยนตโดยสารแบบ 5 ประตู
5 H-FUSE ฟวสกระแสสูง
HI สูง
10 HID หลอดคายประจุความเขมสูง (หลอดไฟหนา)
HSG เสื้อ/ ตัวเรือน
HT รถยนตโดยสารแบบฮารดท็อป
11 HWS ระบบไลฟากระจกบังลมหนา
IC วงจรรวม
12 IDI การฉีดเชื้อเพลิงดีเซลโดยออม
IFS ระบบรองรับดานหนาแบบอิสระ
IG การจุดระเบิด
13 IIA ชุดจุดระเบิดรวม
IN ไอดี (ทอรวม, วาลว)
14 INT ปดและหยุดเปนชวงๆ
I/P แผงหนาปด
15 IRS
ISC
ระบบรองรับดานหลังแบบอิสระ
ชุดควบคุมความเร็วรอบเดินเบา
J/B กลองรวมชุดสายไฟ
16 J/C ขั้วตอรวม
KD คิกดาวน
17 LAN
LB
เครือขายพื้นที่ทองถิ่น
รถยนตโดยสารแบบลิฟทแบ็ค
LCD หนาจอแบบ LCD
19 LED ไดโอดเปลงแสง
LH ซายมือ
26 LHD พวงมาลัยซาย
L/H/W ความยาว, ความสูง, ความกวาง
LLC น้ํายาหลอเย็นยืดอายุเครื่องยนต
27 LNG แกสเหลวธรรมชาติ
LO ต่ํา
28 LPG แกสปโตรเลียมเหลว
LSD เฟองทายแบบลิมิเต็ดสลิป
LSP & PV วาลวสงผานและปรับแรงดันน้ํามันเบรกตามน้ําหนักบรรทุก
29 LSPV วาลวปรับแรงดันน้ํามันเบรกตามน้ําหนักบรรทุก
MAP แรงดันสัมบูรณทอรวม
30 MAX. สูงสุด
MIC ไมโครโฟน
31 MIL
MIN.
ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง
ต่ําสุด
MG1 มอเตอรไฟฟาตัวที่ 1
32 MG2 มอเตอรไฟฟาตัวที่ 2
บทนํา − ศัพทเฉพาะ 01–35

คํายอ ความหมาย
MP เอนกประสงค
MPI ระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกสแบบฉีดหลายจุด
1
MPX ระบบการสื่อสารแบบมัลติเพล็กซ
M/T, MTM เกียรธรรมดา 2
MT ยึด
MTG
N
การยึด/ จุดยึด
เกียรวาง
3
NA การนําอากาศเขาแบบธรรมดาโดยไมมีอุปกรณชวย
NO. หมายเลข 5
O2S เซ็นเซอรออกซิเจน
O/D โอเวอรไดรฟ 10
OEM อุปกรณมาตรฐานจากโรงงาน
OHC เพลาลูกเบี้ยวเหนือฝาสูบ
OHV วาลวเหนือฝาสูบ 11
OPT อุปกรณเลือกพิเศษ
ORVR ระบบนําไอระเหยกลับมาใชใหม 12
O/S โอเวอรไซส
P & BV วาลวสงผานและปรับแรงดันน้ํามันเบรก
PCS ระบบควบคุมกําลัง
13
PCV การระบายไอน้ํามัน
PKB เบรกมือ 14
PPS พวงมาลัยเพาเวอรแบบควบคุมดวยไฟฟา
PS
PTO
พวงมาลัยเพาเวอร
ชุดเพิ่มกําลังเครื่องยนต
15
P/W กระจกไฟฟา
R&P แร็คแอนดพีเนียน 16
RAM หนวยความจําชั่วคราว
R/B
RBS
กลองรีเลย
พวงมาลัยแบบหมุนวน
17
R/F โครงเสริมกันชนหนา
RFS คานแข็งดานหนา 19
RH ดานขวา
RHD พวงมาลัยขวา 26
RLY รีเลย
ROM หนวยความจําชนิดอานอยางเดียว
RR ดานหลัง 27
RRS คานแข็งดานหนา
RWD ขับเคลื่อนลอหลัง 28
SDN รถยนตโดยสารแบบซีดาน
SEN เซ็นเซอร
SICS ระบบควบคุมการฉีดเชื้อเพลิงขณะสตารท
29
SOC สถานะการชารจ
SOHC เพลาลูกเบี้ยวเดี่ยวเหนือฝาสูบ 30
SPEC คากําหนด
SPI
SRS
การฉีดเชื้อเพลิงจุดเดียว
ระบบเสริมความปลอดภัย (SRS)
31
SSM วัสดุซอมพิเศษ
SST เครื่องมือพิเศษ 32
01–36 บทนํา − ศัพทเฉพาะ
คํายอ ความหมาย
STD คามาตรฐาน
1 STJ การฉีดเชื้อเพลิงเพื่อสตารทเย็น
SW สวิตช
2 SYS ระบบ
T/A เกียร
3 TACH
TBI
มาตรวัดรอบ
การฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกสแบบฉีดที่เรือนลิ้นเรง
TC เทอรโบชารจเจอร
5 TCCS ระบบที่ควบคุมดวยคอมพิวเตอรของโตโยตา
TCV วาลวควบคุมไทมมิ่ง
10 TDC ศูนยตายบน
TEMP. อุณหภูมิ
TEMS ระบบรองรับควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสของโตโยตา
11 TFT ระบบเกียรแบบคลัตชอัตโนมัติ
TIS ระบบขอมูลรวมสําหรับการพัฒนารถยนต
12 T/M เกียร (ขับเคลื่อนลอหลัง)
TMC โตโยตา มอเตอร คอรปอรเรชั่น
TMMK บริษัท โตโยตา มอเตอร เคนตั๊กกี้
13 TMT บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด
TRC ระบบปองกันลอหมุนฟรี
14 TURBO เทอรโบชารจ
TWC ตัวแปลงสภาพไอเสียแบบ 3 ทาง
15 U/D
U/S
อันเดอรไดรฟ
อันเดอรไซส
VCV วาลวควบคุมสุญญากาศ
16 VENT เครื่องระบายอากาศ
VIM ชุดควบคุมการสื่อสารของรถ
17 VIN
VPS
หมายเลขประจํารถ
พวงมาลัยเพาเวอรแบบปรับระดับได
VSC ระบบควบคุมการลื่นไถล
19 VSV วาลวตัด-ตอสวิตชสุญญากาศ
VTV วาลวสงผานสุญญากาศ
26 VVT-i การควบคุมจังหวะการทํางานของวาลวแบบอัจฉริยะ
W/ มี
WGN วากอน
27 W/H ชุดสายไฟ
W/O ไมมี
28 1ST เกียร 1
2ND เกียร 2
2WD รถขับเคลื่อน 2 ลอ (4x2)
29 3RD เกียร 3
4TH เกียร 4
30 4WD รถขับเคลื่อน 4 ลอ (4x4)
4WS ระบบบังคับเลี้ยว 4 ลอ
31 5TH เกียร 5

32
บทนํา − ศัพทเฉพาะ 01–37

ศัพทเฉพาะของสมาคมวิศวกรรมยานยนต
ตารางขางลางนี้ คือ คํายอและความหมายของศัพทเฉพาะตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมยานยนต (SAE-J1930) 1
และของโตโยตาที่ใชในคูมือเลมนี้
ความหมายตามศัพทเฉพาะของโตโยตา
2
ตัวยอของ SAE ความหมายตามศัพทเฉพาะของ SAE
( ) = คํายอ
A/C ระบบปรับอากาศ/ การปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศ 3
ACL กรองอากาศ กรองอากาศ, A/CL
AIR การฉีดอากาศทุติยภูมิ การฉีดอากาศ (AI) 5
AP แปนคันเรง -
B+ แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ขั้วบวก +B, แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
BARO ความกดอากาศ HAC
10
CAC ตัวระบายความรอนของการประจุอากาศ ตัวระบายความรอนของอากาศ
CARB คารบูเรเตอร คารบูเรเตอร 11
CFI การฉีดเชื้อเพลิงแบบตอเนื่อง -
CKP ตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง องศาขอเหวี่ยง 12
CL ระบบวงจรปด ระบบวงจรปด
CMP ตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว มุมลูกเบี้ยว 13
CPP ตําแหนงแปนคลัตช -
CTOX ตัวเรงปฏิกิริยาแบบตอเนื่อง -
CTP ตําแหนงปดลิ้นเรง LL เปด, เดินเบาเปด
14
DFI การฉีดเชื้อเพลิงโดยตรง การฉีดเชื้อเพลิงโดยตรง (DI/INJ)
DI การจุดระเบิดแบบใชจานจาย - 15
DLC3 ขั้วตอเชื่อมโยงขอมูล 3 3: ขั้วตอวิเคราะหปญหา OBD II
DTC รหัสวิเคราะหปญหา รหัสวิเคราะหปญหา 16
DTM โหมดทดสอบการวิเคราะหปญหา -
ECL ระดับน้ําหลอเย็นเครื่องยนต -
ECM ECU เครื่องยนต ECU เครื่องยนต (ชุดควบคุมเครื่องยนตดวยอิเล็กทรอนิกส)
17
ECT อุณหภูมิน้ําหลอเย็น อุณหภูมิน้ําหลอเย็น, อุณหภูมิน้ํา (THW)
หนวยความจําชนิดอานอยางเดียวแบบลบได-เขียนได 19
EEPROM หนวยความจําชนิดอานอยางเดียวแบบลบได-เขียนได (EEPROM)
การลบขอมูลเฉพาะในหนวยความจําที่บันทึก (EPROM) 26
EFE ระบบเรงการระเหยของน้ํามันเชื้อเพลิง อุปกรณอุนไอดี (CMH), วาลวควบคุมความรอน (HCV)
EGR
EI
การหมุนเวียนของแกสไอเสีย
การจุดระเบิดดวยอิเล็กทรอนิกส
การหมุนเวียนแกสไอเสีย (EGR)
การจุดระเบิดแบบไมใชจานจาย (DLI)
27
EM การปรับแตงเครื่องยนต การปรับแตงเครื่องยนต (EM)
EPROM การลบขอมูลเฉพาะในหนวยความจําที่บันทึก การลบขอมูลเฉพาะในหนวยความจําที่บันทึก (PROM) 28
EVAP ไอระเหยของน้ํามันเชื้อเพลิง การควบคุมไอระเหยของน้ํามันเชื้อเพลิง (EVAP)
FC ชุดควบคุมพัดลม - 29
หนวยความจําชนิดรอม (ROM) ที่สามารถลบขอมูลไดดวย
FEEPROM แสงที่กําเนิดจากไฟฟา - 30
หนวยความจําชนิดอานอยางเดียว
FEPROM หนวยความจําชนิดรอม (ROM) ทีส่ ามารถลบขอมูลไดดว ยแสง -
FF การยืดหยุนของน้ํามันเชื้อเพลิง - 31
FP ปมเชื้อเพลิง ปมเชื้อเพลิง
GEN เจนเนอเรเตอร อัลเทอรเนเตอร 32
01–38 บทนํา − ศัพทเฉพาะ
GND กราวด กราวด (GND)
1 HO2S เซ็นเซอรออกซิเจนแบบมีตัวใหความรอน เซ็นเซอรออกซิเจนแบบมีตัวใหความรอน (HO2S)
IAC ชุดควบคุมอากาศที่รอบเดินเบา ชุดควบคุมความเร็วรอบเดินเบา (ISC)
IAT อุณหภูมิอากาศเขา อุณหภูมิอากาศเขาหรือไอดี
2 ICM ชุดควบคุมการจุดระเบิด -
IFI การฉีดเชื้อเพลิงโดยออม การฉีดโดยออม (IDL)
3 IFS การตัดเชื้อเพลิงดวยแรงเฉื่อย -
ISC ชุดควบคุมความเร็วรอบเดินเบา -
5 KS น็อคเซ็นเซอร น็อคเซ็นเซอร
MAF มวลอากาศไหล/ ปริมาณอากาศ มาตรวัดปริมาณอากาศ
MAP แรงดันสัมบูรณทอรวม แรงดันสุญญากาศในทอรวมไอดี
10 ลิ้นควบคุมการจายอากาศแบบไฟฟา (EBCV)
MC ชุดควบคุมอัตราสวนผสม ลิ้นควบคุมอัตราสวนผสม (MCV)
11 ลิ้นควบคุมอากาศดวยไฟฟา (EACV)
MDP แรงดันแตกตางของทอรวม -
12 MFI การฉีดเชื้อเพลิงแบบมัลติพอรท การฉีดเชื้อเพลิงดวยอิเล็กทรอนิกส (EFI)
MIL ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง ไฟเตือนตรวจเช็คเครื่องยนต
MST อุณหภูมิผิวทอรวม -
13 MVZ ยานสุญญากาศในทอรวม -
หนวยความจําชั่วคราวแบบไมถาวร (ขอมูลจะไมลบออกเมื่อ
14 NVRAM
ปดเครื่อง)
-
O2S เซ็นเซอรออกซิเจน เซ็นเซอรออกซิเจน, เซ็นเซอรจับ O2 (O2S)
15 OBD การวิเคราะหปญหาบนรถ ระบบวิเคราะหปญหาบนรถ (OBD)
OC ตัวแปลงสภาพไอเสียแบบทําปฏิกิริยากับออกซิเจน ตัวแปลงสภาพไอเสียแบบทําปฏิกริ ยิ ากับออกซิเจน (OC), CCo
16 OL ระบบวงจรเปด ระบบวงจรเปด
PAIR การฉีดอากาศครั้งที่ 2 การดูดอากาศ (AS)
PCM ชุดควบคุมการสงกําลัง -
17 PNP ตําแหนงเกียรวาง/จอด -
PROM หนวยความจําที่อานขอมูลที่บันทึกไวอยางเดียว -
19 PSP แรงดันพวงมาลัยเพาเวอร -
กรองเชื้อเพลิงดีเซล (DPF)
PTOX อุปกรณดักสิ่งแปลกปลอม
26 ตัวดักสิ่งแปลกปลอมในเชื้อเพลิงดีเซล (DPT)
RAM หนวยความจําชั่วคราว หนวยความจําชั่วคราว (RAM)
RM ชุดรีเลย -
27 ROM หนวยความจําชนิดอานอยางเดียว หนวยความจําชนิดอานอยางเดียว (ROM)
RPM ความเร็วรอบเครื่องยนต ความเร็วรอบเครื่องยนต
28 SC ซุปเปอรชารจเจอร ซุปเปอรชารจเจอร
SCB ตัวระบายซุปเปอรชารจเจอร E-ABV
29 SFI การฉีดเชื้อเพลิงตามลําดับการฉีด
การฉีดเชื้อเพลิงดวยอิเล็กทรอนิกส (EFI), การฉีดเชื้อเพลิง
ตามลําดับ
SPL ตัวดักควัน -
30 SRI ไฟเตือนเขารับบริการ -
SRT การทดสอบความพรอมของระบบ -
31 ST เครื่องวิเคราะหปญหา -
TB เรือนลิ้นเรง เรือนลิ้นเรง
32
บทนํา − ศัพทเฉพาะ 01–39

การฉีดเชื้อเพลิงจุดเดียว
TBI การฉีดเชื้อเพลิงที่เรือนลิ้นเรง
การฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงที่จุดกลาง (Ci) 1
TC เทอรโบชารจเจอร เทอรโบชารจเจอร
TCC คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร ทอรคคอนเวอรเตอร
TCM ชุดควบคุมระบบเกียร ECU ชุดเกียร, ECT ECU
2
TP ตําแหนงลิ้นเรง ตําแหนงลิ้นเรง
TR ชวงตําแหนงเกียร - 3
วาลวตัดตอสุญญากาศแบบไบเมทัลลิก (BVSV)
TVV วาลวสุญญากาศควบคุมดวยความรอน
วาลวตัดตอสุญญากาศแบบเทอรโมสเตติก (TVSV) 5
ตัวแปลงสภาพไอเสียแบบ 3 ทาง (TWC)
TWC ตัวแปลงสภาพไอเสียแบบ 3 ทาง ตัวแปลงสภาพไอเสียทอรวม
CCRO
10
TWC+OC ตัวแปลงสภาพไอเสียแบบรวม CCR + CCo
VAF ปริมาณการไหลของอากาศ มาตรวัดปริมาณอากาศ 11
VR ตัวควบคุมแรงดันไฟฟา ตัวควบคุมแรงดันไฟฟา
VSS เซ็นเซอรจับความเร็วรถ เซ็นเซอรจับความเร็วรถ 12
WOT ลิ้นเรงเปดกวาง ลิ้นเรงเปดสุด
WU-OC ตัวอุนตัวแปลงสภาพไอเสียแบบทําปฏิกิริยากับออกซิเจน - 13
WU-TWC ตัวอุนตัวแปลงสภาพไอเสียแบบ 3 ทาง -
3GR เกียร 3 -
4GR เกียร 4 - 14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
บทนํา − ขอแนะนําในการซอม 01–11

(ค) ชุดแปนแตร (รุนที่มีถุงลมนิรภัย)


(1) การถอดหรือเคลื่อนยายชุดแปนแตร ใหหงายดานที่กดแตรขึ้นดานบน ใหดูที่ภาพดานลาง 1
การวางแปนแตรโดยคว่าํ หนาลง อาจทําใหเกิดอันตรายรายแรงไดถา ถุงลมนิรภัยพองตัวออกโดยไมคาดคิด
ทั้งนี้รวมถึงหามวางสิ่งใดๆ ซอนบนแปนแตรดวย 2
(2) หามวัดคาความตานทานของชนวนถุงลม เพราะอาจทําใหถุงลมนิรภัยพองตัว และเกิดอันตรายได
(3) หามทาจาระบี หรือทําความสะอาดแปนพวงมาลัยดวยผงซักฟอกหรือสารทําความสะอาดใดๆ 3
(4) เก็บชุดแปนแตรในที่ซึ่งมีอุณหภูมิต่ํากวา 93oC (200oF) ความชื้นต่ําและหางไกลจากคลื่นไฟฟารบกวน
(5) เมื่อทําการเชื่อมดวยไฟฟา ใหปลดขั้วตอ ECU ของถุงลมนิรภัย (สลัก 4 อัน) ขั้วตอเหลานี้จะมีสปริงลัด 5
วงจร ซึ่งชวยปองกันถุงลมนิรภัยพองตัว เนื่องจากมีกระแสไฟฟาเขาไปยังวงจรชนวน
(6) กอนกําจัดซากรถหรือชุดแปนแตร ควรใชเครือ่ งมือพิเศษระเบิดถุงลมนิรภัยใหพองตัวออกเสียกอน (ดูหนา
10
60-15) โดยจะตองปฏิบัติงานในสถานที่ปลอดภัยหางไกลจากคลื่นไฟฟารบกวน
11
ตัวอยาง:
12
ถูก ผิด 13
14
D25096
15
BACK
16
17
19
หามใชโอหมมิเตอรวดั ถุงลมนิรภัย Z13950

26
(ง) ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
(1) หามนําชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยที่ผานการชนจนทําใหถุงลมนิรภัยพองตัวแลวกลับมาใชงานอีก 27
(2) การปลดหรือตอขั้วตอสายไฟของเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยนั้น ควรทําในขณะที่เซ็นเซอรยังยึดอยูกับพื้นรถ มิ
เชนนั้นอาจทําใหถุงลมนิรภัยพองตัวกะทันหันจนเปนอันตรายได 28
(3) ตองลงมือทํางานหลังจากบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF และปลดสายขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ออก
แลว 90 วินาที แมจะเปนเพียงการคลายโบลทยึดชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยก็ตาม 29
(จ) ชุดสายไฟและขั้วตอ
(1) ชุดสายไฟของระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) จะรวมอยูกับชุดสายไฟใตแผงหนาปด โดยขั้วตอทั้งหมด 30
ในระบบจะเปนสีเหลือง ถาชุดสายไฟ SRS หลุดหรือขั้วตอแตกเสียหายดวยกรณีใดๆ ก็ตาม ใหซอมหรือ
เปลี่ยนใหม 31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–1

ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)


1
ขอพึงระวัง
2
1. รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด 3
ตัวอยาง: รหัสการฉีดชดเชย
ของหัวฉีด (ก) แตละหัวฉีดจะมีคณ ุ สมบัตใิ นการฉีดเชือ้ เพลิงแตกตางกันทัง้ นี้
เพือ่ ใหการฉีดเชือ้ เพลิงมีประสิทธิภาพสูงสุด ECM จะทําหนาที่ 5
ชดเชยคาความแตกตางเหลานี้ เพือ่ ปรับระยะเวลาการฉีดเชือ้ เพลิง
ของแตละหัวฉีดไปตามรหัสการฉีดชดเชย รหัสการฉีดชดเชย 10
ของหัวฉีดจะมีลกั ษณะเฉพาะ พิมพคา เปนตัวเลขและตัวอักษร
A85701
30 ตัวลงตรงสวนหัวของหัวฉีดแตละหัว 11
(ข) เมื่อเปลี่ยนหัวฉีด จึงตองใสรหัสการฉีดชดเชยดังกลาวเขาไป
ใน ECM และเมื่อเปลี่ยน ECM ก็ตองใสรหัสการฉีดชดเชย 12
ของหัวฉีดที่มีอยูทุกรหัสเขาไปใน ECM ใหมดวย
(ค) ถาใสรหัสการฉีดชดเชยไมถูกตองเขาไปใน ECM อาจทําให 13
เครื่ อ งยนต มี เ สี ย งดั ง กรอกแกรกหรื อ เดิ น เบาไม เ รี ย บได
นอกจากนี้ อาจทําใหการทํางานของเครือ่ งยนตบกพรองและอายุ 14
งานของเครื่องยนตสั้นลงได
2. สตารทติดยาก, เครื่องยนตดับ หรือปลอยควันดํา 15
(ก) ตรวจเช็ความีรายละเอียดปญหาดังกลาวของลูกคาอธิบายไว
เมื่อเปนเชนนี้ ใหดูในสวนของการคนหาสาเหตุปญหาตาม
16
หนาที่ใหไว 17
(1) เครือ่ งยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ (ดูหนา 05-243)
(2) ปลอยควันดํา (ดูหนา 05-253) 19
26
27
28
29
30
31
32
05–2 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ตําแหนงชิ้นสวน
1
ชุด J/B แผงหนาปด
2 (J/B ดานคนขับ)
z ฟวส AM1
z ฟวส ECU-IG & GAUGE
3 z ฟวส STOP
z ฟวส IGN
5 z ฟวส MET
z ฟวส ST
ชุดควบคุมระบบเกียร (TCM)
10 ชุดมาตรวัดรวม
ECM

11 DLC3

12 ชุดกานแปนคันเรง
z เซ็นเซอรตําแหนง
แปนคันเรง
13
14
ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
15
16
17
19 EDU

26 J/B และ R/B หองเครื่องยนต


z รีเลยรวม (ชุด B: รีเลย EDU, รีเลย MAIN)
z รีเลย GLOW
27 z รีเลย ST
z ฟวสกระแสสูง ALT

28 z ฟวสกระแสสูง GLOW
z ฟวสกระแสสูง BATT P/I
z ฟวสกระแสสูง AM2
29 z ฟวส EFI
*: สําหรับเครื่องยนต 1KD-FTV เทานั้น
A98434

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–3

มาตรวัดปริมาณอากาศ (MAF) ชุดหัวเผา ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล


1
1KD-FTV
z เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
z มอเตอรควบคุมลิ้นเรง

เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
2
3
E-VRV สําหรับ EGR 5
หัวฉีด
VSV สําหรับตัดการทํางาน
ของ EGR
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศ 10
เครื่องยนต (ECT) เทอรโบดีเซล
แอ็คชิวเอเตอร ชุดคอมมอนเรล 11
z มอเตอร DC z ลิ้นจํากัดแรงดัน
z เซ็นเซอรตําแหนงแผนปรับมุม z ชุดเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 12
13
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
เทอรโบชารจเจอร 14
15
16
17
19

ชุดวาลว EGR 26
27
28
VSV สําหรับวาลวควบคุม
การหมุนเวียนอากาศ 29
ปมจายเชื้อเพลิง
z วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง 30
z เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง

A99227 31
32
05–4 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

2KD-FTV (มีตัวระบายความรอนของการประจุอากาศ (CAC)) ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล


1 เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา ชุดหัวเผา z เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
(IAT) z มอเตอรควบคุมลิ้นเรง
2
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
3
5 หัวฉีด
E-VRV สําหรับ EGR
10 เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศ
เครื่องยนต (ECT) เทอรโบดีเซล
11
ชุดคอมมอนเรล
z ลิ้นจํากัดแรงดัน
12 เทอรโบชารจเจอร
z ชุดเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง

13
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
14
15
16
17
19
26 เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR

27
28
29
ปมจายเชื้อเพลิง
30 z วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
z เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
31 A99242

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–5

2KD-FTV (ไมมีตัวระบายความรอนของการประจุอากาศ (CAC))


เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณ ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 1
เซ็นเซอรอุณหภูมิ z เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
อากาศเขา (IAT) ท อรวมไอดี
z มอเตอรควบคุมลิ้นเรง 2
3
เทอรโบชารจเจอร 5
E-VRV สําหรับ EGR
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น
เครื่องยนต (ECT)
10
หัวฉีด
11
ชุดหัวเผา
12
ชุดคอมมอนเรล

เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
z ลิ้นจํากัดแรงดัน
13
z ชุดเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง

เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว 14
15
16
17
19
เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR
26
27
28
29
ปมจายเชื้อเพลิง
z วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง 30
z เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง

A99243 31
32
05–6 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

คําอธิบายระบบ
1 1. ระบบควบคุมเครื่องยนต
2 วงจรระบบ
ถังน้ํามันเชื้อเพลิง
3
วาลวควบคุม
5 ปมจายเชื้อเพลิง การดูดเชื้อเพลิง
เซ็นเซอรตําแหนง
10 แปนคันเรง
อัลเทอรเนเตอร

11 สัญญาณสวิตชจุดระเบิด
ลิน้ จํากัดแรงดัน
สัญญาณมอเตอรสตารท
สัญญาณความเร็วรถ คอมมอนเรล
12 DLC3 ECM
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
สัญญาณอื่นๆ รีเลย EDU
13 EDU
ตัวระบายความรอนของการประจุอากาศ*3
(INJF) เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล*3
มาตรวัดปริมาณอากาศ*1
14 (ติดตั้งในเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา) เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณ
ทอรวมไอดี
15 เซ็นเซอร IAT*2
เรือนลิ้นเรงดีเซล
E-VRV สําหรับ EGR
16
เซ็นเซอรตําแหนง
17 ตัวขับมอเตอร
EGR*2
ชุดวาลว EGR
เทอรโบ*1 VSV สําหรับตัดการ
19 หัวฉีด ทํางานของ EGR *1

หัวเผา
26
แอ็คชิวเอเตอร*1 เซ็นเซอร ECT VSV สําหรับวาลว ปม
z มอเตอร DC
27 z เซ็นเซอรตําแหนงแผนปรับมุม
ควบคุมการหมุน สุญญากาศ
เวียนอากาศ
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
28 เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง รีเลย GLOW

29
*1
: 1KD-FTV
30 *2
*3
: 2KD-FTV
: 1KD-FTV, 2KD-FTV (มีตัวระบายความรอนของการประจุอากาศ (CAC)) A99229

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–7

2. วงจรไฟฟา ECM
วงจรไฟฟา (1KD-FTV)
1
หัวฉีด #1
2
รีเลยรวม
รีเลย MAIN หัวฉีด #4
3

หัวฉีด #2
5
ไฟเบรก
สวิตชไฟเบรก
หัวฉีด #3
10
11

มาตรวัดรวม 12
ไปที่ +B
หัวเผา รีเลยรวม ของ ECM
รีเลย EDU 13
14
E-VRV สําหรับ EGR 15
สวิตช PNP เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว 16
สวิตชจุด
ระเบิด
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง 17
รีเลย ST
ECU เตือนกันขโมย เซ็นเซอรตําแหนง
19
แปนคันเรง
26
27
*1
: มีระบบกันขโมย
*2
: ไมมีระบบกันขโมย 28
แบตเตอรี่ *3
: ซิงเกิลแคปเกียรธรรมดา
*4
: ไมใชซิลเกิลแคปเกียรธรรมดาและ
*5
ไมมีระบบกันขโมย 29
: เกียรอัตโนมัติ G34651
*6
: เกียรธรรมดา
30
31
32
05–8 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ไปที่ +B ไปที่ +B
1 ของ ECM มาตรวัดปริมาณอากาศ ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล ของ ECM

2 มอเตอรควบคุมลิ้นเรง

3
5 VSV สําหรับตัดการทํางานของ EGR
เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง

10
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
11
ตัวขับมอเตอรเทอรโบ เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณ
12 เซ็นเซอรตําแหนงแผนปรับมุม
ทอรวมไอดี

13
14 มอเตอร DC
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
15
16
17 เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
จาก
19 แบตเตอรี่ เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น (ECT)
26 วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–9

1
ECM
2
รีเลย GLOW
GLOW Relay SPD มาตรวัดรวม Meter
Combination 3

GREL
CAN+ CAN+ 5
TCM
CAN- CAN-
GLOW 10
หัวเผาPlug
Glow IMI EFIO
Transponder 11
IMO EFII ECU
KeyกุECU
ญแจรหัส
E1
EMO EOM

จากแบตเตอรี
From Bat ่
12
tery
13
14
15

G34653
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–10 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 วงจรไฟฟา (2KD-FTV)
หัวฉีด #1
2 รีเลยรวม
รีเลย MAIN หัวฉีด #4
3
5 ไฟเบรก หัวฉีด #2

สวิตชไฟเบรก
10 หัวฉีด #3

11
มาตรวัดรวม
12 หัวเผา
ไปที่ +B
รีเลยรวม ของ ECM
รีเลย EDU
13
14
*1
E-VRV สําหรับ EGR
15
สวิตช PNP เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
16 สวิตชจุด
ระเบิด
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
17 รีเลย ST

19 ECU เตือนกันขโมย เซ็นเซอรตําแหนง


แปนคันเรง
26
27 *1
: มีระบบกันขโมย
*2
: ไมมีระบบกันขโมย
28 แบตเตอรี่ *3: ซิงเกิลแคปและดับเบิ้ลแคปเกียรธรรมดา
2KD-FTV (ไมมี CAC)
*4
: ไมใชซิงเกิลแคปหรือดับเบิ้ลแคป
29 เกียรธรรมดา 2KD-FTV (ไมมี CAC)
*5
*6
: เกียรอัตโนมัติ
: เกียรธรรมดา
และไมมีระบบกันขโมย G34651

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–11

ไปที่ +B
ของ ECM 1
ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล
มาตรวัดรวม มอเตอรควบคุมลิ้นเรง 2
3
เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง 5
ECU กุญแจรหัส 10
11
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอ รวมไอดี
รีเลย GLOW
12
13
เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR
14
หัวเผา
15
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
16

เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
17

จาก เซ็นเซอร IAT


19
แบตเตอรี่
วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง เซ็นเซอร ECT 26
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล 27
28
*3
: มีตัวระบายความรอนของการประจุอากาศ (CAC) 29
30
31
32
05–12 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

3. คําอธิบายระบบคอมมอนเรล
1 (ก) ระบบคอมมอนเรล:
ระบบคอมมอนเรลใชเชื้อเพลิงแรงดันสูงเพื่อใหเครื่องยนตมีกําลังแรงและประหยัดเชื้อเพลิงไดดียิ่งขึ้น โดยไมเกิดเสียง
2 รบกวนและการสั่นสะเทือนของเครื่องยนต
ระบบนี้กักเก็บเชื้อเพลิงซึ่งถูกทําใหมีแรงดันสูงและจายโดยปมเชื้อเพลิงไวในคอมมอนเรล การกักเก็บเชื้อเพลิงขณะ
3 แรงดันสูง ทําใหระบบคอมมอนเรลสามารถใหเชื้อเพลิงที่แรงดันการฉีดเชื้อเพลิงคงที่โดยไมตองคํานึงถึงความเร็วรอบ
หรือภาระของเครื่องยนต
5 ECM ใช EDU ใหกระแสไฟฟาใหกับโซลินอยดวาลวในหัวฉีด เพื่อควบคุมจังหวะการฉีดเชื้อเพลิงและปริมาตรการฉีด
ทัง้ ยังใชเซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิงคอยควบคุมแรงดันเชือ้ เพลิงภายในทอคอมมอนเรล ECM จึงทําใหปม เชือ้ เพลิงจายน้าํ มัน
10 เชื้อเพลิงที่จําเปนตอการไดรับแรงดันเชื้อเพลิงเปาหมายได
ระบบนี้ยังใชวาลว 2 ทาง (TWV) ภายในหัวฉีดเพื่อเปดและปดชองทางเชื้อเพลิง ดวยเหตุนี้ ECM จึงสามารถควบคุมทั้ง
11
จังหวะการฉีดและปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงไดอยางแมนยํา
12 ระบบคอมมอนเรลจัดการฉีดเชื้อเพลิงเปน 2 ครั้งเพื่อลดความรุนแรงในการจุดระเบิด โดยระบบจะทําการ “ฉีดนํารอง”
เปนการฉีดยอยกอนที่ทําการฉีดจริงซึ่งชวยลดการสะเทือนของเครื่องยนตและเสียงรบกวนลงได
13 วงจรระบบคอมมอนเรล (ระบบเชื้อเพลิง)
: บริเวณที่มีแรงดันสูง
14
เซ็นเซอร
15 ECM EDU

16 คอมมอนเรล
ลิ้นจํากัดแรงดัน
17
19 เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง

26
27
หัวฉีด
28 กรองน้ํามัน
เชื้อเพลิง
29 ชุดปมจายเชื้อเพลิง
ถังน้ํามันเชื้อเพลิง
30 วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–13

(ข) ชิ้นสวนประกอบของระบบคอมมอนเรล:
ชิ้นสวนประกอบ รายละเอียด 1
คอมมอนเรล กักเก็บเชื้อเพลิงแรงดันสูงที่สรางจากปมจายเชื้อเพลิง
ปมจายเชื้อเพลิง ถูกขับจากเพลาขอเหวี่ยง ทําหนาที่จายเชื้อเพลิงแรงดันสูงไปยังคอมมอนเรล
หัวฉีด ฉีดเชื้อเพลิงเขาสูหองเผาไหมตามสัญญาณจาก ECM
2
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง คอยตรวจสอบแรงดันเชื้อเพลิงภายในทอคอมมอนเรลและสงสัญญาณไปยัง ECM
ลิ้นจํากัดแรงดัน เปดลิ้นจํากัดแรงดันเพื่อลดแรงดันภายในคอมมอนเรลเมื่อแรงดันคอมมอนเรลเกินระดับที่กําหนด 3
วาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิง ปรับปริมาณเชือ้ เพลิงทีจ่ า ยใหกบั คอมมอนเรลรวมทัง้ ควบคุมแรงดันเชือ้ เพลิงภายในตามสัญญาณจาก ECM
(ค) ตารางรหัสวิเคราะหปญหา (DTCS) สําหรับระบบคอมมอนเรล: 5
ขอแนะนํา:
ตารางนี้เปนการรวมรหัสวิเคราะหปญหาตัวอยางในแตละความผิดปกติที่เกิดขึ้น 10
( ): รหัสที่เปนไปได
รหัส A B C D E F G H I J K
P0087/49 (ดูหนา 05-71) z
11
P0088/78 (ดูหนา 05-79) (z) (z) (z)
P0093/78 (ดูหนา 05-85) (z) z z (z) z 12
P0190/49 (ดูหนา 05-71) z
P0192/49 (ดูหนา 05-71) z
13
P0193/49 (ดูหนา 05-71) z
P0200/97 (ดูหนา 05-137) z (z)
P0627/78 (ดูหนา 05-184) z 14
P1229/78 (ดูหนา 05-79) z z

บริเวณที่เกิดปญหา ความบกพรอง ดูที่


15
หัวฉีด วงจรหัวฉีดขาดหรือลัดวงจร A
หัวฉีด ติด (ไมเปด) B 16
หัวฉีด ติด (ไมปด) C
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
D 17
หรือสัญญาณเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงคงที่
ลิ้นจํากัดแรงดัน เปดคาง E
ลิ้นจํากัดแรงดัน ปดคาง F 19
วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง วงจรวาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิงขาดหรือลัดวงจร G
วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง เปดคาง H 26
วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง ปดคาง I
EDU
ระบบคอมมอนเรล (ระบบเชื้อเพลิง)
EDU เสีย
น้ํามันเชื้อเพลิงรั่วในบริเวณที่แรงดันเชื้อเพลิงสูง
J
K
27
(ง) คําอธิบายรหัสวิเคราะหปญหา (DTCS) สําหรับระบบคอมมอนเรล: 28
รหัส รายละเอียด
P0087/49 สัญญาณเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงไมเปลี่ยนแปลง
P0088/78 แรงดันเชื้อเพลิงภายในสูงเกินไป (200 เมกกะปาสคาล [2,039 กก./ซม.2, 29,007 ปอนด/นิ้ว2] หรือมากกวา) 29
P0093/78 น้ํามันเชื้อเพลิงรั่วในบริเวณที่แรงดันเชื้อเพลิงสูง
P0190/49 วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร (แรงดันไฟฟาออกสูงหรือต่ําเกินไป) 30
P0192/49 วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร (แรงดันไฟฟาออกต่ําเกินไป)
P0193/49
P0200/97
วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร (แรงดันไฟฟาออกสูงเกินไป)
การขาดหรือลัดวงจรใน EDU หรือวงจรหัวฉีด
31
P0627/78 วงจรวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P1229/78 จายเชื้อเพลิงมากเกินไป 32
05–14 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

4. คําอธิบายระบบควบคุมการฉีดเชื้อเพลิง
1 ECM ควบคุมระบบการฉีดเชื้อเพลิงโดยใชหัวฉีดและปมจายเชื้อเพลิง ECM จะกําหนดปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงและ
จังหวะการฉีดเชือ้ เพลิงโดยควบคุมทัง้ ระยะเวลาและจังหวะการทํางานของโซลินอยดวาลวในหัวฉีด ECM กําหนดแรงดัน
2 การฉีดเชื้อเพลิงโดยควบคุมวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงที่ติดตั้งในปมจายเชื้อเพลิง
ปมแรงดันต่ําจะใชในการปมเชื้อเพลิงจากถังน้ํามันเชื้อเพลิงไปยังปมจายเชื้อเพลิง
3
วงจรควบคุมการฉีดเชื้อเพลิง
5 เซ็นเซอรตําแหนง
แปนคันเรง โซลินอยดวาลว

10 EDU
TWV

เซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาลูกเบีย้ ว
11 คอมมอนเรล

12 เซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ ง ECM เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง รูนา้ํ มัน รูนา้ํ มัน


(สัญญาณ NE)

13 วาลวควบคุม วาลวกันกลับ หองควบคุม


การดูดเชือ้ เพลิง
14 พลันเจอร ลูกสูบ

เซ็นเซอรอนื่ ๆ
15 ปม แรงดันต่าํ

16 ลูกเบีย้ ว

เข็มหัวฉีด
17
ถังน้าํ มันเชือ้ เพลิง หัวฉีด
19
26 A81479

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–15

5. คําอธิบายระบบการทํางานของปมจายเชื้อเพลิง
ลูกเบี้ยวเยื้องศูนยหมุนทําใหลูกเบี้ยววงแหวนดันพลันเจอร A เลื่อนขึ้นขางบนดังในภาพดานลาง แรงดันสปริงจะดึง 1
พลันเจอร B (ติดตั้งอยูตรงขามพลันเจอร A) ใหเลื่อนขึ้น เปนผลใหพลันเจอร B ดูดน้ํามันเชื้อเพลิงเขามาขณะเดียวกัน
กับที่พลันเจอร A ปมจายน้ํามันเชื้อเพลิงออกไป 2
วงจรการทํางานของปมจายเชื้อเพลิง 3
วาลวกันกลับ

วาลวควบคุม
พลันเจอร A 5
การดูดเชือ้ เพลิง
ลูกเบี้ยวเยื้องศูนย 10
ไปที่คอมมอนเรล
11
ลูกเบี้ยววงแหวน
12
พลันเจอร B
จากปมแรงดันต่ํา พลันเจอร A: จบการปม พลันเจอร A: เริ่มการดูด
13
พลันเจอร B: จบการดูด พลันเจอร B: เริ่มการปม
14
15
16
17
19
26
พลันเจอร A: เริ่มการปม พลันเจอร A: จบการดูด
พลันเจอร B: เริ่มการดูด พลันเจอร B: จบการปม 27
A96633

28
29
30
31
32
05–16 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

6. คําอธิบายระบบการทํางานของวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
1 ขอแนะนํา:
ECM ควบคุมการทํางานของวาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิงเพือ่ กําหนดปริมาณเชือ้ เพลิงทีจ่ ะถูกปม จายไปยังคอมมอนเรล
2 โดยปม จายเชือ้ เพลิง การควบคุมนีก้ ระทําเพือ่ ปรับแรงดันเชือ้ เพลิงภายในของคอมมอนเรลใหไดแรงดันการฉีดเชือ้ เพลิง
ตามเปาหมาย
3 (ก) เปดวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงเล็กนอย:
(1) เมื่อวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงเปดเล็กนอย เสนทางดูดเชื้อเพลิงจะยังแคบอยู ดังนั้นปริมาณเชื้อเพลิงที่
5 ไหลผานไดจึงลดนอยลง
(2) เนือ่ งจากเสนทางแคบ ปริมาณการดูดเชือ้ เพลิงจึงนอยทัง้ ๆ ทีร่ ะยะชักพลันเจอรเต็มสูบ ความแตกตางระหวาง
10 ปริมาตรตามหลักเรขาคณิตกับปริมาณการดูดเชื้อเพลิงทําใหเกิดสุญญากาศ
(3) การปมจะเริ่มขึ้นในเวลาที่แรงดันเชื้อเพลิงสูงกวาแรงดันคอมมอนเรล
11
การทํางานของวาลวควบคุม พลันเจอร พลันเจอร
12 การดูดเชื้อเพลิงขณะเปด ศูนยตายบน ศูนยตายลาง จุดเริ่มตนปม
: ปริมาณการปมเชื้อเพลิง
เล็กนอย
จังหวะขึ้น-ลง
13 ของลูกเบี้ยว

14 วาลวควบคุม (1) (2) (3)

การดูดเชื้อเพลิง
15
เปดเล็กนอย
16 (1)
(2) (3)
A81483

17 (ข) เปดวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงกวาง:
(1) เมือ่ วาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิงเปดกวาง เสนทางการดูดเชือ้ เพลิงจะขยายออกกวาง ดังนัน้ ปริมาณเชือ้ เพลิง
19 ไหลผานไดจึงเพิ่มขึ้น
(2) เนื่องจากเสนทางกวางขึ้นนี้เอง หากระยะชักพลันเจอรเต็มสูบปริมาณการดูดเชื้อเพลิงก็จะมาก
26 (3) การปมจะเริ่มขึ้นในเวลาที่แรงดันเชื้อเพลิงสูงกวาแรงดันคอมมอนเรล
27 การทํางานของวาลวควบ : ปริมาณการปมเชือ้ เพลิง
คุมการดูดเชื้อเพลิงขณะ จุดเริ่มปม
เปดกวาง
28 จังหวะขึ้น-ลง
ของลูกเบี้ยว
29 วาลวควบคุม (1) (2) (3)

การดูดเชือ้ เพลิง
30
เปดมาก
31
(1)
(2) (3)

32 A81484
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–17

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ขอแนะนํา:
1
• ใชขั้นตอนตอไปนี้ในการวิเคราะหปญหาระบบ ECD
2
• ควรใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ในขั้นตอนที่ 3, 4, 5, 7 และ 10
เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II): 3
1 นํารถลูกคาเขาศูนยบริการ
5
ตอไป
10
2 วิเคราะหปญหาของลูกคา (ดูหนา 05-24)
11
ตอไป
12
3 ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 13
ขอแนะนํา:
หากหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหาแสดงวาการเชื่อมตอขอมูลลมเหลว ใหตรวจสอบขั้วตอ DLC3 14
ตอไป 15
4 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต (ดูหนา 05-51) 16
ขอแนะนํา: 17
จดบันทึกหรือพิมพรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนตเก็บไวถาจําเปน
ตอไป 19

5 ลบรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต (ดูหนา 05-51) 26

ตอไป 27
28
6 ทําการตรวจสอบดวยตาเปลา

ตอไป
29
30
7 เลือกการวิเคราะหปญหาในโหมดตรวจเช็ค (ดูหนา 05-53)
31
ตอไป
32
05–18 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 8 ตรวจยืนยันอาการปญหา
ขอแนะนํา:
2 ถาเครื่องยนตสตารทไมติด ใหปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 10 และ 12 กอน
ผลที่ได:
3 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
เกิดปญหา A
5 ไมเกิดปญหา B

10 B จําลองสภาพปญหา (ดูหนา 05-41)


A
11
12 9 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
ผลที่ได:
13 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสผิดปกติ A
14 ไมมีรหัส B

15 B ดูขั้นตอนที่ 11
A
16
17 10 ดูที่ตารางรหัสวิเคราะหปญหา (หนา 05-62)

19 ตอไป

26 ดูขั้นตอนที่ 13
27 11 ทําการตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26)

28 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ไมยืนยันชิ้นสวนบกพรอง A
29 ยืนยันชิ้นสวนบกพรอง B

30 B ดูขั้นตอนที่ 16

31 A

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–19

12 ดูที่ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-41) 1


ขอแนะนํา:
• เครื่องยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ (ดูหนา 05-243) 2
• ปลอยควันดํา (ดูหนา 05-253)
• เดินเบาไมเรียบหรือการสั่นสะเทือนของเครื่องยนต (1KD-FTV (ดูหนา 05-266), 3
2KD-FTV (ดูหนา 05-277))
• การน็อคของเครื่องยนตหรือเสียงดังกรอกแกรก (1KD-FTV (ดูหนา 05-288), 2KD-FTV (ดูหนา 05-300)) 5
• ไมมีกําลังหรือตอบสนองชา (1KD-FTV (ดูหนา 05-312), 2KD-FTV (ดูหนา 05-326))
ผลที่ได: 10
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ยืนยันวงจรบกพรอง A 11
ยืนยันชิ้นสวนบกพรอง B
B ดูขั้นตอนที่ 16 12
A
13
13 ตรวจเช็ควงจรแหลงจายไฟ ECM (ดูหนา 05-231) 14
ตอไป 15
14 ทําการตรวจสอบวงจร 16
ผลที่ได: 17
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ไมยืนยันความผิดปกติ A
ยืนยันความผิดปกติ B
19
B ดูขั้นตอนที่ 17 26
A 27
15 ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25) 28
ตอไป 29
ดูขั้นตอนที่ 17 30

16 ทําการตรวจสอบชิ้นสวน 31

ตอไป 32
05–20 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 17 ระบุปญหา

ตอไป
2
3 18 ปรับตั้งและ/หรือซอม

5 ตอไป

10 19 ทําการทดสอบยืนยัน

11 ตอไป

12 จบขั้นตอน
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–21

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 นํารถลูกคาเขาศูนยบริการ
2
ตอไป
3
2 วิเคราะหปญหาของลูกคา (ดูหนา 05-24)
5
ตอไป
10
3 ตรวจเช็คและลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51) 11
ตอไป 12
4 ตรวจยืนยันอาการปญหา 13
ผลที่ได: 14
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
เกิดปญหา A
15
ไมเกิดปญหา B

B จําลองสภาพปญหา (ดูหนา 05-41) 16


A 17
5 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51) 19
ผลที่ได: 26
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสผิดปกติ A
27
ไมมีรหัส B

B ดูขั้นตอนที่ 7 28
A 29
6 ดูที่ตารางรหัสวิเคราะหปญหา (หนา 05-62) 30
ตอไป 31
ดูขั้นตอนที่ 9 32
05–22 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 ทําการตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26)


ผลที่ได:
2 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ไมยืนยันความบกพรอง A
3 ยืนยันชิ้นสวนบกพรอง B

5 B ดูขั้นตอนที่ 12
A
10
11 8 ดูที่ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-41)
ขอแนะนํา:
12 • เครื่องยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ (ดูหนา 05-243)
• ปลอยควันดํา (ดูหนา 05-253)
13 • เดินเบาไมเรียบหรือการสั่นสะเทือนของเครื่องยนต (1KD-FTV (ดูหนา 05-266),
2KD-FTV (ดูหนา 05-277))
14 • การน็อคของเครื่องยนตหรือเสียงดังกรอกแกรก (1KD-FTV (ดูหนา 05-288), 2KD-FTV (ดูหนา 05-300))
• ไมมีกําลังหรือตอบสนองชา (1KD-FTV (ดูหนา 05-312), 2KD-FTV (ดูหนา 05-326))
15 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ยืนยันวงจรบกพรอง A
16 ยืนยันชิ้นสวนบกพรอง B

17 B ดูขั้นตอนที่ 12

19 A

26 9 ตรวจเช็ควงจรแหลงจายไฟ ECM (ดูหนา 05-231)

27 ตอไป

28 10 ทําการตรวจสอบวงจร
29 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
30 ไมยืนยันความผิดปกติ A
ยืนยันความผิดปกติ B
31
B ดูขั้นตอนที่ 13
32 A
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–23

11 ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25) 1


ตอไป
2
ดูขั้นตอนที่ 13 3
12 ทําการตรวจสอบชิ้นสวน 5
ตอไป 10

13 ระบุปญหา
11

ตอไป 12
13
14 ปรับตั้งและ/หรือซอม
14
ตอไป
15
15 ทําการทดสอบยืนยัน
16
ตอไป
17
จบขั้นตอน
19
26
27
28
29
30
31
32
05–24 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบ ECD ชือ่ ผูต รวจสอบ:
2 ชือ่ ผูข ับ หมายเลขประจํารถ

3 วันที่นํารถเขาซอม วันที่ผลิต
กม.
หมายเลขทะเบียน คามาตรบันทึกระยะทาง ไมล
5 … เครื่องยนต
… เครื่องยนตไมหมุน … ไมมีการเผาไหมเบื้องตน … เผาไหมไมสมบูรณ
ไมตดิ
10 … สตารทติดยาก
…
…
เครื่องยนตหมุนชา
อื่นๆ
… รอบเดินเบาเริ่มตนไมถูกตอง … รอบเดินเบาผิดปกติ … สูง ( รอบ/นาที) … ต่ํา ( รอบ/นาที)
เดินเบาไมดี
11
…
… เดินเบาไมเรียบ … อื่นๆ
อาการปญหา

… ตอบสนองชา … จุดระเบิดยอนกลับ … ระเบิดในหมอพักไอเสีย (หลังจุดระเบิด) … กระตุก


… ขับขี่ไมดี … เครื่องน็อค … อื่นๆ
12 … ทันทีหลังจากสตารท … หลังจากเหยียบคันเรง
… หลังจากถอนคันเรง … ระหวางการทํางานของเครื่องปรับอากาศ
… เครื่องยนตดับ
… เปลี่ยนเกียรจาก N ไป D … อื่นๆ
13
… อื่นๆ
14
วันที่เกิดปญหา

15 ความถี่ของปญหา …
…
คงที่
อื่นๆ
… บางครั้ง ( ครั้งตอ วัน/เดือน) … เพียงครั้งเดียว

สภาพอากาศ … แจมใส … เมฆมาก … ฝนตก … หิมะตก … หลากหลาย/อื่นๆ


16 … รอน … อุน … เย็น … หนาว
อุณหภูมิภายนอก
ประมาณ °C ( °F)
สภาวะเมื่อเกิดปญหา

…
17 สถานที่ … ทางหลวง … ชนบท … ในเมือง … ขึ้นเขา … ลงเขา
… ถนนขรุขระ … อื่นๆ

19 อุณหภูมิเครื่องยนต … หนาว
… ขณะสตารท
… ขณะอุนเครื่อง … อุนเครื่องแลว
… แคหลังจากสตารท ( นาที)
อุณหภูมิใดๆ
…
… เดินเบา
… อื่นๆ
… เรงเครื่อง
การทํางานของ
… ขณะขับขี่ … ความเร็วคงที่ … เรงความเร็ว … ลดความเร็ว
เครื่องยนต
26 … สวิตช A/C ON/OFF … อื่นๆ

สถานะของไฟเตือน ติดคาง ติดขึ้นบางครั้ง ไมตดิ ขึ้น


27 …

… ปกติ
…

… รหัสผิดปกติ (รหัส
…

)
โหมดปกติ ขอมูลบันทึกสภาพเครื่องยนต ( )
การตรวจสอบรหัส …
28 วิเคราะหปญหา
โหมดตรวจเช็ค
… ปกติ … รหัสผิดปกติ (รหัส )
… ขอมูลบันทึกสภาพเครื่องยนต ( )

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–25

ตรวจหาปญหาที่เกิดขึ้นเปนชวงๆ
ขอแนะนํา:
1
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
2
ตรวจสอบ ECM ของรถโดยใชโหมดตรวจเช็ค ปญหาที่เกิดเปนชวงๆ จะตรวจพบไดงายกวาเมื่อ ECM อยูในโหมด
ตรวจเช็คดวยเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ในโหมดตรวจเช็ค ECM จะใชการตรวจจับปญหาครั้งเดียวซึ่งมีความไวตอ 3
ความผิดปกติตางๆ สูงกวาในโหมดปกติ (ไมมี) ซึ่งใชการตรวจจับปญหา 2 ครั้ง
(ก) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51) 5
(ข) เปลี่ยน ECM จากโหมดปกติไปยังโหมดตรวจเช็คโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ดูหนา 05-53)
(ค) ทําการจําลองสภาพปญหา (ดูหนา 01-22) 10
(ง) ตรวจเช็คขั้วตอและขั้วสายไฟ (ดูหนา 01-17)
(จ) ขยับชุดสายไฟและขั้วตอตางๆ (ดูหนา 01-17) 11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–26 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

การตรวจสอบเบื้องตน
1 เมื่อไมอาจยืนยันความผิดปกติไดจากการตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (DTC) การคนหาสาเหตุปญหาจึงควรทํากับทุก
วงจรที่อาจจะเปนสาเหตุของปญหา อยางไรก็ตาม กรณีสวนใหญพบวา เมื่อทําการตรวจเช็คเครื่องยนตเบื้องตนตาม
2 ลําดับขั้นตอนตอไปนี้ จะสามารถตรวจพบบริเวณที่เปนสาเหตุของปญหาไดอยางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ใหทําการ
ตรวจเช็คนี้กอนเปนอันดับแรกเสมอเมื่อคนหาสาเหตุปญหา
3 1 ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
5 ขอควรระวัง:
ทําการตรวจเช็คแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ขณะที่ดับเครื่องและสวิตชจุดระเบิด OFF
10 คามาตรฐาน:
ปกติ บกพรอง
11 แรงดันไฟฟา 11 V หรือสูงกวา ต่ํากวา 11 V
บกพรอง ชารจหรือเปลี่ยนแบตเตอรี่
12
ปกติ
13
2 ตรวจเช็ควาเครื่องหมุน
14
บกพรอง ดูตามตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-41)
15 ปกติ
16 3 ตรวจเช็คกรองอากาศ
17 (ก) ตรวจดูวากรองอากาศไมเปนคราบหรือสกปรกมากจนเกินไป
บกพรอง ทําความสะอาดหรือเปลี่ยน
19
ปกติ
26
4 ตรวจเช็คคุณภาพเชื้อเพลิง
27 (ก) ตรวจเช็ควาใชแตเชื้อเพลิงดีเซลเทานั้น
28 (ข) ตรวจเช็ควาน้ํามันเชื้อเพลิงไมมีสิ่งเจือปน
บกพรอง เปลี่ยนน้ํามันเชื้อเพลิง
29 ปกติ
30 5 ตรวจเช็คฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
31
บกพรอง ไลฟองอากาศออกจากน้าํ มันเชือ้ เพลิง (ดูหนา 11-7)
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–27

6 ตรวจเช็คทอน้ํามันและทอทางเชื้อเพลิง 1
(ก) ตรวจเช็ควาทอน้ํามันและทอทางเชื้อเพลิงไมอุดตัน ชํารุด ถูกปลดออก หรือคดงอ
2
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ 3
7 ตรวจเช็คการอุดตันของกรองเชื้อเพลิง 5
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 10
ปกติ
11
8 ตรวจเช็คน้ํามันเครื่อง (ดูหนา 17-1 )
12
บกพรอง เติมหรือเปลี่ยน
13
ปกติ
14
9 ตรวจเช็คน้ําหลอเย็นเครื่องยนต (ดูหนา 16-1)
15
บกพรอง เติมหรือเปลีย่ นน้าํ หลอเย็นเครือ่ งยนต (ดูหนา 16-3)
ปกติ 16
10 ตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบาและความเร็วสูงสุด (ดูหนา 14-1) 17
บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23) 19
ปกติ
26
11 ตรวจเช็ควงจรวิเคราะหปญหา
27
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
28
ปกติ
29
12 ตรวจเช็คปมสุญญากาศ
30
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนปมสุญญากาศ
ปกติ 31
ดูตามตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-41) 32
05–28 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

การอานขอมูลลงทะเบียน
1 ขอควรระวัง:
2 • เมื่อเปลี่ยนหัวฉีด จะตองใสรหัสการฉีดชดเชยดังกลาวเขาไปใน ECM และเมื่อเปลี่ยน ECM ก็ตองใสรหัสการ
ฉีดชดเชยของหัวฉีดที่มีอยูทุกรหัสเขาไปใน ECM ใหมดวย
3 • รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดจะมีลกั ษณะเฉพาะ พิมพคา เปนตัวเลขและตัวอักษร 30 ตัวลงตรงสวนหัวของหัวฉีด
แตละหัว ถาใสรหัสการฉีดชดเชยไมถกู ตองเขาไปใน ECM อาจทําใหเครือ่ งยนตมเี สียงดังกรอกแกรกหรือเดินเบา
5 ไมเรียบได นอกจากนี้ อาจทําใหการทํางานของเครื่องยนตบกพรองและอายุงานของเครื่องยนตสั้นลงได
1. หลังจากเปลี่ยนหัวฉีดใหม ใหใ สรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดดังกลาวเขาไปใน ECM ดังนี้:
10 (ก) ใสรหัสการฉีดชดเชยที่ประทับอยูตรงสวนหัวของหัวฉีดใหมเขาเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ข) ใสรหัสการฉีดชดเชยใหมนี้ลงใน ECM โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-33)
11 (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด OFF แลวปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) คอยอยางนอย 30 วินาที
12 (จ) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ฉ) ลบรหัส P1601/89 ที่เก็บบันทึกอยูใน ECM โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ดูหนา 05-51)
13 2. เมื่อเปลี่ยน ECM ใหม ใหใสรหัสการฉีดชดเชยของทุกหัวฉีดลงใน ECM ดังนี้:
(ก) กอนจะเปลี่ยน ECM ใหใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) อานและบันทึกรหัสการฉีดชดเชยของแตละหัวฉีดไว
14 รหัสตางๆ จะถูกเก็บบันทึกอยูใน ECM ตัวเดิมนั้น (ดูหนา 05-33)
(ข) หลังจากติดตั้ง ECM ตัวใหมแลว ใหใสรหัสการฉีดชดเชยลงใน ECM ใหมนั้นโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (ดู
15 หนา 05-33)
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด OFF แลวปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
16 (ง) คอยอยางนอย 30 วินาที
17 (จ) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ฉ) ลบรหัส P1601/89 ที่เก็บบันทึกอยูใน ECM โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ดูหนา 05-51)
19 ขอแนะนํา:
• แตละหัวฉีดจะมีคุณสมบัติในการฉีดเชื้อเพลิงแตกตางกัน การฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหไดประโยชนสูงสุด ECM จะ
26 ใชรหัสการฉีดชดเชยทําใหเกิดสมดุลในการฉีดเชื้อเพลิงที่แตกตางกันระหวางแตละหัวฉีด
• เมื่อทานบิดสวิตชจุดระเบิด ON เปนครั้งแรกหลังจากเปลี่ยน ECM หรือหัวฉีดแลวรหัส P1601/89 เริ่มปรากฏ
27 จะเปนการแจงใหทราบวาทานตองลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด หลังจากเสร็จสิน้ การลงทะเบียนรหัส
การฉีดชดเชย ใหลบรหัสวิเคราะหปญหาดังกลาวออก
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–29

วิธีการอานและบันทึกรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 1


(ปฏิบัติกอนจะเปลี่ยน ECM)
2
เริ่ม
3

เลือกฟงกชั่น
5
10
เลือกหมายเลขสูบ
11
อาน 12
13
แสดงรหัสการฉีดชดเชยที่จะถูกบันทึก อานไมได 14

ถารหัสการฉีดชดเชยบันทึกอยู
15
ถารหัสการฉีดชดเชยไมไดเก็บอยู
ในเครื่องวิเคราะหปญหา ในเครื่องวิเคราะหปญหา
16
ยืนยันการบันทึกรหัส ยืนยันการบันทึกทับรหัส
17
19
บันทึก
26
27
ตัวเลือก : ทําการอาน/บันทึกรหัสตอ
อานและบันทึกรหัส บันทึกไมได 28
การฉีดชดเชยอื่น จบการอานและการบันทึกรหัสการฉีดชดเชย
29
จบขั้นตอน
ดูตามขั้นตอนการลงทะเบียน (ดูหนา 05-33) 30
A93042 31
32
05–30 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขอแนะนํา:
1 การทํางานตอไปนีใ้ ชไดกบั ECM ซึง่ สามารถสงผานรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดทีล่ งทะเบียนแลวไปยังเครือ่ งวิเคราะห
ปญหา (IT II) ได
2
3 ตัวอยาง: รหัสการฉีดชดเชย
3. อานและบันทึกรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
ของหัวฉีด (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
5 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
10 ขอควรระวัง:
อยาสตารทเครื่องยนต
11 ขอแนะนํา:
A85701

รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดจะผนึกอยูต รงสวนหัวของแตละหัวฉีด
12 (ง) ปอนตัวเลือกเมนูในคําสัง่ : Enter / Powertrain / Engine / Utility
/ Injector Compensation
13 (จ) กด Next
14
15
16
17
G36522

19
(ฉ) กด Next ซ้ําอีกครั้งใหทํางาน
26
27
28
29
30
G36523

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–31

(ช) เลือก Read Compensation Code (อานรหัสการฉีดชดเชย)


(ซ) กด Next 1
2
3
5
10
G36524
11
(ฌ) เลือกหมายเลขสูบใหตรงกับรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่
ตองการจะอาน 12
(ญ) กด Next
ขอแนะนํา: 13
กระบวนการอานอาจลมเหลวเนื่องจากปญหาในสวนของชุดสายไฟ
หรือตอขั้วตอ DLC3 ไมถูกตอง ใหตรวจเช็คชุดสายไฟและการตอ 14
ขั้วตอ DLC3 ถาไมพบปญหาอยางใดอยางหนึ่งเลย แสดงวา ECM
อาจทํางานบกพรอง ตรวจเช็ค ECM แลวเริ่มทํางานใหมอีกครั้ง 15
16
G36525
17
(ฎ) ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (แทนคาดวยตัวเลขและ
ตัวอักษร 30 หลัก) ปรากฏขึ้นที่หนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา 19
(IT II)
(ฏ) กด Save 26
27
28
29
G36526
30
31
32
05–32 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

(ฐ) กรณีที่ไมมีรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดสําหรับสูบนั้นๆ อยู


1 ในเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
(1) ตรวจเช็ ควารหัสการฉีดชดเชยที่ปรากฏบนหนาจอ
2 เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) นั้นถูกตอง
(2) กด Save (ดําเนินการตามขั้นตอน (ฒ))
3 ขอแนะนํา:
กระบวนการบันทึกอาจลมเหลวเนือ่ งจากปญหาในสวนของชุดสายไฟ
5 หรือตอขั้วตอ DLC3 ไมถูกตอง ใหตรวจเช็คชุดสายไฟและการตอ
ขั้วตอ DLC3 ถาไมพบปญหาอยางใดอยางหนึ่งเลย แสดงวา ECM
10 อาจทํางานบกพรอง ตรวจเช็ค ECM แลวเริ่มทํางานใหมอีกครั้ง
11 A96470

(ฑ) ถามีรหัสการฉีดชดเชยของอีกหัวฉีดหนึง่ อยูใ นเครือ่ งวิเคราะห


12 ปญหา (IT II):
(1) ตรวจเช็คว ารหั สการฉีดชดเชยที่ปรากฏบนหนาจอ
13 เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) นั้นถูกตอง
ขอแนะนํา:
14 รหัสการฉีดชดเชยที่มีอยูจะถูกรหัสการฉีดชดเชยใหมบันทึกทับ
และลบออกจากเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
15 (2) กด Replace
ขอแนะนํา:
16 กระบวนการบันทึกอาจลมเหลวเนือ่ งจากปญหาในสวนของชุดสายไฟ
หรือตอขั้วตอ DLC3 ไมถูกตอง ใหตรวจเช็คชุดสายไฟและการตอ
17 A93040

ขั้วตอ DLC3 ถาไมพบปญหาอยางใดอยางหนึ่งเลย แสดงวา ECM


อาจทํางานบกพรอง ตรวจเช็ค ECM แลวเริ่มทํางานใหมอีกครั้ง
19
(ฒ) ถ า ต อ งการอ า นและบั น ทึ ก รหั ส การฉี ด ชดเชยของหั ว ฉี ด
26 สําหรับสูบอื่นๆ อีก ใหกด Next และเมื่อจะจบการทํางาน ให
กด Cancel
27
28
29
30
31 G36526

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–33

การลงทะเบียน
ขอควรระวัง:
1
• เมื่อเปลี่ยนหัวฉีด จะตองใสรหัสการฉีดชดเชยดังกลาวเขาไปใน ECM และเมื่อเปลี่ยน ECM ก็ตองใสรหัสการ
2
ฉีดชดเชยของหัวฉีดที่มีอยูทุกรหัสเขาไปใน ECM ใหมดวย
• รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดจะมีลกั ษณะเฉพาะ พิมพคา เปนตัวเลขและตัวอักษร 30 ตัวลงตรงสวนหัวของหัวฉีด 3
แตละหัว ถาใสรหัสการฉีดชดเชยไมถกู ตองเขาไปใน ECM อาจทําใหเครือ่ งยนตมเี สียงดังกรอกแกรกหรือเดินเบาไม
เรียบได นอกจากนี้ อาจทําใหการทํางานของเครื่องยนตบกพรองและอายุงานของเครื่องยนตสั้นลงได 5
1. เมื่อเปลี่ยน ECM ใหม ใหใสรหัสการฉีดชดเชยของทุกหัวฉีดลงใน ECM ดังนี้: 10
(ก) กอนจะเปลี่ยน ECM ใหใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) อานและบันทึกรหัสการฉีดชดเชยของแตละหัวฉีดไว
รหัสตางๆ จะถูกเก็บบันทึกอยูใน ECM ตัวเดิมนั้น (ดูหนา 05-28) 11
(ข) หลังจากติดตั้ง ECM ตัวใหมแลว ใหใสรหัสการฉีดชดเชยลงใน ECM ใหมนั้นโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (ดู
หนา 05-28) 12
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด OFF แลวปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) คอยอยางนอย 30 วินาที 13
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ฉ) ลบรหัส P1601/89 ที่เก็บบันทึกอยูใน ECM โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ดูหนา 05-51) 14
ขอแนะนํา:
• แตละหัวฉีดจะมีคุณสมบัติในการฉีดเชื้อเพลิงแตกตางกัน การฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหไดประโยชนสูงสุด ECM จะ 15
ใชรหัสการฉีดชดเชยทําใหเกิดสมดุลในการฉีดเชื้อเพลิงที่แตกตางกันระหวางแตละหัวฉีด
• เมื่อทานบิดสวิตชจุดระเบิด ON เปนครั้งแรกหลังจากเปลี่ยน ECM หรือหัวฉีดแลวรหัส P1601/89 เริ่มปรากฏ 16
จะเปนการแจงใหทราบวาทานตองลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด หลังจากเสร็จสิน้ การลงทะเบียนรหัส
การฉีดชดเชย ใหลบรหัสวิเคราะหปญหาดังกลาวออก 17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–34 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 วิธีการลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)


(ปฏิบัติกอนเปลี่ยนหัวฉีด)
2 *1
: เมื่อลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชย โดยใสขอมูลเอง
(การเปลี่ยนหัวฉีด ฯลฯ)
3 เริ่มตน
*2
: เมื่อลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยที่เก็บบันทึกอยู
ในเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เรียบรอยแลว
5
เลือกฟงกชั่น
10
11 เลือกหมายเลขสูบ

12
ตัวเลือก: เลือกใสขอมูล*1 หรือเปดขอมูล*2
13
14 เลือกใสขอมูล เลือกเปดขอมูล

แกไขรหัสการการฉีดชดเชย
15 ใสรหัสการฉีดชดเชย
ที่บันทึกไว

16 ปกติ ผิดปกติ

17 แกไขไมได
กลับไปที่ “ตัวเลือก” และเลือก “ใสขอมูล”
19 ยืนยันรหัสการฉีดชดเชย
เนื่องจากรหัสการฉีดชดเชยไมไดเก็บบันทึก
อยูในเครื่องวิเคราะหปญหา
26
ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชย ลงทะเบียนไมได
27
28 ตัวเลือก: ลงทะเบียนตอ
ลงทะเบียนตอ
สําหรับสูบอื่นๆ จบการลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชย
29 จบขั้นตอน
30
31 A93043

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–35

ตัวอยาง: 2. ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชย
รหัสการฉีดชดเชย
ของหัวฉีด (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 1
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
ขอควรระวัง:
อยาสตารทเครื่องยนต 3
ขอแนะนํา:
A85701

รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดจะผนึกอยูต รงสวนหัวของแตละหัวฉีด 5
(ง) ปอนตัวเลือกเมนูในคําสัง่ : Enter / Powertrain / Engine / Utility 10
/ Injector Compensation
(จ) กด Next 11
12
13
14
15
G36522

(ฉ) กด Next ซ้ําอีกครั้งใหทํางาน 16


17
19
26
27
28
G36523

29
30
31
32
05–36 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

(ช) เลือก Set Compensation Code (ใสรหัสการฉีดชดเชย)


1 (ซ) กด Next

2
3
5
10
11 G36528

(ฌ) เลือกหมายเลขสูบใหตรงกับรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่
12 ตองการจะอาน
(ญ) กด Next
13
14
15
16
17 G36525

(ฎ) กรณีติดตั้งหัวฉีดตั้งแต 1 หัวฉีดขึ้นไป (รหัสการฉีดชดเชย


19 สําหรับสูบทีเ่ ลือกนัน้ ไมมอี ยูใ นเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II)):
(1) กด Input
26
27
28
29
30 G36529

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–37

(2) ใสรหัสการฉีดชดเชยของสูบนัน้ ๆ เองโดยใชแปนพิมพ


ที่หนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) รหัสการฉีดชด 1
เชยจะพิมพเปนคาตัวเลขและตัวอักษร 30 ตัวที่อยูบน
สวนหัวของหัวฉีด 2
ขอแนะนํา:
รหัสการฉีดชดเชยของแตละหัวฉีดจะมีลักษณะเฉพาะ ตองใสรหัส 3
การฉีดชดเชยทีถ่ กู ตองของแตละสูบทีเ่ ลือกจากเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา
(3) ตรวจเช็ควารหัสการฉีดชดเชยถูกตองสําหรับสูบทีเ่ ลือก 5
แลวกด OK (ปฏิบัติตามขั้นตอน (ฐ))
10
A96465
11
(ฏ) กรณีติดตั้ง ECM ใหมแลว (และรหัสการฉีดชดเชยของทุก
หัวฉีดไดถูกบันทึกไวในเครื่องวิเคราะหปญหา IT II): 12
(1) กด Open
13
14
15
16
G36529
17
(2) กด Open อีกครัง้ เพือ่ แกไขรหัสการฉีดชดเชยทีบ่ นั ทึกไว
ขอแนะนํา: 19
ถากระบวนการแกไขลมเหลว ตัวเลือกอีกทางหนึ่งคือใสขอมูลเอง
ดวยเครือ่ งวิเคราะหปญ หา (IT II) เปนดูที่ขั้นตอน (ฎ) 26
27
28
29
A93041
30
31
32
05–38 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

(ฐ) ตรวจเช็ควารหัสการฉีดชดเชยที่ปรากฏขึ้นบนหนาจอนั้นถูก
1 ตองโดยเปรียบเทียบกับคาตัวเลขและตัวอักษร 30 ตัวตรงสวน
หัวของหัวฉีด
2 ขอควรระวัง:
ถาใสรหัสการฉีดชดเชยไมถกู ตองเขาไปใน ECM อาจทําใหเครือ่ งยนต
3 มีเสียงดังกรอกแกรกหรือเดินเบาไมเรียบได นอกจากนี้ อาจทําให
การทํางานของเครื่องยนตบกพรองและอายุงานของเครื่องยนตสั้น
5 ลงได
ขอแนะนํา:
10 ถาใสหรืออานรหัสการฉีดชดเชยผิด ใหกลับไปทีห่ นาจอปอนคาโดย
กด Input กระบวนการบันทึกอาจลมเหลวเนือ่ งจากปญหาในสวนของ
11 G36531

ชุดสายไฟ หรือตอขั้วตอ DLC3 ไมถูกตอง ใหตรวจเช็คชุดสายไฟ


12 และการตอขัว้ ตอ DLC3 ถาไมพบปญหาอยางใดอยางหนึง่ เลย แสดง
วา ECM อาจทํางานบกพรอง ตรวจเช็ค ECM แลวจึงทํางานซ้ําใหม
13 (ฑ) กด Next เพื่อใสรหัสการฉีดชดเชยเขา ECM
ขอแนะนํา:
14 • ถากระบวนการใสรหัสลมเหลว อาจเพราะรหัสการฉีดชดเชย
ไมถูกตอง ใหตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยอีกครั้ง
15 • ถารหัสการฉีดชดเชยทีพ่ ยายามใสนนั้ ถูกตอง อาจมาจากปญหา
เกีย่ วกับสายไฟหรือการตอขัว้ ตอ DLC3 เปนสาเหตุใหลม เหลว
16 ใหตรวจเช็คชุดสายไฟและการตอขัว้ ตอ DLC3 ถาไมพบปญหา
อยางใดอยางหนึ่งเลย แสดงวา ECM อาจทํางานบกพรอง
17 ตรวจเช็ค ECM แลวเริ่มทํางานใหมอีกครั้ง

19
(ฒ) ถาตองการลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยตัวอืน่ ๆ ตอไป ใหกด
26 Next เมื่อจะจบการลงทะเบียน ใหกด Cancel
(ณ) ปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) แลวจึงบิดสวิตชจุดระเบิด
27 OFF
(ด) คอยอยางนอย 30 วินาที
28 (ต) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
29 (ถ) ลบรหัส P1601/89 ที่เก็บบันทึกอยูใน ECM โดยใชเครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) (ดูหนา 05-51)
30
31 G36532

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–39

การตั้งคาเริ่มตน
ขอแนะนํา: 1
หลังจากเปลี่ยนปมจายเชื้อเพลิงและ / หรือ ECM
• ถาเครือ่ งยนตเสียหรือดับทันทีหลังจากสตารท จําเปนตองตัง้ คาเริม่ ตนคาความจําตางๆ ของ ECM ใหม การตัง้ คาเริม่ 2
ตนใหกบั เครือ่ งยนตนนั้ สามารถทําไดผา นทางเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) หรือโดยการลัดวงจรขัว้ ของขัว้ ตอ DLC3
• ถาเครื่องยนตสตารทไดตามปกติ การตั้งคาเริ่มตนก็ไมจําเปน, ทําตามขั้นตอน (ฌ) และ (ญ) เทานั้น 3
ขั้นตอนการตั้งคาเริ่มตน
เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II): 5
1. การตั้งคาเริ่มตนปมจายเชื้อเพลิง
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 10
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 11
ขอควรระวัง:
อยาสตารทเครื่องยนต 12
(ง) เขาเมนูรายการดังนี้: Enter / Powertrain / Engine / Utility
A99237 (ซ) กด Next 13
(ฉ) กด Next
14
15
16
A99238
17
(ช) กด Exit
(ซ) สตารทเครือ่ งยนตเพือ่ ตรวจเช็ควาการตัง้ คาเริม่ ตนเสร็จสมบูรณ 19
ถาไมสามารถสตารทเครื่องยนตได ใหปฏิบัติขั้นตอนการตั้งคาเริ่ม
ตนซ้ําตั้งแตเริ่มตน
(ฌ) เดินเบาเครื่องยนต 26
ขอควรระวัง:
อยาเรงเครื่องทันทีหลังจากสตารทเครื่องยนต 27
หลังจากเดินเบาแลวจึงเรงเครื่อง
A99239
(1) ติดเครือ่ งเดินเบาอยางนอย 1 นาที ภายใตสภาวะดังตอไปนี:้ 28
• อุณหภูมิน้ําหลอเย็น คือ 60°C (140°F) หรือสูงกวา
• อุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง คือ 20°C (68°F) หรือสูงกวา 29
ขอแนะนํา:
• สามารถประมาณคาอุณหภูมิน้ําหลอเย็นไดโดยสัมผัสอุณหภูมิของทอน้ําออกจากหมอน้ํา 30
• อุณหภูมิของน้ํามันเชื้อเพลิงสามารถประมาณคาไดโดยใชอุณหภูมิภายนอก
• ถาอุณหภูมนิ า้ํ และน้าํ มันเชือ้ เพลิงยากทีจ่ ะประมาณคาได ใหใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) และปอนเมนูรายการดังนี:้ 31
Power train / Engine / Data List / Coolant Temp
(ญ) การตั้งคาเริ่มตนเสร็จสมบูรณ 32
05–40 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
2 CG

3 1 2 3 4 5 6 7 8
ลัดวงจรขั้วของขั้วตอ DLC3
9 10 11 12 13 14 15 16

5 TC

10
บิดสวิตชจุดระเบิด ON
11
คอย 3 นาที
12
บิดสวิตชจุดระเบิด OFF
13
14 ปลดการตอขั้ว TC และ CG ออก

15 ไมได
สตารทเครื่องยนต
ได
16
เดินเบาเครื่องยนต
17 ขอควรระวัง:
อยาเรงเครื่องทันทีหลังจากสตารท หลังจากเดินเบาแลวจึงเรงเครื่อง
19
เดินเบาเครื่องยนตอยางนอย 1 นาที ภายใตสภาวะดังตอไปนี้:
26 ๐ ๐
z อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเทากับ 60 C (140 F) หรือสูงกวา
๐ ๐
z อุณหภูมิเชื้อเพลิงเทากับ 20 C (68 F) หรือสูงกวา
27 ขอแนะนํา:
z สามารถประมาณคาอุณหภูมิน้ําหลอเย็นไดโดยสัมผัสทอน้ําออกจากหมอน้ําอุณหภูมิประมาณ
60 ๐C (140 ๐F) ขึ้นไป
28 z สามารถประมาณคาอุณหภูมิเชื้อเพลิงไดโดยใชคาอุณหภูมิภายนอกแทน

29
การตั้งคาเริ่มตนเสร็จสมบูรณ G36459

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–41

ตารางสภาพปญหา
ใชตารางขางลางนีช้ ว ยในการกําหนดสาเหตุของปญหา ตนเหตุของอาการปญหาจะเรียงตามลําดับความเปนไปไดในชอง 1
“บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” ของตารางดังกลาว ใหตรวจเช็คทีละอาการปญหาโดยตรวจเช็คบริเวณที่คาดวาเปนปญหา
ตามลําดับรายการ ถาจําเปนใหเปลี่ยนชิ้นสวน 2
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. มอเตอรสตารท – 3
เครื่องยนตไมหมุน (สตารทไมติด) 2. รีเลย ST –
3. เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น (ECT) – 5
1. เครื่องยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ 05-243
2. วงจรสัญญาณมอเตอรสตารท 05-236
3. วงจรควบคุมการเผาหัว 05-225 10
4. หัวฉีด 11-5
5. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง 11-7 11
6. กําลังอัด 14-1

สตารทติดยากขณะเครื่องเย็น
7. ECM
8. ปมจายเชื้อเพลิง
10-17
11-23
12
9. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
10. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 10-11 13
11. EDU (รีเลย) 14-1
12. แบตเตอรี่เสื่อม – 14
13. ใชน้ํามันเชื้อเพลิงมีคาอ็อกเทนต่ํา –
14. น้ํามันเชื้อเพลิงจับตัวเปนกอน –
15. อากาศผสมเขาไปในทอเชื้อเพลิง – 15
1. เครื่องยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ 05-243
2. วงจรสัญญาณมอเตอรสตารท 05-236 16
3. หัวฉีด 11-5
4. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง
5. กําลังอัด
11-7
14-1
17
6. ECM 10-17
สตารทติดยากขณะเครื่องอุน
7. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23 19
8. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
9. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 10-11 26
10. EDU (รีเลย) 10-17
11. อากาศผสมเขาไปในทอเชื้อเพลิง –
12. แบตเตอรี่เสื่อม –
27
1. เครื่องยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ 05-243
2. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง 11-7 28
3. หัวฉีด 11-5
4. วงจรแหลงจายไฟ ECM 05-231 29
5. ECM 10-17
เครื่องยนตดับทันทีหลังจากสตารท
6. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23
7. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71 30
8. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 10-11
9. อากาศผสมเขาไปในทอเชื้อเพลิง – 31
10. ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนตทํางาน –
เครือ่ งยนตดบั (นอกเหนือจากสภาวะทีร่ ะบุไวดงั กลาว) เครื่องยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ 05-243
32
05–42 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา


1 1. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (1KD-FTV) 05-266
2. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (2KD-FTV) 05-277
3. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง 11-7
2 4. หัวฉีด 11-5
5. ECM 10-17
3 รอบเดินเบาเริ่มตนผิดปกติ (เดินเบาไมดี) 6. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23
7. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
5 8. มาตรวัดปริมาณอากาศเสีย (1KD-FTV)
9. ใชซีเทนนัมเบอรต่ํา


10.วงจรสัญญาณของเครื่องปรับอากาศไปที่ ECM ขาด รวมทั้งวงจร
10 สัญญาณของอัลเทอรเนเตอรไปที่ ECM ก็ขาด
1. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (1KD-FTV) 05-266
11 2. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (2KD-FTV) 05-277
3. วงจรสัญญาณ A/C –
4. หัวฉีด 11-5
12 5. วงจรสัญญาณมอเตอรสตารท 05-225
รอบเดินเบาสูง (เดินเบาไมดี)
6. ECM 10-17
13 7. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23
8. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
14 9. วงจรเซ็นเซอรความเร็วขาดวงจร 05-173
10. แปนคันเรง 05-202
1. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (1KD-FTV) 05-266
15 2. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (2KD-FTV) 05-277
3. วงจรสัญญาณ A/C –
16 4. หัวฉีด 11-5
5. ระบบ EGR 05-213
6. กําลังอัด 14-1
17 รอบเดินเบาต่ํา (เดินเบาไมดี) 7. ระยะหางวาลว 14-5
8. ทอทางเชื้อเพลิง (ไลลม) –
19 9. ECM 10-17
10. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23
26 11. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
12. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 10-11
13. มาตรวัดปริมาณอากาศเสีย (1KD-FTV) –
27 1. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (1KD-FTV) 05-266
เดินเบาไมเรียบ (เดินเบาไมดี)
2. เดินเบาไมเรียบหรือเครือ่ งยนตสนั่ สะเทือนมากเกินไป (2KD-FTV) 05-277
28 1. หัวฉีด 11-5
2. วงจรแหลงจายไฟ ECM 05-231
29 3. กําลังอัด
4. ทอทางเชื้อเพลิง (ไลลม)
14-1

กระตุกขณะเครื่องรอน (เดินเบาไมดี) 5. ระยะหางวาลว 14-5
30 6. ECM 10-17
7. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23
31 8. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
9. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 10-11
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–43

อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา


1. หัวฉีด 11-5 1
2. วงจรแหลงจายไฟ ECM 05-231
3. กําลังอัด 14-1
4. ทอทางเชื้อเพลิง (ไลลม) – 2
กระตุกขณะเครื่องเย็น (เดินเบาไมดี) 5. ระยะหางวาลว 14-5
6. ECM 10-17 3
7. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23
8. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
9. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล
05-71
10-11
5
1. ไมมีกําลังหรือสะดุด (1KD-FTV) 05-312
2. ไมมีกําลังหรือสะดุด (2KD-FTV) 05-326 10
3. หัวฉีด 11-5
4. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง 11-7 11
5. ระบบ EGR 12-7
6. กําลังอัด 14-1
การตอบสนองไมดี/อัตราเรงไมดี (การขับขี่ไมดี)
7. ECM 10-17
12
8. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23
9. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71 13
10. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 10-11
11. แปนคันเรง 05-199 14
12. ระบบเทอรโบชารจเจอร –
1. เครื่องยนตน็อคหรือเสียงดังกรอกแกรก (1KD-FTV) 05-288
เครื่องน็อค (การขับขี่ไมดี)
2. เครื่องยนตน็อคหรือเสียงดังกรอกแกรก (2KD-FTV) 05-300 15
1. ปลอยควันดํา 05-253
ปลอยควันดํา (การขับขี่ไมดี)
2. ระบบ EGR 05-253 16
3. หัวฉีด 11-5
4. เขมาสะสมในระบบไอเสีย – 17
1. ระบบ EGR 12-7
2. หัวฉีด 11-5
3. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง 11-7 19
4. ECM 10-17
ปลอยควันขาว (การขับขี่ไมดี) 5. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23 26
6. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
7. ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล 10-11
8. วงจรควบคุมการเผาหัว 05-225 27
9. น้ํามันเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํา –
1. หัวฉีด 11-5 28
2. ECM 10-17
3. ปมจายเชื้อเพลิง 11-23 29
เครื่องสั่น/ กระตุก (การขับขี่ไมดี) 4. เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 05-71
5. ระบบอัดอากาศ (แผนเวนเทอรโบเคลื่อนที่ผิดปกติ)
(1KD-FTV) – 30
6. ระบบอัดอากาศ (วาลวระบายไอเสีย) (2KD-FTV) –
31
32
05–44 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขั้วตางๆ ของ ECM


1
E8 E7 E6 E5
2
3
5
10 A66714

11 ขแรงดั
อแนะนํา:
นไฟฟามาตรฐานของขั้ว ECM แตละขั้วจะปรากฏอยูในตารางดานลาง
ขั้นแรกใหปฏิบัติตามรายละเอียดในชอง “สภาวะ” และคนหาขั้วที่จะตรวจสอบในชอง “สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว)”
12 แรงดันไฟฟามาตรฐานระหวางขั้วตางๆ จะแสดงอยูในชอง “เงื่อนไขที่กําหนด”
ใชภาพดานบนในการอางอิงถึงขั้วตางๆ ของ ECM
13 สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ (สําหรับวัดแรงดัน
14 BATT (E6-2) - E1 (E7-7) L - BR ไฟฟาแบตเตอรีแ่ ละสําหรับ
หนวยความจํา ECM)
ทุกสภาวะ 9 ถึง 14 V

IGSW (E5-9) - E1 (E7-7) B-O - BR สวิตชจุดระเบิด สวิตชจุดระเบิด ON 9 ถึง 14 V


15 +B (E5-1) - E1 (E7-7) B - BR แหลงจายไฟของ ECM สวิตชจุดระเบิด ON 9 ถึง 14 V
MREL (E5-8) - E1 (E7-7) W-G - BR รีเลย MAIN สวิตชจุดระเบิด ON 9 ถึง 14 V
10 วินาทีผานไปหลังจากสวิตช
16 MREL (E5-8) - E1 (E7-7) W-G - BR รีเลย MAIN
จุดระเบิด OFF
0 ถึง 1.5 V
แหลงจายไฟของเซ็นเซอร
VC (E8-18) - E2 (E8-28) R-W - BR สวิตชจุดระเบิด ON 4.5 ถึง 5.5 V
17 (แรงดันไฟฟาที่กําหนด)
เซ็นเซอรตําแหนงแปน
VPA (E5-22) - EPA (E5-28) W-L - BR-W คันเรง (สําหรับการควบคุม สวิตชจดุ ระเบิด ON, ปลอยคันเรงสุด 0.6 ถึง 1.0 V
19 เครื่องยนต)
เซ็นเซอรตําแหนงแปน
26 VPA (E5-22) - EPA (E5-28) W-L - BR-W คันเรง (สําหรับการควบคุม
เครื่องยนต)
สวิตชจดุ ระเบิด ON, เหยียบคันเรงสุด 3.0 ถึง 4.6 V

เซ็นเซอรตาํ แหนงแปนคันเรง
27 VPA2 (E5-23) - EPA2 (E5-29) GR-G - BR-Y (สําหรับการตรวจจับความบก สวิตชจดุ ระเบิด ON, ปลอยคันเรงสุด 1.4 ถึง 1.8 V
พรองของเซ็นเซอร)
เซ็นเซอรตาํ แหนงแปนคันเรง
28 VPA2 (E5-23) - EPA2 (E5-29) GR-G - BR-Y (สําหรับการตรวจจับความบก สวิตชจดุ ระเบิด ON, เหยียบคันเรงสุด 3.7 ถึง 5.0 V
พรองของเซ็นเซอร)
29 VCPA (E5-26) - EPA (E5-28) LG-R - BR-W
แหลงจายไฟของเซ็นเซอร
ตําแหนงแปนคันเรง (สําหรับ สวิตชจุดระเบิด ON 4.5 ถึง 5.0 V
VPA)
30 แหลงจายไฟของเซ็นเซอร
VCP2 (E5-27) - EPA2 (E5-29) BR-R - BR-Y ตําแหนงแปนคันเรง (สําหรับ สวิตชจุดระเบิด ON 4.5 ถึง 5.0 V
VPA2)
31 เดินเบา, สวิตชเครื่องปรับอากาศอยูที่
VG (E7-24)*1 - EVG (E7-32)*1 W-R - B-W มาตรวัดปริมาณอากาศ*1 0.5 ถึง 3.4 V
OFF (ปดเครื่อง)
32 THA (E8-31) - E2 (E8-28)
Y-B - BR*1 เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศ เดินเบา, อุณหภูมิอากาศเขาอยูที่
0.5 ถึง 3.4 V
Y-G - BR*2 (IAT) 20 °C (68 °F)
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–45

สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด


เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศ
THIA*3 (E8-20) - E2 (E8-28) Y-G - BR
เทอรโบดีเซล*3
อุณหภูมิอากาศ 0.5 ถึง 3.4 V 1
เซ็นเซอรอุหณหภูมิน้ําหลอ เดินเบา, อุณหภูมิน้ําหลอเย็น
THW (E8-19) - E2 (E8-28) R-L - BR 0.2 ถึง 1.0 V
เย็น (ECT) เครื่องยนตอยูที่ 80 °C (176 °F) 2
B-Y - BR*4
STA (E5-7) - E1 (E7-7) สัญญาณมอเตอรสตารท เครื่องหมุน 6.0 V หรือสูงกวา
L-Y - BR*5
#1 (E8-24) - E1 (E7-7) B-W - BR 3
#2 (E8-23) - E1 (E7-7) R - BR สัญญาณพัลส
หัวฉีด เดินเบา
#3 (E8-22) - E1 (E7-7)
#4 (E8-21) - E1 (E7-7)
V - BR
Y-R - BR
(ดูคลื่นสัญญาณ 3) 5
เซ็นเซอรตําแหนงเพลา สัญญาณพัลส
G+ (E7-23) - G- (E7-31) Y-L เดินเบา
ลูกเบี้ยว (ดูคลื่นสัญญาณ 5) 10
เซ็นเซอรตําแหนงเพลา สัญญาณพัลส
NE+ (E8-27) - NE- (E8-34) Y-L เดินเบา
ขอเหวี่ยง (ดูคลื่นสัญญาณ 5)
STP (E6-15) - E1 (E7-7) G-W - BR สวิตชไฟเบรก สวิตชจุดระเบิด ON, เหยียบเบรก 7.5 ถึง 14 V 11
STP (E6-15) - E1 (E7-7) G-W - BR สวิตชไฟเบรก สวิตชจุดระเบิด ON, ปลอยเบรก 0 ถึง 1.5 V
ST1- (E6-14) - E1 (E7-7) R-L - BR
สวิตชไฟเบรก
สวิตชจุดระเบิด ON, เหยียบเบรก 0 ถึง 1.5 V 12
(ตรงขามกับ STP)
สวิตชไฟเบรก
ST1- (E6-14) - E1 (E7-7) R-L - BR
(ตรงขามกับ STP)
สวิตชจุดระเบิด ON, ปลอยเบรก 7.5 ถึง 14 V 13
TC (E5-11) - E1 (E7-7) P-B - BR ขั้ว TC ของขั้วตอ DLC3 สวิตชจุดระเบิด ON 9 ถึง 14 V
W (E5-12) - E1 (E7-7)
W (E5-12) - E1 (E7-7)
R-B - BR
R-B - BR
MIL
MIL
MIL ติดสวาง
MIL ไมติดสวาง
0 ถึง 3 V
9 ถึง 14 V
14
สัญญาณความเร็วจาก สวิตชจุดระเบิด ON, หมุน สัญญาณพัลส
SPD (E6-17) - E1 (E7-7) V-R - BR
มาตรวัดรวม พวงมาลัยชาๆ (ดูคลื่นสัญญาณ 7) 15
ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT ll)
SIL (E5-18) - E1 (E7-7) R-Y - BR ขั้ว SIL ของขั้วตอ DLC3 สัญญาณพัลส
เขากับขั้วตอ DLC3
จายแรงดันขณะเทอรโบไมทํางาน
16
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณ
PIM (E7-28) - E2 (E8-28) L-B - BR 40 กิโลปาสคาล (300 มม.ปรอท, 1.3 ถึง 1.9 V
ทอรวมไอดี
11.8 นิว้ ปรอท) 17
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณ
PIM (E7-28) - E2 (E8-28) L-B - BR เทากันกับแรงดันบรรยากาศ 2.4 ถึง 3.1 V
ทอรวมไอดี
จายแรงดันขณะเทอรโบทํางาน 19
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณ
PIM (E7-28) - E2 (E8-28) L-B - BR 170 กิโลปาสคาล (1,275 มม.ปรอท, 3.7 ถึง 4.3 V
ทอรวมไอดี
IREL (E5-10) - E1 (E7-7) B-W - BR รีเลย EDU
50.2 นิ้วปรอท)
สวิตชจุดระเบิด OFF 9 ถึง 14 V
26
IREL (E5-10) - E1 (E7-7) B-W - BR รีเลย EDU เดินเบา 0 ถึง 1.5 V
TACH (E5-4) - E1 (E7-7) B-W - BR ความเร็วรอบเครื่องยนต เดินเบา สัญญาณพัลส 27
เซ็นเซอรแรงดันคอมมอนเรล
PCR1 (E8-26) - E2 (E8-28) R-Y - BR เดินเบา 1.3 ถึง 1.8 V
GREL (E5-15) - E1 (E7-7) R - BR
(หลัก)
รีเลย GLOW เครื่องหมุน 9 ถึง 14 V
28
GREL (E5-15) - E1 (E7-7) R - BR รีเลย GLOW เดินเบา 0 ถึง 1.5 V
THF (E8-29) - E2 (E8-28) G-B - BR
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามัน
สวิตชจุดระเบิด ON 0.5 ถึง 3.4 V
29
เชื้อเพลิง
ALT (E8-8) - E1 (E7-7) G - BR duty ratio ของอัลเทอรเนเตอร เดินเบา สัญญาณพัลส
วาลวควบคุมการดูด สัญญาณพัลส
30
PCV+ (E8-2) - PCV- (E8-1) G-W - G-Y เดินเบา
เชื้อเพลิง (ดูคลื่นสัญญาณ 2)
INJF (E8-25) - E1 (E7-7) P - BR EDU เดินเบา
สัญญาณพัลส 31
(ดูคลื่นสัญญาณ 4)
สัญญาณพัลส
VNTO (E8-10)*1 - E1 (E7-7) B-O - BR ตัวขับมอเตอรเทอรโบ*1 เดินเบา
(ดูคลื่นสัญญาณ 6) 32
05–46 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด


1 VNTI (E8-17)*1 - E1 (E7-7) R-B - BR ตัวขับมอเตอรเทอรโบ*1 เดินเบา
สัญญาณพัลส
(ดูคลื่นสัญญาณ 6)
VLU (E7-29) - E2 (E8-28) B - BR เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง สวิตชจุดระเบิด ON, ลิ้นเรงเปดสุด 3.6 ถึง 4.2 V
2 VLU (E7-29) - E2 (E8-28) B - BR เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง สวิตชจุดระเบิด ON, ลิ้นเรงปดสุด 0.4 ถึง 1.0 V
สัญญาณดิวตี้ (duty) ของ สัญญาณพัลส
LUSL (E7-4) – E1 (E7-7) GR - BR อุนเครื่องยนต, เรงเครื่องยนต
ลิ้นเรงดีเซล (ดูคลื่นสัญญาณ 8)
3 EGLS (E7-33)*2 - E2 (E8-28) L-Y - BR เซ็นเซอรตาํ แหนงวาลว EGR*2 สวิตชจุดระเบิด ON 0.3 ถึง 1.3 V
สัญญาณพัลส
EGR (E7-9) - E1 (E7-7) L-R - BR E-VRV สําหรับ EGR สวิตชจุดระเบิด ON
5 (ดูคลื่นสัญญาณ 1)
VSV สําหรับตัดการทํางาน สวิตชจุดระเบิด ON, ตัดการทํางาน
EGRC (E7-18)*1 - E1 (E7-7) Y-B - BR 0 ถึง 3 V
ของ EGR*1 ของ EGR (เหยียบคันเรงสุด)
10 VSV สําหรับวาลวควบคุม
VSV สําหรับวาลวควบคุม
SCV (E8-15)*1 - E1 (E7-7) LG - BR การหมุนเวียนอากาศทํางาน (ON) 0 ถึง 3 V
การหมุนเวียนอากาศ*1
11 สายระบบการสื่อสาร
(3,000 รอบ/นาทีหรือนอยกวา)
สัญญาณพัลส
CAN+ (E6-22) - E1 (E7-7) V*4 - BR สวิตชจุดระเบิด ON
แบบ CAN (ดูคลื่นสัญญาณ 9)
12 CAN- (E6-21) - E1 (E7-7) P*4 - BR
สายระบบการสื่อสาร
สวิตชจุดระเบิด ON
สัญญาณพัลส
แบบ CAN (ดูคลื่นสัญญาณ 10)
13 ข*1อแนะนํา:
: 1KD-FTV
*2
14 : 2KD-FTV
*3
: 1KD-FTV, 2KD-FTV (มี CAC)
*4
: เกียรอัตโนมัติ
15 *5
: เกียรธรรมดา
16 คลื่นสัญญาณ 1
5V/ Di E-VRV สําหรับสัญญาณ EGR
vision
17 ชื่อขั้ว ECM ระหวาง EGR กับ E1
การตั้งคาเครื่องมือ 5 V/Division, 1 msec./Division
EGR
สภาวะ เดินเบาขณะอุนเครื่อง
19 GND
ขอแนะนํา:
26 คลื่นสัญญาณแตกตางกันขึ้นอยูกับวาลวควบคุมสุญญากาศไฟฟา
1 msec./ Division
สําหรับการทํางานของ EGR
A96634

27 คลื่นสัญญาณ 2
สัญญาณวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
28 ชื่อขั้ว ECM ระหวาง PCV+ กับ PCV-
10V/ Di การตั้งคาเครื่องมือ 10 V/Division, 5 msec./Division
29 PCV+ vision สภาวะ เดินเบาหรือสตารทขณะอุนเครื่อง
ขอแนะนํา:
30 5 msec./Division
คลื่นสัญญาณแตกตางกันขึ้นอยูกับการทํางานของวาลวควบคุมการ
A97624
ดูดเชื้อเพลิง
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–47

คลื่นสัญญาณ 3
(ก) สัญญาณการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีดเบอร 1 1
(a) #1 (ข) สัญญาณการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีดเบอร 2
(b) #3 5 V/ (ค) สัญญาณการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีดเบอร 3 2
Division
(ง) สัญญาณการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีดเบอร 4
(c) #4
(ก) ระหวาง #1 กับ E1 3
(d) #2
(ข) ระหวาง #3 กับ E1
ชื่อขั้ว ECM
20 msec./Division A09438
(ค) ระหวาง #4 กับ E1 5
(ง) ระหวาง #2 กับ E1
การตั้งคาเครื่องมือ 5 V/Division, 20 msec./Division 10
สภาวะ เดินเบาขณะอุนเครื่อง
ขอแนะนํา: 11
คลื่นสัญญาณแตกตางกันขึ้นอยูกับการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีด
คลื่นสัญญาณ 4 12
สัญญาณยืนยันการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีด
ชื่อขั้ว ECM ระหวาง INJF กับ E1
13
2 V/
INJF Division การตั้งคาเครื่องมือ 2 V/Division, 20 msec./Division
สภาวะ เดินเบาขณะอุนเครื่อง 14
ขอแนะนํา:
คลื่นสัญญาณแตกตางกันขึ้นอยูกับการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีด 15
20 msec./Division A09437

คลื่นสัญญาณ 5 16
(ก) สัญญาณเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
(a) NE (ข) สัญญาณเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว 17
5 V/
(ก) ระหวาง NE+ กับ NE-
Division
ชื่อขั้ว ECM
(ข) ระหวาง G+ กับ G-
19
(b) G
การตั้งคาเครื่องมือ 5 V/Division, 20 msec./Division
สภาวะ เดินเบาขณะอุนเครื่อง 26
20 msec./Division (เดินเบา)
ขอแนะนํา:
A98437

คลื่นสัญญาณแตกตางกันขึ้นอยูกับการหมุนของเครื่องยนต 27
คลื่นสัญญาณ 6 28
5 V/ สัญญาณตัวขับมอเตอรเทอรโบ
(a) Division
(ก) ระหวาง VNTO กับ E1 29
VNTO ชื่อขั้ว ECM
(32ms) (ข) ระหวาง VNTI กับ E1
(b)
การตั้งคาเครื่องมือ 5 V/Division, 20 msec./Division 30
VNTI สภาวะ เดินเบาขณะอุนเครื่อง
(128ms) ขอแนะนํา: 31
20 msec./Division (เดินเบา) A98436
คลืน่ สัญญาณแตกตางกันขึน้ อยูก บั การทํางานของเทอรโบชารจเจอร
32
05–48 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

คลื่นสัญญาณ 7
1 5 V/
Division สัญญาณความเร็วรถ
ชื่อขั้ว ECM ระหวาง SPD กับ E1
2 การตั้งคาเครื่องมือ 5 V/Division, 20 msec./Division
SPD GND สภาวะ ในขณะขับขี่
3 ขอแนะนํา:
ความยาวคลื่นจะสั้นลงเนื่องจากความเร็วรถเพิ่มขึ้น
5 20 msec./Division G37487

คลื่นสัญญาณ 8
10 สัญญาณลิ้นเรงดีเซล
ชื่อขั้ว ECM ระหวาง LUSL กับ E1
11 1 V/
Division
การตั้งคาเครื่องมือ 1 V/Division, 2 msec./Division
LUSL
สภาวะ อุนเครื่องยนตโดยเรงเครื่อง
12 ขอแนะนํา:
2 msec./Division
คลืน่ สัญญาณแตกตางกันขึน้ อยูก บั การทํางานของสัญญาณลิน้ เรงดีเซล
13
A91225

คลื่นสัญญาณ 9
14 1 V/DIV สัญญาณระบบการสื่อสารแบบ CAN
ชื่อขั้ว ECM ระหวาง CAN+ กับ E1
15 การตั้งคาเครื่องมือ 1 V/Division, 10 msec./Division
สภาวะ ดับเครื่องยนต, สวิตชจุดระเบิด ON
GND
16 ขอแนะนํา:
10 ms/DIV
G36660
คลืน่ สัญญาณแตกตางกันขึน้ อยูก บั สัญญาณระบบการสือ่ สารแบบ CAN
17
คลื่นสัญญาณ 10
19 1 V/DIV สัญญาณระบบการสื่อสารแบบ CAN
ชื่อขั้ว ECM ระหวาง CAN- กับ E1
26 การตั้งคาเครื่องมือ 1 V/Division, 10 msec./Division
สภาวะ ดับเครื่องยนต, สวิตชจุดระเบิด ON
GND

27 ขอแนะนํา:
10 ms/DIV
G36661
คลืน่ สัญญาณแตกตางกันขึน้ อยูก บั สัญญาณระบบการสือ่ สารแบบ CAN
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–49

ระบบวิเคราะหปญหา
1. คําอธิบายระบบ
1
เมื่อทําการคนหาสาเหตุปญหาของรถที่มีร ะบบ Multiplex OBD
2
(M-OBD) ตองตอเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) เขากับรถจึงจะสามารถ
อานผลขอมูลตางๆ จากชุดควบคุมเครื่องยนต (ECM) ของรถได 3
ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) ติดสวาง เมื่อ
คอมพิ ว เตอร ข องรถตรวจพบความผิ ด ปกติ ภ ายในหรื อ ในส ว น 5
ประกอบตางๆ ของระบบขับขี่ นอกจากนี้ ยังเก็บบันทึกรหัสวิเคราะห
ปญหาตางๆ (DTCs) ของความผิดปกติที่เกิดขึ้นดังกลาวไวในหนวย 10
ความจําของ ECM (ดูหนา 05-62)
ถาความผิดปกติดังกลาวไมเกิดขึ้นซ้ําอีก ไฟเตือน MIL จะยังติด 11
สวางอยูจนกระทั่งบิดสวิตชจุดระเบิด OFF แลวจะไมติดขึ้นอีกเมื่อ
A93827
บิดสวิตชจุดระเบิด ON แตรหัสวิเคราะหปญหายังคงถูกบันทึกไว 12
ในหนวยความจําของ ECM
13
ในการตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (DTCs) ใหตอเครื่องวิเคราะห
ปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 ของรถ หรือตอขั้ว TC กับ CG 14
ของขั้วตอ DLC3 (รหัสวิเคราะหปญหาตางๆ ก็จะปรากฏขึ้นใน
มาตรวัดรวม) 15
DLC3 16
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) A98433
17
2. โหมดปกติและโหมดตรวจเช็ค
ระบบวิเคราะหปญหาจะทํางานใน “โหมดปกติ” เมื่อรถอยูระหวางการใชงานโดยทั่วไป ในโหมดปกติจะใช “การตรวจ 19
จับปญหา 2 ครั้ง” เพื่อใหแนใจวาตรวจจับความผิดปกติตางๆ ไดอยางแมนยํา นอกจากนี้ ยังมี “โหมดตรวจเช็ค” ใหเปน
ทางเลือกแกชางเทคนิค ในโหมดตรวจเช็คจะใช “การตรวจจับปญหา 1 ครั้ง” เพื่อจําลองสภาพความผิดปกติและเพิ่ม 26
ความสามารถของระบบในการตรวจจับขอบกพรองตางๆ รวมทั้งความผิดปกติที่เกิดขึ้นเปนชวงๆ (ดูหนา 05-53)
3. การตรวจจับปญหา 2 ครั้ง 27
เมื่อตรวจจับความผิดปกติไดในครั้งแรก ความผิดปกติดังกลาวจะถูกบันทึกเก็บไวในหนวยความจําของ ECM ชั่วคราว
(ตรวจจับปญหาครั้งที่ 1) กรณีตรวจพบความผิดปกติเชนเดียวกันนี้ในเวลาตอมา ไฟเตือน MIL จะติดสวางขึ้น (การ 28
ตรวจจับปญหาครั้งที่ 2)
4. ขอมูลบันทึกสภาพเครื่องยนต (FREEZE FRAME DATA)
29
ขอมูลตางๆ เกี่ยวกับสภาพเครื่องยนต (เชน ระบบเชื้อเพลิง ภาระของเครื่องยนต อุณหภูมิน้ําหลอเย็น อัตราสวนผสม
30
เชื้อเพลิง/อากาศ ความเร็วรอบเครื่องยนต ความเร็วของรถ ฯลฯ) บันทึก ณ เวลาที่พบปญหา จึงเปนประโยชนในการคน
หาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอนหรือไม อัตราสวนผสมระหวางอากาศ-เชื้อ 31
เพลิงหนาหรือบาง ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
32
05–50 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

5. ตรวจเช็คขั้วตอ DLC3
1 CG SG SIL
ECM ของรถใชระบบการสื่อสารตามมาตรฐาน ISO 14230 (วิธีการ
สือ่ สารแบบ M-OBD) รูปแบบการจัดเรียงขัว้ สายไฟของขัว้ ตอ DLC3
2 นั้นเปนไปตามมาตรฐานของ ISO 15031-03 ซึ่งใชไดกับรูปแบบ
1 2 3 4 5 6 7 8
มาตรฐาน ISO 14230
3 9 10 1112 1314 1516

BAT
5 A82779

สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด


10 SIL (7) - SG (5) สาย Bus “+” ระหวางเขาเกียร สัญญาณพัลส
CG (4) - กราวดตัวถัง กราวดชวงลาง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
11 SG (5) - กราวดตัวถัง กราวดสัญญาณ คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
BAT (16) - กราวดตัวถัง ขั้วบวกแบตเตอรี่ คงที่ 9 ถึง 14 V
12 ขอแนะนํา:
ตอสายเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 บิดสวิตช
13 จุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON แลวดูที่หนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา
หากหนาจอแจงใหทราบวาเกิดการติดตอสื่อสารไมได แสดงวามี
14 ปญหาอยางใดอยางหนึ่งขึ้นกับตัวรถ หรือกับเครื่องวิเคราะหปญหา
(IT II)
15 • ถาตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคันอื่นแลวใชการได
16 ตามปกติ แสดงวาขั้วตอ DLC3 ของรถที่จะตรวจสอบนั้นมี
ปญหา
17 • ถ า ต อ เครื่ อ งวิ เ คราะห ป ญ หาเข า กั บ รถคั น อื่ น แล ว ยั ง ไม
สามารถสื่อสารกันได แสดงวาอาจมีปญหาที่ตัวเครื่อง ให
19 ปรึ ก ษาฝ า ยบริ ก ารตามที่ ร ะบุ ไ ว ใ นคู มื อ การใช ง านเครื่ อ ง
วิเคราะหปญหา
26 6. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่: 11 ถึง 14 V
27 ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ
7. ตรวจเช็คไฟเตือน MIL
28 (ก) ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) จะติดขึ้น
เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON โดยไมติดเครื่องยนต
29
ขอแนะนํา:
30 ถาไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) ไมติดขึ้น ให
ตรวจเช็ควงจรไฟเตือน MIL (ดูทวี่ งจรไฟเตือน MIL ในหนา 05-240)
31 A93827
(ข) เมื่อสตารทเครื่องยนต ไฟเตือน MIL ควรดับไป แตหากไฟ
เตือนยังติดสวางอยู แสดงวาระบบวิเคราะหปญหาตรวจพบ
32 ปญหาหรือความผิดปกติในระบบ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–51

การตรวจเช็ค/ลบรหัสวิเคราะหปญหา
ขอควรระวัง:
1
ใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เทานั้น:
2
เมือ่ เปลีย่ นระบบวิเคราะหปญ
 หาจากโหมดปกติไปยังโหมดตรวจเช็คหรือในทางกลับกัน รหัสวิเคราะหปญ  หาและขอมูล
บันทึกสภาพเครือ่ งยนตทงั้ หมดทีบ่ นั ทึกไวในโหมดปกติจะถูกลบออก ดังนัน้ กอนเปลีย่ นโหมด ใหตรวจเช็คและจดบันทึก 3
รหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนตไว
5
1. ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา
(IT II)) 10
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 11
DLC3
12
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
13
A98433

ตัวอยาง: (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC


(ง) ตรวจเช็คและจดบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพ 14
สงกําลัง เครื่องยนต
เครื่อง ECT
(จ) ตรวจยืนยันรายละเอียดของรหัสวิเคราะหปญ  หา (ดูหนา 05-60) 15
รหัสวิเคราะห
ปญหา 16
17
G37465

2. ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญ  หา (โดยไมใชเครือ่ งวิเคราะหปญ


 หา
CG
(IT II)) 19
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ข) ใชเครื่องมือพิเศษ ตอระหวางขั้ว 13 (TC) กับขั้ว 4 (CG) ของ 26
1 2 3 4 5 6 7 8
ขั้วตอ DLC3
9 10 1112 1314 1516
เครื่องมือพิเศษ 09843-18040 27
TC A82779

(ค) อานรหัสวิเคราะหปญ
 หาโดยการสังเกตไฟเตือน MIL ถาตรวจ 28
ไมพบรหัสวิเคราะหปญหา ไฟเตือน MIL จะกะพริบดังแสดง
0.25 วินาที
ในภาพ
29
ON
OFF 30
0.25 วินาที 31
A73556

32
05–52 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

0.5 วินาที 1.5 วินาที (ง) ตัวอยาง


1 4.5 วินาที 2.5 วินาที 4.5 วินาที (1) ตรวจพบรหัส 12 และ 31 และไฟเตือน MIL เริ่มแสดง
รหัสวิเคราะหปญ หาดังภาพซายมือ รูปแบบการกะพริบ
2 ON ไฟเตือน MIL ของรหัส 12 จะปรากฏขึ้นกอน
OFF
0.5 วินาที ซ้าํ (2) หยุดพัก 2.5 วินาที การหยุดพักนี้จะเกิดขึ้นระหวางการ
3 1 รอบ กะพริบไฟเตือน MIL ของแตละรหัส
เริ่ม (3) รูปแบบการกะพริบไฟเตือน MIL ของรหัส 31 จะ
5 BR3589

ปรากฏขึ้น
(4) หยุดพัก 4.5 วินาที การหยุดพักนี้จะเกิดขึ้นเมื่อกะพริบ
10 ไฟเตือน MIL ของเลขรหัสวิเคราะหปญหาตัวสุดทาย
(5) ไฟเตือน MIL จะแสดงรหัสวิเคราะหปญหาตางๆ ซ้ํา
11
อีกครั้ง
12 (จ) ตรวจเช็ครายละเอียดของปญหา โดยดูจากตารางรหัสวิเคราะห
ปญหาในหนา 05-62
13 (ฉ) หลังจากตรวจเช็คเสร็จ ใหปลดเครื่องมือพิเศษออกจากขั้ว 13
(TC) และ ขั้ว 4 (CG) แลวปดการแสดงผลบนหนาจอ
14 ขอแนะนํา:
ถาตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหาตั้งแต 2 รหัสขึ้นไป ไฟเตือน MIL
15 จะแสดงรหัสวิเคราะหปญหาที่มีคานอยกอนเปนอันดับแรก
(ช) ตรวจยืนยันรายละเอียดของรหัสวิเคราะหปญ  หา (ดูหนา 05-62)
16
3. ลบรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต (โดยใช
ตัวอยาง:
17 3
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II))
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
19 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON (โดยไมสตารทเครื่องยนต) และ
ลบ
P0113

เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)


26 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC / Clear
(ง) ลบรหัสทั้งหมดและขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยกด YES ที่
27 G37466

เครื่องวิเคราะหปญหา
28 J/B หองเครื่องยนต
4. ลบรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต (โดยไม
ใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II))
29 (ก) ปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้
(1) ปลดสายออกจากขั้วลบแบตเตอรี่ (-) นานกวา 1 นาที
30 (2) ถอดฟวส EFI ออกจาก J/B หองเครื่องยนตที่ติดตั้งอยู
ภายในหองเครื่องยนตนานกวา 1 นาทีขึ้นไป
31 ฟวส EFI A99789

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–53

ขั้นตอนการตรวจเช็ค
ขอแนะนํา:
1
ใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เทานั้น:
2
โหมดตรวจเช็คมีความไวในการตรวจจับปญหาสูงกวา และสามารถตรวจจับปญหาที่ในโหมดปกติไมสามารถทําได
นอกจากนี้ โหมดตรวจเช็คยังตรวจจับไดทุกปญหาที่โหมดปกติสามารถตรวจจับได 3
ในโหมดตรวจเช็ค ECM กําหนดใหรหัสวิเคราะหปญหาใชการตรวจจับปญหา 1 ครั้ง
ขอควรระวัง: 5
รหัสวิเคราะหปญ  หาทีเ่ ก็บบันทึกไวและขอมูลบันทึกสภาพเครือ่ งยนตทงั้ หมดจะถูกลบออกกรณีท:ี่ 1) เปลีย่ น ECM จาก
โหมดปกติไปยังโหมดตรวจเช็ค หรือในทางกลับกัน; หรือ 2) บิดสวิตชจดุ ระเบิดจากตําแหนง ON ไปที่ ACC หรือ OFF 10
ขณะอยูในโหมดตรวจเช็ค กอนจะเปลี่ยนโหมด ใหตรวจเช็คและจดบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่อง
ยนตไวทุกครั้ง 11
12
1. ขั้นตอนการตรวจเช็ค
(ก) ตรวจดูใหแนใจวารถอยูในสภาวะดังตอไปนี้:
13
(1) แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เทากับ 11 โวลท หรือสูงกวา 14
(2) ลิ้นเรงปดสุด
(3) คันเกียรอยูในตําแหนง N 15
DLC3
(4) ปดสวิตช A/C (OFF)
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) A98433
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 16
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 17
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Check Mode
0.13 วินาที (ฉ) ตรวจดูใหแนใจวาไฟเตือน MIL กะพริบดังแสดงในภาพ 19
(ช) สตารทเครื่องยนต (ไฟเตือน MIL ควรดับไป)
ON
(ซ) จําลองสภาพปญหาตามคําบอกเลาของลูกคา 26
(ฌ) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต
OFF โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 27
0.13 วินาที (ญ) หลังจากตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญ  หาแลว ใหตรวจสอบวงจร
A76900

ที่เกี่ยวของ (ดูหนา 05-62) 28


29
30
31
32
05–54 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ตารางรหัสปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe chart)


1 1. ตารางรหัสปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe chart)
ถามีรหัสวิเคราะหปญ หาใดๆ ตอไปนีป้ รากฏขึน้ ECM จะเขาสูโ หมดปองกันการทํางานบกพรองเพือ่ ใหรถขับตอไปไดชวั่ คราว
2 สภาวะที่ระบบ Fail-safe
รหัส ปญหาที่ตรวจพบ การทํางานของระบบ Fail-safe
ตรวจไมพบ
3 P0045/34*1
วงจรโซลินอยดควบคุมการอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/
เทอรโบ / ขาด จํากัดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-67)
5 [ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง]
P0087/49 แรงดันระบบ/รางน้ํามันเชื้อเพลิง - ต่ําเกินไป
จํากัดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-71) [ระบบเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงบกพรอง]
10 P0088/78 แรงดันระบบ/รางน้ํามันเชื้อเพลิง - สูงเกินไป
จํากัดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-79) [ระบบคอมมอนเรลบกพรอง]
11 P0093/78 ตรวจพบระบบเชื้อเพลิงรั่ว - รั่วมาก จํากัดกําลังเครื่องยนตประมาณ 1 นาที
สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-85) [เชื้อเพลิงรั่วในระบบคอมมอนเรล] แลวดับเครื่องยนต
12 P0095/23*2 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาตัวที่ 2
(05-90) [เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา (ขอตอไอดี)]
อุณหภูมิอากาศเขา (ทอรวมไอดี) คงที่ที่
คากําหนด
สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
P0097/23*2 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาตัวที่ 2 ต่ํา อุณหภูมิอากาศเขา (ทอรวมไอดี) คงที่ที่
13 (05-90) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศเขาต่าํ (ขอตอไอดี)] คากําหนด
สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
*2
P0098/23 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาตัวที่ 2 สูง อุณหภูมิอากาศเขา (ทอรวมไอดี) คงที่ที่
สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
14 (05-90) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศเขาสูง (ขอตอไอดี)] คากําหนด
P0100/31*1 วงจรปริมาณการไหลอากาศ
มุมการเปดวาลว EGR คงทีต่ ามคากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
15 (05-97) [มาตรวัดปริมาณอากาศ]
P0102/31*1 กระแสไฟฟาวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศต่าํ
มุมการเปดวาลว EGR คงทีต่ ามคากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-97) [กระแสไฟฟามาตรวัดปริมาณอากาศต่ํา]
16 P0103/31*1 กระแสไฟฟาวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศสูง
มุมการเปดวาลว EGR คงทีต่ ามคากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-97) [กระแสไฟฟามาตรวัดปริมาณอากาศสูง]
17 P0105/35 วงจรความกดอากาศ/แรงดันสัมบูรณทอ รวมไอดี
แรงดันเทอรโบคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-105) [เซ็นเซอรแรงดันอากาศเขา]
19 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศ/แรงดันสัมบูรณทอ
P0107/35
รวมไอดีต่ํา แรงดันเทอรโบคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-105)
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันอากาศเขาต่ํา]
26 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศ/แรงดันสัมบูรณทอ
P0108/35
รวมไอดีสูง แรงดันเทอรโบคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-105)
27 [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันอากาศเขาสูง]
P0110/24 วงจรอุณหภูมิอากาศเขา
อุณหภูมิอากาศเขาคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-111) [เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา]
28 P0112/24 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิอากาศเขาต่ํา
อุณหภูมิอากาศเขาคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-111) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาต่ํา]
29 P0113/24 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิอากาศเขาสูง
อุณหภูมิอากาศเขาคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-111) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาสูง]
30 P0115/22 วงจรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
สัญญาณออกเซ็นเซอรอุณหภูมิเชื้อเพลิง
คงที่ที่คากําหนด (คาคงที่แตกตางกันไป สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-118) [เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต]
ตามสภาวะตางๆ)
31 สัญญาณออกเซ็นเซอรอุณหภูมิเชื้อเพลิง
P0117/22 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนตต่ํา
คงที่ที่คากําหนด (คาคงที่แตกตางกันไป สภาวะทีต่ รวจพบ “Pass”
32 (05-118) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอณ
ุ หภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนตตา่ํ ]
ตามสภาวะตางๆ)
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–55

สภาวะที่ระบบ Fail-safe
รหัส ปญหาที่ตรวจพบ การทํางานของระบบ Fail-safe
ตรวจไมพบ 1
สัญญาณออกเซ็นเซอรอุณหภูมิเชื้อเพลิง
P0118/22 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนตสูง
คงที่ที่คากําหนด (คาคงที่แตกตางกันไป สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-118) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอณ ุ หภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนตสงู ]
ตามสภาวะตางๆ) 2
P0120/41 วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน/ลิ้นเรง “A” ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF 3
(05-124) [เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง]
P0122/41 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน/ลิ้นเรง
(05-124) “A” ต่ํา ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF 5
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงต่ํา]
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน/ลิ้นเรง
P0123/41
“A” สูง ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF 10
(05-124)
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงสูง]
P0168/39 อุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงสูงเกินไป
ลดกําลังเครื่องยนต สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
11
(05-129) [คาเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง]
P0180/39 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง “A”
อุณหภูมิเชื้อเพลิงคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass” 12
(05-130) [เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง]
P0182/39 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอณ ุ หภูมนิ า้ํ มันเชือ้ เพลิง “A” ต่าํ
(05-130) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิเชื้อเพลิงต่ํา]
อุณหภูมิเชื้อเพลิงคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass” 13
P0183/39 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอณ ุ หภูมนิ า้ํ มันเชือ้ เพลิง “A” สูง
อุณหภูมิเชื้อเพลิงคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-130) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมินา้ํ มันเชื้อเพลิงสูง] 14
P0190/49 วงจรเซ็นเซอรแรงดันรางน้ํามันเชื้อเพลิง
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-71) [เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง] 15
P0192/49 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรแรงดันรางน้ํามันเชื้อเพลิงต่ํา
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-71) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงต่ํา]
P0193/49 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรแรงดันรางน้ํามันเชื้อเพลิงสูง 16
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-71) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงสูง]
เมื่อวงจรหัวฉีดหนึ่งบกพรอง กําลัง 17
P0200/97 วงจรหัวฉีด/ขาด เครื่องยนตจะลดลง; แตเมื่อวงจรการ
สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-137) [ระบบ EDU ของหัวฉีดบกพรอง] จุดระเบิดตั้งแต 2 วงจรขึ้นไปบกพรอง 19
จะดับเครื่องยนต
P0234/34*1 สภาวะการอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/เทอรโบมากเกินไป
(05-145) [ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง]
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF 26
P0299/34*1 การอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/เทอรโบต่ําเกินไป
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-145) [ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง] 27
P0335/12 วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง “A”
ดับเครื่องยนต สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-150) [เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง]
วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว “A” (Bank 1 หรือ
28
P0340/12
เซ็นเซอรเดี่ยว) ลดกําลังเครื่องยนต สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-154)
[เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว] 29
สมรรถนะ/ชวงการควบคุมตําแหนงลิ้นเรงของการหมุน
P0488/15
(05-168)
เวียนแกสไอเสีย ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF 30
[ลิ้นเรงดีเซล]
P0500/42 เซ็นเซอรความเร็วรถ “A”
(05-173) [เซ็นเซอรความเร็วรถ]
ความเร็วรถคงทีท่ ี่ 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) สภาวะที่ตรวจพบ “Pass” 31
P0627/78 วงจรควบคุมปมเชื้อเพลิง / ขาด
(05-184) [ระบบคอมมอนเรลบกพรอง]
ดับเครื่องยนต สภาวะที่ตรวจพบ “Pass” 32
05–56 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)
สภาวะที่ระบบ Fail-safe
รหัส ปญหาที่ตรวจพบ การทํางานของระบบ Fail-safe
1 ตรวจไมพบ
P1229/78 ระบบปมเชื้อเพลิง
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-79) [ระบบคอมมอนเรลบกพรอง]
2 สภาวะการอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/เทอรโบมากเกิน
P1251//34*1
ไป (สูงเกินไป) ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-145)
3 [ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง]
P1611/17 วงจรไอซี (IC) บกพรอง
ดับเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-183) [ECM]
5 P2120/19 วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “D”
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-199) [เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง (เซ็นเซอรตัวที่ 1)]
10 สมรรถนะ/ชวงวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตาํ แหนงแปนคันเรง/
P2121/19
ลิ้นเรง “D” ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-207)
11 [คาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง (เซ็นเซอรตัวที่ 1)]
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/
P2122/19 ลิ้นเรง “D” ต่ํา
12 (05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงต่ํา
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(เซ็นเซอรตัวที่ 1)]
13 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/
P2123/19 ลิ้นเรง “D” สูง
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
14 (05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงสูง
(เซ็นเซอรตัวที่ 1)]
P2125/19 วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “E”
15 (05-199) [เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง (เซ็นเซอรตัวที่ 2)]
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/
16 P2127/19 ลิ้นเรง “E” ต่ํา
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงต่ํา
17 (เซ็นเซอรตัวที่ 2)]
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/
P2128/19 ลิ้นเรง “E” สูง
19 (05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงสูง
ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(เซ็นเซอรตัวที่ 2)]
26 P2138/19
ความสัมพันธของแรงดันไฟฟาสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนง
แปนคันเรง/ลิ้นเรง “D”/ “E” ลดกําลังเครื่องยนต สวิตชจุดระเบิด OFF
(05-199)
[เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงบกพรอง]
27 P2226/A5 วงจรความกดอากาศ
แรงดันอากาศคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-210) [ECM]
28 P2228/A5 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศต่ํา
แรงดันอากาศคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-210) [ECM]
29 P2229/A5 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศสูง
แรงดันอากาศคงที่ที่คากําหนด สภาวะที่ตรวจพบ “Pass”
(05-210) [ECM]
30 ขอแนะนํา:
*1
: 1KD-FTV
31 *2
: 1KD-FTV, 2KD-FTV (มี CAC)

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–57

โหมดแสดงขอมูล (DATA LIST)/ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)


1. อานรายการขอมูล 1
ขอแนะนํา:
ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากขอมูลใน DATA LIST ที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะห 2
ปญหา (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก
การอานขอมูลจาก DATA LIST ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุปญหา เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา 3
ขอควรระวัง:
ในตารางขางลางนี้ คาที่อยูในชอง “สภาวะปกติ” นั้นเปนเพียงคาที่อางอิง หามใชคาเหลานี้เพียงลําพังในการตัดสินวา
ชิ้นสวนนั้นบกพรองหรือไม 5
(ก) อุนเครื่องยนต
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 10
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 11
(จ) เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ON
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List 12
(ช) อานขอมูลใน DATA LIST
หนาจอเครื่องวิเคราะห
ปญหา (IT II)
สิ่งที่ตรวจวัด/ชวง
(การแสดงผล)
สภาวะปกติ*1 บันทึกการวิเคราะห 13
(คํายอ)
เดินเบา 11.4 ถึง 16.4
Calculate Load
คํานวณภาระโดย ECM/
ต่ําสุด: 0%, สูงสุด: 100%
รถวิ่งโดยไมมีน้ําหนักบรรทุก – 14
13.1-18.9% (2,500 รอบ/นาที)
ถาคาโดยประมาณคือ 0.0 กรัม/วินาที:
อัตราการไหลของอากาศจากมาตรวัดปริมาณ • เดินเบา 5 ถึง 12 กรัม/วินาที
• วงจรแหลงจายไฟของมาตรวัด 15
ปริมาณอากาศขาด
MAF*2 อากาศ/ต่ําสุด 0 กรัม/วินาที, สุงสุด 655.35 • รถวิ่งโดยไมมีน้ําหนักบรรทุก 28 ถึง 46 กรัม/
• วงจร VG ขาดหรือลัดวงจร
กรัม/วินาที วินาที (2,000 รอบ/นาที)
ถาคาเทากับ 135 กรัม/วินาทีหรือมากกวา: 16
• วงจร E2G ขาด
1KD-FTV
• 95 ถึง 105 กิโลปาสคาล: เดินเบา
17
• 100 ถึง 120 กิโลปาสคาล:
เครื่องยนตทํางานที่ความเร็ว 2,000 รอบ/นาที
• 110 ถึง 130 กิโลปาสคาล:
19
แรงดันสัมบูรณภายในทอรวมไอดี/
เครื่องยนตทํางานที่ความเร็ว 3,000 รอบ/นาที
MAP ต่ําสุด: 0 กิโลปาสคาล, –
สูงสุด: 255 กิโลปาสคาล
2KD-FTV
• 90 ถึง 100 กิโลปาสคาล: เดินเบา
26
• 90 ถึง 110 กิโลปาสคาล:
เครื่องยนตทํางานที่ความเร็ว 2,000 รอบ/นาที
• 110 ถึง 130 กิโลปาสคาล:
27
เครื่องยนตทํางานที่ความเร็ว 3,000 รอบ/นาที

Engine Speed
ความเร็วเครื่องยนต/
ต่ําสุด: 0 รอบ/นาที, 700 ถึง 800 รอบ/นาที: เดินเบา – 28
สูงสุด: 16383.75 รอบ/นาที
1KD-FTV
75o ถึง 90oC (167o ถึง 194oF):
29
ถาคาที่ไดคือ -40oC (-40oF) หรือ
Coolant Temp อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต/ หลังจากอุนเครื่องยนต
140oC (284oF) แสดงวาวงจรเซ็นเซอร
ต่ําสุด: -40oC, สูงสุด: 140oC 2KD-FTV
80o ถึง 95oC (176o ถึง 203oF):
ขาดหรือลัดวงจร 30
หลังจากอุนเครื่องยนต
Intake Air อุณหภูมิอากาศเขา/
เทียบเทาอุณหภูมิที่ทอรวมไอดี
ถาคาที่ไดคือ -40oC (-40oF) หรือ
140oC (284oF) แสดงวาวงจรเซ็นเซอร
31
ต่ําสุด: -40oC, สูงสุด: 140oC
ขาดหรือลัดวงจร
Vehicle Speed
ความเร็วรถยนต/
ความเร็วรถยนตจริง ความเร็วที่แสดงบนมาตรวัดความเร็ว
32
ต่ําสุด: 0 กม./ชม., สูงสุด: 255 กม./ชม.
05–58 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)
หนาจอเครื่องวิเคราะห
สิ่งที่ตรวจวัด/ชวง
ปญหา (IT II) สภาวะปกติ*1 บันทึกการวิเคราะห
1 (คํายอ)
(การแสดงผล)
1KD-FTV:
แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง/
เดินเบา 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
2 Fuel Press ต่ําสุด: 0 เมกกะปาสคาล,
สูงสุด: 655.350 เมกกะปาสคาล
2KD-FTV:

เดินเบา 25-35 เมกกะปาสคาล
ตําแหนง EGR/ จอดรถแนวระนาบ, อุณหภูมิหอง, อุนเครื่องยนต
3 EGR Position
ต่ําสุด: 0% สูงสุด: 100% และเดินเบา 50 ถึง 100%

ตําแหนงคันเรงตัวที่ 1/ • ปลอยขาคันเรง: 10 ถึง 20%
Accelerator Position No. 1 –
ต่ําสุด: 0% สูงสุด: 100% • กดขาคันเรง: 54 ถึง 86%
5 Accelerator Position No. 2
ตําแหนงคันเรงตัวที่ 2/ • ปลอยคันเรง: 12 ถึง 42%

ต่ําสุด: 0% สูงสุด: 100% • กดขาคันเรง: 66 ถึง 98%
อุณหภูมิเครื่องยนตเบื้องตน/
10 Initial Engine Coolant Temp
ต่ําสุด: -40°C, สูงสุด: 120°C
เมื่อสตารทเครื่องยนต –
อุณหภูมิไอดีเบื้องตน/
Initial Intake Temp เมื่อสตารทเครื่องยนต –
11 ต่ําสุด: -40°C, สูงสุด: 120°C
ตําแหนง EGR/ จอดรถแนวระนาบ, อุณหภูมิหอง, อุนเครื่องยนต
EGR Position*3 –
ต่ําสุด: 0%, สูงสุด: 100% และเดินเบา 50 ถึง 100%
12 EGR Close Learning
Value*3
คาการปดของ EGR
ต่ําสุด: 0 V ถึง 5 V
จอดรถแนวระนาบ, อุณหภูมิหอง, อุนเครื่องยนต
และเดินเบา 0.15 V ถึง 1.45 V

แรงดันเปาหมายในทอคอมมอลเรล/
Target Common Rail
13 Pressure
ต่ําสุด: 0 กิโลปาสคาล,
สูงสุด: 655350 กิโลปาสคาล
แรงดันการทํางานสูงสุด –

ชนิด VN เทอรโบ/
VNT Type*2 1: ปกติ –
14 0: ไม, 1: ปกติ, 2: สุญญากาศ
มุมเปดสุงสุดของ VN เทอรโบ/
*2
VNT Max Angle 100% –
ต่ําสุด: 0%, สูงสุด: 100%
15 VNT Min Angle *2 มุมเปดต่ําสุดของ VN เทอรโบ/
ต่ําสุด: 0%, สูงสุด: 100%
10% –
การแกไขแรงดันในการฉีด/
Injection Pressure
16 Correction
ต่ําสุด: -500 มม.3/ระยะชัก -400 ถึง 400 มม.3/ระยะชัก –
สูงสุด: 780 มม.3/ระยะชัก
EGR Valve Learning คาการเปดของวาลว EGR/
17 Value*3 ต่ําสุด: 0 องศา, สูงสุด: 5 องศา
– –
การเปลี่ยน DUTY RATIO/
Alternate Duty Ratio 20 ถึง 60% –
ต่ําสุด: 0%, สูงสุด: 100%
19 Accel Position 1
แรงดันไฟฟาเซ็นเซอรตาํ แหนงขาคันเรงตัวที่ 1/ • ปลอยขาคันเรง: 0.5 ถึง 1.1 V อานคาขณะสวิตชจุดระเบิดอยูตําแหนง
ต่ําสุด: 0 V, สูงสุด: 5 V • กดขาคันเรง: 2.6 ถึง 4.35 V ON (อยาสตารทเครื่องยนต)
แรงดันไฟฟาเซ็นเซอรตาํ แหนงขาคันเรงตัวที่ 2/ • ปลอยขาคันเรง: 1.2 ถึง 2.0 V อานคาขณะสวิตชจุดระเบิดอยูที่
26 Accel Position 2
ต่ําสุด: 0 V, สูงสุด: 5 V • กดขาคันเรง: 3.4 ถึง 5.0 V ตําแหนง ON (อยาสตารทเครื่องยนต)
สถานะตําแหนงขาคันเรง/ • ปลอยขาคันเรง: 10 ถึง 22% อานคาขณะสวิตชจุดระเบิดอยูที่
Accel Position
ต่ําสุด: 0%, สูงสุด: 100% • กดขาคันเรง: 52 ถึง 90% ตําแหนง ON (อยาสตารทเครื่องยนต)
27 VNT Command*2
การควบคุม VN เทอรโบ/
0 ถึง 100% ECD FREEZE DATA
ต่ําสุด: 0%, สูงสุด: 100%
มุมการเปดปม VCM/
28 Pump VCM Angle
ต่ําสุด: 0 มิลลิแอมป, สูงสุด: 4000 มิลลิแอมป
– ECD FREEZE DATA
การควบคุม IDL
IDL Stable Control ต่ําสุด: -80 มม.3/ระยะชัก, สูงสุด: 79 มม.3/ -10 ถึง 10 มม.3/ระยะชัก ECD FREEZE DATA
29 ระยะชัก
1KD-FTV:
การฉีดนํารองครั้งที่ 1/
30 Pilot 1 Injection ต่ําสุด: 0 ไมโครวินาที
380 ถึง 480 ไมโครวินาที: เดินเบา
2KD-FTV:

สูงสุด: 65,535 ไมโครวินาที
350 ถึง 450 ไมโครวินาที: เดินเบา
31 การฉีดนํารองครั้งที่ 2/
1KD-FTV:
380 ถึง 480 ไมโครวินาที: เดินเบา
Pilot 2 Injection ต่ําสุด: 0 ไมโครวินาที –
2KD-FTV:
32 สูงสุด: 65,535 ไมโครวินาที
350 ถึง 450 ไมโครวินาที: เดินเบา
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–59

หนาจอเครื่องวิเคราะห
สิ่งที่ตรวจวัด/ชวง
ปญหา (IT II) สภาวะปกติ*1 บันทึกการวิเคราะห
(คํายอ)
(การแสดงผล)
1
1KD-FTV:
การฉีดหลัก/
530 ถึง 730 ไมโครวินาที: เดินเบา
Main Injection ต่ําสุด: 0 ไมโครวินาที
สูงสุด: 65,535 ไมโครวินาที
2KD-FTV:
– 2
525 ถึง 675 ไมโครวินาที: เดินเบา
การฉีดหลัง/
After Injection ต่ําสุด: 0 ไมโครวินาที, – 3
สูงสุด: 65,535 ไมโครวินาที
การฉีดนํารองครั้งที่ 1/ อุณหภูมิหอง, จอดรถแนวระนาบและเครื่องยนต
Pilot 1 Injection ต่ําสุด: -70°CA เดินเบา – 5
สูงสุด: 20°CA -20 ถึง –17°CA
การฉีดนํารองครั้งที่ 2/ อุณหภูมิหอง, จอดรถแนวระนาบและเครื่องยนต
Pilot 2 Injection ต่ําสุด: -50°CA เดินเบา – 10
สูงสุด: 20°CA -13 ถึง –11°CA
การฉีดหลัก/ อุณหภูมิหอง, จอดรถแนวระนาบและเครื่องยนต
Main injection ต่ําสุด: -90°CA เดินเบา – 11
สูงสุด: 90°CA -1 ถึง –4°CA

After Injection
การฉีดหลัง/
ต่ําสุด: -10°CA – – 12
สูงสุด: 50°CA
Injection Feedback Value
คาการยอนกลับของปริมาตรการฉีด/
ต่ําสุด:-10 มม.3, สูงสุด: 9.92 มม.3
-2.0 ถึง 2.0 มม.3: เดินเบา – 13
การแกไขปริมาตรการฉีดของสูบที่ 1/
Injection Feedback Val #1 -3.0 ถึง 3.0 มม.3: เดินเบา –
ต่ําสุด: -10 มม.3, สูงสุด: 10 มม.3
การแกไขปริมาตรการฉีดของสูบที่ 2/
14
Injection Feedback Val #2 -3.0 ถึง 3.0 มม.3: เดินเบา –
ต่ําสุด: -10 มม.3, สูงสุด: 10 มม.3
Injection Feedback Val #3
การแกไขปริมาตรการฉีดของสูบที่ 3/
ต่ําสุด: -10 มม.3, สูงสุด: 10 มม.3
-3.0 ถึง 3.0 มม.3: เดินเบา – 15
การแกไขปริมาตรการฉีดของสูบที่ 4/
Injection Feedback Val #4 -3.0 ถึง 3.0 มม.3: เดินเบา –
ต่ําสุด: -10 มม.3, สูงสุด: 10 มม.3 16
1KD-FTV:
ปริมาตรการฉีด/
• 5 ถึง 12 มม.3: เดินเบา
Injection Volume ต่ําสุด: 0 มม.3
สูงสุด: 1279.98 มม.3 2KD-FTV:

17
• 3 ถึง 10 มม.3: เดินเบา
สถานะ EGR/
EGR Learning Status*3
OK หรือ NG
OK – 19
สัญญาณสตารท/
Starter Signal ON: การหมุน –
ON หรือ OFF
Power Steering Signal
สัญญาณพวงมาลัยเพาเวอร/
OFF –
26
ON หรือ OFF
A/C Signal
สัญญาณ A/C/
ON หรือ OFF
ON: A/C ON – 27
สวิตชไฟเบรก/ • ON: เหยียบเบรก
Stop Light Switch –
ON หรือ OFF • OFF: ปลอยเบรก 28
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่/
Battery Voltage ต่ําสุด: 0 V 9 ถึง 14 V: เดินเบา –
สูงสุด: 65.535 V 29
คาแรงดันบรรยากาศ/
ต่ําสุด: 0 กิโลปาสคาล (0 มม. ปรอท, 0 นิ้ว
Atmosphere Pressure ปรอท) แรงดันบรรยากาศที่แทจริง – 30
สูงสุด: 255 กิโลปาสคาล (1912.6 มม. ปรอท,
75.3 นิ้วปรอท)
EGR
สถานะ EGR สําหรับ ACTIVE TEST/
– วันที่ทดสอบ
31
ON หรือ OFF
สถานะ A/C สําหรับ ACTIVE TEST/
ACT VSV
ON หรือ OFF – วันที่ทดสอบ 32
05–60 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)
หนาจอเครื่องวิเคราะห
สิ่งที่ตรวจวัด/ชวง
ปญหา (IT II) สภาวะปกติ*1 บันทึกการวิเคราะห
1 (คํายอ)
(การแสดงผล)
ขั้ว TE1 และ TC ของ DLC3:
TC and TE1 – –
ON หรือ OFF
2 #Code
# รหัส/
– จํานวนที่ตรวจพบรหัส
ต่ําสุด: 0, สูงสุด: 255
โหมดตรวจสอบ/
3 Check Mode
ON หรือ OFF ON: โหมดตรวจสอบ ON –
ผลโหมดตรวจสอบสําหรับเซ็นเซอรความเร็ว
SPD Test รถยนต/ ดูหนา 05-53
5 0: COMPL, 1: INCOMPL

MIL ON ระยะทางในการวิ่ง/
MIL ON Run Distance ต่ําสุด: 0 กม./ชม.
10 สูงสุด: 65,535 กม./ชม.
ระยะทางหลังจากตรวจสอบรหัส –

เวลาในการวิ่งจาก MIL ON/


Running Time from MIL
11 ON
ต่ําสุด: 0 นาที
สูงสุด: 65,535 นาที
เทากับเวลาที่วิ่งหลังจาก MIL ON –

ระยะทางหลังจากลบรหัส
12 Distance from DTC Cleared ต่ําสุด: 0 กม./ชม.
สูงสุด: 65,535 กม./ชม.
เทากับระยะทางในการขับหลังจากลบรหัส –

รอบในการอุนเครื่องยนตหลังจากลบรหัส/
Warmup Cyele Cleared
13 DTC
ต่ําสุด: 0
สูงสุด: 255
– จํานวนรอบในการอุนหลังจากลบรหัส

เวลาที่เครื่องยนตทํางาน/
14 Engine Run Time ต่ําสุด: 0 วินาที
สูงสุด: 65,535 วินาที
เวลาหลังจากเครื่องยนตสตารท ขอมูลบริการ

เวลาหลังจากลบรหัส/
15 Time After DTC Cleared ต่ําสุด: 0 นาที
สูงสุด: 65,535 นาที
เทากับเวลาหลังจากลบรหัส –

16 ข*1อแนะนํา:
: ถาไมไดกําหนดสภาวะการเดินเบาไว คันเกียรจะอยูในตําแหนงเกียรวางและสวิตช A/C รวมทั้งสวิตชอุปกรณตางๆ
17 ทั้งหมดปด (OFF)
*2
: เฉพาะ 1KD-FTV เทานั้น
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–61

2. ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)


ขอแนะนํา: 1
การทดสอบในโหมด ACTIVE TEST ของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เพื่อใหรีเลย, VSV, แอ็คชิวเอเตอร และอื่นๆ
ทํางานโดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การทดสอบโหมด ACTIVE TEST ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุ 2
ปญหา เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
สามารถใหแสดงขอมูล (DATA LIST) ในระหวางการทดสอบ ACTIVE TEST ได 3
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 5
(ค) เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test
10
(จ) ทดสอบการทํางานในโหมด ACTIVE TEST
หนาจอเครื่องวิเคราะห
11
ปญหา (IT II) รายละเอียดการทดสอบ ตําแหนงการควบคุม บันทึกการวิเคราะห
(คํายอ)
Control the EGR System กระตุน E-VRV สําหรับ EGR ON/OFF –
12
Control the A/C cut Signal ควบคุมสัญญาณ A/C ON/OFF –
Connect the TC and TE1 การตอ TE1 และ TC ON/OFF – 13
Control the Cylinder#1 Fuel
ตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงหัวฉีดที่ 1 ON/OFF หยุดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงขณะ ON
Cut
Control the Cylinder#2 Fuel 14
ตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงหัวฉีดที่ 2 ON/OFF หยุดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงขณะ ON
Cut
Control the Cylinder#3 Fuel
Cut
ตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงหัวฉีดที่ 3 ON/OFF หยุดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงขณะ ON 15
Control the Cylinder#4 Fuel
Cut
ตัดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงหัวฉีดที่ 4 ON/OFF หยุดการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงขณะ ON
16
Activate the VSV for EGR
กระตุน VSV สําหรับตัด EGR ON/OFF –
Cut*
Test the Turbo Charger Step 17
กระตุน DC มอเตอรสําหรับเทอรโบ 0 ถึง 100% –
Motor*
• แรงดันเชื้อเพลิงภายในคอมมอนเรลถูกอัดใหมี
แรงดันตามคากําหนด และความเร็วรอบเพิ่มขึ้น
19
อัดแรงดันเขาไปในทอคอมมอนเรล, และ เปน 2,000 รอบ/นาที เมื่อเลือก ON
Test the Fuel Leak หยุด/เริ่มตน
ตรวจสอบการรั่วของน้ํามันเชื้อเพลิง
• สภาวะดังกลาวขางตนสงวนไวเฉพาะในขณะที่ 26
การทดสอบทํางาน (ON)
หมายเหตุ: 27
*: เฉพาะสําหรับ 1KD-FTV
28
29
30
31
32
05–570 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 ไมไดยินเสียงจากลําโพงในทุกๆ โหมดการทํางาน
2 คําอธิบายผังวงจร
3 เครื่องรับวิทยุจะสงสัญญาณเสียงไปยังลําโพง
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–571

ผังวงจรไฟฟา
1
ชุRadio
ดเครื่องรัReceiver
บวิทยุ
From L-Y
4
Assy
2
จากแบตเตอรี
Battery ่ R1 +B

From
จากสวิตชSwitch
Ignition จุดระเบิด GR
3
R1 ACC 3
V*1
T23
T23 Front No. 2 Speaker
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
Assy LH*2 *2 5
5 6
V*2 V*2 IB1 V R1 FL-
S15
S15
Front No. 1
ชุดลําโพงหน า
2 1 2 10
Speaker Assy
ดานซายตัวที่ 1
LH
1
6 2
P*2
3 4
P*2 IB1 P R1 FL+ 11
P*1

T24 T24 L*1 12


Front No. 2 Speaker
*2
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
Assy RH*2

S16
L*2 L*2
7
II1 L
4
IH1 L
5
R1 FR- 13
S16 2 1 2
ชุดลําโพงหน
Front No. 1 า
ดานขวาตัAssy
Speaker
RH
วที่ 1 1 LG*2 LG*2 8
LG
9
LG
1
R1 FR+
14
II1 IH1
3 4
LG*1 15
B*1
*2
S17 , S19 *1 R*2
1
BB1 B*2
2
IH1 B
2
R2 RL+ 16
S17*2, S19*1 1
ชุดลําโพงหลั
Rear Speakerง
ดานซาย
Assy LH
2 W*2
2
Y*2
1
Y
6 17
BB1 IH1 R2 RL-

Y*1 19
R*1

*2
S18 , S20 *1 R*2
1
BC1 R*2
6
IH1 R
1
R2 RR+ 26
S18*2, S20*1 1
ชุดลําSpeaker
Rear โพงหลัง
Assy RH
ดานขวา 2 W*2
2
W*2
5
W
3 27
BC1 IH1 R2 RR-

28
77
W*1 BR
R1 GND
*1
: เอ็กซตราแคป ID
*1:*2Extra
: ดับเบิCab
้ลแคป
*2: Double Cab
29
I43611

30
31
32
05–572 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คลําโพง
2
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงมีเสียงดังออกมาหรือไม
3 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
ลําโพงทุกตัวเสียงไมดัง A
5 ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 เสียงไมดัง*1 B
ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 เสียงไมดัง*1 C
10 ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 เสียงไมดัง*2 D
ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 เสียงไมดัง*2 E
11 ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 เสียงไมดัง*2 F
ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 เสียงไมดัง*2 G
12 ลําโพงหลังดานขวาเสียงไมดัง H
ลําโพงหลังดานซายเสียงไมดัง I
13 ขอแนะนํา:
*1
: เอ็กซตราแคป
14 *2
: ดับเบิ้ลแคป
15 B ดูขั้นตอนที่ 2

16 C ดูขั้นตอนที่ 4

17 D ดูขั้นตอนที่ 6

19 E ดูขั้นตอนที่ 10

26 F ดูขั้นตอนที่ 14

27 G ดูขั้นตอนที่ 16

28 H ดูขั้นตอนที่ 18

I ดูขั้นตอนที่ 20
29
A
30
ดูขั้นตอนที่ 22
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–573

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ – ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง 2
R1 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-1 (FR+) - S16-1 ต่ํากวา 1 Ω 5
FR+ R1-5 (FR-) - S16-2 ต่ํากวา 1 Ω
FR-
R1-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
R1-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 11
12
13
I43605
I43609 I44961
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ 15
3 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 16
(ก) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง 17
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω 26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
I43619
(ดูหนา 67-7) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–574 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ – ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1)


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ S16 ของลําโพง
R1 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R1-1 (FR+) - S16-1 ต่ํากวา 1 Ω
FR+ R1-5 (FR-) - S16-2 ต่ํากวา 1 Ω
10 FR-
R1-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
R1-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1

12
13
14
I43605
I43609 I44961 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ
15
5 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
16
(ก) ปลดขั้วตอ S15 ของลําโพง
17 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
27
I43619
(ดูหนา 67-7)
ปกติ
28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
29
6 ตรวจเช็คชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
30
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 มีเสียงดังออกมาหรือไม
ปกติ: ลําโพงมีเสียงดัง
31
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 14
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–575

7 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 - ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2) 1


(ก) ปลดขั้วตอ S16 และ T24 ของลําโพง
ดานชุดสายไฟ (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 2
มาตรฐาน:
S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
S16-1 - T24-1 ต่ํากวา 1 Ω
S16-2 - T24-3 ต่ํากวา 1 Ω 5
S16-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S16-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
11
T24
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
12
13
14
I43609
I43610 I43616
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ 15
8 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 16
(ก) ปลดขั้วตอ T24 ของลําโพง 17
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ต่ํากวา 1 Ω 26
3-4 ต่ํากวา 1 Ω
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
I43617
3 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
27
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 28
(ดูหนา 67-9)
29
ปกติ
30
31
32
05–576 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 9 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
(ก) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง
2 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
5
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
10 I43619
(ดูหนา 67-7)
ปกติ
11
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
12
10 ตรวจเช็คชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
13
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 มีเสียงดังหรือไม
14 ปกติ: ลําโพงมีเสียงดัง
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 16
15
ปกติ
16
11 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 - ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2)
17 (ก) ปลดขั้วตอ S15 และ T23 ของลําโพง
ดานชุดสายไฟ (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
19 มาตรฐาน:
S15
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
26 S15-1 - T23-1 ต่ํากวา 1 Ω
S15-2 - T23-3 ต่ํากวา 1 Ω
27 S15-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S15-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
28
29 T23
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2

30
31 I43609
I43610 I43616 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–577

12 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 1
(ก) ปลดขั้วตอ T23 ของลําโพง
(ข) วัดความตานทานของลําโพง 2
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 ต่ํากวา 1 Ω
3-4 ต่ํากวา 1 Ω 5
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
I43617
3 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
บกพรอง เปลีย่ นชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 (ดูหนา 67-9) 11
ปกติ
12
13 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 13
(ก) ปลดขั้วตอ S15 ของลําโพง
(ข) วัดความตานทานของลําโพง 14
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
15
1-2 ประมาณ 4 Ω
16
I43619
บกพรอง เปลีย่ นชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 (ดูหนา 67-7) 17
ปกติ 19
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 26
27
28
29
30
31
32
05–578 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 14 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2)


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ T24 ของลําโพง
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 R1
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R3-1 (FR+) - T24-2 ต่ํากวา 1 Ω
R3-5 (FR-) - T24-4 ต่ํากวา 1 Ω
10 FR+
R3-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
FR- R3-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
T24
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
12
13
I43605

14 I43610 I43618 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ


ปกติ
15
16 15 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
(ก) ตรวจเช็ควาเมื่อติดตั้งลําโพงอีกตัวที่อยูในสภาพดีแลว ความผิดปกติหายไปหรือไม
17 ปกติ: ความผิดปกติหายไป
ขอแนะนํา:
19 • ตอขั้วตอทั้งหมดของลําโพง
• เมื่อสงสัยวาลําโพงหนาดานซายหรือขวาเสีย ใหตรวจสอบโดยการสลับกันฟงทีละดาน
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
27 (ดูหนา 67-9)

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–579

16 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ T23 ของลําโพง 2
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
R1
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-2 (FL+) - T23-2 ต่ํากวา 1 Ω 5
R1-6 (FL-) - T23-4 ต่ํากวา 1 Ω
FL+
R1-2 (FL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
FL- R1-6 (FL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
T23
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
12
13
I43605
I43610 I43618 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
17 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 16
(ก) ตรวจเช็ควาเมื่อติดตั้งลําโพงอีกตัวที่อยูในสภาพดีแลว ความผิดปกติหายไปหรือไม
ปกติ: ความผิดปกติหายไป 17
ขอแนะนํา:
• ตอขั้วตอทั้งหมดของลําโพง 19
• เมื่อสงสัยวาลําโพงหนาดานซายหรือขวาเสีย ใหตรวจสอบโดยการสลับกันฟงทีละดาน
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
(ดูหนา 67-9) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–580 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 18 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหลังดานขวา)


(ก) ปลดขั้วตอ R2 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
R2
(ข) ปลดขัว้ ตอ S18 หรือ S20 ของลําโพง
ชุดเครื่องรับวิทยุ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 มาตรฐาน:
RR+
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R2-1 (RR+) - S20-1*1 ต่ํากวา 1 Ω
RR- R2-3 (RR-) - S20-2*1 ต่ํากวา 1 Ω
10 R2-1 (RR+) - S18-1*2 ต่ํากวา 1 Ω
*2 *1
S18 , S20 R2-3 (RR-) - S18-2*2 ต่ํากวา 1 Ω
11 ชุดลําโพงหลังดานขวาตัวที่ 1 R2-1 (RR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
R2-3 (RR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12
13 *1
I43604
: เอ็กซตราแคป
*2
14 I43609 : ดับเบิ้ลแคป I43620
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ
15
16 19 ตรวจสอบชุดลําโพงหลังดานขวา
(ก) ปลดขั้วตอ S18 หรือ S20 ของลําโพง
17 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหลังดานขวา
27 I43619
(ดูหนา 67-10)

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–581

20 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหลังดานซาย) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R2 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ 2
R2
(ข) ปลดขัว้ ตอ S17 หรือ S19 ของลําโพง
ชุดเครื่องรับวิทยุ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
RL+ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R2-2 (RL+) - S19-1*1 ต่ํากวา 1 Ω 5
RL-
R2-6 (RL-) - S19-2*1 ต่ํากวา 1 Ω
R2-2 (RL+) - S17-1*2 ต่ํากวา 1 Ω 10
*2 *1
S17 , S19 R2-6 (RL-) - S17-2*2 ต่ํากวา 1 Ω
ชุดลําโพงหลังดานซาย R2-2 (RL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 11
R2-2 (RL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12

*1
13
I43604
: เอ็กซตราแคป
*2
I43609 : ดับเบิ้ลแคป I43620
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
21 ตรวจสอบชุดลําโพงหลังดานซาย 16
(ก) ปลดขั้วตอ S17 หรือ S19 ของลําโพง
17
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหลังดานซาย
I43619 (ดูหนา 67-10) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–582 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 22 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)

ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 R1 (ข) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดเครื่องรับวิทยุ
มาตรฐาน:
3 +B
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-3 (ACC) -
5 ACC กราวดตัวถัง
สวิตชจุดระเบิด ACC 10 ถึง 14 โวลท

GND R1-4 (+B) - กราวดตัวถัง คงที่ 10 ถึง 14 โวลท


10 I43605
R1-7 (GND) -
คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
11
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
12 ปกติ

13 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–62 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
1 ขอแนะนํา:
คาตัวแปรตางๆ ที่อยูในตารางอาจไมเหมือนกับที่อานไดจริงทีเดียว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของอุปกรณหรือปจจัยอื่นๆ
2 รหัสวิเคราะหปญหาตางๆ จะปรากฏออกมาขณะอยูในโหมดตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา ใหตรวจเช็ควงจรสําหรับ
รหัสตางๆ ตามรายการในตารางดานลางโดยดูรายละเอียดของแตละรหัสตามหนาที่ระบุไว
3 รหัส
ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เกิดปญหา
*1

ไฟเตือน
*2

(ดูหนา) (MIL) หนวยความจํา

5 P0045/34*3
วงจรโซลินอยดควบคุมการอัดอากาศ


ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
วงจรตัวขับมอเตอรเทอรโบขาดหรือลัดวงจร
ซุปเปอรชารจเจอร/เทอรโบ / ขาด ◯ ◯
(05-67) • ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
10 [ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง]
• ECM
• วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0087/49 แรงดันระบบ/รางน้ํามันเชื้อเพลิง – ต่ําเกินไป
• เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง ◯ ◯
11 (05-71) [ระบบเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงบกพรอง]
• ECM
• ปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง)
12 P0088/78
(05-79)
แรงดันระบบ/รางน้ํามันเชื้อเพลิง – สูงเกินไป
[ระบบคอมมอนเรลบกพรอง]


ลิ้นจํากัดแรงดัน
วงจรปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง) ลัดวงจร
◯ ◯

• ECM
13 • ทอทางเชื้อเพลิงระหวางปมจายเชื้อเพลิงกับคอมมอนเรล
• ทอทางเชื้อเพลิงระหวางคอมมอนเรลกับแตละหัวฉีด
• ปมจายเชื้อเพลิง
14 • คอมมอนเรล
P0093/78 ตรวจพบระบบเชื้อเพลิงรั่ว - รั่วมาก • หัวฉีด
◯ ◯
(05-85) [เชื้อเพลิงรั่วในระบบคอมมอนเรล] • ลิ้นจํากัดแรงดัน
15 • วงจร EDU ขาดหรือลัดวงจร (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
• วงจรหัวฉีดขาดหรือลัดวงจร
16 •

EDU (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
ECM
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซลขาดหรือลัดวงจร
P0095/23*4 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาตัวที่ 2
17 (05-90) [เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา (ขอตอไอดี)]


เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล
ECM
– ◯

กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
19 P0097/23*4 ตัวที่ 2 ต่ํา


วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซลขาดหรือลัดวงจร
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล – ◯
(05-90) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาต่ํา
• ECM
(ขอตอไอดี)]
26 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซลขาดหรือลัดวงจร
P0098/23*4 ตัวที่ 2 สูง
• เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล – ◯
27 (05-90) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาสูง
(ขอตอไอดี)]
• ECM
• วงจรมาตรวัดปริมาณอากาศขาดหรือลัดวงจร
P0100/31*3 วงจรปริมาณการไหลอากาศ
28 (05-97) [มาตรวัดปริมาณอากาศ]
• มาตรวัดปริมาณอากาศ ◯ ◯
• ECM
• วงจรมาตรวัดปริมาณอากาศขาดหรือลัดวงจร
29 P0102/31*3
(05-97)
กระแสไฟฟาวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศต่ํา
[กระแสไฟฟามาตรวัดปริมาณอากาศต่ํา]
• มาตรวัดปริมาณอากาศ ◯ ◯
• ECM
30 P0103/31*3 กระแสไฟฟาวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศสูง


วงจรมาตรวัดปริมาณอากาศขาดหรือลัดวงจร
มาตรวัดปริมาณอากาศ ◯ ◯
(05-97) [กระแสไฟฟามาตรวัดปริมาณอากาศสูง]
• ECM
31 •

วงจรเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดีขาดหรือลัดวงจร
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
P0105/35 วงจรความกดอากาศ/แรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี
• ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร ◯ ◯
32 (05-105) [เซ็นเซอรแรงดันอากาศเขา]
• ชุดวาลว EGR
• ECM
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–63

*1
*2
รหัส
ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เกิดปญหา ไฟเตือน
(ดูหนา) (MIL) หนวยความจํา 1
• วงจรเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดีขาดหรือลัดวงจร
กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศ/แรงดัน • เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
P0107/35
(05-105)
สัมบูรณทอรวมไอดีต่ํา • ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร ◯ ◯ 2
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันอากาศเขาต่ํา] • ชุดวาลว EGR
• ECM
• วงจรเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดีขาดหรือลัดวงจร 3
กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศ/แรงดัน • เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
P0108/35
สัมบูรณทอรวมไอดีสูง • ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร ◯ ◯
(05-105)
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันอากาศเขาสูง] • ชุดวาลว EGR 5
• ECM

P0110/24 วงจรอุณหภูมิอากาศเขา


วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาขาดหรือลัดวงจร
เซ็นเซอร IAT (ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1
10
– ◯
(05-111) [เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา] • เซ็นเซอร IAT *5
• ECM 11
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาขาดหรือลัดวงจร
P0112/24 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิอากาศเขาต่ํา • เซ็นเซอร IAT (ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1
(05-111) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาต่ํา] • เซ็นเซอร IAT *5
– ◯
12
• ECM
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาขาดหรือลัดวงจร
P0113/24 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิอากาศเขาสูง • เซ็นเซอร IAT (ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1 13
– ◯
(05-111) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาสูง] • เซ็นเซอร IAT *5


ECM
วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดหรือลัดวงจร
14
P0115/22 วงจรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
• เซ็นเซอร ECT ◯ ◯
(05-118) [เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต]
• ECM 15
กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนตตา่ํ • วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดหรือลัดวงจร
P0117/22
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น • เซ็นเซอร ECT ◯ ◯
(05-118)
เครื่องยนตต่ํา] • ECM 16
กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนตสงู • วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดหรือลัดวงจร
P0118/22
(05-118)
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น
เครื่องยนตสูง]


เซ็นเซอร ECT
ECM
◯ ◯
17
วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง • วงจรเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงขาดหรือลัดวงจร
P0120/41
(05-124)
“A”
[เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง]


เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
ECM
◯ ◯ 19
• เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
P0122/41
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน
คันเรง/ลิ้นเรง “A” ต่ํา
• วงจร VLU ขาดหรือลัดวงจร
◯ ◯
26
(05-124) • วงจร VC ขาด
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงต่ํา]
• ECM
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน
• เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง 27
P0123/41 • วงจร E2 ขาด
คันเรง/ลิ้นเรง “A” สูง ◯ ◯
(05-124)
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงสูง]


วงจร VC และวงจร VTA ลัดวงจร
ECM
28
P0168/39 อุณหภูมิเชื้อน้ํามันเพลิงสูงเกินไป
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
(05-129) [คาเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง]
◯ ◯
29
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0180/39 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง “A”
• เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง ◯ ◯
(05-130) [เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง]
• ECM 30
กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามัน • วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0182/39
เชื้อเพลิง “A” ต่ํา เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
(05-130)
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอณ
ุ หภูมนิ า้ํ มันเชือ้ เพลิงต่าํ ]

• ECM
◯ ◯
31
กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามัน • วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0183/39
(05-130)
เชื้อเพลิง “A” สูง
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรอณุ หภูมนิ ้ํามันเชือ้ เพลิงสูง]


เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
ECM
◯ ◯
32
05–64 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)
*1
*2
รหัส ไฟเตือน
ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เกิดปญหา
1 (ดูหนา) (MIL) หนวยความจํา
P0190/49 วงจรเซ็นเซอรแรงดันรางน้ํามันเชื้อเพลิง • วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
• เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง ◯ ◯
(05-71) [เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง]
2 • ECM
กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรแรงดัน
• วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0192/49 รางน้ํามันเชื้อเพลิงต่ํา
3 (05-71) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง


เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
ECM
◯ ◯
ต่ํา]
กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรแรงดัน • วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
5 P0193/49
(05-71)
รางน้ํามันเชื้อเพลิงสูง • เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง ◯ ◯
[กระแสไฟฟาเซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิงสูง] • ECM
• วงจร EDU ขาดหรือลัดวงจร
10 P0200/97 วงจรหัวฉีด/ขาด • หัวฉีด
◯ ◯
(05-137) [ระบบ EDU ของหัวฉีดบกพรอง] • EDU
• ECM
11 • ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
• ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
สภาวะการอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/ • เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
12 P0234/34*3
(05-145)
เทอรโบมากเกินไป • มาตรวัดปริมาณอากาศ ◯ ◯
[ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง] • วาลว EGR ติด (ปด)
• ระบบไอดีและระบบไอเสียถูกดัดแปลงหรืออุดตัน
13 • ECM
• ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
• ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
14 การอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/เทอรโบ
• เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
P0299/34*3 • มาตรวัดปริมาณอากาศ
ต่ําเกินไป – ◯
(05-145) • วาลว EGR ติด (ไมเปด)
15 [ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง]
• เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี (ไมตอทอ)
• ระบบไอดีและระบบไอเสียถูกดัดแปลงหรืออุดตัน
• ECM
16 วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงขาดหรือลัดวงจร
P0335/12 • เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
“A” ◯ ◯
(05-150) • แผนเซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงเบอร 1
17 [เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง]
• ECM
วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง • วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงขาดหรือลัดวงจร
P0339/13 “A” ทํางานเปนชวงๆ เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
19 (05-150) [ปญหาเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง

• แผนเซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงเบอร 1
– ◯
ทํางานเปนชวงๆ ] • ECM
26 P0340/12
วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว “A” •

วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวขาดหรือลัดวงจร
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
(Bank 1 หรือเซ็นเซอรเดี่ยว) ◯ ◯
(05-154) • ปมพูลเลยเพลาขับ
[เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว]
ECM
27 •
• วาลว EGR ติด
• วาลว EGR เลื่อนไดไมคลอง
28 P0400/71*5 ลําดับการหมุนเวียนของแกสไอเสีย


E-VRV สําหรับวงจร EGR ขาดหรือลัดวงจร
วงจรเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR ขาดหรือลัดวงจร
◯ ◯
(05-158) [ระบบ EGR บกพรอง] • เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR
29 •

ปมสุญญากาศ
ทอสุญญากาศ
• ECM
30 P0405/96*5
กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรการหมุนเวียน
แกสไอเสีย “A” ต่ํา


วงจรเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR ขาดหรือลัดวงจร
เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR – ◯
(05-165)
[เซ็นเซอรระยะยกวาลว EGR บกพรอง] • ECM
31 P0406/96*5
กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรการหมุนเวียน
แกสไอเสีย “A” สูง


วงจรเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR ขาดหรือลัดวงจร
เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR – ◯
(05-165)
[เซ็นเซอรระยะยกวาลว EGR บกพรอง] • ECM
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–65

*1
*2
รหัส ไฟเตือน
ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เกิดปญหา
(ดูหนา) (MIL) หนวยความจํา
1
สมรรถนะ/ชวงการควบคุมตําแหนงลิ้นเรง • วงจรมอเตอรควบคุมลิ้นเรงดีเซลขาดหรือลัดวงจร
P0488/15 • วงจรสวิตชลิ้นเรงดีเซลเปดสุดขาดหรือลัดวงจร
(05-168)
ของการหมุนเวียนแกสไอเสีย
[ลิ้นเรงดีเซล] • ชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล
◯ ◯
2
• ECM
• วงจรเซ็นเซอรความเร็วขาดหรือลัดวงจร
P0500/42 เซ็นเซอรความเร็วรถ “A” • เซ็นเซอรจับความเร็ว
◯ ◯
3
(05-173) [เซ็นเซอรความเร็วรถ] • มาตรวัดรวม
• ECM
• วงจรสัญญาณสวิตชไฟเบรกลัดวงจร 5
P0504/51 ความสัมพันธของสวิตชเบรก “A”/ “B”
• สวิตชไฟเบรก – ◯
(05-177) [ไฟเบรก]
P0606 หนวยประมวลผล ECM/PCM
• ECM
10
ECM – –
(05-183) [ECM]
P0607/89
(05-183)
ประสิทธิภาพของชุดควบคุม
[ECM]
ECM ◯ ◯ 11
P0627/78 วงจรควบคุมปมเชื้อเพลิง / ขาด • วงจรวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
(05-184) [ระบบคอมมอนเรลบกพรอง] • วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง ◯ ◯ 12
• ECM
• วงจรปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง) ลัดวงจร
P1229/78
(05-79)
ระบบปมเชื้อเพลิง
[ระบบคอมมอนเรลบกพรอง] • ปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง) ◯ ◯ 13
• ECM
• ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
• วงจรตัวขับมอเตอรเทอรโบขาดหรือลัดวงจร 14
• ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
สเต็ปมอเตอรสําหรับวงจรควบคุมเทอร
P1251/34*3 เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
(05-145)
โบชารจเจอร (ทํางานเปนชวงๆ)

• มาตรวัดปริมาณอากาศ
◯ ◯ 15
[ระบบเทอรโบชารจเจอรบกพรอง]
• ชุดวาลว EGR


ระบบไอดีและระบบไอเสียถูกดัดแปลงหรืออุดตัน
ECM
16
P1601/89 วงจรการปรับแกหัวฉีด (EEPROM) • รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
◯ ◯
(05-187)
P1611/17
[ECM]
สัญญาณพัลส
• ECM 17
ECM ◯ ◯
(05-183) [ECM]
• VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ 19
วงจรควบคุมทางเดินอากาศทอรวมไอดี / • VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศขาดหรือลัดวงจร
P2008/58*3 ขาด (Bank 1) • ทอรวมไอดี (วาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ)
(05-189) [ระบบควบคุมการหมุนเวียนอากาศบก • วาลว EGR ติด (ไมเปด)
◯ ◯
26
พรอง] • มาตรวัดปริมาณอากาศ
• ECM
วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงขาดหรือลัดวงจร
27
P2120/19 ลิ้นเรง “D”
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง ◯ ◯
(05-199) [เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
(เซ็นเซอรตัวที่ 1)]
• ECM 28
สมรรถนะ/ชวงวงจรสวิตช/เซ็นเซอร
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
P2121/19
(05-207)
ตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “D”
[คาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง ◯ ◯ 29
• ECM
(เซ็นเซอรตัวที่ 1)]

P2122/19
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอร
ตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “D” ต่ํา
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงขาดหรือลัดวงจร 30
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง ◯ ◯
(05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปน
ECM
คันเรงต่ํา (เซ็นเซอรตัวที่ 1)]

31
กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอร
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงขาดหรือลัดวงจร
P2123/19 ตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “D” สูง
(05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคัน


เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
ECM
◯ ◯
32
เรงสูง (เซ็นเซอรตัวที่ 1)]
05–66 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)
*1
*2
รหัส
ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เกิดปญหา ไฟเตือน
1 (ดูหนา) (MIL) หนวยความจํา
วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงขาดหรือลัดวงจร
2 P2125/19
(05-199)
ลิ้นเรง “E”
[เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง ◯ ◯
• ECM
(เซ็นเซอรตัวที่ 2)]
3 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอร
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงขาดหรือลัดวงจร
P2127/19 ตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “E” ต่ํา
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง ◯ ◯
(05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคัน
5 เรงต่ํา (เซ็นเซอรตัวที่ 2)]
• ECM

กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอร
วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงขาดหรือลัดวงจร
10 P2128/19 ตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “E” สูง

• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง ◯ ◯
(05-199) [กระแสไฟฟาเซ็นเซอรตําแหนงแปนคัน
• ECM
เรงสูง (เซ็นเซอรตัวที่ 2)]
11 ความสัมพันธของแรงดันไฟฟาสวิตช/
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงขาดหรือลัดวงจร
P2138/19 เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
12
◯ ◯
(05-199) “D”/ “E”
• ECM
[เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงบกพรอง]
P2226/A5*6 วงจรความกดอากาศ
13 (05-210) [ECM]
ECM ◯ ◯

P2228/A5*6 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศต่ํา
ECM ◯ ◯
14 (05-210) [ECM]
P2229/A5*6 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศสูง
ECM ◯ ◯
(05-210) [ECM]
15 • วงจร TCM และ ECM ขาดหรือลัดวงจร
U0001/A2*6 สาย Bus ของระบบการสื่อสารแบบ CAN
• TCM ◯ ◯
(05-211) ความเร็วสูง
16 • ECM
B2799/99 ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต
ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต – ◯
(05-795) บกพรอง
17
ขอแนะนํา:
*1
19 : “◯”: ไฟเตือน MIL (ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง) ติดสวาง
“–”: ไฟเตือน MIL ไมติดสวาง
26 *2
: “◯”: เก็บบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาใน ECM
“–”: ไมเก็บบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาใน ECM
27 *3
: เฉพาะ 1KD-FTV เทานั้น
*4
: เฉพาะ 1KD-FTV, 2KD-FTV (มี CAC) เทานั้น
28 *5
: เฉพาะ 2KD-FTV เทานั้น
*6
: “A” ในตารางดังกลาวขางตน แสดงวาไฟเตือน MIL กะพริบ 10 ครั้ง
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–67

รหัส P0045/34* วงจรโซลินอยดควบคุมการอัดอากาศซุปเปอร 1


ชารจเจอร/เทอรโบ / ขาด 2
ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ 1KD-FTV เทานั้น 3
คําอธิบายผังวงจร
ระบบเทอรโบชารจเจอรประกอบดวย เทอรโบชารจเจอรแปรผัน (VN) ตัวขับมอเตอรเทอรโบ และ ECM
5
เทอรโบชารจเจอรนี้มีแผนปรับมุมซึ่งจะทําการเปดและปดเพื่อควบคุมปริมาณการไหลผานของแกสไอเสียเขาสูเทอร
10
ไบนโดยควบคุมแรงอัดอากาศ เมื่อแผนปรับมุมเลื่อนขึ้นไปทางดานปด แรงดันก็จะเพิ่มขึ้น แตเมื่อแผนปรับมุมเลื่อน
ไปทางดานเปด แรงดันก็จะลดลง 11
แอ็คชิวเอเตอรเทอรโบชารจเจอรที่ติดตั้งอยูทางดานเทอรไบนจะกระตุนใหแผนปรับมุมทํางาน เซ็นเซอรตําแหนงแผน
ปรับมุมทีต่ ดิ ตัง้ อยูใ นแอ็คชิวเอเตอรคอยทําหนาทีต่ รวจจับมุมเปดของแผนปรับมุม สัญญาณเซ็นเซอรตาํ แหนงแผนปรับมุม 12
จะถูกสงผานทางตัวขับมอเตอรเทอรโบไปที่ ECM แลว ECM จะกระตุนใหแอ็คชิวเอเตอรทํางานตามสัญญาณดังกลาว
ECM สงสัญญาณตําแหนงแผนปรับมุมเปาหมายไปยังตัวขับมอเตอรเทอรโบเพื่อใหไดตําแหนงแผนปรับมุมในการอัด 13
อากาศที่ดีที่สุดตามสภาวะการขับขี่
ECM ตัวขับมอเตอรเทอรโบ สัญญาณการทํางาน มอเตอร DC 14
สัญญาณสวิตชจุดระเบิด สัญญาณมุมเปด M+ ของมอเตอร DC
แผนปรับมุม 15
ความเร็วรอบ M-

ตําแหนงคันเรง 16
สัญญาณตําแหนง เซ็นเซอรตําแหนง
แผนปรับมุม แผนปรับมุม
แรงดันเทอรโบ
สัญญาณสถานะ VNVC
17
ความกดของอากาศ มอเตอร
19
VTA

เซ็นเซอร ECT VNE2

A99233
26
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
• วงจรตัวขับมอเตอรเทอรโบขาดหรือลัดวงจรประมาณ 0.5
27
• ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
วินาทีขึ้นไป
P0045/34 • เมื่อเกิดการสื่อสารกันไมไดระหวางมอเตอรเทอรโบกับ
• วงจรตัวขับมอเตอรเทอรโบขาดหรือลัดวงจร 28
• ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
ECM
ECM
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)

29
รายละเอียดการตรวจสอบ 30
ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหานี้ 5 วินาทีหลังจากบิดสวิตชจุดระเบิด ON
31
32
05–68 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
T8T8 Turbo Motor Driver
ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
2 จากรีเลย
From MAIN
Relay MAIN 8
ECM

T11 +B
T11 Nozzle Vane Position Sen
3 เซ็นเซอรตําแหนงแผนปรับมุม
sor

1 R 5
VTA1 VTA1
5 2 L 2 VNTI
4 R-B
17
E8 VNTI
VNE2 (-) VNE2
10
10 VNVC (+)
3 W 1
VNVC VNTO
9 B-O
E8 VNTO

สายปองกัน
11 T10
T10 DC Motor
มอเตอร DC สัShielded
ญญาณรบกวน
2 B 10
M+ M+ 6
12 1 W 3
GND
M- M-

13 W-B

14 A J8 J8 A
J/C

15 A J7
W-B

16 EC

17 A99794

19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–69

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไวเมื่อตรวจ
พบความผิดปกติจงึ เปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถจอด เครือ่ งรอน
2
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
3
1 ตรวจสอบชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (มอเตอร DC) (ดูหนา 10-6)
5
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
(ดูหนา 13-27) 10
ปกติ 11

2 ตรวจสอบตัวขับมอเตอรเทอรโบ (ดูหนา 13-16) 12

บกพรอง เปลี่ยนตัวขับมอเตอรเทอรโบ
13
ปกติ 14

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ตัวขับมอเตอรเทอรโบ – ECM) 15

ดานชุดสายไฟ (ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM 16


(ข) ปลดขัว้ ตอตัวขับมอเตอรเทอรโบ T8
E8
ECM (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 17
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 19
E8-10 (VNTO) - T8-9 (VNTO)
ต่ํากวา 1 Ω
E8-17 (VNTI) - T8-4 (VNTI) 26
VNTO E8-10 (VNTO) หรือ T8-9 (VNTO) - กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา
VNTI
T8
E8-17 (VNTI) หรือ T8-4 (VNTI) - กราวดตัวถัง 27
ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
VNTI
28
1 2 3 4
5 6 7 8 9 10 29
A81089
B58514
VNTO 30
G34920 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 31
32
05–70 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ตัวขับมอเตอรเทอรโบ – เซ็นเซอรตําแหนงแผนปรับมุม, ตัวขับมอเตอรเทอรโบ –


มอเตอร DC)
2 (ก) ปลดขั้วตอตัวขับมอเตอรเทอรโบ T8
ดานชุดสายไฟ
T8 (ข) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรตําแหนงแผนปรับมุม T11
3 VNVC VNE2
ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
M- (ค) ปลดขั้วตอ T10 ของมอเตอร DC
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5 1 2 3 4
คามาตรฐาน:
5 6 7 8 9 10
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
10 VTA1 M+ T8-1 (VNVC) - T11-3 (VNVC)
T8-5 (VTA1) - T11-1 (VTA1)
11 T11
เซ็นเซอรตําแหนงแผนปรับมุม T8-2 (VNE2) - T11-2 (VNE2) ต่ํากวา 1 Ω
T8-10 (M+) - T10-2 (M+)
12 T8-3 (M-) - T10-1 (M-)
T8-1 (VNVC) หรือ T11-3 (VNVC) - กราวดตัวถัง
13 VTA1 VNE2 VNVC
T8-5 (VTA1) หรือ T11-1 (VTA1) - กราวดตัวถัง
T8-2 (VNE2) หรือ T11-2 (VNE2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
T8-10 (M+) หรือ T10-2 (M+) - กราวดตัวถัง
14 T10
มอเตอร DC T8-3 (M-) หรือ T10-1 (M-) - กราวดตัวถัง

15
16 B58514
A99230 M- M+
A52933 G34921
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
17 ปกติ
19
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
26 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–71

รหัส P0087/49 แรงดันระบบ/รางน้ํามันเชื้อเพลิง - ต่ําเกินไป 1


รหัส P0190/49 วงจรเซ็นเซอรแรงดันรางน้ํามันเชื้อเพลิง 2

รหัส P0192/49 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรแรงดันรางน้ํามัน 3


เชื้อเพลิงต่ํา 5
รหัส P0193/49 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรแรงดันรางน้ํามัน 10
เชื้อเพลิงสูง 11
ขอแนะนํา:
• สําหรับรายละเอียดเกีย่ วกับเซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิงและระบบคอมมอนเรล ใหดจู ากคําอธิบายระบบ (ดูหนา 05-6) 12
• ถารหัส P0087/49, P0190/49, P0192/49 และ/หรือรหัส P0193/49 ปรากฏขึ้น ใหดูที่ “ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
สําหรับระบบคอมมอนเรล” (ดูหนา 05-6) 13
คําอธิบายผังวงจร
ECM ตรวจสอบแรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลโดยใช 14
คาแรงดันไฟฟา
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง และควบคุมวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
เพื่อควบคุมแรงดันภายในใหเปนไปตามแรงดันเปาหมาย
15
4.2 เซ็นเซอรแรงดันนี้เปนแบบกึ่งตัวนําที่เปลี่ยนแปลงคาความตานทาน 16
แรงดันไฟฟาสงออก (V)

3.8
ไฟฟาไดเมื่ออัดแรงดันที่ชิพซิลิคอนของเซ็นเซอร เซ็นเซอรจะสง
2.6 แรงดันไฟฟาออกมาในอัตราสวนทีส่ มั พันธกบั แรงดันเชือ้ เพลิงภายใน 17
1.4
1.0

0 20 80 140 160
19
แรงดันเชือ้ เพลิง (เมกกะปาสคาล) 26
A84827

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 27


แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงคงที่ที่คา • วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0087/49 กําหนด • เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 28
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM

P0190/49
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงเทากับ
0.55 V หรือต่าํ กวา หรือ 4.9 V หรือสูงกวา ประมาณ 0.5 วินาที


วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
29
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงเทากับ • วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร 30
P0192/49 0.55 V หรือต่ํากวา ประมาณ 0.5 วินาที • เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM 31
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงเทากับ • วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0193/49 4.9 V หรือสูงกวา ประมาณ 0.5 วินาที เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)

• ECM
32
05–72 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขอแนะนํา:
1 เมื่อรหัส P0087/49, P0190/49, P0192/49 และ/หรือ P0193/49 ปรากฏขึ้น ใหตรวจเช็คแรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอม
มอนเรลโดยเขาสูเมนูรายการในเครี่องวิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Press
2 ขอมูลอางอิง:
1KD-FTV
3 ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล:
5 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล:
2KD-FTV
10 ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล:
11 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล:

12 รายละเอียดการตรวจสอบ
P0087/49 (สัญญาณเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงคงที่ที่คากําหนด):
13 ภายใตสภาวะปกติ แรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลเปลี่ยนแปลงขึ้นๆ ลงๆ 1 ถึง 2 เมกกะปาสคาล (10 ถึง
20 กก./ซม.2, 145 ถึง 290 ปอนด/นิ้ว2) อยูเสมอแมเมื่อสภาวะการขับขี่คงที่ แรงดันเชื้อเพลิงภายในอยูที่ประมาณ 30 ถึง
14 40 เมกกะปาสคาล (306 ถึง 408 กก./ซม.2, 4,351 ถึง 5,801 ปอนด/นิ้ว2)*1, หรือประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล (255
ถึง 357 กก./ซม.2, 3,626 ถึง 5,076 ปอนด/นิ้ว2)*2 ขณะเดินเบา และเพิ่มขึ้นที่ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล (510 ถึง
15 714 กก./ซม.2, 7,252 ถึง 10,153 ปอนด/นิ้ว2)*1 หรือประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล (357 ถึง 562 กก./ซม.2, 5,076 ถึง
7,991 ปอนด/นิว้ 2)*2 ขณะเครือ่ งยนตทาํ งานที่ 3,000 รอบ/นาที รหัสวิเคราะหปญ
 หานีจ้ ะปรากฏขึน้ กรณีทไี่ มมกี ารเปลีย่ น
16 แปลงขึ้นๆ ลงๆ ในแรงดันเชื้อเพลิงภายใน
ถารหัสวิเคราะหปญหานี้ปรากฏขึ้น ECM จะเขาสูโหมดปองกันการทํางานบกพรองและจํากัดกําลังเครื่องยนตลงโดย
17 ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe) นี้ยังคงทํางานไปจนกวาจะบิดสวิตชจุดระเบิด OFF
*1
: 1KD-FTV
19 *2
: 2KD-FTV
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–73

รหัส P0190/49, P0192/49 และ P0193/49 (วงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร):


รหัสวิเคราะหปญหาเหลานี้จะปรากฏขึ้นถาแรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงไมอยูในคามาตรฐาน 1
รหัสวิเคราะหดังกลาวใชแทนปญหาการขาดหรือลัดวงจรของวงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
ถารหัสวิเคราะหปญหาเหลานี้ปรากฏขึ้น ECM จะเขาสูโหมดปองกันการทํางานบกพรองและจํากัดกําลังเครื่องยนต 2
โดยระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe) นี้ยังคงทํางานไปจนกวาจะบิดสวิตชจุดระเบิด OFF
3
การตรวจจับความผิดปกติ P0087:
ปกติ
5
แรงดันเชือ้ เพลิง 10

ผิดปกติ
11
12
ความเร็วรอบ
13
ลาชาโดยประมาณ 0.5 ถึง 1.0 วินาที
เดินเบา:
ปกติ
14
15
เแรงดันเชือ้ เพลิง 16
เปด ผิดปกติ 17

ปด ปด 19
A82882 มุมเปดแปนคันแรง
G36533
G37165
26
แผนการตรวจสอบ
P0087/49:
27
เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง 28
ระยะเวลา 1 วินาที
การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่ 29
P0190/49:
เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง 30
ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง
ระยะเวลา 0.5 วินาที 31
การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่
32
05–74 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)
P0192/49:
1 เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง
ระยะเวลา 0.5 วินาที
2 การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่
P0193/49:
3 เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง
5 ระยะเวลา 0.5 วินาที
การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่
10 สภาวะการจําแนก
P0087/49:
11 คากําหนด คากําหนด
รายการขอมูล ต่ําสุด สูงสุด
12 ความเร็วรอบเครื่องยนต 500 รอบ/นาที -
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ 8V -
ปริมาณเชื้อเพลิง 5 มม.3 -
13 การตรวจสอบจะไมทํางานถาวงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงบกพรอง (P0190/49, P0192/49 และ P0193/49)

14 คาการจําแนกความผิดปกติ
P0087/49:
เกณฑการตรวจจับ คาระดับ
15 การเปลี่ยนแปลงคาแรงดันเชื้อเพลิง แทจริงไมเปลี่ยนแปลง
P0190/49:
16 เกณฑการตรวจจับ คาระดับ
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง ต่ํากวา 0.55 V หรือสูงกวา 4.9 V
17 P0192/49:
เกณฑการตรวจจับ คาระดับ
19 แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง ต่ํากวา 0.55 V
P0193/49:
26 เกณฑการตรวจจับ คาระดับ
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง สูงกวา 4.9 V
27 ผังวงจรไฟฟา
F9
ECM
28 เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง J6
J/C
18
VC 3 R-W E E R-W VC
29 E8

26
30
PR 2 R-Y PCR1
E8

J/C
31
B B 28
E2 1 BR BR E8 E2
J7 J8

32
A99769
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–75

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
• หลังจากซอมเสร็จ ใหตรวจเช็ควารหัส P0087/49, P0190/49, P0192/49 และ/หรือ P0193/49 ไมปรากฏขึ้นอีก
• กรณีรหัสวิเคราะหปญ
 หาของระบบตางๆ ซึง่ มีขวั้ E2 เปนขัว้ กราวดนนั้ สงสัญญาณออกมาอยางตอเนือ่ ง อาจเพราะ 2
ขั้ว E2 มีวงจรขาด
• อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว 3
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือ
รถจอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 5
เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II): 10
1 อานขอมูลใน DATA LIST (FUEL PRESS)
11
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 12
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้:Powertrain / Engine / Data List / Fuel Press
(ง) อานคาขอมูล 13
ปกติ: แรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลอยูภายในคากําหนดดานลาง
คามาตรฐาน:
1KD-FTV
14
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล: 15
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล:
2KD-FTV 16
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล: 17
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล:
19
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
ปกติ 26
27
2 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหากลับปรากฏขึ้นซ้ํา (รหัสวิเคราะหปญหาของเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 28
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC / Clear 29
(ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา
(จ) ใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 60 วินาที และย้ําคันเรงเรงรอบเครื่องยนตอยางรวดเร็ว (ที่ 2,500 รอบ/นาที) 30
ประมาณ 30 วินาที
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC 31
(ช) อานรหัสวิเคราะหปญหา
32
05–76 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผลที่ได:
1 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P0087/49, P0190/49, P0192/49 หรือ P0193/49 A
2 ไมปรากฏ B

B ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)


3
A
5
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
10
ขอควรระวัง:
11 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่

12 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง – ECM)


(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
13 (ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอร F9
E8
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
14
ECM

PCR1 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
15 VC
E8-26 (PCR1) - F9-2 (PR) ต่ํากวา 1 Ω
E2 E8-18 (VC) - F9-3 (VC) ต่ํากวา 1 Ω
16 E8-28 (E2) - F9-1 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
ดานชุดสายไฟ
E8-26 (PCR1) หรือ F9-2 (PR) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
17
F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง E8-18 (VC) หรือ F9-3 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E8-28 (E2) หรือ F9-1 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
19
26 A81089
A56170 E2 PR VC
27 A99798
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) (ดูหนา 11-29)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–77

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา PCR1)
2
(ก) สตารทเครื่องยนต
E8
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 5
E8-26 (PCR1) - E8-28 (E2) เดินเบา 1.3 ถึง 1.8 V
PCR1 (+) E2 (-) 10
A66060
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
11
ปกติ
12
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
13
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่ 14
2 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง)
15
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 16
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 17
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา
F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา 19
VC E2

26
PR
A62213

บกพรอง เปลีย่ นชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง)


(ดูหนา 11-29) 27
ปกติ
28
29
30
31
32
05–78 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง – ECM)


(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
2 (ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอร F9
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
E8

3
ECM

PCR1 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 VC
E8-26 (PCR1) - F9-2 (PR) ต่ํากวา 1 Ω
E2 E8-18 (VC) - F9-3 (VC) ต่ํากวา 1 Ω
10 E8-28 (E2) - F9-1 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
ดานชุดสายไฟ
E8-26 (PCR1) หรือ F9-2 (PR) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง E8-18 (VC) หรือ F9-3 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E8-28 (E2) หรือ F9-1 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12
13
A81089
A56170 E2 PR VC
14 A99798 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
16 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง:
17 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–79

รหัส P0088/78 แรงดันระบบ/รางน้ํามันเชื้อเพลิง - สูงเกินไป 1

รหัส P1229/78 ระบบปมเชื้อเพลิง 2


ขอแนะนํา: 3
• สําหรับรายละเอียดเกีย่ วกับปม เชือ้ เพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิง) และระบบคอมมอนเรล ใหดจู ากคําอธิบาย
ระบบ (ดูหนา 05-6) 5
• ถารหัส P0088/78 และ/หรือ P1229/78 ปรากฏขึน้ ใหดทู ี่ “ตารางรหัสวิเคราะหปญ  หาสําหรับระบบคอมมอนเรล” (ดู
หนา 05-6) 10
คําอธิบายผังวงจร
ดูที่คําอธิบายระบบ (ดูหนา 05-6) 11
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
แรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลสูงเกินไป: • ปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง) 12
แรงดันเชื้อเพลิงเกิน 200 เมกกะปาสคาล (2,039 กก./ซม.2, • ลิ้นจํากัดแรงดัน
P0088/78
29,007 ปอนด/นิ้ว2) • วงจรปม จายเชือ้ เพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิง) ลัดวงจร 13
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
จายเชื้อเพลิงมากเกินไป:
แรงดันเชื้อเพลิงภายในยังคงเกินกวาแรงดันเชื้อเพลิงเปา
• วงจรปม จายเชือ้ เพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิง) ลัดวงจร 14
P1229/78 • ปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง)
หมาย ทั้งๆ ที่ ECM ปดวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• ECM 15
ขอแนะนํา:
เมื่อรหัส P0088/78 และ/หรือ P1229/78 ปรากฏขึ้น ใหตรวจเช็คแรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลโดยเขาสูเมนู 16
รายการของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Press
ขอมูลอางอิง: 17
1KD-FTV
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง 19
เดินเบา ประมาณ 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล 26
2KD-FTV
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง 27
เดินเบา ประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล
28
รายละเอียดการตรวจสอบ
P0088/78 (แรงดันเชื้อเพลิงภายในสูงเกินไป): 29
ECM จะปรากฏรหัสวิเคราะหปญ  หานี้ ถาแรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรลเกิน 200 เมกกะปาสคาล (2,039 กก./ซม.2,
29,007 ปอนด/นิ้ว2) รหัสวิเคราะหปญหานี้แสดงวา: 1) วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงอาจเปดไมสะดวก, 2) อาจมีการลัด 30
วงจร และ/หรือ 3) อาจมีวงจรขาด
ถารหัสวิเคราะหปญหานี้ปรากฏขึ้น ECM จะเขาสูโหมดปองกันการทํางานบกพรองและจํากัดกําลังเครื่องยนตลงโดย 31
ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe) นี้ยังคงทํางานไปจนกวาจะบิดสวิตชจุดระเบิด OFF
32
05–80 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

P1229/78 (จายเชื้อเพลิงมากเกินไป):
1 ECM จะปรากฏรหัสวิเคราะหปญหานี้ ถาแรงดันเชื้อเพลิงที่แทจริงภายในคอมมอนเรลสูงกวาแรงดันเชื้อเพลิงเปาหมาย
แม ECM จะปดวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงก็ตาม รหัสวิเคราะหปญหานี้แสดงใหเห็นวาวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
2 อาจเปดไดไมสะดวก หรืออาจเกิดการลัดวงจร ภายใตสภาวะนี้ วาลวจายแรงดันจะทํางานบอยครั้ง
ถารหัสวิเคราะหปญหานี้ปรากฏขึ้น ECM จะเขาสูโหมดปองกันการทํางานบกพรองและจํากัดกําลังเครื่องยนตลงโดย
3 ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe) นี้ยังคงทํางานไปจนกวาจะบิดสวิตชจุดระเบิด OFF
แผนการตรวจสอบ
5 P0088/78:
เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
10 ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง
ระยะเวลา 1 วินาที
11 การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่
P1229/78:
12 เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง
13 ระยะเวลา 1 นาที
การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่
14 สภาวะการจําแนก
P0088/78:
15 คากําหนด
การตรวจสอบจะไมทํางานถาวงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงหรือวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงบกพรอง
16 P1229/78:
รายการขอมูล คากําหนด
17 ความผันแปรของแรงดันเชื้อเพลิงเปาหมาย เล็กนอย
การตรวจสอบจะไมทํางานถาวงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงหรือวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงบกพรอง
19 คาการจําแนกความผิดปกติ
26 P0088/78: เกณฑการตรวจจับ คาระดับ
200 เมกกะปาสคาล (2,039 กก./ซม.2, 29,007 ปอนด/นิ้ว2)
27 เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
หรือมากกวา
P1229/78:
28 รายการขอมูล คาระดับ
แรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลเมื่อวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงปด ยังคงสูงกวาแรงดันเชื้อเพลิงเปาหมาย
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–81

ผังวงจรไฟฟา
1
S8 2
วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง ECM

2
3
1 G-W
E8 PCV+

1
5
2 G-Y
E8 PCV-
10

A99786
11
ขั้นตอนการตรวจสอบ 12
ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไวเมื่อตรวจ 13
พบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถจอด เครือ่ งรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 14
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P0088/78 และ/หรือ P1229/78)
15
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 16
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา 17
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ 19
P0088/78 หรือ P0088/78 และ P1229/78 A
P1229/78 B
P0190/49, P0192/49 และ/หรือ P0193/49 C
26
B ดูขั้นตอนที่ 3 27

C ดูตารางรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ 28
(ดูหนา 05-60)
29
A
30
2 เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (ลิ้นจํากัดแรงดัน) (ดูหนา 11-29)
31
ตอไป
32
05–82 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา (รหัส P0088/78 หรือ P1229/78)


ขอแนะนํา:
2 หลังจากลบรหัสวิเคราะหปญหา ใหขับรถดวยความเร็ว 50 กม./ชม. (31 ไมล/ชม.) ประมาณ 5 นาที แลวตรวจยืนยันวา
รหัส P0088/78 และ/หรือ P1229/78 ไมปรากฏขึ้นอีก
3
3 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง)
5
(ก) ปลดขั้วตอวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง S8
วาลวควบคุม
10 การดูด
(ข) วัดความตานทานของวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
เชือ้ เพลิง คามาตรฐาน: 1.9 ถึง 2.3 Ω ที่ 20๐C (68๐F)
11
12
บกพรอง เปลี่ยนชุดปมเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูด
13
A98438
เชื้อเพลิง) (ดูหนา 11-23)
ปกติ
14
4 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา (รหัส P1229/78)
15
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
16 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC / Clear
17 (ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา
(จ) ปลดขั้วตอวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงแลวสตารทเครื่องยนต คอยประมาณ 1 นาที
19 ขอแนะนํา:
ถาเครื่องยนตสตารทไมติด แสดงวาวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงปกติ ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 6
26 (ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ช) อานรหัสวิเคราะหปญหา
27
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
28 ไมปรากฏ A
P1229/78 B
29
B เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูด
30 เชื้อเพลิง) (ดูหนา 11-23)

31 A

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–83

5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง – ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง S8
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM 2
S8
วาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิง (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S8-1 - E8-2 (PCV+) ต่ํากวา 1 Ω 5
S8-2 - E8-1 (PCV-) ต่ํากวา 1 Ω
S8-1 หรือ E8-2 (PCV+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป 10
S8-2 หรือ E8-1 (PCV-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
E8
11
ECM

12
PCV-
13
PCV+

A96602 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14


ปกติ
15
6 ตรวจเช็ค ECM (สัญญาณ PCV) 16
(ก) ในขณะเครื่องยนตหมุนหรือเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคป
E8 ตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของขั้วตอ ECM 17
ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
19
E8-2 (PCV+) - E8-1 (PCV-) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
26
PCV+ PCV-

27
28
10V/
Division
29
PCV+
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
30
5 msec./Division
ขอควรระวัง:
A66060
A97624 A99834 หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต 31
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ 32
05–84 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา (รหัส P0088/78 หรือ P1229/78)


ขอแนะนํา:
2 หลังจากลบรหัสวิเคราะหปญหา ใหขับรถดวยความเร็ว 50 กม./ชม. (31 ไมล/ชม.) ประมาณ 5 นาที แลวตรวจยืนยันวา
รหัส P0088/78 หรือ P1229/78 ไมปรากฏออกมาอีก
3
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–85

รหัส P0093/78 ตรวจพบระบบเชื้อเพลิงรั่ว - รั่วมาก 1

ขอแนะนํา: 2
• ถารหัส P1229/78 ปรากฏขึ้น รหัส P0093/78 (เชื้อเพลิงรั่วในบริเวณที่มีแรงดันสูง) อาจปรากฏขึน้ พรอมกันเนือ่ ง
มาจากแรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรลทีเ่ ปดลิน้ จํากัดแรงดันนัน้ สูงเกินไป รวมทัง้ การที่ ECM ประเมินสิง่ นี้วา 3
เปนความบกพรองจึงปรากฏรหัส P0093/78
• สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับระบบคอมมอนเรล ใหดูจากคําอธิบายระบบ (ดูหนา 05-6)
5
• ถารหัส P0093/78 ปรากฏขึ้น ใหดูที่ “ตารางรหัสวิเคราะหปญหาสําหรับระบบคอมมอนเรล” (ดูหนา 05-6) 10
คําอธิบายผังวงจร
ดูที่คําอธิบายระบบ (ดูหนา 05-6) 11
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
• ทอทางเชื้อเพลิงระหวางปมจายเชื้อเพลิงกับคอมมอนเรล 12
• ทอทางเชื้อเพลิงระหวางคอมมอนเรลกับแตละหัวฉีด
• ปมจายเชื้อเพลิง 13
• คอมมอนเรล
เชื้อเพลิงรั่วในบริเวณที่แรงดันสูง หัวฉีด
P0093/78
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)

• ลิ้นจํากัดแรงดัน
14
• วงจร EDU ขาดหรือลัดวงจร (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
• วงจรหัวฉีดขาดหรือลัดวงจร 15
• EDU (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
• ECM 16
ขอแนะนํา:
เมือ่ รหัส P0093/78 ปรากฏขึน้ ใหตรวจเช็คแรงดันเชือ้ เพลิงภายในของคอมมอนเรลโดยเขาสูเ มนูรายการของเครือ่ งวิเคราะห 17
ปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Press
ขอมูลอางอิง:
19
1KD-FTV
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
26
เดินเบา ประมาณ 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล 27
2KD-FTV
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
28
เดินเบา ประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล 29
30
31
32
05–86 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

รายละเอียดการตรวจสอบ
1 P0093/78 (เชื้อเพลิงรั่วในบริเวณที่มีแรงดันสูง):
รหัสวิเคราะหปญ  หานีบ้ ง บอกวารอยรัว่ ของเชือ้ เพลิงนัน้ มีอยูจ ริงในบริเวณทีม่ แี รงดันสูงในระบบคอมมอนเรล ซึง่ ECM
2 มีหนาทีต่ รวจสอบแรงดันเชือ้ เพลิงภายในของคอมมอนเรลอยางสม่าํ เสมอหลังจากทีเ่ ครือ่ งยนตสตารทติด ECM จะปรากฏ
3 รหัสวิเคราะหปญหานี้ ถาแรงดันเชื้อเพลิงภายในตกลงมากเมื่อฉีดเชื้อเพลิง
ในระบบคอมมอนเรล เชือ้ เพลิงแรงดันสูงจะถูกจายไปยังบริเวณทีม่ แี รงดันสูงตลอดเวลา รวมถึงปม จายเชือ้ เพลิง คอมมอนเรล
5 หัวฉีด และทอ ECM ปรับมุมเปดวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงเพื่อใหไดแรงดันเชื้อเพลิงภายในตามเปาหมาย
ถารหัสวิเคราะหปญหานี้ปรากฏขึ้น ECM จะเขาสูโหมดปองกันการทํางานบกพรอง ระบบปองกันการทํางานบกพรอง
10 (fail-safe) จะพักการทํางานทั้งของปมจายเชื้อเพลิงและการฉีดเชื้อเพลิงแลวจึงดับเครื่องยนต กอนดับเครื่องยนต ECM
จะยอมใหรถขับตอไปไดประมาณ 1 นาที โดยระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe) นี้ยังคงทํางานไปจนกวาจะ
11 บิดสวิตชจุดระเบิด OFF
แผนการตรวจสอบ
12 เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง
13 ระยะเวลา 1 วินาที
การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่
14 สภาวะการจําแนก
1KD-FTV:
15 คากําหนด คากําหนด
รายการขอมูล ต่ําสุด สูงสุด
16 ความเร็วรอบเครื่องยนต 750 รอบ/นาที -
การตรวจสอบจะไมทํางานถาวงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงหรือวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงบกพรอง
17 2KD-FTV:
คากําหนด คากําหนด
19 รายการขอมูล ต่ําสุด สูงสุด
ความเร็วรอบเครื่องยนต 600 รอบ/นาที -
26 การตรวจสอบจะไมทํางานถาวงจรเซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิงหรือวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงบกพรอง
คาการจําแนกความผิดปกติ
27 คาระดับ
แรงดันเชื้อเพลิงภายในตกลงมากเมื่อฉีดเชื้อเพลิง
28
ขั้นตอนการตรวจสอบ
29 ขอแนะนํา:
30 อความผิ
านขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
ดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
31 หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–87

เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P0093/78)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 2
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC 3
(ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา
ผลที่ได: 5
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P0093/78 A 10
P0093/78 และ P0200/97 B
11
B ดูตารางรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
(ดูหนา 05-60) 12
A
13
2 ตรวจเช็คการรั่วของเชื้อเพลิง (ในบริเวณและชิ้นสวนที่มีเชื้อเพลิงแรงดันสูง) 14
(ก) ตรวจดูปมเชื้อเพลิง หัวฉีดแตละหัว และทอทางเชื้อเพลิงที่ติดตั้งอยูระหวางปมจายเชื้อเพลิงกับคอมมอนเรล เพื่อ
หารอยรั่วของเชื้อเพลิงหรือรอยรั่วของแรงดันเชื้อเพลิง และปฏิบัติเชนเดียวกันนี้กับทอทางเชื้อเพลิงระหวางคอม 15
มอนเรลกับหัวฉีดแตละหัวดวย (ดูหนา 11-4)
ขอแนะนํา: 16
มีความเปนไปไดวาเกิดเชื้อเพลิงรั่วภายในสวนประกอบตางๆ (ปมจายเชื้อเพลิง และอื่นๆ)
ปกติ: ไมมีการรั่ว 17
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
19
ปกติ
26
3 อานขอมูลใน DATA LIST (ปริมาตรการฉีดชดเชยในแตละสูบ)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 27
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4 28
(ง) อานคาขอมูล
ปกติ: ปริมาตรการฉีดชดเชยจะอยูระหวาง -4.9 มม.3 กับ 4.9 มม.3 29
ขอแนะนํา:
• ถาหัวฉีดทํางานบกพรอง ปริมาตรการฉีดชดเชยยังคงอยูที่ -5.0 มม.3 ถึง 5.0 มม.3 30
• โดยปกติแลว ปริมาตรการฉีดชดเชยจะอยูระหวาง -3.0 มม.3 กับ 3.0 มม.3
31
บกพรอง เปลี่ยนชุดหัวฉีด (ดูหนา 11-13)
ปกติ 32
05–88 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ทดสอบการรั่วของเชื้อเพลิง)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Test the Fuel Leak
3 (ง) ตรวจหาเชื้อเพลิงรั่วในบริเวณที่มีแรงดันสูง
5 ตอไป

10 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา (รหัส P0093/78)


11 ขอแนะนํา:
• หลังจากลบรหัสวิเคราะหปญหา ใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 1 นาที แลวจึงเรงเครื่องที่ 2,500 รอบ/นาที
12 ประมาณ 30 วินาที
• ขณะเดียวกัน ใหตรวจเช็คแรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรลโดยเลือก Powertrain / Engine / Data List / Fuel
13 Press ในเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
• แรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลตองคงที่ภายใตการขับขี่ในแตละสภาวะ
14 ขอมูลอางอิง:
1KD-FTV
15 ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
16 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล
2KD-FTV
17 ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–89

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา
2
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51) 3
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ 5
เฉพาะ P0093/78 เทานั้น A
P0093/78 และ P0200/97 B
10
B ดูตารางรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
(ดูหนา 05-62) 11
A 12
2 ตรวจเช็คการรั่วของเชื้อเพลิง 13
(ก) ตรวจดูปมเชื้อเพลิง หัวฉีดแตละหัว และทอทางเชื้อเพลิงที่ติดตั้งอยูระหวางปมจายเชื้อเพลิงกับคอมมอนเรล เพื่อ 14
หารอยรั่วของเชื้อเพลิงหรือรอยรั่วของแรงดันเชื้อเพลิง และปฏิบัติเชนเดียวกันนี้กับทอทางเชื้อเพลิงระหวางคอม
มอนเรลกับหัวฉีดแตละหัวดวย (ดูหนา 11-4) 15
ขอแนะนํา:
มีความเปนไปไดวาเกิดเชื้อเพลิงรั่วภายในสวนประกอบตางๆ (ปมจายเชื้อเพลิง และอื่นๆ) 16
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 17
ปกติ
19
เปลี่ยนชุดหัวฉีด (ดูหนา 11-13)
26
27
28
29
30
31
32
05–90 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0095/23* วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาตัวที่ 2


2 รหัส P0097/23* กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
3 ตัวที่ 2 ต่ํา
5 รหัส P0098/23* กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
10 ตัวที่ 2 สูง
11 ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ 1KD-FTV, 2KD-FTV (มี CAC) เทานั้น
12 คําอธิบายผังวงจร
13 เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซลติดตั้งอยูในตัวระบายความ
(รูปที่ 1) รอนของการประจุอากาศ คอยตรวจจับอุณหภูมิอากาศเขา (IAT)
14 เทอรมิสเตอรภายในเซ็นเซอร จะเปลี่ยนคาความตานทานไปตาม
30 อุณหภูมอิ ากาศเขา ยิง่ อุณหภูมติ า่ํ คาความตานทานของเทอรมสิ เตอร
15 ก็จะยิ่งมีมาก และถาอุณหภูมิยิ่งสูง คาความตานทานก็จะยิ่งลดต่ําลง
20
10
คาที่ยอมรับได (ดูรูปที่ 1)
คาความตานทาน kΩ

16 3
2
เซ็นเซอรนี้ถูก ตอ เขา กับ ECM ซึ่ง จะจายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
1
ประมาณ 5 V จากขั้ว THIA ผานตัวตานทาน R เขาสูเซ็นเซอร
17 0.5 อุณหภูมิอากาศเขา กลาวคือ ตัวตานทาน R กับเซ็นเซอรอุณหภูมิ
0.3
อากาศเขานั้นตออนุกรมกันอยู เมื่อคาความตานทานของเซ็นเซอร
19
0.2
0.1 อุณหภูมิอากาศเขาเปลีย่ นไปตามอุณหภูมอิ ากาศ ทําใหแรงดันไฟฟา
ทีข่ วั้ THIA เปลีย่ นแปลงตามไปดวย ECM จะใชสญ ั ญาณดังกลาวนี้
26
-20 0 20 40 60 80 100

ปรับแกปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิง เพื่อปรับปรุงสมรรถนะการทํางาน
(-4) (32) (68) (104)(140)(176) (212)

อุณหภูมิ °C (°F) ขณะเครื่องยนตเย็นใหดีขึ้น


27 G36559

28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–91

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา ปฏิบัติตามขั้นตอน


วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซลขาด
• วงจรเซ็นเซอรอณ
ุ หภูมอิ ากาศเทอรโบดีเซลขาดหรือลัด 1
วงจร
P0095/23 หรือลัดวงจรประมาณ 0.5 วินาที ขั้นตอน 1
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล 2
• ECM
วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซลลัด
วงจรประมาณ 0.5 วินาที
• วงจรเซ็นเซอรอณ
ุ หภูมอิ ากาศเทอรโบดีเซลขาดหรือลัด 3
วงจร
P0097/23 (คาความตานทานของเซ็นเซอรต่ํากวา 25 Ω ขั้นตอน 4
[แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรตา่ํ กวา 0.05 V])
• เซ็นเซอรอณ
ุ หภูมอิ ากาศเทอรโบดีเซล 5
• ECM
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล
• วงจรเซ็นเซอรอณ
ุ หภูมอิ ากาศเทอรโบดีเซลขาดหรือลัด
10
ขาดวงจรประมาณ 0.5 วินาที
วงจร
P0098/23 (คาความตานทานของเซ็นเซอรสงู กวา 156 kΩ
• เซ็นเซอรอณ
ุ หภูมอิ ากาศเทอรโบดีเซล
ขั้นตอน 2 11
[แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรสงู กวา 4.9 V])
• ECM
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
12
ขอแนะนํา:
เมื่อตรวจพบรหัส P0095/23, P0097/23 หรือ P0098/23 ใหตรวจเช็คอุณหภูมิอากาศเขาโดยเขาเมนูรายการของเครื่อง 13
วิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Ambient Temperature
อุณหภูมิที่อานได ความบกพรอง 14
-40oC (-40oF) วงจรขาด
140oC (284oF) หรือสูงกวา ลัดวงจร 15
ผังวงจรไฟฟา 16
ECM
17
I4
I4 Diesel Turbo IAT Sensor
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล 5V

2 Y-G
20
THIA
R 19
E8
J8
J/C
28
26
1 BR B B BR E2
E8
27

A99771
28
ขั้นตอนการตรวจสอบ 29
ขอแนะนํา:
• กรณีรหัสวิเคราะหปญหาของระบบตางๆ ซึ่งมีขั้ว E2 เปนขั้วกราวดนั้นสงสัญญาณออกมาอยางตอเนื่อง อาจ 30
เพราะขั้ว E2 มีการขาดวงจร
• อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว
31
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถ
32
จอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
05–92 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 อานขอมูลใน DATA LIST (อุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล)
2 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
3 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Ambient Temperature
(ง) อานคาอุณหภูมิ
5 ปกติ: เทากันกับคาอุณหภูมิอากาศจริง
ผลที่ได:
10 อุณหภูมิที่อานได ปฏิบัติตามขอ
-40oC (-40oF) A
140oC (284oF) หรือสูงกวา B
11 ปกติ (เทากันกับอุณหภูมิอากาศใกลกับทอรวมไอดี) C

12 ข• อแนะนํ า:
ถามีการขาดของวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา -40๐C (-40๐F)
• ถามีการลัดวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา 140๐C (284๐F) หรือสูงกวา
13
B ดูขั้นตอนที่ 4
14
C ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
15 (ดูหนา 05-25)
A
16
2 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดในชุดสายไฟ)
17 I4 (ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล I4
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศ (ข) ตอขั้ว 1 และ 2 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเซ็นเซอรอุณหภูมิ
19
ECM
เทอรโบดีเซล อากาศเทอรโบดีเซล
26 THIA (ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
E2
27 (จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Ambient
ดานชุดสายไฟ Temperature
28 I4 (ฉ) อานคาขอมูล
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล คามาตรฐาน: 140 ๐C (284 ๐ F) หรือสูงกวา
29
30
31 ปกติ ตรวจยืนยันการตอเซ็นเซอร ถาปกติดี ใหเปลี่ยน
A99828 เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล
32 บกพรอง
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–93

3 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดใน ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล I4
I4 (ข) ตอขั้ว THIA และ E2 ของขั้วตอ E8 ของ ECM 2
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล ECM ขอแนะนํา:
กอนจะตรวจเช็ค ใหตรวจดูความแนนของขั้วที่ตอขั้ว ECM ดวยตา 3
เปลา
THIA
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
5
E2
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
10
(จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Ambient
E8
Temperature 11
ECM (ฉ) อานคาขอมูล
คามาตรฐาน: 140 ๐C (284 ๐F) หรือสูงกวา 12

THIA E2
13
A99829
ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
บกพรอง 15
ตรวจยืนยันการตอเขาที่ ECM ถาปกติดี ใหเปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 16
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
17
4 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรในชุดสายไฟ) 19
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล I4 26
I4
ECM (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
เซ็นเซอรอณ
ุ หภูมอิ ากาศเทอรโบดีเซล
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 27
(ง) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Ambient
28
THIA
Temperature
E2 (จ) อานคาขอมูล
A83863
คามาตรฐาน: -40 ๐C (-40 ๐F) 29
ปกติ เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล 30
บกพรอง
31
32
05–94 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 5 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรใน ECM)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล I4
2 I4
(ข) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
ECM
เซ็นเซอรอณ
ุ หภูมอิ ากาศเทอรโบดีเซล (ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
3 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
THIA
(จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Ambient
5 Temperature
E2
(ฉ) อานคาขอมูล
10
คามาตรฐาน: -40 ๐C (-40 ๐F)
11 E8
ECM
12 THIA

E2
13
14 A99830
ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
บกพรอง
15
16 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง:
17 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–95

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)


1
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา THIA)
2
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E8
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 5
E8-20 (THIA) - E8-28 (E2) 20 C (68 ๐F)

0.5 ถึง 3.4 V

THIA E2 ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ 10


A53763
(ดูหนา 05-25)
11
บกพรอง
12
2 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล
13
(ก) ถอดเซ็นเซอรออก
โอหมมิเตอร
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 14
คามาตรฐาน:
30
สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 15
20 20 C (68 ๐F)

2.21 ถึง 2.65 kΩ
10 ขอควรระวัง: 16
ถาตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT ในน้ํา ระวังอยาใหขั้วไฟฟาถูกน้ํา
คาความตานทาน kΩ

3
2
หลังจากตรวจเช็คแลว เช็ดเซ็นเซอรใหแหง 17
1

0.5
19
0.3
0.2 26
0.1

-20 0 20 40 60 80 100 27
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)
อุณหภูมิ °C (°F)
S01196
S01699

28
A99921

บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล
ปกติ 29
30
31
32
05–96 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM – เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล I4
2 ดานชุดสายไฟ
I4 (ข) ปลดขัว้ ตอ E8 ของ ECM
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเทอรโบดีเซล (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 E8-20 (THIA) - I4-2 ต่ํากวา 1 Ω
E8-28 (E2) - I4-1 ต่ํากวา 1 Ω
10 E8-20 (THIA) หรือ I4-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E8-28 (E2) หรือ I4-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 E8
ECM

12
13 THIA
E2

14 A96606
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


17 ขหลัอควรระวั ง:
งจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–97

รหัส P0100/31* วงจรมาตรวัดปริมาณอากาศ 1

รหัส P0102/31* กระแสไฟฟาวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศต่ํา 2


3
รหัส P0103/31* กระแสไฟฟาวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศสูง
5
ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ 1KD-FTV เทานั้น 10
คําอธิบายผังวงจร
มาตรวัดปริมาณอากาศ (MAF) นี้วัดกระแสการไหลของอากาศผานลิ้นเรงโดย ECM จะใชขอมูลที่วานี้ในการกําหนด 11
จังหวะการฉีดเชือ้ เพลิงและหาอัตราสวนผสมอากาศกับน้าํ มันเชือ้ เพลิงทีเ่ หมาะสม ภายในมาตรวัดปริมาณอากาศ มีขดลวด
แพลตตินัมทําความรอนใหกับอากาศที่ไหลเขามา 12
ECM จะจายกระแสไฟฟาใหกับขดลวดแพลตตินัมนี้ ทําใหขดลวดรอนจนไดอุณหภูมิ เมื่ออากาศไหลเขามาทําใหขด
ลวดรวมถึงเทอรมิสเตอรภายในเย็นลงจนกระทบตอคาความตานทาน เพื่อเปนการรักษาคาคงที่ของกระแสไฟฟา ECM 13
จึงทําใหแรงดันไฟฟาที่จายไปยังสวนประกอบตางๆ เหลานี้ในมาตรวัดปริมาณอากาศนั้นแตกตางกันไป ระดับแรงดัน
ไฟฟาจะเปนอัตราสวนสัมพันธกันกับอากาศที่ไหลผานเซ็นเซอรโดย ECM จะแปลคาแรงดันไฟฟานี้ใหเปนปริมาณ 14
อากาศเขา
วงจรนีอ้ อกแบบมาเพือ่ ใหขดลวดแพลตตินมั และเซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศทําหนาทีเ่ ปนสะพานไฟ (ตอวงจรบริดจ) ขณะ
เดียวกันก็ควบคุมเพาเวอรทรานซิสเตอรใหคงแรงดันไฟฟาเทากันทั้งที่จุด A และ B เพื่อรักษาอุณหภูมิที่ตั้งไว
15

+B
16
เซ็นเซอรอุณหภูมิ
เพาเวอรทรานซิสเตอร 17
ขดลวดความรอนแพลตตินัม
(ตัวทําความรอน) 19
A B
แรงดันไฟฟาออก 26
เซ็นเซอรอุณหภูมิ
ขดลวดความรอนแพลตตินัม 27
(ตัวทําความรอน)
A80089
28
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
เมื่อวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศมีการขาดหรือลัดวงจรนาน • วงจรมาตรวัดปริมาณอากาศขาดหรือลัดวงจร 29
P0100/31 กวา 3 วินาที ภายใตความเร็วรอบเครื่องยนต 2,000 รอบ/นาที • มาตรวัดปริมาณอากาศ
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) ECM
เมื่อวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศมีการขาดวงจรนานกวา

• วงจรมาตรวัดปริมาณอากาศขาดหรือลัดวงจร
30
P0102/31 3 วินาที ภายใตความเร็วรอบเครื่องยนต 2,000 รอบ/นาที • มาตรวัดปริมาณอากาศ
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM 31
เมื่อวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศมีการลัดวงจรนานกวา • วงจรมาตรวัดปริมาณอากาศขาดหรือลัดวงจร
P0103/31 3 วินาที ภายใตความเร็วรอบเครื่องยนต 2,000 รอบ/นาที • มาตรวัดปริมาณอากาศ 32
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
05–98 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขอแนะนํา:
1 เมื่อตรวจพบรหัส P0100/31, P0102/31 หรือ P0103/31 ใหตรวจเช็คอัตราการไหลอากาศโดยเขาเมนูรายการในเครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAF
2 อัตราการไหลอากาศ (กรัม/วินาที) ความบกพรอง
• วงจรแหลงจายไฟมาตรวัดปริมาณอากาศขาด
ประมาณ 0.0
3 • วงจร VG ขาดหรือลัดวงจร
174.0 หรือมากกวา วงจร EVG ขาด
5 ผังวงจรไฟฟา
10
A4 MAF Meter
11 มาตรวัดปริมาณอากาศ ECM
12
B 24
EA1 W-R VG
1 E7
E7
12 3

32
B-W E7 EVG
E7
13 B
2

J/B หองเครื
Engine ่องยนต
Room J/B
14 รี เลย รวม (ชุ ด B)
Integration Relay (Unit B)
รีMAIN
เลย MAIN
Relay
12 V
5

15 1J
3 2 14 8
W-B W-G W-G MREL
1J 1J
1J IF3 E5
16 1 EFI
7
E7 E1
1H
W-L 1 2
BR
17 A
3
1B
BATT P/I 1
1A
A
J1 J10
J/C J/C
19 A W A
W-B BR
26 แบตเตอรี
Battery ่
EB EC

27
G34649

28
ขั้นตอนการตรวจสอบ
29 ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
30 ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–99

เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 อานขอมูลใน DATA LIST (อัตราการไหลอากาศ)
2
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 3
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAF
(ง) อานคาขอมูล 5
ผลที่ได:
อัตราการไหลอากาศ (กรัม/วินาที) ปฏิบัติตามขอ 10
0.0 A
174.0 หรือมากกวา B
ระหวาง 1 กับ 173.0* C
11
ขอแนะนํา: 12
*: คาตองเปลี่ยนไปเมื่อเปดหรือปดลิ้นเรง
13
B ดูขั้นตอนที่ 6
14
C ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
(ดูหนา 05-25) 15
A
16
2 ตรวจเช็คมาตรวัดปริมาณอากาศ (แหลงจายไฟ) 17
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
ดานชุดสายไฟ
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 19
A4
(ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
มาตรวัดปริมาณอากาศ
คามาตรฐาน:
26
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
27
A4-1 - กราวดตัวถัง 9 ถึง 14 V
A84809
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 5 28
ปกติ 29
30
31
32
05–100 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจสอบ ECM (ตรวจเช็คแรงดันไฟฟา VG)


(ก) สตารทเครื่องยนต
2 E7 VG (+) (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-24 (VG) - E7-32 (EVG) ขณะเดินเบา 0.5 ถึง 3.4 V
5 EVG (-) ขอแนะนํา:
ควรปดสวิตช A/C (OFF)
10 A66060

ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


11
ขอควรระวัง:
12 หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
13 บกพรอง
14 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มาตรวัดปริมาณอากาศ – ECM)

15 (ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM
16 A4
มาตรวัดปริมาณอากาศ
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
17 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A4-3 - E7-24 (VG) ต่ํากวา 1 Ω
19 A4-2 - E7-32 (EVG) ต่ํากวา 1 Ω
A4-3 หรือ E7-24 (VG) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
26 A4-2 หรือ E7-32 (EVG) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E7

27 ECM

28 VG

EVG
29 A96607
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
30 ปกติ
31 เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–101

5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มาตรวัดปริมาณอากาศ – รีเลย MAIN) 1


(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
ดานชุดสายไฟ
(ข) ถอดรีเลยรวมออกจาก J/B หองเครื่องยนต (ดูหนา 10-4) 2
A4
(ค) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
มาตรวัดปริมาณอากาศ
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5
A4-1 - 1J-5 ต่ํากวา 1 Ω
1J A4-1 หรือ 1J-5 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
รีเลยรวม
11
12
13
A84809

14
G34722
G34942
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 15
ตรวจสอบวงจรแหลงจายไฟ ECM (ดูหนา 05-231) 16
6 ตรวจเช็ค ECM (กราวดเซ็นเซอร) 17
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอ ECM 19
E7
ECM
VG (+) คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 26
E7-32 (EVG) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
27
EVG (-)
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
A66060 28
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต 29
จนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
ปกติ 30
31
32
05–102 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มาตรวัดปริมาณอากาศ – ECM)


(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM
A4
มาตรวัดปริมาณอากาศ
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 A4-3 - E7-24 (VG) ต่ํากวา 1 Ω
A4-2 - E7-32 (EVG) ต่ํากวา 1 Ω
10 A4-3 หรือ E7-24 (VG) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
A4-2 หรือ E7-32 (EVG) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 E7
ECM

12
13
VG

EVG

14 A96607
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16 เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ
17 เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
1 ตรวจสอบ ECM (ตรวจเช็คแรงดันไฟฟา VG)
19
(ก) สตารทเครื่องยนต
26 E7
ECM
VG (+) (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
คามาตรฐาน:
27 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-24 (VG) - E7-32 (EVG) ขณะเดินเบา 0.5 ถึง 3.4 V
28 EVG (-) ขอแนะนํา:
ควรปดสวิตช A/C (OFF)
29 A66060

ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


30
ขอควรระวัง:
31 หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
32 บกพรอง
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–103

2 ตรวจเช็คมาตรวัดปริมาณอากาศ (แหลงจายไฟ) 1
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
ดานชุดสายไฟ
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 2
(ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
A4
มาตรวัดปริมาณอากาศ 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A4-1 - กราวดตัวถัง 9 ถึง 14 V 5
A84809
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4 10
ปกติ 11
3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มาตรวัดปริมาณอากาศ – ECM) 12
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
ดานชุดสายไฟ 13
(ข) ปลดขั้วตอ E7 ของ ECM
A4
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 14
มาตรวัดปริมาณอากาศ
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 15
A4-3 - E7-24 (VG) ต่ํากวา 1 Ω
A4-2 - E7-32 (EVG) ต่ํากวา 1 Ω
16
A4-3 หรือ E7-24 (VG) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
A4-2 หรือ E7-32 (EVG) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
17
E7
ECM
19
VG 26
EVG

A96607
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 27
ปกติ 28
เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ 29
30
31
32
05–104 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มาตรวัดปริมาณอากาศ – รีเลย MAIN)


(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ถอดรีเลยรวมออกจาก J/B หองเครื่องยนต (ดูหนา 10-4)
A4
(ค) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
3 มาตรวัดปริมาณอากาศ
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A4-1 - 1J-5 ต่ํากวา 1 Ω
10 1J A4-1 หรือ 1J-5 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
รีเลยรวม
11
12
13
A84809

14
G34722
G34942
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16 ตรวจสอบวงจรแหลงจายไฟ ECM
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–101

5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มาตรวัดปริมาณอากาศ – รีเลย MAIN) 1


(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4
ดานชุดสายไฟ
(ข) ถอดรีเลยรวมออกจาก J/B หองเครื่องยนต (ดูหนา 10-4) 2
A4
(ค) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
มาตรวัดปริมาณอากาศ
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5
A4-1 - 1J-5 ต่ํากวา 1 Ω
1J A4-1 หรือ 1J-5 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
รีเลยรวม
11
12
13
A84809

14
G34722
G34942
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 15
ตรวจสอบวงจรแหลงจายไฟ ECM (ดูหนา 05-231) 16
6 ตรวจเช็ค ECM (กราวดเซ็นเซอร) 17
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอ ECM 19
E7
ECM
VG (+) คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 26
E7-32 (EVG) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
27
EVG (-)
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
A66060 28
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต 29
จนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
ปกติ 30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–105

รหัส P0105/35 วงจรความกดอากาศ/แรงดันสัมบูรณทอรวม 1

รหัส P0107/35 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศ/แรงดันสัมบูรณ 2


ทอรวมไอดีต่ํา 3

รหัส P0108/35 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศ/แรงดันสัมบูรณ 5


ทอรวมไอดีสูง 10
11
คําอธิบายผังวงจร
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมตรวจจับแรงดันทอรวมไอดีโดยชุด 12
เซ็นเซอรทตี่ ดิ ตัง้ อยูภ ายใน ECM จะกําหนดชวงเวลาการฉีดเชือ้ เพลิง
V
เบื้องตนและจังหวะการฉีดลวงหนาใหเปนไปตามแรงดันไฟฟาที่ 13
4.5
สงออกมาจากเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมจะคอยตรวจสอบแรงดันสัมบูรณ 14
ภายในทอรวมไอดี (คาเริ่มตนเทากับ 0 กิโลปาสคาล (0 มม.ปรอท,
1.0 0 นิ้วปรอท)) เพื่อให ECM ควบคุมอัตราสวนผสมอากาศกับน้าํ มัน 15
13.3 253.3
kPa เชือ้ เพลิงใหอยูใ นระดับทีถ่ กู ตองในทุกสภาวะการขับขี่ โดยไมไดรบั ผล
1,900
mmHg กระทบจากความแปรปรวนของแรงดันบรรยากาศ อันเนือ่ งมาจาก 16
100
(3.9) (74.8) (in.Hg) องคประกอบตางๆ อาทิ เชน ระดับความสูง เปนตน
แรงกดอากาศ
Air Pressure
A06532
17
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 19
• วงจรเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอ รวมขาดหรือลัดวงจร
P0105/35 วงจรเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมขาดหรือลัดวงจร • เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม 26
P0107/35 ประมาณ 0.5 วินาทีขึ้นไป • ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
P0108/35 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ชุดวาลว EGR
• ECM
27
ขอแนะนํา:
28
เมื่อตรวจพบรหัส P0105/35, P0107/35 หรือ P0108/35 ใหตรวจเช็คแรงดันทอรวมไอดีโดยเขาเมนูรายการในเครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAP 29
แรงดันทอรวมไอดี ความบกพรอง
ประมาณ 0 กิโลปาสคาล วงจร PIM ลัดวงจร
• วงจร VC ขาดหรือลัดวงจร
30
250 กิโลปาสคาลหรือมากกวา • วงจร PIM ขาด
• วงจร E2 ขาด
31
32
05–106 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
2
T9 Manifold Absolute Pressure Sensor ECM
J9
3 เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี J/C 5V
18
3 R-W E E R-W VC
VC E8

5
28
10 PIM
2 L-B
E7
PIM

J8
11 1 BR B
J/C
B BR
28
E2
E2 E8

12
13 A99770

14 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
15 • กรณีรหัสวิเคราะหปญ หาของระบบตางๆ ซึง่ มีขวั้ E2 เปนขัว้ กราวดนนั้ สงสัญญาณออกมาอยางตอเนือ่ ง อาจเพราะ
ขั้ว E2 มีการขาดวงจร
16 • อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือ
17 รถจอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
19 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
1 อานขอมูลใน DATA LIST (แรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี)
26
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
27 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAP
28 (ง) อานคาขอมูล
คามาตรฐาน: เทากันกับคาแรงดันบรรยากาศจริง
29
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
30 (ดูหนา 05-25)
บกพรอง
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–107

2 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VC) 1


(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E8 VC (+) (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 2
ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
E8-18 (VC) - E8-28 (E2) 4.5 ถึง 5.5 V
E2 (-) 5
A66060
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 10
ขอควรระวัง: 11
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 12
ปกติ
13
3 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา PIM)
14
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E8
ECM
E7
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 15
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 16
จายแรงดันขณะเทอรโบ
E2 (-) PIM (+)
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2)
ไมทาํ งาน 40 กิโลปาสคาล
1.3 ถึง 1.9 V 17
(300 มม.ปรอท, 11.8 นิ้ว
ปรอท)
19
A66060

เทากันกับแรงดัน
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2) 2.4 ถึง 3.1 V
บรรยากาศ
จายแรงดันขณะเทอรโบ 26
ทํางาน 170 กิโลปาสคาล
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2) 3.7 ถึง 4.3 V
(1,275 มม.ปรอท, 50.2 27
นิ้วปรอท)
28
ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง: 29
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่ 30
บกพรอง
31
32
05–108 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม – ECM)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม T9
2 ดานชุดสายไฟ T9
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 และ E8 ของ ECM
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 T9-2 (PIM) - E7-28 (PIM) ต่ํากวา 1 Ω
T9-3 (VC) - E8-18 (VC) ต่ํากวา 1 Ω
10 E2 PIM VC
T9-1 (E2) - E8-28 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
T9-2 (PIM) หรือ E7-28 (PIM) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
11 E8
ECM
E7
ECM
T9-3 (VC) หรือ E8-18 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
T9-1 (E2) หรือ E8-28 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
12 VC
PIM

13
E2

14 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
A56170
A81088 A99844

ปกติ
15
16 5 ตรวจสอบชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-22)
ปกติ: ไมมีผลการตรวจสอบใดแสดงถึงความผิดปกติ
17
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
19 (ดูหนา 13-27 (1KD-FTV), 13-36 (2KD-FTV
มี CAC), 13-44 (2KD-FTV ไมมี CAC))
26
ปกติ
27
6 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7)
28 ปกติ: ไมมีผลการตรวจสอบใดแสดงถึงความผิดปกติ
29 บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)

30 ปกติ

31 เปลี่ยนเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–109

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VC)
2
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E8
ECM
VC (+) (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 5
E8-18 (VC) - E8-28 (E2) 4.5 ถึง 5.5 V
E2 (-)
10
A66060
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
11
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่อง 12
ยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
ปกติ 13

2 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา PIM)


14
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 15
E8 E7 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM ECM
คามาตรฐาน: 16
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
จายแรงดันขณะเทอรโบ 17
E2 (-) PIM (+) ไมทาํ งาน 40 กิโลปาสคาล
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2)
(300 มม.ปรอท, 11.8 นิ้ว
1.3 ถึง 1.9 V 19
A66060
ปรอท)
เทากันกับแรงดัน 26
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2) 2.4 ถึง 3.1 V
บรรยากาศ
จายแรงดันขณะเทอรโบ 27
ทํางาน 170 กิโลปาสคาล
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2) 3.7 ถึง 4.3 V
(1,275 มม.ปรอท, 50.2 28
นิ้วปรอท)

ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 29


ขอควรระวัง: 30
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่อง
ยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่ 31
บกพรอง
32
05–110 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม – ECM)

ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม T9
2 T9
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 และ E8 ของ ECM
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 T9-2 (PIM) - E7-28 (PIM) ต่ํากวา 1 Ω
T9-3 (VC) - E8-18 (VC) ต่ํากวา 1 Ω
10 E2 PIM VC
T9-1 (E2) - E8-28 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
T9-2 (PIM) หรือ E7-28 (PIM) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
11 E8
ECM
E7
ECM T9-3 (VC) หรือ E8-18 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
T9-1 (E2) หรือ E8-28 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
12 VC
PIM

13
E2

14
A56170
A81088 A99844 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
16 4 ตรวจสอบชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-22)
ปกติ: ไมมีผลการตรวจสอบใดแสดงถึงความผิดปกติ
17
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
19 (ดูหนา 13-27 (1KD-FTV), 13-36 (2KD-FTV
มี CAC), 13-44 (2KD-FTV ไมมี CAC))
26
ปกติ
27
5 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7)
28 ปกติ: ไมมีผลการตรวจสอบใดแสดงถึงความผิดปกติ
29 บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)

30 ปกติ

31 เปลี่ยนเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–111

รหัส P0110/24 วงจรอุณหภูมิอากาศเขา 1

รหัส P0112/24 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิอากาศเขาต่ํา 2


3
รหัส P0113/24 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมิอากาศเขาสูง
5
คําอธิบายผังวงจร
1KD-FTV: 10
(รูปที่ 1) เซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศเขา (IAT) ติดตัง้ อยูใ นมาตรวัดปริมาณอากาศ
(MAF) คอยตรวจจับอุณหภูมิอากาศเขา เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา 11
นี้มีเทอรมิสเตอรที่ใหคาความตานทานแตกตางกันไปตามอุณหภูมิ
12
30
20 ของอากาศเขา เมือ่ อุณหภูมอิ ากาศต่าํ คาความตานทานในเทอรมสิ เตอร
10
คาที่ยอมรับได
จะเพิม่ ขึน้ แตเมือ่ อุณหภูมอิ ากาศสูง คาความตานทานจะตกลง ECM
จะไดรับทราบขอมูลความผันแปรในคาความตานทานเชนเดียวกับ 13
คาความตานทาน kΩ

การเปลี่ยนแปลงในแรงดันไฟฟา (ดูรูปที่ 1)
3
2
1 เซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศเขานีถ้ กู ตอเขากับ ECM ซึง่ จะจายแรงดันไฟฟา 14
0.5 แบตเตอรีป่ ระมาณ 5 V จากขัว้ THA ผานตัวตานทาน R เขาสูเ ซ็นเซอร
อุณหภูมอิ ากาศเขา กลาวคือ ตัวตานทาน R กับเซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศ 15
0.3
0.2
0.1 เขานั้นตออนุกรมกันอยู เมื่อคาความตานทานของเซ็นเซอรอุณหภูมิ
-20 0 20 40 60 80 100 อากาศเขาเปลีย่ นไปตามอุณหภูมอิ ากาศ ทําใหแรงดันไฟฟาทีข่ วั้ THA 16
(-4) (32) (68) (104)(140)(176) (212)
เปลี่ยนแปลงตามไปดวย ECM จะใชสัญญาณดังกลาวนี้ในการเพิ่ม
อุณหภูมิ °C (°F) ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิง เพือ่ ปรับสมรรถนะการทํางานของเครือ่ งยนต 17
G36559 ขณะเย็นใหดีขึ้น
2KD-FTV: 19
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา (IAT) ติดตั้งเปนชุดเดียวกับทอกรอง
อากาศคอยตรวจจับอุณหภูมอิ ากาศเขา เซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศเขานี้ 26
มีเทอรมสิ เตอรทใี่ หคา ความตานทานแตกตางกันไปตามอุณหภูมขิ อง
อากาศเขา เมื่ออุณหภูมอิ ากาศต่าํ คาความตานทานในเทอรมสิ เตอรจะ 27
เพิม่ ขึน้ แตเมือ่ อุณหภูมิอากาศสูง คาความตานทานจะตกลง ECM
จะไดรับทราบขอมูลความผันแปรในคาความตานทานเชนเดียวกับ
การเปลีย่ นแปลงในแรงดันไฟฟา (ดูรูปที่ 1)
28
เซ็นเซอรอณ ุ หภูมอิ ากาศเขานีถ้ กู ตอเขากับ ECM ซึง่ จะจายแรงดันไฟ
ฟาแบตเตอรีป่ ระมาณ 5 V จากขัว้ THA ผานตัวตานทาน R เขาสู 29
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา กลาวคือ ตัวตานทาน R กับเซ็นเซอร
อุณหภูมิอากาศเขานั้นตออนุกรมกันอยู เมื่อคาความตานทานของ 30
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขาเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิอากาศ ทําใหแรง
ดันไฟฟาที่ขั้ว THA เปลี่ยนแปลงตามไปดวย ECM จะใชสัญญาณ 31
ดังกลาวนี้ในการเพิ่มปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิง เพื่อปรับสมรรถนะ
การทํางานของเครื่องยนตขณะเย็นใหดีขึ้น 32
05–112 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา ปฏิบัติตามขอ


1 วงจรเซ็นเซอร IAT ขาดหรือลัดวงจร
• วงจรเซ็นเซอร IAT ขาดหรือลัดวงจร
• เซ็นเซอร IAT (ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1
P0110/24 ประมาณ 0.5 วินาที ขั้นตอน 1
2 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• เซ็นเซอร IAT*2
• ECM
วงจรเซ็นเซอร IAT ขาดหรือลัดวงจร
3 วงจรเซ็นเซอร IAT ลัดวงจรประมาณ

• เซ็นเซอร IAT (ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1
P0112/24 0.5 วินาที ขั้นตอน 4
• เซ็นเซอร IAT*2
5 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• ECM
• วงจรเซ็นเซอร IAT ขาดหรือลัดวงจร
วงจรเซ็นเซอร IAT ขาดวงจรประมาณ
10 P0113/24 0.5 วินาที
• เซ็นเซอร IAT (ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1
ขั้นตอน 2
• เซ็นเซอร IAT*2
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
11 • ECM
ขอแนะนํา:
12 *1
: 1KD-FTV
*2
: 2KD-FTV
13 เมื่อตรวจพบรหัส P0110/24, P0112/24 หรือ P0113/24 ใหตรวจเช็คอุณหภูมิอากาศเขาโดยเขาเมนูรายการในเครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Intake Air
14 อุณหภูมิที่อานได ความบกพรอง
-40 ๐C (-40 ๐F) วงจรขาด
15 140 ๐C (284 ๐F) หรือสูงกวา ลัดวงจร

16 ผังวงจรไฟฟา
*1
A4
17 เซ็นเซอร IAT ECM

(ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)
5V
19
*2
I3
เซ็นเซอร IAT 4
*1
Y-B
*1
31 R
*2 *2
2 Y-G THA
E8
26 *1
5 J/C
*2 B B 28
1 BR BR E2
27 J7 J8 E8

28 *1
: 1KD-FTV
*2
: 2KD-FTV A99772

29
ขั้นตอนการตรวจสอบ
30 ขอแนะนํา:
• กรณีรหัสวิเคราะหปญหาของระบบตางๆ ซึ่งมีขั้ว E2 เปนขั้วกราวดนั้นสงสัญญาณออกมาอยางตอเนื่อง อาจ
31 เพราะขั้ว E2 มีการขาดวงจร
• อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว
32 เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถ
จอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–113

เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 อานขอมูลใน DATA LIST (อุณหภูมิอากาศเขา)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 2
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Intake Air 3
(ง) อานคาขอมูล
ปกติ: เทากันกับคาอุณหภูมิอากาศเขาจริง 5
ผลที่ได:
อุณหภูมิที่อานได
-40°C (-40°F)
ปฏิบัติตามขอ
A
10
140°C (284°F) หรือสูงกวา B
ปกติ (เทากันกับอุณหภูมิอากาศใกลกับทอรวมไอดี) C 11
ขอแนะนํา:
• ถามีการขาดของวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา -40°C (-40°F) 12
• ถามีการลัดวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา 140°C (284°F) หรือสูงกวา
13
B ดูขั้นตอนที่ 4
14
C ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)
A 15
2 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดในชุดสายไฟ) 16
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4*1
*1
A4 , I3
*2

(ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา I3*2 17


เซ็นเซอร IAT ECM
(ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1 (ค) ตอขั้ว 4*1 และ 5*1 ของขั้วตอดานชุดสายไฟมาตรวัดปริมาณ
อากาศ 19
THA
(ง) ตอขั้ว 1*2 และ 2*2 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเซ็นเซอรอุณหภูมิ
E2 อากาศเขา
26
(จ) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 27
ดานชุดสายไฟ
*1
(ฉ) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
A4
มาตรวัดปริมาณอากาศ (ช) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Intake Air 28
(ซ) อานคาขอมูล
ปกติ: 140°C (284°F) หรือสูงกวา 29
*2
I3
เซ็นเซอร IAT 30
31
32
*1
: 1KD-FTV
*2
: 2KD-FTV
A99234
05–114 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ปกติ ตรวจยืนยันการตอเซ็นเซอร ถาปกติดี ใหเปลี่ยน


1 มาตรวัดปริมาณอากาศ (1KD-FTV) หรือ
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา (2KD-FTV)
2 บกพรอง
3 3 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดใน ECM)
5 A4 , I3 *1 *2
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4*1
เซ็นเซอร IAT (ข) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา I3*2
10 (ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1
ECM
(ค) ตอขั้ว THA และ E2 ของขั้วตอ E8 ของ ECM
ขอแนะนํา:
11 THA กอนจะตรวจเช็ค ใหตรวจดูความแนนของขัว้ ทีข่ วั้ ตอ ECM ดวยตา
เปลา
12 E2
(ง) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
*1
: 1KD-FTV
*2
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
13
: 2KD-FTV

E8
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Intake Air
ECM (ช) อานคาขอมูล
14
ปกติ: 140°C (284°F) หรือสูงกวา
15
THA E2
16 Y
A83862
A80455 A96615 ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
17 บกพรอง
19 ตรวจยืนยันการตอ ECM ถาปกติดี ใหเปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
26 ขหลัอควรระวั ง:
งจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่
27 4 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรในชุดสายไฟ)
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4*1
28
*1
A4 , I3*2I3*2 IAT Sensor
A4*1,
เซ็(Built
นเซอรinto
IATMAF Meter)*1 ECM (ข) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา I3*2
(ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1 (ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
29 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
THA (จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Intake Air
30 E2
(ฉ) อานคาขอมูล
*1
*1: 1KD-FTV *2:
: 1KD-FTV ปกติ: -40°C (-40°F)
31 *2
2KD-FTV
: 2KD-FTV
A83863
ปกติ เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ (1KD-FTV) หรือ
เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา (2KD-FTV)
32 บกพรอง
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–115

5 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรใน ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
A4*1, I3*2
เซ็นเซอร IAT ECM (ข) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4*1 2
(ติดตั้งในมาตรวัดปริมาณอากาศ)*1 (ค) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา I3*2
(ง) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 3
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
THA

E2 (ฉ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Intake Air


5
*1
: 1KD-FTV
(ช) อานคาขอมูล
10
*2
: 2KD-FTV
ปกติ: -40°C (-40°F)
E8
11
ECM

12
13
Y THA
A83864
A80456 A96616 ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
บกพรอง
15
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
16
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่ 17
เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
19
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา THA)
(ก) สตารทเครื่องยนต
26
E8 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM 27
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 28
เดินเบา, อุณหภูมิอากาศ
E8-31 (THA) - E8-28 (E2) 0.5 ถึง 3.4 V
เขาอยูที่ 20°C (68°F)
THA (+) E2 (-) 29
A66060 ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
(ดูหนา 05-25) 30
บกพรอง 31
32
05–116 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 2 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
(ก) 1KD-FTV:
2 อากาศ
ตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT
(1) ถอดมาตรวัดปริมาณอากาศ
3 (2) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
5 43 2 1
คามาตรฐาน:
5 30 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
4-5 -20°C (-4°F) 13.6 ถึง 18.4 kΩ
20

10 10
4-5 20°C (68°F) 2.21 ถึง 2.69 kΩ
คาความตานทาน kΩ

5
3 4-5 60°C (140°F) 0.49 ถึง 0.67 kΩ
11 2

12
0.5
0.3
0.2

0.1

13 -20 0 20 40 60 80 100
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)

อุณหภูมิ °C (°F)
14 G35065

15 (ข) 2KD-FTV:
โอหมมิเตอร ตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT
16 (1) ถอดเซ็นเซอร IAT
(2) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
17 30
คามาตรฐาน:
20
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
19 10
1-2 20°C (68°F) 2.21 ถึง 2.69 kΩ
คาความตานทาน kΩ

5
3 ขอควรระวัง:
26 2
1
ถาตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT ในน้าํ ระวังอยาใหขวั้ ไฟฟาถูกน้าํ
หลังจากตรวจเช็คแลว เช็ดเซ็นเซอรใหแหง
27
0.5
0.3
0.2

28 0.1

-20 0 20 40 60 80 100
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)
บกพรอง เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ (1KD-FTV) หรือ
29 อุณหภูมิ °C (°F) A98859 เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา (2KD-FTV)
30 ปกติ

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–117

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM − เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา) 1


(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขั้วตอมาตรวัดปริมาณอากาศ A4*1 2
E8 (ค) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา I3*2
ECM
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
คามาตรฐาน:
1KD-FTV
5
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
THA
E2
A4-4 - E8-31 (THA) ต่ํากวา 1 Ω 10
*1
A4
A4-5 - E8-28 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
มาตรวัดปริมาณอากาศ 11
A4-4 หรือ E8-31 (THA) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
A4-5 หรือ E8-28 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
2KD-FTV 12
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
13
*2
I3
เซ็นเซอร IAT I3-2 - E8-31 (THA) ต่ํากวา 1 Ω
I3-1 - E8-28 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
I3-2 หรือ E8-31 (THA) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 14
I3-1 หรือ E8-28 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา

*1
15
: 1KD-FTV
*2
: 2KD-FTV
G34737
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 16
ปกติ
17
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 19
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องยนตอุนเต็มที่ 26
27
28
29
30
31
32
05–118 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0115/22 วงจรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต


2 รหัส P0117/22 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนตตา่ํ
3
รหัส P0118/22 กระแสไฟฟาวงจรอุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนตสงู
5
10 คําอธิบายผังวงจร
เทอรมสิ เตอรทอี่ ยูภ ายในเซ็นเซอรอณ
ุ หภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนต (ECT) จะเปลีย่ นคาความตานทานไปตามอุณหภูมขิ อง
11 น้ําหลอเย็น
โครงสรางของเซ็นเซอรและการตอเขากับ ECM นั้นเหมือนกันกับเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
12 ขอแนะนํา:
กรณีที่ ECM ตรวจพบรหัส P0115/22, P0117/22 หรือ P0118/22 จะใชงานระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe)
13 ซึ่งคาอุณหภูมิของน้ําหลอเย็นจะถูกสมมุติใหเทากับ 80°C (176°F)
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา ปฏิบัติตามขอ
14 วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดหรือลัดวงจร • วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดหรือลัดวงจร
P0115/22 ประมาณ 0.5 วินาที • เซ็นเซอร ECT ขั้นตอน 1
15 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
วงจรเซ็นเซอร ECT ลัดวงจรประมาณ
• วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดหรือลัดวงจร
0.5 วินาที
16 P0117/22
(คาความตานทานของเซ็นเซอรต่ํากวา 79 Ω
• เซ็นเซอร ECT ขั้นตอน 4
• ECM
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
17 วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดประมาณ 0.5 วินาที • วงจรเซ็นเซอร ECT ขาดหรือลัดวงจร
P0118/22 (คาความตานทานของเซ็นเซอรสงู กวา 156 kΩ • เซ็นเซอร ECT ขั้นตอน 2
19 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
ขอแนะนํา:
26 เมื่อตรวจพบรหัส P0115/22, P0117/22 และ/หรือ P0118/22 ใหตรวจเช็คอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนตโดยเขาเมนูราย
การในเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Coolant Temp
27 อุณหภูมิที่อานได ความบกพรอง
-40°C (-40°F) วงจรขาด
28 140°C (284°F) หรือสูงกวา ลัดวงจร

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–119

ผังวงจรไฟฟา
1
ECM
W1
เซ็นเซอรW1ECT
ECT Sensor
5V 2
2 R-L
19
THW
R
3
E8

1 BR
B
J/C
B
BR
28
E2
5
J7 J8 E8

10

A99772
11
ขั้นตอนการตรวจสอบ 12
ขอแนะนํา:
• กรณีรหัสวิเคราะหปญหาของระบบตางๆ ซึ่งมีขั้ว E2 เปนขั้วกราวดนั้นสงสัญญาณออกมาอยางตอเนื่อง อาจ 13
เพราะขั้ว E2 มีการขาดวงจร
• อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว 14
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถ
จอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
15
เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
1 อานขอมูลใน DATA LIST (อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต) 16
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 17
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Coolant Temp 19
(ง) อานคาขอมูล
ปกติ: 75 ถึง 95°C (167 ถึง 203°F) หลังจากอุนเครื่องยนต 26
ผลที่ได:
อุณหภูมิที่อานได ปฏิบัติตามขอ 27
-40°C (-40°F) A
140°C (284°F) หรือสูงกวา B
ปกติ (เทากันกับคาอุณหภูมิน้ําหลอเย็นจริง) C 28
ขอแนะนํา:
• ถามีการขาดของวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา -40°C (-40°F) 29
• ถามีการลัดวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา 140°C (284°F) หรือสูงกวา
30
B ดูขั้นตอนที่ 4
31
C ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)
A 32
05–120 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 2 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดในชุดสายไฟ)


(ก) ปลดขั้วตอ W1 ของเซ็นเซอร ECT
2 ดานชุดสายไฟ
W1 (ข) ตอขั้ว 1 และ 2 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเซ็นเซอร ECT
เซ็นเซอร ECT (ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
3 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Coolant
5 Temp
(ฉ) อานคาขอมูล
10
คามาตรฐาน: 140°C (284°F) หรือสูงกวา
W1 ECM
11 เซ็นเซอร ECT

12 THW

E2

13
ปกติ ตรวจยืนยันการตอเซ็นเซอร ถาปกติดี ใหเปลี่ยน
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
14
A66104
A75743 A96620

บกพรอง
15
3 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดใน ECM)
16
(ก) ปลดขั้วตอ W1 ของเซ็นเซอร ECT
17 W1
W1 ECT Sensor ECM
(ข) ตอขั้ว THW และ E2 ของขั้วตอ E8 ของ ECM
เซ็นเซอร ECT ขอแนะนํา:
19 THW
กอนจะตรวจเช็ค ใหตรวจดูความแนนหนาในการตอขัว้ ทีข่ วั้ ตอ ECM
ดวยตาเปลา
26 E2
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
27 (จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Coolant
Temp
28 E8
ECM (ฉ) อานคาขอมูล
คามาตรฐาน: 140°C (284°F) หรือสูงกวา
29
30 THW E2
A96604 ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
31
บกพรอง
32
ตรวจยืนยันการตอ ECM ถาปกติดี ใหเปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–121

ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 1
4 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรในชุดสายไฟ)
2
(ก) ปลดขั้วตอ W1 ของเซ็นเซอร ECT
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 3
W1
W1 ECT Sensor ECM (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
เซ็นเซอร ECT
(ง) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Coolant 5
THW Temp
E2
(จ) อานคาขอมูล 10
คามาตรฐาน: -40°C (-40°F)
11
ดWire
านชุดHarness
สายไฟ Side
12
W1
W1 ECT Sensor
เซ็นเซอร ECT

13
ปกติ ตรวจยืนยันการตอเซ็นเซอร ถาปกติดี ใหเปลี่ยน 14
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
15
A96473

บกพรอง
16
5 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรใน ECM)
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร ECT W1 17
W1 (ข) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
W1 ECT Sensor
เซ็นเซอร ECT
ECM
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
19
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
THW 26
(จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Coolant
E2
Temp 27
(ฉ) อานคาขอมูล
คามาตรฐาน: -40°C (-40°F) 28
E8
ECM
29
30
THW
31
A96605
ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
32
05–122 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 บกพรอง
2 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
3 เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา THW)
5
(ก) สตารทเครื่องยนต
10 E8
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
คามาตรฐาน:
11 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
เดินเบา, อุณหภูมิน้ําหลอ
12 THW (+) E2 (-) E8-19 (THW) - E8-28 (E2)
เย็นเครื่องยนตอยูระหวาง
0.2 ถึง 1.0 V
60°C และ 120°C (140°F
13 A66060
และ 248°F)

ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
14 (ดูหนา 05-25)
15 บกพรอง
2 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
16
โอหมมิเตอร (ก) ถอดเซ็นเซอรออก
17 (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 20°C (68°F) 2.32 ถึง 2.59 kΩ
26 1-2 80°C (176°F) 0.310 ถึง 0.326 kΩ
ขอควรระวัง:
คาความตานทาน kΩ

คาที่ยอมรับได
27 ถาตรวจเช็คเซ็นเซอร ECT ในน้าํ ระวังอยาใหขวั้ ไฟฟาถูกน้าํ หลังจาก
ตรวจเช็คแลว เช็ดเซ็นเซอรใหแหง
28 ขอแนะนํา:
ขั้นตอนอื่นๆ: ตอโอหมมิเตอรเขากับเซ็นเซอร ECT ที่ติดตั้งแลว
29 และอานคาความตานทาน ใชเทอรโมมิเตอรชนิดอินฟาเรดวัดอุณหภูมิ
ของเครื่องยนตในบริเวณทีอ่ ยูต ดิ กับเซ็นเซอรโดยตรงเปรียบเทียบคา
30 ดังกลาวกับกราฟอุณหภูม/ิ คาความตานทาน เปลีย่ นอุณหภูมเิ ครือ่ งยนต
อุณหภูมิ °C (°F)
(อุนเครื่องหรือปลอยใหเครื่องเย็นลง) แลวทําการทดสอบซ้ํา
31
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–123

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM − เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต) 1


(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
(ข) ปลดขัว้ ตอ W1 ของเซ็นเซอร ECT 2
E8
ECM (ค) วัดความตานทานของขั้วตอตางๆ และชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
THW
E8-19 (THW) - W1-2 ต่ํากวา 1 Ω 5
E2 E8-28 (E2) - W1-1 ต่ํากวา 1 Ω
E8-19 (THW) หรือ W1-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
ดานชุHarness
ดสายไฟ Side E8-28 (E2) หรือ W1-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
Wire
W1
W1 ECT Sensor
เซ็นเซอร ECT
12
13
G34905
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ 15
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 16
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–124 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0120/41 วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง


2 “A” บกพรอง
3 รหัส P0122/41 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน
5 คันเรง/ลิ้นเรง “A” ต่ํา
10 รหัส P0123/41 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน
11 คันเรง/ลิ้นเรง “A” สูง
12 ขอแนะนํา:
• ขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหาเหลานี้ใชกับเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
13 • ระบบลิ้นเรงแบบมอเตอรไฟฟานี้จะไมใชสายลิ้นเรง
• เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงนี้เปนแบบไรหนาสัมผัส
14 คําอธิบายผังวงจร
15 เรือนลิน้ เรงจะมีเซ็นเซอรตาํ แหนงลิน้ เรงติดตัง้ อยูไ วคอยตรวจจับมุมเปดของลิน้ เรง เซ็นเซอรตาํ แหนงลิน้ เรงนีถ้ กู ควบคุม
ดวยมอเตอรไฟฟาและใชชิ้นสวน Hall-effect เปนสวนประกอบ
16 ECM จะตัดสินสภาวะการขับขีจ่ ากสัญญาณทีส่ ง เขามายังขัว้ VLU ขอมูลดังกลาวนีเ้ ปนหนึง่ ในสภาวะการควบคุม EGR ฯลฯ

17 เซ็นเซอรตPosition
Throttle ําแหนงลิ้นSensor
เรง
แมMagnet
เหล็ก Hall
Hall IC
IC
ECM
19
5V
VC VC

26
VTA VLU
27
28 E2 E2

29
แม เหล็ก
Magnet
30 G37167

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–125

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา


สภาวะของรหัส P0120/41, P0122/41 หรือ P0123/41 นาน 1
– ติดตอกันประมาณ 3 วินาที (วงจรเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง –
ขาดหรือลัดวงจร) 2
สัญญาณเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง (VLU) กระพือขึ้นๆ ลงๆ
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงขาดหรือลัดวงจร
เกินคาการทํางานปกติ
P0120/41
(ต่ํากวา 0.2 V หรือสูงกวา 4.8 V)
• เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง 3
• ECM
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง 5
สัญญาณเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง (VLU) ต่ํากวา 0.2 V • วงจร VLU ขาดหรือลัดวงจร
P0122/41
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • วงจร VC ขาด 10
• ECM
• เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง 11
สัญญาณเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง (VLU) สูงกวา 4.8 V • วงจร E2 ขาด
P0123/41
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) วงจร VC และวงจร VLU ลัดวงจร

• ECM
12
13
รายละเอียดการตรวจสอบ
เมื่อคาแรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงเบี่ยงเบนจากคาการทํางานปกติ (ระหวาง 0.2 V และ 4.8 V) 14
นานกวา 3 วินาที ECM จะแปลสัญญาณนี้เปนความผิดปกติของวงจรเซ็นเซอรและไฟเตือน MIL ติดสวางขึ้น
15
ตรวจพบ P0120/41 หรือ P0123/41 16
ปด เปด
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง (V)

5.00 17
4.80
3.49
19
26
27
0.69
0.20
0
ชวงการทํางาน
ตรวจพบ P0120/41 หรือ P0122/41 28
0 70°

มุมเปดลิ้นเรง
G37166 29
30
31
32
05–126 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
2 T2
T2 Throttle Position Sen
ECM
เซ็sor
นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
3 J6
J/C
5V
18
1 R-W E E R-W VC
5 VC E8

10 VTA
3 B
29
E7
VLU

J8
11 J/C
28
2 BR B B BR E2
E2 E8
E1
12
13 A99773

14 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
15 • กรณีรหัสวิเคราะหปญหาของระบบตางๆ ซึ่งมีขั้ว E2 เปนขั้วกราวดนั้นสงสัญญาณออกมาอยางตอเนื่อง อาจ
เพราะขั้ว E2 มีการขาดวงจร
16 • อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือ
17 รถจอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–127

1 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง − ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอ E7 และ E8 ของ ECM
E8
(ข) วัดคาความตานทานของขั้วตอ ECM 2
E7
ECM ECM คามาตรฐาน:
VC
การตอขั้วทดสอบ สภาวะลิ้นเรง เงื่อนไขที่กําหนด
3
E8-18 (VC) - E8-28 (E2) – 2.5 ถึง 5.9 kΩ
E7-29 (VLU) - E8-28 (E2) ปดสุด 0.2 ถึง 5.7 kΩ 5
E7-29 (VLU) - E8-28 (E2) เปดสุด 2.0 ถึง 10.2 kΩ
E2 VLU
A81088
(ค) วัดความตานทานระหวางขัว้ ของขัว้ ตอเซ็นเซอรตาํ แหนงลิน้ เรง 10
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
11
E8-18 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E7-29 (VLU) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 13
ปกติ 14
2 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VC) 15
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
16
E8 VC (+) (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM
คามาตรฐาน: 17
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E8-18 (VC) - E8-28 (E2) 4.5 ถึง 5.5 V 19
E2 (-)

A66060
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 26
ขอควรระวัง: 27
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่อง
ยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 28
ปกติ
29
3 เปลี่ยนชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล (ลิ้นเรง)
(ดูหนา 13-27) 30
ตอไป 31
32
05–128 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา (รหัส P0120/41, P0122/41 และ/หรือ P123/41)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC / Clear
3 (ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา
(จ) ใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 60 วินาที และเรงรอบเครื่องยนตอยางรวดเร็วซ้ําๆ ที่ 2,500 รอบ/นาที ประมาณ
5 30 วินาที
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
10
(ช) อานรหัสวิเคราะหปญหา
11 ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P0120/41, P0122/41 และ/หรือ P0123/41 A
12 ไมปรากฏ B

13 B ระบบทํางานปกติ

14 A

15 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


16 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–129

รหัส P0168/39 อุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงสูงเกินไป 1


คําอธิบายผังวงจร 2
ดูที่รหัส P0180/39 ในหนา 05-130
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 3
ถาอุณหภูมนิ า้ํ มันเชือ้ เพลิงอยูร ะหวาง 35°C (95°F) และ 60°C
(140°F) ขณะเครือ่ งยนตสตารทติด และพบสภาวะ (ก) กับ (ข):
(การตรวจจับปญหา 1 ครั้ง) 5
P0168/39 (ก) ขับรถดวยความเร็วแตกตางกัน (ภายใตการเรงความเร็ว เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
และลดความเร็ว)
(ข) อุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงยังคงอยูภายใน 3°C (5.4°F) ของ
10
อุณหภูมิสตารทเครื่องยนต
ถาอุณหภูมนิ า้ํ มันเชือ้ เพลิงสูงกวา 60°C (140°F) ขณะเครือ่ งยนต 11
สตารทติด และพบสภาวะ (ก) กับ (ข):

P0168/39
(การตรวจจับปญหา 1 ครั้ง)
(ก) ขับรถดวยความเร็วแตกตางกัน (ภายใตการเรงความเร็ว เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
12
และลดความเร็ว)
(ข) อุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงยังคงอยูภายใน 1°C (1.8°F) ของ 13
อุณหภูมสิ ตารทเครือ่ งยนต และถูกบันทึกตอเนือ่ งกัน 6 ครัง้
ขั้นตอนการตรวจสอบ 14
ขอแนะนํา:
• ถารหัส P0180/39, P0182/39 หรือ P0183/39 ปรากฏพรอมกับรหัส P0168/39 แสดงวาเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามัน 15
เชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจรใหคนหาสาเหตุปญหารหัสวิเคราะหปญหาเหลานั้นกอน
• อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไวเมือ่ 16
ตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถจอด
เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 17
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P0168/39)
19
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 26
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา 27
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P0168/39 A 28
P0168/39 และรหัสอื่นๆ B
ขอแนะนํา: 29
ถารหัสวิเคราะหปญ
 หาอืน่ ๆ นอกจากรหัส P0168/39 ปรากฏออกมา ใหทาํ การคนหาสาเหตุปญ
 หาของรหัสเหลานัน้ กอน
B ดูตารางรหัสวิเคราะหปญ
 หาทีเ่ กีย่ วของ (ดูหนา 05-62) 30
A 31
เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง 32
05–130 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0180/39 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง “A”


2 รหัส P0182/39 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามัน
3 เชื้อเพลิง “A” ต่ํา
5 รหัส P0183/39 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามัน
10 เชื้อเพลิง “A” สูง
11 คําอธิบายผังวงจร
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงนั้นคอยตรวจสอบอุณหภูมิของน้ํา
12 (รูปที่ 1) มันเชือ้ เพลิง เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงมีเทอรมิสเตอรที่ให
คาความตานทานแตกตางกันไปตามอุณหภูมิของน้ํามันเชื้อเพลิง
13 30 เมื่ออุณหภูมนิ ้ํามันเชื้อเพลิงต่ํา คาความตานทานในเทอรมสิ เตอรจะ
20
เพิม่ ขึน้ แตเมือ่ อุณหภูมนิ า้ํ มันเชือ้ เพลิงสูง คาความตานทานจะตกลง
14 10
คาที่ยอมรับได ECM จะไดรบั ทราบขอมูลความผันแปรในคาความตานทานเปนการ
คาความตานทาน kΩ

เปลี่ยนแปลงในแรงดันไฟฟา (ดูรูปที่ 1)
5
3
15 2
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงถูกตอเขากับ ECM (ดูดานลาง) ซึ่ง
1
จะจายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ประมาณ 5 V จากขั้ว THF ผานตัว
16 0.5
0.3 ตานทาน R เขาสูเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง กลาวคือ ตัวตาน
0.2
ทาน R กับเซ็นเซอรอณ ุ หภูมนิ า้ํ มันเชือ้ เพลิงนัน้ ตออนุกรมกันอยู เมือ่
17 0.1
คาความตานทานของเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงเปลี่ยนไป
-20 0 20 40 60 80 100
ตามอุณหภูมิของน้ํามันเชือ้ เพลิง ก็จะทําใหแรงดันไฟฟาทีข่ วั้ THF
19
(-4) (32) (68) (104)(140)(176) (212)
เปลีย่ นตามไปดวย ECM จะใชสัญญาณดังกลาวนี้ปรับแกการควบ
อุณหภูมิ °C (°F)
คุมการฉีดน้ํามันชดเชยของปมจายเชื้อเพลิงและขอผิดพลาดตางๆ
26 G36559

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา ปฏิบัติตามขั้นตอน


27 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง • วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0180/39 ขาดหรือลัดวงจรประมาณ 0.5 วินาที • เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง ขั้นตอน 1
28 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง • วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
29 P0182/39 ลัดวงจรประมาณ 0.5 วินาที • เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง ขั้นตอน 4
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง • วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
30 P0183/39 ขาดวงจรประมาณ 0.5 วินาที • เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง ขั้นตอน 2
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–131

ขอแนะนํา:
เมื่อตรวจพบรหัส P0180/39, P0182/39 และ/หรือ P0183/39 ใหตรวจเช็คอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงโดยเขาเมนูรายการใน 1
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Temperature
อุณหภูมิที่อานได ความบกพรอง 2
-40๐C (-40๐F) วงจรขาด
140๐C (284๐F) หรือสูงกวา ลัดวงจร 3

ผังวงจรไฟฟา 5

F11 ECM
10
เซ็F11 Fuel Temperature
นเซอร อุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง 5V
Sensor
11
29 R
2 G-B THF
E8 12
J/C
B B 28
1 BR
J7 J8
BR
E8
E2
13
14
15
A99774

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 16
• กรณีรหัสวิเคราะหปญหาของระบบตางๆ ซึ่งมีขั้ว E2 เปนขั้วกราวดนั้นสงสัญญาณออกมาอยางตอเนื่อง อาจ
เพราะขั้ว E2 มีการขาดวงจร
17
• อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว
19
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถ
จอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 26
27
28
29
30
31
32
05–132 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 อานขอมูลใน DATA LIST (อุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง)
2 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
3 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Temp
(ง) อานคาขอมูล
5 ปกติ: เทากันกับคาอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงจริง
ผลที่ได:
10 อุณหภูมิที่อานได ปฏิบัติตามขอ
-40°C (-40°F) A
140°C (284°F) หรือสูงกวา B
11 ปกติ (เทากันกับคาอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงจริง) C
ขอแนะนํา:
12 • ถามีการขาดของวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา –40๐C (-40๐F)
• ถามีการลัดวงจร เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะบอกคา 140๐C (284๐F) หรือสูงกวา
13
B ดูขั้นตอนที่ 4
14
C ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)
15 A
16 2 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดในชุดสายไฟ)
17 ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง F11
(ข) ตอขัว้ 1 และ 2 ของขัว้ ตอดานชุดสายไฟเซ็นเซอรอณ ุ หภูมนิ า้ํ มัน
19 F11 เชื้อเพลิง
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชือ้ เพลิง (ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
26 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Fuel Temp
27 (ฉ) อานคาขอมูล
คามาตรฐาน: 140๐C (284๐F) หรือสูงกวา
28
F11
ECM
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชือ้ เพลิง
29
30
THF

E2
ปกติ ตรวจยืนยันการตอเซ็นเซอร ถาปกติดี ใหเปลี่ยน
31 A66104
A83861 A99846 เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
32 บกพรอง
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–133

3 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาวงจรขาดใน ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง F11
F11 ECM
(ข) ตอขั้ว THF และ E2 ของขั้วตอ E8 ของ ECM 2
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชือ้ เพลิง ขอแนะนํา:
กอนจะตรวจเช็ค ใหตรวจดูความแนนในการตอขัว้ ทีข่ วั้ ตอ ECM ดวย 3
THF
ตาเปลา
E2
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
5
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
10
(จ) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Data List / Fuel
E8
Temperature 11
ECM (ฉ) อานคาขอมูล
คามาตรฐาน: 140°C (284°F) หรือสูงกวา 12
THF E2 13
A83862
A80455
A99842
14
ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
บกพรอง
15
16
ตรวจยืนยันการตอ ECM ถาปกติดี ใหเปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง: 17
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
19
4 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรในชุดสายไฟ)
26
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง F11
F11 Fuel Temperature
F11
เซ็Sensor
นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง ECM (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 27
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
THF (ง) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel 28
Temperature
E2
(จ) อานคาขอมูล 29
A83863
คามาตรฐาน: -40°C (-40°F)
30
ปกติ เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
บกพรอง 31
32
05–134 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 5 อานขอมูลใน DATA LIST (ตรวจหาการลัดวงจรใน ECM)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง F11
2 F11
(ข) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชือ้ เพลิง
ECM
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
3 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
THF (จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel
5 E2 Temperature
(ฉ) อานคาขอมูล
10
คามาตรฐาน: -40°C (-40°F)
11 E8
ECM

12
13
A83864
A80456
THF
14 A99843

ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
15 บกพรอง
16
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
17 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–135

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา THF)
2
(ก) สตารทเครื่องยนต
E8
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 5
เดินเบา, อุณหภูมิอากาศ
E8-29 (THF) - E8-28 (E2) 0.5 ถึง 3.4 V
เขาอยูที่ 20°C (68°F)
THF (+) E2 (-) 10
A66060

11
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
(ดูหนา 05-25) 12
บกพรอง 13

2 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง 14
โอหมมิเตอร (ก) ถอดเซ็นเซอรออก 15
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน: 16
สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
ประมาณ 2°C (68°F) 2.32 ถึง 2.59 kΩ 17
ประมาณ 80°C (176°F) 0.310 ถึง 0.326 kΩ
19
คาความตานทาน kΩ

คาที่ยอมรับได ขอควรระวัง:
ถาตรวจเช็คเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิงในน้ํา ระวังอยาใหขั้ว
ไฟฟาถูกน้ํา หลังจากตรวจเช็คแลว เช็ดเซ็นเซอรใหแหง 26
27
28
อุณหภูมิ °C (°F) 29
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
30
ปกติ
31
32
05–136 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM − เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง)


(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
2 (ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอร F11
E8
ECM (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 E2 (-) E8-29 (THF) - F11-2 ต่ํากวา 1 Ω
E8-28 (E2) - F11-1 ต่ํากวา 1 Ω
10 THF (+) E8-29 (THF) หรือ F11-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ดานชุHarness
Wire ดสายไฟ Side E8-28 (E2) หรือ F11-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 F11
F11 Fuel Temperature Sen
เซ็
sorนเซอรอุณหภูมิน้ํามันเชื้อเพลิง
12
13
A81089

14 A66104
G35034
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


17 ขหลัอควรระวั ง:
งจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–137

รหัส P0200/97 วงจรหัวฉีด / ขาดวงจร 1


ขอแนะนํา: 2
• สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับ EDU ใหดูที่คําอธิบายระบบ (ดูหนา 05-6)
• ถา P0200/97 ปรากฏขึ้น ใหดูที่ “ตารางรหัสวิเคราะหปญหาสําหรับระบบคอมมอนเรล” (ดูหนา 05-6) 3
คําอธิบายผังวงจร
ชุดแปลงไฟแรงเคลื่อนต่ําเปนไฟแรงเคลื่อนสูง (EDU) ถูกนํามาใชเพื่อขับหัวฉีดขณะความเร็วสูง โดย EDU จะใหการ
5
ขับขี่ความเร็วสูงภายใตสภาวะที่แรงดันเชื้อเพลิงสูงได เนื่องจากใชตัวแปลงแรงดันไฟฟา DC/DC ที่ใหไฟฟาแรงดันสูง
10
และมีระบบชารจไฟอยางรวดเร็ว
EDU จะตอบสนองตอคําสั่งทันทีหลังจากที่ไดรับสัญญาณสั่งการฉีดเชื้อเพลิง (IJT) จาก ECM โดย EDU จะสง 11
สัญญาณยืนยันการฉีดเชื้อเพลิงของหัวฉีด (IJF) ขณะที่จายกระแสไฟฟาไปยังหัวฉีด
วงจรไฟฟา EDU 12
EDU 13
จากแบตเตอรี่ ตัวแปลงแรงดัน COM2 14
ไฟฟา DC/DC
สัญญาณ สูงสุด
คําสั่ง
15
COM1

หัวฉีด
16
IJT#1 INJ#1
IJT#4 INJ#4 17
ECM IJT#2 INJ#2
IJT#3
วงจรควบคุม INJ#3 19
INJF (IJF)

26
สัญญาณยืนยัน
27
28
GND

ขั้วตอ EDU
29
C
30
I5 I6

คําเตือน: ขั้ว I, H, K, L, M, N เปนไฟฟาแรงดันสูง


31
A99226

32
05–138 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา


1 วงจรหัวฉีดหรือ EDU ขาดหรือลัดวงจร • วงจร EDU ขาดหรือลัดวงจร
หลังจากเครือ่ งยนตสตารทติด ไมมสี ญั ญาณ IJF จาก EDU ไปที่ • หัวฉีด
P0200/97
ECM แมจะมีสญั ญาณ IJT จาก ECM สงไปที่ EDU แลวก็ตาม EDU
2 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)

• ECM

3 รายละเอียดการตรวจสอบ
P0200/97 (วงจรหัวฉีดหรือ EDU ขาดหรือลัดวงจร):
5 ECM จะตรวจสอบทั้งสัญญาณสั่งการฉีดเชื้อเพลิง (IJT) และสัญญาณยืนยันการฉีดเชื้อเพลิง (IJF) อยางตอเนื่อง กรณี
ที่ ECM ตัดสินวาจํานวนสัญญาณ IJT และสัญญาณ IJF ไมตรงกัน รหัสวิเคราะหปญหาจะปรากฏขึ้น
10 หัวฉีดจะตอลงกราวดกระแสสูงกวาทรานซิสเตอร (FET) และตัวตานทานแบบอนุกรม ตัวตานทานนีจ้ ะทําใหเกิดแรงดัน
ไฟฟาตก ซึ่ง EDU (วงจรขับหัวฉีด) คอยตรวจสอบควบคุมใหสัมพันธกับกระแสไฟฟาที่เคลื่อนจากหัวฉีด เพราะเมื่อ
11 หัวฉีดมีกระแสไฟฟาสูงเกินไป แรงดันไฟฟาที่ตัวตานทานจะเกินคาระดับที่กําหนด ทําใหไมมีสัญญาณ IJF สําหรับสูบ
นั้นๆ สงไปที่ ECM
P0200/97 อางอิงถึงความบกพรองใน EDU หรือวงจรหัวฉีด
12 ถารหัสวิเคราะหปญหานี้ปรากฏขึ้น ECM จะเขาสูโหมดปองกันการทํางานบกพรองและจํากัดกําลังเครื่องยนตลง โดย
ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe) นี้ยังคงทํางานไปจนกวาจะบิดสวิตชจุดระเบิด OFF
13
การตรวจจับความผิดปกติ:
สัญญาณคําสัง่ (IJT)
14 ECM สัญญาณยืนยัน (IJF) EDU

15
ON

16 สัญญาณสัง่ การฉีดเชือ้ เพลิง OFF


IJT
ผิดปกติ
17 สัญญาณยืนยันการฉีดเชือ้ เพลิง IJF

19 A81495
Y ปกติ G37535

26 แผนการตรวจสอบ
เซ็นเซอรที่ตองการตรวจสอบ สัญญาณ IJF จาก EDU
ความถี่ในการใชงาน ตอเนื่อง
27 ระยะเวลา 10 วินาที
การทํางานของไฟเตือน MIL 1 รอบขับขี่
28 สภาวะการจําแนก
คากําหนด คากําหนด
29 รายการขอมูล ต่ําสุด สูงสุด
ความเร็วรอบเครื่องยนต 500 รอบ/นาที -
30 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
สวิตชจุดระเบิด
11 V
ON ON
-

31 คาการจําแนกความผิดปกติ
คาระดับ
32 ตัวนับจํานวนครัง้ ทีพ่ ลาดการฉีดเชือ้ เพลิง* สําหรับทุกสูบ หรือเฉพาะในแตละสูบ จนถึงจํานวนทีก่ าํ หนด (ประมาณ 1 วินาที จากทีส่ ตารทเครือ่ งยนต)
*: เพิ่มมากขึ้นเมื่อไมไดรับสัญญาณ IJF จาก EDU แมวา ECM จะสงสัญญาณ IJT ไปแลวก็ตาม
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–139

ผังวงจรไฟฟา
1
ECM
1 1
B
IF3
J/C
B
E5 +B 2
J/B Engine
และ R/BRoom หองเครืR/B,
่องยนต
J/B C A
L
2
J4 J5 E6 BATT
รี เลย รวม (ชุ ด B)
Integration Relay (Unit B)
MAIN รีเลยRelay
MAIN
W-G
8
E5 MREL
3
4 1 12 10
L B-W
1J
3
1J
2 14 EDU
IF2 E5 IREL
5
W-G 7 25
1J 1J IF3 P
IJF I2 E8 INJF
รีเลย Relay
EDU EDU
6
IJT#1 I2
B-W
24
E8 #1
10
7 3 23
B-W R
1J
8
B
IJT#2 I2
2
E8
22
#2
11
1J V
IJT#3 I2 E8 #3

W-L
1 EFI
5
IJT#4 I2
Y-R
21
E8 #4 12
1H *
1 2 F5F5
3 BATT P/I
4 * หัวฉีดเบอร
W
Injector 1*
No. 1
B
13
1B INJ#1 I1
2 1
2 EA1
F8F8 J10
14
1 1A
3 *
หั วฉี
Injector ดเบอร
No. 4
4
*
J/C B
W-B 3 EA1 B I1
INJ#4
G
2 1
R B
15
5
R-B B
COM1 I1
* F6F6
หัวฉีดเบอร
No. 22 *
16
2 * Injector
A 8 P L
INJ#2 I1
J1
J/C
I1 BATTERY 2 1
17
F7F7 J10
A
หั วฉี ดเบอร 3 J/C C
W 1
INJ#3 I1
*
L
Injector No. 3 *
Y C 19
2 1
6
L-W
COM2 I1
1 W-B
C
26
W-B GND I2
A J8 A J9 A J9 27
J/C J/C
A J7
W-B
A J10
B-R
28
EB แบตเตอรี
Battery ่
*: Shielded EC
*: สายปองกันสัญญาณรบกวน 29
A99776

30
31
32
05–140 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

การตรวจสอบสัญญาณพัลส
1 ขอแนะนํา:
สามารถระบุจุดที่เปนปญหาไดโดยการตรวจเช็คคลื่นสัญญาณที่ขั้วตางๆ ดังตอไปนี้
2
คําเตือน: ขั้วTerminals
Warning: COM1, COM2, และCOM2,
COM1, INJ#1 and
ถึง 4 เป นไฟฟtoาแรงดั
INJ#1 4 areนสู ง
high-voltage บริ เวณที่มีไฟฟาArea
High-voltage แรงดันสูง
3
ECM EDU

5 INJF D C IJF COM2

COM1 หัInjector
วฉีด
10
11 #1 IJT#1 INJ#1

#4 IJT#4 INJ#4
12 #2
A B
IJT#2 INJ#2

#3 IJT#3 INJ#3
13
14 A81508

15 ขอแนะนํา:
เพือ่ ประหยัดเวลาระหวางการตรวจสอบ ใหปฏิบตั ติ ามวิธกี ารตางๆ เหลานีเ้ มือ่ ตรวจเช็คทางดาน ECM กอน ใหตรวจสอบ
16 บริเวณที่เกิดปญหาตามรายการทางขวามือตั้งแต A ถึง D (ตามลําดับ)
จุดบกพรอง บริเวณที่เกิดปญหา
17 A ECM
B (กรณีที่ A เปนปกติ) ขั้วตอหรือชุดสายไฟ “#1 ถึง #4 (ECM)” – “IJT#1 ถึง IJT#4 (EDU)” ขาดหรือลัดวงจร
• วงจร “INJ#1 ถึง INJ#4 (EDU)” – “COM1 และ/หรือ COM2” (EDU) ขาดหรือลัดวงจร
19 C (กรณีที่ A และ B เปนปกติ) • หัวฉีด
• EDU
26 D (กรณีที่ A, B และ C เปนปกติ) วงจร “INJ (EDU)” – “INJF (ECM)” ขาดหรือลัดวงจร

27 คลื่นสัญญาณ (ก) ขอมูลอางอิง:


การตรวจสอบโดยใชออสซิลโลสโคป
28 #1 ในขณะเดินเบาเครื่องยนต คลื่นสัญญาณที่ถูกตองมีลักษณะ
#3 5 V/ ดังภาพซายมือ
29
Division
ตําแหนงการฉีดเชื้อเพลิง เงื่อนไขที่กําหนด
#4
A และ B แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
30
#2
20 msec./Division A09438

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–141

(ข) ขอมูลอางอิง:
คลื่นสัญญาณ
การตรวจสอบโดยใชออสซิลโลสโคป 1
ในขณะเดินเบาเครื่องยนต คลื่นสัญญาณที่ถูกตองมีลักษณะ
INJF
2 V/
Division
ดังภาพซายมือ 2
ตําแหนงการฉีดเชื้อเพลิง เงื่อนไขที่กําหนด
C และ D แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ 3
5
20 msec./Division A09437

ขั้นตอนการตรวจสอบ 10
ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ 11
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 12
1 ตรวจสอบชุดหัวฉีด 13
(ก) ปลดขั้วตอหัวฉีด F5, F6, F7 และ F8
ชุดหัวฉีด (ข) วัดคาความตานทานของหัวฉีด 14
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
15
2 1
1-2 0.85 ถึง 1.05 Ω ที่ 20๐C (68๐F)
16
A81503
บกพรอง เปลี่ยนชุดหัวฉีด (ดูหนา 11-13) 17
ปกติ 19
26
27
28
29
30
31
32
05–142 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (EDU − ชุดหัวฉีด)


(ก) ตรวจเช็คชุดสายไฟระหวางหัวฉีดกับ EDU (ขั้ว INJ )
2 ดานชุดสายไฟ
(1) ปลดขั้วตอหัวฉีด F5, F6, F7 และ F8
F5 (2) ปลดขั้วตอ I1 ของ EDU
3 F6
F7 1 2 (3) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
F8
หัวฉีด คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
F5-2 - I1-4 (INJ#1) ต่ํากวา 1 Ω
10 F6-2 - I1-2 (INJ#2) ต่ํากวา 1 Ω
I1
EDU F7-2 - I1-1 (INJ#3) ต่ํากวา 1 Ω
11 INJ#2 INJ#4 INJ#1 COM1
F8-2 - I1-3 (INJ#4) ต่ํากวา 1 Ω
F5-1 - I1-5 (COM1) ต่ํากวา 1 Ω
12 F6-1 - I1-6 (COM2) ต่ํากวา 1 Ω
F7-1 - I1-6 (COM2) ต่ํากวา 1 Ω
13 F8-1 - I1-5 (COM1) ต่ํากวา 1 Ω
INJ#3
COM2
F5-2 หรือ I1-4 (INJ#1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
14
A80992
A84815 A99847 F6-2 หรือ I1-2 (INJ#2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F7-2 หรือ I1-1 (INJ#3) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
15 F8-2 หรือ I1-3 (INJ#4) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F5-1 หรือ I1-5 (COM1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F6-1 หรือ I1-6 (COM2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
16 F7-1 หรือ I1-6 (COM2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F8-1 หรือ I1-5 (COM1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
17
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
19
ปกติ
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–143

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (EDU − ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอ I2 ของ EDU
ดานชุดสายไฟ I2
EDU
(ข) ปลดขัว้ ตอ E8 ของ ECM 2
IJF (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
I2-6 (IJT#1) - E8-24 (#1) ต่ํากวา 1 Ω 5
IJT#3 IJT#2 IJT#4 IJT#1
I2-3 (IJT#2) - E8-23 (#2) ต่ํากวา 1 Ω
I2-2 (IJT#3) - E8-22 (#3) ต่ํากวา 1 Ω 10
I2-5 (IJT#4) - E8-21 (#4) ต่ํากวา 1 Ω
E8
ECM
I2-7 (IJF) - E8-25 (INJF) ต่ํากวา 1 Ω 11
I2-6 (IJT#1) หรือ E8-24 (#1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
#2

INJF
I2-3 (IJT#2) หรือ E8-23 (#2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 12
#4 I2-2 (IJT#3) หรือ E8-22 (#3) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
I2-5 (IJT#4) หรือ E8-21 (#4) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 13
#1 I2-7 (IJF) หรือ E8-25 (INJF) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
#3
14
A80994
A80456 A99849

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 15

4 ตรวจเช็คตัวขับหัวฉีด (แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่) 16
(ก) ปลดขั้วตอ I1 และ I2 ของ EDU 17
ดานชุดสายไฟ (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
19
BATTERY (+)
(ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
I1 คามาตรฐาน:
EDU
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 26
I1-8 (BATTERY) - I2-1 (GND) 9 ถึง 14 V
27

GND (-)
28

I2
29
EDU

30
บกพรอง ตรวจเช็ควงจรแหลงจายไฟตัวขับหัวฉีด
A81845
A80994
A99850 (แบตเตอรี่ - EDU)
31
ปกติ 32
05–144 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 5 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟาหัวฉีด)


(ก) ในขณะเครือ่ งยนตเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลืน่
2 E8 E7 สัญญาณของขั้วตอตางๆ ของ ECM
ECM ECM
INJF คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E8-24 (#1) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
5 E8-23 (#2) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
#1 #2 #3 #4 E1
E8-22 (#3) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
10 E8-21 (#4) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
E8-25 (INJF) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
11
#1

12 #3 5 V/ Di
5V/
vision
Division
#4
13 #2
20 msec./Division
14
15
16 INJF
2 V/ Di
2V/
vision
Division

17 A66060
A09438 บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
A09437 20 msec./Division

19 A99851
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
26 จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
27
6 เปลี่ยนตัวขับหัวฉีด (ดูหนา 10-15)
28
ตอไป
29
ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา (รหัส P0200/97)
30
(ก) หลังจากลบรหัสวิเคราะหปญ
 หา ใหสตารทเครือ่ งยนตและปลอยใหเครือ่ งเดินเบาประมาณ 30 วินาที ตรวจยืนยัน
31 วา P0200/97 ไมปรากฏออกมาอีกครั้ง

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–145

รหัส P0234/34* สภาวะการอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/เทอรโบ 1


มากเกินไป 2
รหัส P0299/34* การอัดอากาศซุปเปอรชารจเจอร/เทอรโบต่ําเกินไป 3
รหัส P1251/34* สเต็ปมอเตอรสาํ หรับวงจรควบคุมเทอรโบชารจเจอร 5
(ทํางานเปนชวงๆ) 10
ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ 1KD-FTV เทานั้น 11
คําอธิบายผังวงจร
ดูที่รหัส P0045/34 ในหนา 05-67
12
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
• ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
13
• ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
เมื่อแรงอัดอากาศเทอรโบชารจเจอรยังคงสูงกวาแรงอัด • เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี 14
P0234/34 อากาศเปาหมายของ ECM • มาตรวัดปริมาณอากาศ
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • วาลว EGR ปดคาง
• ระบบไอดีและระบบไอเสียถูกดัดแปลงหรืออุดตัน 15
• ECM
• ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร 16
• ตัวขับมอเตอรเทอรโบ
• เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี
เมื่อแรงอัดอากาศเทอรโบชารจเจอรยังคงต่ํากวาแรงอัด
• มาตรวัดปริมาณอากาศ 17
P0299/34 อากาศเปาหมายของ ECM
• วาลว EGR เปดคาง
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)


เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี (ไมตอทอ)
ระบบไอดีและระบบไอเสียถูกดัดแปลงหรืออุดตัน
19
• ECM
• ชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร 26
• ตัวขับมอเตอรเทอรโบ

P1251/34
เมื่อแรงอัดอากาศเทอรโบชารจเจอรสูงกวาแรงอัดอากาศเปน
เวลาสั้นๆ ซึ่งอาจทําใหเครื่องยนตเกิดความเสียหาย


เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี
มาตรวัดปริมาณอากาศ
27
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ชุดวาลว EGR
• ระบบไอดีและระบบไอเสียถูกดัดแปลงหรืออุดตัน 28
• ECM
ผังวงจรไฟฟา 29
ดูที่รหัส P0045/34 ในหนา 05-67
30
ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 31
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบความ
ผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอนหรือไม 32
ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
05–146 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญ
 หาอืน่ ปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P0234/34, P0299/34 และ/หรือ P1251/34)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
3 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา
ผลที่ได:
5 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P0234/34, P0299/34 และ/หรือ P1251/34 A
10 P0234/34, P0299/34 และ/หรือ P1251/34 และรหัสอื่นๆ B

11 B ดูตารางรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
(ดูหนา 05-62)
12 A
13
2 อานขอมูลใน DATA LIST (MAP)
14 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
15 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAP
คามาตรฐาน:
16 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
MAP สวิตชจุดระเบิด ON เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล
17 MAP เดินเบา
(713 ถึง 788 มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิ้วปรอท)
110 ถึง 135 กิโลปาสคาล
MAP 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต)
19 (825 ถึง 1,012 มม.ปรอท, 32.5 ถึง 39.9 นิว้ ปรอท)
ขอแนะนํา:
26 *: ถาไมไดกําหนดสภาวะการเดินเบาไว ควรจะปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมดขณะอุนเครื่องใหเต็มที่

27 บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
ปกติ
28
3 ตรวจเช็คระบบไอเสีย
29
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
30 (ข) ตรวจหารอยรั่วของทอไอเสีย
ปกติ: ทอไอเสียไมมีรอยรั่ว
31 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–147

4 ตรวจเช็คไสกรองอากาศ 1
(ก) ตรวจเช็ควาไสกรองอากาศไมอุดตัน
ปกติ: ไสกรองอากาศไมอุดตัน 2
บกพรอง เปลี่ยนไสกรองอากาศ 3
ปกติ
5
5 ตรวจเช็คระบบไอดี 10
(ก) ปลดทอกรองอากาศ
(ข) ใชกระจกเพื่อตรวจสอบปญหากลไกตางๆ ของเทอรโบชารจเจอรดวยตาเปลา
11
(ค) เมื่อเครือ่ งยนตเย็น ตรวจเช็ควาใบพัดของเทอรโบชารจเจอรหมุนไดคลอง และทําการตรวจเช็คหนาสัมผัสเพื่อ
12
ตรวจยืนยันวามีการชํารุดเสียหายใดๆ หรือไม
ปกติ: ใบพัดของเทอรโบชารจเจอรหมุนไดคลอง 13
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
14
ปกติ
15
6 ตรวจสอบชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-22)
16
(ก) ปลดทอกรองอากาศ
(ข) ใชกระจกเพื่อตรวจสอบปญหากลไกตางๆ ของเทอรโบชารจเจอรดวยตาเปลา 17
(ค) เมื่อเครือ่ งยนตเย็น ตรวจเช็ควาใบพัดของเทอรโบชารจเจอรหมุนไดคลอง และทําการตรวจเช็คหนาสัมผัสเพื่อ
ตรวจยืนยันวามีการชํารุดเสียหายใดๆ หรือไม 19
ปกติ: ใบพัดของเทอรโบชารจเจอรหมุนไดคลอง
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
(ดูหนา 13-27) 27
ปกติ
28
29
30
31
32
05–148 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VNTI)


(ก) ในขณะเครือ่ งยนตเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลืน่
2 E8
ECM
E7
ECM สัญญาณของขั้วตอตางๆ ของ ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E8-17 (VNTI) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
5 VNTI E1

10
11 5V/
5V/ Di
vision
Division

12 VNTI
(128ms) บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
13
ขอควรระวัง:
14 20 msec./ Division G36520 หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
15 ปกติ

16 8 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VNTO)


(ก) ในขณะเครื่องยนตเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็ค
17 E8 E7 คลื่นสัญญาณของขั้วตอตางๆ ของ ECM
ECM ECM
คามาตรฐาน:
19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E8-10 (VNTO) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
26
VNTO E1

27
28 5V/ Di
5V/
vision
Division
29
VNTO
(32ms)
30
31 20 msec./ Division A99245
บกพรอง เปลี่ยนตัวขับมอเตอรเทอรโบ
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–149

9 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7) 1


บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10) 2
ปกติ
3
10 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา 5
(ก) ตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT
อากาศ
(1) ถอดมาตรวัดปริมาณอากาศ 10
(2) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
11
5 43 2 1
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
4-5 -20๐C (-4๐F) 13.6 ถึง 18.4 kΩ
12
30
20
4-5 20๐C (68๐F) 2.21 ถึง 2.69 kΩ
10
4-5 60๐C (140๐F) 0.49 ถึง 0.67 kΩ 13
คาความตานทาน kΩ

14
3
2

15
0.5
0.3
0.2

0.1

-20 0 20 40 60 80 100
16
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)

อุณหภูมิ °C (°F) G35065


บกพรอง เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ 17
ปกติ 19
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 26
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 27
28
29
30
31
32
05–150 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0335/12 วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง “A”


2 รหัส P0339/13 วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง “A” ทํางาน
3 เปนชวงๆ
คําอธิบายผังวงจร
5 ระบบเซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ ง ประกอบไปดวย แผนเพลทเซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ งและขดลวดกําเนิดสัญญาณ
(pickup coil) แผนเพลทเซ็นเซอรจะมีฟน อยู 34 ซี่ โดยติดตัง้ ทีเ่ พลาขอเหวีย่ งสวนขดลวดกําเนิดสัญญาณนัน้ ทําดวยแกนเหล็ก
10 และแมเหล็กเมือ่ แผนเพลทเซ็นเซอรหมุน ทําใหฟน แตละซีเ่ คลือ่ นผานขดลวดกําเนิดสัญญาณ จึงเกิดเปนสัญญาณพัลสขนึ้ ขด
ลวดกําเนิดสัญญาณจะสงสัญญาณออกมา 34 ครัง้ ตอการหมุนเครือ่ งยนตในแตละรอบ โดย ECM จะใชสญั ญาณเหลานีใ้ นการ
11 คํานวณตําแหนงของเพลาขอเหวีย่ งและรอบเครือ่ งยนต การคํานวณดวยวิธดี งั กลาว ทําใหระบบคอมมอนเรลถูกควบคุม
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
12 • ไมมีสัญญาณจากเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงไปที่ ECM ใน • วงจรเซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ งขาดหรือลัดวงจร
ขณะที่เครื่องหมุน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
P0335/12
• ไมมส ี ญั ญาณจากเซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ งไปที่ ECM ขณะ • แผนเซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงเบอร 1
13 ความเร็วรอบ 600 รอบ/นาที หรือมากกวา (การตรวจจับปญหาครัง้ เดียว) • ECM
ไมมสี ญั ญาณจากเซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ งถูกสงเขาไปที่ ECM
ประมาณ 0.05 วินาทีขนึ้ ไป และตรวจพบสภาวะ (ก), (ข) และ (ค)
14 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว):
• วงจรเซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ งขาดหรือลัดวงจร
• เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
P0339/13 (ก) เครื่องยนตอยูที่ความเร็ว 1,000 รอบ/นาที หรือมากกวา
แผนเซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงเบอร 1
15 (ข) สัญญาณ STA ไมทํางาน (OFF)

• ECM
(ค) หลังจากสัญญาณ STA ถูกเปลี่ยนจาก ON ไป OFF ผานไปแลว
ประมาณ 3 วินาทีขึ้นไป
16
ผังวงจรไฟฟา
17
C1 ECM
C1 Camshaft Position Sen
เซ็นsor
เซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว สายปองกัน
19 1 Y
สัญShielded
ญาณรบกวน
23 G+
Y E7

26 2 L L 31 G-
E7

27 C4C4 Crankshaft Position


เซ็นSensor
สายปองกัน
เซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง สัญญาณรบกวน
Shielded 27
1 Y NE+
28 E8
E8

2 L 34 NE-
29 3
E8
E8

E1
W-B
30 A J9
J9

J/C

31 A J10
J10 J10 A
BR

32 EC

A99777
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–151

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
• ถาไมพบปญหาในขัน้ ตอนคนหาสาเหตุปญ  หาของรหัส P0335/12 นี้ ใหคน หาสาเหตุปญ  หาทีร่ ะบบกลไกเครือ่ งยนต
• อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไวเมือ่
2
ตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถจอด
3
เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
1 ตรวจสอบเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง (คาความตานทาน) 5
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร C4 10
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวีย่ ง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน: 11
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 เย็น 1,630 ถึง 2,740 Ω 12
1-2 รอน 2,065 ถึง 3,225 Ω

A72395
ขอควรระวัง: 13
ในตางรางขางบน คําวา “เย็น” และ “รอน” อางถึงอุณหภูมขิ องขดลวด
คําวา “เย็น” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ -10 ถึง 50๐C (14 ถึง 122๐F) 14
คําวา “รอน” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ 50 ถึง 100๐C (122 ถึง 212๐F)
ขอแนะนํา: 15
E8 E7 ในขณะเครือ่ งยนตหมุนหรือเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็ค
NE+
ECM ECM
คลื่นสัญญาณของขั้วตอ ECM 16
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-23 (G+) - E7-31 (G-) รูปแบบของคลื่นสัญญาณที่ถูกตอง
17
NE-
E8-27 (NE+) - E8-34 (NE-) ดังภาพซายมือ
G+ G-
19
26
2 V/

NE /
Division 27
28
G

A66060 29
20 msec./Division (เดินเบา)
A98437

บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
G34661

30
ปกติ
31
32
05–152 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง − ECM)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร C4
2 ดานชุดสายไฟ
C4 (ข) ปลดขัว้ ตอ E8 ของ ECM
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวีย่ ง (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 C4-1 - E8-27 (NE+) ต่ํากวา 1 Ω
C4-2 - E8-34 (NE-) ต่ํากวา 1 Ω
10 C4-1 หรือ E8-27 (NE+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
C4-2 หรือ E8-34 (NE-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 E8
ECM

12 NE+

13 NE-

14 A99835 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ


ปกติ
15
16 3 ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอร (เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง)
(ก) ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอร
17 ปกติ: เซ็นเซอรติดตั้งอยางถูกตอง
19
26 ชองวาง
ปกติ บกพรอง
27 BR3795
บกพรอง ขันติดตั้งเซ็นเซอรกลับเขาที่ใหแนน

28 ปกติ

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–153

1 ตรวจเช็คแผนเพลทเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงเบอร 1 1
(ก) ตรวจเช็คฟนของแผนเพลทเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงเบอร 1
ปกติ: ฟนของแผนเพลทเซ็นเซอรไมมีรอยแตกราวหรือเสียรูป 2
บกพรอง เปลีย่ นแผนเพลทเซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาขอเหวีย่ ง 3
เบอร 1
ปกติ
5
10
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง: 11
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–154 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0340/12 วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว “A”


2 (BANK 1 หรือเซ็นเซอรเดี่ยว)
3 คําอธิบายผังวงจร
เซ็นเซอรตาํ แหนงเพลาลูกเบีย้ ว (สัญญาณ G) ประกอบไปดวย แมเหล็ก แกนเหล็ก และขดลวดกําเนิดสัญญาณ (pickup coil)
5 โดยทีข่ อบของแผนสัญญาณ G ซึง่ ติดตัง้ อยูท พี่ ลู เลยเพลาขับปม จะมีฟน ยืน่ ออกมา 5 ซี่ เมือ่ พูลเลยเพลาขับปม หมุน ระยะ
ที่ยื่นออกมาของแผนสัญญาณและระยะชองวางของขดลวดกําเนิดสัญญาณจะเปลี่ยนแปลงไป ทําใหสนามแมเหล็กไม
10 คงที่ จึงเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาขึ้น
แผนสัญญาณ NE ซึ่งติดตั้งที่แผนเพลทเซ็นเซอรตรวจจับองศาขอเหวี่ยงจะมีฟนอยู 34 ซี่ โดยเซ็นเซอรสัญญาณ NE จะ
11 สงสัญญาณออกมา 34 ครัง้ ตอการหมุนเครือ่ งยนต 1 รอบ ECM จะตรวจจับองศามาตรฐานของเพลาขอเหวีย่ งตามสัญญาณ
G และองศาเพลาขอเหวี่ยงกับความเร็วรอบที่แทจริงตามสัญญาณ NE นี้
12 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวขาดหรือลัดวงจร
13 ไมมีสัญญาณจากเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวไปที่ ECM • เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
P0340/12
ในขณะที่เครื่องหมุน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • พูลเลยเพลาขับปม
14 • ECM
• วงจรเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวขาดหรือลัดวงจร
ไมมีสัญญาณจากเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยวไปที่ ECM
15 P0340/12 ขณะความเร็วรอบ 650 รอบ/นาที หรือมากกวา (การตรวจจับ
• เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
• พูลเลยเพลาขับปม
ปญหาครั้งเดียว)
16 • ECM

17 ผังวงจรไฟฟา
ดูที่รหัส P0335/12 ในหนา 05-150
19
ขั้นตอนการตรวจสอบ
26 ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
27 ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–155

1 ตรวจสอบเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว (ความตานทาน) 1
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร C1
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 เย็น 835 ถึง 1,400 Ω
1-2 รอน 1,060 ถึง 1,645 Ω 5
ขอควรระวัง:
A64984
ในตางรางขางบน คําวา “เย็น” และ “รอน” อางถึงอุณหภูมขิ องขดลวด 10
คําวา “เย็น” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ -10 ถึง 50°C (14 ถึง 122°F)
คําวา “รอน” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ 50 ถึง 100°C (122 ถึง 212°F)
11
ขอแนะนํา:
12
E8 E7 ในขณะเครือ่ งยนตหมุนหรือเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็ค
ECM ECM
NE+ คลื่นสัญญาณของขั้วตอ ECM 13
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-23 (G+) - E7-31 (G-)
NE-
E8-27 (NE+) - E8-34 (NE-)
แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ 14
G+ G-

15
2 V/ 16
Division
NE /
17
G 19
A66060

26
A98437
20 msec./Division (เดินเบา) G34661

บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
ปกติ 27
28
29
30
31
32
05–156 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว − ECM)

ดานชุดสายไฟ (ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร C1


2 (ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM
C1
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 C1-1 - E7-23 (G+) ต่ํากวา 1 Ω
C1-2 - E7-31 (G-) ต่ํากวา 1 Ω
10 C1-1 หรือ E7-23 (G+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
C1-2 หรือ E7-31 (G-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 E7
ECM

12
G+

13 G-

14 A99836
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16 3 ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอร (เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว)

17 (ก) ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอร
ปกติ: เซ็นเซอรติดตั้งอยางถูกตอง
19
26
ชองวาง
27 ปกติ บกพรอง BR3795
บกพรอง ขันติดตั้งเซ็นเซอรกลับเขาที่ใหแนน
28 ปกติ

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–157

4 ตรวจเช็คพูลเลยเพลาขับปม 1
(ก) ตรวจเช็คฟนของพูลเลยเพลาขับปม
ปกติ: ฟนของพูลเลยไมมีรอยแตกราวหรือเสียรูป 2
บกพรอง เปลี่ยนพูลเลยเพลาขับปม 3
ปกติ
5
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 10
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–158 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0400/71 ระดับการหมุนเวียนแกสไอเสีย


2 ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ 2KD-FTV เทานั้น
3
คําอธิบายผังวงจร
5 ระบบ EGR ทําหนาที่หมุนเวียนแกสไอเสียซึ่งถูกควบคุมใหมีปริมาณพอดีเหมาะสมกับทุกสภาพการขับขี่ แกสที่หมุน
เวียนดังกลาวจะผสมกันกับไอดี โดยปลอยใหระบบ EGR ชลอการจุดระเบิดของเครื่องยนตและลดอุณหภูมิการเผาไหม
10 ลงซึ่งจะชวยลดการปลอยกาซ NOx ได
และเพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการไหลเวียน ECM จะปรับทั้งจํานวนการยกวาลว EGR และลิ้นเรง
11 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
• ความแตกตางระหวางตําแหนงวาลว EGR เปาหมายกับ • วาลว EGR ติดขัด
12 ตําแหนงจริงมากกวา 10 % ขึ้นไป นาน 10 วินาทีหรือ • วาลว EGR เลื่อนไดไมคลอง
มากกวา • E-VRV สําหรับวงจร EGR ขาดหรือลัดวงจร
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) วงจรเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR ขาดหรือลัดวงจร
13 P0400/71
• ความแตกตางระหวางตําแหนงวาลว EGR เปาหมายกับ

• เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR
ตําแหนงจริงมากกวา 25 % ขึ้นไป นาน 3 วินาทีหรือ • ปมสุญญากาศ
14 มากกวา • การตอทอสุญญากาศไมแนน
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
15 ขอแนะนํา:
การตรวจจับรหัสวิเคราะหปญหาจะไมเกิดขึ้นเปนเวลา 4 วินาที หลังจากที่ใหสวิตชเบรกทํางาน (ON) หรือไมทํางาน
16 (OFF)
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–159

รายละเอียดการตรวจสอบ
เมื่อตําแหนงเปาหมายของวาลว EGR กับตําแหนงจริงแตกตางกัน ECM จะแปลสิ่งนี้เปนความผิดปกติของวาลว EGR 1
และไฟเตือน MIL จะติดสวาง
2
การตรวจจับความผิดปกติ
3
เปด 5
10
ตําแหนงเปดวาลว EGR ปด
(เปาหมาย) 11
ปกติ
เปด
12
ผิดปกติ
(เลื่อนไดไมคลอง) 13
ตําแหนงเปดวาลวของเซ็นเซอร ปด
ตําแหนงวาลว EGR (แทจริง) 14
ผิดปกติ
(ติดขัด) 15
16
ตรวจพบ P0400/71 คาระดับ
ตัวนับความผิดปกติ 17
เวลา 19
26
A93020
27
28
29
30
31
32
05–160 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
V1 E-VRV for EGR
E-VRV สําหรับ EGR ECM
2 B
12
B L-R
9
EA1 E7 EGR
1 2
J/B และ R/B หอR/B,
งเครื่อJ/B
งยนต
3 Engine Room
รีเลยรวม (ชุด(Unit
B) B)
Integration Relay
รีเลย MAIN
5 5
MAIN Relay

1J

10 W-B
3 2
W-G
14
W-G
8
1J 1J IF3 E5 MREL

11 W-L
1 EFI 7
1H E7 E1
1 2
12 3 BATT P/I 1
BR
1B 1A
13
A A
J1 J10
14 J/C W J/C
A A
BR
15 W-B

EB
แบตเตอรี่
Battery EC
16
17 A99778

19 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
26 • อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือ
27 รถจอด เครื่องรอนหรือไม อัตราสวนผสมระหวางอากาศ-เชื้อเพลิงหนาหรือบาง ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
28 • อุนเครื่องยนตแลวรหัส P0400/71 จะปรากฏขึ้น 1 วินาทีหรือมากกวา หลังจากเรงเครื่องขณะเดินเบาอยางรวดเร็ว

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–161

1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P0400/71) 1


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา 3
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
5
P0400/71 A
P0400/71 และ P0405/96 และ/หรือ P0406/96 B 10
ขอแนะนํา:
ถารหัสวิเคราะหปญ
 หาอืน่ ๆ นอกจากรหัส P0400/71 ปรากฏออกมา ใหทาํ การคนหาสาเหตุปญ
 หาของรหัสเหลานัน้ กอน
11
B ดูตารางรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ 12
(ดูหนา 05-62)
13
A
14
2 ตรวจสอบปมสุญญากาศ (ดูหนา 32-22)
15
บกพรอง เปลี่ยนปมสุญญากาศ (ดูหนา 32-23)
16
ปกติ
17
3 ตรวจเช็คทอสุญญากาศ
19
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คทอสุญญากาศของระบบ EGR 26
บกพรอง เปลี่ยนทอสุญญากาศ
27
ปกติ
28
29
30
31
32
05–162 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ตรวจสอบ ECM (แรงดันไฟฟา EGR)


(ก) ในขณะเครื่องยนตเดินเบา ใหตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของขั้ว
2 E1
E7
ECM ตอ ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-9 (EGR) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
5 EGR

10
11 5 V/
Division

12 EGR GND
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
13
1 msec./Division
ขอควรระวัง:
14
A66060
A96634 G34909
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่อง
ยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
15 ปกติ

16 5 ตรวจสอบวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR (ความตานทาน)


17 (ก) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
E-VRV สําหรับ EGR (ข) วัดความตานทานของ E-VRV
19 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
26
2 1
1-2 20 C (68๐F)

11 ถึง 13 Ω

27 A93008
บกพรอง เปลี่ยนวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR
28 ปกติ
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–163

6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR − ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
ดานชุดสายไฟ 2
V1 (ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM
E-VRV สําหรับ EGR (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-9 (EGR) - V1-2 ต่ํากวา 1 Ω 5
E7-9 (EGR) หรือ V1-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10

E7
11
ECM

12
13
EGR

A53155
A81087
A99854 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
7 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR – รีเลย MAIN)
16
1J (ก) ถอดรีเลยรวมออกจาก J/B หองเครื่องยนต (ดูหนา 10-4)
รีเลยรวม (ข) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J 17
(ค) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 19
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
26
1J-5 - V1-1 ต่ํากวา 1 Ω
ดานชุดสายไฟ 1J-5 หรือ V1-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 27
V1
E-VRV สําหรับ EGR 28
29
30
G34722
A56869
G34910
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 31
ปกติ
32
05–164 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 8 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7)


ขอควรระวัง:
2 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
3 บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)
ปกติ
5
10 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง:
11 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–165

รหัส P0405/96* กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรการหมุนเวียนแกสไอเสีย 1


“A” ต่ํา 2
รหัส P0406/96* กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรการหมุนเวียนแกสไอเสีย 3
“A” สูง
5
ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ 2KD-FTV เทานั้น 10
คําอธิบายผังวงจร
เซ็นเซอรตาํ แหนงวาลว EGR จะติดตัง้ อยูท วี่ าลว EGR และใชตรวจจับจํานวนการยกวาลว จํานวนการยกวาลวทีต่ รวจจับไดโดย 11
เซ็นเซอรนี้ คือขอมูลปอนกลับไปใหกบั ECM จากนัน้ ECM จะควบคุมจํานวนการยกวาลวตามสภาพการทํางานของเครือ่ งยนต
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 12
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรตาํ แหนงวาลว EGR ต่าํ กวา • วงจรเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR ขาดหรือลัดวงจร
P0405/96 0.1 V นานเกิน 0.5 วินาที
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR
• ECM
13
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรตาํ แหนงวาลว EGR สูงกวา • วงจรเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR ขาดหรือลัดวงจร
P0406/96 4.9 V นานเกิน 0.5 วินาที • เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR 14
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
ขอแนะนํา: 15
หลังจากตรวจสอบยืนยันรหัสวิเคราะหปญหา P0405/96 และ P0406/96 แลว ใหตรวจเช็คสภาพมุมการเปดวาลว EGR
โดยเขาสูเมนูรายการในเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / EGR valve POS 16
ผลที่ได สภาวะ
เปลี่ยนแปลงระหวาง 0.3 V กับ 4.2 V ปกติ 17
ต่ํากวา 0.1 V P0405 (แรงดันไฟฟาขาเขาต่ํา)
สูงกวา 4.9 V P0406 (แรงดันไฟฟาขาเขาสูง) 19
ขอแนะนํา:
ผลคาที่ไดตอเมื่อสวิตชจุดระเบิดอยูที่ ON (ไมติดเครื่องยนต) หรือเมื่อเครื่องยนตเดินเบาขณะอุนเครื่องเต็มที่ 26
รายละเอียดการตรวจสอบ
เมือ่ คาแรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรตาํ แหนงวาลว EGR เบีย่ งเบน 27
คาของแรงดันไฟฟาสงออก
ตรวจพบ P0406/96 จากคาการทํางานปกติ (ระหวาง 0.1 V และ 4.9 V) นานกวา 0.5 วินาที
5.0
ECM จะแปลสัญญาณนีเ้ ปนความผิดปกติของวงจรเซ็นเซอรและไฟ 28
4.9
เตือน MIL ติดสวางขึ้น
แรงดันไฟฟาสงออก (V)

29
4.0

2.1 30
ตรวจพบ P0405/96
0.1 31
0
0
มุมเปดวาลว EGR (%)
100
32
A91223
05–166 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
2 E2
E2 EGR Valve Position Sen ECM
เซ็sor
นเซอรตําแหนงวาลว EGR
3 J6
J/C
5V
18
VC 1 R-W E E R-W
E8 VC
5
10 EGLS 3 L-Y
33
E7
EGLS

J8
11 J/C
28
E2 2 BR B B BR E2
E8
E1
12
13 A99779

14 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
15 อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถจอด เครือ่ งรอน
16 หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา

17 1 ตรวจเช็คเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR (แรงดันไฟฟาของเซ็นเซอร)


(ก) ปลดขั้วตอ E2 ของเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR
19 ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
E2

26 เซ็นเซอร คามาตรฐาน:
ตําแหนงวาลว การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
EGR 1 2 3
E2-1 (VC) - E2-2 (E2) 4.5 ถึง 5.5 V
27
VC E2 EGLS
28 A85350
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
29 ปกติ

30 2 ตรวจสอบเซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR (ความตานทาน) (ดูหนา 12-7)

31 บกพรอง เปลีย่ นเซ็นเซอรตาํ แหนงวาลว EGR (ดูหนา 12-10)


32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–167

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรตําแหนงวาลว EGR − ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร E2
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 และ E8 ของ ECM 2
E2
เซ็นเซอร (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ตําแหนงวาลว คามาตรฐาน: 3
EGR 1 2 3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E2-3 (EGLS) - E7-33 (EGLS) ต่ํากวา 1 Ω 5
E2-2 (E2) - E8-28 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
VC E2 EGLS
E2-3 (EGLS) หรือ E7-33 (EGLS) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
E2-2 (E2) หรือ E8-28 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E8 E7
11
ECM ECM

12
13
A85350
A81088
E2 EGLS G34912
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ 15
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 16
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–168 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0488/15 สมรรถนะ/ชวงการควบคุมตําแหนงลิ้นเรงของการ


2 หมุนเวียนแกสไอเสีย
3 คําอธิบายผังวงจร
ECM เปดและปดลิ้นเรงโดยใชแอ็คชิวเอเตอรแบบโซลินอยดโรตารี่ เมื่อเปดและปดลิ้นเรง ปริมาณการหมุนเวียนแกส
5 ไอเสียจะถูกควบคุมอยางเหมาะสม นอกจากนี้ การสัน่ สะเทือนของเครือ่ งยนตและเสียงรบกวนจะลดลงจากการปดลิน้ เรง
เมื่อดับเครื่องยนต
10 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
• เมื่อลิ้นเรงยังคงปดอยู แมวามีสัญญาณจาก ECM ใหเปด • ลิ้นเรงติดขัด
11 ลิ้นเรงก็ตาม • ลิ้นเรงเลื่อนไดไมคลอง
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • วงจรลิ้นเรงขาดหรือลัดวงจร
P0488/15
12 • เมื่อลิ้นเรงยังคงเปดอยู แมวามีสัญญาณจาก ECM ใหปด • วงจรเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรงขาดหรือลัดวงจร
ลิ้นเรงก็ตาม • เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง (ติดตั้งในชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล)
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) ECM
13 •

ขอแนะนํา:
14 หลังจากตรวจยืนยันรหัสวิเคราะหปญหา P0488/15 แลว ใหตรวจเช็คตําแหนงลิ้นเรง
ขอมูลอางอิง:
15 1KD-FTV
สภาวะ ตําแหนงลิ้นเรง
16 เรงเครื่องขณะเดินเบาถึง 3,000 รอบ/นาทีอยางรวดเร็ว เปดมุมแตกตางกันไดคลอง
2KD-FTV
17 สภาวะ ตําแหนงลิ้นเรง
เมื่อเหยียบหรือปลอยแปนคันเรงที่ 3,000 รอบ/นาที ชั่วขณะ เปดมุมแตกตางกันไดคลอง
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–169

รายละเอียดการตรวจสอบ
ECM เปดและปดลิน้ เรงโดยปรับชวงเวลาการไหลของกระแสไฟฟาไปยังโซลินอยดโรตารีด่ ว ยสัญญาณดิวตี้ (duty ratio) 1
ถาลิ้นเรงเลื่อนไดไมคลองหรือติดขัด สัญญาณดิวตี้ระหวางควบคุมการเลื่อนลิ้นเรงจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางมาก ECM
จึงตัดสินวาลิ้นเรงมีความผิดปกติและไฟเตือน MIL จะติดสวางขึ้น
2
การตรวจจับความผิดปกติ 3
5
เปด
10
มุมเปดเปาหมายของลิ้นเรง ปด 11
ปกติ
12
เปด
ผิดปกติ 13
มุมเปดที่แทจริงของลิ้นเรง ปด 14
ผิดปกติ
15
100 %

16
Duty Ratio ปกติ 0% 17
19
ตรวจพบ P0488/15 คาระดับ 26
ตัวนับความผิดปกติของ
สัญญาณดิวตี้ (Duty Ratio)
27
เวลา
28

A93021
29
30
31
32
05–170 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
T1 Throttle Control Mo
มอเตอรควบคุมลิ้นเรง
tor
2 W-B 3
ECM
GND 4
1 GR
12 DUTY E7 LUSL
3 B
EA1
B 2
+B

J/B หอRoom
Engine งเครื่องยนต
J/B
5 รีเลยรRelay
Integration วม (ชุด(Unit
B) B)
รีเลย Relay
MAIN MAIN
10 5
1J

11 A
J7
W-B
3
1J
2
1J
W-G
14
IF3
W-G
8
E5 MREL
J/C
12 A 1
1H
EFI 7
E7 E1
1 2
W-L
13 W-B
3 BATT P/I 1 BR
A 1B 1A A
J1 J10
14 A
J/C
A
J/C
W

15 W-B BR

EC EB
แบตเตอรี่
Battery EC
16
17 A99780

19 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
26 • อานขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครื่องยนตเอาไว
เมื่อตรวจพบความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถ
27 จอด เครื่องรอนหรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
28 • อุนเครื่องแลวรหัส P0488/15 จะปรากฏขึ้น 1 วินาทีหรือมากกวา หลังจากเรงเครื่องขณะเดินเบาอยางรวดเร็ว

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–171

1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P0488/15) 1


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา 3
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขั้นตอน 5
P0488/15 A
P0488/15 และ P0120/41, P0122/41 และ/หรือ P0123/41 B
10
ขอแนะนํา:
ถารหัสวิเคราะหปญหาอื่นๆ นอกจาก P0488/15 ปรากฏออกมา ใหทําการคนหาสาเหตุปญหาของรหัสเหลานั้นกอน 11
B ดูตารางรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
(ดูหนา 05-62) 12
A
13
2 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา (รหัส P0488/15 ปรากฏออกมา)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
14
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC / Clear 15
(ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา
(จ) สตารทเครื่องยนตและทําการเรงเครื่องขณะเดินเบาอยางรวดเร็วจนถึง 3,000 รอบ/นาที ประมาณ 3 ครั้ง 16
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ช) อานรหัสวิเคราะหปญหา 17
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขั้นตอน 19
P0488/15 A
ไมปรากฏ B 26
ขอแนะนํา:
การทํางานปกติของลิ้นเรงเปนดังตอไปนี้ 27
ขอมูลอางอิง:
1KD-FTV 28
สภาวะ ตําแหนงลิ้นเรง
เรงเครื่องขณะเดินเบาอยางรวดเร็วจนถึง 3,000 รอบ/นาที เปดมุมแตกตางกันไดคลอง
2KD-FTV 29
สภาวะ ตําแหนงลิ้นเรง
เมื่อกดหรือปลอยคันเรงที่ 3,000 รอบ/นาที ลิ้นเรงเปด-ปดไดคลอง 30
B ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ 31
(ดูหนา 05-25)
A 32
05–172 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ค ECM (สัญญาณ LUSL)


(ก) ขณะเรงเครื่อง ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลื่นสัญญาณ
2 E7 ของขั้วตอ ECM
E1 LUSL
ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-4 (LUSL) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
5
10
คลื่นสัญญาณ
11 1 V/
LUSL Division

12 บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


13 ขอควรระวัง:
A81086
2 msec./Division หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
14 A91225 A99857
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
15
4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มอเตอรควบคุมลิ้นเรง − ECM)
16
(ก) ปลดขั้วตอมอเตอร T1
ดานชุดสายไฟ
17 T1 (ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM
มอเตอรควบคุมลิ้นเรง
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
19 คามาตรฐาน:
1 2 3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
26 E7-4 (LUSL) - T1-1 (DUTY) ต่ํากวา 1 Ω
DUTY E7-4 (LUSL) หรือ T1-1 (DUTY) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
27
28 E7
ECM

29
30 A91227
LUSL
A81087
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
31
A99858

ปกติ
32
เปลี่ยนชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล (ดูหนา 13-27)
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–173

รหัส P0500/42 เซ็นเซอรความเร็วรถ “A” 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เซ็นเซอรจับความเร็วรถจะสงสัญญาณออกมา 4 พัลส ตอการหมุนของเพลาโรเตอร 1 รอบ ซึ่งเพลาโรเตอรนี้จะหมุน 3
จากการขับของเพลาสงกําลังผานทางเฟองตาม หลังจากที่สัญญาณนี้ถูกแปลงเปนคลื่นสัญญาณรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่เที่ยง
ตรงขึ้นโดยวงจรสรางคลื่นสัญญาณภายในมาตรวัดรวมแลว คลื่นสัญญาณดังกลาวก็จะถูกสงไปยัง ECM ซึ่งจะใช 5
ความถี่ของสัญญาณพัลสนี้ในการกําหนดความเร็วรถ
10

4-พัลส 4-พัลส 11
เซ็นเซอร 12
ความเร็ว มาตรวัดรวม
ECM

13
14
G36461
15
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
สภาวะ(ก), (ข) และ (ค) นานตอเนื่องกัน 7 วินาทีขึ้นไป: 16
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • วงจรเซ็นเซอรความเร็วขาดหรือลัดวงจร
P0500/42
(ก) อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนตสูงกวา 70°C (158°F) • เซ็นเซอรจับความเร็ว 17
(ข) ความเร็วรอบเครื่องยนตอยูระหวาง 2,650 รอบ/นาที และ • มาตรวัดรวม
3,500 รอบ/นาที • ECM 19
(ค) ไมมีสัญญาณความเร็วถูกสงเขาไปที่ ECM
26
27
28
29
30
31
32
05–174 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
2 C8
C8 Combination Meter
ECM

มาตรวัดรวม
ชุด J/B แผงหนาปด 5V
3 Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดSide
(Driver านคนขั บ)
J/B)

5 6 V-R
26
2Q
26
2P
V-R
17
E6
SPD

10
11
12
13 A99781

14 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
15 อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
16 หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา

17 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


19 1 ตรวจเช็คการทํางานของมาตรวัดความเร็ว
(ก) ตรวจดูคามาตรวัดความเร็วในมาตรวัดรวม
26 ขอแนะนํา:
ถาเซ็นเซอรความเร็วรถมีความผิดปกติใดๆ มาตรวัดความเร็วจะแสดงคาผิดปกติ
27 ปกติ: มาตรวัดความเร็วทํางานตามปกติ
28 บกพรอง ตรวจเช็ควงจรมาตรวัดความเร็ว (รวมถึงเซ็นเซอร
ความเร็ว)
29
ปกติ
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–175

2 อานขอมูลใน DATA LIST (ความเร็วรถ) 1


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Vehicle Speed
(ง) ตรวจเช็คความเร็วรถในขณะรถวิ่งที่ความเร็วรอบ 2,000 รอบ/นาทีขึ้นไป 3
ปกติ: เทากันกับคาความเร็วรถที่แทจริง
5
ใช ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
(ดูหนา 05-25) 10
ไมใช 11
3 ตรวจสอบ ECM (สัญญาณ SPD) 12
(ก) ในขณะเครือ่ งยนตเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลืน่ 13
E7 E6 สัญญาณของขั้วตอตางๆ ของ ECM
ECM ECM
(ข) เลื่อนคันเกียรไปที่ N 14
(ค) ขึ้นแมแรงยกรถ
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 15
E1 SPD (จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM ขณะหมุนลออยางชาๆ
คามาตรฐาน: 16
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 V/DIV
E6-17 (SPD) – E7-7 (E1) แรงดันไฟฟาเกิดขึ้นเปนชวงๆ 17
ขอแนะนํา:
ขณะทีล่ อ กําลังหมุนอยางชาๆ แรงดันไฟฟาจะถูกสงออกมาเปนชวงๆ 19
GND

26
27
A80462
20 msec./DIV
G34872 G36576
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 28
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 29
ขอควรระวัง: 30
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
31
32
05–176 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็คการทํางานของมาตรวัดความเร็ว
2
(ก) ตรวจดูคามาตรวัดความเร็วในมาตรวัดรวม
3 ขอแนะนํา:
ถาเซ็นเซอรความเร็วรถมีความผิดปกติใดๆ มาตรวัดความเร็วจะแสดงคาผิดปกติ
5 ปกติ: มาตรวัดความเร็วทํางานตามปกติ
บกพรอง ตรวจเช็ควงจรมาตรวัดความเร็ว (รวมถึงเซ็นเซอร
10 ความเร็ว)
11 ปกติ

12 2 ตรวจเช็ค ECM (สัญญาณ SPD)


13 (ก) ในขณะเครื่องยนตเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็ค
E7 E6 คลื่นสัญญาณของขั้วตอตางๆ ของ ECM
14
ECM ECM
(ข) เลื่อนคันเกียรไปที่ N
(ค) ขึ้นแมแรงยกรถ
15 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E1 SPD (จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM ขณะหมุนลออยางชาๆ
16 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
17 5 V/DIV
E6-17 (SPD) – E7-7 (E1) แรงดันไฟฟาเกิดขึ้นเปนชวงๆ
ขอแนะนํา:
19 ขณะที่ลอกําลังหมุนอยางชาๆ แรงดันไฟฟาจะถูกสงออกมาเปน
GND
ชวงๆ
26
27 A80462
20 msec./DIV
G34872 G36576
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
28 ปกติ
29 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
30 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–177

รหัส P0504/51 ความสัมพันธของสวิตชเบรก “A”/ “B” 1

คําอธิบายผังวงจร 2
ในระบบนี้ จะใชสัญญาณของระบบสวิตชไฟเบรกสองสัญญาณ (STP และ ST1-) ในการตัดสินวาระบบเบรกผิดปกติ 3
หรือไม เมื่อตรวจพบสัญญาณการเหยียบเบรกและปลอยเบรกพรอมกัน ECM จะแปลสิ่งนี้เปนความผิดปกติของสวิตช
ไฟเบรก 5
ขอแนะนํา:
สภาวะปกติดังแสดงในตารางดานลาง 10
สัญญาณ ปลอยเบรก ขณะเปลี่ยน เหยียบเบรก
STP OFF ON ON 11
ST1- ON ON OFF
12
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
สภาวะ(ก), (ข) และ (ค) นานตอเนื่องกัน 0.5 วินาทีขึ้นไป:
• วงจรสัญญาณสวิตชไฟเบรกลัดวงจร 13
(ก) สวิตชจุดระเบิดอยูที่ ON
P0504/51 • สวิตชไฟเบรก
(ข) ปลอยเบรก
(ค) สัญญาณ STP เปน OFF เมื่อสัญญาณ ST1- เปน OFF
• ECM 14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–178 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
ชุด J/B แผงหนาปด
2 Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดาSide
(Driver นคนขัJ/B)
บ) ECM

3 21
2S
G-W
15
E6
STP
5 5
G-W
5 2K 2M
S14
S14Stop Lamp
G-W สวิตชไฟเบรก
Switch

10 1
2G
STOP 2
2F
G-B
2 1
6 IGN 6 4 14
11 2C 2M
B-O
3 4
R-L
IF3
R-L
E6 ST1-

B
12 G-W
6
G-W
R4 Combination Lamp (LH)
R4 Rear
BA1 ชุดไฟทาย (ขางซาย)
6
13 IG2 I8
I8 Ignition G-W G-W
ไฟเบรก
Stop
W-B
B สวิ ตชจุด
Switch 4 3 7
ST2 E7 E1
14 AM2 ระเบิด G-W* R5 Combination Lamp
R5 Rear
5 (RH)ชุดไฟทาย (ขางขวา)
W-R ไฟเบรก
Stop
15 G-W G-W
4
W-B
3
11 IF3 2 BD1 W-B
16 G-W* BR
W-R C13
C13 Center Stop W-B
ไฟเบรกดวงที
Lamp ่สาม
17 1

1 1F 1B 4
1
W-B* W-B*
19 2
BD1
W-B
A
J10
J/C
AM2
ALT

Engine
J/B
Roomหองเครื
J/B ่องยนต A
26 ALT AM2 8 BA1

W-B
27 1 1A
J28 W-B
A
J15
BR

W J/C A A J/C

28 แบตเตอรี
Battery ่ IG EC
IF
29
*: w/
*: มีไฟเบรกดวงที
Center Stop่สาม
Lamp
A99785

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–179

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
2
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
3
เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
5
1 ตรวจเช็คไฟเบรก (การทํางาน)
(ก) ตรวจเช็ควาไฟเบรกติดขึ้นและดับลงตามปกติเมื่อเหยียบเบรกแลวปลอย
10
ปกติ: ไฟเบรกติดขึ้นและดับไปเมื่อเหยียบเบรกแลวปลอย 11
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนวงจรสวิตชไฟเบรก
12
ปกติ
13
2 อานขอมูลใน DATA LIST (STP, ST1 − แรงดันไฟฟา)
14
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
เหยียบเบรก ปลอยเบรก
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 15
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Stop
Light Switch 16
(ง) ตรวจเช็คผลที่ได
ปกติ: 17
แปนเบรก เงื่อนไขที่กําหนด
เหยียบ สัญญาณ STP (ON) 19
E7 E6 ปลอย สัญญาณ STP (OFF)
ECM ECM
(จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 26
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สถานะของแปนเบรก เงื่อนไขที่กําหนด 27
E6-14 (ST1-) - E7-7 (E1) เหยียบ ต่ํากวา 1.5 V
28
E1 (-) ST1- (+)
E6-14 (ST1-) - E7-7 (E1) ปลอย 7.5 ถึง 14 V
A80995
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ 29
(ดูหนา 05-25)
บกพรอง 30
31
32
05–180 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟเบรก

สวิตชไฟเบรก (ก) ถอดสวิตช S14


2 (ข) วัดความตานทานของสวิตชไฟเบรก
2 1
ไมถูกกด ถูกกด คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 สลักไมถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
5 3-4 สลักไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
สลัก 4 3 1-2 สลักถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
10 A72924
3-4 สลักถูกกด ต่ํากวา 1 Ω

11 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟเบรก
ปกติ
12
13 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (สวิตชไฟเบรก − ECM)
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช S14
14 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ E6 ของ ECM
S14
สวิตชไฟเบรก (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
15 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
16 S14-1 - E6-15 (STP) ต่ํากวา 1 Ω
S14-4 - E6-14 (ST1-) ต่ํากวา 1 Ω
17 S14-1 หรือ E6-15 (STP) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S14-4 หรือ E6-14 (ST1-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
19 E6
ECM

26
27
A56986
A81090 STP ST1-
28 A99860
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

29 ปกติ

30 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


31 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–181

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็คไฟเบรก (การทํางาน)
(ก) ตรวจเช็ควาไฟเบรกติดขึ้นและดับลงตามปกติเมื่อเหยียบเบรกแลวปลอย 2
ปกติ: ไฟเบรกติดขึ้นและดับไปเมื่อเหยียบเบรกแลวปลอย
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนวงจรสวิตชไฟเบรก 3
ปกติ 5
2 ตรวจเช็ค ECM (STP, ST1 − แรงดันไฟฟา ) 10
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 11
Brake Pedal (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
เหยียบเบรก
Depressed ปลBrake
อยเบรกPedal
Released
คามาตรฐาน: 12
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของแปนเบรก เงื่อนไขที่กําหนด
E6-15 (STP) - E7-7 (E1) เหยียบ 7.5 ถึง 14 V 13
E6-15 (STP) - E7-7 (E1) ปลอย ต่ํากวา 1.5 V
E6-14 (ST1-) - E7-7 (E1) เหยียบ ต่ํากวา 1.5 V
E6-14 (ST1-) - E7-7 (E1) ปลอย 7.5 ถึง 14 V
14
E7
ECM
E6
ECM
15
16

E1 (-) STP (+) ST1- (+) 17


A80995 ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25) 19
บกพรอง
26
3 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟเบรก
27
สวิตชไฟเบรก
(ก) ถอดสวิตช S14
(ข) วัดความตานทานของสวิตช 28
ไมถูกกด ถูกกด
2 1
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด 29
1-2 สลักไมถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
3-4 สลักไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
1-2 สลักถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา 30
สลัก 4 3 3-4 สลักถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
A72924
31
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟเบรก
ปกติ 32
05–182 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (สวิตชไฟเบรก − ECM)


(ก) ปลดขั้วตอสวิตช S14
2 ดานชุดสายไฟ (ข) ปลดขัว้ ตอ E6 ของ ECM
S14
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 สวิตชไฟเบรก
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 S14-1 - E6-15 (STP) ต่ํากวา 1 Ω
S14-4 - E6-14 (ST1-) ต่ํากวา 1 Ω
10 S14-1 หรือ E6-15 (STP) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S14-4 หรือ E6-14 (ST1-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 E6
ECM

12
13
A56986
A81090 STP ST1-
14 A99860
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


17 ขหลัอควรระวั ง:
งจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–183

รหัส P0606 หนวยประมวลผล ECM/PCM 1

รหัส P0607/89 ประสิทธิภาพของชุดควบคุม 2


3
รหัส P1611/17 สัญญาณพัลส
5
คําอธิบายผังวงจร 10
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
P0606
ขอบกพรองภายใน ECM 11
P0607/89 ECM
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
P1611/17
12
ขั้นตอนการตรวจสอบ 13
ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ 14
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 15
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
16
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–184 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P0627/78 วงจรควบคุมปมเชื้อเพลิง / ขาด


2 ขอแนะนํา:
สําหรับรายละเอียดเกีย่ วกับปม เชือ้ เพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชือ้ เพลิง) และระบบคอมมอนเรล ใหดจู ากคําอธิบายระบบ
3 (ดูหนา 05-6)
คําอธิบายผังวงจร
5 ดูที่คําอธิบายระบบ (ดูหนา 05-6)
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
10 วงจรวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจรนานกวา • วงจรวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิงขาดหรือลัดวงจร
P0627/78 0.5 วินาที • วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
11
ขอแนะนํา:
12 เมือ่ รหัส P0627/78 ปรากฏ ใหตรวจเช็คแรงดันเชือ้ เพลิงภายในของคอมมอนเรลโดยเขาสูเ มนูรายการในเครือ่ งวิเคราะห
ปญหา (IT II) ดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Press
ขอมูลอางอิง:
13 1KD-FTV
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
14 เดินเบา ประมาณ 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล
15 2KD-FTV
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
16 เดินเบา ประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล
17 ผังวงจรไฟฟา
19
S8
26 วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง
ECM

2
27
1 G-W
E8 PCV+

1
28 2 G-Y
E8 PCV-

29
A99786

30
ขั้นตอนการตรวจสอบ
31 ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
32 ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–185

1 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง) 1
(ก) ปลดขั้วตอวาลว S8
วาลวควบคุม
(ข) วัดความตานทานของวาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง 2
การดูด
เชือ้ เพลิง คามาตรฐาน:
1.9 ถึง 2.3 Ω ที่ 20°C (68°F) 3
5
A98438
บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23) 10
ปกติ 11
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง − ECM) 12
(ก) ปลดขั้วตอวาลว S8 13
ดานชุHarness
Wire ดสายไฟ Side
(ข) ปลดขัว้ ตอ E8 ของ ECM
S8 Suction Control Valve
S8
วาลวควบคุมการดูดเชื้อเพลิง (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 14
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 15
S8-1 - E8-2 (PCV+) ต่ํากวา 1 Ω
S8-2 - E8-1 (PCV-) ต่ํากวา 1 Ω 16
S8-1 หรือ E8-2 (PCV+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S8-2 หรือ E8-1 (PCV-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
17
E8
ECM
19
PCV-
26
PCV+
A96602
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
27
ปกติ 28
29
30
31
32
05–186 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ค ECM (สัญญาณ PCV)


(ก) ในขณะเครื่องยนตหมุนหรือเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคป
2 E8 ตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของขั้วตอ ECM
ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E8-2 (PCV+) - E8-1 (PCV-) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
5
PCV+ PCV-

10
11
12 10V/
PCV+ Division บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
13 ขอควรระวัง:
5 msec./Division หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่อง
14
A66060
A97624
ยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
A99834

ปกติ
15
ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–187

รหัส P1601/89 วงจรการปรับแกหัวฉีดบกพรอง (EEPROM) 1

ขอควรระวัง: 2
• เมื่อเปลี่ยนหัวฉีด จึงตองใสรหัสการฉีดชดเชยดังกลาวเขาไปใน ECM และเมื่อเปลี่ยน ECM ก็ตองใสรหัสการ
ฉีดชดเชยของหัวฉีดที่มีอยูทุกรหัสเขาไปใน ECM ใหมดวย 3
• รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดจะมีลกั ษณะเฉพาะ พิมพคา เปนตัวเลขและตัวอักษร 30 ตัวลงตรงสวนหัวของหัวฉีด
แตละหัว ถาใสรหัสการฉีดชดเชยไมถกู ตองเขาไปใน ECM อาจทําใหเครือ่ งยนตมเี สียงดังกรอกแกรกหรือเดินเบา
5
ไมเรียบได นอกจากนี้ อาจทําใหการทํางานของเครื่องยนตบกพรองและอายุงานของเครื่องยนตสั้นลงได 10
1. เมื่อเปลี่ยน ECM ใหม ใหใสรหัสการฉีดชดเชยของทุกหัวฉีดลงใน ECM ดังนี้: 11
(ก) กอนจะเปลี่ยน ECM ใหใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) อานและบันทึกรหัสการฉีดชดเชยของแตละหัวฉีดจาก
ECM ตัวเดิมไว (ดูหนา 05-28) 12
(ข) หลังจากติดตั้ง ECM ตัวใหมแลว จึงใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ใสรหัสการฉีดชดเชยที่บันทึกไวลงใน
ECM ใหมนั้น (ดูหนา 05-33) 13
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด OFF แลวปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) คอยอยางนอย 30 วินาที 14
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ฉ) ลบรหัส P1601/89 ที่เก็บบันทึกอยูใน ECM โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ดูหนา 05-51) 15
ขอแนะนํา:
• แตละหัวฉีดจะมีคุณสมบัติในการฉีดเชื้อเพลิงแตกตางกัน การฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใหไดประโยชนสูงสุด ECM จะ 16
ใชรหัสการฉีดชดเชยทําใหเกิดสมดุลในการฉีดเชื้อเพลิงที่แตกตางกันระหวางแตละหัวฉีด
• เมื่อทานบิดสวิตชจุดระเบิด ON เปนครั้งแรกหลังจากเปลี่ยน ECM หรือหัวฉีดแลวรหัส P1601/89 ปรากฏขึ้น 17
จะเปนการแจงใหทราบวาทานตองลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด หลังจากเสร็จสิน้ การลงทะเบียนรหัสการ
ฉีดชดเชย ใหลบรหัสวิเคราะหปญหาดังกลาวออก
19
คําอธิบายผังวงจร 26
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
P1601/89
ไมไดลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด • รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด 27
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
P1601/89
ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดผิด • รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด 28
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
29
ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 30
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน 31
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
32
05–188 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 1 ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (ดูหนา 05-28)


ปกติ: รหัสการฉีดชดเชยที่เก็บบันทึกอยูใน ECM ตรงกับรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่ติดตั้ง
2
บกพรอง ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
3 (ดูหนา 05-33)
ปกติ
5
10 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง:
11 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–189

รหัส P2008/58* วงจรควบคุมทางเดินอากาศทอรวมไอดี / ขาด 1


(Bank 1) 2
ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ 1KD-FTV เทานั้น 3
คําอธิบายผังวงจร
วาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศติดตั้งอยูที่ทอรวมไอดี โดยมีวาลวตัด-ตอสุญญากาศ (VSV) สําหรับวาลวควบคุมการ 5
หมุนเวียนอากาศทําหนาที่ผลัดเปลี่ยนสุญญากาศเพื่อกระตุนใหแอ็คชิวเอเตอรทํางาน
ECM กําหนดมุมเปดของวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ และใช VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ 10
ผลัดเปลี่ยนสุญญากาศจายไปยังไดอะแฟรมของแอ็คชิวเอเตอรเพื่อเปดและปดวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 11
• VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
เมื่อปริมาณอากาศเขาแทจริงที่ตรวจจับไดจากมาตรวัด
ปริมาณอากาศยังคงนอยกวาปริมาณที่ประมาณไดจาก
• VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศขาดหรือลัดวงจร 12
• ทอรวมไอดี (วาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ)
P2008/58 แรงอัดอากาศและเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา ECM จะ
ชุดวาลว EGR
ตัดสินวาวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศติด (ไมปด) •
• มาตรวัดปริมาณอากาศ
13
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• ECM
14
ผังวงจรไฟฟา
S9
S9 VSV for Swirl Control Valve 15
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ ECM
12 15
B
EA1
B
2 1
LG
E8 SCV 16
J/B หองเครื
Engine Room ่องยนต
J/B
รีเลยรวมRelay
Integration (ชุด B)(Unit B) 17
รีเลย MAIN
MAIN Relay
5
1J 19
3 2 14 8
W-B
1J 1J
W-G
IF3
W-G
E5 MREL 26
1 7
1H
1
EFI
2
E7 E1 27
W-L
3
1B
BATT P/I 1
1A BR 28
A
J1
A
J10
29
J/C W J/C
A A 30
W-B BR

แบตเตอรี
Battery ่
31
EB EC

32
A99778
05–190 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
2 ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
3 ขอควรระวัง:
5 กอนเริม่ กระบวนการวิเคราะหปญ หา ใหตรวจเช็ควา “Activate the VSV for Swirl Control Valve” ในโหมด Active Test
ของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ปรากฏขึ้นหรือไม โดยเขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test
10 ผลที่ได:
หนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ปฏิบัติตามขอ
“Activate the VSV for Swirl Control Valve” ปรากฏ “เมื่อใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
11 “Activate the VSV for Swirl Control Valve” ไมปรากฏ “เมื่อไมใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)

12 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


13 1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P2008/58)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
14 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
15 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา
ผลที่ได:
16 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P2008/58 A
17 P2008/58 และรหัสอื่นๆ B
B ดูตารางรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
19 (ดูหนา 05-62)
A
26
2 ตรวจเช็คการตอของทอสุญญากาศ
27
(ก) ตรวจเช็คการตอทอสุญญากาศของระบบวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
28 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนทอสุญญากาศ
ปกติ
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–191

3 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ) 1


VSV สําหรับวาลวควบคุม VSV สําหรับวาลวควบคุม (ก) ปลดทอสุญญากาศออกจาก VSV สําหรับวาลวควบคุมการ
การหมุนเวียนอากาศ: ON การหมุนเวียนอากาศ: OFF หมุนเวียนอากาศ 2
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
F (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 3
กรองอากาศ (ง) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Active Test /
E E Activate the VSV for Swirl Control Valve
5
อากาศ อากาศ (จ) ตรวจเช็คการทํางาน
A99232
10
ปกติ:
เมื่อ VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศทํางาน 11
(ON) อากาศจากชอง E จะไหลออกทางชอง F
เมือ่ VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศไมทาํ งาน 12
(OFF) อากาศจากชอง E จะไหลออกทางกรองอากาศ
ปกติ ดูขั้นตอนที่ 7
13
บกพรอง 14

4 ตรวจสอบวาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ (ความตานทาน) 15


(ก) ปลดขั้วตอ S9 ของ VSV 16
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ (ข) วัดความตานทานของ VSV
คามาตรฐาน: 17
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 20°C (68°F) 37 ถึง 44 Ω 19

G36521 บกพรอง เปลีย่ นวาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับวาลว 26


ควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
27
ปกติ
28
29
30
31
32
05–192 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 5 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ)


(ก) ปลดขั้วตอ S9 ของ VSV
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ E8 ของ ECM
S9
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 S9-1 - E8-15 (SCV) ต่ํากวา 1 Ω
S9-1 หรือ E8-15 (SCV) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10
E8
ECM
11
12
SCV
A52933

13 A80456
G34916 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
14
6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวตัด – ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ – รีเลย MAIN)
15
1J
(ก) ถอดรีเลยรวมออกจาก J/B หองเครื่องยนต (ดูหนา 10-4)
16 รีเลยรวม (ข) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
(ค) ปลดขั้วตอ S9 ของ VSV
17 (ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1J-5 - S9-2 ต่ํากวา 1 Ω
26 1J-5 หรือ S9-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ดานชุดสายไฟ
27 S9
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
28
29
G34722
A52933 G34915 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
30
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
31
ขอควรระวัง:
32 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–193

7 ตรวจสอบทอรวมไอดี (การทํางานของวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ) 1
(ดูหนา 13-4)
2
บกพรอง เปลี่ยนทอรวมไอดี
ปกติ 3
5
8 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7)
10
บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)
ปกติ
11
12
9 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
(ก) ถอดมาตรวัดปริมาณอากาศ 13
อากาศ
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร IAT
คามาตรฐาน:
14
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
5 43 2 1 4-5 -20๐C (-4๐F) 13.6 ถึง 18.4 kΩ
15
4-5 20๐C (68๐F) 2.21 ถึง 2.69 kΩ
30
20 4-5 60๐C (140๐F) 0.49 ถึง 0.67 kΩ
16
10

17
คาความตานทาน kΩ

5
3
2

0.5
19
0.3
0.2

0.1
26
27
-20 0 20 40 60 80 100
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)

อุณหภูมิ °C (°F) G35065


บกพรอง เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ
28
ปกติ
29
30
31
32
05–194 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 10 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P2008/58)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
3 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา
ผลที่ได:
5 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P2008/58 A
10 ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา B

11 B ระบบทํางานปกติ
A
12
13 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง:
14 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–195

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P2008/58)
2
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51) 3
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ 5
P2008/58 A
P2008/58 และรหัสอื่นๆ B
10
B ระบบทํางานปกติ
11
A
12
2 ตรวจเช็คการตอของทอสุญญากาศ
13
(ก) ตรวจเช็คการตอทอสุญญากาศของระบบวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนทอสุญญากาศ 14
ปกติ 15

3 ตรวจสอบวาลวตัด – ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ 16
(การทํางาน) (ดูหนา 13-4)
17
บกพรอง เปลีย่ นวาลวตัด – ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบ
คุมการหมุนเวียนอากาศ
19
ปกติ 26

4 ตรวจสอบวาลวตัด – ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ (ความตานทาน) 27


(ก) ปลดขั้วตอ S9 ของ VSV 28
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ (ข) วัดความตานทานของ VSV
คามาตรฐาน: 29
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 20°C (68°F) 37 ถึง 44 Ω 30
บกพรอง เปลีย่ นวาลวตัด – ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบ 31
G36521
คุมการหมุนเวียนอากาศ
ปกติ 32
05–196 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 5 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ)


(ก) ปลดขั้วตอ S9 ของ VSV
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ E8 ของ ECM
S9
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 S9-1 - E8-15 (SCV) ต่ํากวา 1 Ω
S9-1 หรือ E8-15 (SCV) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10
11 E8
ECM

12
13
SCV
A52933

14
A80456
G34916 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวตัด – ตอสุญญากาศสําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ – รีเลย MAIN)
16
(ก) ถอดรีเลยรวมออกจาก J/B หองเครื่องยนต (ดูหนา 10-4)
17
1J
รีเลยรวม (ข) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
(ค) ปลดขั้วตอ S9 ของ VSV
19 (ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
26 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1J-5 - S9-2 ต่ํากวา 1 Ω
27 1J-5 หรือ S9-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ดานชุดสายไฟ
28 S9
VSV สําหรับวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ
29
30
31
G34722
A52933 G34915

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–197

7 ตรวจสอบทอรวมไอดี (การทํางานของวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ) 1
(ดูหนา 13-4)
2
บกพรอง เปลี่ยนทอรวมไอดี
ปกติ 3
5
8 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7)
10
บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)
ปกติ
11
12
9 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
(ก) ถอดมาตรวัดปริมาณอากาศ 13
อากาศ
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร IAT
คามาตรฐาน:
14
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
5 43 2 1 4-5 -20°C (-4°F) 13.6 ถึง 18.4 k Ω
15
4-5 20°C (68°F) 2.21 ถึง 2.69 kΩ
30
20 4-5 60°C (140°F) 0.49 ถึง 0.67 kΩ
16
10

17
คาความตานทาน kΩ

5
3
2

0.5
19
0.3
0.2

0.1
26
27
-20 0 20 40 60 80 100
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)

อุณหภูมิ °C (°F) G35065


บกพรอง เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ
28
ปกติ
29
30
31
32
05–198 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 10 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอื่นปรากฏออกมา (นอกจากรหัส P2008/58)


(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
2 (ข) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
ผลที่ได:
3 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P2008/58 A
5 ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา B

10 B ระบบทํางานปกติ
A
11
12 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง:
13 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–199

รหัส P2120/19 วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง 1


“D” บกพรอง 2
รหัส P2122/19 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน 3
คันเรง/ลิ้นเรง “D” ต่ํา 5
รหัส P2123/19 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน 10
คันเรง/ลิ้นเรง “D” สูง 11
รหัส P2125/19 วงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง 12
“E” บกพรอง 13

รหัส P2127/19 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน 14


คันเรง/ลิ้นเรง “E” ต่ํา 15

รหัส P2128/19 กระแสไฟฟาวงจรสวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงแปน 16


คันเรง/ลิ้นเรง “E” สูง 17

รหัส P2138/19 ความสัมพันธของแรงดันไฟฟาสวิตช/เซ็นเซอร 19


ตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง “D”/ “E” 26
ขอแนะนํา: 27
ตอไปนี้คือขั้นตอนการซอมสําหรับเซ็นเซอรตําแหนงแปนเรง
28
29
30
31
32
05–204 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VCPA, VCP2)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
2 A13
ขั้วตอเซ็นเซอร (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
ตําแหนงแปนคันเรง (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 E5-26 (VCPA) - E5-28 (EPA)
4.5 ถึง 5.0 V
E5-27 (VCP2) - E5-29 (EPA2)
10 VCP2
E5
ECM

11
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
12 EPA2 VCPA ขอควรระวัง:
EPA
Y
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
13 A49521
A66060 A96639
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
14
2 เปลี่ยนชุดกานคันเรง (ดูหนา 10-21)
15
ตอไป
16
3 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (รหัสวิเคราะหปญหาของเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
17 ปรากฏออกมาอีกครั้ง)
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
19 (ข) สตารทเครื่องยนต
(ค) ใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 15 วินาทีขึ้นไป
26 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
ผลที่ได:
27 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19
A
28 หรือ P2138/19 ปรากฏออกมาอีกครั้ง
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19
B
หรือ P2138/19 ไมปรากฏออกมา
29
B ระบบทํางานปกติ
30 A

31 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


32 ขหลัอควรระวั ง:
งจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–205

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VPA, VPA2)
2
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
VPA2 (+) VPA (+) E5
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ
สภาวะของ
เงื่อนไขที่กําหนด 5
แปนคันเรง
E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) ปลอย 0.6 ถึง 1.0 V
EPA2 (-) EPA (-)
E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) เหยียบ 2.9 ถึง 4.2 V
10
A66060
E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) ปลอย 1.4 ถึง 1.8 V
E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) เหยียบ 3.7 ถึง 5.0 V
11
ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 12
ขอควรระวัง: 13
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 14
บกพรอง
15
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM − เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง)
16
ดานชุดHarness
Wire สายไฟ Side (ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
A13 Accelerator
A13 Pedal Position (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM 17
เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
Sensor
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
VCP2 VPA1
คามาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A13-1 (VCP2) - E5-27 (VCP2) 26
EP2 VPA2 VCP1 EP1 A13-2 (EP2) - E5-29 (EPA2)
A13-3 (VPA2) - E5-23 (VPA2)
A13-4 (VCP1) - E5-26 (VCPA)
ต่ํากวา 1 Ω 27
E5 A13-5 (EP1) - E5-28 (EPA)
ECM A13-6 (VPA1) - E5-22 (VPA) 28
VCP2 A13-1 (VCP2) หรือ E5-27 (VCP2) - กราวดตัวถัง
VPA
A13-2 (EP2) หรือ E5-29 (EPA2) - กราวดตัวถัง 29
A13-3 (VPA2) หรือ E5-23 (VPA2) - กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา
A13-4 (VCP1) หรือ E5-26 (VCPA) - กราวดตัวถัง
VPA2
EPA2 EPA
VCPA A13-5 (EP1) หรือ E5-28 (EPA) - กราวดตัวถัง 30
A99833 A13-6 (VPA1) หรือ E5-22 (VPA) - กราวดตัวถัง
31
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 32
05–206 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VCPA, VCP2)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
2 A13
ขั้วตอเซ็นเซอร (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
ตําแหนงแปนคันเรง (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 E5-26 (VCPA) - E5-28 (EPA)
4.5 ถึง 5.0 V
E5-27 (VCP2) - E5-29 (EPA2)
10 VCP2
E5
ECM

11
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
12 EPA2 VCPA ขอควรระวัง:
EPA
Y
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
13 A49521
A66060 A96639
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
14
4 เปลี่ยนชุดกานคันเรง (ดูหนา 10-21)
15
ตอไป
16
5 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (รหัสวิเคราะหปญหาของเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
17 ปรากฏออกมาอีกครั้ง)
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
19 (ข) สตารทเครื่องยนต
(ค) ใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 15 วินาทีขึ้นไป
26 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
ผลที่ได:
27 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19 หรือ
A
28 P2138/19 ปรากฏออกมาอีกครั้ง
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19 หรือ
B
P2138/19 ไมปรากฏออกมา
29
B ระบบทํางานปกติ
30 A

31 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


32 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
05–200 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

คําอธิบายผังวงจร
1 ขอแนะนํา:
• ระบบลิ้นเรงแบบมอเตอรไฟฟานี้จะไมใชสายลิ้นเรง
2 • เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงเปนแบบไรหนาสัมผัส
3 เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรงจะติดตั้งอยูที่แปนคันเรงและตรวจจับมุมเปดของแปนคันเรง เนื่องจากเซ็นเซอรนี้ควบคุม
แบบอิเล็กทรอนิกสดวยชิ้นสวน Hall-effect ทําใหสามารถควบคุมไดอยางแมนยําและแนนอน โดยใชเซ็นเซอร 2 ตัว
5 ในการตรวจจับตําแหนงคันเรงและความผิดปกติของเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
ในเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง แรงดันไฟฟาที่ไหลเขาขั้ว VPA และ VPA2 ของขั้วตอ ECM จะเปลี่ยนแปลงอยู
10 ระหวาง 0 V กับ 5 V สัมพันธกันกับมุมเปดของแปนคันเรง สัญญาณ VPA เปนสัญญาณแสดงมุมเปดแปนคันเรงที่แท
จริงซึ่งใชในการควบคุมเครื่องยนต สวนสัญญาณ VPA2 จะเปนสัญญาณที่ใหขอมูลเกี่ยวกับมุมการเปดแปนคันเรง ซึ่ง
11 ใชในการตรวจจับความผิดปกติ
ECM จะตัดสินมุมเปดแปนคันเรงปจจุบนั จากสัญญาณทีส่ ง มาจากขัว้ VPA กับ VPA2 อีกทัง้ ยังใชสญ
ั ญาณเหลานีใ้ นการ
12 ควบคุมมอเตอรลิ้นเรงดวย

13
14
*1 *2
แรงดันไฟฟาสงออกของเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง (V)

เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
15 5
VPA2
แมเหล็ก 3.7 ถึง 5.0

16
ECM

IC เบอร 1 VPA 2.9 ถึง 4.2


VPA
17
EPA

VCPA 1.4 ถึง 1.8

19 VPA2
0.6 ถึง 1.0

26 EPA2
ชวงที่สามารถใชงานได
IC เบอร 2 VCP2 0 20.67

27 มุมหมุนแปนคันเรง (องศา)
แมเหล็ก
28
*1
: ปลอยคันเรงจนสุด
29 *2
: เหยียบคันเรงจนสุด

30 A19694 G36462

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–201

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา


(ทุกขอตอไปนี้เปนการตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
1
สภาวะ (ก) หรือ (ข) นานตอเนื่องประมาณ 0.5 วินาทีขึ้นไป:
• แปนคันเรง
P2120/19 (ก) VPA เทากับ 0.2 V หรือต่ํากวา หรือ VPA เทากับ 4.8 V หรือ
สูงกวา
• กานคันเรง (แขน) เสียรูป 2
• ECM
เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง

• วงจร VCPA ขาด 3
VPA เทากับ 0.2 V หรือต่ํากวา ประมาณ 0.5 วินาทีขึ้นไป เมื่อ • วงจร VPA ขาดหรือลัดวงจรลงกราวด
P2122/19
สัญญาณ VPA2 แสดงวาแปนคันเรงเปด •

แปนคันเรง
กานคันเรง (แขน) เสียรูป
5
• ECM
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง 10
• วงจร EPA ขาด
สภาวะ (ก) หรือ (ข) นานตอเนื่องประมาณ 2.0 วินาทีขึ้นไป:
P2123/19 แปนคันเรง
(ก) VPA เทากับ 4.8 V หรือสูงกวา

• กานคันเรง (แขน) เสียรูป 11
• ECM
สภาวะ (ก) หรือ (ข) นานตอเนื่องประมาณ 0.5 วินาทีขึ้นไป:
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง 12
• แปนคันเรง
P2125/19 (ก) (VPA2 เทากับ 0.5 V หรือต่ํากวา) หรือ (VPA2 เทากับ 4.8 V
• กานคันเรง (แขน) เสียรูป
หรือสูงกวา)
• ECM 13
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
วงจร VCP2 ขาด
VPA2 เทากับ 0.5 V หรือต่ํากวา ประมาณ 0.5 วินาทีขึ้นไป เมื่อ

• วงจร VPA2 ขาดหรือลัดวงจรลงกราวด
14
P2127/19
สัญญาณ VPA แสดงวาแปนคันเรงเปด • แปนคันเรง
• กานคันเรง (แขน) เสียรูป 15
• ECM
• เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
สภาวะ (ก) และ (ข) นานตอเนื่องประมาณ 2.0 วินาทีขึ้นไป:
(ก) VPA2 เทากับ 4.8 V หรือสูงกวา
• วงจร EPA2 ขาด 16
P2128/19 • แปนคันเรง
(ข) VPA เทากับ 0.2 V หรือสูงกวา หรือ VPA เทากับ 3.45 V
หรือต่ํากวา


กานคันเรง (แขน) เสียรูป
ECM
17
สภาวะ (ก) หรือ (ข) นานตอเนือ่ งประมาณ 2.0 วินาทีขนึ้ ไป: • วงจร VPA และ VPA2 ลัดวงจร
(ก) ความแตกตางระหวาง VPA และ VPA2 เทากับ 0.02 V หรือ • เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง 19
P2138/19 ต่ํากวา • แปนคันเรง
(ข) VPA เทากับ 0.2 V หรือต่ํากวา และ VPA2 เทากับ 0.5 V หรือ • กานคันเรง (แขน) เสียรูป
ต่ํากวา • ECM 26
ขอแนะนํา:
เมื่อตรวจพบรหัส P2120/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19 หรือ P2138/19 ใหตรวจเช็คแรงดัน 27
ไฟฟาของเซ็นเซอรตาํ แหนงแปนคันเรงโดยเขาสูเ มนูรายการในเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ดังนี:้ Powertrain / Engine /
Data List / Accel Position 1 และ Accel Position 2 28
ตําแหนงแปนคันเรงแสดง ตําแหนงแปนคันเรงแสดง ตําแหนงแปนคันเรงแสดง ตําแหนงแปนคันเรงแสดง


เปนแรงดันไฟฟาออก
ปลอยคันเรง
เปนแรงดันไฟฟาออก
ปลอยคันเรง
เปนแรงดันไฟฟาออก
เหยียบคันเรง
เปนแรงดันไฟฟาออก
เหยียบคันเรง
29
บริเวณที่เกิดปญหา ACCEL POS No. 1 ACCEL POS No. 2 ACCEL POS No. 1 ACCEL POS No. 2
วงจร VCP ขาด 0 ถึง 0.2 V 0 ถึง 0.2 V 0 ถึง 0.2 V 0 ถึง 0.2 V 30
วงจร VPA ขาดหรือลัดวงจรลงกราวด 0 ถึง 0.2 V 1.4 ถึง 1.8 V 0 ถึง 0.2 V 3.7 ถึง 5.0 V
วงจร VPA2 ขาดหรือลัดวงจรลงกราวด 0.6 ถึง 1.0 V 0 ถึง 0.2 V 2.9 ถึง 4.2 V 0 ถึง 0.2 V 31
วงจร EPA ขาด 4.5 ถึง 5.0 V 4.5 ถึง 5.0 V 4.5 ถึง 5.0 V 4.5 ถึง 5.0 V
ขอแนะนํา: 32
ตําแหนงแปนคันเรงจะแสดงเปนแรงดันไฟฟา
05–202 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
2
A13
3 เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง ECM

5 EP2 BR-Y
29
E5 EPA2
2
10 VPA2 GR-G
23
E5 VPA2
3
11 27
VCP2 BR-R
E5 VCP2
1
12 28
EP1 BR-W E5 EPA

13
5

22
VPA1 W-L
E5 VPA
14 6
26
VCP1 LG-R
E5 VCPA
15 4

16
17 G34665

19 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
26 อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
27 หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา

28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–203

เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 อานขอมูลใน DATA LIST (ตําแหนงคันเรงเบอร 1, ตําแหนงคันเรงเบอร 2)
2
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 3
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Accel
Position 1 และ Accel Position 2 5
(ง) อานคาขอมูล
เหยียบ ปลอย
คามาตรฐาน: 10
FI7052
แปนคันเรง ตําแหนงคันเรงเบอร 1 ตําแหนงคันเรงเบอร 2
ปลอย 0.6 ถึง 1.0 V 1.4 ถึง 1.8 V 11
เหยียบ 2.9 ถึง 4.2 V 3.7 ถึง 5.0 V

ปกติ ดูขั้นตอนที่ 5
12
บกพรอง 13

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM − เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง) 14

ดWire
านชุดHarness
สายไฟ Side
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13 15
A13
A13 Accelerator Pedal Position (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM
Sensor เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 16
VCP2 VPA1 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 17
A13-1 (VCP2) - E5-27 (VCP2)
EP2 VPA2 VCP1 EP1 A13-2 (EP2) - E5-29 (EPA2) 19
A13-3 (VPA2) - E5-23 (VPA2)
ต่ํากวา 1 Ω
A13-4 (VCP1) - E5-26 (VCPA) 26
E5 A13-5 (EP1) - E5-28 (EPA)
ECM
A13-6 (VPA1) - E5-22 (VPA)
VCP2 A13-1 (VCP2) หรือ E5-27 (VCP2) - กราวดตัวถัง
27
VPA A13-2 (EP2) หรือ E5-29 (EPA2) - กราวดตัวถัง
A13-3 (VPA2) หรือ E5-23 (VPA2) - กราวดตัวถัง 28
10 kΩ หรือสูงกวา
VPA2 VCPA A13-4 (VCP1) หรือ E5-26 (VCPA) - กราวดตัวถัง
EPA2 EPA
A99833
A13-5 (EP1) หรือ E5-28 (EPA) - กราวดตัวถัง 29
A13-6 (VPA1) หรือ E5-22 (VPA) - กราวดตัวถัง
30
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอหรือชุดสายไฟ
ปกติ 31
32
05–204 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VCPA, VCP2)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
2 A13
ขั้วตอเซ็นเซอร (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
ตําแหนงแปนคันเรง (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 E5-26 (VCPA) - E5-28 (EPA)
4.5 ถึง 5.0 V
E5-27 (VCP2) - E5-29 (EPA2)
10 VCP2
E5
ECM

11
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
12 EPA2 VCPA ขอควรระวัง:
EPA
Y
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
13 A49521
A66060 A96639
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
14
2 เปลี่ยนชุดกานคันเรง (ดูหนา 10-21)
15
ตอไป
16
3 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (รหัสวิเคราะหปญหาของเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
17 ปรากฏออกมาอีกครั้ง)
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
19 (ข) สตารทเครื่องยนต
(ค) ใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 15 วินาทีขึ้นไป
26 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
ผลที่ได:
27 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19
A
28 หรือ P2138/19 ปรากฏออกมาอีกครั้ง
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19
B
หรือ P2138/19 ไมปรากฏออกมา
29
B ระบบทํางานปกติ
30 A

31 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


32 ขหลัอควรระวั ง:
งจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–205

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VPA, VPA2)
2
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
VPA2 (+) VPA (+) E5
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ
สภาวะของ
เงื่อนไขที่กําหนด 5
แปนคันเรง
E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) ปลอย 0.6 ถึง 1.0 V
EPA2 (-) EPA (-)
E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) เหยียบ 2.9 ถึง 4.2 V
10
A66060
E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) ปลอย 1.4 ถึง 1.8 V
E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) เหยียบ 3.7 ถึง 5.0 V
11
ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 12
ขอควรระวัง: 13
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 14
บกพรอง
15
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM − เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง)
16
ดานชุดHarness
Wire สายไฟ Side (ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
A13 Accelerator
A13 Pedal Position (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM 17
เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
Sensor
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
VCP2 VPA1
คามาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A13-1 (VCP2) - E5-27 (VCP2) 26
EP2 VPA2 VCP1 EP1 A13-2 (EP2) - E5-29 (EPA2)
A13-3 (VPA2) - E5-23 (VPA2)
A13-4 (VCP1) - E5-26 (VCPA)
ต่ํากวา 1 Ω 27
E5 A13-5 (EP1) - E5-28 (EPA)
ECM A13-6 (VPA1) - E5-22 (VPA) 28
VCP2 A13-1 (VCP2) หรือ E5-27 (VCP2) - กราวดตัวถัง
VPA
A13-2 (EP2) หรือ E5-29 (EPA2) - กราวดตัวถัง 29
A13-3 (VPA2) หรือ E5-23 (VPA2) - กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา
A13-4 (VCP1) หรือ E5-26 (VCPA) - กราวดตัวถัง
VPA2
EPA2 EPA
VCPA A13-5 (EP1) หรือ E5-28 (EPA) - กราวดตัวถัง 30
A99833 A13-6 (VPA1) หรือ E5-22 (VPA) - กราวดตัวถัง
31
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 32
05–206 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VCPA, VCP2)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
2 A13
ขั้วตอเซ็นเซอร (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
ตําแหนงแปนคันเรง (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 E5-26 (VCPA) - E5-28 (EPA)
4.5 ถึง 5.0 V
E5-27 (VCP2) - E5-29 (EPA2)
10 VCP2
E5
ECM

11
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
12 EPA2 VCPA ขอควรระวัง:
EPA
Y
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
13 A49521
A66060 A96639
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
14
4 เปลี่ยนชุดกานคันเรง (ดูหนา 10-21)
15
ตอไป
16
5 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (รหัสวิเคราะหปญหาของเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
17 ปรากฏออกมาอีกครั้ง)
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
19 (ข) สตารทเครื่องยนต
(ค) ใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 15 วินาทีขึ้นไป
26 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
ผลที่ได:
27 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19 หรือ
A
28 P2138/19 ปรากฏออกมาอีกครั้ง
P2120/19, P2121/19, P2122/19, P2123/19, P2125/19, P2127/19, P2128/19 หรือ
B
P2138/19 ไมปรากฏออกมา
29
B ระบบทํางานปกติ
30 A

31 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


32 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–207

รหัส P2121/19 สมรรถนะ/ชวงการทํางานของวงจรสวิตช “D”/ 1


เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรงบกพรอง 2
ขอแนะนํา:
ตอไปนี้คือขั้นตอนการซอมสําหรับเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
3
คําอธิบายผังวงจร 5
ดูที่รหัส P2120/19 ในหนา 05-199
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 10
สภาวะ(ก) นานตอเนื่องประมาณ 2 วินาที: • วงจรเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
P2121/19 (ก) ความแตกตางระหวาง VPA กับ VPA2 เกินคาระดับ • เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง 11
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) • ECM
12
ผังวงจรไฟฟา
ดูที่รหัส P2120/19 ในหนา 05-199 13
ขั้นตอนการตรวจสอบ 14
ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ 15
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 16
เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
17
1 อานขอมูลใน DATA LIST (ตําแหนงคันเรงเบอร 1, ตําแหนงคันเรงเบอร 2)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
19
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Accel 26
Position 1 and Accel Position 2
(ง) อานคาขอมูล 27
คามาตรฐาน:
แปนคันเรง ตําแหนงคันเรงเบอร 1 ตําแหนงคันเรงเบอร 2 28
เหยียบ ปลอย
FI7052 ปลอย 0.6 ถึง 1.0 V 1.4 ถึง 1.8 V
เหยียบ 2.9 ถึง 4.2 V 3.7 ถึง 5.0 V 29
ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 30
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต 31
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
บกพรอง 32
05–208 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง − ECM)


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
2 ดานชุดHarness
Wire สายไฟ Side
A13 Accelerator
A13 Pedal Position (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM
เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
Sensor
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 VCP2 VPA1 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 A13-1 (VCP2) - E5-27 (VCP2)
EP2 VPA2 VCP1 EP1 A13-2 (EP2) - E5-29 (EPA2)
10 A13-3 (VPA2) - E5-23 (VPA2)
ต่ํากวา 1 Ω
A13-4 (VCP1) - E5-26 (VCPA)
11 E5
ECM
A13-5 (EP1) - E5-28 (EPA)
A13-6 (VPA1) - E5-22 (VPA)
12 VCP2 A13-1 (VCP2) หรือ E5-27 (VCP2) - กราวดตัวถัง
VPA A13-2 (EP2) หรือ E5-29 (EPA2) - กราวดตัวถัง
A13-3 (VPA2) หรือ E5-23 (VPA2) - กราวดตัวถัง
13 VPA2 A13-4 (VCP1) หรือ E5-26 (VCPA) - กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา
VCPA
EPA2 EPA A13-5 (EP1) หรือ E5-28 (EPA) - กราวดตัวถัง
14 A99833
A13-6 (VPA1) หรือ E5-22 (VPA) - กราวดตัวถัง

15 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
16
17 เปลี่ยนชุดกานคันเรง (ดูหนา 10-21)
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–209

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจสอบ ECM (แรงดันไฟฟา VPA, VPA2)
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 2
VPA2 (+) VPA (+) E5 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM
คามาตรฐาน: 3
สภาวะของ
การตอขั้วทดสอบ
แปนคันเรง
เงื่อนไขที่กําหนด 5
E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) ปลอย 0.6 ถึง 1.0 V
EPA2 (-) EPA (-) E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) เหยียบ 2.9 ถึง 4.2 V 10
A66060 E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) ปลอย 1.4 ถึง 1.8 V
E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) เหยียบ 3.7 ถึง 5.0 V 11
ปกติ เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
12
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต 13
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
บกพรอง 14
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง − ECM) 15
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13
ดานชุดHarness
Wire สายไฟ Side
A13 Accelerator
A13 Pedal Position (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM 16
เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
Sensor (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
VCP2 VPA1 คามาตรฐาน: 17
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A13-1 (VCP2) - E5-27 (VCP2) 19
A13-2 (EP2) - E5-29 (EPA2)
EP2 VPA2 A13-3 (VPA2) - E5-23 (VPA2)
VCP1 EP1
A13-4 (VCP1) - E5-26 (VCPA)
ต่ํากวา 1 Ω 26
A13-5 (EP1) - E5-28 (EPA)
E5
ECM
A13-6 (VPA1) - E5-22 (VPA) 27
A13-1 (VCP2) หรือ E5-27 (VCP2) - กราวดตัวถัง
VCP2 A13-2 (EP2) หรือ E5-29 (EPA2) - กราวดตัวถัง 28
VPA A13-3 (VPA2) หรือ E5-23 (VPA2) - กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา
A13-4 (VCP1) หรือ E5-26 (VCPA) - กราวดตัวถัง
A13-5 (EP1) หรือ E5-28 (EPA) - กราวดตัวถัง 29
VPA2 VCPA
EPA2 EPA A13-6 (VPA1) หรือ E5-22 (VPA) - กราวดตัวถัง
A99833
30
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 31

เปลี่ยนชุดกานคันเรง (ดูหนา 10-21)


32
05–210 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 รหัส P2226/A5 วงจรความกดอากาศ


2 รหัส P2228/A5 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศต่ํา
3
รหัส P2229/A5 กระแสไฟฟาวงจรความกดอากาศสูง
5
10 คําอธิบายผังวงจร
เซ็นเซอรแรงดันบรรยากาศแบบติดตัง้ ภายใน ECM ใชในการตรวจจับแรงดันบรรยากาศสําหรับระบบคอมมอนเรล ECM
11 จะปรับแกปริมาณการฉีดเชือ้ เพลิง จังหวะและระยะเวลาตามแรงดันบรรยากาศทีเ่ ปลีย่ นไป ตลอดจนปรับแรงดันน้ํามัน
เชื้อเพลิงภายในคอมมอนเรลเพื่อใหไดประโยชนจากการเผาไหมมากที่สุด
12 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
P2226/A5
เซ็นเซอรแรงดันบรรยากาศบกพรอง
13 P2228/A5
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
ECM
P2229/A5
14
ขั้นตอนการตรวจสอบ
15 ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
16 ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
17
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
19 ขอควรระวัง:
26 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–211

รหัส U0001/A2 สายบัสของระบบการสือ่ สารแบบ CAN ความเร็วสูง 1


คําอธิบายผังวงจร 2
ชุดควบคุมระบบเกียร (TCM) และ ECM กระทําการสื่อสาร 2 ทางซึ่งกันและกันผานทางระบบเครือขายควบคุมพื้นที่
(CAN) โดย TCM จะสงสัญญาณไปยัง ECM เกีย่ วกับรอบเครือ่ งยนตทตี่ อ งการ แรงบิดของเครือ่ งยนตทตี่ อ งการ ไฟเตือน 3
ในมาตรวัดรวม รหัสวิเคราะหปญหา และขอมูลอื่นๆ ECM ก็จะสงสัญญาณเกี่ยวกับรอบเครื่องยนต มุมเปดของลิ้นเรง
อุณหภูมิของอากาศ อุณหภูมิของน้ําหลอเย็น แรงบิดเครื่องยนต และขอมูลอื่นๆ กลับไปที่ TCM
กรณีที่ TCM ไมสามารถสือ่ สารกับ ECM ได TCM จะสรุปวามีความผิดปกติในระบบ CAN ทําใหไฟเตือน MIL ติดสวาง 5
และรหัสวิเคราะหปญหาปรากฏขึ้น
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 10
• วงจร TCM และ ECM ขาดหรือลัดวงจร
U0001/A2 การสื่อสารจาก TCM ไมตอเนื่อง •

TCM
ECM
11
ผังวงจรไฟฟา 12
ไปที่เซ็นเซอรแรงดัน
สัมบูรณทอรวม 13
จากฟวส IGN
จากรีเลย MAIN
14
15
16
*: เกียรอัตโนมัติ 17
G34648

ขั้นตอนการตรวจสอบ 19
ขอแนะนํา:
อานขอมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ 26
ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถจอด เครือ่ งรอนหรือ
ไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา 27
1 ตรวจเช็คชุดสายไฟ
28
(ก) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาตามตารางขางลางนี้
คามาตรฐาน (สําหรับ ECM): 29
การตอขั้วทดสอบ ตําแหนงสวิตชจุดระเบิด เงื่อนไขที่กําหนด
E5-1 (+B) - กราวดตัวถัง ON 9 ถึง 14 V
E8-18 (VC) - กราวดตัวถัง ON 4.5 ถึง 5.5 V 30
E7-7 (E1) - กราวดตัวถัง – 10 Ω หรือสูงกวา
คามาตรฐาน (สําหรับ TCM): 31
การตอขั้วทดสอบ ตําแหนงสวิตชจุดระเบิด เงื่อนไขที่กําหนด
T17-6 (IG2) - กราวดตัวถัง ON 9 ถึง 14 V 32
T19-1 (E1) - กราวดตัวถัง – 10 Ω หรือสูงกวา
05–212 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
2
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM − TCM)
3 (ก) ปลดขั้วตอ E6 ของ ECM
(ข) ปลดขัว้ ตอ T17 ของ TCM
5 E6
ECM (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
10 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E6-22 (CAN+) - T17-21 (CAN+) ต่ํากวา 1 Ω
11 CAN+ CAN- E6-21 (CAN-) - T17-22 (CAN-) ต่ํากวา 1 Ω
E6-22 (CAN+) หรือ T17-21 (CAN+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12 T17
TCM
E6-21 (CAN-) หรือ T17-22 (CAN-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา

13
14
15 A81090
G34625
CAN- CAN+
G34917 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
16 ปกติ

17 3 ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏซ้ํา

19 (ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)


(ข) เปลี่ยน TCM
26 ขอแนะนํา:
เปลี่ยน TCM กับ TCM จากรถที่ทํางานตามปกติในรุนเดียวกัน
(ค) สตารทเครื่องยนต
27 (ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-51)
ผลที่ได:
28 แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
U0001/A2 A
29 ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา B

B เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17)


30 A
31 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
32 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–213

วงจรควบคุม EGR* 1

ขอแนะนํา: 2
*: เฉพาะ 1KD-FTV เทานั้น
3
คําอธิบายผังวงจร
ระบบ EGR ทําหนาที่หมุนเวียนแกสไอเสียซึ่งถูกควบคุมใหมีปริมาณพอดีเหมาะสมกับทุกสภาพการขับขี่ แกสที่หมุน 5
เวียนดังกลาวจะผสมกันกับไอดี โดยปลอยใหระบบ EGR ชลอการจุดระเบิดของเครื่องยนตและลดอุณหภูมิการเผาไหม
ลงซึ่งจะชวยลดการปลอยกาซ NOx ได 10
และเพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการไหลเวียน ECM จะปรับทั้งจํานวนการยกวาลว EGR และลิ้นเรง
VSV จะทํางาน (ON) โดยสัญญาณจาก ECM จึงมีผลใหอากาศภายนอกกระทําตอวาลว EGR และปดวาลว EGR กั้น 11
แกสไอเสียไว (ตัดการทํางานของ EGR)
ผังวงจรไฟฟา 12
V1 E-VRV for EGR
V1 ECM
13
E-VRV สําหรับ EGR
12 9
B
EA1
B
1 2
L-R
E7 EGR 14
V2
V2 VSV for EGR Cut
VSV สําหรับตัดการควบคุม EGR 15
18
B Y-B
J/B หองเครื
Engine Room่องยนตJ/B 1 2
E7 EGRC

รีเลยรวมRelay
Integration (ชุด B)(Unit B) 16
รีเลย MAIN
MAIN Relay
B
5
1J 17
3 2 14 8
W-B W-G W-G
1J 1J IF3 E5 MREL 19
1 EFI 7
1H
1 2
E7 E1
26
W-L BR
3 BATT P/I 1
A
J1
1B 1A A
J10 27
J/C J/C
A W A
28
W-B BR

แบตเตอรี่
29
EB Battery EC

30
A99793

31
32
05–214 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
2 1 ตรวจเช็คการตอของทอสุญญากาศ

3 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนทอสุญญากาศ
5 ปกติ

10 2 ตรวจเช็คสุญญากาศ
(ก) ใชขอตอ 3 ทาง ตอเกจวัดสุญญากาศเขากับทอยางระหวาง
11 เกจวัดสุญญากาศ วาลว EGR กับ VRV สําหรับวาลว EGR
(ข) อุนเครื่องยนตใหอุณหภูมิสูงกวา 80°C (176°F)
12 (ค) ตรวจเช็คสุญญากาศที่ความเร็ว 1,500 รอบ/นาที
ผลที่ได:
13 แบบ สุญญากาศ
A 0 กิโลปาสคาล (0 มม.ปรอท, 0 นิ้วปรอท)
14 G36665 B 0 กิโลปาสคาล (0 มม.ปรอท, 0 นิ้วปรอท) ถึง
28 กิโลปาสคาล (210 มม.ปรอท, 8.3 นิ้วปรอท)
C สูงกวา 28 กิโลปาสคาล (210 มม.ปรอท, 8.3 นิ้วปรอท)
15
B ดูขั้นตอนที่ 7
16
C ดูขั้นตอนที่ 12
17
A
19
3 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR)
26 (ก) ปลดทอสุญญากาศออกจาก VSV
VSV สําหรับตัด VSV สําหรับตัด
การควบคุม EGR: การควบคุม EGR: (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
27 ทํางาน (ON) ไมทํางาน (OFF) (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Active Test / Activate
28 อากาศ อากาศ the VSV for EGR Cut
E E
(จ) ตรวจเช็คการทํางาน
29 ผลที่ได:
กรองอากาศ กรองอากาศ A99240 เมื่อ VSV ทํางาน (ON) อากาศจากชอง E จะไหลออกทาง
30 กรองอากาศ
เมื่อ VSV ไมทํางาน (OFF) อากาศจะไมไหลจากชอง E ไปที่
31 กรองอากาศ
ปกติ ดูขั้นตอนที่ 12
32 บกพรอง
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–215

4 ตรวจสอบวาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR (ความตานทาน) 1


(ก) ปลดขั้วตอ V2 ของ VSV
(ข) วัดความตานทานของ VSV 2
VSV สําหรับตัดการควบคุม EGR คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 20°C (68°F) 37 ถึง 44 Ω
5
2 1 A99241
บกพรอง เปลี่ยนวาลวตัด − ตอสุญญากาศ 10
ปกติ 11
5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR − ECM) 12
(ก) ปลดขั้วตอ V2 ของ VSV
ดานชุดสายไฟ 13
V2
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM
VSV สําหรับตัดการควบคุม EGR (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 14
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 15
E7-18 (EGRC) - V2-2 ต่ํากวา 1 Ω
E7-18 (EGRC) หรือ V2-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
16
17
E7
ECM
19
26
EGRC
A56870
A81087 G35726
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 27
ปกติ 28
29
30
31
32
05–216 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR – รีเลย MAIN)

ดานชุดสายไฟ
(ก) ถอดรีเลยรวมออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครื่องยนต
2 1J
(ดูหนา 10-4)
รีเลยรวม (ข) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
3 (ค) ปลดขั้วตอ V2 ของ VSV
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
10 1J-5 - V2-1 ต่ํากวา 1 Ω
1J-5 หรือ V2-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 V2
VSV สําหรับตัดการควบคุม EGR

12
13
14
G34722
A56870 G35727 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
7 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา EGR)
16
(ก) ระหวางที่เครื่องยนตเดินเบา ใหตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของ
17 E1
E7
ECM ขั้วตอ ECM
คามาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-9 (EGR) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
26 EGR

27
28 5 V/
Division

29 EGR GND
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
30 ขอควรระวัง:
A66060 1 msec./Division หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
31 A96634 G34909
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–217

8 ตรวจเช็คการทํางานของวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR 1
E-VRV สําหรับ EGR: E-VRV สําหรับ EGR: (ก) ปลดทอสุญญากาศ (ทอยาง) ออกจาก E-VRV
ทํางาน ไมทาํ งาน (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 2
อากาศ อากาศ
(ON) (OFF) (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
E
F
E
(ง) เขาเมนูรายการดังนี:้ Powertrain / Engine / Active Test / Control 3
the EGR System
(จ) ตรวจเช็คการทํางาน
5
กรองอากาศ ปกติ:
A70837
10
เมื่อ E-VRV สําหรับ EGR ทํางาน (ON) อากาศจากชอง E
จะไหลออกทางชอง F 11
เมื่อ E-VRV สําหรับ EGR ไมทํางาน (OFF) อากาศจากชอง
E จะไหลออกทางกรองอากาศ 12
ปกติ ดูขั้นตอนที่ 12 13
บกพรอง
14
9 ตรวจสอบวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR (ความตานทาน)
15
(ก) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
E-VRV สําหรับ EGR (ข) วัดความตานทานของ E-VRV 16
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 17
2 1
1-2 20°C (68°F) 11 ถึง 13 Ω
19
A93008
บกพรอง เปลี่ยนวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR 26
ปกติ
27
28
29
30
31
32
05–218 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 10 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR − ECM)


(ก) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
2 ดานชุดสายไฟ
V1 (ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM
VSV สําหรับ EGR (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 E7-9 (EGR) - V1-2 ต่ํากวา 1 Ω
E7-9 (EGR) หรือ V1-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10
11 E7
ECM

12
13
EGR

A53155

14
A81087
A99854 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
11 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR – รีเลย MAIN)
16
(ก) ถอดรีเลยรวมออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครือ่ งยนต
17 1J
รีเลยรวม (ดูหนา 10-4)
(ข) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
19 (ค) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
26 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
27 1J-5 - V1-1 ต่ํากวา 1 Ω
ดานชุดสายไฟ
V1 1J-5 หรือ V1-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
28 E-VRV สําหรับ EGR

29
30
G34722
A56869

31 G34910
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–219

12 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7) 1


บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10) 2
ปกติ
3
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
5
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–220 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็คการตอทอสุญญากาศ
2 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนทอสุญญากาศ
ปกติ
3
2 ตรวจเช็คสุญญากาศ
5
(ก) ใชขอตอ 3 ทาง ตอเกจวัดสุญญากาศเขากับทอยางระหวาง
10 เกจวัดสุญญากาศ วาลว EGR กับ VRV สําหรับวาลว EGR
(ข) อุนเครื่องยนตใหอุณหภูมิสูงกวา 80๐C (176๐F)
11 (ค) ตรวจเช็คสุญญากาศที่ความเร็ว 1,500 รอบ/นาที
ผลที่ได:
12 แบบ สุญญากาศ
A 0 กิโลปาสคาล (0 มม.ปรอท, 0 นิ้วปรอท)
B 0 กิโลปาสคาล (0 มม.ปรอท, 0 นิ้วปรอท) ถึง
13 G36665

28 กิโลปาสคาล (210 มม.ปรอท, 8.3 นิ้วปรอท)


C สูงกวา 28 กิโลปาสคาล (210 มม.ปรอท, 8.3 นิ้วปรอท)
14
B ดูขั้นตอนที่ 7
15
C ดูขั้นตอนที่ 12
16 A

17 3 ตรวจสอบวาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR (ความตานทาน)


(ก) ปลดขั้วตอ V2 ของ VSV
19 (ข) วัดความตานทานของ VSV
VSV สําหรับตัดการควบคุม EGR คามาตรฐาน:
26
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 20°C (68°F) 37 ถึง 44 Ω
27
บกพรอง เปลี่ยนวาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการ
28 2 1 A99241 ควบคุม EGR

29 ปกติ

30 4 ตรวจสอบวาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR (การทํางาน) (ดูหนา 12-7)

31 บกพรอง เปลี่ยนวาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการ


ควบคุม EGR
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–221

5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR − ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอ V2 ของ VSV
ดานชุดสายไฟ
V2
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM 2
VSV สําหรับตัดการควบคุม EGR (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-18 (EGRC) - V2-2 ต่ํากวา 1 Ω 5
E7-18 (EGRC) หรือ V2-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10

E7
11
ECM

12
13
EGRC
A56870
A81087 G35726 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวตัด − ตอสุญญากาศสําหรับตัดการควบคุม EGR – รีเลย MAIN)
16
(ก) ถอดรีเลยรวมออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครือ่ งยนต
ดานชุดสายไฟ
1J (ดูหนา 10-4) 17
รีเลยรวม
(ข) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
(ค) ปลดขั้วตอ V2 ของ VSV 19
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 26
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1J-5 - V2-1 ต่ํากวา 1 Ω
27
1J-5 หรือ V2-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
V2
VSV สําหรับตัดการควบคุม EGR 28
29
30
G34722
A56870 G35727 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 31
ปกติ
32
05–222 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา EGR)


(ก) ระหวางที่เครื่องยนตเดินเบา ใหตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของ
2 E1
E7
ECM ขั้วตอ ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-9 (EGR) - E7-7 (E1) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
5 EGR

10
11 5 V/
Division

12 EGR GND
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
13 ขอควรระวัง:
1 msec./Division หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
14
A66060
A96634 G34909
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
15
16 8 ตรวจสอบวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR (ความตานทาน)
(ก) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
17 E-VRV สําหรับ EGR (ข) วัดความตานทานของ E-VRV
คามาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
2 1
1-2 20°C (68°F) 11 ถึง 13 Ω
26
27 A93008
บกพรอง เปลี่ยนวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR

28 ปกติ

29 9 ตรวจสอบวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR (การทํางาน)


(ดูหนา 12-7)
30
บกพรอง เปลี่ยนวาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR
31
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–223

10 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR − ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ E7 ของ ECM 2
V1
VSV สําหรับ EGR (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-9 (EGR) - V1-2 ต่ํากวา 1 Ω 5
E7-9 (EGR) หรือ V1-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10

E7
11
ECM

12
13
EGR

A53155
A81087
A99854 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
11 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (วาลวควบคุมสุญญากาศสําหรับ EGR – รีเลย MAIN)
16
(ก) ถอดรีเลยรวมออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครือ่ งยนต
17
1J
รีเลยรวม (ดูหนา 10-4)
(ข) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J
(ค) ปลดขั้วตอ V1 ของ E-VRV 19
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 26
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1J-5 - V1-1 ต่ํากวา 1 Ω
27
ดานชุดสายไฟ
V1 1J-5 หรือ V1-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E-VRV สําหรับ EGR 28
29
30
G34722

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
A56869
G34910
31
ปกติ
32
05–224 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 12 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7)

2 บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)


ปกติ
3
5 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
ขอควรระวัง:
10 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–225

วงจรควบคุมการเผาหัว 1
ขอแนะนํา:
ขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหาเหลานี้ใชกับ: 1) เครื่องยนตสตารทติดยากในสภาพอากาศหนาว และ 2) การขับขี่ 2
ลําบาก/รถเกิดความผิดปกติในสภาพอากาศหนาวทันทีหลังจากที่เครื่องยนตสตารทติด
3
คําอธิบายผังวงจร
หัวเผาจะติดตัง้ อยูภ ายในหองเผาไหมของเครือ่ งยนต เพือ่ ใหมนั่ ใจวาสตารทเครือ่ งยนตอยางมีประสิทธิภาพขณะเครือ่ งเย็น 5
ECM จะคํานวณชวงเวลาหยุดพักของกระแสไฟฟาทีต่ อ งการใหไหลผานหัวเผาโดยขึน้ อยูก บั อุณหภูมขิ องน้าํ หลอเย็นขณะ
สตารทเครือ่ งยนตเมือ่ สวิตชจดุ ระเบิดอยูท ตี่ าํ แหนง ON จากนัน้ ECM จะใหรเี ลย GLOW ทํางานและยินยอมใหกระแสไหล 10
ผานหัวเผาตามชวงเวลาทีค่ าํ นวณจาก ECM แลวจึงเผาหัว และเพิม่ การเผาไหมเชือ้ เพลิงมากขึน้ ขณะเครือ่ งยนตเย็น
รหัสวิเคราะหปญหานี้จะปรากฏขึ้นถามีการขาดวงจรที่หัวเผาเองหรือที่วงจรควบคุม
11
แบตเตอรี่
ECM
รีเลย 12
GLOW
Duty Ratio
13
รีหัวเผา
อัลเทอรเนเตอร
14
A81017

ขอแนะนํา: 15
หลังจากเครื่องยนตสตารทติด ECM จะทําให “ระยะเวลาหลังหัวเผารอน” เปนชวงเวลาที่แนนอนสัมพันธกับอุณหภูมิ
น้าํ หลอเย็นเครือ่ งยนตทแี่ ทจริง ซึง่ ชวงระยะเวลาจะแตกตาง กัน ระบบหลังหัวเผารอนจะลดการน็อคของเครือ่ งยนตดเี ซล 16
รวมทั้งการปลอยควันขาวและเสียงรบกวนของเครื่องยนตขณะเครื่องเย็น
ระบบหลังหัวเผารอน 17
1KD-FTV 2KD-FTV
ระยะเวลาหลังหัวเผารอน

ระยะเวลาหลังหัวเผารอน

120 120
19

1
26
0
(วินาที)

(วินาที)

0 20 40 0 30 40
(68) (104) (86) (104) 27
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต °C (°F) อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต °C (°F)
ON
28
สวิตชจุดระเบิด OFF
29
ON

หัวเผา OFF OFF 30


31
ความเร็วรอบ ระยะเวลาหลังหัวเผารอน 32
สตารทเครื่องยนต
G36758
05–226 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
2 ECM

2
3 จากฟ
From
Fuse
วส EFI
EFI L
E6 BATT

11 15
5 B R
IF2
R
E5 GREL

10 1 1

B 5 2
11 รีเลย
GLOW R/B หองเครื
Engine Room ่องยนต
GLOW
Relay R/B
7
12 3 1
BR
E7 E1
1 1G
13 1 1

J/B หองเครื
Engine
J/B
Room ่องยนต B-R
14 GLOW
W-B BR

1 1A 1 EA2

15 G1 Glow
หัวเผา
Plug 1
B-R A A
J1 J10
J/C J/C
W
16 A A

W-B BR
17
แบตเตอรี
Battery ่ EB EC
19
26 A99791

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–227

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
วงจรไฟฟาระบบหัวเผา
ECM

จากแบตเตอรี่
GLOW
GREL
2
5 2

รีเลย GLOW 3
3 1 5
หัวเผา 10

G34667
11
1 ตรวจสอบรีเลย (เครื่องหมาย: GLOW) 12
(ก) ถอดรีเลย GLOW ออกจากกลองรีเลยหองเครื่องยนต 13
(ข) วัดความตานทานของรีเลย
คามาตรฐาน: 14
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3-5 10 kΩ หรือสูงกวา 15
ต่ํากวา 1 Ω
3-5
(เมื่อแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ถูกจายไปยังขั้ว 1 และขั้ว 2)
A92673
16
บกพรอง เปลี่ยนรีเลย
17
ปกติ
19
2 ตรวจสอบฟวส (GLOW)
26
J/B หองเครื่องยนต
(ก) ถอดฟวสกระแสงสูง GLOW ออกจากกลองรวมชุดสายไฟ
หองเครื่องยนต 27
(ข) วัดคาความตานทานของฟวสกระแสสูง
คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω 28
29
ฟวสกระแสสูง GLOW A99789
บกพรอง ตรวจหาการลัดวงจรในชุดสายไฟและชิ้นสวน 30
ทั้งหมดที่ตอเขากับฟวส
ปกติ 31
32
05–228 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจสอบชุดหัวเผา

โอหมมิเตอร (ก) ปลดสายไฟหัวเผา


2 (ข) วัดความตานทานของหัวเผา
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
ขั้วหัวเผา – กราวดตัวถัง 20°C (68°F) ประมาณ 0.95 Ω
5 ความตานทาน ขอแนะนํา:
10 A99235
ถาหัวเผาใดหัวเผาหนึง่ มีปญ
 หาวงจรขาด กําลังเครือ่ งยนตจะไมเพียงพอ
เฉพาะเมื่อเครื่องเย็นเทานั้น
11 ขอควรระวัง:
• ปฏิบัติอยางระมัดระวังเปนพิเศษโดยไมทําใหทอหัวเผาชํารุด
12 เสียหาย เพราะความเสียหายอาจทําใหเกิดวงจรขาด หรืออายุ
การใชงานของหัวเผาสั้นลง
13 • ขณะทําความสะอาดอยาใหหวั เผาเปอ นน้าํ มันหรือน้าํ มันเชือ้ เพลิง
• ระหวางการตรวจสอบ ใหใชผาแหงสะอาดๆ เช็ดน้ํามันเครื่อง
14 ออกจากขั้วไฟฟาและแหวนรอง
• อยาจายแรงดันไฟฟาแกหัวเผาเกิน 11 V เพราะจะทําใหวงจร
15 ขาดได

16 บกพรอง เปลี่ยนชุดหัวเผา (ดูหนา 19-19)


ปกติ
17
19 4 ตรวจเช็คชุดหัวเผา (การติดตั้ง)
ปกติ: หัวเผาไดรับการติดตั้งอยางแนนหนา
26
บกพรอง ขันติดตั้งหัวเผาใหแนน
27 ปกติ
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–229

5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (รีเลย GLOW – ECM และกราวดตัวถัง) 1


(ก) ปลดขั้วตอ E5 ของ ECM
(ข) ถอดรีเลย GLOW ออกจากกลองรีเลยหองเครื่องยนต 2
E5
ECM (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
GREL E5-15 (GREL) - ขั้ว 2 ของรีเลย GLOW ของกลองรีเลย ต่ํากวา 1 Ω 5
ขั้ว 1 ของรีเลย GLOW ของกลองรีเลย - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
ดานชุดสายไฟ 10
E5-15 (GREL) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
R/B หองเครื่องยนต
รีเลย GLOW 11
12
13
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
14
A81091
A99792 G34940

ปกติ
15
6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (รีเลย GLOW – หัวเผาและแบตเตอรี่)
16
(ก) ถอดรีเลย GLOW ออกจากกลองรีเลยหองเครื่องยนต
ดานชุดสายไฟ
R/B หองเครื่องยนต
รีเลย GLOW (ข) ปลดขัว้ ตอหัวเผา G1 17
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
ขัว้ 3 ของรีเลย GLOW ของกลองรีเลย - ขัว้ ตอสายไฟหัวเผา ต่ํากวา 1 Ω 26
ขั้ว 5 ของรีเลย GLOW ของกลองรีเลย - สายขั้วบวก (+)
ต่ํากวา 1 Ω
แบตเตอรี่ 27

G1
28
สายไฟหัวเผา
29
30
A99792
G34666
G34668 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 31
ปกติ
32
05–230 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา GREL)


(ก) สตารทเครื่องยนต
2 E7
ECM
E5 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
อุณหภูมิน้ําหลอเย็น
5 E5-15 (GREL) – E7-7 (E1) เครื่องยนต 40°C (104°F) 9 ถึง 14 V
E1 GREL
หรือต่ํากวา
10 A66060

บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


11 ขอควรระวัง:
หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
12 จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
ปกติ
13
14 8 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา BATT)
(ก) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
15 E7 E6 คามาตรฐาน:
ECM ECM
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
16 E6-2 (BATT) - E7-7 (E1) 9 ถึง 14 V

17
E1 (-) BATT (+)
19 A80463
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
26 ปกติ

27 ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)


28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–231

วงจรแหลงจายไฟ ECM 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิด ON แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่จะถูกจายไปที่ขั้ว IGSW ของ ECM สัญญาณออก MREL ของ ECM 3
ทําใหกระแสไฟฟาไหลไปที่ขดลวด ปดหนาคอนแท็คของรีเลย EFI แลวจึงสงกระแสไฟฟาไปยังขั้ว +B ของ ECM
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–232 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ผังวงจรไฟฟา
1
ECM
1 1
2 J/B หอRoom
งเครื่องยนต
B
IF3
B
E5 +B
Engine J/B
รีเลยรวม (ชุด B)
3 Integration Relay
รีเลย MAIN
MAIN Relay
(Unit B)

4 1 C J/C A 2
L L
5 1J
3
1J J4
14
J5 E6 BATT
8
2
W-G W-G
1J 1J IF3 E5 MREL
10 EDU
7 12 10
B-W B-W
11 1J IF2
Instrument Panel J/B Assy
E5 IREL
8 ชุด J/BSide
(Driver แผงหน าปด (J/B ดานคนขับ)
J/B)
1J
12 6 IGN 22
B-O
9
2C 2S E5 IGSW
1 EFI
W-L
13 1H
1 2
B
3 4 I6 Ignition
BATT P/I AM2
สวิตชจุดระเบิด
14 1B 1B W-R
11
Switch
W-R
IF3
1 1A 5 AM2 IG2 6
15 B
สายปองกัน 7
สายปองกัน
สัShielded
ญญาณ สัญญาณ E7 E1
16 รบกวน รบกวน
Shielded EDU
2 8
B
17 W-B EA1 I1
1
BATTERY

BR
3 EA1 I2 GND
19 W
W-B

26 A
J1
A J9
J/C
A J8
J/C
A
J10
J/C J/C
A A J10 A J7 A
27 W-B
W-B BR BR

28 EB
แบตเตอรี่
Battery EC

29
A99784

30 WB

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–233

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา +B)
2
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E7 E5
ECM ECM (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 5
E5-1 (+B) - E7-7 (E1) 9 ถึง 14 V
E1 (-) +B (+)
ปกติ ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพ 10
A18294
ปญหา (ดูหนา 05-41)
11
บกพรอง
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM – กราวดตัวถัง)
13
(ก) ปลดขั้วตอ E7 ของ ECM
E7 (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 14
ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 15
E7-7 (E1) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
E1 16
A65745
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 17
ปกติ
19
3 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา IGSW) 26
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E7
ECM
E5
ECM (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 27
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
28
E5-9 (IGSW) - E7-7 (E1) 9 ถึง 14 V
E1 (-) IGSW (+)
29
A18294
ปกติ ดูขั้นตอนที่ 5 30
บกพรอง 31
32
05–234 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 ตรวจเช็คฟวส (IGN)

ชุด J/B แผงหนาปด (ก) ถอดฟวส IGN ออกจากกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด


2 (ข) วัดคาความตานทานของฟวส
ฟวส คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
3 IGN

5
บกพรอง ตรวจหาการลัดวงจรในชุดสายไฟและชิ้นสวน
10 F50101
ทั้งหมดที่ตอเขากับฟวส

11 ปกติ

12 ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ (แบตเตอรี่ − ECM)


13 5 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา MREL)

14 (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E7 E5
ECM ECM (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
15 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
16 E5-8 (MREL) - E7-7 (E1) 9 ถึง 14 V
E1 (-) MREL (+)
บกพรอง เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
17 A18294

ขอควรระวัง:
19 หลังจากเปลีย่ น ECM แลว ใหสตารทเครือ่ งยนตและเดินเบาเครือ่ งยนต
จนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
26 ปกติ

27 6 ตรวจสอบฟวส (EFI)
28 J/B หองเครื่องยนต (ก) ถอดฟวส EFI ออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครื่องยนต
(ข) วัดคาความตานทานของฟวส
29 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
30
31 บกพรอง ตรวจหาการลัดวงจรในชุดสายไฟและชิ้นสวน
ฟวส EFI A99789 ทั้งหมดที่ตอเขากับฟวส
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–235

7 ตรวจเช็ครีเลยรวม (รีเลย MAIN) 1


(ก) ถอดรีเลยรวมออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครือ่ งยนต
1J (ดูหนา 10-4) 2
รีเลยรวม
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) วัดแรงดันไฟฟาของรีเลยหลัก (MAIN) 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
5
4
1J-4 - กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
A99733
10
บกพรอง เปลี่ยนรีเลยรวม
11
ปกติ
12
8 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (รีเลย MAIN – ECM และกราวดตัวถัง)
13
1J (ก) วัดชุดสายไฟระหวางรีเลย MAIN กับ ECM
รีเลยรวม (1) ถอดรีเลยรวมออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครือ่ งยนต 14
(ดูหนา 10-4)
(2) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J 15
(3) ปลดขั้วตอ E5 ของ ECM
(4) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 16
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 17
1J-2 - E5-8 (MREL) ต่ํากวา 1 Ω
E5
ECM
1J-2 หรือ E5-8 (MREL) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 19
MREL (ข) ตรวจเช็คชุดสายไฟระหวางรีเลย MAIN กับกราวดตัวถัง
(1) ถอดรีเลยรวมออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครือ่ งยนต 26
(ดูหนา 10-4)
G34722 (2) ปลดขั้วตอรีเลยรวม 1J 27
A81091
G34918
(3) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 28
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1J-3 - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
29
ปกติ ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 30
บกพรอง 31
ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ (ขั้ว +B ของ ECM – ขั้วบวกแบตเตอรี่) 32
05–236 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 วงจรสัญญาณมอเตอรสตารท
2 คําอธิบายผังวงจร
3 ในขณะที่สตารทเครื่องยนต จะมีกระแสไฟฟาไหลจากขั้ว ST2 ของสวิตชจุดระเบิดไปยังฟวส ST แลวจึงไหลไปยังขั้ว
STA ของ ECM (สัญญาณ STA)
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–237

ผังวงจรไฟฟา
1
2
สวิตช PNP
3
5
R/B หองเครื่องยนต
รีเลย ST 10
11
ชุด J/B แผงหนาปด
(J/B ดานคนขับ)
12
13
14
ชุดสวิตชจุดระเบิด
15
16
ชุด ECU
เตือนกันขโมย
17
19
J/B หองเครื่องยนต
26
*1
: มีระบบกันขโมย
*2
*3
: ไมมีระบบกันขโมย
: ซิงเกิลแคปและดับเบิ้ลแคปเกียรธรรมดา
27
มอเตอรสตารท *4
: ไมใชซิงเกิ้ลแคปหรือดับเบิ้ลแคปเกียรธรรมดา

แบตเตอรี่ *5
2KD-FTV (ไมมี CAC) และไมมีระบบกันขโมย 28
: เกียรอัตโนมัติ
*6
: เกียรธรรมดา
29
G34650

30
31
32
05–238 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 ขอแนะนํา:
ตารางนี้สมมุติวาสามารถสตารทเครื่องยนตไดตามปกติ แตหากไมสามารถสตารทเครื่องยนตได ใหดูตามตารางสภาพ
2 ปญหา (ดูหนา 05-41)
3 1 อานขอมูลใน DATA LIST (สัญญาณ STA)

5 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3


(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
10 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Starter Signal
(ง) อานคาขอมูล
11 คามาตรฐาน:
ตําแหนงสวิตชจุดระเบิด ON START
12 สัญญาณมอเตอรสตารท OFF ON

13 ปกติ ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพ
ปญหา (ดูหนา 05-41)
14 บกพรอง
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–239

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM – รีเลย ST (เกียรอัตโนมัติ), ECM − ชุด J/B แผงหนาปด (เกียรธรรมดา)) 1


(ก) ปลดขั้วตอ E5 ของ ECM
(ข) เกียรอตั โนมัติ: 2
E5 ถอดรีเลย ST ออกจากกลองรีเลยหองเครื่องยนต
ECM
(ค) เกียรธรรมดา : 3
ปลดขั้วตอกลองรวมชุดสายไฟ 2O
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5
STA
คามาตรฐาน:
10
เกียรอัตโนมัติ R/B หองเครื่องยนต เกียรอัตโนมัติ
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
ขั้ว 2 ของรีเลย ST ของกลองรีเลย - E5-7 (STA) ต่ํากวา 1 Ω
11
รีเลย ST
ขั้ว 2 ของรีเลย ST ของกลองรีเลย หรือ
E5-7 (STA) - กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา 12
เกียรธรรมดา
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 13
2O-19 - E5-7 (STA) ต่ํากวา 1 Ω
2O-19 หรือ E5-7 (STA) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 14
เกียรธรรมดา
ดานชุดสายไฟ 15
2O
ชุด J/B แผงหนาปด
16
17
A81091

19
A99790
B85014
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
G36458

ปกติ 26
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 27
ขอควรระวัง: 28
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
29
30
31
32
05–240 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 วงจรไฟเตือน MIL
2 คําอธิบายผังวงจร
3 ถา ECM ตรวจพบความผิดปกติ ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) จะติดสวางแลว ECM จะบันทึกรหัส
วิเคราะหปญหาไวในหนวยความจํา
5 ผังวงจรไฟฟา
C8 Combina
10 ชุด J/B แผงหนาปด
Instrument Panel J/B Assy
C8
tion Meter
ชุดมาตรวัดรวม
Assy
(J/B ดานคนขั
(Driver
I6 Ignition Switch Assy บ)
Side J/B) ECM
ชุดสวิตชจุดระเบิด
11 5 B
6 MET 1
B-O
MIL
R-B
1
R-B
12
2C 2D IE1 E5 W
AM2 IG2 6 21 39
12 W-R

11 IF3
13 W-R J10
4 1B J/C
14 A A BR
7
E7 E1
Engine
J/B หองเครื่องยนต
AM2

Room
15 AM2
J/B

1 1A BR
16 W

17 แบตเตอรี่
Battery EC

19 A99788

26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–241

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
ใชตารางดานลางในการคนหาสาเหตุปญหาของแตละอาการปญหา
ขอมูลอางอิง:
2
สภาวะ ปฏิบัติตามขอ
ไฟเตือน MIL ติดคาง เริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1
3
ไฟเตือน MIL ไมติดสวาง เริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 3
5
1 ตรวจเช็ควาไฟเตือน MIL ดับไป
10
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 11
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ง) ตรวจเช็ความีรหัสวิเคราะหปญหาเก็บบันทึกไวและจดบันทึกกรณีที่มีรหัสวิเคราะหปญหา 12
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC / Clear
(ฉ) ลบรหัสวิเคราะหปญหา 13
(ช) ตรวจเช็ควาไฟเตือน MIL ดับไป
ปกติ: ไฟเตือน MIL ดับไป 14
ปกติ ซอมวงจรตามผลรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏ 15
(ดูหนา 05-62)
บกพรอง 16
17
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (สําหรับการลัดวงจร)
(ก) ปลดขั้วตอ E5 ของ ECM 19
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E5
ECM (ค) ตรวจเช็ควาไฟเตือน MIL ไมติดสวาง 26
ปกติ: ไฟเตือน MIL ไมติดสวาง
27
28
A81091 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 29

เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


30
ขอควรระวัง: 31
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
32
05–242 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ควาไฟเตือน MIL ติดสวาง


(ก) ตรวจเช็ควาไฟเตือน MIL ติดสวางเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON
2 ปกติ: ไฟเตือน MIL ติดสวาง
3 ปกติ ทํางานปกติ

5 บกพรอง
10 4 ตรวจสอบชุดมาตรวัดรวม (วงจรไฟเตือน MIL)
ปกติ: วงจรมาตรวัดรวมเปนปกติ
11
บกพรอง เปลี่ยนหลอดไฟหรือชุดมาตรวัดรวม
12
ปกติ
13
ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ (มาตรวัดรวม − ECM)
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–243

เครื่องยนตสตารทติดยากหรือติดๆ ดับๆ 1
ขอแนะนํา: 2
คาที่กําหนดในแผนภูมิการคนหาสาเหตุปญหาตอไปนี้เปนเพียงขอมูลอางอิงเทานั้น คาของผลขอมูลใน DATA LIST
อาจเกิดความแตกตางกันได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวาคาของขอมูลใน 3
DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอื่นๆ ของปญหาที่ซอนเรนอยูบางประการ
ขั้นตอนการตรวจสอบ 5
1 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต)
10
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 11
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา 12
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาที่ไมเกี่ยวของกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-60) A
13
รหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-60) B
14
B ซ อ มหรื อ เปลี่ ย นระบบควบคุมเครื่องยนตตาม
รหัสวิเคราะหปญ  หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62) 15
A 16
2 ตรวจเช็คกรองเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-5) 17
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็ควากรองเชื้อเพลิงไมอุดตัน 19
ปกติ: กรองเชื้อเพลิงไมอุดตัน
บกพรอง เปลี่ยนกรองเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-7) 26
ปกติ 27
3 ตรวจเช็คสภาพการหมุนของเครื่องยนต 28
(ก) ตรวจเช็คสภาพการหมุนของเครื่องยนต
(ข) เปรียบเทียบสภาพการหมุนของเครือ่ งยนตกบั เครือ่ งยนตปกติในรุน เดียวกัน โดยตรวจเช็ความีความแตกตางระหวาง
29
กันอยางใดบางโดยละเอียด
ปกติ: สภาพการหมุนของเครื่องยนตปกติ 30
บกพรอง ตรวจเช็คและซอมแบตเตอรี่ ระบบไฟชารจ 31
ชุดมอเตอรสตารทและระบบสตารท
ปกติ 32
05–244 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 4 อานขอมูลใน DATA LIST (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Press
3 (ง) อานคาขอมูล
ขอมูลอางอิง:
5 1KD-FTV
รายการขอมูล สภาพการตรวจสอบ คาอางอิง
10 เครือ่ งหมุน และอุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนต
Fuel Press 32 เมกกะปาสคาล
0°C (32°F) หรือสูงกวา
11 2KD-FTV
รายการขอมูล สภาพการตรวจสอบ คาอางอิง
12 เครือ่ งหมุน และอุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนต
Fuel Press 0°C (32°F) หรือสูงกวา
20 ถึง 55 เมกกะปาสคาล
13
บกพรอง ไลอากาศใหกับระบบเชื้อเพลิง
14 ปกติ
15
5 ตรวจเช็ควาเกิดการเผาไหมเบื้องตน
16 (ก) ตรวจเช็ควาเกิดการเผาไหมเบื้องตน
ผลที่ได:
17 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ไมเกิดขึ้นขณะเครื่องยนตเย็น A
19 ไมเกิดขึ้นขณะเครื่องยนตรอน B
เกิดขึ้น C
26
B ดูขั้นตอนที่ 7
27
C ดูขั้นตอนที่ 8
28 A

29 6 ตรวจเช็คระยะเวลาการติดสวางของไฟแสดงสถานะเผาหัวและระยะเวลาหลังหัวเผารอน (ดูหนา 05-225)


30 ปกติ: ระยะเวลาการติดสวางของไฟแสดงสถานะเผาหัวปกติ

31 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนระบบเผาหัว
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–245

7 อานขอมูลใน DATA LIST (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) 1


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Fuel Press
(ง) ตรวจเช็ควาแรงดันเชื้อเพลิงภายในของคอมมอนเรลอยูภายในคากําหนดดานลาง 3
คามาตรฐาน:
1KD-FTV
5
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล 10
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล
2KD-FTV 11
ความเร็วรอบเครื่องยนต แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
เดินเบา ประมาณ 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล 12
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) ประมาณ 35 ถึง 55 เมกกะปาสคาล
13
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 13
ปกติ 14
15
8 ตรวจเช็คระบบไอดีและระบบไอเสีย
(ก) ถอดไสกรองอากาศออก 16
(ข) ตรวจสอบการทํางานของวาลว EGR
(1) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
17
(2) ตรวจเช็ควาไดยนิ เสียงดังคลิกจากวาลว EGR เมือ่ ปลดทอสุญญากาศออกจากวาลว EGR ขณะทีเ่ ครือ่ งยนตอยู
19
ในสภาวะเดินเบา
(ค) ตรวจสอบการทํางานของลิ้นเรง 26
(1) สตารทเครื่องยนต
(2) ตรวจเช็ควาลิ้นเรงเปดจนสุดเมื่อเรงความเร็วรอบเครื่องยนต 27
ขอแนะนํา:
ในขณะที่เรงเครื่อง วาลว EGR ปดสนิทแตวาลวตัดอากาศจะเปดจนสุด ถาระบบปกติ ปริมาณของควันดําจะลดลง 28
ปกติ: วาลว EGR และลิ้นเรงทํางานปกติ
29
บกพรอง ตรวจเช็คและซอมจุดที่มีปญหาอยูจริง
ปกติ 30
31
32
05–246 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 9 อานขอมูลใน DATA LIST (Fuel Press, Injection Volume)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เลือกรายการเมนูดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
3 (ง) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Fuel Press
5 • Injection Volume
คามาตรฐาน:
10
1KD-FTV
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
11 Fuel Press เดินเบา 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 40 ถึง 50 เมกกะปาสคาล
12 Fuel Press 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล
Injection Volume เดินเบา 5 ถึง 12 มม.3
13 Injection Volume 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 5 ถึง 12 มม.3
Injection Volume 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 7 ถึง 14 มม.3
14 คามาตรฐาน:
2KD-FTV
15 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Fuel Press เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
16 Fuel Press 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล
17 Injection Volume เดินเบา 3 ถึง 10 มม.3
Injection Volume 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 3 ถึง 10 มม.3
19 Injection Volume 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 4 ถึง 12 มม.3

26 ขอแนะนํา:
*: ถาไมไดกําหนดสภาวะการเดินเบาไว คันเกียรควรจะอยูในตําแหนงเกียรวางและควรปดสวิตช A/C รวมทั้งสวิตช
27 อุปกรณตางๆ ทั้งหมด
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 14
28
ปกติ
29
10 ตรวจสอบแรงดันในการอัดกระบอกสูบ (ดูหนา 14-1)
30
บกพรอง ตรวจเช็คและซอมเครื่องยนต
31
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–247

11 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (หัวฉีด − EDU) 1


ขอแนะนํา:
ดานชุดสายไฟ รหัส P0200/97 จะปรากฏขึน้ ถามีปญ
 หาวงจร EDU ขาดหรือลัดวงจร 2
F5 (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
F6
F7 1 2
(ก) ปลดขั้วตอหัวฉีด F5, F6, F7 และ F8 3
F8 (ข) ปลดขั้วตอ I1 ของ EDU
หัวฉีด (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 5
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ
F5-2 - I1-4 (INJ#1)
เงื่อนไขที่กําหนด
ต่ํากวา 1 Ω
10
I1
EDU F6-2 - I1-2 (INJ#2) ต่ํากวา 1 Ω
INJ#2 INJ#4 INJ#1 COM1
F7-2 - I1-1 (INJ#3) ต่ํากวา 1 Ω 11
F8-2 - I1-3 (INJ#4) ต่ํากวา 1 Ω
F5-1 - I1-5 (COM1) ต่ํากวา 1 Ω 12
F6-1 - I1-6 (COM2) ต่ํากวา 1 Ω
F7-1 - I1-6 (COM2) ต่ํากวา 1 Ω
F8-1 - I1-5 (COM1) ต่ํากวา 1 Ω 13
INJ#3 COM2 F5-2 หรือ I1-4 (INJ#1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
14
A80992
A84815 A99847
F6-2 หรือ I1-2 (INJ#2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F7-2 หรือ I1-1 (INJ#3) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F8-2 หรือ I1-3 (INJ#4) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F5-1 หรือ I1-5 (COM1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
15
F6-1 หรือ I1-6 (COM2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F7-1 หรือ I1-6 (COM2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 16
F8-1 หรือ I1-5 (COM1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
17
ปกติ
19
12 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (การตัดน้ํามันเชื้อเพลิง)
26
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 27
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
(ง) ตรวจเช็คสภาวะเดินเบาเครือ่ งยนตในขณะทีต่ ดั การฉีดเชือ้ เพลิงของแตละสูบโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ หา (IT II) 28
ผลที่ได:
สภาวะเดินเบาเครื่องยนต ปฏิบัติตามขอ
กลับไมคงที่ A
29
ไมเปลี่ยนแปลง B
ขอแนะนํา: 30
เปลี่ยนหัวฉีดที่เปนสาเหตุใหรอบเดินเบาไมเรียบ
31
B เปลี่ยนหัวฉีด (ดูหนา 11-13)
A 32
05–248 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 เปลี่ยนตัวขับหัวฉีด
2 13 ตรวจเช็ควาเชื้อเพลิงถูกจายไปยังปมจายเชื้อเพลิง
(ก) ปลดทอน้ํามันเขาจากปมจายเชื้อเพลิง
3 (ข) ใชงานปม มือและตรวจเช็ควาเชื้อเพลิงถูกจายไปยังปมจายเชื้อเพลิง
ปกติ: เชื้อเพลิงถูกจายไปยังปมจายเชื้อเพลิงอยางถูกตองเมื่อทํางานดวยปมมือ
5 ปกติ เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23)
บกพรอง
10
ตรวจเช็คและซอมทอที่อุดตัน (รวมถึงถังเชื้อเพลิงที่น้ํามันจับตัวเปนกอน − ปมจายเชื้อเพลิง)
11
14 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา THW)
12
(ก) สตารทเครื่องยนต
13 E8
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
คามาตรฐาน:
14 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
E8-19 (THW) - E8-28 เดินเบา, อุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็น
เครือ่ งยนตอยูร ะหวาง 60°C และ 0.2 ถึง 1.0 V
15 THW (+) E2 (-)
(E2)
120°C (140°F และ 248°F)

16 A66060
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 18
ปกติ
17
15 ตรวจเช็ค ECM (สัญญาณ NE)
19 (ก) ในขณะเดินเบาเครื่องยนต ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็ค
NE+ E8 คลื่นสัญญาณระหวางขั้วที่กําหนดของขั้วตอ E8 ของ ECM
26 ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
27 E8-27 (NE+) - E8-34 (NE-) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ

28 NE-

29
5 V/
30 NE
Division

31
G

32 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 19
20 msec./Division (เดินเบา)
A66060
A98437
G34941
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–249

ปกติ 1
16 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECM – รีเลย ST (เกียรอัตโนมัติ), ECM − ชุด J/B แผงหนาปด (เกียรธรรมดา)) 2
(ก) ปลดขั้วตอ E5 ของ ECM
(ข) เกียรอตั โนมัติ: 3
E5 ถอดรีเลย ST ออกจากกลองรีเลยหองเครื่องยนต
ECM
(ค) เกียรธรรมดา : 5
ปลดขั้วตอกลองรวมชุดสายไฟ 2O
(ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
10
STA
คามาตรฐาน:
11
เกียรอัตโนมัติ R/B หองเครื่องยนต เกียรอัตโนมัติ
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
ขั้ว 2 ของรีเลย ST ของกลองรีเลย - E5-7 (STA) ต่ํากวา 1 Ω
12
รีเลย ST
ขั้ว 2 ของรีเลย ST ของกลองรีเลย หรือ
E5-7 (STA) - กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา 13
เกียรธรรมดา
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 14
2O-19 - E5-7 (STA) ต่ํากวา 1 Ω
2O-19 หรือ E5-7 (STA) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 15
เกียรธรรมดา
ดานชุดสายไฟ 16
2O
ชุด J/B แผงหนาปด
17
19
A81091
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
26
A99790
B85014 G36458

ปกติ
27
17 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา PCR1)
28
(ก) สตารทเครื่องยนต
E8
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 29
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 30
E8-26 (PCR1) - E8-28 (E2) เดินเบา 1.3 ถึง 1.8 V
PCR1 (+) E2 (-) 31
A66060
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 20
ปกติ
32
05–250 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


2 18 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
(ก) ถอดเซ็นเซอรออก
3 โอหมมิเตอร (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 20°C (68°F) 2.32 ถึง 2.59 kΩ
1-2 80°C (176°F) 0.310 ถึง 0.326 kΩ
10 ขอควรระวัง:
คาที่ยอมรับได ถาตรวจเช็คเซ็นเซอร ECT ในน้ํา ระวังอยาใหขั้วไฟฟาถูกน้ํา หลัง
คาความตานทาน kΩ

11 จากตรวจเช็คแลว เช็ดเซ็นเซอรใหแหง
ขอแนะนํา:
12 ขัน้ ตอนอืน่ ๆ: ตอโอหมมิเตอรเขากับเซ็นเซอร ECT ทีต่ ดิ ตัง้ แลว และ
อานคาความตานทาน ใชเทอรโมมิเตอรชนิดอินฟาเรดวัดอุณหภูมขิ อง
13 เครื่องยนตในบริเวณที่อยูติดกับเซ็นเซอรโดยตรง เปรียบเทียบคาดัง
กลาวกับกราฟอุณหภูม/ิ คาความตานทาน เปลีย่ นอุณหภูมเิ ครือ่ งยนต
14 (อุน เครือ่ งหรือปลอยใหเครือ่ งเย็นลง) และทําการทดสอบซ้าํ
อุณหภูมิ ๐C (๐F) บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
15
ปกติ
16
ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
17
19 ตรวจสอบเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
19
(ก) ปลดขั้วตอ C4
26 เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวีย่ ง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
27 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 เย็น 1,630 ถึง 2,740 Ω
1-2 รอน 2,065 ถึง 3,225 Ω
28 ขอควรระวัง:
ในตางรางขางบน คําวา “เย็น” และ “รอน” อางถึงอุณหภูมขิ องขดลวด
29 A72395
คําวา “เย็น” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ -10 ถึง 50°C (14 ถึง 122°F)
คําวา “รอน” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ 50 ถึง 100°C (122 ถึง 212°F)
30
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
31 ปกติ

32 ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–251

20 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) 1
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา
F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา 5
VC E2
PR A62213 บกพรอง เปลีย่ นชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง) 10
(ดูหนา 11-29)
ปกติ
11
12
21 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง − ECM)
(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM 13
(ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอร F9
E8
ECM (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
14
PCR1 คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
VC
E8-26 (PCR1) - F9-2 (PR) ต่ํากวา 1 Ω
E2 E8-18 (VC) - F9-3 (VC) ต่ํากวา 1 Ω
16
E8-28 (E2) - F9-1 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
ดานชุดสายไฟ
E8-26 (PCR1) หรือ F9-2 (PR) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
17
F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง E8-18 (VC) หรือ F9-3 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E8-28 (E2) หรือ F9-1 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 19
26
A81089
A56170 E2 PR VC 27
A99798
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
28
ปกติ
29
30
31
32
05–252 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 22 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)


ขอควรระวัง:
2 หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
3 บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23)
ปกติ
5
10 จบขั้นตอน
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–253

ปลอยควันดํา 1
ขอแนะนํา: 2
คาที่กําหนดในแผนภูมิการคนหาสาเหตุปญหาตอไปนี้เปนเพียงขอมูลอางอิงเทานั้น คาของผลขอมูลใน DATA LIST
อาจเกิดความแตกตางกันได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวาคาของขอมูลใน
DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอื่นๆ ของปญหาที่ซอนเรนอยูบางประการ 3
ขั้นตอนการตรวจสอบ 5
1 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต)
10
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 11
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ง) อานรหัสวิเคราะหปญหา
ผลที่ได:
12
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาที่ไมเกี่ยวของกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-60) A 13
รหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-60) B
14
B ซ อ มหรื อ เปลี่ ย นระบบควบคุมเครื่องยนตตาม
รหัสวิเคราะหปญ  หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62) 15
A

2 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4)
16
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 17
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / Injection Volume และ Revised Injection Volume #1, #2, 19
#3 และ #4
(ง) อานคาขอมูล 26
คามาตรฐาน:
1KD-FTV 27
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Volume ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) 5 ถึง 12 มม.3
Injection Feedback Val #1 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -3 ถึง 3 มม.3 28
Injection Feedback Val #2 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -3 ถึง 3 มม.3
Injection Feedback Val #3 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -3 ถึง 3 มม.3 29
Injection Feedback Val #4 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -3 ถึง 3 มม.3
2KD-FTV 30
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Volume ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) 3 ถึง 10 มม.3
Injection Feedback Val #1 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -4.9 ถึง 4.9 มม.3 31
Injection Feedback Val #2 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -4.9 ถึง 4.9 มม.3
Injection Feedback Val #3 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -4.9 ถึง 4.9 มม.3 32
Injection Feedback Val #4 ขณะเดินเบา (ไมมีภาระเครื่องยนต) -4.9 ถึง 4.9 มม.3
05–254 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)
ขอแนะนํา:
1 *: ถาไมไดกําหนดสภาวะการเดินเบาไว คันเกียรควรจะอยูในตําแหนงเกียรวางและควรปดสวิตช A/C รวมทั้งสวิตช
อุปกรณตางๆ ทั้งหมด
2 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 12
ปกติ
3
3 ทําการเรงรอบเครื่องยนต
5 ขอแนะนํา:
ถาแกสไอเสียจุควันดํามากเกินไป ใหปฏิบัติตามดังนี้
10 (ก) เรงความเร็วรอบเครื่องยนตขึ้นถึงความเร็วรอบสูงสุดโดยไมมีภาระประมาณ 20 ครั้ง
(ข) ตรวจเช็คปริมาณควันดําในแกสไอเสีย
11 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
12 ควันดําจางไป ปกติ
ควันดํายังอยูในแกสไอเสีย บกพรอง
13 ขอแนะนํา:
เขมาควันที่นอนกนอยูในระบบไอเสียสามารถเปนแหลงกําเนิดของควันดําที่มากเกินไปได
14 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4
ปกติ
15
จบขั้นตอน
16
4 ตรวจเช็คระบบไอดีและระบบไอเสีย
17
(ก) ถอดไสกรองอากาศออก
19 (ข) ตรวจสอบการทํางานของวาลว EGR
(1) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
26 (2) ตรวจเช็ควาไดยนิ เสียงดังคลิกจากวาลว EGR เมือ่ ปลดทอสุญญากาศออกจากวาลว EGR ขณะทีเ่ ครือ่ งยนตอยู
ในสภาวะเดินเบา
(ค) ตรวจสอบการทํางานของลิ้นเรง
27 (1) สตารทเครื่องยนต
(2) ตรวจเช็ควาลิ้นเรงเปดจนสุดเมื่อเรงความเร็วรอบเครื่องยนต
28 ขอแนะนํา:
ในขณะที่เรงเครื่อง วาลว EGR ปดสนิทแตลิ้นเรงจะเปดจนสุด ถาระบบปกติ ปริมาณของควันดําจะลดลง
29 ปกติ: วาลว EGR และลิ้นเรงทํางานปกติ
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 5 (1KD-FTV)
30
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 6 (2KD-FTV)
31 ปกติ
32 ตรวจเช็คและซอมจุดที่มีปญหาอยูจริง
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–255

5 อานขอมูลใน DATA LIST (อัตราการไหลอากาศ) (1KD-FTV) 1


ขอแนะนํา:
รหัส P0100/31 จะปรากฏขึ้นถามีปญหาวงจรมาตรวัดปริมาณอากาศขาดหรือลัดวงจร (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) 2
(ก) ปลดขั้วตอมอเตอรควบคุมลิ้นเรง
(ข) ปลดขั้วตอ E-VRV สําหรับ EGR 3
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 5
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAF
(ฉ) อานคาขอมูล 10
ผลที่ได:
สภาวะความเร็วรอบเครื่องยนต อัตราการไหลอากาศ
750 รอบ/นาที 5 ถึง 12 กรัม/วินาที
11
บกพรอง เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ 12
ปกติ
13
ดูขั้นตอนที่ 7
14
6 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา EGLS) (2KD-FTV)
15
ขอแนะนํา:
จํานวนการยกวาลว EGR สามารถตรวจเช็คไดโดยใชสัญญาณของเซ็นเซอรตําแหนง EGR 16
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E8
ECM
E7
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 17
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 19
E7-33 (EGLS) - E8-28 (E2) สวิตชจุดระเบิด ON A (0.3 ถึง 1.3 V)
E2 (-) EGLS (+)
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 26
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
A66060
(จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 27
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 28
E7-33 (EGLS) - E8-28 (E2) เดินเบา: 750 รอบ/นาที A + (1.91 ถึง 2.70 V)
ขอแนะนํา: 29
เดินเบาเครื่องยนตโดยไมเปดเครื่องปรับอากาศ (สวิตช A/C OFF)
และเลือ่ นคันเกียรไปทีต่ าํ แหนง N เครือ่ งยนตไมควรมีการตกตะกอน 30
หลังจากอุนเครื่องแลว
31
บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)
ปกติ 32
05–256 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 ตรวจเช็คแรงดันเทอรโบชารจ (ดูหนา 13-16)


คามาตรฐาน: แรงดันเทอรโบชารจอยูภายในคามาตรฐาน
2
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร
(ดูหนา 13-27 (1KD-FTV), 13-36 (2KD-FTV
3 มี CAC), 13-44 (2KD-FTV ไมมี CAC))
ปกติ
5
8 อานขอมูลใน DATA LIST (FUEL PRESS, INJECTION VOLUME, MAIN INJECTION, PILOT 1
10 INJECTION, INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4))
11 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
12 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Fuel Press
13 • Injection Volume
• Main Injection
14 • Pilot 1 Injection
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4
15 ขอมูลอางอิง:
1KD-FTV
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
16 Fuel Press เดินเบา 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 40 ถึง 50 เมกกะปาสคาล
17 Fuel Press 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล
Injection Volume เดินเบา 5 ถึง 12 มม.3
Injection Volume 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 5 ถึง 12 มม.3
19 Injection Volume 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 7 ถึง 14 มม.3
Main Injection เดินเบา 530 ถึง 730 µs
26 Pilot 1 Injection เดินเบา 380 ถึง 480 µs
Injection Feedback Val #1 เดินเบา -3 ถึง 3 มม.3
Injection Feedback Val #2 เดินเบา -3 ถึง 3 มม.3
27 Injection Feedback Val #3 เดินเบา -3 ถึง 3 มม.3
Injection Feedback Val #4 เดินเบา -3 ถึง 3 มม.3
28 2KD-FTV
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
29 Fuel Press เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล
30 Injection Volume เดินเบา 3 ถึง 10 มม.3
Injection Volume 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 3 ถึง 10 มม.3
31 Injection Volume 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 4 ถึง 12 มม.3
Main Injection เดินเบา 525 ถึง 675 µs
32 Pilot 1 Injection เดินเบา 350 ถึง 450 µs
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–257

รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง


Injection Feedback Val #1 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 1
Injection Feedback Val #2 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
Injection Feedback Val #3 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
#4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 2
ขอแนะนํา:
*: ถาไมไดกําหนดสภาวะการเดินเบาไว คันเกียรควรจะอยูในตําแหนงเกียรวางและควรปดสวิตช A/C รวมทั้งสวิตช 3
อุปกรณตางๆ ทั้งหมด
ผลที่ได:
5
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
อยูภายในคาอางอิง A
10
หนึ่งใน Injection Feedback Val #1 ถึง #4 ไมอยูในคาอางอิง B
ผลลัพธอื่นๆ C 11
B เปลี่ยนหัวฉีด (ดูหนา 11-13) 12
C ดูขั้นตอนที่ 12 13
A 14
9 ตรวจสอบกําลังอัดกระบอกสูบ (ดูหนา 14-1) 15
คามาตรฐาน: แรงดันในการอัดกระบอกสูบอยูภายในคามาตรฐาน 16
บกพรอง ตรวจเช็คและซอมเครื่องยนต
17
ปกติ
19
26
27
28
29
30
31
32
05–258 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 10 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (หัวฉีด − EDU)


ขอแนะนํา:
2 รหัส P0200/97 จะปรากฏขึ้นถามีปญหาวงจร EDU ขาดหรือลัดวงจร (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอหัวฉีด F5, F6, F7 และ F8
3 (ข) ปลดขั้วตอ I1 ของ EDU
F5 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5 F6
F7 1 2 คามาตรฐาน:
F8 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
หัวฉีด F5-2 - I1-4 (INJ#1) ต่ํากวา 1 Ω
10 F6-2 - I1-2 (INJ#2) ต่ํากวา 1 Ω
F7-2 - I1-1 (INJ#3) ต่ํากวา 1 Ω
11 I1
F8-2 - I1-3 (INJ#4) ต่ํากวา 1 Ω
EDU F5-1 - I1-5 (COM1) ต่ํากวา 1 Ω
12 INJ#2 INJ#4 INJ#1 COM1
F6-1 - I1-6 (COM2)
F7-1 - I1-6 (COM2)
ต่ํากวา 1 Ω
ต่ํากวา 1 Ω
F8-1 - I1-5 (COM1) ต่ํากวา 1 Ω
13 F5-2 หรือ I1-4 (INJ#1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F6-2 หรือ I1-2 (INJ#2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
14 F7-2 หรือ I1-1 (INJ#3) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
INJ#3 COM2 F8-2 หรือ I1-3 (INJ#4) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
A80992
F5-1 หรือ I1-5 (COM1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูง กวา
15
A84815 A99847

F6-1 หรือ I1-6 (COM2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา


F7-1 หรือ I1-6 (COM2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
16 F8-1 หรือ I1-5 (COM1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
17 ปกติ
19 11 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิง)
26 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
27 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
(ง) ตรวจเช็คสภาวะเดินเบาเครือ่ งยนตในขณะทีต่ ดั การฉีดเชือ้ เพลิงของแตละสูบโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ หา (IT II)
28 ผลที่ได:
สภาวะเดินเบาเครื่องยนต ปฏิบัติตามขอ
กลับไมคงที่ A
29 ไมเปลี่ยนแปลง B
ขอแนะนํา:
30 เปลี่ยนหัวฉีดที่เปนสาเหตุใหรอบเดินเบาไมเรียบ
B เปลี่ยนหัวฉีด (ดูหนา 11-13)
31 A
32
เปลี่ยนตัวขับหัวฉีด (ดูหนา 10-15)
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–259

12 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา THW) 1


(ก) สตารทเครื่องยนต
E8 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 2
ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
3
เดินเบา, อุณหภูมิน้ําหลอ
เย็นเครื่องยนตอยูระหวาง 5
THW (+) E2 (-) E8-19 (THW) - E8-28 (E2) 0.2 ถึง 1.0 V
60°C และ 120°C (140°F
A66060
และ 248°F) 10
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 18 11
ปกติ
12
13 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา PIM)
13
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E8 E7 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 14
ECM ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 15
จายแรงดันขณะเทอรโบไม
E2 (-) PIM (+) E7-28 (PIM) - E8-28 (E2) ทํางาน 40 กิโลปาสคาล 1.3 ถึง 1.9 V 16
(300 มม.ปรอท, 11.8 นิว้ ปรอท)
A66060
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ 2.4 ถึง 3.1 V 17
จายแรงดันขณะเทอรโบทํางาน
E7-28 (PIM) - E8-28 (E2) 170 กิโลปาสคาล 3.7 ถึง 4.3 V 19
(1,275 มม.ปรอท, 50.2 นิว้ ปรอท)
ขอแนะนํา: 26
แมวาแรงดันไฟฟาที่สงออกมาจากเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
ไอดีจะอยูในคาระดับมาตรฐาน แตอาจมีปญหาในตัวเซ็นเซอรเนื่อง 27
มาจากหมดอายุการใชงาน
28
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 19
ปกติ
29
30
31
32
05–260 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 14 ตรวจเช็ค ECM (สัญญาณ NE)


(ก) ในขณะเครื่องยนตเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็ค
2 NE+ E8
ECM
คลื่นสัญญาณของขั้วตอ ECM
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E8-27 (NE+) - E8-34 (NE-) แสดงคลื่นสัญญาณที่ถูกตองดังภาพ
5 NE-

10
11 5 V/
Division
NE
12
13 G

A66060
A98437
20 msec./Division (เดินเบา) บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 20
14 G34941

ปกติ
15
16 15 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา VPA, VPA2)
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
17 VPA2 (+) VPA (+) E5 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM
คามาตรฐาน:
19 สภาวะของ
สภาวะที่ทําการทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
แปนคันเรง
26 E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) ปลอย 0.6 ถึง 1.0 V
EPA2 (-) EPA (-)
E5-22 (VPA) - E5-28 (EPA) เหยียบ 2.9 ถึง 4.2 V
27 A66060
E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) ปลอย 1.4 ถึง 1.8 V
E5-23 (VPA2) - E5-29 (EPA2) เหยียบ 3.7 ถึง 5.0 V
28
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 21
29 ปกติ
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–261

16 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา THA) 1


(ก) สตารทเครื่องยนต
E8 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 2
ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
3
เดินเบา, อุณหภูมิอากาศ
E8-31 (THA) - E8-28 (E2)
เขาอยูที่ 20°C (68°F)
0.5 ถึง 3.4 V 5
THA (+) E2 (-)

A66060 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 22 10


ปกติ
11
17 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา PCR1) 12
(ก) สตารทเครื่องยนต
E8 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 13
ECM
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
14
E8-26 (PCR1) - E8-28 (E2) เดินเบา 1.3 ถึง 1.8 V
15
PCR1 (+) E2 (-)

A66060
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 23 16
ปกติ 17
เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17) 19
ขอควรระวัง: 26
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่
27
28
29
30
31
32
05–262 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 18 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
(ก) ถอดเซ็นเซอรออก
โอหมมิเตอร
2 (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 20°C (68°F) 2.32 ถึง 2.59 kΩ
1-2 80°C (140°F) 0.310 ถึง 0.326 kΩ
5
ขอควรระวัง:
คาที่ยอมรับได ถาตรวจเช็คเซ็นเซอร ECT ในน้ํา ระวังอยาใหขั้วไฟฟาถูกน้ํา หลัง
คาความตานทาน kΩ

10
จากตรวจเช็คแลว เช็ดเซ็นเซอรใหแหง
ขอแนะนํา:
11 ขัน้ ตอนอืน่ ๆ: ตอโอหมมิเตอรเขากับเซ็นเซอร ECT ทีต่ ดิ ตัง้ แลว และ
อานคาความตานทาน ใชเทอรโมมิเตอรชนิดอินฟาเรดวัดอุณหภูมขิ อง
12 เครือ่ งยนตในบริเวณทีอ่ ยูต ดิ กับเซ็นเซอรโดยตรง เปรียบเทียบคาดัง
กลาวกับกราฟอุณหภูม/ิ คาความตานทาน เปลีย่ นอุณหภูมเิ ครือ่ งยนต
13 (อุน เครือ่ งหรือปลอยใหเครือ่ งเย็นลง) และทําการทดสอบซ้าํ
อุณหภูมิ ๐C (๐F)
14 บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
ปกติ
15
ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
16
19 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม − ECM)
17
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร T9
ดานชุดสายไฟ
19 T9 (ข) ปลดขัว้ ตอ E7 และ E8 ของ ECM
เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
26 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
27 T9-2 (PIM) - E7-28 (PIM) ต่ํากวา 1 Ω
E2 PIM VC T9-3 (VC) - E8-18 (VC) ต่ํากวา 1 Ω
28 T9-1 (E2) - E8-28 (E2) ต่ํากวา 1 Ω
T9-2 (PIM) หรือ E7-28 (PIM) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
E8 E7
T9-3 (VC) หรือ E8-18 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
29 ECM ECM
T9-1 (E2) หรือ E8-28 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ ขึ้นไป
VC
30 PIM

31 E2
A56170
A81088 A99844
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
32
ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–263

เปลี่ยนเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวมไอดี 1
20 ตรวจสอบเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง 2
(ก) ปลดขั้วตอ C4
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวีย่ ง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 3
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 5
1-2 เย็น 1,630 ถึง 2,740 Ω
1-2 รอน 2,065 ถึง 3,225 Ω
10
ขอควรระวัง:
A72395 ในตางรางขางบน, คําวา “เย็น” และ “รอน” อางถึงอุณหภูมขิ องขดลวด 11
คําวา “เย็น” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ -10 ถึง 50°C (14 ถึง 122°F)
คําวา “รอน” หมายถึงอุณหภูมปิ ระมาณ 50 ถึง 100°C (122 ถึง 212°F)
12
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
ปกติ 13

ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14

21 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง − ECM) 15


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร A13 16
ดานชุHarness
Wire ดสายไฟ Side
A13 Accelerator
A13 Pedal Position (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM
Sensorเซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 17
VCP2 VPA1 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A13-1 (VCP2) - E5-27 (VCP2)
19
A13-2 (EP2) - E5-29 (EPA2)
EP2 VPA2 VCP1 EP1 A13-3 (VPA2) - E5-23 (VPA2)
ต่ํากวา 1 Ω
26
A13-4 (VCP1) - E5-26 (VCPA)
A13-5 (EP1) - E5-28 (EPA)
E5 A13-6 (VPA1) - E5-22 (VPA) 27
ECM A13-1 (VCP2) หรือ E5-27 (VCP2) - กราวดตัวถัง
VCP2 A13-2 (EP2) หรือ E5-29 (EPA2) - กราวดตัวถัง 28
A13-3 (VPA2) หรือ E5-23 (VPA2) - กราวดตัวถัง
VPA 10 kΩ หรือสูงกวา
A13-4 (VCP1) หรือ E5-26 (VCPA) - กราวดตัวถัง
A13-5 (EP1) หรือ E5-28 (EPA) - กราวดตัวถัง 29
VPA2 VCPA A13-6 (VPA1) หรือ E5-22 (VPA) - กราวดตัวถัง
EPA2 EPA 30
A99833
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 31

เปลี่ยนชุดกานคันเรง (ดูหนา 10-21) 32


05–264 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 22 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา
(ก) 1KD-FTV:
2 อากาศ
ตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT
(1) ถอดมาตรวัดปริมาณอากาศ
3 (2) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
5 43 2 1
คามาตรฐาน:
5 30 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
4-5 -20°C (-4°F) 13.6 ถึง 18.4 kΩ
20

10 10
4-5 20°C (68°F) 2.21 ถึง 2.69 kΩ
คาความตานทาน kΩ

5
3 4-5 60°C (140°F) 0.49 ถึง 0.67 kΩ
11 2

12
0.5
0.3
0.2

0.1

13 -20 0 20 40 60 80 100
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)

อุณหภูมิ °C (°F)
14 G35065

(ข) 2KD-FTV:
15 โอหมมิเตอร ตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT
(1) ถอดเซ็นเซอร IAT
16 (2) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
17 30
20
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
คาความตานทาน kΩ

10
1-2 20°C (68°F) 2.21 ถึง 2.69 kΩ
19 5
3 ขอควรระวัง:
2
ถาตรวจเช็คเซ็นเซอร IAT ในน้าํ ระวังอยาใหขวั้ ไฟฟาถูกน้าํ หลังจาก
26 1
ตรวจเช็คแลว เช็ดเซ็นเซอรใหแหง
0.5

27
0.3
0.2

0.1

28 -20 0 20 40 60 80 100
(-4) (32) (68) (104) (140) (176) (212)
บกพรอง เปลี่ยนมาตรวัดปริมาณอากาศ (1KD-FTV) หรือ
อุณหภูมิ °C (°F) เซ็นเซอรอุณหภูมิอากาศเขา (2KD-FTV)
29 A98859

ปกติ
30
ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–265

23 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) 1
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 3
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา
F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา
5
VC E2
PR A62213
บกพรอง เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (ดูหนา 11-29) 10
ปกติ
11
24 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง − ECM)
12
(ก) ปลดขั้วตอ E8 ของ ECM
E8 (ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอร F9 13
ECM
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
PCR1
คามาตรฐาน: 14
VC การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
E2
E8-26 (PCR1) - F9-2 (PR) ต่ํากวา 1 Ω 15
E8-18 (VC) - F9-3 (VC) ต่ํากวา 1 Ω
ดานชุดสายไฟ E8-28 (E2) - F9-1 (E2) ต่ํากวา 1 Ω 16
F9 E8-26 (PCR1) หรือ F9-2 (PR) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง E8-18 (VC) หรือ F9-3 (VC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 17
E8-28 (E2) หรือ F9-1 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
19

A81089
26
A56170 E2 PR VC
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
27
A99798

ปกติ
28
25 เปลี่ยน ECM (ดูหนา 10-17)
29
ขอควรระวัง:
หลังจากเปลี่ยน ECM แลว ใหสตารทเครื่องยนตและเดินเบาเครื่องยนตจนกระทั่งเครื่องอุนเต็มที่ 30
บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23)
ปกติ 31

จบขั้นตอน
32
05–266 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 เดินเบาไมเรียบหรือเครื่องยนตสั่นสะเทือนมากเกินไป (1KD-FTV)
ขอแนะนํา:
2 ขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหานี้ใชตรวจเช็ครอบเดินเบาไมเรียบและการสั่นสะเทือนของเครื่องยนตมากเกินไป
3 คําอธิบายผั งวงจร
สภาพปญหา จุดที่เปนปญหาหลัก จุดที่สัมพันธกับปญหา
• รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
5 • เชื้อเพลิงรั่ว
• ฉนวนยางแทนเครื่อง
ระบบไอดีรั่ว
10 (ก) หัวฉีดบกพรอง

• ระบบไอดีอุดตัน
• ปญหาการเลื่อนตัวของหัวฉีด • ระบบ EGR
11 •
• หัวฉีดปดติดขัด
เดินเบาไมเรียบหรือสั่นเนื่องจากการ • หัวฉีดเปดติดขัด
• ระบบลิ้นเรง
• มาตรวัดปริมาณอากาศ
เผาไหมผิดปกติ • ตะกอนในหัวฉีด • ปมจายเชื้อเพลิง
12 • สั่นเมื่อสตารทรถเนื่องจากระบบ • ความบกพรองในวงจรหัวฉีด • ลิ้นจํากัดแรงดัน
คลัตชบกพรอง
(ข) ระบบคลัตชบกพรอง • เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
13 • ระบบคลัตชบกพรอง • EDU (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
น้ํามันเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํา
(สั่นเมื่อสตารท) •
• การดัดแปลงรถ
14 • ปญหาการไลอากาศกรองเชื้อเพลิง
• ปญหาอุปกรณ (เครือ่ งปรับอากาศ, อัลเทอรเนเตอร ฯลฯ)
15 • ECM
ขอแนะนํา:
16 • คาทีก่ าํ หนดในแผนภูมกิ ารคนหาสาเหตุปญ  หาตอไปนีเ้ ปนเพียงขอมูลอางอิงเทานัน้ คาของผลขอมูลใน DATA LIST
อาจเกิดความแตกตางกันได ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั สภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวา คาของขอมูลใน
DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอืน่ ๆ ของปญหาทีซ่ อ นเรนอยูบ างประการ
17 • ตรวจเช็ควารถไดรับการดัดแปลงดวยวิธีการใดกอนที่จะตรวจสอบรถ
19 ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 ตรวจเช็คสภาพปญหา
26 (ก) เมื่อเกิดการสั่น
ผลทีไ่ ด:
27 สภาวะการขับขี่ ปฏิบัติตามขอ
ขณะเดินเบา A
28 เมื่อคลัตชเครื่องยนตจับขณะที่สตารทรถ B (ระบบคลัตชสั่น)
B ซอมหรือเปลี่ยนระบบคลัตช (ดูหนา 42-1)
29 A
30 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟในหองเครื่องยนต
31 (ก) ตรวจเช็คการตอชุดสายไฟ
ปกติ: ชุดสายไฟตอแนนหนาดี
32 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–267

3 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับระบบเชื้อเพลิงและระบบไอดี) 1
ขอแนะนํา:
ขับรถตามรูปแบบการขับขีด่ า นลางเพือ่ ให ECM ปรากฏรหัสวิเคราะหปญ หาทีเ่ กีย่ วของกับความผิดปกติของระบบเชือ้ เพลิง 2
ระบบ EGR และลิ้นเรง ถารหัสวิเคราะหปญหาใดปรากฏขึ้น จะสามารถระบุจุดที่เปนปญหาได
(ก) เขาสูโหมดการตรวจเช็ค (CHECK MODE) (ดูหนา 05-53) 3
(ข) อุนเครื่องยนตเต็มที่
(ค) ปลอยใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 5 นาทีขึ้นไป
(ง) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 40 กม./ชม. (25 ไมล/ชม.) สักครูหนึ่ง
5
(จ) ชลอความเร็วลงและหยุดรถ
(ฉ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ช) 4 ครั้งขึ้นไป 10
(ช) หยุดรถและคอยอยางนอย 10 วินาที
(ซ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ซ) ที่อธิบายไวดานบน (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับลิ้นเรงปรากฏขึ้น) 11
(ฌ) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 70 กม./ชม. (43 ไมล/ชม.) อยางนอย 1 นาที (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
กับปมจายเชื้อเพลิงปรากฏขึ้น) 12
ตอไป
13
4 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต)
(ก) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
14
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหาที่คางอยู
ผลที่ได: 15
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-41) A 16
รหัสวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-62) B

B ซ อ มหรื อ เปลี่ ย นระบบควบคุมเครื่องยนตตาม 17


A รหัสวิเคราะหปญ  หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62)
19
5 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ทดสอบการรั่วของเชื้อเพลิง)
ขอแนะนํา:
26
จากการทดสอบ Active Test โดยรักษาความเร็วรอบเครือ่ งยนตที่ 2,000 รอบ/นาที และเพิม่ แรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรล
จนถึงแรงดันการทํางานสูงสุด ผลก็คือ สามารถทําการตรวจเช็คน้ํามันรั่วไดในขณะที่แรงดันคอมมอนเรลยังคงสูงอยู 27
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 28
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Test the Fuel Leak
(ง) ตรวจดูปม เชือ้ เพลิง หัวฉีดและทอทางเชือ้ เพลิงทีต่ ดิ ตัง้ อยูร ะหวางปม จายเชือ้ เพลิงกับคอมมอนเรล เพือ่ หารอยรัว่ ของ 29
เชือ้ เพลิงและรอยรัว่ ของแรงดันเชือ้ เพลิง และทําการตรวจเช็คเชนเดียวกันนีก้ บั ทอทางเชือ้ เพลิงระหวางคอมมอนเรล
กับหัวฉีดดวย (ดูหนา 11-4) 30
ขอแนะนํา:
อาจมีรอยรั่วของเชื้อเพลิงภายในสวนประกอบตางๆ เชน ปมจายเชื้อเพลิง 31
ปกติ: ไมมีการรั่วของเชื้อเพลิง
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ 32
05–268 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 6 อานขอมูลใน DATA LIST (MAP, MAF, FUEL PRESS)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
3 (ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• MAP
• MAF
5 • Fuel Press
คามาตรฐาน:
10 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต*1 คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล
11 เดินเบา (713 ถึง 788 มม.ปรอท, • A (คามาตรฐาน)
28.1 ถึง 31 นิ้วปรอท) • B (ทั้ง MAP และ MAF แรงดันภายในทอรวม
12 MAP 110 ถึง 135 กิโลปาสคาล ไมอยูในคามาตรฐาน) ไอดีตรวจจับโดยเซ็นเซอร
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) (825 ถึง 1,013 มม.ปรอท, • C (เฉพาะ MAP เทานั้น แรงดันอากาศเขา
32.5 ถึง 39.9 นิ้วปรอท)
13 ต่าํ สุด: 195 กิโลปาสคาล
ที่ไมอยูในคามาตรฐาน)
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
(1,463 มม.ปรอท, 57.6 นิว้ ปรอท)
14 สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) 0 กรัม/วินาที • A (คามาตรฐาน)
เดินเบา 5 ถึง 12 กรัม/วินาที • B (ทั้ง MAP และ MAF ปริมาณอากาศเขา
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 28 ถึง 46 กรัม/วินาที
15 MAF *2
ไมอยูในคามาตรฐาน) ตรวจจับโดยมาตรวัด
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 กรัม/วินาที • D (เฉพาะ MAF เทานั้น ปริมาณอากาศ
ที่ไมอยูในคามาตรฐาน)
16 เดินเบา 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
• A (คามาตรฐาน)
2,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 40 ถึง 50 เมกกะปาสคาล แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
17 Fuel Press • E (แรงดันเชื้อเพลิง
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล คอมมอนเรล
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 เมกกะปาสคาล ไมอยูในคามาตรฐาน)
19 ข*1อแนะนํา:
: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
*2
26 : เมือ่ มาตรวัดปริมาณอากาศบกพรอง สัญญาณ MAF อาจเบีย่ งเบนจากคามาตรฐาน (ทีอ่ า งอิง) เมือ่ เครือ่ งยนตเดินเบาและ
เรงความเร็วเต็มทีจ่ าก 3,000 ถึง 4,000 รอบ/นาที
27 B ดูขั้นตอนที่ 12

C ดูที่รหัส P0105/35, P0107/35 และ P0108/35


28 (เกีย่ วของกับเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอ รวม)
(ดูหนา 05-105)
29
D ดูที่รหัส P0100/31, P0102/31 และ P0103/31
30 (เกีย่ วของกับมาตรวัดปริมาณอากาศ) (ดูหนา 05-97)
ขอแนะนํา:
31 การตรวจสอบมาตรวัดปริมาณอากาศดวยตานาจะไดผลดี

32 E ดูขั้นตอนที่ 25
A
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–269

7 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME) 1
(ก) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4 2
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 3
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครือ่ งยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
Injection Feedback
Val #1
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3 คาปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของ 5
หัวฉีดเพื่อชดเชยความแตกตางใน
Injection Feedback สภาวะการเผาไหมของสูบตางๆ
Val #2
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
• คาเปนบวกแสดงการควบคุมที่
10
Injection Feedback
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3 ปรับแกการหยอนประสิทธิภาพ
Val #3
การเผาไหม 11
• คาเปนลบแสดงการควบคุมทีป ่ รับ
Injection Feedback
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
แกแรงดันการเผาไหมมากเกินไป 12
Val #4 • A (คามาตรฐาน) • ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด
B (Injection Feedback เชือ้ เพลิงทีป่ รับแกใหมอาจมีคา

Val #1 ถึง #4 และ/หรือ เบีย่ งเบนจาก -3.0 มม. และ 3.0 มม.
13
Injection Volume คาปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงถูกควบ
ไมอยูในคามาตรฐาน) คุมโดย ECU 14
• ควบคุมสัญญาณ NE, อุณหภูมิ
เชื้อเพลิง, อุณหภูมิน้ําหลอเย็น 15
เครื่องยนต, อุณหภูมิอากาศเขา,
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
แรงอัดอากาศ, แรงดันบรรยากาศ,
ปริมาณ EGR, และ MAF ที่
16
ระดับสัญญาณเปาหมาย
• ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด 17
เชือ้ เพลิงอาจไมอยูใ นคามาตรฐาน
ขอแนะนํา: 19
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
26
B ดูขั้นตอนที่ 15
A 27
28
8 ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (ดูหนา 05-28)
ขอแนะนํา: 29
ถาลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดไมถูกตอง อาจเปนสาเหตุใหเกิดความผิดปกติได (ดูหนา 05-28)
ปกติ: รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่ติดตั้งและ ECM เหมือนกัน 30
บกพรอง ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด 31
(ดูหนา 05-33)
ปกติ 32
05–270 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 9 ลบแบตเตอรี่
(ก) ปลดสายออกจากขั้วลบแบตเตอรี่ (-) อยางนอย 2 นาที
2 (ข) ตอสายขั้วลบ (-) กลับเขาแบตเตอรี่
(ค) ตรวจเช็ควาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลวหรือไมโดยทําการทดสอบขับโดยใชขอมูลสภาพเครื่อง
3 ยนตที่ถูกบันทึกไว ณ เวลาเกิดปญหา
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
5 ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)
10 บกพรอง
11 10 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26)
(ก) ตรวจเช็คคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง
12 (ข) ตรวจเช็คฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
(ค) ตรวจเช็คการอุดตันของระบบเชื้อเพลิง
13 (ง) ตรวจเช็คไสกรองอากาศ
(จ) ตรวจเช็คน้ํามันเครื่อง
14 (ฉ) ตรวจเช็คน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
(ช) ตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบาและความเร็วรอบสูงสุด
15 (ซ) ตรวจเช็คปมสุญญากาศ
ปกติ: ผลการตรวจสอบแตละจุดเปนปกติ
16
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
17 ปกติ
19 11 ตรวจเช็คฉนวนยางแทนเครื่อง
26 (ก) ตรวจสอบดูดวยตาวาฉนวนยางแทนเครื่องติดตั้งอยางถูกตอง ไมบิดหรือลม
ปกติ: ไมมีความผิดปกติ
27 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 14-27)
ปกติ
28
12 ตรวจเช็คระบบไอดีและไอเสีย
29
(ก) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางกรองอากาศกับเทอรโบชารจเจอร
30 (ข) ตรวจหาการรัว่ ของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางเทอรโบชารจเจอรกับทอรวมไอดี
ปกติ: ไมมีการรั่วของอากาศหรือการอุดตัน
31 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–271

13 ตรวจเช็คชุดวาลว EGR 1
ขอแนะนํา:
ในการตรวจสอบนี้ ใหวัดอัตราการไหลอากาศในขณะเดินเบาโดยที่วาลว EGR ปดสนิท 2
(ก) ตรวจดูใหแนใจวาเครื่องยนตไมทํางาน
(ข) ปลดขั้วตอ E-VRV สําหรับ EGR 3
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
5
(จ) สตารทเครื่องยนต
10
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAF
(ช) วัดอัตราการไหลของอากาศในขณะเดินเบาเครื่องยนต 11
คามาตรฐาน: อัตราการไหลอากาศอยูระหวาง 5 ถึง 12 กรัม/วินาที
ขอแนะนํา: 12
เนื่องจากขั้วตอ E-VRV สําหรับ EGR ถูกปลดออก รหัสวิเคราะหปญหาจึงปรากฏขึ้นเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่
ตําแหนง ON ดังนั้น ใหลบรหัสวิเคราะหปญหาเมื่อเสร็จการตรวจสอบดังกลาวแลว (ดูหนา 05-51) 13
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
14
ปกติ
15
14 ตรวจสอบชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล (ดูคูมือการซอมในเรื่องของการตรวจสอบการทํางานและการตรวจสอบ
ดวยตาเปลา) (ดูหนา 10-6) 16
ปกติ: ไมผิดปกติ 17
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 17 19
ปกติ
26
เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง
27
28
29
30
31
32
05–272 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 15 ระบุหัวฉีดที่บกพรอง
(ก) ปฏิบัติตามวิธีการในตารางดานลางใหสอดคลองกับผลการตรวจเช็คเมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
2 ขอแนะนํา:
การทํางานนี้ยึดถือตามหลักวาแรงดันคอมมอนเรลปกติ
3 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
5 Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
10 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
11 ผลที่ได:
Injection Volume ต่ํากวา 5.0 มม.3 ระหวาง 5.0 ถึง 12.0 มม.3 มากกวา 12.0 มม.3
Injection Feedback Vol #1 ถึง #4 (ปกติ)
12 3.0 มม.3 หรือมากกวา -3.0 มม.3 หรือนอยกวา A B B
ระหวาง -3.0 ถึง 3.0 มม.3 – ปกติ C*

13
ปฏิบัติตามขอ จุดที่ตรวจสอบ รายละเอียด
14 ตรวจสอบและซอมหัวฉีดที่ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิง
ปรับแกแลวต่ํากวา -3.0 มม.3: หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณที่
A
ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังและระบุสูบ มากเกินไป
15 ที่บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง
ระบุสูบที่บกพรองโดยทําการทดสอบความสมดุล หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณที่
16 ของกําลัง: นอยเกินไป
• ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังเพื่อระบุ • ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจากสวน

17 B สูบที่บกพรอง หัวฉีดอุดตันดวยตะกอน
• ทําความสะอาดหัวฉีดที่บกพรอง แลวตรวจเช็ค• กําลังอัดหัวฉีดที่มีคาผิดปกติลดลง
และซอมหัวฉีด • หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณ
19 ที่มากเกินไป
ตรวจสอบและซอมหัวฉีดทุกหัว: หัวฉีดทุกหัวฉีดน้าํ มันเชือ้ เพลิงในปริมาณทีน่ อ ยเกินไป:
26 C ทําความสะอาดหัวฉีดทุกหัว แลวจึงตรวจสอบและ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงต่าํ เกินไปเนือ่ งจากสวนหัวฉีด
ซอม ทุกหัวอุดตันดวยตะกอน
27 ขอแนะนํา:
*: เมื่อปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) มาก ทั้งที่ Fuel Press และ Injection Feedback
28 Val #1 ถึง #4 ในการแสดงขอมูล (Data List) เปนปกติ แตหวั ฉีดอาจมีปญ  หาการอุดตัน ในกรณีนี้ อาจเปนตะกอนภายใน
หรือภายนอกหัวฉีดก็ได
29 • ทั้งที่การทํางานของหัวฉีดปกติ แตคา Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจไมอยูในคาการทํางานปกติ เนื่องจาก
ปญหาการฉีดชดเชยอื่นๆ (เชน กําลังอัดฉีดต่ํา)
30 • Injection Feedback Val #1 ถึง #4 คือคาที่ใชในการปรับแกปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของแตละสูบ เพื่อใหไดรบั
31 ประโยชน (ชดเชยความไมเสมอกัน) จากสภาวะการเผาไหมของทุกสูบมากทีส่ ดุ ถามีสบู ใดผิดปกติ ปริมาตรการฉีด
เชือ้ เพลิงสําหรับสูบปกติกจ็ ะไดรบั การปรับแกไปพรอมกัน ผลคือ Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจเบีย่ งเบน
32 จากคามาตรฐานได
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–273

B ดูขั้นตอนที่ 17 1
C ดูขั้นตอนที่ 22
2
A
3
16 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)
5
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 10
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง 11
ขอแนะนํา:
• ในขณะที่เครื่องยนตเดินเบา ถายังมีการสั่นสะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชื้อเพลิงแลวก็ตาม 12
แสดงวาสูบนั้นบกพรอง
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง 13
ตอไป 14
เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13) 15
17 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง) 16
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
17
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
19
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
ขอแนะนํา: 26
• ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดง
วาสูบนั้นบกพรอง 27
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
ตอไป 28

18 ตรวจเช็คแรงดันกําลังอัดกระบอกสูบของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 14-1)


29
ปกติ: แรงดันกําลังอัดกระบอกสูบเปนปกติ 30
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 31
ปกติ
32
05–274 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 19 ตรวจหาตะกอนในการฉีดเชื้อเพลิงของสูบที่บกพรอง
ขอแนะนํา:
2 ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
3 ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
5 มีตะกอน A
ไมมีตะกอน B
10 B เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
11 A

12 20 ทําความสะอาดหัวฉีด

13 ตอไป

14 21 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME)
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
15 (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
16 (ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine และ ECT / Data List
17 (ฉ) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4
19 • Injection Volume
คามาตรฐาน:
26 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
27 Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3

28 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ เมื่อคาที่ไดไมอยูในคามาตรฐาน
29 ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
30 บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
31 ปกติ

32 จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–275

22 ตรวจหาตะกอนในหัวฉีดทุกหัว 1
ขอแนะนํา:
ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได 2
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
ผลที่ได: 3
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
มีตะกอน A 5
ไมมีตะกอน B
10
B เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
A 11

23 ทําความสะอาดหัวฉีด 12

ตอไป 13

24 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME)
14
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ 15
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 16
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List 17
(ฉ) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4 19
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 26
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3 27
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
ขอแนะนํา: 28
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอปุ กรณตา งๆ ทัง้ หมด และควรอุน เครือ่ งยนตใหเต็มที่ เมือ่ คาทีไ่ ดไมอยูใ นคามาตรฐาน
ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด 29
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
30
บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
ปกติ 31

จบขั้นตอน 32
05–276 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 25 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-5)

2 บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23)


ปกติ
3
5 26 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง)
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9
10 เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
11 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา
12 F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา
VC E2
13 PR A62213
บกพรอง เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (ดูหนา 11-29)

14 ปกติ

15 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (ลิ้นจํากัดแรงดัน) (ดูหนา 11-5)


16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–277

เดินเบาไมเรียบหรือเครื่องยนตสั่นสะเทือนมากเกินไป (2KD-FTV) 1
ขอแนะนํา: 2
ขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหานี้ใชตรวจเช็ครอบเดินเบาไมเรียบและการสั่นสะเทือนของเครื่องยนตมากเกินไป
คําอธิบายผังวงจร 3
สภาพปญหา จุดที่เปนปญหาหลัก จุดที่สัมพันธกับปญหา
• รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
• เชื้อเพลิงรั่ว 5
• ฉนวนยางแทนเครื่อง
(ก) หัวฉีดบกพรอง • ระบบไอดีรั่ว 10
• ปญหาการเลื่อนตัวของหัวฉีด
• ระบบไอดีอุดตัน
• ระบบ EGR

• หัวฉีดปดติดขัด
เดินเบาไมเรียบหรือสั่นเนื่องจากการ • หัวฉีดเปดติดขัด • ระบบลิ้นเรง 11
เผาไหมผิดปกติ • ตะกอนในหัวฉีด
• ปมจายเชื้อเพลิง
• สั่นเมื่อสตารทรถเนื่องจากระบบ
คลัตชบกพรอง
• ความบกพรองในวงจรหัวฉีด


ลิ้นจํากัดแรงดัน
เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
12
(ข) ระบบคลัตชบกพรอง • EDU (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
• ระบบคลัตชบกพรอง
(สั่นเมื่อสตารท)
• น้ํามันเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํา 13
• การดัดแปลงรถ
ปญหาการไลอากาศกรองเชื้อเพลิง

• ปญหาอุปกรณ (เครือ่ งปรับอากาศ, อัลเทอรเนเตอร ฯลฯ)
14
• ECM
ขอแนะนํา: 15
• คาทีก่ าํ หนดในแผนภูมกิ ารคนหาสาเหตุปญ  หาตอไปนีเ้ ปนเพียงขอมูลอางอิงเทานัน้ คาของผลขอมูลใน DATA LIST
อาจเกิดความแตกตางกันได ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั สภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวา คาของขอมูลใน 16
DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอืน่ ๆ ของปญหาทีซ่ อ นเรนอยูบ างประการ
• ตรวจเช็ควารถไดรับการดัดแปลงดวยวิธีการใดกอนที่จะตรวจสอบรถ 17
ขั้นตอนการตรวจสอบ
19
1 ตรวจเช็คสภาพปญหา
(ก) เมื่อเกิดการสั่น 26
ผลที่ได:
สภาวะการขับขี่ ปฏิบัติตามขอ 27
ขณะเดินเบา A
เมื่อคลัตชเครื่องยนตจับที่สตารทรถ B (ระบบคลัตชสั่น)
28
B ซอมหรือเปลี่ยนระบบคลัตช (ดูหนา 42-1)
A 29
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟในหองเครื่องยนต 30
(ก) ตรวจเช็คการตอชุดสายไฟ 31
ปกติ: ชุดสายไฟตอแนนหนาดี
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 32
ปกติ
05–278 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 3 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับระบบเชื้อเพลิงและระบบไอดี)
ขอแนะนํา:
2 ขับรถตามรูปแบบการขับขีด่ า นลางเพือ่ ให ECM ปรากฏรหัสวิเคราะหปญ  หาทีเ่ กีย่ วของกับความผิดปกติของระบบเชือ้ เพลิง
ระบบ EGR และลิ้นเรง ถารหัสวิเคราะหปญหาใดปรากฏขึ้น จะสามารถระบุจุดที่เปนปญหาได
3 (ก) เขาสูโหมดการตรวจเช็ค (CHECK MODE) (ดูหนา 05-53)
(ข) อุนเครื่องยนตเต็มที่
5 (ค) ปลอยใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 5 นาทีขึ้นไป
(ง) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 40 กม./ชม. (25 ไมล/ชม.) สักครูหนึ่ง
(จ) ชลอความเร็วลงและหยุดรถ
10 (ฉ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ช) 4 ครั้งขึ้นไป
(ช) หยุดรถและคอยอยางนอย 10 วินาที
11 (ซ) ทําซ้าํ ขัน้ ตอน (ฉ) และ (ซ) ทีอ่ ธิบายไวดา นบน (เพือ่ ใหรหัสวิเคราะหปญ  หาทีเ่ กีย่ วของกับระบบ EGR และลิน้ เรง
ปรากฏขึ้น)
12 (ฌ) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 70 กม./ชม. (43 ไมล/ชม.) อยางนอย 1 นาที (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
กับปมจายเชื้อเพลิงปรากฏขึ้น)
13 ตอไป
14 4 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต)
15 (ก) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหาที่คางอยู
16 ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-41) A
17 รหัสวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-62) B
B ซอมหรือเปลี่ยนระบบควบคุมเครื่องยนตตาม
19 A รหัสวิเคราะหปญ
 หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62)
26 5 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ทดสอบการรั่วของเชื้อเพลิง)

27 ขจากการทดสอบ
อแนะนํา:
Active Test โดยรักษาความเร็วรอบเครือ่ งยนตที่ 2,000 รอบ/นาที และเพิม่ แรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรล
จนถึงแรงดันการทํางานสูงสุด ผลก็คือ สามารถทําการตรวจเช็คน้ํามันรั่วไดในขณะที่แรงดันคอมมอนเรลยังคงสูงอยู
28 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
29 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Test the Fuel Leak
(ง) ตรวจดูปม เชือ้ เพลิง หัวฉีดและทอทางเชือ้ เพลิงทีต่ ดิ ตัง้ อยูร ะหวางปม จายเชือ้ เพลิงกับคอมมอนเรล เพือ่ หารอยรัว่ ของ
30 เชือ้ เพลิงและรอยรัว่ ของแรงดันเชือ้ เพลิง และทําการตรวจเช็คเชนเดียวกันนีก้ บั ทอทางเชือ้ เพลิงระหวางคอมมอนเรล
กับหัวฉีดดวย (ดูหนา 11-4)
31 ขอแนะนํา:
อาจมีรอยรั่วของเชื้อเพลิงภายในสวนประกอบตางๆ เชน ปมจายเชื้อเพลิง
32 ปกติ: ไมมีการรั่วของเชื้อเพลิง
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–279

ปกติ 1
6 อานขอมูลใน DATA LIST (MAP, FUEL PRESS) 2
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 3
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา 5
• MAP
• Fuel Press
คามาตรฐาน: 10
ไมมี CAC
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด 11
สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
เดินเบา
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง
788 มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิว้ ปรอท) • A (คามาตรฐาน)
แรงดันภายในทอรวม 12
ไอดีตรวจจับโดย
MAP 113 ถึง 133 กิโลปาสคาล (848 ถึง • B (MAP ไมอยูในคา
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต)
998 มม.ปรอท, 33.4 ถึง 39.3 นิว้ ปรอท) มาตรฐาน)
เซ็นเซอรแรงดันอากาศ
เขา
13
ต่ําสุด: 175 กิโลปาสคาล
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
1,313 มม.ปรอท, 51.7 นิว้ ปรอท)
เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
14
• A (คามาตรฐาน)
2,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
Fuel Press C (แรงดันเชื้อเพลิง
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล

ไมอยูในคามาตรฐาน)
คอมมอนเรล 15
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 121 เมกกะปาสคาล
มี CAC 16
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง 17
เดินเบา แรงดันภายในทอรวม
788 มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิว้ ปรอท) • A (คามาตรฐาน)
ไอดีตรวจจับโดย
MAP
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต)
110 ถึง 130 กิโลปาสคาล (825 ถึง
975 มม.ปรอท, 32.5 ถึง 38.4 นิว้ ปรอท)
• B (MAP ไมอยูในคา
มาตรฐาน)
เซ็นเซอรแรงดันอากาศ 19
เขา
ต่ําสุด: 178 กิโลปาสคาล
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
(1,335 มม.ปรอท, 52.6 นิว้ ปรอท) 26
เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
• A (คามาตรฐาน)
Fuel Press
2,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล
• C (แรงดันเชื้อเพลิง
แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
คอมมอนเรล
27
ไมอยูในคามาตรฐาน)
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 145 เมกกะปาสคาล
ขอแนะนํา: 28
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
29
B ดูที่รหัส P0105/35, P0107/35 และ P0108/35
(เกี่ยวของกับเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม) 30
(ดูหนา 05-105)
C ดูขั้นตอนที่ 25 31
A
32
05–280 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME)
(ก) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
2 • Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4
• Injection Volume
3 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครือ่ งยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
5 Injection Feedback
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
คาปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของ
Val #1 หัวฉีดเพื่อชดเชยความแตกตางใน
Injection Feedback สภาวะการเผาไหมของสูบตางๆ
10 Val #2
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
• คาเปนบวกแสดงการควบคุมที่
Injection Feedback ปรับแกการหยอนประสิทธิภาพ
11 Val #3
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
การเผาไหม
• คาเปนลบแสดงการควบคุมทีป ่ รับ
12 Injection Feedback • A (คามาตรฐาน)
แกแรงดันการเผาไหมมากเกินไป
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 • ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด
Val #4 • B (Injection Feedback
13 Val #1 ถึง #4 และ/หรือ
เชื้อเพลิงที่ปรับแกใหมอาจมีคา
เบีย่ งเบนจาก -4.9 มม. และ 4.9 มม.
Injection Volume
คาปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงถูก
14 ไมอยูในคามาตรฐาน)
ควบคุมโดย ECU
• ควบคุมสัญญาณ NE, อุณหภูมิ
15 เชื้อเพลิง, อุณหภูมิน้ําหลอเย็น
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3 เครื่องยนต, อุณหภูมิอากาศเขา,
16 แรงอัดอากาศ, แรงดันบรรยากาศ
และปริมาณ EGR
17 • ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด
เชือ้ เพลิงอาจไมอยูใ นคามาตรฐาน
19 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
26 B ดูขั้นตอนที่ 15
A
27
8 ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (ดูหนา 05-28)
28
ขอแนะนํา:
29 ถาลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดไมถูกตอง อาจเปนสาเหตุใหเกิดความผิดปกติได (ดูหนา 05-28)
ปกติ: รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่ติดตั้งและ ECM เหมือนกัน
30 บกพรอง ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
(ดูหนา 05-33)
31 ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–281

9 ลบแบตเตอรี่ 1
(ก) ปลดสายออกจากขั้วลบแบตเตอรี่ (-) อยางนอย 2 นาที
(ข) ตอสายขั้วลบ (-) กลับเขาแบตเตอรี่ 2
(ค) ตรวจเช็ควาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลวหรือไมโดยทําการทดสอบขับโดยใชขอมูลสภาพเครื่อง
ยนตที่ถูกบันทึกไว ณ เวลาเกิดปญหา 3
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)
5
บกพรอง 10
10 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26) 11
(ก) ตรวจเช็คคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง 12
(ข) ตรวจเช็คฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
(ค) ตรวจเช็คการอุดตันของระบบเชื้อเพลิง
(ง) ตรวจเช็คไสกรองอากาศ 13
(จ) ตรวจเช็คน้ํามันเครื่อง
(ฉ) ตรวจเช็คน้ําหลอเย็นเครื่องยนต 14
(ช) ตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบาและความเร็วรอบสูงสุด
(ซ) ตรวจเช็คปมสุญญากาศ 15
ปกติ: ผลการตรวจสอบแตละจุดเปนปกติ
16
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ 17

11 ตรวจเช็คฉนวนยางแทนเครื่อง 19
(ก) ตรวจสอบดูดวยตาวาฉนวนยางแทนเครื่องติดตั้งอยางถูกตอง ไมบิดหรือลม 26
ปกติ: ไมมีความผิดปกติ
27
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 14-27)
ปกติ 28

12 ตรวจเช็คระบบไอดีและไอเสีย 29
(ก) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางกรองอากาศกับเทอรโบชารจเจอร 30
(ข) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางเทอรโบชารจเจอรกับทอรวมไอดี
ปกติ: ไมมีการรั่วของอากาศหรือการอุดตัน 31
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ 32
05–282 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 13 ตรวจเช็ค ECM (แรงดันไฟฟา EGLS)


ขอแนะนํา:
2 จํานวนการยกวาลว EGR สามารถตรวจเช็คไดโดยใชสัญญาณของเซ็นเซอรตําแหนง EGR
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
3 E8 E7 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
ECM ECM
คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
E7-33 (EGLS) - E8-28 (E2) สวิตชจุดระเบิด ON A (0.3 ถึง 1.3 V)
10
E2 (-) EGLS (+) (ค) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
11 A66060
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM
12 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
13 E7-33 (EGLS) - E8-28 (E2) เดินเบา: 750 รอบ/นาที A + (1.91 ถึง 2.70 V)
ขอแนะนํา:
14 เดินเบาเครื่องยนตโดยไมเปดเครื่องปรับอากาศ (สวิตช A/C OFF)
และเลือ่ นคันเกียรไปทีต่ าํ แหนง N เครือ่ งยนตไมควรมีการตกตะกอน
15 หลังจากอุนเครื่องแลว

16 บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)


ปกติ
17
19 14 ตรวจสอบชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล (ดูคูมือการซอมในเรื่องของการตรวจสอบการทํางานและการตรวจสอบ
ดวยตาเปลา) (ดูหนา 10-6)
26 ปกติ: ไมผิดปกติ
27 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 10-11)

28 ปกติ

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–283

15 ระบุหัวฉีดที่บกพรอง 1
(ก) ปฏิบัติตามวิธีการในตารางดานลางใหสอดคลองกับผลการตรวจเช็คเมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
ขอแนะนํา: 2
การทํางานนี้ยึดถือตามหลักวาแรงดันคอมมอนเรลปกติ
คามาตรฐาน: 3
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 5
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3
ขอแนะนํา: 10
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
ผลที่ได: 11
3 3 3
Injection Volume ต่ํากวา 3.0 มม. ระหวาง 3.0 ถึง 10.0 มม. มากกวา 10.0 มม.
Injection Feedback Val #1 ถึง #4
4.9 มม.3 หรือมากกวา -4.9 มม.3 หรือนอยกวา A
(ปกติ)
B B 12
ระหวาง -4.9 ถึง 4.9 มม.3 – ปกติ C*
13
ปฏิบัติตามขอ จุดที่ตรวจสอบ รายละเอียด
ตรวจสอบและซอมหัวฉีดที่ปริมาตรการฉีด 14
เชื้อเพลิงปรับแกแลวต่ํากวา -4.9 มม.3: หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณ
A
ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังและระบุ ที่มากเกินไป
สูบที่บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง
15
ระบุสูบที่บกพรองโดยทําการทดสอบความสมดุล หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณ 16
ของกําลัง: ที่นอ ยเกินไป
• ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก
• ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังเพื่อระบุ
B
สูบที่บกพรอง
สวนหัวฉีดอุดตันดวยตะกอน 17
• กําลังอัดหัวฉีดที่มีคาผิดปกติลดลง
• ทําความสะอาดหัวฉีดที่บกพรอง แลวตรวจเช็ค
• หัวฉีดที่มีคา ผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
และซอมหัวฉีด
ปริมาณที่มากเกินไป 19
ตรวจสอบและซอมหัวฉีดทุกหัว: หัวฉีดทุกหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณที่นอย
C ทําความสะอาดหัวฉีดทุกหัว แลวจึงตรวจสอบ เกินไป: 26
ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจากสวน
และซอม
หัวฉีดทุกหัวอุดตันดวยตะกอน 27
ขอแนะนํา:
*: เมื่อปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) มาก ทั้งที่ Fuel Press และ Injection Feedback 28
Val #1 ถึง #4 ในการแสดงขอมูล (Data List) เปนปกติ แตหวั ฉีดอาจมีปญ  หาการอุดตัน ในกรณีนี้ อาจเปนตะกอนภายใน
หรือภายนอกหัวฉีดก็ได 29
• ทั้งที่การทํางานของหัวฉีดปกติ แตคา Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจไมอยูในคาการทํางานปกติ เนื่อง
จากปญหาการฉีดชดเชยอื่นๆ (เชน กําลังอัดฉีดต่ํา) 30
• Injection Feedback Val #1 ถึง #4 คือคาที่ใชในการปรับแกปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของแตละสูบ เพื่อใหไดรบั
ประโยชน (ชดเชยความไมเสมอกัน) จากสภาวะการเผาไหมของทุกสูบมากทีส่ ดุ ถามีสบู ใดผิดปกติ ปริมาตรการฉีด 31
เชือ้ เพลิงสําหรับสูบปกติกจ็ ะไดรบั การปรับแกไปพรอมกัน ผลคือ Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจเบีย่ งเบน
จากคามาตรฐานได 32
05–284 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 B ดูขั้นตอนที่ 17

C ดูขั้นตอนที่ 22
2
A
3
16 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)
5
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
10 (ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
11 (ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
ขอแนะนํา:
12 • ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดงวา
สูบนั้นบกพรอง
13 • ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
14 ตอไป

15 เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)


16 17 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)

17 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3


(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
19 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
26 ขอแนะนํา:
• ในขณะที่เครื่องยนตเดินเบา ถายังมีการสั่นสะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชื้อเพลิงแลวก็ตาม
27 แสดงวาสูบนั้นบกพรอง
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
28 ตอไป
29
18 ตรวจเช็คแรงดันกําลังอัดกระบอกสูบของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 14-1)
30 ปกติ: แรงดันกําลังอัดกระบอกสูบเปนปกติ
31 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน

32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–285

19 ตรวจหาตะกอนในการฉีดเชื้อเพลิงของสูบที่บกพรอง 1
ขอแนะนํา:
ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได 2
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
ผลที่ได: 3
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
มีตะกอน A 5
ไมมีตะกอน B

B เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13) 10


A 11

20 ทําความสะอาดหัวฉีด 12
ตอไป 13

21 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME)
14
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ 15
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 16
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List 17
(ฉ) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4 19
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 26
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3
27
ขอแนะนํา: 28
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอปุ กรณตา ง ๆ ทัง้ หมด และควรอุน เครือ่ งยนตใหเต็มที่ เมือ่ คาทีไ่ ดไมอยูใ นคามาตรฐาน
ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน 29
บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13) 30
ปกติ 31
จบขั้นตอน 32
05–286 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 22 ตรวจหาตะกอนในหัวฉีดทุกหัว
ขอแนะนํา:
2 ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
3 ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
5 มีตะกอน A
ไมมีตะกอน B
10 B เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
11 A

12 23 ทําความสะอาดหัวฉีด
13 ตอไป

14 24 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME)
15 (ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
16 (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
17 (จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ฉ) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
19 • Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4
• Injection Volume
26 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
27 Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3

28 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอปุ กรณตา ง ๆ ทัง้ หมด และควรอุน เครือ่ งยนตใหเต็มที่ เมือ่ คาทีไ่ ดไมอยูใ นคามาตรฐาน
29 ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
30 บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
31 ปกติ

32 จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–287

25 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-5) 1


บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23) 2
ปกติ
3
26 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) 5
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 10
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
11
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา
F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา 12
VC E2
PR A62213 บกพรอง เปลีย่ นชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง) 13
(ดูหนา 11-29)
14
ปกติ
15
ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (ลิ้นจํากัดแรงดัน) (ดูหนา 11-5)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–288 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 เครื่องยนตน็อคหรือเสียงดังกรอกแกรก (1KD-FTV)
2 ข• อแนะนํ า:
ขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหานี้ใชตรวจเช็คการน็อคและเสียงดังกรอกแกรกของเครื่องยนต
• การน็อคโดยมากจะเกิดขึน้ ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตกาํ ลังเดินเบา
3
คําอธิบายผังวงจร
5 สภาพปญหา จุดที่เปนปญหาหลัก

จุดที่สัมพันธกับปญหา
รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
(ก) หัวฉีดบกพรอง • การรั่วของน้ํามันเชื้อเพลิง
10 • ปญหาการเลื่อนตัวของหัวฉีด • ระบบไอดีรั่ว
• หัวฉีดปดติดขัด • ระบบไอดีอุดตัน
ระบบ EGR
11 • หัวฉีดเปดติดขัด •
ระบบลิ้นเรง
การน็อคและเสียงดังผิดปกติเนื่อง • ตะกอนในหัวฉีด


เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
จากการเผาไหมสวนผสมหนามาก • วงจรหัวฉีดบกพรอง

12 • เสียงดังผิดปกติเนื่องจากการเสียดสี (ข) แรงดันคอมมอนเรลผิดปกติ
• เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
• ปมจายเชื้อเพลิง
• มาตรวัดปริมาณอากาศ
ระหวางชิ้นสวน
• เซ็นเซอรแรงดันบรรยากาศ (ติดตั้งอยูใน ECM)
13 • เสียงสัญญาณแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
• มาตรวัดปริมาณอากาศ
• ฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
• การดัดแปลงรถ
(ค) การเสียดสีระหวางชิ้นสวน
14 (ง) แรงดันในการอัด
• น้ํามันเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํา
• การขาดน้ํามันเชื้อเพลิง
• ECM
15 ขอแนะนํา:
• คาทีก่ าํ หนดในแผนภูมกิ ารคนหาสาเหตุปญ  หาตอไปนีเ้ ปนเพียงขอมูลอางอิงเทานัน้ คาของผลขอมูลใน DATA LIST
16 อาจเกิดความแตกตางกันได ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั สภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวา คาของขอมูลใน
DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอืน่ ๆ ของปญหาทีซ่ อ นเรนอยูบ างประการ
17 • ตรวจเช็ควารถไดรับการดัดแปลงดวยวิธีการใดกอนที่จะตรวจสอบรถ
ขั้นตอนการตรวจสอบ
19
1 ตรวจเช็คจุดที่มีเสียงดัง
26 (ก) คนหาแหลงของเสียงดังผิดปกติโดยใชเครื่องฟงเสียงของชาง
ผลที่ได:
27 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
เสียงดังจากปมจายเชื้อเพลิง A
28 เสียงดังจากชิ้นสวนอื่นที่ไมใชปมจายเชื้อเพลิง B

B ซอมหรือเปลี่ยน
29 A
30 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟในหองเครื่องยนต
31 (ก) ตรวจเช็คการตอชุดสายไฟ
ปกติ: ชุดสายไฟตอแนนหนาดี
32 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–289

3 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับระบบเชื้อเพลิงและระบบไอดี) 1
ขอแนะนํา:
ขับรถตามรูปแบบการขับขี่ดานลางเพื่อให ECM ปรากฏรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับความผิดปกติของระบบเชื้อ 2
เพลิง ระบบ EGR และลิ้นเรง ถารหัสวิเคราะหปญหาใดปรากฏขึ้น จะสามารถระบุจุดที่เปนปญหาได
(ก) เขาสูโหมดการตรวจเช็ค (CHECK MODE) (ดูหนา 05-53) 3
(ข) อุนเครื่องยนตเต็มที่
(ค) ปลอยใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 5 นาทีขึ้นไป 5
(ง) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 40 กม./ชม. (25 ไมล/ชม.) สักครูหนึ่ง
(จ) ชลอความเร็วลงและหยุดรถ
(ฉ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ช) 4 ครั้งขึ้นไป 10
(ช) หยุดรถและคอยอยางนอย 10 วินาที
(ซ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ซ) ที่อธิบายไวดานบน (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับลิ้นเรงปรากฏขึ้น) 11
(ฌ) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 70 กม./ชม. (43 ไมล/ชม.) อยางนอย 1 นาที (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
กับปมจายเชื้อเพลิงปรากฏขึ้น) 12
ตอไป
13
4 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต)
14
(ก) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหาที่คางอยู 15
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-41) A 16
รหัสวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-62) B
B ซ อ มหรื อ เปลี่ ย นระบบควบคุมเครื่องยนตตาม
17
A รหัสวิเคราะหปญ  หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62)
19
5 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ทดสอบการรั่วของเชื้อเพลิง)
26
ขอแนะนํา:
จากการทดสอบ Active Test โดยรักษาความเร็วรอบเครือ่ งยนตที่ 2,000 รอบ/นาที และเพิม่ แรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรล 27
จนถึงแรงดันการทํางานสูงสุด ผลก็คือ สามารถทําการตรวจเช็คน้ํามันรั่วไดในขณะที่แรงดันคอมมอนเรลยังคงสูงอยู
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
28
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Test the Fuel Leak
(ง) ตรวจดูปม เชือ้ เพลิง หัวฉีดและทอทางเชือ้ เพลิงทีต่ ดิ ตัง้ อยูร ะหวางปม จายเชือ้ เพลิงกับคอมมอนเรล เพือ่ หารอยรัว่ ของ 29
เชือ้ เพลิงและรอยรัว่ ของแรงดันเชือ้ เพลิง และทําการตรวจเช็คเชนเดียวกันนีก้ บั ทอทางเชือ้ เพลิงระหวางคอมมอนเรล
กับหัวฉีดดวย (ดูหนา 11-4) 30
ขอแนะนํา:
อาจมีรอยรั่วของเชื้อเพลิงภายในสวนประกอบตางๆ เชน ปมจายเชื้อเพลิง 31
ปกติ: ไมมีการรั่วของเชื้อเพลิง
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 32
ปกติ
05–290 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 6 อานขอมูลใน DATA LIST (MAP, MAF, FUEL PRESS)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
3 (ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• MAP
5 • MAF
• Fuel Press
คามาตรฐาน:
10 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต*1 คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
11 เดินเบา
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง 788 • A (คามาตรฐาน)
แรงดันภายในทอรวม
มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิว้ ปรอท) • B (ทั้ง MAP และ MAF
ไอดีตรวจจับโดย
MAP 110 ถึง 135 กิโลปาสคาล (825 ถึง ไมอยูในคามาตรฐาน)
12 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต)
1,013 มม.ปรอท, 32.5 ถึง 39.9 นิว้ ปรอท) • C (เฉพาะ MAP เทานั้นที่
เซ็นเซอรแรงดันอากาศ
เขา
ต่ําสุด: 195 กิโลปาสคาล ไมอยูในคามาตรฐาน)
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
(1,463 มม.ปรอท, 57.6 นิ้วปรอท)
13 สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) 0 กรัม/วินาที • A (คามาตรฐาน)
เดินเบา 5 ถึง 12 กรัม/วินาที • B (ทั้ง MAP และ MAF ปริมาณอากาศเขาตรวจ
14 MAF*2 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 28 ถึง 46 กรัม/วินาที

ไมอยูในคามาตรฐาน) จับโดยมาตรวัดปริมาณ
D (เฉพาะ MAF เทานั้นที่ อากาศ
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 กรัม/วินาที ไมอยูในคามาตรฐาน)
15 เดินเบา 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
• A (คามาตรฐาน)
2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 40 ถึง 50 เมกกะปาสคาล แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
Fuel Press • E (แรงดันเชื้อเพลิง
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล คอมมอนเรล
16 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 เมกกะปาสคาล
ไมอยูในคามาตรฐาน)

ขอแนะนํา:
17 *1: ควรปดสวิตชเครื่องปรับอากาศและสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
*2
: เมื่อมาตรวัดปริมาณอากาศบกพรอง คาของสัญญาณ MAF อาจเบี่ยงเบนจากคามาตรฐาน (ที่อางอิง) เมื่อเครื่องยนต
19 เดินเบาและเรงความเร็วเต็มที่จาก 3,000 ถึง 4,000 รอบ/นาที

26 B ดูขั้นตอนที่ 11

C ดูที่รหัส P0105/35, P0107/35 และ P0108/35


27 (เกีย่ วของกับเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอ รวม)
(ดูหนา 05-105)
28
D ดูที่รหัส P0100/31, P0102/31 และ P0103/31
29 (เกีย่ วของกับมาตรวัดปริมาณอากาศ) (ดูหนา 05-97)

30 ขอแนะนํา:
การตรวจสอบมาตรวัดปริมาณอากาศดวยตานาจะไดผลดี
31 E ดูขั้นตอนที่ 28
A
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–291

7 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME) 1
(ก) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4 2
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 3
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครือ่ งยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
Injection Feedback
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
คาปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของหัว 5
Val #1 ฉีดเพื่อชดเชยความแตกตางใน
Injection Feedback สภาวะการเผาไหมของสูบตางๆ
Val #2
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
• คาเปนบวกแสดงการควบคุมที่
10
Injection Feedback ปรับแกการหยอนประสิทธิภาพ
Val #3
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3 การเผาไหม 11
• คาเปนลบแสดงการควบคุมทีป ่ รับ
Injection Feedback
A (คามาตรฐาน)
แกแรงดันการเผาไหมมากเกินไป
• ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด
12
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3 •
Val #4 เชื้อเพลิงที่ปรับแกใหมอาจมีคา
• B (Injection Feedback
Val #1 ถึง #4 และ/หรือ เบีย่ งเบนจาก -3.0 มม. และ 3.0 มม. 13
Injection Volume คาปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงถูกควบคุม
ไมอยูในคามาตรฐาน) โดย ECU 14
• ควบคุมสัญญาณ NE, อุณหภูมิ
เชื้อเพลิง, อุณหภูมิน้ําหลอเย็น
เครื่องยนต, อุณหภูมิอากาศเขา,
15
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
แรงอัดอากาศ, แรงดันบรรยากาศ,
ปริมาณ EGR, และ MAF ที่ 16
ระดับสัญญาณเปาหมาย
• ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด
17
เชือ้ เพลิงอาจไมอยูใ นคามาตรฐาน
ขอแนะนํา: 19
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
B ดูขั้นตอนที่ 20 26
A 27

8 ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (ดูหนา 05-28) 28


ขอแนะนํา: 29
ถาลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดไมถูกตอง อาจเปนสาเหตุใหเกิดความผิดปกติได (ดูหนา 05-28)
ปกติ: รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่ติดตั้งและ ECM เหมือนกัน 30
บกพรอง ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด 31
(ดูหนา 05-33)
ปกติ 32
05–292 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 9 ลบแบตเตอรี่
(ก) ปลดสายออกจากขั้วลบแบตเตอรี่ (-) อยางนอย 2 นาที
2 (ข) ตอสายขั้วลบ (-) กลับเขาแบตเตอรี่
(ค) ตรวจเช็ควาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลวหรือไมโดยทําการทดสอบขับโดยใชขอมูลสภาพเครื่อง
3 ยนตที่ถูกบันทึกไว ณ เวลาเกิดปญหา
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
5
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ (ดูหนา 05-25)
10
บกพรอง
11
10 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26)
12
(ก) ตรวจเช็คคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง
13 (ข) ตรวจเช็คฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
(ค) ตรวจเช็คการอุดตันของระบบเชื้อเพลิง
14 (ง) ตรวจเช็คไสกรองอากาศ
(จ) ตรวจเช็คน้ํามันเครื่อง
15 (ฉ) ตรวจเช็คน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
(ช) ตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบาและความเร็วรอบสูงสุด
16 (ซ) ตรวจเช็คปมสุญญากาศ
ปกติ: ผลการตรวจสอบแตละจุดเปนปกติ
17
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
19 ปกติ
26
11 ตรวจเช็คระบบไอดีและไอเสีย
27 (ก) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางกรองอากาศกับเทอรโบชารจเจอร
(ข) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางเทอรโบชารจเจอรกับทอรวมไอดี
28 ปกติ: ไมมีการรั่วของอากาศหรือการอุดตัน
29 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–293

12 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7) 1


ขอแนะนํา:
ในการตรวจสอบนี้ ใหวัดอัตราการไหลอากาศในขณะเดินเบาโดยที่วาลว EGR ปดสนิท 2
(ก) ตรวจดูใหแนใจวาเครื่องยนตไมทํางาน
(ข) ปลดขั้วตอ E-VRV สําหรับ EGR 3
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
5
(จ) สตารทเครื่องยนต
10
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAF
(ช) วัดอัตราการไหลของอากาศ (MAF) ในขณะเดินเบาเครื่องยนต 11
คามาตรฐาน: อัตราการไหลอากาศอยูระหวาง 5 ถึง 12 กรัม/วินาที
ขอแนะนํา: 12
เนื่องจากขั้วตอ E-VRV สําหรับ EGR ถูกปลดออก รหัสวิเคราะหปญหาจึงปรากฏขึ้นเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่
ตําแหนง ON ดังนั้น ใหลบรหัสวิเคราะหปญหาเมื่อเสร็จการตรวจสอบดังกลาวแลว (ดูหนา 05-51) 13
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 12-10)
14
ปกติ
15
13 ตรวจสอบชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล (ดูคูมือการซอมในเรื่องของการตรวจสอบการทํางานและการตรวจสอบ
ดวยตาเปลา) (ดูหนา 10-6) 16
ปกติ: ไมผิดปกติ 17
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 19
ปกติ
26
14 ตรวจเช็คเสียงการเผาไหม 27
(ก) ตรวจยืนยันประเภทเสียงที่ดังออกมา
ผลที่ได: 28
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
การน็อค A 29
เสียงกลไกอื่นที่ไมใชการน็อค B
30
B ดูขั้นตอนที่ 25
A 31
32
05–294 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 15 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
3 (ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
ขอแนะนํา:
5 • ในขณะที่เครื่องยนตเดินเบา ถายังมีการสั่นสะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชื้อเพลิงแลวก็ตาม
แสดงวาสูบนั้นบกพรอง
10
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
11 ตอไป

12 16 ตรวจเช็คแรงดันกําลังอัดกระบอกสูบของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 14-1)


13 ปกติ: แรงดันกําลังอัดกระบอกสูบเปนปกติ
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
14
ปกติ
15
17 ตรวจหาตะกอนในการฉีดเชื้อเพลิงของสูบที่บกพรอง
16
ขอแนะนํา:
17 ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
19 ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
26 มีตะกอน A
ไมมีตะกอน B
27
B เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
28 A
29
18 ทําความสะอาดหัวฉีด
30
ตอไป
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–295

19 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME) 1
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 2
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว 3
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ฉ) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคาที่ปรากฏบนหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
5
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ#4
10
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 11
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
12
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
ขอแนะนํา: 13
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอปุ กรณตา ง ๆ ทัง้ หมด และควรอุน เครือ่ งยนตใหเต็มที่ เมือ่ คาทีไ่ ดไมอยูใ นคามาตรฐาน
ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด 14
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
15
บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
ปกติ 16

จบขั้นตอน 17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–296 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 20 ระบุหัวฉีดที่บกพรอง
(ก) ปฏิบัติตามวิธีการในตารางดานลางใหสอดคลองกับผลการตรวจเช็คเมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
2 ขอแนะนํา:
การทํางานนี้ยึดถือตามหลักวาแรงดันคอมมอนเรลปกติ
3 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
5 Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
10 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
11 ผลที่ได:
Injection Volume ต่ํากวา 5.0 มม.3 ระหวาง 5.0 ถึง 12.0 มม.3 มากกวา 12.0 มม.3
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 (ปกติ)
12 3.0 มม.3 หรือมากกวา -3.0 มม.3 หรือนอยกวา A B B
ระหวาง -3.0 ถึง 3.0 มม.3 – ปกติ C*
13
ปฏิบัติตามขอ จุดที่ตรวจสอบ รายละเอียด
14 ตรวจสอบและซอมหัวฉีดที่ปริมาตรการฉีด
เชื้อเพลิงปรับแกแลวต่ํากวา -3.0 มม.3: หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณ
A
ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังและระบุ ที่มากเกินไป
15 สูบที่บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง
หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณ
16 ระบุสูบที่บกพรองโดยทําการทดสอบความสมดุล
ของกําลัง:
ที่นอยเกินไป
• ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก
• ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังเพื่อระบุ
17 B
สูบที่บกพรอง
สวนหัวฉีดอุดตันดวยตะกอน
• กําลังอัดหัวฉีดที่มีคาผิดปกติลดลง
• ทําความสะอาดหัวฉีดที่บกพรอง แลวตรวจเช็ค
• หัวฉีดที่มค ี าผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
19 และซอมหัวฉีด
ปริมาณที่มากเกินไป
หัวฉีดทุกหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณที่นอย
26 ตรวจสอบและซอมหัวฉีดทุกหัว:
เกินไป:
C ทําความสะอาดหัวฉีดทุกหัว แลวจึงตรวจสอบ
ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจากสวน
และซอม
27 หัวฉีดทุกหัวอุดตันดวยตะกอน
ขอแนะนํา:
28 *: เมื่อปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) มาก ทั้งที่ Fuel Press และ Injection Feedback
Val #1 ถึง #4 ในการแสดงขอมูล (Data List) เปนปกติ แตหัวฉีดอาจมีปญหาการอุดตัน ในกรณีนี้ อาจเปนตะกอนภาย
29 ในหรือภายนอกหัวฉีดก็ได
• ทั้งที่การทํางานของหัวฉีดปกติ แตคา Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจไมอยูในคาการทํางานปกติ เนื่องจาก
30 ปญหาการฉีดชดเชยอื่นๆ (เชน กําลังอัดฉีดต่ํา)
• Injection Feedback Val #1 ถึง #4 คือคาที่ใชในการปรับแกปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของแตละสูบ เพื่อใหไดรบั
31 ประโยชน (ชดเชยความไมเสมอกัน) จากสภาวะการเผาไหมของทุกสูบมากทีส่ ดุ ถามีสบู ใดผิดปกติ ปริมาตรการฉีด
เชือ้ เพลิงสําหรับสูบปกติกจ็ ะไดรบั การปรับแกไปพรอมกัน ผลคือ Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจเบีย่ งเบน
32
จากคามาตรฐานได
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–297

B ดูขั้นตอนที่ 17 1
C ดูขั้นตอนที่ 22
2
A
3
21 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)
5
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 10
(ค) เลือกรายการเมนูดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง 11
ขอแนะนํา:
• ในขณะที่เครื่องยนตเดินเบา ถายังมีการสั่นสะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชื้อเพลิงแลวก็ตาม 12
แสดงวาสูบนั้นบกพรอง
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง 13
ตอไป 14
เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13) 15
22 ตรวจหาตะกอนในหัวฉีดทุกหัว 16
ขอแนะนํา: 17
ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด 19
ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ 26
มีตะกอน A
ไมมีตะกอน B 27
B เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
28
A
29
23 ทําความสะอาดหัวฉีด
30
ตอไป
31
32
05–298 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 24 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4 ,INJECTION VOLUME)
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
2 (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
3 (ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
5 (ฉ) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคาที่ปรากฏบนหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4
10 • Injection Volume
คามาตรฐาน:
11 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
12 Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
ขอแนะนํา:
13 *: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอปุ กรณตา ง ๆ ทัง้ หมด และควรอุน เครือ่ งยนตใหเต็มที่ เมือ่ คาทีไ่ ดไมอยูใ นคามาตรฐาน
14 ปญหาดัปกติ
งกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด
: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
15 บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)

16 ปกติ

17 จบขั้นตอน
19 25 ตรวจเช็คจุดที่มีเสียงดัง

26 (ก) คนหาแหลงของเสียงดังผิดปกติโดยใชเครื่องฟงเสียงของชาง
ผลที่ได:
27 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
เสียงดังจากปมจายเชื้อเพลิง A
28 เสียงดังจากชิ้นสวนอื่นที่ไมใชปมจายเชื้อเพลิง B

B ซอมหรือเปลี่ยน
29
A
30
26 ไลลมออกจากระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-7)
31
(ก) ไลอากาศออกจากปมมือ และปมที่ปมมือจนกวาจะปมอีกไมได
32 ตอไป
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–299

27 ตรวจยืนยันวาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 1
(ก) ตรวจเช็ควาไดแกไขการน็อคของเครื่องยนตเรียบรอยแลวโดยทําการทดสอบขับ
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 2
ตอไป 3
ตรวจยืนยันวาการน็อคไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 5
28 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-5) 10

บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23) 11


ปกติ 12
29 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) 13
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9 14
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา 16
F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา
VC
PR
E2
A62213 บกพรอง เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (ดูหนา 11-29)
17
ปกติ 19
ตรวจยืนยันวาการน็อคไดรับการแกไขเรียบรอยแลว (ลิ้นจํากัดแรงดัน) (ดูหนา 11-5) 26
27
28
29
30
31
32
05–300 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 เครื่องยนตน็อคหรือเสียงดังกรอกแกรก (2KD-FTV)
2 ขอแนะนํา:
• ขั้น ตอนการคนหาสาเหตุปญ หานี้ใ ชต รวจเช็คการน็อคและเสียงดังกรอกแกรกของเครื่อ งยนต
3 • การน็อคโดยมากจะเกิดขึ้นในขณะที่เครื่องยนตกําลังเดินเบา
คําอธิบายผังวงจร
5 สภาพปญหา จุดที่เปนปญหาหลัก จุดที่สัมพันธกับปญหา
(ก) หัวฉีดบกพรอง • รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
10 • ปญหาการเลื่อนตัวของหัวฉีด • การรั่วของน้ํามันเชื้อเพลิง
ระบบไอดีรั่ว
• หัวฉีดปดติดขัด •
• หัวฉีดเปดติดขัด • ระบบไอดีอุดตัน
11 • การน็อคและเสียงดังผิดปกติเนื่อง • ตะกอนในหัวฉีด
• ระบบ EGR
ระบบลิ้นเรง
จากการเผาไหมสวนผสมหนามาก • วงจรหัวฉีดบกพรอง

เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
12 • เสียงดังผิดปกติเนื่องจากการเสียดสี (ข) แรงดันคอมมอนเรลผิดปกติ

• เซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม
ระหวางชิ้นสวน • ปมจายเชื้อเพลิง
• เสียงสัญญาณแรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง
• เซ็นเซอรแรงดันบรรยากาศ (ติดตั้งอยูใน ECM)
13 • ฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
• การดัดแปลงรถ
• น้ํามันเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํา
(ค) การเสียดสีระหวางชิ้นสวน • การขาดน้ํามันเชื้อเพลิง
14 (ง) แรงดันในการอัด • ECM
ขอแนะนํา:
15 • คาทีก่ าํ หนดในแผนภูมกิ ารคนหาสาเหตุปญ  หาตอไปนีเ้ ปนเพียงขอมูลอางอิงเทานัน้ คาของผลขอมูลใน DATA LIST
อาจเกิดความแตกตางกันได ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั สภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวา คาของขอมูลใน
16 DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอืน่ ๆ ของปญหาทีซ่ อ นเรนอยูบ างประการ
• ตรวจเช็ควารถไดรับการดัดแปลงดวยวิธีการใดกอนที่จะตรวจสอบรถ
17 ขั้นตอนการตรวจสอบ
19 1 ตรวจเช็คจุดที่มีเสียงดัง
(ก) คนหาแหลงของเสียงดังผิดปกติโดยใชเครื่องฟงเสียงของชาง
26 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
27 เสียงดังจากปมจายเชื้อเพลิง A
เสียงดังจากชิ้นสวนอื่นที่ไมใชปมจายเชื้อเพลิง B
28
B ซอมหรือเปลี่ยน
29 A

30 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟในหองเครื่องยนต
(ก) ตรวจเช็คการตอชุดสายไฟ
31 ปกติ: ชุดสายไฟตอแนนหนาดี
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–301

3 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับระบบเชื้อเพลิงและระบบไอดี) 1
ขอแนะนํา:
ขับรถตามรูปแบบการขับขีด่ า นลางเพือ่ ให ECM ปรากฏรหัสวิเคราะหปญ  หาทีเ่ กีย่ วของกับความผิดปกติของระบบเชือ้ เพลิง 2
ระบบ EGR และลิ้นเรง ถารหัสวิเคราะหปญหาใดปรากฏขึ้น จะสามารถระบุจุดที่เปนปญหาได
(ก) เขาสูโหมดการตรวจเช็ค (CHECK MODE) (ดูหนา 05-53) 3
(ข) อุนเครื่องยนตเต็มที่
(ค) ปลอยใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 5 นาทีขึ้นไป 5
(ง) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 40 กม./ชม. (25 ไมล/ชม.) สักครูหนึ่ง
(จ) ชลอความเร็วลงและหยุดรถ
(ฉ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ช) 4 ครั้งขึ้นไป 10
(ช) หยุดรถและคอยอยางนอย 10 วินาที
(ซ) ทําซ้าํ ขัน้ ตอน (ฉ) และ (ซ) ทีอ่ ธิบายไวดา นบน (เพือ่ ใหรหัสวิเคราะหปญ หาทีเ่ กีย่ วของกับระบบ EGR และลิน้ เรงปรากฏขึน้ ) 11
(ฌ) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 70 กม./ชม. (43 ไมล/ชม.) อยางนอย 1 นาที (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
กับปมจายเชื้อเพลิงปรากฏขึ้น) 12
ตอไป
13
4 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต)
14
(ก) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหาที่คางอยู 15
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-41) A 16
รหัสวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-62) B
B ซอมหรือเปลี่ยนระบบควบคุมเครื่องยนตตาม
17
A รหัสวิเคราะหปญ
 หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62)
19
5 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ทดสอบการรั่วของเชื้อเพลิง)
26
ขอแนะนํา:
จากการทดสอบ Active Test โดยรักษาความเร็วรอบเครือ่ งยนตที่ 2,000 รอบ/นาที และเพิม่ แรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรล 27
จนถึงแรงดันการทํางานสูงสุด ผลก็คือ สามารถทําการตรวจเช็คน้ํามันรั่วไดในขณะที่แรงดันคอมมอนเรลยังคงสูงอยู
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 28
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Test the Fuel Leak
(ง) ตรวจดูปม เชือ้ เพลิง หัวฉีดและทอทางเชือ้ เพลิงทีต่ ดิ ตัง้ อยูร ะหวางปม จายเชือ้ เพลิงกับคอมมอนเรล เพือ่ หารอยรัว่ ของ 29
เชือ้ เพลิงและรอยรัว่ ของแรงดันเชือ้ เพลิง และทําการตรวจเช็คเชนเดียวกันนีก้ บั ทอทางเชือ้ เพลิงระหวางคอมมอนเรล
กับหัวฉีดดวย (ดูหนา 11-4) 30
ขอแนะนํา:
อาจมีรอยรั่วของเชื้อเพลิงภายในสวนประกอบตางๆ เชน ปมจายเชื้อเพลิง 31
ปกติ: ไมมีการรั่วของเชื้อเพลิง
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 32
ปกติ
05–302 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 6 อานขอมูลใน DATA LIST (MAP, FUEL PRESS)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
3 (ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• MAP
5 • Fuel Press
คามาตรฐาน:
10 ไมมี CAC
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
11 เดินเบา
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง 788
แรงดันภายในทอรวม
มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิว้ ปรอท) • A (คามาตรฐาน)
ไอดีตรวจจับโดย
12 MAP
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต)
113 ถึง 133 กิโลปาสคาล (848 ถึง 998
มม.ปรอท, 33.4 ถึง 39.3 นิว้ ปรอท)
• B (MAP ไมอยูในคา
มาตรฐาน)
เซ็นเซอรแรงดันอากาศ
เขา
ต่ําสุด: 175 กิโลปาสคาล
13 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
(1,313 มม.ปรอท, 51.7 นิ้วปรอท)
เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
• A (คามาตรฐาน)
14 Fuel Press
2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล
• C (แรงดันเชื้อเพลิง
แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
คอมมอนเรล
ไมอยูในคามาตรฐาน)
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 121 เมกกะปาสคาล
15 มี CAC
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
16 สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง 788
เดินเบา แรงดันภายในทอรวม
17 MAP
มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิว้ ปรอท)
110 ถึง 130 กิโลปาสคา (825 ถึง 975


A (คามาตรฐาน)
B (MAP ไมอยูในคา
ไอดีตรวจจับโดย
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) เซ็นเซอรแรงดันอากาศ
มม.ปรอท, 32.5 ถึง 38.4 นิว้ ปรอท) มาตรฐาน)
19 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
ต่ําสุด: 178 กิโลปาสคาล
เขา
(1,335 มม.ปรอท, 7.87 นิ้วปรอท)
26 เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
• A (คามาตรฐาน)
แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
Fuel Press • C (แรงดันเชื้อเพลิง
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล คอมมอนเรล
27 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 145 เมกกะปาสคาล
ไมอยูในคามาตรฐาน)

ขอแนะนํา:
28 *: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
29 B ดูที่รหัส P0105/35, P0107/35 และ P0108/35
(เกี่ยวของกับเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม)
30 (ดูหนา 05-105)

31 C ดูขั้นตอนที่ 28
A
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–303

7 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 และ #4, INJECTION VOLUME) 1
(ก) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 และ #4 2
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 3
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครือ่ งยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
Injection Feedback คาปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของหัว 5
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
Val #1 ฉีดเพื่อชดเชยความแตกตางใน
Injection Feedback
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
สภาวะการเผาไหมของสูบตางๆ 10
Val #2 • คาเปนบวกแสดงการควบคุมที่
Injection Feedback
Val #3
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
ปรับแกการหยอนประสิทธิภาพ 11
การเผาไหม
• คาเปนลบแสดงการควบคุมทีป ่ รับ
แกแรงดันการเผาไหมมากเกินไป 12
Injection Feedback • A (คามาตรฐาน)
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 • ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด
Val #4 • B (Injection Feedback
เชื้อเพลิงที่ปรับแกใหมอาจมีคา 13
Val #1 ถึง #4 และ/หรือ
เบีย่ งเบนจาก -4.9 มม. และ 4.9 มม.
Injection Volume
ไมอยูในคามาตรฐาน)
คาปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงถูกควบคุม 14
โดย ECU
• ควบคุมสัญญาณ NE, อุณหภูมิ
เชื้อเพลิง, อุณหภูมิน้ําหลอเย็น
15
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3 เครื่องยนต, อุณหภูมิอากาศเขา,
แรงอัดอากาศ, แรงดันบรรยากาศ 16
และปริมาณ EGR
• ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีด 17
เชือ้ เพลิงอาจไมอยูใ นคามาตรฐาน
ขอแนะนํา: 19
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
26
B ดูขั้นตอนที่ 20
A 27
28
8 ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (ดูหนา 05-28)
ขอแนะนํา: 29
ถาลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดไมถูกตอง อาจเปนสาเหตุใหเกิดความผิดปกติได (ดูหนา 05-28)
ปกติ: รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่ติดตั้งและ ECM เหมือนกัน
30
บกพรอง ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด 31
ปกติ 32
05–304 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 9 ลบแบตเตอรี่
(ก) ปลดสายออกจากขั้วลบแบตเตอรี่ (-) อยางนอย 2 นาที
2 (ข) ตอสายขั้วลบ (-) กลับเขาแบตเตอรี่
(ค) ตรวจเช็ควาความบกพรองไดรบั การแกไขเรียบรอยแลวหรือไมโดยทําการทดสอบขับโดยใชขอ มูลสภาพเครือ่ งยนตที่
3 ถูกบันทึกไว ณ เวลาเกิดปญหา
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
5
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
10 (ดูหนา 05-25)

11 บกพรอง
12 10 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26)

13 (ก) ตรวจเช็คคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง
(ข) ตรวจเช็คฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
14 (ค) ตรวจเช็คการอุดตันของระบบเชื้อเพลิง
(ง) ตรวจเช็คไสกรองอากาศ
15 (จ) ตรวจเช็คน้ํามันเครื่อง
(ฉ) ตรวจเช็คน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
16 (ช) ตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบาและความเร็วรอบสูงสุด
(ซ) ตรวจเช็คปมสุญญากาศ
17 ปกติ: ผลการตรวจสอบแตละจุดเปนปกติ

19 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ
26
27 11 ตรวจเช็คระบบไอดีและไอเสีย
(ก) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางกรองอากาศกับเทอรโบชารจเจอร
28 (ข) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางเทอรโบชารจเจอรกับทอรวมไอดี
ปกติ: ไมมีการรั่วของอากาศหรือการอุดตัน
29
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
30 ปกติ
31
32
05–306 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 15 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 and #4
3 (ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
ขอแนะนํา:
5 • ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดงวา
สูบนั้นบกพรอง
10
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
11 ตอไป

12 16 ตรวจเช็คแรงดันกําลังอัดกระบอกสูบของสูบที่บกพรอง
13 ปกติ: แรงดันกําลังอัดกระบอกสูบเปนปกติ
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
14
ปกติ
15
17 ตรวจหาตะกอนในการฉีดเชื้อเพลิงของสูบที่บกพรอง
16
ขอแนะนํา:
17 ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
19 ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
26 มีตะกอน A
ไมมีตะกอน B
27
B เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
28 A
29
18 ทําความสะอาดหัวฉีด
30
ตอไป
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–307

19 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME) 1
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 2
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว 3
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ฉ) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคาที่ปรากฏบนหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
5
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4
10
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 11
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
12
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3
ขอแนะนํา: 13
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอปุ กรณตา ง ๆ ทัง้ หมด และควรอุน เครือ่ งยนตใหเต็มที่ เมือ่ คาทีไ่ ดไมอยูใ นคามาตรฐาน
ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด 14
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
15
บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
ปกติ 16

จบขั้นตอน 17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–308 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 20 ระบุหัวฉีดที่บกพรอง
(ก) ปฏิบัติตามวิธีการในตารางดานลางใหสอดคลองกับผลการตรวจเช็คเมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
2 ขอแนะนํา:
การทํางานนี้ยึดถือตามหลักวาแรงดันคอมมอนเรลปกติ
3 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
5 Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3
10 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
11 ผลที่ได:
Injection Volume ต่ํากวา 3.0 มม.3 ระหวาง 3.0 ถึง 10.0 มม.3 มากกวา 10.0 มม.3
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 (ปกติ)
12 4.9 มม.3 หรือมากกวา -4.9 มม.3 หรือนอยกวา
ระหวาง -4.9 ถึง 4.9 มม.3
A B B
– ปกติ C*

13 ปฏิบัติตามขอ จุดที่ตรวจสอบ รายละเอียด


ตรวจสอบและซอมหัวฉีดทีป่ ริมาตรการฉีดเชือ้
14 A
เพลิงปรับแกแลวต่าํ กวา -4.9 มม.3: หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังและระบุ ปริมาณที่มากเกินไป
15 สูบทีบ่ กพรอง เปลีย่ นหัวฉีดของสูบทีบ่ กพรอง
หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
ระบุสูบที่บกพรองโดยทําการทดสอบความสม
ปริมาณที่นอยเกินไป
16 ดุลของกําลัง:
• ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก
• ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังเพื่อ
B สวนหัวฉีดอุดตันดวยตะกอน
17 ระบุสูบที่บกพรอง
• กําลังอัดหัวฉีดที่มีคาผิดปกติลดลง
• ทําความสะอาดหัวฉีดที่บกพรอง แลวตรวจ
• หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
เช็คและซอมหัวฉีด
19 ปริมาณที่มากเกินไป
หัวฉีดทุกหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณที่
ตรวจสอบและซอมหัวฉีดทุกหัว:
26 C ทําความสะอาดหัวฉีดทุกหัว แลวจึงตรวจสอบ
นอยเกินไป:
ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก
และซอม
สวนหัวฉีดทุกหัวอุดตันดวยตะกอน
27 ขอแนะนํา:
*: เมื่อปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) มาก ทั้งที่ Fuel Press และ Injection Feedback
28 Val #1 ถึง #4 ในการแสดงขอมูล (Data List) เปนปกติ แตหวั ฉีดอาจมีปญ หาการอุดตัน ในกรณีนี้ อาจเปนตะกอนภายใน
หรือภายนอกหัวฉีดก็ได
29 • ทัง้ ทีก่ ารทํางานของหัวฉีดปกติ แตคา Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจไมอยูใ นคาการทํางานปกติ เนือ่ งจาก
ปญหาการฉีดชดเชยอื่นๆ (เชน กําลังอัดฉีดต่ํา)
30 • Injection Feedback Val #1 ถึง #4 คือคาทีใ่ ชในการปรับแกปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงของแตละสูบ เพือ่ ใหไดรบั
ประโยชน (ชดเชยความไมเสมอกัน) จากสภาวะการเผาไหมของทุกสูบมากทีส่ ดุ ถามีสบู ใดผิดปกติ ปริมาตรการฉีด
31 เชือ้ เพลิงสําหรับสูบปกติกจ็ ะไดรบั การปรับแกไปพรอมกัน ผลคือ Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจเบีย่ งเบน
จากคามาตรฐานได
32 B ดูขั้นตอนที่ 17
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–309

C ดูขั้นตอนที่ 22 1
A
2
21 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)
3
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 5
(ค) เลือกรายการเมนูดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 และ #4
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง 10
ขอแนะนํา:
• ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดงวา 11
สูบนั้นบกพรอง
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
12
ตอไป 13
เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13) 14

22 ตรวจหาตะกอนในหัวฉีดทุกหัว 15
ขอแนะนํา: 16
ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด 17
ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
มีตะกอน A
19
ไมมีตะกอน B
26
B เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
27
A
28
23 ทําความสะอาดหัวฉีด
29
ตอไป
30
31
32
05–310 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 24 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME)
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
2 (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
3 (ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
5 (ฉ) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคาที่ปรากฏบนหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4
10 • Injection Volume
คามาตรฐาน:
11 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
12 Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3
ขอแนะนํา:
13 *: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอปุ กรณตา ง ๆ ทัง้ หมด และควรอุน เครือ่ งยนตใหเต็มที่ เมือ่ คาทีไ่ ดไมอยูใ นคามาตรฐาน
ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด
14 ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
15 บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)

16 ปกติ

17 จบขั้นตอน
19 25 ตรวจเช็คจุดที่มีเสียงดัง

26 (ก) คนหาแหลงของเสียงดังผิดปกติโดยใชเครื่องฟงเสียงของชาง
ผลที่ได:
27 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
เสียงดังจากปมจายเชื้อเพลิง A
เสียงดังจากชิ้นสวนอื่นที่ไมใชปมจายเชื้อเพลิง B
28
B ซอมหรือเปลี่ยน
29
A
30
26 ไลลมออกจากระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-7)
31
(ก) ไลอากาศออกจากปมมือ และปมที่ปมมือจนกวาจะปมอีกไมได
32 ตอไป
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–311

27 ตรวจยืนยันวาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 1
(ก) ตรวจเช็ควาไดแกไขการน็อคของเครื่องยนตเรียบรอยแลวโดยทําการทดสอบขับ
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 2
ตอไป 3
ตรวจยืนยันวาการน็อคไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 5
28 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-5) 10

บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23) 11


ปกติ 12
29 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) 13
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9 14
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา 16
F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา
VC
PR
E2
A62213 บกพรอง เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (ดูหนา 11-29)
17
ปกติ 19
ตรวจยืนยันวาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว (ลิ้นจํากัดแรงดัน) (ดูหนา 11-5) 26
27
28
29
30
31
32
05–312 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 ไมมีกําลังหรือชะงัก (1KD-FTV)
2 ขอแนะนํา:
ขัน้ ตอนการคนหาสาเหตุปญ
 หานีเ้ พือ่ ตรวจเช็คอาการไมมกี าํ ลังทีส่ งั เกตไดชดั เจน (เชน ความเร็วสูงสุดชาลงมาก เปนตน)
3 ในขณะขับรถ
5 คําอธิบายผังวงจร
สภาพปญหา จุดที่เปนปญหาหลัก จุดที่สัมพันธกับปญหา
10 • ลิ้นจํากัดแรงดัน
• มาตรวัดปริมาณอากาศ
ระบบไอดีรั่ว
11 (ก) หัวฉีดบกพรอง •
• ระบบไอดีอุดตัน
• ปญหาการเลื่อนตัวของหัวฉีด
• ระบบ EGR
12 • ไมมีกําลังเนื่องมาจากปริมาตรการฉีด
• หัวฉีดปดติดขัด
• กรองเชื้อเพลิงอุดตัน
• หัวฉีดเปดติดขัด
เชื้อเพลิงผิดปกติ (ความบกพรองของปมจาย • ตะกอนในหัวฉีด • ระบบลิ้นเรง
13 เชื้อเพลิงหรือความบกพรองของหัวฉีด) • วงจรหัวฉีดบกพรอง
• แรงดันในการอัด
• ไมมีกําลังเนื่องมาจากขาดแคลนปริมาณ • รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
(ข) แรงดันคอมมอนเรลผิดปกติ
14 อากาศเขา (ความบกพรองของเทอรโบ
• ปมจายเชื้อเพลิง
• เชื้อเพลิงรั่ว
ชารจเจอร, ทอไอเสียดานหนา หรือ • หัวเผา
คอนเวอรเตอรทอรวมไอเสียอุดตัน) (ค) ปริมาณอากาศเขาผิดปกติ เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
15 • เทอรโบชารจเจอร

• EDU (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
• การอุดตันของทอรวมไอเสียดานหนา
• การดัดแปลงรถ
16 • การอุดตันของคอนเวอรเตอรทอรวมไอเสีย
• น้ํามันเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํา
• น้ํามันเชื้อเพลิงจับตัวเปนกอน
17 • ECM
ขอแนะนํา:
19 • คาทีก่ าํ หนดในแผนภูมกิ ารคนหาสาเหตุปญ  หาตอไปนีเ้ ปนเพียงขอมูลอางอิงเทานัน้ คาของผลขอมูลใน DATA LIST
อาจเกิดความแตกตางกันได ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั สภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวา คาของขอมูล
26 ใน DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอื่นๆ ของปญหาที่ซอนเรนอยูบาง
ประการ
27 • ตรวจเช็ควารถไดรับการดัดแปลงดวยวิธีการใดกอนที่จะตรวจสอบรถ
28 ขั้นตอนการตรวจสอบ
29 1 ตรวจเช็คชุดสายไฟในหองเครื่องยนต
(ก) ตรวจเช็คการตอชุดสายไฟ
30 ปกติ: ชุดสายไฟตอแนนหนาดี
31 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–313

2 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับระบบเชื้อเพลิงและระบบไอดี) 1
ขอแนะนํา:
ขับรถตามรูปแบบการขับขี่ดานลางเพื่อให ECM ปรากฏรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับความผิดปกติของระบบเชื้อ 2
เพลิง ระบบ EGR และลิ้นเรง ถารหัสวิเคราะหปญหาใดปรากฏขึ้น จะสามารถระบุจุดที่เปนปญหาได
(ก) เขาสูโหมดการตรวจเช็ค (CHECK MODE) (ดูหนา 05-53) 3
(ข) อุนเครื่องยนตเต็มที่
(ค) ปลอยใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 5 นาทีขึ้นไป 5
(ง) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 40 กม./ชม. (25 ไมล/ชม.) สักครูหนึ่ง
(จ) ชลอความเร็วลงและหยุดรถ 10
(ฉ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ช) 4 ครั้งขึ้นไป
(ช) หยุดรถและคอยอยางนอย 10 วินาที 11
(ซ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ซ) ที่อธิบายไวดานบน (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับลิ้นเรงปรากฏขึ้น)
(ฌ) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 70 กม./ชม. (43 ไมล/ชม.) อยางนอย 1 นาที (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ
กับปมจายเชื้อเพลิงปรากฏขึ้น) 12
ตอไป 13
3 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต) 14
(ก) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหาที่คางอยู 15
ผลที่ได:
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ 16
ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-41) A
รหัสวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-62) B 17
B ซ อ มหรื อ เปลี่ ย นระบบควบคุมเครื่องยนตตาม
รหัสวิเคราะหปญ  หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62)
19
A 26

4 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ทดสอบการรั่วของเชื้อเพลิง) 27


ขอแนะนํา: 28
จากการทดสอบ Active Test โดยรักษาความเร็วรอบเครือ่ งยนตที่ 2,000 รอบ/นาที และเพิม่ แรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรล
จนถึงแรงดันการทํางานสูงสุด ผลก็คอื สามารถทําการตรวจเช็คน้าํ มันรัว่ ไดในสภาวะขณะทีแ่ รงดันคอมมอนเรลยังคงสูงอยู 29
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 30
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Test the Fuel Leak
(ง) ตรวจดูปม เชือ้ เพลิง หัวฉีดและทอทางเชือ้ เพลิงทีต่ ดิ ตัง้ อยูร ะหวางปม จายเชือ้ เพลิงกับคอมมอนเรล เพือ่ หารอยรัว่ ของ 31
เชือ้ เพลิงและรอยรัว่ ของแรงดันเชือ้ เพลิง และทําการตรวจเช็คเชนเดียวกันนีก้ บั ทอทางเชือ้ เพลิงระหวางคอมมอนเรล
กับหัวฉีดดวย (ดูหนา 11-4)
32
05–314 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขอแนะนํา:
1 อาจมีรอยรั่วของเชื้อเพลิงภายในสวนประกอบตางๆ เชน ปมจายเชื้อเพลิง
ปกติ: ไมมีการรั่ว
2
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
3 ปกติ
5
5 ตรวจเช็คควันขาว
10 (ก) เรงเครื่องจากความเร็วรอบเดินเบาจนถึง 3,000 รอบ/นาทีหลายๆ ครั้ง เพื่อตรวจเช็ควาควันขาวถูกปลอยออกมา
จากทอไอเสียหรือไม
11 (ข) ตรวจเช็ควาทอยางและทอทางของระบบไอดีไมปนเปอนดวยน้ํามันมากเกินไป
ขอแนะนํา:
12 ถาควันขาวถูกปลอยออกมาจากระบบไอดี แสดงวาทอยางและทอทางของระบบปนเปอ นดวยน้าํ มันมากเกินไป ถาไดรบั
13 การยืนยันวามีควันขาวอยูใ นแกสไอเสีย ปญหาทางดานกลไกในเทอรโบชารจเจอรหรือเครือ่ งยนตจะมีความเปนไปไดสงู
ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
14 ไมมีปญหาที่อธิบายไวดังกลาว A
ควันขาวถูกปลอยออกมา หรือทอยางและทอทางของระบบไอดีปนเปอนดวย
15 น้ํามันมากเกินไป
B

16 B ดูขั้นตอนที่ 29
A
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–315

6 อานขอมูลใน DATA LIST (MAP, MAF, FUEL PRESS) 1


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา 3
• MAP
• MAF
• Fuel Press 5
คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต*1 คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด 10
สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
เดินเบา
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง 788
มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิว้ ปรอท)


A (คามาตรฐาน)
B (ทั้ง MAP และ MAF
แรงดันภายในทอรวม 11
ไอดีตรวจจับโดย
MAP 110 ถึง 135 กิโลปาสคาล (825 ถึง ไมอยูในคามาตรฐาน)
เซ็นเซอรแรงดันอากาศ
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต)
1,013 มม.ปรอท, 32.5 ถึง 39.9 นิว้ ปรอท) • C (เฉพาะ MAP เทานั้นที่
เขา
12
ต่ําสุด: 195 กิโลปาสคาล ไมอยูใ นคามาตรฐาน)
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
(1,463 มม.ปรอท, 57.6 นิ้วปรอท)
สวิตชจดุ ระเบิด ON (เครือ่ งยนตไมทาํ งาน) 0 กรัม/วินาที • A (คามาตรฐาน)
13
เดินเบา 5 ถึง 12 กรัม/วินาที • B (ทั้ง MAP และ MAF ปริมาณอากาศเขาตรวจ
MAF *2
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 28 ถึง 46 กรัม/วินาที ไมอยูในคามาตรฐาน) จับโดยมาตรวัดปริมาณ 14
• D (เฉพาะ MAF เทานัน้ ที่ อากาศ
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 กรัม/วินาที ไมอยูใ นคามาตรฐาน)
เดินเบา 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล
15
• A (คามาตรฐาน)
2,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 40 ถึง 50 เมกกะปาสคาล แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
Fuel Press E (แรงดันเชือ้ เพลิง
3,000 รอบ/นาที (ไมมภี าระเครือ่ งยนต) 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล

ไมอยูในคามาตรฐาน)
คอมมอนเรล 16
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 เมกกะปาสคาล
ขอแนะนํา:
*1
17
: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
*2
: เมื่อมาตรวัดปริมาณอากาศบกพรอง สัญญาณ MAF อาจเบี่ยงเบนจากคามาตรฐาน (ที่อางอิง) เมื่อเครื่องยนตเดินเบา 19
และเรงความเร็วเต็มที่จาก 3,000 ถึง 4,000 รอบ/นาที
B ดูขั้นตอนที่ 25 26
C ดูที่รหัส P0105/35, P0107/35 และ P0108/35 27
(เกีย่ วของกับเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอ รวม)
(ดูหนา 05-103) 28
D ดูที่รหัส P0100/31, P0102/31 และ P0103/31 29
(เกีย่ วของกับมาตรวัดปริมาณอากาศ) (ดูหนา 05-97)
ขอแนะนํา: 30
การตรวจสอบมาตรวัดปริมาณอากาศดวยตานาจะไดผลดี
31
E ดูขั้นตอนที่ 32
A
32
05–316 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME)
(ก) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
2 • Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4
• Injection Volume
3 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครือ่ งยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
5 Injection Feedback คาปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงของหัวฉีดเพือ่ ชดเชย
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
Val #1 สภาวะการเผาไหมทแี่ ตกตางกันของสูบตางๆ
10 Injection Feedback • คาเปนบวกแสดงการควบคุมที่ปรับแก
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
Val #2 การหยอนประสิทธิภาพการเผาไหม
11 Injection Feedback
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
• คาเปนลบแสดงการควบคุมที่ปรับแก
Val #3 • A (คามาตรฐาน) แรงดันการเผาไหมมากเกินไป
12 Injection Feedback
• B (ปริมาตรการฉีด • ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิง
เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม. 3
เชื้อเพลิงที่ปรับแก ที่ปรับแกใหมอาจมีคาเบี่ยงเบนจาก
Val #4
ใหม และ/หรือ -3.0 มม. และ 3.0 มม.
13 ปริมาตรการฉีดเชื้อ คาปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงถูกควบคุมโดย ECU
เพลิงไมอยูในคา • ควบคุมสัญญาณ NE, อุณหภูมิเชื้อเพลิง,
14 มาตรฐาน) อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต, อุณหภูมิ
อากาศเขา, แรงอัดอากาศ, แรงดันบรรยากาศ,
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
15 ปริมาณ EGR, และ MAF ทีร่ ะดับสัญญาณ
เปาหมาย
16 • ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีดเชือ ้ เพลิง
อาจไมอยูในคามาตรฐาน
17 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
19 B ดูขั้นตอนที่ 15
26 A

27 8 ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (ดูหนา 05-28)


28 ขอแนะนํา:
ถาลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดไมถูกตอง อาจเปนสาเหตุใหเกิดความผิดปกติได (ดูหนา 05-28)
29 ปกติ: รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่ติดตั้งและ ECM เหมือนกัน

30 บกพรอง ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
(ดูหนา 05-33)
31 ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–317

9 ถอดขั้วลบแบตเตอรี่ 1
(ก) ปลดสายออกจากขั้วลบแบตเตอรี่ (-) อยางนอย 2 นาที
(ข) ตอสายขั้วลบ (-) กลับเขาแบตเตอรี่ 2
(ค) ตรวจเช็ควาความบกพรองไดรบั การแกไขเรียบรอยแลวหรือไมโดยทําการทดสอบขับโดยใชขอ มูลสภาพเครือ่ งยนต
ที่ถูกบันทึกไว ณ เวลาเกิดปญหา 3
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
5
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
(ดูหนา 05-25) 10
บกพรอง 11
10 ไลลมออกจากระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-7) 12
(ก) ไลอากาศออกจากปมมือ และปมที่ปมมือจนกวาจะปมอีกไมได 13
ตอไป
14
11 ตรวจยืนยันวาไดแกไขการไมมีกําลังเรียบรอยแลว
15
(ก) ตรวจเช็ควาไดแกไขการไมมีกําลังเรียบรอยแลวโดยทําการทดสอบขับ
โดยใชขอมูลสภาพเครื่องยนตที่บันทึกไว ณ เวลาที่เกิดปญหา 16
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
17
ปกติ จบขั้นตอน
บกพรอง 19
26
27
28
29
30
31
32
05–318 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 12 ตรวจสอบชุดหัวเผา
(ก) ปลดสายไฟหัวเผา
โอหมมิเตอร
2 (ข) วัดความตานทานของหัวเผา
(ค) ตรวจเช็คหัวเผาอืน่ ในวิธีเดียวกัน
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
ขั้วหัวเผา – กราวดตัวถัง 20 C (68๐F)

ประมาณ 0.95 Ω
5 ความตานทาน ขอแนะนํา:
ถาหัวเผาใดหัวเผาหนึง่ มีปญ
 หาวงจรขาด กําลังเครือ่ งยนตจะไมเพียงพอ
10 A99235
เฉพาะเมื่อเครื่องเย็นเทานั้น
ขอควรระวัง:
11 • ปฏิบัติอยางระมัดระวังเปนพิเศษโดยไมทําใหทอหัวเผาชํารุด
เสียหาย เพราะความเสียหายอาจทําใหเกิดวงจรขาด หรืออายุ
12 การใชงานของหัวเผาสั้นลง
• ขณะทําความสะอาดอยาใหหวั เผาเปอ นน้าํ มันหรือน้าํ มันเชือ้ เพลิง
13 • ระหวางการตรวจสอบ ใหใชผาแหงสะอาดๆ เช็ดน้ํามันเครื่อง
ออกจากขั้วไฟฟาและแหวนรอง
14 • อยาจายแรงดันไฟฟาแกหวั เผาเกิน 11 V เพราะจะทําใหวงจรขาดได
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดหัวเผา (ดูหนา 19-19)
15 ปกติ

16 13 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26)


(ก) ตรวจเช็คคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง
17 (ข) ตรวจเช็คฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
(ค) ตรวจเช็คการอุดตันของระบบเชื้อเพลิง
19 (ง) ตรวจเช็คไสกรองอากาศ
(จ) ตรวจเช็คน้ํามันเครื่อง
26 (ฉ) ตรวจเช็คน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
(ช) ตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบาและความเร็วรอบสูงสุด
27 (ซ) ตรวจเช็คปมสุญญากาศ
ปกติ: ผลการตรวจสอบแตละจุดเปนปกติ
28 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ
29 14 ตรวจเช็คระบบไอดีและไอเสีย
30 (ก) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางกรองอากาศกับเทอรโบชารจเจอร
(ข) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางเทอรโบชารจเจอรกับทอรวมไอดี
31 ปกติ: ไมมีการรั่วของอากาศหรือการอุดตัน
ตอไป
32
จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–319

15 ระบุหัวฉีดที่บกพรอง 1
(ก) ปฏิบัติตามวิธีการในตารางดานลางใหสอดคลองกับผลการตรวจเช็คเมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
ขอแนะนํา: 2
การทํางานนี้ยึดถือตามหลักวาแรงดันคอมมอนเรลปกติ
คามาตรฐาน: 3
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3 5
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
ขอแนะนํา:
10
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ 11
ผลที่ได:
Injection Volume
Injection Feedback Val #1 ถึง #4
ต่ํากวา 5.0 มม.3 ระหวาง 5.0 ถึง 12.0 มม.3
(ปกติ)
มากกวา 12.0 มม.3
12
3.0 มม.3 หรือมากกวา -3.0 มม.3 หรือนอยกวา A B B
ระหวาง -3.0 ถึง 3.0 มม.3 – ปกติ C*
13
ปฏิบัติตามขอ จุดที่ตรวจสอบ รายละเอียด
ตรวจสอบและซอมหัวฉีดที่ปริมาตรการฉีด 14
เชื้อเพลิงปรับแกแลวต่ํากวา -3.0 มม.3: หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
A
ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังและระบุ ปริมาณที่มากเกินไป 15
สูบทีบ่ กพรองเปลีย่ นหัวฉีดของสูบทีบ่ กพรอง
หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
ระบุสูบที่บกพรองโดยทําการทดสอบความสม
ปริมาณที่นอยเกินไป
16
ดุลของกําลัง:
• ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก
B
• ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังเพื่อ
สวนหัวฉีดอุดตันดวยตะกอน 17
ระบุสูบที่บกพรอง
• กําลังอัดหัวฉีดที่มีคาผิดปกติลดลง
• ทําความสะอาดหัวฉีดที่บกพรอง แลวตรวจ
เช็คและซอมหัวฉีด
• หัวฉีดที่มีคา ผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน 19
ปริมาณที่มากเกินไป
ตรวจสอบและซอมหัวฉีดทุกหัว:
หัวฉีดทุกหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณที่ 26
นอยเกินไป:
C ทําความสะอาดหัวฉีดทุกหัว แลวจึงตรวจสอบ
ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก 27
และซอม
สวนหัวฉีดทุกหัวอุดตันดวยตะกอน
ขอแนะนํา: 28
*: เมื่อปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) มาก ทั้งที่ Fuel Press และ Injection Feedback
Val #1 ถึง #4 ในการแสดงขอมูล (Data List) เปนปกติ แตหวั ฉีดอาจมีปญ  หาการอุดตัน ในกรณีนี้ อาจเปนตะกอนภายใน 29
หรือภายนอกหัวฉีดก็ได
• ทั้งที่การทํางานของหัวฉีดปกติ แตคา Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจไมอยูในคาการทํางานปกติ เนื่องจาก
ปญหาการฉีดชดเชยอื่นๆ (เชน กําลังอัดฉีดต่ํา) 30
• Injection Feedback Val #1 ถึง #4 คือคาที่ใชในการปรับแกปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงของแตละสูบ เพื่อใหไดรบั
ประโยชน (ชดเชยความไมเสมอกัน) จากสภาวะการเผาไหมของทุกสูบมากทีส่ ดุ ถามีสบู ใดผิดปกติ ปริมาตรการฉีด 31
เชือ้ เพลิงสําหรับสูบปกติกจ็ ะไดรบั การปรับแกไปพรอมกัน ผลคือ Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจเบีย่ งเบน
จากคามาตรฐานได 32
05–320 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 B ดูขั้นตอนที่ 17

C ดูขั้นตอนที่ 22
2
A
3
16 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)
5
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
10 (ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 and #4
11 (ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
ขอแนะนํา:
12 • ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดงวา
สูบนั้นบกพรอง
13 • ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
14 ตอไป

15 เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)


16 17 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)

17 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3


(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
19 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 and #4
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
26 ขอแนะนํา:
• ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดงวา
27 สูบนั้นบกพรอง
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
28 ตอไป
29
18 ตรวจเช็คแรงดันกําลังอัดกระบอกสูบของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 14-1)
30 ปกติ: แรงดันกําลังอัดกระบอกสูบเปนปกติ
31 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน

32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–321

19 ตรวจหาตะกอนในการฉีดเชื้อเพลิงของสูบที่บกพรอง 1
ขอแนะนํา:
ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได 2
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
ผลที่ได: 3
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
มีตะกอน A 5
ไมมีตะกอน B
10
B เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
A 11
20 ทําความสะอาดหัวฉีด 12
ตอไป 13
21 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME) 14
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ 15
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 16
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List 17
(ฉ) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคาที่ปรากฏบนหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4 19
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 26
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
27
Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3
ขอแนะนํา: 28
*: ควรปดสวิตชเครื่องปรับอากาศและสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ เมื่อคาที่ไดไมอยูในคา
มาตรฐาน ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด 29
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13) 30
ปกติ 31
จบขั้นตอน 32
05–322 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 22 ตรวจหาตะกอนในหัวฉีดทุกหัว
ขอแนะนํา:
2 ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
3 ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
5 มีตะกอน A
ไมมีตะกอน B
10 B เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
11 A

12 23 ทําความสะอาดหัวฉีด

13 ตอไป

14 24 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME)
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
15 (ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
16 (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
17 (จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ฉ) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4
19 • Injection Volume
คามาตรฐาน:
26 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -3.0 ถึง 3.0 มม.3
27 Injection Volume เดินเบา 5.0 ถึง 12.0 มม.3

28 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตชเครื่องปรับอากาศและสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ เมื่อคาที่ไดไมอยูในคา
29 มาตรฐาน ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
30 บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
31 ปกติ

32 จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–323

25 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7) 1


ขอแนะนํา:
ในการตรวจสอบนี้ ใหวัดอัตราการไหลอากาศในขณะเดินเบาโดยที่วาลว EGR ปดสนิท 2
(ก) ตรวจดูใหแนใจวาเครื่องยนตไมทํางาน
(ข) ปลดขั้วตอ E-VRV สําหรับ EGR 3
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 5
(จ) สตารทเครื่องยนต
(ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List / MAF 10
(ช) วัดอัตราการไหลของอากาศ (MAF) ในขณะเดินเบาเครื่องยนต
คามาตรฐาน: อัตราการไหลอากาศอยูระหวาง 5 ถึง 12 กรัม/วินาที 11
ขอแนะนํา:
เนื่องจากขั้วตอ E-VRV สําหรับ EGR ถูกปลดออก รหัสวิเคราะหปญหาจึงปรากฏขึ้นเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่
ตําแหนง ON ดังนั้น ใหลบรหัสวิเคราะหปญหาเมื่อเสร็จการตรวจสอบดังกลาวแลว (ดูหนา 05-51) 12
บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10) 13
ปกติ
14
26 ตรวจสอบชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล (ดูคูมือการซอมในเรื่องของการตรวจสอบการทํางานและการตรวจสอบ
ดวยตาเปลา) (ดูหนา 10-6) 15
ปกติ: ไมผิดปกติ 16
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 10-11)
ปกติ 17

27 ตรวจเช็คระบบไอดีและไอเสีย 19
(ก) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางกรองอากาศกับเทอรโบชารจเจอร 26
(ข) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางเทอรโบชารจเจอรกับทอรวมไอดี
ปกติ: ไมมีการรั่วของอากาศหรือการอุดตัน 27
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
28
ปกติ
29
28 ตรวจเช็คทอรวมไอดี (การทํางานของวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศ)
(ก) ตรวจเช็ควาวาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศเลื่อนไดคลองดีหรือไม (ดูหนา 13-4) 30
ปกติ: วาลวควบคุมการหมุนเวียนอากาศเลื่อนไดคลอง
31
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 13-6)
ปกติ 32
05–324 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 29 ตรวจเช็คชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ปญหากลไก) (ดูหนา 13-22)


(ก) ปลดทอกรองอากาศ
2 (ข) ใชกระจกเพื่อตรวจสอบปญหากลไกตางๆ ของเทอรโบชารจเจอรดวยตาเปลา
(ค) เมื่อเครือ่ งยนตเย็น ตรวจเช็ควาใบพัดของเทอรโบชารจเจอรหมุนไดคลอง และทําการตรวจเช็คหนาสัมผัสเพื่อ
3 ตรวจยืนยันวามีการชํารุดเสียหายหรือไม
ปกติ: ใบพัดหมุนไดคลองโดยไมมีการชํารุดเสียหาย
5 บกพรอง เปลีย่ นชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-27)
10 ปกติ

11 30 ตรวจเช็คแอ็คชิวเอเตอรของเทอรโบชารจเจอร

12 บกพรอง เปลีย่ นชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-27)


13 ปกติ

14 31 ตรวจยืนยันวาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
15 (ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
16 (ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• MAP
17 • MAF
คามาตรฐาน:
19 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
ต่ําสุด: 195 กิโลปาสคาล
MAP 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
(1,463 มม.ปรอท, 57.6 นิ้วปรอท)
26 MAF 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 กรัม/วินาที
ขอแนะนํา:
27 *: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐานและความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
28
บกพรอง เปลีย่ นชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-27)
29 ปกติ
30 จบขั้นตอน
31 32 ตรวจเช็คและเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
32 ตอไป
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–325

33 ตรวจยืนยันวาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 1
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ง) เลือกเมนูรายการตอไปนี้และอานคา 3
• Fuel Press
คามาตรฐาน: 5
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Fuel Press เดินเบา 30 ถึง 40 เมกกะปาสคาล 10
Fuel Press 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 40 ถึง 50 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 50 ถึง 70 เมกกะปาสคาล 11
Fuel Press 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 150 เมกกะปาสคาล
ขอแนะนํา: 12
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน 13
ปกติ จบขั้นตอน 14
บกพรอง
15
34 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-5) 16
บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23) 17
ปกติ
19
35 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง) 26
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9
เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 27
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
28
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา
F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา
29
VC E2
PR A62213 บกพรอง เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (ดูหนา 11-29) 30
ปกติ 31
ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (ลิ้นจํากัดแรงดัน) (ดูหนา 11-5) 32
05–326 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 ไมมีกําลังหรือชะงัก (2KD-FTV)
2 ขอแนะนํา:
ขัน้ ตอนการคนหาสาเหตุปญ
 หานีเ้ พือ่ ตรวจเช็คอาการไมมกี าํ ลังทีส่ งั เกตไดชดั เจน (เชน ความเร็วสูงสุดชาลงมาก เปนตน)
3 ในขณะขับรถ
5 คําอธิบายผังวงจร
สภาพปญหา จุดที่เปนปญหาหลัก จุดที่สัมพันธกับปญหา
10 • ลิ้นจํากัดแรงดัน
• ระบบไอดีรั่ว
(ก) หัวฉีดบกพรอง ระบบไอดีอุดตัน
11 • ปญหาการเลื่อนตัวของหัวฉีด

• ระบบ EGR
• หัวฉีดปดติดขัด • กรองเชื้อเพลิงอุดตัน
12 • ไมมีกําลังเนื่องมาจากปริมาตรการฉีดเชื้อ • หัวฉีดเปดติดขัด
• ระบบลิ้นเรง
เพลิงผิดปกติ (ความบกพรองของปมจาย • ตะกอนในหัวฉีด • แรงดันในการอัด
เชื้อเพลิงหรือความบกพรองของหัวฉีด)
13 • ไมมกี าํ ลังเนือ่ งมาจากขาดแคลนปริมาณอากาศ
• วงจรหัวฉีดบกพรอง • รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
(ข) แรงดันคอมมอนเรลผิดปกติ • เชื้อเพลิงรั่ว
เขา (ความบกพรองของเทอรโบชารจเจอร,
14 ทอไอเสียดานหนา หรือคอนเวอรเตอรทอ
• ปมจายเชื้อเพลิง • หัวเผา
(ค) ปริมาณอากาศเขาผิดปกติ • เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง
รวมไอเสียอุดตัน)
EDU (P0200/97 ปรากฏขึ้นพรอมกัน)
15 • เทอรโบชารจเจอร •
• การดัดแปลงรถ
• การอุดตันของทอไอเสียดานหนา
• การอุดตันของคอนเวอรเตอรทอรวมไอเสีย • น้ํามันเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํา
16 • น้ํามันเชื้อเพลิงจับตัวเปนกอน
• ECM
17 ขอแนะนํา:
• คาทีก่ าํ หนดในแผนภูมกิ ารคนหาสาเหตุปญ  หาตอไปนีเ้ ปนเพียงขอมูลอางอิงเทานัน้ คาของผลขอมูลใน DATA LIST
19 อาจเกิดความแตกตางกันได ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั สภาพการวัดหรืออายุของรถ อยาตัดสินวารถเปนปกติแมวา คาของขอมูล
ใน DATA LIST จะแสดงคาระดับมาตรฐานก็ตาม เพราะอาจมีองคประกอบอื่นๆ ของปญหาที่ซอนเรนอยูบาง
26 ประการ
27 • ตรวจเช็ควารถไดรับการดัดแปลงดวยวิธีการใดกอนที่จะตรวจสอบรถ
ขั้นตอนการตรวจสอบ
28
1 ตรวจเช็คขั้วตอและชุดสายไฟในหองเครื่องยนต
29 (ก) ตรวจเช็คการตอขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ: ขั้วตอและชุดสายไฟตอแนนหนาดี
30
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
31
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–327

2 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับระบบเชื้อเพลิงและระบบไอดี) 1
ขอแนะนํา:
ขับรถตามรูปแบบการขับขีด่ า นลางเพือ่ ให ECM ปรากฏรหัสวิเคราะหปญ  หาทีเ่ กีย่ วของกับความผิดปกติของระบบเชือ้ เพลิง 2
ระบบ EGR และลิ้นเรง ถารหัสวิเคราะหปญหาใดปรากฏขึ้น จะสามารถระบุจุดที่เปนปญหาได
(ก) เขาสูโหมดการตรวจเช็ค (CHECK MODE) (ดูหนา 05-53) 3
(ข) อุนเครื่องยนตเต็มที่
(ค) ปลอยใหเครื่องยนตเดินเบาประมาณ 5 นาทีขึ้นไป 5
(ง) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 40 กม./ชม. (25 ไมล/ชม.) สักครูหนึ่ง
(จ) ชลอความเร็วลงและหยุดรถ 10
(ฉ) ทําซ้ําขั้นตอน (ฉ) และ (ช) 4 ครั้งขึ้นไป
(ช) หยุดรถและคอยอยางนอย 10 วินาที 11
(ซ) ทําซ้าํ ขัน้ ตอน (ฉ) และ (ซ) ทีอ่ ธิบายไวดา นบน (เพือ่ ใหรหัสวิเคราะหปญ  หาทีเ่ กีย่ วของกับระบบ EGR และลิน้ เรง
ปรากฏขึ้น)
(ฌ) ขับรถดวยความเร็วสูงกวา 70 กม./ชม. (43 ไมล/ชม.) อยางนอย 1 นาที (เพื่อใหรหัสวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของ 12
กับปมจายเชื้อเพลิงปรากฏขึ้น)
13
ตอไป
14
3 อานรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏออกมา (เกี่ยวของกับเครื่องยนต)
(ก) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / DTC 15
(ข) อานรหัสวิเคราะหปญหาที่คางอยู
ผลที่ได: 16
แสดงผล (ขอมูลรหัสวิเคราะหปญหา) ปฏิบัติตามขอ
ไมมีรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-41) A 17
รหัสวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับเครื่องยนต (ดูหนา 05-62) B

B ซ อ มหรื อ เปลี่ ย นระบบควบคุมเครื่องยนตตาม 19


รหัสวิเคราะหปญ  หาทีป่ รากฏออกมา (ดูหนา 05-62)
A 26
4 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ทดสอบการรั่วของเชื้อเพลิง) 27
ขอแนะนํา: 28
จากการทดสอบ Active Test โดยรักษาความเร็วรอบเครือ่ งยนตที่ 2,000 รอบ/นาที และเพิม่ แรงดันเชือ้ เพลิงภายในคอมมอนเรล
จนถึงแรงดันการทํางานสูงสุด ผลก็คอื สามารถทําการตรวจเช็คน้าํ มันรัว่ ไดในสภาวะขณะทีแ่ รงดันคอมมอนเรลยังคงสูงอยู 29
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 30
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Test the Fuel Leak
(ง) ตรวจดูปม เชือ้ เพลิง หัวฉีดและทอทางเชือ้ เพลิงทีต่ ดิ ตัง้ อยูร ะหวางปม จายเชือ้ เพลิงกับคอมมอนเรล เพือ่ หารอยรัว่ ของ 31
เชือ้ เพลิงและรอยรัว่ ของแรงดันเชือ้ เพลิง และทําการตรวจเช็คเชนเดียวกันนีก้ บั ทอทางเชือ้ เพลิงระหวางคอมมอนเรล
กับหัวฉีดดวย (ดูหนา 11-4) 32
05–328 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

ขอแนะนํา:
1 อาจมีรอยรั่วของเชื้อเพลิงภายในสวนประกอบตางๆ เชน ปมจายเชื้อเพลิง
ปกติ: ไมมีการรั่ว
2
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
3 ปกติ
5
5 ตรวจเช็คควันขาว
10 (ก) เรงเครื่องจากความเร็วรอบเดินเบาจนถึง 3,000 รอบ/นาทีหลายๆ ครั้ง เพื่อตรวจเช็ควาควันขาวถูกปลอยออกมา
จากทอไอเสียหรือไม
11 (ข) ตรวจเช็ควาทอยางและทอทางของระบบไอดีไมปนเปอนดวยน้ํามันมากเกินไป
ขอแนะนํา:
12 ถาควันขาวถูกปลอยออกมาจากระบบไอดี แสดงวาทอยางและทอทางของระบบปนเปอ นดวยน้าํ มันมากเกินไป ถาไดรบั
13 การยืนยันวามีควันขาวอยูใ นแกสไอเสีย ปญหาทางดานกลไกในเทอรโบชารจเจอรหรือเครือ่ งยนตจะมีความเปนไปไดสงู
ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
14 ไมมีปญหาที่อธิบายไวดังกลาว A
ควันขาวถูกปลอยออกมา หรือทอยางและทอทางของระบบไอดีปนเปอนดวย
15 น้ํามันมากเกินไป
B

16 B ดูขั้นตอนที่ 27
A
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–329

6 อานขอมูลใน DATA LIST (MAP, FUEL PRESS) 1


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 2
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา 3
• MAP
• Fuel Press
คามาตรฐาน: 5
ไมมี CAC
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด 10
สวิตชจุดระเบิด ON (เครื่องยนตไมทํางาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ
เดินเบา
95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง
แรงดันภายในทอรวม 11
788 มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิ้วปรอท) • A (คามาตรฐาน)
ไอดีตรวจจับโดย
MAP 113 ถึง 133 กิโลปาสคาล (848 ถึง • B (MAP ไมอยูในคา
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต)
998 มม.ปรอท, 33.4 ถึง 39.3 นิว้ ปรอท) มาตรฐาน)
เซ็นเซอรแรงดันอากาศ 12
เขา
ต่ําสุด: 175 กิโลปาสคาล (1,313 มม.
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่)
ปรอท, 51.7 นิ้วปรอท) 13
เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
• A (คามาตรฐาน)
2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล แรงดันเชื้อเพลิงภายใน
Fuel Press
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล
• C (แรงดันเชื้อเพลิง
คอมมอนเรล 14
ไมอยูในคามาตรฐาน)
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 121 เมกกะปาสคาล
มี CAC 15
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
สวิตชจุดระเบิด ON (เครื่องยนตไมทํางาน) เทากันกับแรงดันบรรยากาศ 16
เดินเบา 95 ถึง 105 กิโลปาสคาล (713 ถึง
แรงดันภายในทอรวม
788 มม.ปรอท, 28.1 ถึง 31 นิ้วปรอท) • A (คามาตรฐาน)
MAP 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 110 ถึง 130 กิโลปาสคาล (825 ถึง • B (MAP ไมอยูในคา
ไอดีตรวจจับโดย 17
เซ็นเซอรแรงดันอากาศ
975 มม.ปรอท, 32.5 ถึง 38.4 นิว้ ปรอท) มาตรฐาน)
เขา
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 178 กิโลปาสคาล 19
(1,335 มม.ปรอท, 52.6 นิ้วปรอท)
เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
• A (คามาตรฐาน)
แรงดันเชื้อเพลิงภายใน 26
Fuel Press • C (แรงดันเชื้อเพลิง
3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล คอมมอนเรล
ไมอยูในคามาตรฐาน)
3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 145 เมกกะปาสคาล 27
ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ 28
B ดูที่รหัส P0105/35, P0107/35 และ P0108/35 29
(เกี่ยวของกับเซ็นเซอรแรงดันสัมบูรณทอรวม)
(ดูหนา 05-105) 30
C ดูขั้นตอนที่ 30 31
A
32
05–330 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 7 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME)
(ก) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
2 • Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4
• Injection Volume
3 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครือ่ งยนต* คามาตรฐาน ปฏิบัติตามขอ รายละเอียด
5 Injection Feedback คาปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงของหัวฉีดเพือ่ ชดเชย
เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
Val #1 สภาวะการเผาไหมทแี่ ตกตางกันของสูบตางๆ
10 Injection Feedback เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 • คาเปนบวกแสดงการควบคุมที่ปรับแก
Val #2 การหยอนประสิทธิภาพการเผาไหม
11 Injection Feedback เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
• A (คามาตรฐาน)
• คาเปนลบแสดงการควบคุมที่ปรับแก
Val #3 แรงดันการเผาไหมมากเกินไป
• B (Injection
12 Injection Feedback เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 Feedback Val #1 ถึง
• ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีดเชือ ้ เพลิง
Val #4 ทีป่ รับแกใหมอาจมีคา เบีย่ งเบนจาก
#4 และ/หรือ
-4.9 มม. และ 4.9 มม.
13 ปริมาตรการฉีด
คาปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงถูกควบคุมโดย ECU
เชื้อเพลิงไมอยูใน
• ควบคุมสัญญาณ NE, อุณหภูมิเชื้อเพลิง,
14 คามาตรฐาน)
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต, อุณหภูมิ
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3 อากาศเขา, แรงอัดอากาศ, แรงดันบรรยากาศ
15 และปริมาณ EGR
• ถาปญหามีอยูจ ริง ปริมาตรการฉีดเชือ ้ เพลิง
16 อาจไมอยูในคามาตรฐาน
ขอแนะนํา:
17 *: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่

19 B ดูขั้นตอนที่ 17
A
26
8 ตรวจเช็ครหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด (ดูหนา 05-28)
27
ขอแนะนํา:
28 ถาลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดไมถูกตอง อาจเปนสาเหตุใหเกิดความผิดปกติได (ดูหนา 05-28)
ปกติ: รหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีดที่ติดตั้งและ ECM เหมือนกัน
29
บกพรอง ลงทะเบียนรหัสการฉีดชดเชยของหัวฉีด
30 (ดูหนา 05-33)
ปกติ
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–331

9 ถอดขั้วลบแบตเตอรี่ 1
(ก) ปลดสายออกจากขั้วลบแบตเตอรี่ (-) อยางนอย 2 นาที
(ข) ตอสายขั้วลบ (-) กลับเขาแบตเตอรี่ 2
(ค) ตรวจเช็ควาความบกพรองไดรบั การแกไขเรียบรอยแลวหรือไมโดยทําการทดสอบขับโดยใชขอ มูลสภาพเครือ่ งยนต
ที่ถูกบันทึกไว ณ เวลาเกิดปญหา 3
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
5
ปกติ ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
(ดูหนา 05-25) 10
บกพรอง 11
10 ไลอากาศออกจากระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-7) 12
(ก) ไลอากาศออกจากปมมือ และปมที่ปมมือจนกวาจะปมอีกไมได 13
ตอไป
14
11 ตรวจยืนยันวาไดแกไขการไมมีกําลังเรียบรอยแลว
15
(ก) ตรวจเช็ควาไดแกไขการไมมีกําลังเรียบรอยแลวโดยทําการทดสอบขับ โดยใชขอมูลสภาพเครื่องยนตที่บันทึกไว
ณ เวลาที่เกิดปญหา 16
ปกติ: ความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
17
ปกติ จบขั้นตอน
บกพรอง 19
26
27
28
29
30
31
32
05–332 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 12 ตรวจสอบชุดหัวเผา

โอหมมิเตอร (ก) ปลดสายไฟหัวเผา


2 (ข) วัดความตานทานของหัวเผา
(ค) ตรวจเช็คหัวเผาอืน่ ในวิธีเดียวกัน
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
5 ขั้วหัวเผา - กราวดตัวถัง 20°C (68°F) ประมาณ 0.95 Ω
ขอแนะนํา:
10 A99235

ถาหัวเผาใดหัวเผาหนึง่ มีปญ หาวงจรขาด กําลังเครือ่ งยนตจะไมเพียงพอ


11 เฉพาะเมื่อเครื่องเย็นเทานั้น
ขอควรระวัง:
12 • ปฏิบัติอยางระมัดระวังเปนพิเศษโดยไมทําใหทอหัวเผาชํารุด
เสียหาย เพราะความเสียหายอาจทําใหเกิดวงจรขาด หรืออายุ
13 การใชงานของหัวเผาสั้นลง
• ขณะทําความสะอาดอยาใหหวั เผาเปอ นน้าํ มันหรือน้าํ มันเชือ้ เพลิง
14 • ระหวางการตรวจสอบ ใหใชผาแหงสะอาดๆ เช็ดน้ํามันเครื่อง
ออกจากขั้วไฟฟาและแหวนรอง
15 • อยาจายแรงดันไฟฟาแกหัวเผาเกิน 11 V เพราะจะทําใหวงจร
ขาดได
16
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 19-19)
17 ปกติ
19
13 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 05-26)
26 (ก) ตรวจเช็คคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง
(ข) ตรวจเช็คฟองอากาศในน้ํามันเชื้อเพลิง
27 (ค) ตรวจเช็คการอุดตันของระบบเชื้อเพลิง
(ง) ตรวจเช็คไสกรองอากาศ
28 (จ) ตรวจเช็คน้าํ มันเครื่อง
29 (ฉ) ตรวจเช็คน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
(ช) ตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบาและความเร็วรอบสูงสุด
30 (ซ) ตรวจเช็คปมสุญญากาศ
ปกติ: ผลการตรวจสอบแตละจุดเปนปกติ
31 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–333

14 ตรวจเช็คระบบไอดีและไอเสีย 1
(ก) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางกรองอากาศกับเทอรโบชารจเจอร
(ข) ตรวจหาการรั่วของอากาศและการอุดตันใดๆ ระหวางเทอรโบชารจเจอรกับทอรวมไอดี 2
ปกติ: ไมมีการรั่วของอากาศหรือการอุดตัน
3
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ
5
10
15 ตรวจสอบชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-7)
ขอแนะนํา:
11
จํานวนการยกวาลว EGR สามารถตรวจเช็คไดโดยใชสัญญาณของเซ็นเซอรตําแหนง EGR
12
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
E8
ECM
E7
ECM
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 13
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 14
E7-33 (EGLS) - E8-28 (E2) สวิตชจุดระเบิด ON A (0.3 ถึง 1.3 V)
E2 (-) EGLS (+) (ค) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 15
A66060
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ ECM 16
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 17
E7-33 (EGLS) - E8-28 (E2) เดินเบา: 750 รอบ/นาที A + (1.91 ถึง 2.70 V)
ขอแนะนํา: 19
เดินเบาเครื่องยนตโดยไมเปดเครื่องปรับอากาศ (สวิตช A/C OFF)
และเลือ่ นคันเกียรไปทีต่ าํ แหนง N เครือ่ งยนตไมควรมีการตกตะกอน 26
หลังจากอุนเครื่องแลว
27
บกพรอง เปลี่ยนชุดวาลว EGR (ดูหนา 12-10)
28
ปกติ
29
16 ตรวจสอบชุดเรือนลิ้นเรงดีเซล (ดูหนา 10-6)
ปกติ: ไมผิดปกติ
30
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน (ดูหนา 10-11) 31
ปกติ 32
05–334 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 17 ระบุหัวฉีดที่บกพรอง
(ก) ปฏิบัติตามวิธีการในตารางดานลางใหสอดคลองกับผลการตรวจเช็คเมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
2 ขอแนะนํา:
การทํางานนี้ยึดถือตามหลักวาแรงดันคอมมอนเรลปกติ
3 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
5 Injection Feedback Val #1 ถึง #4
Injection Volume
เดินเบา
เดินเบา
-4.9 ถึง 4.9 มม.3
3.0 ถึง 10.0 มม.3

10 ข*:อควรป
แนะนํา:
ดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
ผลที่ได:
11 Injection Volume ต่ํากวา 3.0 มม. 3
ระหวาง 3.0 ถึง 10.0 มม. 3
มากกวา 10.0 มม.3
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 (ปกติ)
12 4.9 มม.3 หรือมากกวา -4.9 มม.3 หรือนอยกวา
ระหวาง -4.9 ถึง 4.9 มม.3
A B B
– ปกติ C*

13 ปฏิบัติตามขอ จุดที่ตรวจสอบ รายละเอียด


ตรวจสอบและซอมหัวฉีดที่ปริมาตรการฉีด
14 A
เชื้อเพลิงปรับแกแลวต่ํากวา -4.9 มม.3: หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังและระบุ ปริมาณที่มากเกินไป
15 สูบทีบ่ กพรอง เปลีย่ นหัวฉีดของสูบทีบ่ กพรอง
หัวฉีดที่มีคาผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
ระบุสูบที่บกพรองโดยทําการทดสอบความสม
ปริมาณที่นอยเกินไป
16 ดุลของกําลัง:
• ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก
• ทําการตรวจสอบความสมดุลของกําลังเพื่อ
B สวนหัวฉีดอุดตันดวยตะกอน
17 ระบุสูบที่บกพรอง
• กําลังอัดหัวฉีดที่มีคาผิดปกติลดลง
• ทําความสะอาดหัวฉีดที่บกพรอง แลวตรวจ
• หัวฉีดที่มีคา ผิดปกติฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงใน
เช็คและซอมหัวฉีด
19 ปริมาณที่มากเกินไป
หัวฉีดทุกหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงในปริมาณที่
ตรวจสอบและซอมหัวฉีดทุกหัว:
26 C ทําความสะอาดหัวฉีดทุกหัว แลวจึงตรวจสอบ
นอยเกินไป:
ปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงต่ําเกินไปเนื่องจาก
และซอม
สวนหัวฉีดทุกหัวอุดตันดวยตะกอน
27
ขอแนะนํา:
28 *: เมื่อปริมาตรการฉีดเชื้อเพลิงที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) มาก ทั้งที่ Fuel Press และ Injection Feedback
Val #1 ถึง #4 ในการแสดงขอมูล (Data List) เปนปกติ แตหัวฉีดอาจมีปญหาการอุดตัน ในกรณีนี้ อาจเปนตะกอนภาย
ในหรือภายนอกหัวฉีดก็ได
29 • ทั้งที่การทํางานของหัวฉีดปกติ แตคา Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจไมอยูในคาการทํางานปกติ เนื่อง
จากปญหาการฉีดชดเชยอื่นๆ (เชน กําลังอัดฉีดต่ํา)
30 • Injection Feedback Val #1 ถึง #4 คือคาทีใ่ ชในการปรับแกปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงของแตละสูบ เพือ่ ใหไดรบั
ประโยชน (ชดเชยความไมเสมอกัน) จากสภาวะการเผาไหมของทุกสูบมากทีส่ ดุ ถามีสบู ใดผิดปกติ ปริมาตรการฉีด
31 เชือ้ เพลิงสําหรับสูบปกติกจ็ ะไดรบั การปรับแกไปพรอมกัน ผลคือ Injection Feedback Val #1 ถึง #4 อาจเบีย่ งเบน
จากคามาตรฐานได
32 B ดูขั้นตอนที่ 19
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–335

C ดูขั้นตอนที่ 24 1
A
2
18 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง)
3
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 5
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 and #4
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง 10
ขอแนะนํา:
• ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดงวา 11
สูบนั้นบกพรอง
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
12
ตอไป 13
เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13) 14

19 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ตัดการจายเชื้อเพลิงสําหรับสูบที่ระบุความบกพรอง) 15


(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 16
(ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Active Test / Control the Cylinder #1 Fuel Cut, #2, #3 and #4 17
(ง) ตรวจเช็คทั้ง 4 สูบตามลําดับเพื่อระบุวาสูบใดบกพรองโดยทําการตรวจสอบสมดุลกําลัง
ขอแนะนํา: 19
• ในขณะทีเ่ ครือ่ งยนตเดินเบา ถายังมีการสัน่ สะเทือนเล็กนอยขณะเดินเบาแมจะตัดการฉีดเชือ้ เพลิงแลวก็ตาม แสดงวา
สูบนั้นบกพรอง 26
• ขณะที่สูบปกติ เครื่องยนตเดินเบาไมเรียบเมื่อถูกตัดการฉีดเชื้อเพลิง
27
ตอไป
28
20 ตรวจเช็คแรงดันกําลังอัดกระบอกสูบของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 14-1)
ปกติ: แรงดันกําลังอัดกระบอกสูบเปนปกติ
29
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน 30
ปกติ 31
32
05–336 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 21 ตรวจหาตะกอนในการฉีดเชื้อเพลิงของสูบที่บกพรอง
ขอแนะนํา:
2 ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
3 ผลที่ได:
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
5 มีตะกอน A
ไมมีตะกอน B
10
B เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
11 A

12 22 ทําความสะอาดหัวฉีด
13 ตอไป
14
23 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME)
15 (ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
16 (ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
17 (จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
(ฉ) เลือกเมนูรายการตอไปนี้ตามลําดับและอานคาที่ปรากฏบนหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
19 • Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4
• Injection Volume
26 คามาตรฐาน:
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
27 Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3
28 ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ เมื่อคาที่ไดไมอยูในคามาตรฐาน
29 ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
30
บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของสูบที่บกพรอง (ดูหนา 11-13)
31 ปกติ
32 จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–337

24 ตรวจหาตะกอนในหัวฉีดทุกหัว 1
ขอแนะนํา:
ถาหัวฉีดปนเปอ นดวยตะกอนตางๆ ปริมาตรการฉีดเชือ้ เพลิงจะเบีย่ งเบนจากคามาตรฐานซึง่ อาจเปนสาเหตุของปญหาได 2
(ก) ตรวจหาตะกอนในหัวฉีด
ผลที่ได: 3
สภาพหัวฉีด ปฏิบัติตามขอ
มีตะกอน A 5
ไมมีตะกอน B
10
B เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
A 11

25 ทําความสะอาดหัวฉีด
12

ตอไป 13

26 อานขอมูลใน DATA LIST (INJECTION FEEDBACK VAL #1, #2, #3 AND #4, INJECTION VOLUME) 14
(ก) ติดตั้งหัวฉีดเขากับฝาสูบ 15
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 16
(ง) สตารทเครื่องยนตแลวอุนเครื่องทิ้งไว
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List 17
(ฉ) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• Injection Feedback Val #1, #2, #3 and #4 19
• Injection Volume
คามาตรฐาน: 26
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Injection Feedback Val #1 ถึง #4 เดินเบา -4.9 ถึง 4.9 มม.3 27
Injection Volume เดินเบา 3.0 ถึง 10.0 มม.3
ขอแนะนํา: 28
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ เมื่อคาที่ไดไมอยูในคามาตรฐาน
ปญหาดังกลาวอาจมีสาเหตุมาจากตะกอนภายในหัวฉีด 29
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
30
บกพรอง เปลี่ยนหัวฉีดของทุกสูบ (ดูหนา 11-13)
ปกติ 31

จบขั้นตอน 32
05–338 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 27 ตรวจเช็คชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ปญหากลไก) (ดูหนา 13-22)


(ก) ปลดทอกรองอากาศ
2 (ข) ใชกระจกเพื่อตรวจสอบปญหากลไกตางๆ ของเทอรโบชารจเจอรดวยตาเปลา
(ค) เมื่อเครือ่ งยนตเย็น ตรวจเช็ควาใบพัดของเทอรโบชารจเจอรหมุนไดคลอง และทําการตรวจเช็คหนาสัมผัสเพื่อ
3 ตรวจยืนยันวามีการชํารุดเสียหายหรือไม
ปกติ: ใบพัดหมุนไดคลองโดยไมมีการชํารุดเสียหาย
5 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยน
ปกติ
10
28 ตรวจสอบแอ็คชิวเอเตอรของเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-22)
11
12 บกพรอง เปลีย่ นชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-36
(มี CAC)) (ดูหนา 13-44 (ไมมี CAC))
13 ปกติ

14 29 ตรวจยืนยันวาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
15 (ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
16 (ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้ตามลําดับและอานคา
• MAP
17 คามาตรฐาน
ไมมี CAC
19 รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
MAP 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 175 กิโลปาสคาล (1,313 มม.ปรอท, 51.7 นิ้วปรอท)
26 มี CAC
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
27 MAP 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 178 กิโลปาสคาล (1,335 มม.ปรอท, 52.6 นิ้วปรอท)
ขอแนะนํา:
28 *: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐานและความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว
29 บกพรอง เปลีย่ นชุดประกอบเทอรโบชารจเจอร (ดูหนา 13-36
(มี CAC)) (ดูหนา 13-44 (ไมมี CAC))
30
ปกติ
31
จบขั้นตอน
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV) 05–339

30 ตรวจเช็คและเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 1
ตอไป 2
31 ตรวจยืนยันวาความบกพรองไดรับการแกไขเรียบรอยแลว 3
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่อง แลวจึงเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
5
(ค) เลือกเมนูรายการดังนี้: Powertrain / Engine / Data List
10
(ง) เลือกรายการเมนูตอไปนี้และอานคา
• Fuel Press 11
คามาตรฐาน:
ไมมี CAC 12
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง
Fuel Press เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
13
Fuel Press 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 121 เมกกะปาสคาล 14
มี CAC
รายการขอมูล ความเร็วรอบเครื่องยนต* คาอางอิง 15
Fuel Press เดินเบา 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 2,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 25 ถึง 35 เมกกะปาสคาล 16
Fuel Press 3,000 รอบ/นาที (ไมมีภาระเครื่องยนต) 35 ถึง 45 เมกกะปาสคาล
Fuel Press 3,500 รอบ/นาที (เรงเต็มที่) ต่ําสุด: 145 เมกกะปาสคาล
17
ขอแนะนํา:
*: ควรปดสวิตช A/C และสวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด และควรอุนเครื่องยนตใหเต็มที่ 19
ปกติ: คาที่ไดอยูภายในคามาตรฐาน
26
ปกติ จบขั้นตอน
บกพรอง 27

32 ตรวจสอบชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-5)


28
29
บกพรอง เปลี่ยนชุดปมจายเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-23)
ปกติ 30
31
32
05–340 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ECD (1KD-FTV, 2KD-FTV)

1 33 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (เซ็นเซอรแรงดันเชื้อเพลิง)
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร F9
2 เซ็นเซอรแรงดันเชือ้ เพลิง (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
F9-1 (E2) - F9-2 (PR) 3 kΩ หรือต่ํากวา
5 F9-2 (PR) - F9-3 (VC) 16.4 kΩ หรือต่ํากวา
VC E2

10 PR A62213 บกพรอง เปลี่ยนชุดคอมมอนเรล (ดูหนา 11-29)


ปกติ
11
12 ตรวจสอบชุดคอมมอนเรล (ลิ้นจํากัดแรงดัน) (ดูหนา 11-5)
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–341

ระบบ ABS
1
ขอพึงระวัง
• เมื่อมีปญหากับการตอขั้วตางๆ และการติดตั้งชิ้นสวนไมถูกตอง การถอด/ติดตั้งชิ้นสวนที่สงสัยดังกลาวอาจทํา 2
ใหระบบกลับคืนสูสภาพปกติได หรืออาจกลับคืนสูสภาพปกติไดเพียงแคชั่วคราว
• การตัดสินจุดบกพรองจะใชรหัสวิเคราะหปญหา ขอมูลสภาพการทํางาน (Freeze Frame Data) และขอมูลอื่นๆ 3
เพื่อชวยกําหนดสภาวะการในชวงเวลาของปญหา จดบันทึกขอมูลไวกอนจะปลดขั้วตอ หรือถอด/ติดตั้งชิ้นสวน
ตางๆ 5
• ระบบปองกันเบรกล็อค (ABS) อาจไดรับผลกระทบจากความบกพรองในระบบอื่นๆ ถาตรวจเช็ครหัสวิเคราะห
ปญหาในระบบอื่นแลวมีรหัสปรากฏขึ้น ใหคนหาสาเหตุปญหาของรหัสวิเคราะหปญหานั้นกอน 10
• ถาไมไดกาํ หนดไว ขณะทีถ่ อด/ติดตัง้ แอ็คชิวเอเตอรเบรกและขัว้ ตอของ ABS สวิตชจดุ ระเบิดตองอยูท ตี่ าํ แหนง OFF
• หลังจากถอดแอ็คชิวเอเตอรเบรกหรือขัว้ ตอ ABS ออกและตอกลับเขาไปใหมตอ งตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญ  หาดวย
11
นอกจากนี้ ใหทําการตรวจสอบในโหมดทดสอบ (test mode) เพื่อใหมั่นใจไดวาชิ้นสวนดังกลาวกําลังทําหนาที่
12
ตามปกติ
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–342 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

32 ตําแหนงชิ้นสวน
เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา *1
: เกียรอัตโนมัติ
1 โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
*2
: เกียรธรรมดา
*3
: 4WD
2
ชุดแอ็คชิวเอเตอร
3 สุญญากาศเฟองทาย*3
(แอ็คชิวเอเตอร A.D.D.)
5
10 เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
11
ชุดมาตรวัดรวม
12 เซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
เซ็นเซอรความเร็ว ไฟเตือน ABS
โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา ลอหนาซาย
13 สวิตชไฟแสดงการทํางาน โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
ของทรานสเฟอร*1, *3 สวิตชไฟแสดงการทํางานของทรานสเฟอร *2, *3
(ตําแหนง 4WD) (ตําแหนง L4)
14 สวิตชไฟแสดงการทํางาน
ของทรานสเฟอร *1, *3
15 (ตําแหนง L4)

16
สวิตชไฟเบรก
17
19
เซ็นเซอรจบั แรงหนวงของ ECU
ควบคุมการขับเคลื่อน 4 ลอ*3
26
J/B และ R/B หองเครื่องยนต DLC3

27 z ฟวสกระแสสูง ABS เบอร 1 ชุด J/B แผงหนาปด


ECU ควบคุมการลื่นไถล z ฟวสกระแสสูง ABS เบอร 2 (J/B ดานคนขับ)
z ฟวสกระแสสูง ALT z ฟวสกระแสสูง AM1
28 พรอมแอ็คชิวเอเตอร
z ฟวสกระแสสูง AM2 z ฟวส ECU-IG & GAUGE
(ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก)
สวิตชเบรกมือ z ฟวส MET
29 F50128

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–343

วงจรระบบ
1
ECU ควบคุมการลื่นไถลพรอมแอ็คชิวเอเตอร (ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก) 2
3
เซ็นเซอรความเร็ว
รีเลยมอเตอร มอเตอร
(มีแตละลอ)
5
10
สวิตชไฟเบรก รีเลยโซลินอยด โซลินอยด
11
สวิตชเบรกมือ 12
13
ECU ควบคุม
เซ็นเซอรจบั แรงหนวง*
การลื่นไถล มาตรวัดรวม 14
15
ชุดแอ็คชิวเอเตอร
สุญญากาศ* ไฟเตือน ABS
(แอ็คชิวเอเตอร A.D.D.) 16
ไฟแสดงสถานะ 4WD* 17
ขัว้ ตอเชือ่ มโยงขอมูล 3
(DLC3)
19
สวิตชไฟแสดงการทํางาน 26
ของทรานสเฟอร*
(ตําแหนง L4)
27
4WD ECU* 28
สวิตชไฟแสดงการทํางาน
ของทรานสเฟอร*
(ตําแหนง 4WD) *: 4WD
29
F50129

30
31
32
05–344 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

32 คําอธิบายระบบ
1. คําอธิบายระบบ
1 ขอแนะนํา:
ECU ควบคุมการลื่นไถลมีการติดตั้งแอ็คชิวเอเตอรในตัว
2 (ก) ระบบ ABS ชวยปองกันลอล็อคขณะเหยียบเบรกกระทันหันหรือเบรกบนถนนลื่น
2. การทํางานของ ABS
3 (ก) โดยใชสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วของลอแตละลอ และ ECU ควบคุมการลื่นไถลคํานวณความเร็วลอและการลด
ความเร็วเพื่อตรวจเช็คสภาวะการลื่นไถลของลอแตละลอ ECU จะควบคุมวาลวเพิ่มแรงดันและวาลวลดแรงดัน
5 เพื่อปรับแรงดันน้ํามันของแตละกระบอกเบรกตามสภาวะการลื่นไถล
3. ฟงกชั่นระบบปองกันการทํางานบกพรอง (Fail-safe)
10 (ก) เมื่อเกิดขอบกพรองขึ้นในระบบ ABS ไฟเตือน ABS จะติดขึ้นพรอมกับระงับการทํางาน
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–345

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ขอแนะนํา:
1
• ใชขั้นตอนเหลานี้เพื่อคนหาสาเหตุปญหาของระบบปองกันเบรกล็อค (ABS)
2
• สามารถใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ในขั้นตอนที่ 4, 7 และ 11 ได
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ 3
ตอไป 5

2 วิเคราะหปญหาของลูกคา (ดูหนา 05-347)


10

ตอไป 11
12
3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V 13
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ
14
ตอไป
15
4 ตรวจเช็คและลบรหัสวิเคราะหปญหา
16
ตอไป
17
5 ตรวจยืนยันอาการปญหา
19
ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ 26
ไมเกิดปญหา A
เกิดปญหา B 27
B ดูขั้นตอนที่ 7
28
A
29
6 จําลองสภาพปญหา (ดูหนา 01-27)
30
ตอไป
31
32
05–346 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

32 7 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)

1 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญ
 หาไมปรากฏออกมา A
2 รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B

3 B ดูขั้นตอนที่ 10

5 A

10 8 ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-353)


ผลที่ได:
11 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ความบกพรองไมมีอยูในตารางสภาพปญหา A
12 ความบกพรองมีอยูในตารางสภาพปญหา B

13 B ดูขั้นตอนที่ 10
A
14
9 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม
15
(ก) ขั้วตางๆ ของ ECU (ดูหนา 05-354)
16 (ข) การแสดงขอมูล (DATA LIST)/การทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST) (ดูหนา 05-362)
ตอไป
17
ดูขั้นตอนที่ 11
19
10 ตรวจหาการรั่วของน้ํามันเบรก (ดูหนา 32-6)
26
ตอไป
27
11 ซอมหรือเปลี่ยน
28
ตอไป
29
12 ทดสอบยืนยัน
30
ตอไป
31
จบขั้นตอน
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–347

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบฟอรมตรวจเช็คระบบ ABS
ชือ่ ผูตรวจสอบ: 2
หมายเลขประจํารถ 3
ชื่อลูกคา วันทีผ่ ลิต / /
5
หมายเลขทะเบียน
วันทีน่ ํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง 10

/ /
11
วันทีเ่ กิดปญหาขึ้นครั้งแรก
ความถี่ของการเกิดปญหา ตอเนื่อง เปนชวงๆ ( ครั้งตอวัน/เดือน) 12

ABS ไมทํางาน
13

อาการปญหา ABS ทํางานไมมีประสิทธิภาพ


14

ไฟเตือน ABS ติดคาง ไมติดสวาง 15


16
ครั้งที่ 1 รหัสปกติ รหัสผิดปกติ (รหัส )
การตรวจเช็ค
รหัสวิเคราะหปญหา ครั้งที่ 2 รหัสปกติ รหัสผิดปกติ (รหัส ) 17
สวิตชไฟเบรก ON OFF 19
NO SYS
ระบบที่ใชงาน ABS 26
ขอมูลสภาพการทํางาน FAIL SF
จํานวนครั้งที่ IG ON 27
ความเร็วรถ กม./ชม.
ไมล/ชม. 28
29
30
31
32
05–348 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

32 การตรวจเช็คการทํางาน
1
2 1. ตรวจเช็คไฟเตือน ABS
(ก) เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON ใหตรวจเช็ควาไฟ
3 เตือน ABS ติดขึ้นประมาณ 3 วินาทีแลวดับไป
ไฟเตือน ABS ขอแนะนํา:
5 คนหาสาเหตุปญหาของวงจรไฟเตือน ABS ถาไฟเตือนติดคางอยู
โดยไมยอมดับหรือมีความผิดปกติอื่นๆ (ดูหนา 05-403)
10
11
12 F50095

13 2. เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


CG การตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรจากโหมดทดสอบ
14 (ก) ทําตามขั้นตอนในโหมดทดสอบ:
1 23 4 5 6 78 (1) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
15 9 10111213141516 (2) ใชเครือ่ งมือพิเศษ ตอขัว้ TS กับ CG ของขัว้ ตอ DLC3
เครื่องมือพิเศษ 09843-18040
16 TS
A97716
(3) สตารทเครื่องยนต

17 (4) ตรวจเช็ควาไฟเตือน ABS กะพริบดังแสดงในภาพ


ไฟเตือน ABS
ขอแนะนํา:
0.13 วินาที 0.13 วินาที
19 ถาไฟเตือน ABS ไมกะพริบ ใหตรวจสอบวงจรไฟเตือน ABS (ดูหนา
ON 05-403)
26
OFF
27 BR3904

28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–349

(ข) 4WD:
ตรวจเช็คเซ็นเซอรแรงหนวง 1
(1) ทําใหเกิดแรงดึง (0.2 G หรือมากกวา) ที่ตัวรถโดยการ
ลดความเร็วลง ใชวธิ ลี ดความเร็วลงในทิศทางทีร่ ถกําลัง 2
เคลื่อนไปดังตอไปนี้:
• เหยียบเบรกขณะรถแลน 3
• ขับรถสายไปสายมา
• ขับรถบนทางลาดเอียง 5
(2) เมื่อแรงหนวงเทากับ 0.2 G หรือมากกวา ใหตรวจเช็ค
วาไฟเตือน ABS ติดสวางขึ้น
10
(ค) ตรวจเช็คเซ็นเซอรความเร็ว
11
(1) ขับรถตรงไปขางหนาดวยความเร็วดังตอไปนี้ แลวตรวจ
เช็คไฟเตือน ABS 12
การทดสอบ การตรวจเช็ค ไฟเตือน ABS
การทดสอบความเร็วต่ํา การตอบสนองของ
3 ถึง 5 กม./ชม. (2 ถึง 3 ไมล/ชม.) เซ็นเซอร
กะพริบ 13
การทดสอบความเร็วปานกลาง การเบี่ยงเบนของ
45 กม./ชม. (28 ไมล/ชม.) หรือสูงกวา สัญญาณเซ็นเซอร
ดับไป 14
ขอแนะนํา:
การตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรอาจไมเสร็จสมบูรณหากลอของรถ 15
หมุนฟรีหรือหมุนพวงมาลัยขณะตรวจเช็ค
(2) หยุดรถ
16
(ง) 4WD: 17
ตรวจเช็คเกียร H2 (2WD) - H4 หรือ L4 (4WD)
(1) สตารทเครื่องยนต 19
(2) เลือ่ นคันเกียรทรานสเฟอรจากตําแหนง H2 ไปทีต่ าํ แหนง
H4 หรือ L4 26
(3) ตรวจเช็ควาไฟแสดงสถานะ 4WD ติดขึ้นหลังจากที่
กะพริบ 27
(4) เลื่อนคันเกียรทรานสเฟอรจากตําแหนง H4 หรือ L4
ไปที่ตําแหนง H2 28
ไฟแสดงสถานะ 4WD (5) ตรวจเช็ควาไฟแสดงสถานะ 4WD ดับไปหลังจากที่
คันเกียรทรานสเฟอร
กะพริบ 29
F50283
ขอแนะนํา:
• ถาไฟแสดงสถานะไมดับไปเมื่อเลื่อนเกียรทรานสเฟอรเขาสู 30
ตําแหนง H2 ใหขับรถตรงไปขางหนาในขณะที่เรงหรือลด
ความเร็ว หรือขับถอยหลัง 31
• ถาการเปลี่ยนเกียรไมเสร็จสมบูรณ ไฟแสดงสถานะ 4WD จะ
สวางวาบขึ้นชั่วขณะ 32
05–350 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

32 (จ) อานรหัสวิเคราะหปญหา
(1) ใชเครื่องมือพิเศษ ตอขั้ว 13 (TC) กับ 4 (CG) ของขั้ว
CG
ตอ DLC3
1 1 23 4 5 6 78 (ฉ) ผลการตรวจเช็คสัญญาณ
2 9 10111213141516 เครื่องมือพิเศษ 09843-18040
(1) อานจํานวนการกะพริบของไฟเตือน ABS
3
TC
A97716
ขอแนะนํา:
• ตัวอยางรูปแบบการกะพริบสําหรับรหัสปญหา 72 และ 76
5 ดังภาพดานลาง
• คําอธิบายสภาวะของรหัสตางๆ อยูใ นตารางรหัสวิเคราะหปญ หา
10 หนา 05-364
• สําหรับรหัสปกติ รอบการทํางานของไฟเตือนระหวาง ON
11 กับ OFF พัก 0.25 วินาที
• ถามีรหัสวิเคราะหปญ  หามากกวา 1 รหัสขึน้ ไปในเวลาเดียวกัน
12 รหัสที่มีตัวเลขต่ําสุดจะปรากฏออกมาเปนอันดับแรก
รหัสปญหา (ตัวอยาง รหัส 72 และ 76)
13 7 2 7 6

14 ON

OFF
1.5 วินาที 2.5 วินาที 4 วินาที
15 0.5 วินาที 0.5 วินาที
0.5 วินาที 0.5 วินาที ซ้าํ
16 BR3893

(2) หลังจากตรวจเช็ค ใหปลดเครื่องมือพิเศษออกจากขั้ว


17 TC และ CG ของขั้วตอ DLC3
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
3. เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
19 การตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรจากโหมดทดสอบ
(ก) ทําตามขั้นตอนในโหมดทดสอบ:
26 (1) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(2) ตรวจเช็ควาคันเกียรอยูในตําแหนง P
27 (3) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
DLC3

28 A98433
(4) สตารทเครื่องยนต
(5) เลือกโหมดทดสอบที่หนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา
29 (IT II) ดังนี้
ขอแนะนํา:
30 ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดทคี่ มู อื การใชงานเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II)

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–351

(6) ตรวจเช็ควาไฟเตือน ABS กะพริบ


ไฟเตือน ABS
ขอแนะนํา: 1
0.13 วินาที 0.13 วินาที ถาไฟเตือน ABS ไมกะพริบ ใหตรวจสอบวงจรไฟเตือน ABS (ดูหนา
ON
05-403) 2
(7) สตารทเครื่องยนต
(ข) 4WD: 3
OFF ตรวจเช็คเซ็นเซอรแรงหนวง
(1) ทําใหเกิดแรงดึง (0.2 G หรือมากกวา) ที่ตัวรถโดยการ
BR3904

ลดความเร็วลง ใชวธิ ลี ดความเร็วลงในทิศทางทีร่ ถกําลัง 5


เคลื่อนไปดังตอไปนี้:
• เหยียบเบรกขณะรถแลน 10
• ขับรถสายไปสายมา
• ขับรถบนทางลาดเอียง 11
(2) เมื่อแรงหนวงเทากับ 0.2 G หรือมากกวา ใหตรวจเช็ค
วาไฟเตือน ABS ติดสวางขึ้น 12
(ค) ตรวจเช็คเซ็นเซอรความเร็ว
(1) ขับรถตรงไปขางหนาดวยความเร็วดังตอไปนี้ แลวตรวจ 13
เช็คไฟเตือน ABS
การทดสอบ การตรวจเช็ค ไฟเตือน ABS 14
การทดสอบความเร็วต่าํ การตอบสนองของ
กะพริบ
3 ถึง 5 กม./ชม. (2 ถึง 3 ไมล/ชม.) เซ็นเซอร
การทดสอบความเร็วปานกลาง การเบี่ยงเบนของ 15
ดับไป
45 กม./ชม. (28 ไมล/ชม.) หรือสูงกวา สัญญาณเซ็นเซอร
ขอแนะนํา: 16
การตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรอาจไมเสร็จสมบูรณหากลอของรถ
หมุนฟรีหรือหมุนพวงมาลัยขณะตรวจเช็ค 17
(2) หยุดรถ
(ง) 4WD: 19
ตรวจเช็คเกียร H2 (2WD) - H4 หรือ L4 (4WD)
(1) สตารทเครื่องยนต 26
(2) เลือ่ นคันเกียรทรานสเฟอรจากตําแหนง H2 ไปทีต่ าํ แหนง
H4 หรือ L4 27
(3) ตรวจเช็ควาไฟแสดงสถานะ 4WD ติดขึน้ หลังจากทีก่ ะพริบ
(4) เลื่อนคันเกียรทรานสเฟอรจากตําแหนง H4 หรือ L4
ไปที่ตําแหนง H2 28
(5) ตรวจเช็ควาไฟแสดงสถานะ 4WD ดับไปหลังจากทีก่ ะพริบ
ขอแนะนํา: 29
ไฟแสดงสถานะ 4WD
• ถาไฟแสดงสถานะไมดับไปเมื่อเลื่อนเกียรทรานสเฟอรเขาสู
คันเกียรทรานสเฟอร F50283
ตําแหนง H2 ใหขับรถตรงไปขางหนาในขณะที่เรงหรือลด 30
ความเร็ว หรือขับถอยหลัง
• ถาการเปลี่ยนเกียรไมเสร็จสมบูรณ ไฟแสดงสถานะ 4WD จะ 31
สวางวาบขึ้นชั่วขณะ
32
05–352 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

32 (จ) อานรหัสวิเคราะหปญหา
(1) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
1
(3) อานรหัสวิเคราะหปญหาจากหนาจอเครื่องวิเคราะห
2
3
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–353

ตารางสภาพปญหา
ขอแนะนํา:
1
• ใชตารางขางลางนี้เพื่อชวยในการกําหนดสาเหตุของปญหา สาเหตุของอาการปญหาจะเรียงตามลําดับความเปน
2
ไปไดในชอง “บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” ของตาราง ใหตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยการทําการตรวจเช็ค
บริเวณที่คาดวาเปนปญหาตามลําดับรายการ ถาจําเปนใหเปลี่ยนชิ้นสวน 3
• ตรวจสอบฟวสและรีเลยที่เกี่ยวของกับระบบกอนจะตรวจสอบบริเวณที่คาดวาเปนปญหาดานลาง
ขอควรระวัง: 5
เมื่อจะเปลี่ยน ECU ควบคุมการลื่นไถล เซ็นเซอร หรืออื่นๆ ใหบิดสวิตชจุดระเบิด OFF
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา 10
1. วงจรแหลงจายไฟ IG (วงจรกราวด) 05-383
2. วงจรเซ็นเซอรความเร็ว 05-366 11
05-371
ABS ไมทํางาน
3. แอ็คชิวเอเตอรเบรก (วงจรไฮดรอลิก) 32-69
เมื่อบริเวณดังกลาวทั้งหมด (1 ถึง 3) เปนปกติ แตปญหายังคง 12
เกิดอยู ใหเปลี่ยน ECU ควบคุมการลื่นไถล
1. วงจรเซ็นเซอรความเร็ว 05-366 13
05-371
ABS ทํางานไมถูกตอง
2. วงจรสวิตชไฟเบรก 05-391 14
3. แอ็คชิวเอเตอรเบรก (วงจรไฮดรอลิก) 32-69
เมื่อบริเวณดังกลาวทั้งหมด (1 ถึง 3) เปนปกติ แตปญหายังคง 15
เกิดอยู ใหเปลี่ยน ECU ควบคุมการลื่นไถล
1. วงจรไฟเตือน ABS 05-403
ไฟเตือน ABS บกพรอง
2. ECU ควบคุมการลื่นไถล -
16
1. วงจรไฟเตือน ABS 05-403
2. วงจรขั้ว TC 05-406 17
ไมสามารถตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาได
เมื่อบริเวณดังกลาวทั้งหมด (1 และ 2) เปนปกติ แตปญหายัง
คงเกิดอยู ใหเปลี่ยน ECU ควบคุมการลื่นไถล 19
1. วงจรขั้ว TS -
ไมสามารถตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วได
2. ECU ควบคุมการลื่นไถล - 26
27
28
29
30
31
32
05–354 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้วตางๆ ของ ECU


1 1. ตรวจเช็คชุด ECU ควบคุมการลื่นไถลพรอมดวยแอ็คชิวเอเตอร (ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก)
2 S2

3
5
10 F07812

(ก) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
11 คามาตรฐาน:
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
12 +BS (S2-1) - GND (S2-2, 24) W-R - W-B, W-B แหลงจายไฟรีเลยโซลินอยด คงที่ 10 ถึง 14 V
EXI4* (S2-3) -
G-W - W-B, W-B สัญญาณเขาสวิตช L4 สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตช L4 ON ต่ํากวา 1.5 V
13 GND (S2-2, 24)
EXI4* (S2-3) -
G-W - W-B, W-B สัญญาณเขาสวิตช L4 สวิตชจดุ ระเบิด ON, สวิตช L4 OFF 8 ถึง 14 V
GND (S2-2, 24)
14 GL1* (S2-4) - สัญญาณเขาเซ็นเซอร
R - W-B, W-B สวิตชจุดระเบิด ON, หยุดรถ 0.5 ถึง 4.5 V
GND (S2-2, 24) แรงหนวง
15 GGND* (S2-7) -
B - W-B, W-B กราวดเซ็นเซอรแรงหนวง สวิตชจุดระเบิด OFF ต่ํากวา 1.5 V
GND (S2-2, 24)
16 สัญญาณเขาเซ็นเซอร สวิตชจุดระเบิด ON,
FL+ (S2-9) - FL- (S2-8) R-G สัญญาณพัลส
ความเร็วลอหนาซาย หมุนลอหนาซายชาๆ
17 STP (S2-10) - GND (S2-2, 24) G-W - W-B, W-B สัญญาณเขาสวิตชไฟเบรก สวิตชไฟเบรก ON 8 ถึง 14 V
STP (S2-10) - GND (S2-2, 24) G-W - W-B, W-B สัญญาณเขาสวิตชไฟเบรก สวิตชไฟเบรก OFF ต่ํากวา 1.5 V
19 RL+ (S2-11) - RL- (S2-12) P-L
สัญญาณเขาเซ็นเซอร สวิตชจุดระเบิด ON,
สัญญาณพัลส
ความเร็วลอหลังซาย หมุนลอหลังซายชาๆ
26 WA (S2-13) - GND (S2-2, 24) R-G - W-B, W-B สัญญาณไฟเตือน ABS
สวิตชจุดระเบิด ON, ไฟเตือน ABS
10 ถึง 14 V
ติด (ON)
สวิตชจุดระเบิด ON, ไฟเตือน ABS
27 WA (S2-13) - GND (S2-2, 24) R-G - W-B, W-B สัญญาณไฟเตือน ABS
ไมติด (OFF)
ต่ํากวา 1 V
สายการสื่อสารของเครื่อง
28 D/G (S2-14) - GND (S2-2, 24) L-Y - W-B, W-B
วิเคราะหปญหา
สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
TS (S2-15) - GND (S2-2, 24) W - W-B, W-B ขั้ว TS ของขั้วตอ DLC3 สวิตชจุดระเบิด OFF ต่ํากวา 1.5 V
29 TS (S2-15) - GND (S2-2, 24) W - W-B, W-B ขั้ว TS ของขั้วตอ DLC3 สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
TC (S2-16) - GND (S2-2, 24) P-L - W-B, W-B ขั้ว TC ของขั้วตอ DLC3 สวิตชจุดระเบิด OFF ต่ํากวา 1.5 V
30 TC (S2-16) -
P-L - W-B, W-B ขั้ว TC ของขั้วตอ DLC3 สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
GND (S2-2, 24)
31 EXI* (S2-17) -
R-B - W-B, W-B
สัญญาณเขาสวิตชแอ็คชิว- สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชแอ็คชิว-
ต่ํากวา 1.5 V
GND (S2-2, 24) เอเตอรสุญญากาศเฟองทาย เอเตอรสุญญากาศเฟองทาย ON
EXI* (S2-17) - สัญญาณเขาสวิตชแอ็คชิว- สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชแอ็คชิว-
32 GND (S2-2, 24)
R-B - W-B, W-B
เอเตอรสุญญากาศเฟองทาย เอเตอรสุญญากาศเฟองทาย OFF
10 ถึง 14 V
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–355

สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด


PKB (S2-18) - GND (S2-2, 24) L-O - W-B, W-B สัญญาณเขาสวิตชเบรกมือ
สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชเบรกมือ
ต่ํากวา 1.5 V 1
ON
สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชเบรกมือ
PKB (S2-18) - GND (S2-2, 24) L-O - W-B, W-B สัญญาณเขาสวิตชเบรกมือ
OFF
10 ถึง 14 V 2
EXI2 (S2-22) -
GND (S2-2, 24)
V - W-B, W-B แหลงจายไฟ IG1 สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V 3
+BM (S2-23) - GND (S2-2, 24) R - W-B, W-B แหลงจายไฟรีเลยมอเตอร คงที่ 10 ถึง 14 V
IG1 (S2-25) - GND (S2-2, 24) B - W-B, W-B แหลงจายไฟ IG1 สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V 5
VGS (S2-28) - สัญญาณเขาเซ็นเซอร
W - W-B, W-B สวิตชจุดระเบิด ON, หยุดรถ 4.75 ถึง 5.25 V
GND (S2-2, 24) แรงหนวง 10
สัญญาณเขาเซ็นเซอร สวิตชจุดระเบิด ON,
FR+ (S2-31) - FR- (S2-30) L-W - O สัญญาณพัลส
ความเร็วลอหนาขวา หมุนลอหนาขวาชาๆ 11
สัญญาณเขาเซ็นเซอร สวิตชจุดระเบิด ON,
RR+ (S2-33) - RR- (S2-34) G-R สัญญาณพัลส
ความเร็วลอหลังขวา หมุนลอหลังขวาชาๆ 12
ขอแนะนํา:
*: 4WD 13
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองใน ECU ควบคุมการลื่นไถล
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–356 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ระบบวิเคราะหปญหา
1 1. คําอธิบายระบบ
2 (ก) สามารถอานดูขอมูลระบบปองกันเบรกล็อค (ABS) ไดในขั้วตอเชื่อมโยงขอมูล 3 (DLC3) ของรถ เมื่อระบบ
คลายวาจะบกพรอง ใหใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ตรวจเช็คความบกพรองแลวทําการซอม
3
5
(ข) ถา ECU ควบคุมการลืน่ ไถลตรวจพบความบกพรอง ไฟเตือน
10 ABS จะติดขึ้นเพื่อเตือนคนขับ
ไฟเตือน ABS (ค) สามารถอานรหัสวิเคราะหปญ หาไดโดยการตอเครือ่ งวิเคราะห
11 ปญหา (IT II) กับขั้วตอ DLC3 หรือตอเครื่องมือพิเศษ
ระหวางขั้ว TC และ CG ของขั้วตอ DLC3
12 (ง) รหัสวิเคราะหปญหาสามารถเก็บบันทึกในหนวยความจําได
หลายๆ รหัสในคราวเดียวกัน
13
(จ) ระบบ ABS มีฟงกชั่นตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอร (โหมด
14 ทดสอบ)

15 F50095

16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–357

2. ตรวจเช็คขั้วตอ DLC3
CG
SG
SIL ECM ของรถใชระบบการสื่อสารตามมาตรฐาน ISO 14230 (วิธีการ 1
สือ่ สารแบบ M-OBD) รูปแบบการจัดเรียงขัว้ สายไฟของขัว้ ตอ DLC3
1 2 3 4 5 6 7 8 นั้น เปนไปตามมาตรฐานของ ISO 15031-03 ซึ่งใชไดกับรูปแบบ 2
9 10111213141516 BAT มาตรฐาน ISO 14230
3
A97716
5
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
SIL (7) – SG (5) สาย Bus “+” ระหวางเขาเกียร สัญญาณพัลส 10
CG(4) – กราวดตัวถัง กราวดชวงลาง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
SG(5) – กราวดตัวถัง กราวดสัญญาณ คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 11
BAT(16) – กราวดตัวถัง ขั้วบวกแบตเตอรี่ คงที่ 10 ถึง 14 V
ขอแนะนํา: 12
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
ตอสายเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 แลวบิด
สวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON และดูทหี่ นาจอเครือ่ งวิเคราะห หาก
13
หนาจอแจงใหทราบวาเกิดขอผิดพลาดในการติดตอสือ่ สาร แสดงวามี 14
ปญหาอยางใดอยางหนึ่งขึ้นกับตัวรถ หรือกับเครื่องวิเคราะหปญหา
DLC3
(IT II) 15
A98433
ถาตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคันอื่นแลวใชการไดตามปกติ
แสดงวาขั้วตอ DLC3 ของรถที่จะตรวจสอบนั้นมีปญหา 16
ถาตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคันอื่นแลวยังไมสามารถสื่อ
สารกันได แสดงวาอาจมีปญหาที่ตัวเครื่อง ใหปรึกษาฝายบริการ 17
ตามที่ระบุไวในคูมือการใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา
19
26
27
28
29
30
31
32
05–358 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

การตรวจเช็ค/ลบรหัสวิเคราะหปญหา
1
2
1. เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
3 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
CG
(ก) ใชเครื่องมือพิเศษ ตอขั้ว 13 (TC) กับ 4 (CG) ของขั้วตอ
5 1 23 4 5 6 78 DLC3
10 9 10111213141516 เครื่องมือพิเศษ 09843-18040
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
11 TC
A97716
(ค) อานรหัสวิเคราะหปญหาจากไฟเตือน ABS ที่มาตรวัดรวม
ขอแนะนํา:
12 • ถาไมมีรหัสปรากฏออกมา ใหตรวจเช็ควงจร TC หรือวงจร
ไฟเตือน ABS
13 บริเวณที่เกิดปญหา ดูหนา
วงจรขั้ว TC 05-406
14 วงจรไฟเตือน ABS 05-403
• ถามีรหัสวิเคราะหปญ
 หามากกวา 1 รหัสขึน้ ไปในเวลาเดียวกัน
15 รหัสดังกลาวจะปรากฏออกมา

16
17 • ตั ว อย า งรูปแบบการกะพริ บของรหัสระบบปกติ และรหัส
รหัสระบบปกติ ปญหา 11 และ 21 ดังแสดงในภาพซายมือ
19 2 วินาที 0.25 วินาที • คําอธิบายเกีย่ วกับรหัสตางๆ ดูไดทตี่ ารางรหัสวิเคราะหปญ
 หา
0.25 วินาที ในหนา 05-364
26 ON
(ง) หลังจากตรวจเช็คเสร็จ ใหปลดเครือ่ งมือพิเศษออกจากขัว้ TC
และ ขัว้ CG ของขัว้ ตอ DLC3 แลวปดการแสดงผลบนหนาจอ
27 OFF

รหัส 11 และ 21
28 0.5 วินาที 0.5 วินาที
1.5 วินาที
29 4 วินาที 2.5 วินาที

30 ON

OFF

31 รหัส 11 รหัส 21
R01346

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–359

เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)


2. เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา 1
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 2
(ค) อานรหัสวิเคราะหปญหาจากหนาจอเครื่องวิเคราะห
ขอแนะนํา: 3
DLC3
ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดทคี่ มู อื การใชงานเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II)
A98433
5
3. เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
CG ลบรหัสวิเคราะหปญหา 10
(ก) ใชเครื่องมือพิเศษ ตอขั้ว TC กับ CG ของขั้วตอ DLC3
1 2 3 4 5 6 7 8 เครื่องมือพิเศษ 09843-18040 11
9 10111213141516 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
TC
12
13
A97716

(ค) ลบรหัสวิเคราะหปญ  หาทีเ่ ก็บอยูใ น ECU โดยการเหยียบเบรก


8 ครั้ง หรือมากกวาภายใน 5 วินาที 14
(ง) ตรวจเช็ควาไฟเตือน ABS กะพริบแสดงรหัสระบบปกติออกมา
(จ) ถอดเครื่องมือพิเศษออกจากขั้วตอ DLC3 15
ขอแนะนํา:
การปลดสายแบตเตอรี่ หรือถอดฟวส ECU-IG & GAUGE จะไม 16
BR3890
สามารถยกเลิกรหัสได
4. เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
17
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
ลบรหัสวิเคราะหปญหา 19
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 26
(ค) ใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เพื่อลบรหัส
ขอแนะนํา: 27
DLC3
A98433
ดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดทคี่ มู อื การใชงานเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II)
5. ตรวจเช็คไฟเตือน ABS 28
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ข) ตรวจเช็ควาไฟเตือน ABS ติดสวางแลวดับไปในเวลาประมาณ 29
3 วินาที
30
31
32
05–360 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขอมูลสภาพการทํางานของระบบ ABS
1 1. ขอมูลสภาพการทํางาน (FREEZE FRAME DATA)
2 ขอแนะนํา:
• เมือ่ ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญ  หาหรือระบบ ABS ทํางาน ECU ควบคุมการลืน่ ไถลจะเก็บบันทึกสถานะ (เซ็นเซอร)
3 ของรถไวเปนขอมูล
• ECU ควบคุมการลื่นไถลจะเก็บบันทึกจํานวนครั้งที่บิดสวิตชจุดระเบิดจากตําแหนง OFF ไป ON (สูงสุด: 31)
5 โดยนับจากครั้งลาสุดที่ ABS ถูกกระตุนใหทํางาน แตในกรณีที่รถหยุดหรือขับรถดวยความเร็ว 7 กม./ชม. (4.3
ไมล/ชม.) หรือต่ํากวา หรือตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา ECU จะไมนับครั้งถัดไปที่บิดสวิตชจุดระเบิดจาก OFF
10 ไปยัง ON
• ขอมูลสภาพการทํางาน ณ เวลาที่ ABS ทํางาน:
11 ECU ควบคุมการลื่นไถลจะเก็บบันทึกและอัพเดทขอมูลเมื่อ ABS ทํางาน
เมือ่ ECU เก็บบันทึกขอมูล ณ เวลาทีต่ รวจพบรหัสวิเคราะหปญ
 หา ขอมูลทีเ่ ก็บบันทึกขณะ ABS ทํางานจะถูกลบออก
12 • ขอมูลสภาพการทํางาน ณ เวลาที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา:
เมื่อ ECU เก็บบันทึกขอมูล ณ เวลาที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา จะไมมีการอัพเดทขอมูลจนกวาจะลบขอมูล
13 ดังกลาวออก
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
14 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) เลือกขอมูลสภาพการทํางาน (Freeze Frame Data) จากหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
15 หนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) สิ่งที่ตรวจวัด คาอางอิง*
Vehicle Speed ความเร็วรถ คาความเร็วที่มาตรวัด
16 สวิตชไฟเบรกทํางาน: ON
Stop Light SW สัญญาณสวิตชไฟเบรก
สวิตชไฟเบรกไมทํางาน: OFF
17 Number of IG ON
จํานวนครั้งที่บิดสวิตชจุดระเบิด OFF ไป ON
0 ถึง 31
หลังจากบันทึกขอมูลสภาพรถ
19 ระบบไมทํางาน: NO SYS
ABS ทํางาน: ABS
Operated System ระบบทํางาน
26 การปองกันการทํางานบกพรอง (Fail safe)
ทํางาน: FAIL SF
27 ข* อแนะนํา:
: หากไมไดกําหนดสภาวะใดเปนพิเศษขณะ “เดินเบา” นั่นหมายถึง คันเกียรอยูในตําแหนง N โดยปดสวิตช A/C และ
28 สวิตชอุปกรณตางๆ ทั้งหมด

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–361

ตารางรหัสปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe chart)


1. การทํางานของระบบ Fail-safe
1
ความบกพรอง ผลที่ได
ABS ระงับการควบคุมดวย ABS 2
ขอแนะนํา:
3
ถา ABS พบกับความบกพรอง ระบบเบรกจะทํางานตามปกติโดยไมมีการควบคุมดวย ABS
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–362 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

การแสดงขอมูล (DATA LIST)/ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)


1 1. อานขอมูลใน DATA LIST
ขอแนะนํา:
2 ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากขอมูลใน DATA LIST ที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะห
ปญหา (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานขอมูลจาก DATA LIST ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุ
3 ปญหาเปนวิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
5 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) อานขอมูลใน DATA LIST ตามที่ปรากฏบนเครื่องวิเคราะหปญหา
10 ECU ควบคุมการลื่นไถล:
สิ่งที่ตรวจวัด/
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
11 ชวง (การแสดงผล)
ON: ใสเบรกมือ
Parking Brake SW สวิตชเบรกมือ / ON หรือ OFF -
OFF: ปลดเบรกมือ
12 ON: เหยียบเบรก
Stop Light SW สวิตชไฟเบรก/ ON หรือ OFF -
OFF: ปลอยแปนเบรก
13 ON: รีเลยมอเตอรทํางาน
ABS Motor Relay รีเลยมอเตอร ABS / ON หรือ OFF -
OFF: รีเลยมอเตอรไมทํางาน
14 Solenoid Relay รีเลยโซลินอยด / ON หรือ OFF
ON: รีเลยโซลินอยดทํางาน
-
OFF: รีเลยโซลินอยดไมทํางาน
โหมดทดสอบ / NORMAL หรือ NORMAL: โหมดปกติ
15 Test Mode
TEST TEST: ระหวางโหมดทดสอบ
-
โซลินอยด ABS (SRRR (SRR)) / ON: ทํางาน
Solenoid (SRRR) -
16 ON หรือ OFF OFF: ไมทํางาน
โซลินอยด ABS (SRRH (SRH)) / ON: ทํางาน
Solenoid (SRRH) -
17 ON หรือ OFF
โซลินอยด ABS (SFLR) / ON หรือ
OFF: ไมทํางาน
ON: ทํางาน
Solenoid (SFLR) -
OFF OFF: ไมทํางาน
19 โซลินอยด ABS (SFLH) / ON หรือ ON: ทํางาน
Solenoid (SFLH) -
OFF OFF: ไมทํางาน
26 Solenoid (SFRR)
โซลินอยด ABS (SFRR) / ON หรือ ON: ทํางาน
-
OFF OFF: ไมทํางาน
โซลินอยด ABS (SFRH) / ON หรือ ON: ทํางาน
27 Solenoid (SFRH)
OFF OFF: ไมทํางาน
-
คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หนาขวา) /
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
28 FR Wheel Speed ต่ําสุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
มาตรวัดความเร็ว
สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หนาซาย) /
29 FL Wheel Speed ต่าํ สุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
มาตรวัดความเร็ว
สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
30 คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หลังขวา) /
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
RR Wheel Speed ต่ําสุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
มาตรวัดความเร็ว
31 สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หลังซาย) /
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
RL Wheel Speed ต่ําสุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
32 สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
มาตรวัดความเร็ว
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–363

สิ่งที่ตรวจวัด/
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
ชวง (การแสดงผล)
TOO HIGH: 14.0 V หรือสูงกวา
1
แรงดันไฟฟาแหลงจายไฟ ECU
ECU IG Power Voltage NORMAL: 10 ถึง 14.0 V -
TOO LOW / NORMAL / TOO HIGH
TOO LOW: ต่ํากวา 10 V 2
คาเซ็นเซอรแรงหนวง 1 / ต่าํ สุด: -1.869 G, คาที่อานไดเปลี่ยนไปเมื่อรถ
Decleration Sensor 1 ประมาณ 0 ± 0.13 G ณ สภาวะคงที่
สูงสุด: 1.869 G กระแทก 3
คาเซ็นเซอรแรงหนวง 2 /ต่าํ สุด: -1.869 G, คาที่อานไดเปลี่ยนไปเมื่อรถ
Decleration Sensor 2 ประมาณ 0 ± 0.13 G ณ สภาวะคงที่
สูงสุด: 1.869 G กระแทก
การทํางานของ ABS (หนาขวา) / Before: ABS (หนาขวา) ไมทาํ งาน
5
FR Wheel ABS Control -
Before หรือ Operate Operate: ขณะ ABS (หนาขวา) ทํางาน
FL Wheel ABS Control
การทํางานของ ABS (หนาซาย) / Before: ABS (หนาซาย) ไมทาํ งาน
-
10
Before หรือ Operate Operate: ขณะ ABS (หนาซาย) ทํางาน
RR Wheel ABS Control
การทํางานของ ABS (หลังขวา) / Before: ABS (หลังขวา) ไมทาํ งาน
- 11
Before หรือ Operate Operate: ขณะ ABS (หลังขวา) ทํางาน
การทํางานของ ABS (หลังซาย) / Before: ABS (หลังซาย) ไมทาํ งาน
RL Wheel ABS Control
Before หรือ Operate Operate: ขณะ ABS (หลังซาย) ทํางาน
- 12
2. ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)
13
ขอแนะนํา:
การทดสอบในโหมด ACTIVE TEST ของเครือ่ งวิเคราะหปญ  หา (IT II) เพือ่ ใหรเี ลย, VSV, แอ็คชิวเอเตอร และอืน่ ๆ 14
ทํางานโดยไมตอ งถอดชิน้ สวนตางๆ ออก การทดสอบโหมด ACTIVE TEST ในขัน้ ตอนแรกของการคนหาสาเหตุปญ  หา
เปนวิธกี ารหนึง่ ทีช่ ว ยประหยัดเวลา สามารถใหแสดงขอมูล (DATA LIST) ในระหวางการทดสอบ ACTIVE TEST ได 15
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 16
(ค) ทําการทดสอบโหมด ACTIVE TEST ตามที่ปรากฏบนเครื่องวิเคราะหปญหา
ECU ควบคุมการลื่นไถล: 17
รายการขอมูล สภาพรถ / รายละเอียดการทดสอบ บันทึกการวิเคราะห
ABS Motor Relay รีเลยมอเตอร ABS ON / OFF ไดยินเสียงการทํางานของมอเตอร 19
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
Solenoid Relay รีเลยโซลินอยด ABS ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก) 26
ABS Waning Light ไฟเตือน ABS ON / OFF สังเกตที่มาตรวัดรวม
ABS Solenoid (SRRR) โซลินอยด ABS (SRRR) ON / OFF
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด 27
(เสียงดังกริ๊ก)
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
ABS Solenoid (SRRH) โซลินอยด ABS (SRRH) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก)
28
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
ABS Solenoid (SFLR) โซลินอยด ABS (SFLR) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก) 29
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
ABS Solenoid (SFLH) โซลินอยด ABS (SFLH) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก) 30
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
ABS Solenoid (SFRR) โซลินอยด ABS (SFRR) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก) 31
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
ABS Solenoid (SFRH) โซลินอยด ABS (SFRH) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก) 32
05–364 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
1 ขอควรระวัง:
เมื่อจะถอดชิ้นสวนออก ใหบิดสวิตชจุดระเบิด OFF
2 ขอแนะนํา:
• กรณีทตี่ รวจสอบชิน้ สวนแลวไมพบความผิดปกติ ใหตรวจสอบจุดตอลงกราวดและ ECU อยูใ นสภาพสมบูรณหรือไม
3 • ถารหัสผิดปกติปรากฏขึ้นในระหวางการตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา ใหตรวจเช็ควงจรที่เกี่ยวของ สําหรับราย
ละเอียดของแตละรหัส ใหดูตามหมายเลขหนาใตรหัสในตารางดานลาง
5 • เมื่อตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหาตั้งแต 2 รหัสขึ้นไป ใหทําการตรวจสอบทีละวงจรจนกระทั่งระบุปญหาได
1. ตารางรหัสวิเคราะหปญหาของ ABS:
10 รหัส
(ดูหนา)
ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เกิดปญหา
• เซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
11 C0200/31
เซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
• วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
(05-366) • โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
การติดตั้งเซ็นเซอร
12 •
• เซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
C0205/32 • วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
เซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
13 (05-366) • โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
• การติดตั้งเซ็นเซอร
• เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
14 C0210/33
เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
• วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
(05-371) • โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
15 •

การติดตั้งเซ็นเซอร
เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
C0215/34 • วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
16 (05-371) • โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
• การติดตั้งเซ็นเซอร
C0226/21 • วงจร SFRR หรือ SFRH
17 (05-376)
วงจรโซลินอยด SFR
• ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
C0236/22 • วงจร SFLR หรือ SFLH
วงจรโซลินอยด SFL
19 (05-376)
C0246/23


ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
วงจร SRRR หรือ SRRH
วงจรโซลินอยด SRR
(05-376) • ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
26 C0273/13
วงจรรีเลยมอเตอร ABS ขาด
• ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยมอเตอร ABS)
(05-378) • วงจรรีเลยมอเตอร ABS
27 C0274/14
(05-378)
วงจรรีเลยมอเตอร ABS ลัดวงจร


ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยมอเตอร ABS)
วงจรรีเลยมอเตอร ABS
C0278/11 • ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยมอเตอร ABS)
วงจรรีเลยโซลินอยด ABS ขาด
28 (05-381) • วงจรรีเลยมอเตอร ABS
C0279/12 • ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยมอเตอร ABS)
วงจรรีเลยโซลินอยด ABS ลัดวงจร
(05-381) • วงจรรีเลยมอเตอร ABS
29 • เซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
C1235/35
มีสิ่งแปลกปลอมติดที่ปลายแกนเซ็นเซอรหนาขวา • วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
(05-366)
30 •

การติดตั้งเซ็นเซอร
เซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
C1236/36
มีสิ่งแปลกปลอมติดที่ปลายแกนเซ็นเซอรหนาซาย • วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
31 (05-366)
• การติดตั้งเซ็นเซอร
• เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
C1238/38
มีสิ่งแปลกปลอมติดที่ปลายแกนเซ็นเซอรหลังขวา วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
32 (05-371)

• การติดตั้งเซ็นเซอร
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–365

• เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
C1239/39
มีสิ่งแปลกปลอมติดที่ปลายแกนเซ็นเซอรหลังซาย วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
(05-371)

• การติดตั้งเซ็นเซอร 1
• แบตเตอรี่
C1241/41
(05-383)
แรงดันไฟฟาขั้วบวกแบตเตอรี่ต่ํา •

ระบบไฟชารจ
วงจรแหลงจายไฟ
2
C1243/43* • เซ็นเซอรแรงหนวง
(05-386)
เซ็นเซอรแรงหนวงบกพรอง (คลาดเคลื่อน)
• วงจรเซ็นเซอรแรงหนวง 3
C1244/44* • เซ็นเซอรแรงหนวง
วงจรเซ็นเซอรแรงหนวงขาดหรือลัดวงจร
(05-386)
C1245/45*


วงจรเซ็นเซอรแรงหนวง
เซ็นเซอรแรงหนวง
5
เซ็นเซอรแรงหนวงบกพรอง (สัญญาณผิดปกติ)
(05-386) • วงจรเซ็นเซอรแรงหนวง
C1249/49
• หลอดไฟเบรก 10
วงจรสวิตชไฟเบรกขาด • สวิตชไฟเบรก
(05-391)
• วงจรสวิตชไฟเบรก
C1251/51 มอเตอรปมถูกล็อค • แอ็คชิวเอเตอรเบรก 11
(05-394) วงจรมอเตอรปมขาด • วงจรแอ็คชิวเอเตอรเบรก
C1337/37
(05-396)
ขนาดยางแตกตางกัน ขนาดของยาง 12
ติดตลอดเวลา • แบตเตอรี่
(05-397)
ความผิดปกติใน ABS ECU
• ECU ควบคุมการลื่นไถล 13
ขอแนะนํา:
*: 4WD 14
2. ตารางรหัสวิเคราะหปญหาของระบบตรวจเช็คเซ็นเซอร:
รหัส การวิเคราะห บริเวณที่เกิดปญหา 15
• เซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
C1271/71 แรงดันไฟฟาทีส่ ง ออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวาต่าํ กวาปกติ • การติดตั้งเซ็นเซอร
• โรเตอรเซ็นเซอร 16
• เซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
C1272/72 แรงดันไฟฟาทีส่ ง ออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซายต่าํ กวาปกติ •

การติดตั้งเซ็นเซอร
โรเตอรเซ็นเซอร
17
• เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
C1273/73 แรงดันไฟฟาทีส่ ง ออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวาต่าํ กวาปกติ • การติดตั้งเซ็นเซอร 19
• โรเตอรเซ็นเซอร
• เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
C1274/74 แรงดันไฟฟาทีส่ ง ออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซายต่าํ กวาปกติ • การติดตั้งเซ็นเซอร 26
• โรเตอรเซ็นเซอร
แรงดันไฟฟาที่สงออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
C1275/75
เปลี่ยนแปลงผิดปกติ
โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา 27
แรงดันไฟฟาที่สงออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
C1276/76 โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
เปลี่ยนแปลงผิดปกติ
แรงดันไฟฟาที่สงออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
28
C1277/77 โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
เปลี่ยนแปลงผิดปกติ
C1278/78
แรงดันไฟฟาที่สงออกมาของเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
โรเตอรเซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย
29
เปลี่ยนแปลงผิดปกติ
• เซ็นเซอรแรงหนวง
C1279/79* เซ็นเซอรแรงหนวงเสีย
• การติดตั้งเซ็นเซอร 30
C1282/82* ความบกพรองของสวิตชตรวจจับ 4WD สวิตชตรวจจับ 4WD
C1283/83* ความบกพรองของสวิตชตรวจจับ L4 สวิตชตรวจจับ L4 31
ขอแนะนํา:
• รหัสตางๆ ในตารางนี้จะปรากฏออกมาเฉพาะในโหมดทดสอบ (TEST MODE) เทานั้น
• *: 4WD 32
05–366 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 รหัส C0200/31 เซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา


2 รหัส C0205/32 เซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
3
รหัส C1235/35 มีสงิ่ แปลกปลอมติดทีป่ ลายแกนเซ็นเซอรลอ หนาขวา
5
10 รหัส C1236/36 มีสงิ่ แปลกปลอมติดทีป่ ลายแกนเซ็นเซอรลอ หนาซาย
11 คําอธิบายผังวงจร
เซ็นเซอรความเร็วจะตรวจจับความเร็วลอและสงสัญญาณทีเ่ หมาะสม
12 ไปยัง ECU สัญญาณเหลานี้จะใชในการควบคุมของระบบควบคุม
เซ็นเซอรความเร็ว
โรเตอร ปองกันเบรกล็อค (ABS)
13 ขด
N S
แมเหล็ก
ลวด
ไปที่ ECU การทํางานจะอาศัยการหมุนของโรเตอร โดยโรเตอรที่ลอหนาและ
14 ลอหลังแตละตัวจะมีฟนอยู 48 ซี่ เมื่อโรเตอรหมุน สนามแมเหล็กที่
ความเร็วต่ํา แผออกจากแทงแมเหล็กในเซ็นเซอรความเร็วจะกอใหเกิดแรงดัน
15 ความเร็วสูง ไฟฟากระแสสลับ เนื่องจากความถี่ของแรงดันไฟฟากระแสสลับนี้
+V จะเปลี่ยนไปตามความเร็วของโรเตอร โดย ECU จะใชความถี่นี้ใน
16 การตรวจจับความเร็วของแตละลอ

17 BR3583
BR3582
-V
F00010

19 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา


1. ขณะความเร็วรถอยูที่ 10 กม./ชม. (6 ไมล/ชม.) หรือมาก • เซ็นเซอรความเร็วลอหนา
กวา วงจรสัญญาณเซ็นเซอรของลอที่บกพรองขาดหรือ วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
26 C0200/31 ลัดวงจรประมาณ 1 วินาทีขึ้นไป

• โรเตอรเซ็นเซอรความเร็ว
C0205/32 • สัญญาณเซ็นเซอรของลอที่บกพรองขาดหายเปนชวงๆ • การติดตั้งเซ็นเซอร
27 7 ครั้งขึ้นไป
• วงจรสัญญาณเซ็นเซอรขาดนาน 0.5 วินาทีขึ้นไป
28 C1235/35
ขณะความเร็วรถเทากับ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.) หรือมาก • เซ็นเซอรความเร็วลอหนา
กวา มีคลื่นเสียงรบกวนในสัญญาณเซ็นเซอรความเร็ว • วงจรเซ็นเซอรความเร็ว
C1236/36
29 ประมาณ 5 วินาทีขึ้นไป • การติดตั้งเซ็นเซอร
ขอแนะนํา:
30 รหัส C0200/31 และ C1235/35 คือ เซ็นเซอรความเร็วลอหนาขวา
รหัส C0205/32 และ C1236/36 คือ เซ็นเซอรความเร็วลอหนาซาย
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–367

ผังวงจรไฟฟา
1
ECUSkid
ควบคุ มการลืECU
Control ่นไถล
S4 พรอwith
มแอ็Actuator
คชิวเอเตอร
S4 Speed Sensor Front
เซ็
LHนเซอรความเร็วลอหนาซาย 2
9
W R
S2 FL+
FL+ 1
3
8
B
FL- 2
G
S2 FL- 5
S4
S5 Speed Sensor Front
เซ็RH
นเซอรความเร็วลอหนาขวา
L-W 31 10
W
S2 FR+
FR+ 1
11
30
B O
FR- 2
S2 FR- 12
F50105 13
ขั้นตอนการตรวจสอบ 14
ขอแนะนํา:
ใหเริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) และเริ่มจากขั้นตอนที่ 3 เมื่อไมใชเครื่อง 15
วิเคราะหปญหา (IT II)
16
1 อานขอมูลใน DATA LIST (เซ็นเซอรความเร็วลอหนา)
(ก) ตรวจเช็คฟงกชั่นการแสดงขอมูลของเซ็นเซอรความเร็วลอหนาทํางานอยางถูกตอง 17
ECU ควบคุมการลื่นไถล:
สิ่งที่ตรวจวัด/
19
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
ชวง (การแสดงผล)
คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หนาขวา) / 26
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
FR Wheel Speed ต่ําสุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
มาตรวัดความเร็ว 27
คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หนาซาย) /
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
FL Wheel Speed ต่าํ สุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
มาตรวัดความเร็ว
28
สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
ปกติ: คาความเร็วที่ปรากฏแทบไมมีความแตกตางกัน 29
ขอแนะนํา:
สําหรับมาตรวัดความเร็วนั้นใหมีคาเผื่อได ± 10% 30
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3 31
ปกติ
32
05–368 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 2 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วและฟนของโรเตอรเซ็นเซอร
(ก) ตอออสซิลโลสโคปเขากับขั้ว FR+ กับ FR- และ FL+ กับ
2 คลื่นสัญญาณปกติ
FL- ของ ECU ควบคุมการลื่นไถล
(ข) ขับรถดวยความเร็วประมาณ 30 กม./ชม. (19 ไมล/ชม.) และ
3 ตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณ
GND
ปกติ: คลื่นสัญญาณดังภาพซายมือปรากฏขึ้น
5
ขอแนะนํา:
10 1 V / Division
2 msec. / Division
W04200 • เนือ่ งจากความเร็วรถเพิม่ ขึน้ (ความเร็วรอบหมุนลอ) ความยาว
คลื่นจึงสั้นลง อีกทั้งการขึ้นๆ ลงๆ ในแรงดันไฟฟาที่สงออก
11 มาจะมากขึ้น
• สัญญาณบกพรองจะถูกสงออกมาเมื่อมีคลื่นเสียงรบกวนใน
12 คลืน่ สัญญาณทีอ่ อสซิลโลสโคป ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากรอยขีดขวน
หรือการหลุดหลวมของโรเตอรเซ็นเซอรจับความเร็ว หรือมี
13 วัตถุแปลกปลอมติดที่โรเตอร

14 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 6
ปกติ
15
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
16
17 3 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร S4 และ S5
19 เซ็นเซอรความเร็วลอหนา (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอรความเร็วลอ
คามาตรฐาน:
26 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1 1-2 0.6 ถึง 1.8 kΩ
27
2
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
28 F50131

บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
29 (ดูหนา 32-71)
ขอแนะนํา:
30 ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหลังจากเปลี่ยนเซ็นเซอร
31 (ดูหนา 05-348)
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–369

4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล − เซ็นเซอรความเร็วลอหนา) 1


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ (ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอรความเร็ว S4 และ S5 2
FL-
S2
ECU ควบคุมการลื่นไถล
FL+ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
ขางซาย
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 5
S2-9 (FL+) - S4-1 (FL+) ต่ํากวา 1 Ω
S2-8 (FL-) - S4-2 (FL-) ต่ํากวา 1 Ω
FR- FR+ S4-1 (FL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
S4 S5 S4-2 (FL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
เซ็นเซอรความเร็ว
ลอหนาซาย
เซ็นเซอรความเร็ว
ลอหนาขวา ขางขวา 11
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-31 (FR+) - S5-1 (FR+) ต่ํากวา 1 Ω 12
S2-30 (FR-) - S5-2 (FR-) ต่ํากวา 1 Ω
S5-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
FL- FR+ FR- S5-2 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
13
FL+
F50098
F50097 F50132
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
5 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วและฟนของโรเตอรเซ็นเซอร
16
(ก) ตอออสซิลโลสโคปเขากับขั้ว FR+ กับ FR- และ FL+ กับ
คลื่นสัญญาณปกติ
FL- ของ ECU ควบคุมการลื่นไถล 17
(ข) ขับรถดวยความเร็วประมาณ 30 กม./ชม. (19 ไมล/ชม.) และ
GND
ตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณ 19
ปกติ: คลื่นสัญญาณดังภาพซายมือปรากฏขึ้น
ขอแนะนํา: 26
1 V / Division
2 msec. / Division • เนือ่ งจากความเร็วรถเพิม่ ขึน้ (ความเร็วรอบหมุนลอ) ความยาว
27
W04200

คลื่นจึงสั้นลง อีกทั้งการขึ้นๆ ลงๆ ในแรงดันไฟฟาที่สงออก


มาจะมากขึ้น
• สัญญาณบกพรองจะถูกสงออกมาเมื่อมีคลื่นเสียงรบกวนใน 28
คลืน่ สัญญาณทีอ่ อสซิลโลสโคป ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากรอยขีดขวน
หรือการหลุดหลวมของโรเตอรเซ็นเซอรจับความเร็ว หรือมี 29
วัตถุแปลกปลอมติดที่โรเตอร
30
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 6
31
ปกติ
32
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
05–370 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 6 ตรวจสอบการติดตั้งเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
(ก) ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
2 8.0 นิวตัน-เมตร ปกติ:
• ขันแนนโบลทติดตั้งอยางถูกตอง
3 คาแรงขัน: 8.0 นิวตัน-เมตร (82 กก.-ซม., 71 นิ้ว-ปอนด)
• ไมมีชองวางระหวางเซ็นเซอรกับขอบังคับเลี้ยว
5 ไมมีชอ งวาง บกพรอง ขันติดตั้งเซ็นเซอรกลับเขาที่ใหแนน
ถูก ผิด
10 BR3795
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหนาหลังจากเปลีย่ นเซ็นเซอร
11 (ดูหนา 05-348)
ปกติ
12
7 ตรวจสอบปลายแกนเซ็นเซอรความเร็ว
13
(ก) ถอดเซ็นเซอรความเร็วลอหนาออก (ดูหนา 32-71)
14 (ข) ตรวจเช็คปลายแกนเซ็นเซอรความเร็ว
ปกติ: ไมมีรอยขีดขวนหรือวัตถุแปลกปลอมที่ปลายแกนเซ็นเซอร
15 บกพรอง ทําความสะอาดหรือเปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็ว
16 ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหลังจากทําความสะอาด
17 หรือเปลี่ยนเซ็นเซอรแลว (ดูหนา 05-348)
ปกติ
19
8 ตรวจสอบโรเตอรเซ็นเซอรความเร็ว
26 (ก) ถอดดุมลอหนาออก
27 (ข) ตรวจเช็ คฟนโรเตอรเซ็นเซอร
ปกติ: ไมมรี อยขีดขวนหรือซี่ฟนขาดหายหรือวัตถุแปลกปลอมที่โรเตอรเซ็นเซอร
28 บกพรอง ทําความสะอาดหรือเปลีย่ นโรเตอรเซ็นเซอรความเร็ว

29 ขอแนะนํา:
• ถามีสิ่ง แปลกปลอมติดอยู ใหขจัดออกและตรวจเช็คคลื่น
สัญญาณที่สงออกมาหลังจากประกอบกลับแลว
30 • ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วลอหลังจากทําความ
สะอาดโรเตอรเซ็นเซอร (ดูหนา 05-348)
31 ปกติ
32 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–371

รหัส C0210/33 เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา 1

รหัส C0215/34 เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย 2


3
รหัส C1238/38 มีสงิ่ แปลกปลอมติดทีป่ ลายแกนเซ็นเซอรลอ หลังขวา
5
รหัส C1239/39 มีสงิ่ แปลกปลอมติดทีป่ ลายแกนเซ็นเซอรลอ หลังซาย 10
คําอธิบายผังวงจร 11
ดูที่รหัส C0200/31, C0205/32, C1235/35 และ C1236/36 ในหนา 05-366
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา
1. ขณะความเร็วรถอยูที่ 10 กม./ชม. (6 ไมล/ชม.) หรือมาก
บริเวณที่เกิดปญหา 12
กวา วงจรสัญญาณเซ็นเซอรของลอที่บกพรองขาดหรือ • เซ็นเซอรความเร็วลอหนา
C0210/33 ลัดวงจรประมาณ 1 วินาทีขึ้นไป • วงจรเซ็นเซอรความเร็วลอหนา 13
C0215/34 • สัญญาณเซ็นเซอรของลอที่บกพรองขาดหายเปนชวงๆ • โรเตอรเซ็นเซอรความเร็ว
7 ครั้งขึ้นไป • การติดตั้งเซ็นเซอร 14
• วงจรสัญญาณเซ็นเซอรขาดนาน 0.5 วินาทีขึ้นไป
ขณะความเร็วรถเทากับ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.) หรือมาก เซ็นเซอรความเร็วลอหนา
C1238/38
กวา มีคลืน่ เสียงรบกวนในสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วตอเนือ่ ง

• วงจรเซ็นเซอรความเร็ว
15
C1239/39
กัน 5 วินาทีขึ้นไป • การติดตั้งเซ็นเซอร
ขอแนะนํา: 16
รหัส C0210/33 และ C1238/38 คือ เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
รหัส C0215/34 และ C1239/39 คือ เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย 17
ผังวงจรไฟฟา 19
ECUControl
Skid ควบคุมการลื
ECU่นไถล
S21 S21 Speed พรอมแอ็
with คชิวเอเตอร
Actuator
26
เซ็นเซอร ความเร็Rear
Sensor
LH
วลอหลังซาย
1 6 4 12
L L L L
2 1
BE1 BA2 IG1 S2 RL-
27
W
2
BE1
Y
7
BA2
P
3
IG1
P
11
S2 RL+
28
S22 S22 Speed
Sensor Rear
เซ็นเซอร
RHความเร็วลอหลังขวา
29
3 1 2 34
L R R R
BE1 BA2 IG1 S2 RR-
2 1
30
4 2 1 33
W
BE1
G
BA2
G
IG1
G
S2 RR+ 31

F50107
32
05–372 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 ขอแนะนํา:
ใหเริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) และเริ่มจากขั้นตอนที่ 3 เมื่อไมใชเครื่อง
2 วิเคราะหปญหา (IT II)

3 1 อานขอมูลใน DATA LIST (เซ็นเซอรความเร็วลอหลัง)


(ก) ตรวจเช็คฟงกชั่นการแสดงขอมูลของเซ็นเซอรความเร็วลอหลังทํางานอยางถูกตอง
5 ECU ควบคุมการลื่นไถล:
สิ่งที่ตรวจวัด/
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
10 ชวง (การแสดงผล)
คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หลังขวา)
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
RL Wheel Speed / ต่ําสุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
11 สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
มาตรวัดความเร็ว
คาเซ็นเซอรความเร็วลอ (หลังซาย)
ความเร็วใกลเคียงกับที่แสดงใน
12 RR Wheel Speed / ต่ําสุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) ความเร็วลอแทจริง
สูงสุด: 326 กม./ชม. (202 ไมล/ชม.)
มาตรวัดความเร็ว

13 ปกติ: คาความเร็วที่ปรากฏแทบไมมีความแตกตางกัน
ขอแนะนํา:
สําหรับมาตรวัดความเร็วนัน้ ใหมคี า เผือ่ ได ± 10%
14 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
ปกติ
15
2 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วและฟนของโรเตอรเซ็นเซอร
16
(ก) ตอออสซิลโลสโคปเขากับขัว้ RR+ กับ RR- และ RL+ กับ RL-
17 คลื่นสัญญาณปกติ
ของ ECU ควบคุมการลืน่ ไถล
(ข) ขับรถดวยความเร็วประมาณ 30 กม./ชม. (19 ไมล/ชม.) และ
19 ตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณ
GND
ปกติ: คลื่นสัญญาณดังภาพซายมือปรากฏขึ้น
26 ขอแนะนํา:
• เนือ่ งจากความเร็วรถเพิม่ ขึน้ (ความเร็วรอบหมุนลอ) ความยาว
27
2 msec. / Division
1 V / Division W04200

คลื่นจึงสั้นลง อีกทั้งการขึ้นๆ ลงๆ ในแรงดันไฟฟาที่สงออก


28 มาจะมากขึ้น
• สัญญาณบกพรองจะถูกสงออกมาเมื่อมีคลื่นเสียงรบกวนใน
29 คลืน่ สัญญาณทีอ่ อสซิลโลสโคป ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากรอยขีดขวน
หรือการหลุดหลวมของโรเตอรเซ็นเซอรจับความเร็ว หรือมี
30 วัตถุแปลกปลอมติดที่โรเตอร
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 6
31
ปกติ
32
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–373

3 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง 1
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร S21 และ S22
เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 0.6 ถึง 1.8 kΩ
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 5
2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10
เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา
11
12
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง (ดูหนา 32-74)
ขอแนะนํา: 13
ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรหลังจากเปลีย่ นเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง
F50133
(ดูหนา 05-348) 14
ปกติ
15
4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล − เซ็นเซอรความเร็วลอหลัง)
16
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ
S2
(ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอร S21 และ S22 17
ECU ควบคุมการลื่นไถล RL+ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
RL- คามาตรฐาน: 19
ขางซาย
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 26
RR-
S2-11 (RL+) - S21-2 (RL+) ต่ํากวา 1 Ω
RR+ S2-12 (RL-) - S21-1 (RL-) ต่ํากวา 1 Ω 27
S21 S22
S21-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
เซ็นเซอรความเร็ว เซ็นเซอรความเร็ว S21-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ลอหลังซาย ลอหลังขวา 28
ขางขวา
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-33 (RR+) - S22-2 (RR+) ต่ํากวา 1 Ω
29
S2-34 (RR-) - S22-1 (RR-) ต่ํากวา 1 Ω
RL-
S22-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 30
RL+ RR- RR+
F50098 S22-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
F50104 F50753
31
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 32
05–374 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 5 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วและฟนของโรเตอรเซ็นเซอร
(ก) ตอออสซิลโลสโคปเขากับขัว้ RR+ กับ RR- และ RL+ กับ RL-
2 คลื่นสัญญาณปกติ
ของ ECU ควบคุมการลืน่ ไถล
(ข) ขับรถดวยความเร็วประมาณ 30 กม./ชม. (19 ไมล/ชม.) และ
3 ตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณ
GND
ปกติ: คลื่นสัญญาณดังภาพซายมือปรากฏขึ้น
5 ขอแนะนํา:
• เนือ่ งจากความเร็วรถเพิม่ ขึน้ (ความเร็วรอบหมุนลอ) ความยาว
10 1 V / Division
2 msec. / Division
W04200

คลื่นจึงสั้นลง อีกทั้งการขึ้นๆ ลงๆ ในแรงดันไฟฟาที่สงออก


11 มาจะมากขึ้น
• สัญญาณบกพรองจะถูกสงออกมาเมื่อมีคลื่นเสียงรบกวนใน
12 คลืน่ สัญญาณทีอ่ อสซิลโลสโคป ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากรอยขีดขวน
หรือการหลุดหลวมของโรเตอรเซ็นเซอรจับความเร็ว หรือมี
13 วัตถุแปลกปลอมติดที่โรเตอร
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 6
14
ปกติ
15
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
16
6 ตรวจสอบการติดตั้งเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง
17
(ก) ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง
8.0 นิวตัน-เมตร
19 ปกติ:
• ขันแนนโบลทติดตั้งอยางถูกตอง
26 คาแรงขัน: 8.0 นิวตัน-เมตร (82 กก.-ซม., 71 นิ้ว-ปอนด)
• ไมมีชองวางระหวางเซ็นเซอรกับดุมลอหลัง
27 ไมมีชอ งวาง
ถูก ผิด บกพรอง ขันติดตั้งเซ็นเซอรกลับเขาที่ใหแนน
28 BR3795

ขอแนะนํา:
29 ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรหลังจากเปลีย่ นเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง
(ดูหนา 05-348)
30 ปกติ

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–375

7 ตรวจสอบปลายแกนเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง 1
(ก) ถอดเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง (ดูหนา 32-74)
(ข) ตรวจเช็คปลายแกนเซ็นเซอรความเร็ว 2
ปกติ: ไมมีรอยขีดขวนหรือวัตถุแปลกปลอมที่ปลายแกนเซ็นเซอร
3
บกพรอง ทําความสะอาดหรือเปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็ว
5
ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรหลังจากทําความสะอาดหรือเปลีย่ นเซ็นเซอร 10
ความเร็วลอหลังแลว (ดูหนา 05-348)
ปกติ 11
8 ตรวจสอบโรเตอรเซ็นเซอรความเร็ว 12
(ก) ถอดเพลาดุมลอหลังออก 13
(ข) ตรวจเช็คฟนโรเตอรเซ็นเซอร
ปกติ: ไมมีรอยขีดขวนหรือซี่ฟนขาดหายหรือวัตถุแปลกปลอมที่โรเตอรเซ็นเซอร 14
บกพรอง ทําความสะอาดหรือเปลีย่ นโรเตอรเซ็นเซอรความเร็ว
15
ขอแนะนํา:
• ถามีสิ่งแปลกปลอมติดอยู ใหขจัดออกและตรวจเช็คคลื่น 16
สัญญาณที่สงออกมาหลังจากประกอบกลับแลว
• ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรหลังจากทําความสะอาดหรือ 17
เปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วลอหลังแลว (ดูหนา 05-348)
ปกติ 19

เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 26


27
28
29
30
31
32
05–376 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 รหัส C0226/21 วงจรโซลินอยด SFR


2 รหัส C0236/22 วงจรโซลินอยด SFL
3
รหัส C0246/23 วงจรโซลินอยด SRR
5
10 คําอธิบายผังวงจร
โซลินอยดนี้จะทํางานเมื่อไดรับสัญญาณจาก ECU แลวไปควบคุมแรงดันน้ํามันที่กระทําตอกระบอกเบรกกอใหเกิด
11 แรงเบรกหามลอได
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
12 C0226/21
วงจรโซลินอยดหนาขวา (SFRR หรือ SFRH) ขาดหรือลัดวง • วงจร SFRR หรือ SFRH
จรนานติดตอกันประมาณ 0.05 วินาทีขึ้นไป • ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
วงจรโซลินอยดหนาซาย (SFLR หรือ SFLH) ขาดหรือลัดวง วงจร SFLR หรือ SFLH
13 C0236/22
จรนานติดตอกันประมาณ 0.05 วินาทีขึ้นไป

• ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
วงจรโซลินอยดหลังขวา (SRRR หรือ SRRH) ขาดหรือลัดวง • วงจร SRRR หรือ SRRH
14 C0246/23
จรนานติดตอกันประมาณ 0.05 วินาทีขึ้นไป • ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก

15
ผังวงจรไฟฟา
16 ECU
Skidควบคุ มการลืECU
Control ่นไถล
พรwith
อมแอ็Actuator
คชิวเอเตอร
J/B หอRoom
Engine งเครื่องยนต
J/B
17
1 ALT 2 1
W ABS NO. 2
W-R
19 1A 1C S2 +BS

26
2
W-B
27 S2 GND1
24
W-B
28 S2 GND2

29
30
แบตเตอรี
Battery ่

31 EA

F50102

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–377

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจยืนยันรหัสวิเคราะหปญหาซ้ํา
ขอแนะนํา:
2
รหัสนี้จะปรากฏออกมาเมื่อตรวจพบปญหาในชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
วงจรโซลินอยดนนั้ ติดตัง้ อยูใ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก จึงไมสามารถทําการตรวจสอบโซลินอยดหรือวงจรโซลินอยดได
3
ควรตองตรวจเช็คใหแนใจวารหัสวิเคราะหปญหาดังกลาวปรากฎออกมากอนจะเปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
(ก) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
5
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON และตรวจเช็ควาไฟเตือน ABS ติดขึ้นประมาณ 3 วินาที
(ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
10
ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
11
รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B 12
B เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 13
A 14
2 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (โซลินอยด ABS) 15
(ก) เลือกทดสอบการทํางานในโหมด ACTIVE TEST โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) คอยใหคําสั่งควบคุม
แลวตรวจเช็ควาโซลินอยด ABS ทํางาน 16
ECU ควบคุมการลื่นไถล:
รายการขอมูล สภาพรถ / รายละเอียดการทดสอบ บันทึกการวิเคราะห 17
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
โซลินอยด ABS (SRRR) โซลินอยด ABS (SRRR) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก) 19
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
โซลินอยด ABS (SRRH) โซลินอยด ABS (SRRH) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก) 26
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด
โซลินอยด ABS (SFLR) โซลินอยด ABS (SFLR) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก)
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด 27
โซลินอยด ABS (SFLH) โซลินอยด ABS (SFLH) ON / OFF
(เสียงดังกริ๊ก)
โซลินอยด ABS (SFRR) โซลินอยด ABS (SFRR) ON / OFF
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด 28
(เสียงดังกริ๊ก)
โซลินอยด ABS (SFRH) โซลินอยด ABS (SFRH) ON / OFF
ไดยินเสียงการทํางานของโซลินอยด 29
(เสียงดังกริ๊ก)

บกพรอง เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 30


ปกติ 31
จบขั้นตอน 32
05–378 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 รหัส C0273/13 วงจรรีเลยมอเตอร ABS ขาดหรือลัดวงจร


2 รหัส C0274/14 วงจรรีเลยมอเตอร ABS ลัดวงจรที่ B+
3
คําอธิบายผังวงจร
5 รีเลยมอเตอร ABS จะจายไฟไปที่มอเตอรปม ABS โดยในขณะที่ ABS ถูกกระตุนใหทํางาน ECU จะเปดรีเลยมอเตอร
เพื่อใหมอเตอรปมน้ํามันเบรก ABS ทํางาน
10 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
เมื่อตรวจพบสิ่งหนึ่งสิ่งใดดังตอไปนี้:
11 1. ทุกสภาวะนานติดตอกันอยางนอย 0.2 วินาที
• แรงดันไฟฟา IG1 อยูระหวาง 10 และ 16 V
• วงจรมอเตอรปม ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยมอเตอร ABS)
12 C0273/13
• หนาคอนแท็คของรีเลยขาดเมื่อรีเลยทํางาน (ON)

• วงจรรีเลยมอเตอร ABS
2. ทุกสภาวะนานติดตอกันอยางนอย 0.2 วินาที
13 • แรงดันไฟฟา IG1 ต่ํากวา 10 V
• หนาคอนแท็คของรีเลยยังคงไมตอเมื่อรีเลยทํางาน (ON)

14 C0274/14
หนาคอนแท็คของรีเลยไมจากเมื่อรีเลยไมทํางาน (OFF) นาน • ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยมอเตอร ABS)
อยางนอย 4 วินาที • วงจรรีเลยมอเตอร ABS
15
ผังวงจรไฟฟา
16 ECU ควบคุ
Skid มการลืECU
Control ่นไถล
พรอมแอ็คชิวเอเตอร
with Actuator
17 J/B หองเครื
Engine Room ่องยนต
J/B

1 ALT ABS NO. 1 2 23


19 W
1A 1B
R
S2 +BM

26
2
27 W-B
S2 GND1
24
28 W-B
S2 GND2

29
30
แบตเตอรี
Battery ่

31 EA

32 F50102
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–379

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
ใหเริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) และเริ่มจากขั้นตอนที่ 2 เมื่อไมใชเครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) 2
1 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (รีเลยมอเตอร ABS)
3
(ก) เลือกทดสอบการทํางานในโหมด ACTIVE TEST โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) คอยใหคําสั่งควบคุม
แลวตรวจเช็ควารีเลยมอเตอร ABS ทํางาน 5
ECU ควบคุมการลื่นไถล:
รายการขอมูล สภาพรถ / รายละเอียดการทดสอบ บันทึกการวิเคราะห 10
ABS Motor Relay รีเลยมอเตอร ABS ON / OFF ไดยินเสียงการทํางานของมอเตอร
ปกติ: ไดยินเสียงการทํางานของมอเตอร ABS 11
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4
ปกติ
12
13
2 ตรวจสอบขั้วตอ ECU ควบคุมการลื่นไถล
(ก) ตรวจเช็คสภาพการตอขั้วตอ ECU ควบคุมการลื่นไถล 14
ปกติ: ขั้วตอตอแนน
15
บกพรอง ตอขั้วตอเขากับ ECU อยางถูกตอง
ปกติ 16

3 ตรวจยืนยันรหัสวิเคราะหปญหาซ้ํา 17
ขอแนะนํา: 19
รหัสนี้จะปรากฏออกมาเมื่อตรวจพบปญหาในชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
รีเลยมอเตอร ABS นัน้ ติดตัง้ อยูใ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก จึงไมสามารถตรวจสอบรีเลยมอเตอร ABS และตัวโซลินอยดได 26
ควรตองตรวจเช็คใหแนใจวารหัสวิเคราะหปญ  หาดังกลาวปรากฎออกมากอนจะเปลีย่ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358) 27
(ข) ขับรถดวยความเร็ว 6 กม./ชม. (4 ไมล/ชม.) หรือมากกวา
(ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
ผลที่ได: 28
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A 29
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B
30
B จบขั้นตอน
A 31
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 32
05–380 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 4 ตรวจสอบฟวส (ALT, ABS NO.1)


(ก) ถอดฟวสกระแสสูง ALT และฟวสกระแสสูง ABS No.1 ออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครื่องยนต
2 (ข) วัดความตานทานของฟวสกระแสสูงทั้งสอง
คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
3
บกพรอง เปลี่ยนฟวส
5 ปกติ
10
5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECUควบคุมการลื่นไถล − แบตเตอรี่ และกราวดตัวถัง)
11 (ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
12 S2
ECU ควบคุมการลื่นไถล
GND1
คามาตรฐาน:
13 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-23 (+BM) - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
S2-2 (GND1) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
14 S2-24 (GND2) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
+BM GND2 F50098

15 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

16 ปกติ

17 6 ตรวจยืนยันรหัสวิเคราะหปญหาซ้ํา

19 ขรหัอแนะนํ า:
สนี้จะปรากฏออกมาเมื่อตรวจพบปญหาในชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
รีเลยมอเตอร ABS นัน้ ติดตัง้ อยูใ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก จึงไมสามารถตรวจสอบรีเลยมอเตอร ABS และโซลินอยดได
26 ควรตองตรวจเช็คใหแนใจวารหัสวิเคราะหปญ หาดังกลาวปรากฎออกมากอนจะเปลีย่ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
27 (ข) ขับรถดวยความเร็ว 6 กม./ชม. (4 ไมล/ชม.) หรือมากกวา
(ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
28 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
29 รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B
30
B จบขั้นตอน
31 A

32 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–381

รหัส C0278/11 วงจรรีเลยโซลินอยด ABS ขาดหรือลัดวงจร 1

รหัส C0279/12 วงจรรีเลยโซลินอยด ABS ลัดวงจร 2


3
คําอธิบายผังวงจร
รีเลยนี้ทําหนาที่จายไฟใหกับโซลินอยด ABS แตละตัว หลังจากสวิตชจุดระเบิดถูกบิดไปที่ตําแหนง ON กรณีที่ผานการ 5
ตรวจเช็คเบื้องตนของ ABS แลว ECU ควบคุมการลื่นไถลจะทําใหรีเลยโซลินอยด ABS ทํางาน (ON)
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 10
เมื่อตรวจพบสิ่งหนึ่งสิ่งใดดังตอไปนี้:
1. ทุกสภาวะนานติดตอกันอยางนอย 0.2 วินาที 11
• แรงดันไฟฟา IG อยูระหวาง 10 และ 16 V
• ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยโซลินอยด ABS)
C0278/11 • หนาคอนแท็คของรีเลยไมตอเมื่อรีเลยทํางาน (ON)
• วงจรรีเลยโซลินอยด ABS 12
2. ทุกสภาวะนานติดตอกันอยางนอย 0.2 วินาที
• แรงดันไฟฟา IG เทากับ 10 V หรือต่าํ กวาเมือ
่ รีเลยทาํ งาน (ON)
• หนาคอนแท็คของรีเลยยังคงไมตอ
13
เมื่อรีเลยไมทํางาน (OFF) การบิดสวิตชจุดระเบิด ON
C0279/12 หนาคอนแท็คของรีเลยไมจากโดยทันที และนานตอเนื่อง
• ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยโซลินอยด ABS) 14
• วงจรรีเลยโซลินอยด ABS
อยางนอย 0.2 วินาที
15
ผังวงจรไฟฟา 16
ECUSkid
ควบคุ มการลืECU
Control ่นไถล
พรอwith
มแอ็Actuator
คชิวเอเตอร 17
J/B หอRoom
Engine งเครื่องยนต
J/B

W
1 ALT ABS NO. 2
2
W-R
1
19
1A 1C S2 +BS

26

W-B
2 27
S2 GND1

W-B
24
28
S2 GND2

29
30
แบตเตอรี
Battery ่
EA
31
F50102
32
05–382 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (ALT, ABS NO. 2)
2 (ก) ถอดฟวสกระแสสูง ALT และฟวสกระแสสูง ABS NO. 2 ออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครื่องยนต
(ข) วัดคาความตานทานของฟวสกระแสสูงทั้งสอง
3 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
5 บกพรอง เปลี่ยนฟวส

10 ปกติ

11 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECUควบคุมการลื่นไถล − แบตเตอรี่ และกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
12 ดานชุดสายไฟ
S2 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:
13 GND1
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-1 (+BS) - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
14 S2-2 (GND1) - กราวดตัวถัง
S2-24 (GND2) - กราวดตัวถัง
ต่ํากวา 1 Ω
ต่ํากวา 1 Ω

15 +BM GND2 F50098


บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

16 ปกติ

17 3 ตรวจยืนยันรหัสวิเคราะหปญหาซ้ํา
ขอแนะนํา:
19 รหัสนี้จะปรากฏออกมาเมื่อตรวจพบปญหาในชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
รีเลยมอเตอร ABS นัน้ ติดตัง้ อยูใ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก จึงไมสามารถตรวจสอบรีเลยมอเตอร ABS และโซลินอยดได
26 ควรตองตรวจเช็คใหแนใจวารหัสวิเคราะหปญ  หาดังกลาวปรากฎออกมากอนจะเปลีย่ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
27 (ข) ขับรถดวยความเร็ว 6 กม./ชม. (4 ไมล/ชม.) หรือมากกวา
(ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
28 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
29 รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B
30 B จบขั้นตอน
31 A

32 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–381

รหัส C0278/11 วงจรรีเลยโซลินอยด ABS ขาดหรือลัดวงจร 1

รหัส C0279/12 วงจรรีเลยโซลินอยด ABS ลัดวงจร 2


3
คําอธิบายผังวงจร
รีเลยนี้ทําหนาที่จายไฟใหกับโซลินอยด ABS แตละตัว หลังจากสวิตชจุดระเบิดถูกบิดไปที่ตําแหนง ON กรณีที่ผานการ 5
ตรวจเช็คเบื้องตนของ ABS แลว ECU ควบคุมการลื่นไถลจะทําใหรีเลยโซลินอยด ABS ทํางาน (ON)
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 10
เมื่อตรวจพบสิ่งหนึ่งสิ่งใดดังตอไปนี้:
1. ทุกสภาวะนานติดตอกันอยางนอย 0.2 วินาที 11
• แรงดันไฟฟา IG อยูระหวาง 10 และ 16 V
• ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยโซลินอยด ABS)
C0278/11 • หนาคอนแท็คของรีเลยไมตอเมื่อรีเลยทํางาน (ON)
• วงจรรีเลยโซลินอยด ABS 12
2. ทุกสภาวะนานติดตอกันอยางนอย 0.2 วินาที
• แรงดันไฟฟา IG เทากับ 10 V หรือต่าํ กวาเมือ
่ รีเลยทาํ งาน (ON)
• หนาคอนแท็คของรีเลยยังคงไมตอ
13
เมื่อรีเลยไมทํางาน (OFF) การบิดสวิตชจุดระเบิด ON
C0279/12 หนาคอนแท็คของรีเลยไมจากโดยทันที และนานตอเนื่อง
• ชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (รีเลยโซลินอยด ABS) 14
• วงจรรีเลยโซลินอยด ABS
อยางนอย 0.2 วินาที
15
ผังวงจรไฟฟา 16
ECUSkid
ควบคุ มการลืECU
Control ่นไถล
พรอwith
มแอ็Actuator
คชิวเอเตอร 17
J/B หอRoom
Engine งเครื่องยนต
J/B

W
1 ALT ABS NO. 2
2
W-R
1
19
1A 1C S2 +BS

26

W-B
2 27
S2 GND1

W-B
24
28
S2 GND2

29
30
แบตเตอรี
Battery ่
EA
31
F50102
32
05–382 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (ALT, ABS NO. 2)
2 (ก) ถอดฟวสกระแสสูง ALT และฟวสกระแสสูง ABS NO. 2 ออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครื่องยนต
(ข) วัดคาความตานทานของฟวสกระแสสูงทั้งสอง
3 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
5 บกพรอง เปลี่ยนฟวส

10 ปกติ

11 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECUควบคุมการลื่นไถล − แบตเตอรี่ และกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
12 ดานชุดสายไฟ
S2 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:
13 GND1
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-1 (+BS) - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
14 S2-2 (GND1) - กราวดตัวถัง
S2-24 (GND2) - กราวดตัวถัง
ต่ํากวา 1 Ω
ต่ํากวา 1 Ω

15 +BM GND2 F50098


บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

16 ปกติ

17 3 ตรวจยืนยันรหัสวิเคราะหปญหาซ้ํา
ขอแนะนํา:
19 รหัสนี้จะปรากฏออกมาเมื่อตรวจพบปญหาในชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
รีเลยมอเตอร ABS นัน้ ติดตัง้ อยูใ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก จึงไมสามารถตรวจสอบรีเลยมอเตอร ABS และโซลินอยดได
26 ควรตองตรวจเช็คใหแนใจวารหัสวิเคราะหปญ  หาดังกลาวปรากฎออกมากอนจะเปลีย่ นชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก
(ก) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
27 (ข) ขับรถดวยความเร็ว 6 กม./ชม. (4 ไมล/ชม.) หรือมากกวา
(ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
28 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
29 รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B
30 B จบขั้นตอน
31 A

32 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–383

รหัส C1241/41 แรงดันไฟฟาขั้วบวกแบตเตอรี่ต่ํา 1

คําอธิบายผังวงจร 2
วงจรนี้ คือ วงจรแหลงจายไฟของ ECU ควบคุมการลื่นไถล 3
แอ็คชิวเอเตอรเบรกจะบรรจุอยูใน ECU ควบคุมการลื่นไถลนี้
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 5
ตรวจพบสภาวะอยางหนึ่งอยางใด (1 ถึง 2) ดังตอไปนี้:
1. ทุกสภาวะตอไปนี้นานติดตอกันอยางนอย 10 วินาที
• ความเร็วรถมากกวา 3 กม./ชม. (2 ไมล/ชม.)
10
• แบตเตอรี่
• แรงดันไฟฟาขั้ว IG1 ต่ํากวา 10 V
C1241/41
2. ทุกสภาวะตอไปนี้นานติดตอกันอยางนอย 0.2 วินาที
• ระบบไฟชารจ 11
• วงจรแหลงจายไฟ
• รีเลยโซลินอยดยังคงทํางานอยู
• หนาคอนแท็คของรีเลยไมตอ 12
• แรงดันไฟฟาขั้ว IG1 ต่ํากวา 10 V

13
ผังวงจรไฟฟา
14
ECU ควบคุมการลื่นไถล
ชุด J/B แผงหนาปด พรอมแอ็คชิวเอเตอร
(J/B ดานคนขับ) 15
J/C
16
B B 6 ECU-IG & GAUGE 8 25
B-Y B
J18 J19 2A 2L S2 IG1
I6
ชุดสวิตชจุดระเบิด
B-Y
2
AM1
1
B
17
B-R
2A 2G
1 IG1 AM1 4
19
2 1

J/B หองเครื่องยนต

W
1
ALT
1 26
1A 1F
2
W-B
S2 GND1 27
24
W-B
S2 GND2 28
แบตเตอรี่
E
29
F50103 30
31
32
05–384 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (ECU-IG & GAUGE)
2 (ก) ถอดฟวส ECU-IG & GAUGE ออกจากกลองรวมชุดสายไฟใตแผงหนาปด
(ข) วัดคาความตานทานของฟวส
3 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
บกพรอง เปลี่ยนฟวส
5
ปกติ
10
2 ตรวจสอบแบตเตอรี่
11 (ก) ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V
12 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
13 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ปกติดี (เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)) A
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ปกติดี (เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)) B
14 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ผิดปกติ C

B ดูขั้นตอนที่ 4
15
C ชารจใหมหรือเปลี่ยนแบตเตอรี่
16
A
17
3 อานขอมูลใน DATA LIST (แรงดันไฟฟาแหลงจายไฟ ECU IG)
19 (ก) ตรวจเช็คขอมูลการทํางานที่ถูกตองของแรงดันไฟฟาแหลงจายไฟ ECU IG ใน DATA LIST
ECU ควบคุมการลื่นไถล:
26 สิ่งที่ตรวจวัด/
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
ชวง (การแสดงผล)
27 แรงดันไฟฟาแหลงจายไฟ ECU / TOO HIGH: 14.0 V หรือสูงกวา
ECU IG Power Voltage TOO LOW / NORMAL / TOO NORMAL: 10 V หรือ 14.0 V -
HIGH TOO LOW: ต่ํากวา 10 V
28 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
29 NORMAL A
ไมใช NORMAL B
30
B ดูขั้นตอนที่ 4
31 A

32 จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–385

4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – แบตเตอรี่) 1


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ
S2 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 2
ECU ควบคุมการลื่นไถล (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-25 (IG1) - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V 5
IG1 F50098
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 10
ปกติ 11
5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – กราวดตัวถัง) 12
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ 13
S2 (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน: 14
GND1
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-2 (GND1) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω 15
S2-24 (GND2) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω

GND2 F50098 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 16


ปกติ 17
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 19
26
27
28
29
30
31
32
05–386 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 รหัส C1243/43 เซ็นเซอรแรงหนวงบกพรอง


2 รหัส C1244/44 วงจรเซ็นเซอรแรงหนวงขาดหรือลัดวงจร
3
รหัส C1245/45 เซ็นเซอรแรงหนวงบกพรอง
5
10 คําอธิบายผังวงจร
เซ็นเซอรนี้จะตรวจจับแรงหนวงที่ตัวรถ แลวนําสัญญาณจากเซ็นเซอรไปใชในการควบคุม ABS ถาเซ็นเซอรทํางานผิด
11 ปกติ ไฟเตือน ABS จะติดขึ้น
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
12 ทําซ้ําสภาวะตอไปนี้ 16 ครั้ง
• เซ็นเซอรแรงหนวง
C1243/43 • GL1 ไมเปลี่ยนแปลงไปมากกวา 2LSB เมื่อลดความเร็วรถ
• วงจรเซ็นเซอรแรงหนวง
ลงจาก 30 กม./ชม. (19 ไมล/ชม.) เปน 0 กม./ชม.(0 ไมล/ชม.)
13 ตรวจพบสภาวะอยางหนึ่งอยางใด (1 ถึง 3) ดังตอไปนี้:
1. คาแรงหนวง (G) ที่คํานวณโดย ECU ตามสัญญาณ
14 GL1 ไมอยูในชวงระหวาง -1.5G และ 1.5G ประมาณ
• เซ็นเซอรแรงหนวง
C1244/44 1.2 วินาที
วงจรเซ็นเซอรแรงหนวง
15 2. เมื่อแรงดันไฟฟาขณะทํางานของเซ็นเซอรไมอยูภายใน

4.5 ถึง 4.6 V


16 3. เกิดสัญญาณความผิดปกติของเซ็นเซอร G มากกวา 7 ครั้ง
ความแตกตางระหวางคาที่คํานวณจากคาเซ็นเซอร G กับ • เซ็นเซอรแรงหนวง
C1245/45
ความเร็วรถเกิน 0.35 G เปนเวลาอยางนอย 60 วินาที วงจรเซ็นเซอรแรงหนวง
17 •

19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–387

ผังวงจรไฟฟา
1
ECUSkid
ควบคุControl
มการลื่นไถล
A17 Deceleration Sensor
เซ็นเซอรแรงหนวง สายปองกัน สายปองกัน สายปองกัน พรอwith
มแอ็คActuator
ชิวเอเตอร
EC
2
ญาณรบกวน*2
สัญShielded*2 สัญShielded
ญาณรบกวน สัญShielded
ญาณรบกวน
6 7
3
B IG1 B S2
GGND GGND
2
5
8 28
W IG1 W S2
VGS
3
VGS 10

GL1 R
7
IG1 R
4
S2
GL1
11
1

5 12
IG1

*1
BR*1
BR 13
A
J/C
J28
14
*1
: เอ็กซตราแคป, ซิงเกิลแคป
*2
15
: ดับCab,
*1: Extra เบิ้ลแคSingle
ป Cab *2:
IF Double Cab
16
F50125
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–388 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 ขอแนะนํา:
ใหเริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) และเริ่มจากขั้นตอนที่ 2 เมื่อไมใชเครื่อง
2 วิเคราะหปญหา (IT II)
3 1 อานขอมูลใน DATA LIST (เซ็นเซอรแรงหนวงตัวที่ 1)

5 (ก) ตรวจเช็คขอมูลการทํางานที่ถูกตองของเซ็นเซอรแรงหนวงใน DATA LIST


ECU ควบคุมการลื่นไถล:
10 รายการขอมูล
สิ่งที่ตรวจวัด/
สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
ชวง (การแสดงผล)
11 คาเซ็นเซอรแรงหนวง 1 /
ประมาณ 0 ± 0.13 G ณ สภาวะที่
Deceleration Sensor 1 ต่ําสุด: -1.869 G, คาทีอ่ า นไดเปลีย่ นไปเมือ่ รถถูกเขยา
คงอยู
สูงสุด: 1.869 G
12 ปกติ: คาความหนวงกําลังเปลี่ยนไป
13 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2

14 ปกติ

15 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–389

2 ตรวจสอบเซ็นเซอรแรงหนวง 1
(ก) ถอดกลองคอนโซลและเซ็นเซอรแรงหนวงออก
2 1 (ข) ตออนุกรมแบตเตอรี่แหงขนาด 1.5 โวลท 3 กอน 2
(GGND) (GL1)
(ค) ตอขั้ว 3 (VGS) เขากับขั้วบวก (+) ของแบตเตอรี่ และขั้ว 2
3
(VGS) (GGND) เขากับขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ จายไฟประมาณ 4.5 3
โวลท ระหวางขั้ว 3 (VGS) กับขั้ว 2 (GGND)
ขอแนะนํา:
5
อยาจายแรงดันไฟฟาขนาด 6 โวลทหรือสูงกวาเขาขั้ว 3 (VGS) กับ
10
ขั้ว 2 (GGND)
ดานหนา (ง) ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาที่สงออกมาของขั้ว 1 (GL1) เมื่อจับ 11
เซ็นเซอรเอียงไปขางหนาและขางหลัง
คามาตรฐาน: 12
ไปขางหนา
การตอขั้วทดสอบ เซ็นเซอร เงื่อนไขที่กําหนด
ไปขางหลัง 1 (GL1) -
ราบตามขวาง ประมาณ 2.5 V 13
ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่
1 (GL1) -
F44074

ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่


เอียงไปขางหนา ประมาณ 0.5 ถึง 2.5 V 14
1 (GL1) -
ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่
เอียงไปขางหลัง ประมาณ 2.5 ถึง 4.5 V 15
ขอแนะนํา:
• ถาเอียงเซ็นเซอรมากเกินไป คาที่ไดอาจผิดพลาด
16
• ถาแรงดันไฟฟาตก ควรเปลี่ยนเซ็นเซอรตัวใหม 17
• ไมควรวางเซ็นเซอรทถี่ อดออกจากตัวถังรถโดยคว่าํ ดานบนลง
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรแรงหนวง 19
ปกติ 26
27
28
29
30
31
32
05–390 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – เซ็นเซอรแรงหนวง)


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
2 ดานชุHarness
Wire ดสายไฟ Side
S2 (ข) ปลดขัว้ ตอเซ็นเซอร A17
S2 Skid Control ECU
ECU ควบคุมการลื่นไถล (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 GL1
GGND
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 S2-4 (GL1) - A17-1 (GL1) ต่ํากวา 1 Ω
S2-7 (GGND) - A17-2 (GGND) ต่ํากวา 1 Ω
10 S2-28 (VGS) - A17-3 (VGS) ต่ํากวา 1 Ω
VGS A17-1 (GL1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 A17 Deceleration Sen
A17
เซ็
sor นเซอรแรงหนวง A17-2 (GGND) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
A17-3 (VGS) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12 VGS

13 GL1 GGND
F50098

14 A84807 F50759
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
16 4 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
(ก) ยึดเซ็นเซอรแรงหนวงเขากับรถ
17 (ข) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
(ค) ขับรถดวยความเร็ว 6 กม./ชม. (4 ไมล/ชม.) หรือมากกวา
19 (ง) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-358)
26 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา A
27 รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา B

28 บกพรอง จบขั้นตอน

29 A

30 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–391

รหัส C1249/49 วงจรสวิตชไฟเบรกขาด 1

คําอธิบายผังวงจร 2
วงจรนี้รับรูการทํางานของเบรกจากการสงสัญญาณไฟเบรกไปยัง ECU ควบคุมการลื่นไถล 3
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
ทุกสภาวะตอไปนี้นานติดตอกันอยางนอย 0.3 วินาที หลอดไฟเบรก
C1249/49 • แรงดันไฟฟาขั้ว IG1 อยูระหวาง 10 และ 16 V

• สวิตชไฟเบรก
5
• วงจรสวิตชไฟเบรกขาด • วงจรสวิตชไฟเบรก
10
ผังวงจรไฟฟา 11
ชุด J/B แผงหน
Instrument าปJ/B
Panel ด Assy ECUSkid
ควบคุ มการลื่นไถล
Control ECU 12
S24
S24 Stop Lamp (J/BSide
(Driver ดานคนขั
J/B)บ) พรอwith
มแอ็คActuator
ชิวเอเตอร
สวิตชไฟเบรก
Switch
G-W
5
2M
5
2L
G-W
10
S2 STP
13
2 1
G-B

2K 5
14
2F 2
Instrument Panel J/B

STOP
ชุด J/B(Driver
Assy แผงหนSide
าปด J/B) 15
(J/B ดานคนขับ)
ไปทีTo่ไฟเบรก
Stop Lamp
2G 1
16
B 17
1F 1
19
Engine Room J/B
ALT J/B หองเครื่องยนต
26
1A 1

W
27

แบตเตอรี่
Battery
28

F50754
29
30
31
32
05–392 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คการทํางานของสวิตชไฟเบรก
2
(ก) ตรวจเช็ควาไฟเบรกติดขึ้นเมื่อกดแปนเบรกลงและดับไปเมื่อปลอยแปนเบรก
3 ปกติ:
สภาวะ สถานะของไฟเบรก
เหยียบเบรก ติดขึ้น
5 ปลอยเบรก ดับไป

10 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3

11 ปกติ

12 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – สวิตชไฟเบรก)

13 (ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU


ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอสวิตชไฟเบรก S14
S2
14 ECU ควบคุมการลื่นไถล STP
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
15 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-10 (STP) -S14-1 (STP) ต่ํากวา 1 Ω
16
17
S14
สวิตชไฟเบรก

19
26
STP

27 F50111 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–393

3 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟเบรก 1
(ก) ปลดขั้วตอสวิตชไฟเบรก
ชุดสวิตชไฟเบรก 2
(ข) วัดความตานทานของสวิตชไฟเบรก
สลัก
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 สลักไมถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
ไมถูกกด ถูกกด 1-2 สลักถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา 5
10
11
2 1
B86809
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟเบรก 12
ปกติ 13
4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – แบตเตอรี่) 14
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU 15
ดานชุดสายไฟ
S2 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:
STP
16
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
S2-10 (STP) -
เหยียบเบรก 8 ถึง 14 V 17
กราวดตัวถัง
S2-10 (STP) -
F50098
กราวดตัวถัง
ปลอยเบรก ต่ํากวา 1 V 19
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 26
ปกติ 27
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 28
29
30
31
32
05–394 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 รหัส C1251/51 มอเตอรปม ถูกล็อค/การขาดวงจรในกราวดมอเตอรปม


2 คําอธิบายผังวงจร
3 มอเตอรปม ABS ติดตั้งอยูภายในแอ็คชิวเอเตอรเบรก
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
มอเตอรปมแอ็คชิวเอเตอรทํางานไมถูกตอง
5 C1251/51

• วงจรมอเตอรปมแอ็คชิวเอเตอรขาดนานติดตอกัน
• แอ็คชิวเอเตอรเบรก
• วงจรแอ็คชิวเอเตอรเบรก
อยางนอย 2 วินาที
10
11 ผังวงจรไฟฟา
12
ECU ควบคุมการลื่นไถล
พรอมแอ็คชิวเอเตอร
13 J/B หองเครื่องยนต
14 W
1
ALT ABS NO. 1
2
R
23
1A 1B S2 +BM

15
16 W-B
2
S2 GND1

17 W-B
24
S2 GND2

19
26
27 แบตเตอรี่
EA

28
29 F50102

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–395

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
ใหเริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) และเริ่มจากขั้นตอนที่ 2 เมื่อไมใชเครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II)
2
1 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (รีเลยมอเตอร ABS) 3
(ก) เลือกทดสอบการทํางานในโหมด ACTIVE TEST โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) คอยใหคําสั่งควบคุม 5
แลวตรวจเช็ควารีเลยมอเตอร ABS ทํางาน
ECU ควบคุมการลื่นไถล: 10
รายการขอมูล สภาพรถ / รายละเอียดการทดสอบ บันทึกการวิเคราะห
ABS Motor Relay รีเลยมอเตอร ABS ON / OFF ไดยินเสียงการทํางานของมอเตอร 11
ปกติ: ไดยินเสียงการทํางานของมอเตอร ABS
12
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
ปกติ 13

เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 14


15
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECUควบคุมการลื่นไถล − แบตเตอรี่ และกราวดตัวถัง)
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU 16
ดานชุดสายไฟ
S2 (ข) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:
17
GND1
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-2 (GND1) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
19
+BM S2-24 (GND2) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
S2-23 (+BM) - กราวดตัวถัง 8 ถึง 14 V 26
GND2 F50098

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69) 29
30
31
32
05–396 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 รหัส C1337/37 ขนาดยางแตกตางกัน


2 คําอธิบายผังวงจร
3 รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
ทุกสภาวะตอไปนี้นานติดตอกันอยางนอย 60 วินาที
C1237/37 • ความเร็วรถมากกวา 30 กม./ชม. (19 ไมล/ชม.) ขนาดของยาง
5 • ใสยางขนาดแตกตางกัน

10
ขั้นตอนการตรวจสอบ
11 1 ตรวจเช็คขนาดยาง
12 (ก) ตรวจเช็คขนาดและสภาพของยางทั้ง 4 ลอ
ปกติ: เสนผาศูนยกลางและแรงดันลมยางเทากันทั้ง 4 เสน
13
บกพรอง เปลี่ยนยางที่มีขนาดเทากันทั้ง 4 เสน
14 ปกติ
15 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–397

ติดตลอดเวลา ABS ECU บกพรอง 1


รหัส
(Always ON) 2
คําอธิบายผังวงจร 3
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
ติดตลอดเวลา
• แบตเตอรี่ 5
หนวยควบคุมภายในของ ECU ควบคุมการลื่นไถลเสีย • ECU ควบคุมการลื่นไถล
(Always ON)
• ชุดสายไฟ 10
ขอแนะนํา:
กรณีที่ ECU ผิดปกติจะไมสามารถใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ได 11
ผังวงจรไฟฟา 12
ECU ควบคุ มการลื่นไถล
Skid Control ECU
พรอมแอ็คชิวเอเตอร
3 13
with Actuator
13
R-G
C12 Combination Meter IF3 S1 WA
มาตรวัดความเร็ว 14
38 21
R-G
C12 C12
ABS 15
ชุด J/B แผงหน
Instrument PanelาปJ/B
ด Assy
(Driver(J/B ดานคนขั
Side J/B)บ)
6
MET
1
B-O
16
2C 6 2D
1 2
B
J/C B
B-Y
6 ECU-IG & GAUGE 4
R-L*
10
V*
22 17
J23 J24 2A 2L IJ2 S1 EXI2
1 2
I9
8
B
25 19
ชุIgnition
I9 ดสวิตชจSwitch
ุดระเบิดAssy 2L S1 IG1

B-Y B-R
2
2A
AM1
1
2G
26
1 IG1 AM1 4 2 1

B W-R
11 27
IF3
6 IG2 AM2 5

J/B หองเครื ่องยนต


28
Engine Room J/B
1 4
W
1A
AM2
1B
W-R
2
29
1 2 W-B
S1 GND1

ALT
1
B W-B
24 30
1F S1 GND2
แบตเตอรี
Battery ่
EA 31
*: 4WD
F50112
32
05–398 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบขั้วตอ ECU ควบคุมการลื่นไถล
2
(ก) ตรวจเช็ควาติดตั้งขั้วตอ ECU แตละขั้วอยางถูกตอง
3 ปกติ: ขั้วตอ ECU แตละขั้วติดตั้งอยางถูกตอง
บกพรอง ตอขั้วตอเขากับ ECU อยางถูกตอง
5 ดูขั้นตอนที่ 4
10 ปกติ

11 2 ตรวจสอบแบตเตอรี่

12 (ก) ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V
13 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
14 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ปกติ (มี 4WD) A
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ปกติ (มี 2WD) B
15 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ผิดปกติ C

B ดูขั้นตอนที่ 4
16
C ชารจใหมหรือเปลี่ยนแบตเตอรี่
17
A
19
3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ
26
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ
27 S2 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:
28 EXI2 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
S2-22 (EXI2) -
สวิตชจุดระเบิด ON ต่ํากวา 1 Ω
29 กราวดตัวถัง
S2-22 (EXI2) -
สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
30 F50098
กราวดตัวถัง

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
31
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–399

4 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา 1
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ข) ตรวจเช็ควาไฟเตือน ABS ติดขึ้น 2
(ค) ตรวจเช็ควารหัสวิเคราะหตัวเดิมถูกบันทึกไว (ดูหนา 05-358)
ผลที่ได: 3
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
Always ON (เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)) A 5
ไฟเตือนติดคาง (ไมสามารถแสดงผลรหัสวิเคราะหปญหาได)
B
(เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)) 10
รหัสผิดปกติ C
รหัสปกติ (เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)) D 11
B ดูขั้นตอนที่ 8 12
C ซอมวงจรตามรหัสวิเคราะหปญหาที่ปรากฏ 13
D จบขั้นตอน 14
A 15
5 อานขอมูลใน DATA LIST (แรงดันไฟฟาแหลงจายไฟ ECU IG) 16
(ก) ตรวจเช็คขอมูลการทํางานที่ถูกตองของแรงดันไฟฟาแหลงจายไฟ ECU IG ใน DATA LIST
17
ECU ควบคุมการลื่นไถล:
รายการขอมูล
สิ่งที่ตรวจวัด/
ชวง (การแสดงผล)
สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห 19
แรงดันไฟฟาแหลงจายไฟ ECU / TOO HIGH: 14.0 V หรือสูงกวา
ECU IG Power Voltage TOO LOW / NORMAL / TOO NORMAL: 10 ถึง 14.0 V - 26
HIGH TOO LOW: ต่ํากวา 10 V
ผลที่ได: 27
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
NORMAL A 28
ไมใช NORMAL B
29
B ดูขั้นตอนที่ 6
A
30
31
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
32
05–400 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – ชุดมาตรวัดรวม)


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
2 ดานชุดสายไฟ S2
(ข) ปลดขัว้ ตอ C8
ECU ควบคุมการลื่นไถล (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 S2-13 (WA) - C8-38 (LP) ต่ํากวา 1 Ω
S2-13 (WA) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10 WA
C8
11 ชุดมาตรวัดรวม

12
13
LP

14 F50114 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ


ปกติ
15
7 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – กราวดตัวถัง)
16
ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
17 S2 (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:
19 GND1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-2 (GND1) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
26 S2-24 (GND2) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω

27
GND2
F50098
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
28
29 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–401

8 ตรวจเช็คไฟเตือน ABS 1
ดานชุดสายไฟ (ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
S2 (ข) ใชสายไฟบริการตอขั้ว WA และ GND1 หรือ GND2 ของขั้ว 2
ECU ควบคุมการลื่นไถล ตอ S2 ของ ECU
GND1
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 3
(ง) ตรวจเช็คไฟเตือน ABS
คามาตรฐาน:
5
GND2
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
WA F50098

WA - GND1
10
ตออยู ไฟเตือน ABS ไมติด
หรือ GND2
WA - GND1 11
ปลดออก ไฟเตือน ABS ติด
หรือ GND2
12
บกพรอง ตรวจเช็คชุดมาตรวัดรวม (วงจรมาตรวัดรวม)
(ดูหนา 05-652) 13
ปกติ
14
9 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – แบตเตอรี่) 15
ดานชุดสายไฟ (ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
S2 (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ 16
ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
17
S2-25 (IG1) - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
19
IG1 F50098
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 26
ปกติ 27
28
29
30
31
32
05–402 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 10 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – ชุดมาตรวัดรวม)


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
2 ดานชุดสายไฟ S2
(ข) ปลดขัว้ ตอมาตรวัดรวม C8
ECU ควบคุมการลื่นไถล (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 S2-13 (WA) - C8-38 (LP) ต่ํากวา 1 Ω
S2-13 (WA) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10 WA
C8
11 ชุดมาตรวัดรวม

12
13
LP

14 F50114
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
16 11 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – กราวดตัวถัง)
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
17 ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
S2

19 ECU ควบคุมการลื่นไถล คามาตรฐาน:


GND1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-2 (GND1) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
26 S2-24 (GND2) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω

27 GND2
F50098
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–403

วงจรไฟเตือน ABS (ไฟเตือนไมติดขึ้น) 1

คําอธิบายผังวงจร 2
ถา ECU ควบคุมการลื่นไถลตรวจพบปญหา จะระงับการทํางานของระบบควบคุมปองกันเบรกล็อค (ABS) ไฟเตือน 3
ABS จะติดขึ้น รวมทั้งเก็บบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาไว ตอขั้ว TC กับ CG ของขั้วตอ DLC3 เพื่อทําใหไฟเตือน ABS
กะพริบแสดงผลรหัสวิเคราะหปญหาออกมา 5
ผังวงจรไฟฟา
ECUSkid
ควบคุControl
มการลื่นECU
ไถล 10
พรอwith
มแอ็คActuator
ชิวเอเตอร
3
R-G
13 11
IF2 S2 WA
ชุดมาตรวัดรวม
Combination Meter Assy 12
38 21
R-G
C8
ABS
C8
13
ชุด J/B แผงหน
Instrument าปดJ/B Assy
Panel
I6
I6 Ignition Switch
ชุAssy
ดสวิตชจุดระเบิด (Driver(J/B ดาJ/B)
Side นคนขับ) 14
6 1
MET
5 AM2 IG2 6
B
2C 2D
B-O
15
16
W-R

J/B หRoom
Engine องเครื่อJ/B
งยนต 17
1 AM2 4 11 2
W
1A 1B
W-R
IF3 W-B
S2 GND1 19
24
W-B
S2 GND2 26
แบตเตอรี
Battery ่
EA
27
28
F50755

29
30
31
32
05–404 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 ขอแนะนํา:
ใหเริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) และเริ่มจากขั้นตอนที่ 2 เมื่อไมใชเครื่อง
2 วิเคราะหปญหา (IT II)
3 1 ทําการทดสอบ ACTIVE TEST (ไฟเตือน ABS)

5 (ก) เลือกทดสอบการทํางานในโหมด ACTIVE TEST โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) คอยใหคําสั่งควบคุม


แลวตรวจเช็ควาไฟเตือน ABS ทํางาน
10 ECU ควบคุมการลื่นไถล:
รายการขอมูล สภาพรถ / รายละเอียดการทดสอบ บันทึกการวิเคราะห
11 ABS Warning Light ไฟเตือน ABS ติด / ดับ สังเกตที่มาตรวัดรวม
ปกติ: ไฟเตือน ABS ติดหรือดับไปตามเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
12
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
13 ปกติ
14
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
15
2 ตรวจเช็คไฟเตือน ABS
16 (ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ
17 S2 (ข) ใชสายไฟบริการตอขั้ว WA และ GND1 หรือ GND2 ของขั้ว
ECU ควบคุมการลื่นไถล ตอ S2 ของ ECU
GND1
19 (ค) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ง) ตรวจเช็คไฟเตือน ABS
26 ปกติ:
GND2
WA F50098
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
27 WA - GND1
ตออยู ไฟเตือน ABS ไมติด
GND2
WA - GND1
28 หรือ GND2
ปลดออก ไฟเตือน ABS ติด

29 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3

30 ปกติ

31 เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)


32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–405

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU ควบคุมการลื่นไถล – ชุดมาตรวัดรวม) 1


(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ 2
S2 (ข) ปลดขัว้ ตอมาตรวัดรวม C8
ECU ควบคุมการลื่นไถล
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
S2-13 (WA) - C8-38 (LP) ต่ํากวา 1 Ω 5
S2-13 (WA) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
WA 10
C8
ชุดมาตรวัดรวม 11
12
13
LP
F50114
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
4 ตรวจเช็คไฟเตือนและไฟแสดงสถานะ 16
(ก) ตรวจเช็ควาไฟเตือนและไฟแสดงสถานะอื่นๆ (SRS เปนตน) นอกเหนือจากไฟเตือน ABS ทํางานปกติ
ผลที่ได:
17
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ไฟเตือนและไฟแสดงสถานะทํางานปกติ A
19
ไฟเตือนและไฟแสดงสถานะทํางานไมปกติ B
26
B ตรวจเช็คชุดมาตรวัดรวม (วงจรมาตรวัดรวม)
(ดูหนา 05-633) 27
A 28
เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16) 29
30
31
32
05–406 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 วงจรขั้ว TC
2 คําอธิบายผังวงจร
3 การตอขั้ว TC กับ CG ของขั้วตอ DLC3 จะทําให ECU แสดงรหัสวิเคราะหปญหาออกมาโดยการกะพริบไฟเตือน ABS
ผังวงจรไฟฟา
5
10 D1 DLC3
D1
ECU ควบคุมการลื่นไถล
Skid Control ECU
DLC3 ชุด J/B แผงหนาปด
Instrument Panel J/B Assy
พรWith
อมแอ็Actuator
คชิวเอเตอร
(J/B ดานคนขั
Side บ )
11 (Driver J/B)

21 5 16
P-B P-L
12 TC
13
2Q 2J S2 TC

13 J23
J/C
G A A
14 CG
4
W-B

15
16
IE

17
19
F50120

26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–407

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (DLC3 – ECU ควบคุมการลื่นไถล และกราวดตัวถัง)
2
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุHarness
Wire ดสายไฟ Side
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
D1
D1 DLC3
DLC3 คามาตรฐาน:
CG
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 5
1 2 3 4 5 6 7 8
D1-4 (CG) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
D1-13 (TC) - S2-16 (TC) ต่ํากวา 1 Ω
9 10111213141516
S2-16 (TC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10
TC
S2 Skid Control ECU
S2
11
ECU ควบคุมการลื่นไถล
12
13
F50098 14
A97716 TC
F50760
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 15
ปกติ
16
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–408 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

1 วงจรขั้ว TS
2 คําอธิบายผังวงจร
3 ถารถจอดอยูก บั ทีร่ ะหวางการตรวจเช็คเซ็นเซอร จะไมสามารถตรวจพบความผิดปกติของเซ็นเซอรความเร็วไดจงึ ตองขับรถ
เพื่อใหตรวจจับความผิดปกติของเซ็นเซอรความเร็วได
5 ขอแนะนํา:
เปลีย่ นไปยังโหมดตรวจเช็คเซ็นเซอรโดยการตอขัว้ TC กับ CG ของขัว้ ตอ DLC3 แลวบิดสวิตชจดุ ระเบิดจาก OFF ไป ON
10 ผังวงจรไฟฟา
11
D1 ECU ควบคุมการลื่นไถล
12 D1 DLC3
DLC3 พรSkid
อมแอ็คControl
ชิวเอเตอรECU w
Actuator

13 7
W
15
W
TS IF2 S2 TS
12
14
J23
15 J/C
G A A W-B
CG
4
16
17
19 IE

26
F50121

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–409

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (DLC3 − ECU ควบคุมการลื่นไถล และกราวดตัวถัง)
2
(ก) ปลดขั้วตอ S2 ของ ECU
ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
D1
DLC3 CG
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 5
D1-4 (CG) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
D1-12 (TS) - S2-15 (TS) ต่ํากวา 1 Ω
S2-15 (TS) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10

S2
TC 11
ECU ควบคุมการลื่นไถล
12
13
F50098
TC
14
A97716

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
F50760

15
ปกติ
16
เปลี่ยนชุดแอ็คชิวเอเตอรเบรก (ดูหนา 32-69)
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–410 การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS

การตรวจสอบ
1
2
1. ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
3 (ก) วัดความตานทานของเซ็นเซอรความเร็วลอ
เซ็นเซอรความเร็วลอหนา
คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 0.6 ถึง 1.8 kΩ
10 2 1
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 F50131
ถาผลที่ไดไมตรงตามกําหนด ใหเปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
12 ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรหลังจากเปลีย่ นเซ็นเซอรความเร็วลอหนา
13 (ดูหนา 05-348)
2. ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง
14 เซ็นเซอรความเร็วลอหลังซาย (ก) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
15
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 0.6 ถึง 1.8 kΩ
16 1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
17
ถาผลที่ไดไมตรงตามกําหนด ใหเปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง
19 เซ็นเซอรความเร็วลอหลังขวา ขอแนะนํา:
ตรวจเช็คสัญญาณเซ็นเซอรหลังจากเปลีย่ นเซ็นเซอรความเร็วลอหลัง
26 (ดูหนา 05-348)

27
28 F50133

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบ ABS 05–411

3. ตรวจสอบเซ็นเซอรแรงหนวง
2 1 (ก) ตออนุกรมแบตเตอรี่แหงขนาด 1.5 โวลท 3 กอน 1
(GGND) (GL1)
(ข) ตอขั้ว 3 (VGS) เขากับขั้วบวก (+) ของแบตเตอรี่ และขั้ว 2
3
(VGS) (GGND) เขากับขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ จายไฟประมาณ 2
4.5 โวลท ระหวางขั้ว 3 (VGS) กับขั้ว 2 (GGND)
ขอแนะนํา: 3
อยาจายแรงดันไฟฟาขนาด 6 โวลทหรือสูงกวาเขาขั้ว 3 (VGS) กับ
ขั้ว 2 (GGND) 5
ดานหนา (ค) ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาที่สงออกมาของขั้ว 1 (GL1) เมื่อจับ
เซ็นเซอรเอียงไปขางหนาและขางหลัง
10
คามาตรฐาน:
ไปขางหนา 11
การตอขั้วทดสอบ เซ็นเซอร เงื่อนไขที่กําหนด
ไปขางหลัง 1 (GL1) -
ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่
ราบตามขวาง ประมาณ 2.5 V 12
1 (GL1) -
F44074

ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่


เอียงไปขางหนา ประมาณ 0.5 ถึง 2.5 V 13
1 (GL1) -
เอียงไปขางหลัง ประมาณ 2.5 ถึง 4.5 V
ขั้วลบ (-) ของแบตเตอรี่ 14
ขอแนะนํา:
• ถาเอียงเซ็นเซอรมากเกินไป คาที่ไดอาจผิดพลาด 15
• ถาแรงดันไฟฟาตก ควรเปลี่ยนเซ็นเซอรตัวใหม
• ไมควรวางเซ็นเซอรทถี่ อดออกจากตัวถังรถโดยคว่าํ ดานบนลง 16
ถาผลที่ไดไมตรงตามกําหนด ใหเปลี่ยนเซ็นเซอรแรงหนวง
17
ชุดสวิตชไฟเบรก
4. ตรวจสอบชุดสวิตชไฟเบรก
(ก) วัดความตานทานของสวิตชไฟเบรก 19
สลัก
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
26
1-2 สลักไมถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
ไมถูกกด ถูกกด 1-2 สลักถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา 27
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตชไฟเบรก
28
29
2 1
B86809 30
31
32
05–412 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)


1
นิยามศัพท
2 ศัพท ความหมาย
คําอธิบายวา TCM มีหนาที่ตรวจสอบควบคุมอะไรและตรวจจับความผิดปกติอยางไร
รายละเอียดการตรวจสอบ
3 (จุดประสงคในการตรวจสอบและรายละเอียด)

5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–413

รายชื่อระบบและชิ้นสวน
รายการที่กลาวถึงนี้จะแสดงชื่อชิ้นสวนตางๆ ที่ใชในคูมือพรอมทั้งความหมาย
1
ชื่อระบบและชิ้นสวน ความหมาย
ระบบ TOYOTA HCAC, ระบบชวยเรงปฏิกิริยาการดูดกลืน
2
ไฮโดรคารบอน (HCAC), แคตตาไลติกแบบสามทางชนิดดูด ตัวแปลงสภาพไอเสียแบบสามทางชนิดดูดกลืนสารไฮโดรคารบอน
กลืนสาร HC 3
เซ็นเซอรจังหวะการเปด-ปดวาลวแบบปรับคาได, ระบบ VVT เซ็นเซอรตําแหนงเพลาลูกเบี้ยว
ระบบการเปด-ปดวาลวแบบปรับคาได, ระบบ VVT ระบบควบคุมไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว 5
วาลวควบคุมน้ํามันไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว, วาลวควบคุมน้ํามัน
วาลวควบคุมน้ํามันไทมมิ่งเพลาลูกเบี้ยว
OCV, VVT, VSV 10
ระยะยกและจังหวะเปด-ปดวาลวแบบปรับคาได, VVTL การควบคุมระยะยกวาลวและจังหวะเพลาลูกเบี้ยว
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง “A” เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง 11
เซ็นเซอรความเร็วรอบเครื่องยนต เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวี่ยง
THA อุณหภูมิอากาศเขา 12
ชุดควบคุมการน็อค ชุดควบคุมการน็อคของเครื่องยนต
น็อคเซ็นเซอร เซ็นเซอรควบคุมการน็อคของเครื่องยนต
วงจรปริมาณการไหลอากาศ วงจรเซ็นเซอรปริมาณการไหลอากาศ
13
เซ็นเซอรสุญญากาศ เซ็นเซอรแรงดันอากาศทอรวม
ชุดควบคุมภายใน, ชุดควบคุม, ECU ควบคุมเครื่องยนต, PCM ชุดควบคุมการสงกําลัง 14
รอบเดินเบาตัดน้ํามันเชื้อเพลิง การตัดน้ํามันเชื้อเพลิงเมื่อถอนคันเรง
วาลวควบคุมอากาศรอบเดินเบา ชุดควบคุมความเร็วรอบเดินเบา 15
VSV สําหรับ CCV วาลวชองระบายอากาศชุดลดมลพิษของไอระเหยน้ํามันเชื้อเพลิง
VSV สําหรับ EVAP, ชุดวาลวตัด-ตอสุญญากาศเบอร 1, EVAP
วาลวควบคุมการเปนไอของน้ํามันเชื้อเพลิง
16
VSV, VSV ดูดอากาศ
VSV สําหรับวาลวตัด-ตอแรงดัน, VSV บายพาส วาลวตัด-ตอแรงดันไอระเหยของน้ํามันเชื้อเพลิง 17
เซ็นเซอรแรงดันไอระเหย, เซ็นเซอรแรงดัน EVAP, เซ็นเซอร
เซ็นเซอรแรงดันถังน้ํามันเชื้อเพลิง
แรงดันระบบควบคุมไอระเหยน้ํามันเชื้อเพลิง 19
ชารโคลคานิสเตอร ชุดลดมลพิษของไอระเหยน้ํามันเชื้อเพลิง
ระบบ ORVR ระบบฟนฟูไอระเหยน้ํามันเชื้อเพลิงกลับมาใชใหม
การควบคุมวาลวเปด-ปดทอรวมไอดี ระบบปรับแตงทอรวมไอดี
26
วาลวเปด-ปดทอรวมไอดี, IMRV, IACV (วาลวเปด-ปด) วาลวปรับแตงทอรวมไอดี
VSV ควบคุมไอดี โซลินอยดวาลวปรับแตงทอรวมไอดี 27
AFS เซ็นเซอรอัตราสวนผสมอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิง
เซ็นเซอรออกซิเจน เซ็นเซอรออกซิเจนแบบมีตัวใหความรอน 28
วงจรกระแสขึ้น-ลงของเซ็นเซอรออกซิเจน สัญญาณสงออกจากเซ็นเซอรออกซิเจน
วงจรกราวดไปยังเซ็นเซอรออกซิเจน กราวดสัญญาณเซ็นเซอรออกซิเจน 29
เซ็นเซอรตําแหนงคันเรง เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง
มอเตอรควบคุมแอ็คชิวเอเตอรลนิ้ เรง, มอเตอรควบคุมแอ็คชิวเอเตอร,
แอ็คชิวเอเตอรลิ้นเรงอิเล็กทรอนิกส 30
มอเตอรลิ้นเรงอิเล็กทรอนิกส, มอเตอรควบคุมลิ้นเรง
ระบบควบคุมลิ้นเรงอิเล็กทรอนิกส, ระบบควบคุมแอ็คชิวเอเตอร
ระบบควบคุมลิ้นเรงแบบอิเล็กทรอนิกส 31
ลิ้นเรง
เซ็นเซอรตําแหนงแปนคันเรง/ลิ้นเรง, สวิตชตําแหนงแปนคันเรง/
ลิ้นเรง, สวิตช/เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
เซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง 32
05–414 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)
ชื่อระบบและชิ้นสวน ความหมาย
1 เซ็นเซอรแรงดันเทอรโบ เซ็นเซอรตรวจจับแรงดันเทอรโบชารจเจอร
VSV เทอรโบ โซลินอยดวาลวควบคุมแรงดันเทอรโบชารจเจอร
2 สวิตชแรงดัน P/S สวิตชแรงดันน้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร
VSV สําหรับ ACM การควบคุมการบิดตัวของเครื่องยนต
เซ็นเซอรความเร็วลอ, เซ็นเซอรความเร็วรถ “A”, เซ็นเซอร
3 ความเร็วสําหรับ ECU ควบคุมการลื่นไถล
เซ็นเซอรจับความเร็วรถ
เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF, เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียร, เซ็นเซอร
5 อุณหภูมิ ATF “A”
เซ็นเซอรตรวจจับอุณหภูมิน้ํามันเกียร
เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส, ECT เกียรอัตโนมัติควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส
10 เซ็นเซอรความเร็วแกนเพลาพวงมาลัย “A” เซ็นเซอรความเร็วเฟองรอง
เซ็นเซอรความเร็วการสงกําลัง (SP2) เซ็นเซอรความเร็วเพลาสงกําลัง
11 เซ็นเซอรความเร็วการรับกําลัง, เซ็นเซอรความเร็วเทอรไบนเขา
เซ็นเซอรความเร็วเทอรไบนรับกําลัง
“A”, เซ็นเซอรความเร็ว (NCO), เซ็นเซอรความเร็วเทอรไบน
12 สวิตช PNP, NSW สวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด
โซลินอยดควบคุมแรงดัน โซลินอยดควบคุมแรงดันน้ํามันเกียร
โซลินอยดควบคุมการเปลี่ยนเกียร โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร
13
สวิตชควบคุมเกียร, ชุดควบคุมล็อคคันเกียร ชุดควบคุมการล็อคคันเกียร
ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต, ระบบยับยั้งการทํางาน ระบบกันขโมยรถ
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–415

ตําแหนงชิ้นสวน
1
TCM
ชุดมาตรวัดรวม
z ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง
ECM
z ไฟเตือนอุณหภูมิ ATF
2

ชุดสวิตชไฟเบรก
3
5

DLC3
10
ชุด J/B แผงหนาปด 11
(J/B ดานคนขับ)
เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF
ชุด ECU ควบคุมล็อคเกียร
z ฟวสกระแสสูง AM1
z ฟวส ECU-IG & GAUGE
12
ชุดสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด (PNP) z ฟวส STOP
เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
สวิตชไฟแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 2*
13
(เซ็นเซอรตรวจจับรอบเกียร (ขาเขา))
(สวิตชตาํ แหนง N)
14
สวิตชไฟแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 1*
(สวิตชตาํ แหนง L4)
15

โซลินอยดวาลวควบคุม 16
โซลินอยด การเปลีย่ นเกียร S1
วาลวควบคุม โซลินอยดวาลวควบคุม
17
การเปลีย่ น A340E
การเปลีย่ นเกียร S2
เกียร SLT 19
โซลินอยดวาลว
ควบคุมการ 26
เปลีย่ นเกียร SL
27
28
เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2
(เซ็นเซอรตรวจจับรอบเกียร (ขาออก))
J/B และ R/B หองเครื่องยนต 29
*: A340F
z ฟวสกระแสสูง ALT G34532

30
31
32
05–416 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

วงจรระบบ
1 โครงสรางของระบบควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสในเกียรอัตโนมัติ A340E และ A340F ดังแสดงในผังวงจรตอไปนี้
2
THOC
เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF
3
S1
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร S1

เซ็นเซอรความเร็วรถ
5 S2
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร S2

มาตรวัดรวม SP1
10 SL
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร SL
NSW, STA,
สวิตชตําแหนงเกียรวา ง/จอด
11 R, D, 2, L SLT
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร SLT
ECU ควบคุมล็อคเกียร
12 สวิตชควบคุมเกียร 3
TCM

13 เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
NCO มาตรวัดรวม
OILW
14 SP2 ไฟเตือนอุณหภูมิ ATF
เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2

15 สวิตชไฟแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 2*
TFN*

SIL
16 สวิตชไฟแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 1*
L4*
WFSE
DLC3

17 สวิตชไฟเบรก
STP

19 CAN+, CAN-

#1
เซ็นเซอรตําแหนงเพลาขอเหวีย่ ง
NE หัวฉีด 1
26 #2
หัวฉีด 2
27
VPA1, VPA2
เซ็นเซอรตําแหนงคันเรง #3
หัวฉีด 3
#4
หัวฉีด 4
28
ECM

มาตรวัดรวม
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น
29 เครื่องยนต (ECT)
THW
W
MIL

30 *: เฉพาะ A340F เทานั้น

31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–417

T19 T18 T17


1
2
3
5
สวิตชจุดระเบิด
สวิตชไฟเบรก
10
ชุดไฟทาย
11
สวิตช PNP
สวิตช PNP 12
13
แบตเตอรี่ ชุดประกอบ ECD
มาตรวัดรวม
ควบคุมล็อคเกียร 14
เซ็นเซอรความเร็วคลัตช
หลังโอเวอรไดรฟ
15
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร S1
16
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร S2
เซ็นเซอร
อุณหภูมิ ATF 17
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร SL เซ็นเซอร
ความเร็วรถ
ตัวที่ 2
19
โซลินอยดวาลวควบคุม สวิตชไฟแสดงตําแหนงเกียรเบอร 1*
การเปลีย่ นเกียร SLT 26
สวิตชไฟแสดงตําแหนงเกียรเบอร 2*
27
28
*: เฉพาะA340F เทานั้น
G36455 29
30
31
32
05–418 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

คําอธิบายระบบ
1 1. คําอธิบายระบบ
2 (ก) เกียรอตั โนมัตคิ วบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส (ECT) เปนเกียรอตั โนมัตคิ วบคุมจังหวะการเปลีย่ นเกียรแบบอิเล็กทรอนิกส
โดยใชชดุ ควบคุมเกียร (TCM) ชุดควบคุมเกียรนจี้ ะตรวจจับสัญญาณไฟฟาทีแ่ สดงถึงสภาพการขับขีแ่ ละเครือ่ งยนต
3 ควบคุมตําแหนงเกียรและเลือกรูปแบบเกียรทเี่ หมาะสมตามวิสยั การขับขีแ่ ละสภาพถนน จึงทําใหไดทงั้ ประสิทธิภาพ
ของเชื้อเพลิงและสมรรถนะการสงกําลังที่ดีขึ้น
5 การกระตุกของเกียรจะลดลงเนื่องจากการควบคุมทั้งเครื่องยนตและเกียรพรอมๆ กัน
อีกทั้ง ECT ยังมีลักษณะเดนดังตอไปนี้:
10 • ฟงกชั่นวิเคราะหปญหา
• ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (Fail-safe) เมื่อเกิดความผิดปกติ
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–419

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ทําการคนหาสาเหตุปญหาโดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 1
ขอแนะนํา:
ใหใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ในขั้นตอนที่ 3, 4, 6 และ 9 2
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ 3
ตอไป
5
2 วิเคราะหปญหาของลูกคา (ดูหนา 05-424)
10
ตอไป
11
3 ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
12
ตอไป
13
4 ตรวจเช็คและลบรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต (ดูหนา 05-444)
14
ตอไป
15
5 การตรวจสอบดวยตาเปลา
16
ตอไป
17
6 เลือกการวิเคราะหปญหาในโหมดตรวจเช็ค (ดูหนา 05-446)
19
ตอไป
26
7 ตรวจยืนยันสภาพปญหา (ดูหนา 05-425)
27
ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ 28
ไมเกิดปญหา A
เกิดปญหา B
29
B ดูขั้นตอนที่ 9
30
A
31
8 จําลองสภาพปญหา (ดูหนา 01-17)
32
ตอไป
05–420 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 9 การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-444)


ผลที่ได:
2 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A
3 รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B
B ดูขั้นตอนที่ 18
5 A

10 10 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 40-2, 40-5 และ 40-49)

11 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 19
ปกติ
12
11 การทดสอบระบบกลไก (ดูหนา 05-427)
13
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 16
14 ปกติ
15 12 การทดสอบไฮดรอลิก (ดูหนา 05-429)
16
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 16
17 ปกติ

19 13 การทดสอบเปลี่ยนเกียรดวยมือ (ดูหนา 05-430)

26 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 15
ปกติ
27
14 ตารางสภาพปญหาหมวดที่ 1 (ดูหนา 05-433)
28
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 19
29 ปกติ

30 15 ตารางสภาพปญหาหมวดที่ 2 (ดูหนา 05-433)

31 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 17
ปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–421

16 ตารางสภาพปญหาหมวดที่ 3 (ดูหนา 05-433) 1


บกพรอง
2
17 การตรวจสอบชิ้นสวน
3
ตอไป ดูขั้นตอนที่ 20
5
18 ตารางรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-451)
10
ตอไป
11
19 การตรวจสอบวงจร
12
ตอไป
13
20 ซอมหรือเปลี่ยน
14
ตอไป
15
21 ทดสอบยืนยัน
16
ตอไป
17
จบขั้นตอน
19
ทําการคนหาสาเหตุปญ
 หาโดยไมใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ตามขัน้ ตอนดังตอไปนี:้
26
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ
27
ตอไป
28
2 วิเคราะหปญหาของลูกคา (ดูหนา 05-424)

ตอไป
29
30
3 ตรวจเช็คและลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-444)

ตอไป
31
32
05–422 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 4 ตรวจยืนยันสภาพปญหา (ดูหนา 05-425)


ผลที่ได:
2 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ไมเกิดปญหา A
3 เกิดปญหา B
B ดูขั้นตอนที่ 6
5 A

10 5 จําลองสภาพปญหา (ดูหนา 01-17)

11 ตอไป

12 6 การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-444)


ผลที่ได:
13 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A
14 รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B
B ดูขั้นตอนที่ 15
15 A

16 7 การตรวจสอบเบื้องตน (ดูหนา 40-2, 40-5 และ 40-49)

17 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 16
ปกติ
19
8 การทดสอบระบบกลไก (ดูหนา 05-427)
26
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 13
27 ปกติ
28 9 การทดสอบไฮดรอลิก (ดูหนา 05-429)
29 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 13
ปกติ
30
10 การทดสอบเปลี่ยนเกียรดวยมือ (ดูหนา 05-430)
31
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 12
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–423

11 ตารางสภาพปญหาหมวดที่ 1 (ดูหนา 05-433) 1


บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 16 2
ปกติ
3
12 ตารางสภาพปญหาหมวดที่ 2 (ดูหนา 05-433)
5
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 14 10
ปกติ
11
13 ตารางสภาพปญหาหมวดที่ 3 (ดูหนา 05-433)
12
บกพรอง
13
14 การตรวจสอบชิ้นสวน
14
ตอไป ดูขั้นตอนที่ 17
15
15 ตารางรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-451)
16
ตอไป
17
16 การตรวจสอบวงจร
19
ตอไป
26
17 ซอมหรือเปลี่ยน
27
ตอไป
28
18 ทดสอบยืนยัน
29
ตอไป
30
จบขั้นตอน
31
32
05–424 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
2 แบบตรวจเช็คเกียรอตั โนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT]

3 ชือ่ ผูตรวจสอบ:

หมายเลขประจํารถ
5 วันที่ผลิต / /
ชือ่ ลูกคา
หมายเลขทะเบียน
10 กม.
วันที่นํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง ไมล
11
วันที่เกิดปญหา / /
12 ความถี่ของปญหา □ คงที่ □ เปนชวงๆ ( ครั้งตอวัน/เดือน)

13 □ รถไมเคลื่อนที่ (□ ทุกๆ ตําแหนงนอกเหนือจาก P และ N □ ตําแหนงเดียวนอกเหนือจาก P และ N)


□ เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (□ 1st → 2nd □ 2nd → 3rd □ 3rd → O/D)
14 □ เกียรไมเปลี่ยนลง (□ O/D → 3rd □ 3rd → 2nd □ 2nd → 1st)
□ ล็อค-อัพบกพรอง

15 อาการปญหา
□ เกียรเปลี่ยนชาหรือเร็วเกินไป
□ เกียรจบ
ั ไมนิ่มนวล (□ N → D □ ล็อค-อัพ □ ตําแหนงขับขี่ใดๆ)
□ ลื่นหรือสั่น
16 □ ไมคิก-ดาวน
□ อื่นๆ
17
19
รายการตรวจเช็ค ไฟเตือน MIL □ ปกติ □ ติดคาง
26
การตรวจเช็ครหัส ครั้งที่ 1 □ รหัสปกติ □ รหัสผิดปกติ (รหัส )
27 วิเคราะหปญหา ครั้งที่ 2 □ รหัสปกติ □ รหัสผิดปกติ (รหัส )
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–425

การขับทดสอบ
1. ตรวจยืนยันอาการปญหา 1
(ก) ขึน้ อยูก บั ผลการวิเคราะหปญ  หาของลูกคาและลองสรางสภาพปญหาขึน้ มาใหม หากปญหา คือ เกียรไมเปลีย่ นขึน้
เกียรไมเปลีย่ นลง หรือเกียรเปลีย่ นชาหรือเร็วเกินไป ใหทาํ การขับทดสอบโดยดูทตี่ ารางการเปลีย่ นเกียรอตั โนมัติ 2
และจําลองสภาพปญหาตางๆ ดังนี้
2. การขับทดสอบ 3
ขอควรระวัง:
ทําการทดสอบที่อุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติทํางานปกติ คือ 50 – 80°C (122 – 176°F) 5
(ก) การทดสอบตําแหนง D
เลื่อนคันเกียรไปที่ D และเหยียบคันเรงจนสุด ตรวจเช็คดังนี้: 10
(1) ตรวจเช็คการเปลี่ยนเกียรขึ้น
ตรวจดูวาเปลี่ยนเกียรขึ้น 1 → 2, 2 → 3 และ 3 → O/D ตามตําแหนงเกียรที่แสดงในตารางการเปลี่ยน 11
เกียรอัตโนมัติ (ดูหนา 03-44)
ขอแนะนํา: 12
• การควบคุมไมใหเปลี่ยนเขาเกียรโอเวอรไดรฟจะทํางานเมื่อ: 1) อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเทากับ 47°C (117°F) หรือ
ต่ํากวา หรือ 2) ความเร็วรถเทากับ 49 กม./ชม. (30 ไมล/ชม.) หรือนอยกวา 13
• การควบคุมไมใหเปลีย่ นเขาเกียร 3 จะทํางานเมือ่ : 1) อุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเทากับ 40°C (104°F) หรือต่าํ กวา หรือ 2)
ความเร็วรถเทากับ 45 กม./ชม. (28 ไมล/ชม.) หรือนอยกวา 14
• การควบคุมไมใหเปลี่ยนเขาล็อค-อัพเกียรโอเวอรไดรฟจะทํางานเมื่อ: 1) เหยียบเบรก หรือ 2) ปลอยคันเรง
(2) ตรวจเช็คการลื่นและการกระตุกขณะเปลี่ยนเกียร 15
ตรวจเช็คการลื่นและการกระตุกขณะเปลี่ยนเกียรขึ้นจาก 1 → 2, 2 → 3 และ 3 → O/D
(3) ตรวจเช็คเสียงผิดปกติและการสั่นสะเทือน 16
วิ่งรถในตําแหนง D ล็อค-อัพหรือเกียร O/D แลวตรวจหาเสียงดังผิดปกติและการสั่นสะเทือน
ขอควรระวัง: 17
ถาเกิดเสียงดังผิดปกติและการสัน่ สะเทือน ใหทาํ การตรวจสอบหาสาเหตุอยางทัว่ ถึง ความลมเหลวในการแกไขปญหาอาจ
นําไปสูปญหาในเฟองทาย ทอรคคอนเวอรเตอร ฯลฯ ตอไปในภายหลัง 19
(4) ตรวจเช็คการทํางานของคิก-ดาวน (kick-down)
ขณะที่วิ่งรถในเกียร 2, เกียร 3, และเกียร O/D โดยคันเกียรอยูในตําแหนง D ใหตรวจเช็คดูวามีขีดจํากัด 26
ความเร็วสําหรับการคิก-ดาวนจาก 2 → 1, 3 → 2 และ O/D → 3 สอดคลองกับในตารางการเปลี่ยน
เกียรอัตโนมัติหรือไม (ดูหนา 03-44) 27
(5) ตรวจเช็คการลื่นและการกระตุกผิดปกติขณะคิก-ดาวน (kick-down)
(6) ตรวจเช็คกลไกล็อค-อัพ 28
ขับขี่ในเกียร O/D โดยคันเกียรอยูในตําแหนง D ดวยความเร็วคงที่ (ล็อค-อัพทํางาน (ON)) ประมาณ 80
กม./ชม. (50 ไมล/ชม.) เหยียบคันเรงเล็กนอย แลวตรวจเช็ควาความเร็วรอบไมเปลี่ยนไปในทันที 29
ถาความเร็วรอบเพิ่มขึ้นโดยทันที แสดงวาล็อค-อัพไมทํางาน
(ข) การทดสอบตําแหนง 2 30
เลื่อนคันเกียรไปที่ 2 และเหยียบคันเรงจนสุด ตรวจเช็คดังนี้:
(1) ตรวจเช็คการเปลี่ยนเกียรขึ้น 31
ตรวจเช็ควาเปลี่ยนเกียรขึ้น 1 → 2 แลวตําแหนงเกียรสอดคลองกับในตารางการเปลี่ยนเกียรอัตโนมัติ (ดู
หนา 03-44) 32
05–426 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ขอแนะนํา:
1 ไมมีล็อค-อัพและการเปลี่ยนขึ้นเกียร O/D เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง 2
(2) ตรวจเช็คการเบรกดวยกําลังเครื่องยนต
2 ขณะขับรถในเกียร 2 โดยคันเกียรอยูท ตี่ าํ แหนง D ใหปลอยคันเรงและตรวจเช็คประสิทธิภาพการเบรกดวย
กําลังเครื่องยนต
3 (3) ตรวจเช็คเสียงดังผิดปกติขณะเรงและลดความเร็ว และการกระตุกขณะเปลี่ยนเกียรขึ้นและเปลี่ยนเกียรลง
(ค) การทดสอบตําแหนง L
5 เลื่อนคันเกียรไปที่ L และเหยียบคันเรงจนสุด ตรวจเช็คดังนี้:
(1) ตรวจเช็ควาเกียรไมเปลี่ยนขึ้น
10 ขณะขับรถโดยคันเกียรอยูในตําแหนง L ใหตรวจเช็ควาไมมีการเปลี่ยนขึ้นเกียร 2
(2) ตรวจเช็คการเบรกดวยกําลังเครื่องยนต
11
ขณะขับรถโดยคันเกียรอยูท ตี่ าํ แหนง L ใหถอนคันเรงและตรวจเช็คประสิทธิภาพการเบรกดวยกําลังเครือ่ งยนต
12 (3) ตรวจเช็คเสียงดังผิดปกติขณะเรงและลดความเร็ว
(ง) การทดสอบตําแหนง R
13 เลื่อนคันเกียรไปที่ R และเหยียบคันเรงเล็กนอย ตรวจเช็ควารถเลื่อนถอยไปขางหลังโดยไมมีเสียงดังผิดปกติหรือ
การสั่นสะเทือน
14 คําเตือน:
กอนทําการทดสอบนี้ ใหตรวจดูจนแนใจวาไมมีผูคนหรือสิ่งกีดขวางอยูในบริเวณที่ทําการทดสอบ
15 (จ) การทดสอบตําแหนง P
หยุดรถบนพื้นที่ลาดชัน (มากกวา 5°) จากนั้นเลื่อนคันเกียรไปที่ตําแหนง P ปลดเบรกมือลง แลวตรวจเช็คดูวา
16 ขอเกี่ยวตําแหนง P ยึดรถอยูกับที่หรือไม

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–427

การทดสอบระบบกลไก
1. วัดความเร็วสตอล
1
(ก) วัตถุประสงคของการทดสอบนี้ เพื่อตรวจเช็คสมรรถนะโดยรวมของเกียรและเครื่องยนตโดยวัดความเร็วสตอล
2
เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง D และ R
ขอควรระวัง: 3
• ทําการทดสอบที่อุณหภูมิน้ํามันเกียรทํางานปกติ คือ 50 – 80°C (122 – 176°F)
• หามทําการทดสอบนานตอเนื่องเกิน 5 วินาที 5
• เพื่อใหแนใจวาปลอดภัย ใหทําการทดสอบในบริเวณที่ราบโลงและกวางที่มีการลากจูงไดสะดวก
• การทดสอบความเร็วสตอลควรปฏิบัติอยางนอย 2 คนเสมอโดยชางคนหนึ่งสังเกตดูสภาพของลอหรืออุปกรณ 10
หนุนลอดานนอกรถขณะที่อีกคนหนึ่งทําการทดสอบ
(1) หนุนลอทั้ง 4 ใหหยุดนิ่งอยูกับที่ 11
(2) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(3) ดึงเบรกมือใหสุด 12
(4) รักษาเทาซายบนแปนเบรกไวใหมั่น
(5) สตารทเครื่องยนต 13
(6) เลื่อนคันเกียรไปที่ D เหยียบคันเรงลงจนสุดดวยเทาขวาและอานคาความเร็วสตอลทันที
ความเร็วสตอล: 2,400 ± 150 รอบ/นาที 14
(7) ปฏิบัติตามขอ (1) ถึง (6) โดยคันเกียรอยูในตําแหนง R
ความเร็วสตอล: 2,400 ± 150 รอบ/นาที 15
การประเมินผล:
ปญหา สาเหตุที่เปนไปได
16
• กําลังเครื่องยนตอาจไมเพียงพอ*
ความเร็วสตอลต่ําเมื่อคันเกียรอยูที่ D และ R
• คลัตชทางเดียวในสเตเตอรทํางานไมถูกตอง* 17
• แรงดันทอทางต่ําเกินไป
ความเร็วสตอลสูงเมื่อคันเกียรอยูที่ D
• คลัตชหนาลื่น 19
• คลัตชทางเดียวตัวที่ 2 ทํางานไมถูกตอง
• คลัตชทางเดียวโอเวอรไดรฟทํางานไมถูกตอง 26
• แรงดันทอทางต่ําเกินไป
• คลัตชหลังลื่น 27
ความเร็วสตอลสูงเมื่อคันเกียรอยูที่ R
• เบรกเกียร 1 และเกียรถอยลื่น
• คลัตชทางเดียวโอเวอรไดรฟทํางานไมถูกตอง
• แรงดันทอทางต่ําเกินไป
28
ความเร็วสตอลสูงเมื่อคันเกียรอยูที่ D และ R • ระดับน้ํามันเกียรไมถูกตอง
• คลัตชทางเดียวโอเวอรไดรฟทํางานไมถูกตอง 29
ขอแนะนํา:
*: ถาความเร็วรอบเครือ่ งยนตสงู กวาหรือต่าํ กวาคากําหนดตัง้ แต 600 รอบตอนาทีขนึ้ ไป อาจเปนเพราะทอรคคอนเวอรเตอร 30
บกพรอง
31
32
05–428 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

2. วัดความลาชาในการเปลี่ยนเกียร (Time lag)


1 (ก) เมือ่ เลือ่ นคันเกียรขณะเครือ่ งยนตเดินเบา จะมีการเหลือ่ มเวลาหรือความลาชาทีแ่ นนอนกอนทีจ่ ะรูส กึ ถึงการกระตุก
ของเกียรซงึ่ นํามาใชในการตรวจเช็คสภาพของคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ คลัตชหนา และเบรกเกียร 1 และเกียรถอย
2 ขอควรระวัง:
• ทําการทดสอบที่อุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติทํางานปกติ คือ 50 – 80°C (122 – 176°F)
3 • ตองแนใจวาไดเวนชวงเวลาประมาณ 1 นาที ระหวางการทดสอบชวงตางๆ
• ทําการวัดทีละ 3 ครั้งและใชการหาคาเฉลี่ย
5 (1) ดึงเบรกมือใหสุด
(2) สตารทเครื่องยนตและตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบา
10 ความเร็วรอบเดินเบา (คันเกียรในตําแหนง N และปดเครื่องปรับอากาศ): 700 ± 50 รอบ/นาที
(3) เลื่อนคันเกียรจากตําแหนง N ไป D โดยใชนาฬิกาจับเวลาวัดชวงเวลาตั้งแตที่เลื่อนคันเกียรจนกระทั่งรูสึก
11
ไดถึงการกระตุกของเกียร
12 ความลาชาในการเปลี่ยนเกียร (Time lag): N ไป D นอยกวา 1.2 วินาที
(4) วัดความลาชาในการเปลี่ยนเกียรสําหรับ N ไป R ดวยวิธีการเดียวกัน
13 ความลาชาในการเปลี่ยนเกียร (Time lag): N ไป R นอยกวา 1.5 วินาที
การประเมินผล:
14 ปญหา สาเหตุที่เปนไปได
• แรงดันทอทางต่ําเกินไป
ความลาชาในการเปลี่ยนเกียร N ไป D ลาชากวาที่กําหนด คลัตชหนาสึก
15 •
• คลัตชทางเดียวโอเวอรไดรฟทํางานไมถูกตอง
• แรงดันทอทางต่ําเกินไป
16 • คลัตชหลังสึก
ความลาชาในการเปลี่ยนเกียร N ไป R ลาชากวาที่กําหนด
• เบรกเกียร 1 และเกียรถอยสึกหรอ
17 • คลัตชทางเดียวโอเวอรไดรฟทํางานไมถูกตอง

19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–429

การทดสอบไฮดรอลิก
1. วัดแรงดันทอทาง 1
ขอควรระวัง:
• ทําการทดสอบที่อุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติทํางานปกติ คือ 2
50 – 80°C (122 – 176°F)
• การทดสอบแรงดันทอทางควรปฏิบัติอยางนอย 2 คนเสมอ 3
โดยชางคนหนึ่งสังเกตดูสภาพของลอหรืออุปกรณหนุนลอ
ดานนอกรถขณะที่อีกคนหนึ่งทําการทดสอบ 5
• ระมัดระวังเพื่อปองกันไมใหทอยางของเครื่องมือพิเศษไปขัด
กับทอไอเสีย 10
• การตรวจเช็คนีต้ อ งทําหลังจากตรวจเช็คและปรับตัง้ เครือ่ งยนต
แลว 11
• ทําการทดสอบนี้ขณะเครื่องปรับอากาศไมทํางาน
(ก) อุนอุณหภูมิน้ํามันเกียร (ATF) 12
(ข) ถอดปลั๊ ก ทดสอบทางด า นหน า ของเสื้ อ เกี ย ร อ อกแล ว ต อ
เครื่องมือพิเศษ 13
เครือ่ งมือพิเศษ 09992-00095 (09992-00231, 09992-00271)
(ค) ดึงเบรกมือสุดและหนุนลอทั้ง 4 ใหอยูกับที่ 14
(ง) สตารทเครื่องยนตและตรวจเช็คความเร็วรอบเดินเบา
เครือ่ งมือพิเศษ (จ) รักษาเทาซายบนแปนเบรกไวใหมั่นแลวเลื่อนคันเกียรไปที่
เครื่องมือพิเศษ G23738 ตําแหนง D 15
(ฉ) วัดแรงดันทอขณะเครื่องยนตเดินเบา
(ช) เหยียบคัน เร ง จนสุดแล ว อานคาแรงดั นทอสูงสุดทันทีเมื่อ 16
ความเร็วรอบเครื่องยนตไปถึงความเร็วสตอล
(ซ) ปฏิบัติตามขอ (ก) ถึง (ช) โดยคันเกียรอยูในตําแหนง R 17
แรงดันทอที่กําหนด:
สภาวะ คันเกียรในตําแหนง D คันเกียรในตําแหนง R 19
376 ถึง 446 กิโลปาสคาล 488 ถึง 586 กิโลปาสคาล
เดินเบา
(3.8 ถึง 4.5 กก./ซม.2, 54 ถึง 64 ปอนด/นิ้ว2) (5.0 ถึง 6.0 กก./ซม.2, 71 ถึง 85 ปอนด/นิ้ว2)
1,060 ถึง 1,186 กิโลปาสคาล 1,435 ถึง 1,745 กิโลปาสคาล
26
สตอล
(10.8 ถึง 12.1 กก./ซม. , 154 ถึง 172 ปอนด/นิว้ ) (14.6 ถึง 17.8 กก./ซม.2, 208 ถึง 253 ปอนด/นิว้ 2)
2 2

การประเมินผล: 27
ปญหา สาเหตุที่เปนไปได
ถาคาที่วัดไดทุกๆ ตําแหนงสูงกวาคากําหนด
• โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT เสีย 28
• วาลวควบคุมแรงดันเสีย
• โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT เสีย 29
• วาลวควบคุมแรงดันเสีย
ถาคาที่วัดไดทุกๆ ตําแหนงต่ํากวาคากําหนด
ปมน้ํามันเครื่องเสีย

• คลัตชหลังโอเวอรไดรฟเสีย 30
• น้ํามันรั่วในวงจรตําแหนง D
ถาแรงดันต่ําเฉพาะเมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง D
• คลัตชหนาเสีย 31
• น้ํามันรั่วในวงจรตําแหนง R
ถาแรงดันต่ําเฉพาะเมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง R • คลัตชหลังเสีย 32
• เบรกเกียร 1 และเกียรถอยเสีย
05–430 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

การทดสอบเปลี่ยนเกียรดวยมือ
1
2
1. การทดสอบเปลี่ยนเกียรดวยมือ
3 ขอแนะนํา:
จากการทดสอบนี้ ทําใหสามารถสรุปไดวา เมือ่ ใดจะเปนปญหาภายใน
5 วงจรไฟฟา หรือเปนปญหาเกี่ยวกับกลไกในเกียร
10 (ก) ปลดขั้วตอสายไฟระบบเกียร
(ข) ตรวจสอบการทํางานขณะขับขี่โดยเลื่อนเปลี่ยนเกียรเอง
11 G22778
(1) ตรวจเช็ควาคันเกียรและตําแหนงเกียรสอดคลองกัน
กับตารางดานลาง
12 (2) ในขณะขับขี่ ใหเลื่อนคันเกียรไปที่ L, 2 และ D
(3) ตรวจเช็ควาการเปลี่ยนของเกียรสอดคลองกับตําแหนง
13 คันเกียรหรือไม
ตําแหนงคันเกียร ตําแหนงเกียร
14 D O/D
2 เกียร 2
15 L เกียร 1
R เกียรถอย
16 P ล็อคเฟองเกียร P
ถาผลที่ไดไมเปนไปตามที่กําหนด แสดงวาระบบเกียรอาจบกพรอง
17 ขอแนะนํา:
ถาตําแหนงเกียรยากที่จะแยกออกไดเมื่อคันเกียรอยูที่ L, 2 และ D
19 ใหทําการทดสอบขับดังนี้ (ดูหนา 05-425)
(ค) ตอขั้วตอสายไฟระบบเกียร
26 (ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–431

แผนการขับขี่ตรวจสอบ
1. ทดสอบแผนการขับขี่ตรวจสอบสําหรับ ECT
1
คําเตือน:
2
ทําแผนการขับขีน่ บี้ นถนนทีร่ าบเสมอกันมากทีส่ ดุ โดยจํากัดความเร็วและปฏิบตั ติ ามกฎจราจรอยางเครงครัดในขณะขับขี่
ขอแนะนํา: 3
การทําแผนการขับขี่เปนวิธีการหนึ่งที่จะจําลองสภาวะการตรวจพบความผิดปกติของ ECT
รหัสวิเคราะหปญหาที่อาจตรวจไมพบจากการขับขี่ประจําวันโดยทั่วไปก็อาจตรวจไมพบจากแผนการขับขี่นี้ไดเชนกัน 5
(ก) การเตรียมการในการขับขี่
(1) อุนเครื่องยนตใหเพียงพอ (อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเทากับ 60°C (140°F) หรือสูงกวา 10
(2) ขับรถเมื่ออุณหภูมิบรรยากาศเทากับ -10°C (14°F) หรือสูงกวา เนื่องจากจะตรวจจับความผิดปกติไมได
เมื่ออุณหภูมิบรรยากาศไมเกิน -10°C (14°F) 11
(ข) รูปแบบการขับขี่
(1) ขับรถโดยเขาเกียรทุกตําแหนง 12
หยุดรถ → เกียร 1 → เกียร 2 → เกียร 3 → O/D → O/D (ล็อค-อัพทํางาน (ON))
(2) ทําแผนการขับขี่ดังกลาวซ้ํา 3 ครั้งขึ้นไป 13
ขอควรระวัง:
• เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) จะสามารถสรางสถานะการตรวจสอบไดโดยเขาเมนูรายการดังนี้: Power 14
train / ECT / Data List
• ในเหตุการณทแี่ ผนการขับขีต่ อ งถูกขัดจังหวะ (อาจเนือ่ งมาจากสภาพการจราจร หรือปจจัยอืน่ ๆ) จะสามารถกลับ 15
เขาสูแผนการขับขี่ใหมได โดยในกรณีสวนใหญแลวจะสามารถตรวจสอบไดเสร็จสมบูรณ
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–432 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 ความเร็วรถ
รักษาความเร็วคงที่หรือเรงทีละนอย (ขณะลิ้นเรงเปด)
2 ประมาณ 3 นาทีขึ้นไป*
ประมาณ 100 กม./ชม.
ล็อค-อัพทํางาน (ON)
3 (62 ไมล/ชม.) ความเร็วรถ

5 ประมาณ 80 กม./ชม.
(50 ไมล/ชม.)
10
11
0
12 อุนเครื่องเพียงพอ หยุดรถ
(เดินเบา)
13 เรงปกติจนครบทุกเกียร
จากเกียร 1 ถึง O/D
14
G31593

15 ขอแนะนํา:
*: ขับขี่ในตําแหนงเกียรสูงสุดเพื่อเขาสภาวะล็อค-อัพที่อธิบายไว เมื่ออยูในสภาวะล็อค-อัพ จะสามารถขับรถไดที่ระดับ
16 ความเร็ว 80 กม./ชม. (50 ไมล/ชม.)

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–433

ตารางสภาพปญหา
ขอแนะนํา:
1
• ใชตารางขางลางนีเ้ พือ่ ชวยในการกําหนดสาเหตุของปญหา สาเหตุของอาการปญหาทีซ่ อ นเรนอยูจ ะเรียงตามลําดับ
2
ความเปนไปไดในชองตาราง “บริเวณทีค่ าดวาเปนปญหา” ตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยทําการตรวจเช็คบริเวณ
ที่คาดวาเปนปญหาตามลําดับรายการและเปลี่ยนชิ้นสวนตางๆ ถาจําเปน 3
• ตารางเทียบแบงออกไดเปน 3 หมวด เมือ่ ทําการคนหาสาเหตุปญ  หา ใหตรวจเช็คหมวดที่ 1 เปนอันดับแรกปฏิบตั ิ
ตามคําแนะนําที่ใหไวในหมวดที่ 1 กรณีที่ใหปฏิบัติตามหมวดที่ 2 หรือ 3 5
• ถามีคําแนะนําวา “ดําเนินการตรวจสอบวงจรถัดไปดังในตารางเทียบ” ใหไวในแผนผังของแตละวงจร ใหดําเนิน
การตรวจเช็คกับวงจรที่คาดวาเปนปญหาถัดไป 10
• หากยังคงเกิดปญหาอยู แมจะไมมีความผิดปกติตางๆ ในวงจรอื่นใด ใหตรวจเช็ค TCM และเปลี่ยนใหมถาจําเปน
1. หมวดที่ 1: ตารางเทียบวงจรอิเล็กทรอนิกส 11
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 1 → เกียร 2) TCM 01-17 12
เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 2 → เกียร 3) TCM 01-17
เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 3 → O/D)
1. วงจรสวิตชควบคุมเกียร 05-476 13
2. TCM 01-17
1. วงจรสวิตชควบคุมเกียร 05-476 14
เกียรไมเปลี่ยนลง (O/D → เกียร 3)
2. TCM 01-17
เกียรไมเปลี่ยนลง (เกียร 3 → เกียร 2) TCM 01-17
เกียรไมเปลี่ยนลง (เกียร 2 → เกียร 1) TCM 01-17
15
1. วงจรสวิตชไฟเบรก 05-480
ไมมีล็อค-อัพ หรือล็อค-อัพไมทํางาน (OFF) 2. วงจรสวิตชตําแหนง L4 05-483 16
3. TCM 01-17
เกียรเปลี่ยนชาหรือเร็วเกินไป TCM 01-17 17
1. วงจรสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด 05-476
เปลี่ยนขึ้นเกียร 2 ในขณะที่คันเกียรอยูในตําแหนง L
2. TCM 01-17 19
1. วงจรสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด 05-476
เปลี่ยนขึ้นเกียร 3 ในขณะที่คันเกียรอยูในตําแหนง 2
2. TCM 01-17 26
เกียรเปลี่ยนขึ้นจากเกียร 3 ไปที่ O/D ในขณะที่คันเกียรอยูใน 1. วงจรสวิตชควบคุมเกียร 05-476
ตําแหนง 3 2. TCM 01-17
เกียรเปลี่ยนขึ้นจากเกียร 3 ไปที่ O/D ในขณะที่เครื่องยนตเย็น TCM 01-17
27
อัตราเรงไมดี TCM 01-17
ไมคิก-ดาวน TCM 01-17 28
เครื่องยนตดับเมื่อหยุดสตารทหรือหยุดรถ TCM 01-17
29
30
31
32
05–434 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

2. หมวดที่ 2: การซอมบนรถ
1 (*: คูมือการซอมเกียรอัตโนมัติ A340E, A340F, A343E, A343F Pub. No. RM175T)
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
2 1. โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT 05-470
2. สายควบคุมคันเกียร 40-49
3 รถไมเคลื่อนที่ในทุกๆ ตําแหนงที่นอกเหนือจาก P และ N 3. แมนนวลวาลว *
4. ขอล็อคตําแหนง P *
5. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
5
รถไมเคลื่อนที่เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง R ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
รถไมเคลื่อนที่ในตําแหนงใดตําแหนงหนึ่งหรือมากกวานอก
10 เหนือจาก P และ N
ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. ชิพวาลว 1-2 *
11 เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 1 → เกียร 2)
2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. ชิพวาลว 2-3 *
เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 2 → เกียร 3)
12 2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. ชิพวาลว 3-4 *
เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 3 → O/D)
13 2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. ชิพวาลว 3-4 *
เกียรไมเปลี่ยนลง (O/D → เกียร 3)
14 2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. ชิพวาลว 2-3 *
เกียรไมเปลี่ยนลง (เกียร 3 → เกียร 2)
2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
15 1. ชิพวาลว 1-2 *
เกียรไมเปลี่ยนลง (เกียร 2 → เกียร 1)
2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
16 1. วาลวควบคุมล็อค-อัพ *
ไมมีล็อค-อัพ หรือล็อค-อัพไมทํางาน (OFF) 2. ล็อค-อัพรีเลยวาลว *
17 3. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร *
เกียรจับไมนุมนวล (N → D)
19 2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. วาลวควบคุมล็อค-อัพ *
เกียรจับไมนุมนวล (ล็อค-อัพ) 2. ล็อค-อัพรีเลยวาลว *
26 3. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร *
27 เกียรจับไมนุมนวล (N → R) 2. แอคคิวมูเลเตอร C2 *
3. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
28 เกียรจับไมนุมนวล (N → L) วาลวปรับคลื่นแรงต่ํา *
เกียรจับไมนุมนวล 1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร *
29 (เกียร 1 → เกียร 2 / คันเกียรในตําแหนง D) 2. แอคคิวมูเลเตอร B2 *
เกียรจับไมนุมนวล 1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร *
30 (เกียร 1 → เกียร 2 / คันเกียรในตําแหนง 2) 2. แอคคิวมูเลเตอร B2 *
1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร *
เกียรจับไมนุมนวล (เกียร 1 → เกียร 2 → เกียร 3 → O/D)
2. ลิ้นเรง *
31
1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร *
เกียรจับไมนุมนวล (เกียร 2 → เกียร 3) 2. แอคคิวมูเลเตอร C2 *
32 3. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–435

อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา


1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร * 1
เกียรจับไมนุมนวล (เกียร 3 → O/D) 2. วาลวปรับคลื่นโซลินอยด *
3. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. วาลวควบคุมแอคคิวมูเลเตอร *
2
เกียรจับไมนุมนวล (O/D → เกียร 3) 2. แอคคิวมูเลเตอร C0 *
3. ตารางเทียบการซอมนอกรถ - 3
1. โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT 05-470
2. สายควบคุมคันเกียร 40-49 5
ลื่นหรือสั่น (คันเกียรตําแหนงเดินหนาและถอยหลัง) 3. ตัวกรองน้ํามัน *
4. วาลวระบายแรงดัน * 10
5. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT 05-470 11
ลื่นหรือสั่น (เฉพาะตําแหนง) 2. สายควบคุมคันเกียร 40-49
3. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. วาลวปรับคลื่นแรงต่ํา *
12
ไมมีกําลังเบรกเครื่องยนต (เกียร 1/ คันเกียรในตําแหนง L)
2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
1. วาลวปรับคลื่นตัวที่ 2 * 13
ไมมีกําลังเบรกเครื่องยนต (เกียร 2/ คันเกียรในตําแหนง 2)
2. ตารางเทียบการซอมนอกรถ -
ไมคิก-ดาวน
1. ชิพวาลว 1-2 * 14
2. ชิพวาลว 2-3 *
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–436 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

3. หมวดที่ 3: การซอมนอกรถ
1 (*: คูมือการซอมเกียรอัตโนมัติ A340E, A340F, A343E, A343F Pub. No. RM175T)
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
2 1. คลัตชทางเดียวโอเวอรไดรฟ (F0) *
2. คลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (C0) *
3 รถไมเคลื่อนที่ในทุกๆ ตําแหนงที่นอกเหนือจาก P และ N 3. เบรกโอเวอรไดรฟ (B0) *
4. ชุดเพลนเนตตารี่เกียรโอเวอรไดรฟ *
5. คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร 40-24
5
1. เบรกแบนด (B1) *
2. ชุดเพลนเนตตารีเกียรหนาและหลัง *
10 รถไมเคลื่อนที่เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง R 3. คลัตชหลัง (C2) *
4. เบรกเกียร 1 และเกียรถอย (B3) *
11 5. คลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (C0) *
รถไมเคลื่อนที่เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง D, 2 และ L คลัตชหนา (C2) *
12 รถไมเคลื่อนที่เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง D และ 2 คลัตชทางเดียวตัวที่ 2 (F2) *
รถไมเคลื่อนที่เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง 2 เบรกเกียร 1 และเกียรถอย (B3) *
13 1. เบรกเบอร 2 (B2) *
รถไมเคลื่อนที่เมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง L 2. เบรกแบนด (B1) *
3. คลัตชหลัง (C2) *
14 1. เบรกเบอร 2 (B2) *
เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 1 → เกียร 2)
2. คลัตชทางเดียวตัวที่ 1 (F1) *
15 เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 2 → เกียร 3) คลัตชหลัง (C2) *
เกียรไมเปลี่ยนขึ้น (เกียร 3 → O/D) เบรกโอเวอรไดรฟ (B0) *
16 1. เบรกแบนด (B1) *
เกียรไมเปลี่ยนลง (เกียร 2 → เกียร 1)
2. เบรกเบอร 2 (B2) *
17 ไมมีล็อค-อัพ หรือล็อค-อัพไมทํางาน (OFF) คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร 40-24
เกียรจับไมนุมนวล (N → D) คลัตชหนา (C1) *
19 เกียรจับไมนุมนวล (N → R)
1. คลัตชหลัง (C2) *
2. เบรกเกียร 1 และเกียรถอย (B3) *
26 เกียรจับไมนุมนวล (เกียร 2 → เกียร 3) เบรกแบนด (B1) *
1. คลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (C0) *
เกียรจับไมนุมนวล (เกียร 3 → O/D) 2. เบรกโอเวอรไดรฟ (B0) *
27 3. ชุดเพลนเนตตารี่เกียรโอเวอรไดรฟ *
เกียรจับไมนุมนวล (O/D → เกียร 3) เบรกโอเวอรไดรฟ (B0) *
28 เกียรจับไมนุมนวล (ล็อค-อัพ) คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร 40-24
1. คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร *
29 ลื่นหรือสั่น (เดินหนาและถอยหลัง/ หลังจากอุนเครื่อง) 2. คลัตชทางเดียวโอเวอรไดรฟ (F0) *
3. คลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (C0) *
30 ลื่นหรือสั่น (เดินหนาและถอยหลัง/ หลังจากเพิ่งสตารท
คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร 40-24
เครื่องยนต)
31 ลื่นหรือสั่น (คันเกียรในตําแหนง R)
1. คลัตชหลัง (C2) *
2. เบรกเกียร 1 และเกียรถอย (B3) *
1. คลัตชหนา (C1) *
32 ลื่นหรือสั่น (เกียร 1)
2. คลัตชทางเดียวตัวที่ 2 (F2) *
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–437

อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา


1. เบรกเบอร 2 (B2) * 1
ลื่นหรือสั่น (เกียร 2) 2. เบรกแบนด (B1) *
3. คลัตชทางเดียวตัวที่ 1 (F1) *
ลื่นหรือสั่น (เกียร 3) คลัตชหลัง (C2) *
2
ลื่นหรือสั่น (O/D) เบรกโอเวอรไดรฟ (B0) *
ไมมีกําลังเบรกเครื่องยนต (เกียร 1 → เกียร 3/ คันเกียรใน
3
คลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (C0) *
ตําแหนง D)
ไมมีกําลังเบรกเครื่องยนต (เกียร 1/ คันเกียรในตําแหนง L) เบรกเกียร 1 และเกียรถอย (B3) * 5
ไมมีกําลังเบรกเครื่องยนต (เกียร 2/ คันเกียรในตําแหนง 2) เบรกแบนด (B1) *
อัตราเรงไมดี (ทุกตําแหนงคันเกียร) คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร 40-24 10
1. คลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (C0) *
อัตราเรงไมดี (O/D)
2. ชุดเพลนเนตตารี่เกียรโอเวอรไดรฟ * 11
อัตราเรงไมดี (อื่นๆ นอกจาก O/D) เบรกโอเวอรไดรฟ (B0) *
อัตราเรงไมดี (อื่นๆ นอกจากเกียร 2)
1. เบรกแบนด (B1) * 12
2. เบรกเบอร 2 (B2) *
อัตราเรงไมดี (เกียร 1 และเกียร 2) คลัตชหลัง (C2) *
อัตราเรงไมดี (คันเกียรในตําแหนง L และ R) เบรกเกียร 1 และเกียรถอย (B3) *
13
อัตราเรงไมดี (คันเกียรในตําแหนง R) คลัตชหนา (C1) *
เครื่องยนตดับเมื่อหยุดสตารทหรือหยุดรถ คลัตชทอรคคอนเวอรเตอร 40-24 14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–438 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ขั้วตางๆ ของ ECU


1 1. ECM
2 E8 E7 E6 E5

3
5
G34261

10
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
11 NSW (E5-6) - E1 (E7-7) L-Y - BR สัญญาณสวิตช PNP
ในตําแหนง P หรือ N
ต่ํากวา 3 V
สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
12 NSW (E5-6) - E1 (E7-7) L-Y - BR สัญญาณสวิตช PNP 9 ถึง 14 V
ไมใชตําแหนง P หรือ N
STP (E6-15) - E1 (E7-7) G-W - BR สัญญาณสวิตชไฟเบรก สวิตชจุดระเบิด ON, เหยียบเบรก 7.5 ถึง 14 V
13 STP (E6-15) - E1 (E7-7) G-W - BR สัญญาณสวิตชไฟเบรก สวิตชจุดระเบิด ON, ปลอยเบรก ต่ํากวา 1.5 V
สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
STA (E5-7) - E1 (E7-7) B-Y - BR สัญญาณมอเตอรสตารท ต่ํากวา 3 V
ในตําแหนง P หรือ N
14 สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
STA (E5-7) - E1 (E7-7) B-Y - BR สัญญาณมอเตอรสตารท 9 ถึง 14 V
ไมใชตําแหนง P หรือ N
15 CAN+ (E6-22) - E1 (E7-7) V - BR
สายระบบการสื่อสาร
สวิตชจุดระเบิด ON
สัญญาณพัลส
แบบ CAN (ดูคลื่นสัญญาณ 6)
16 CAN- (E6-21) - E1 (E7-7) P - BR
สายระบบการสื่อสาร
สวิตชจุดระเบิด ON
สัญญาณพัลส
แบบ CAN (ดูคลื่นสัญญาณ 7)
17 2. TCM
19 T19 T18 T17

26
27 F43241

28 สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด


สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
NSW (T19-12) - E1 (T19-1) L-Y - BR สัญญาณสวิตช PNP ต่ํากวา 3 V
29 ในตําแหนง P หรือ N
สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
NSW (T19-12) - E1 (T19-1) L-Y - BR สัญญาณสวิตช PNP 9 ถึง 14 V
ไมใชตําแหนง P หรือ N
30 S2 (T19-17) - E1 (T19-1) W-L - BR สัญญาณโซลินอยด S2 สวิตชจุดระเบิด ON ต่ํากวา 1.5 V
S2 (T19-17) - E1 (T19-1) W-L - BR สัญญาณโซลินอยด S2 เกียร 2 หรือ เกียร 3 9 ถึง 14 V
31 S2 (T19-17) - E1 (T19-1) W-L - BR สัญญาณโซลินอยด S2 เกียร 1 หรือ เกียร O/D ต่ํากวา 1.5 V
S1 (T19-18) - E1 (T19-1) GR - BR สัญญาณโซลินอยด S1 สวิตชจุดระเบิด ON 9 ถึง 14 V
32 S1 (T19-18) - E1 (T19-1) GR - BR สัญญาณโซลินอยด S1 เกียร 1 หรือ เกียร 2 9 ถึง 14 V
S1 (T19-18) - E1 (T19-1) GR - BR สัญญาณโซลินอยด S1 เกียร 3 หรือ เกียร O/D ต่ํากวา 1.5 V
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–439

สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด


SLT+ (T19-20) -
SLT- (T19-19)
G-Y - L-B สัญญาณโซลินอยด SLT สวิตชจุดระเบิด ON ต่ํากวา 3 V 1
SLT+ (T19-20) - สัญญาณพัลส
SLT- (T19-19)
G-Y - L-B สัญญาณโซลินอยด SLT เครื่องยนตเดินเบา
(ดูคลื่นสัญญาณ 1) 2
สัญญาณพัลส
SL (T19-16) - E1 (T19-1) G - BR สัญญาณโซลินอยด SL สวิตชจุดระเบิด ON
(ดูคลื่นสัญญาณ 2) 3
SL (T19-16) - E1 (T19-1) G - BR สัญญาณโซลินอยด SL ขับรถภายใตสภาวะล็อค-อัพ 9 ถึง 14 V
SP2+ (T19-30) -
SP2- (T19-29)
R-G
สัญญาณ (SP2) เซ็นเซอร
ความเร็วรถตัวที่ 2
ขณะรถวิ่ง
สัญญาณพัลส
(ดูคลื่นสัญญาณ 3)
5
สัญญาณ (NCO) เซ็นเซอร
NCO + (T19-3) – NCO - (T19-2) V-P ความเร็วคลัตชหลัง เครื่องยนตเดินเบา
สัญญาณพัลส 10
(ดูคลื่นสัญญาณ 4)
โอเวอรไดรฟ
THOC (T19-24) - E2 (T19-23) BR - B-Y
สัญญาณเซ็นเซอรอุณหภูมิ อุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ:
ต่ํากวา 1.5 V 11
น้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) 115°C (239°F) หรือสูงกวา
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร 12
L (T17-10) - E1 (T19-1) GR - BR 7.5 ถึง 14 V
เกียร L ในตําแหนง L
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
L (T17-10) - E1 (T19-1) GR - BR
เกียร L ไมใชตําแหนง L
ต่ํากวา 1.5 V 13
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
2 (T17-11) - E1 (T19-1) L - BR 7.5 ถึง 14 V
เกียร 2 ในตําแหนง 2 14
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
2 (T17-11) - E1 (T19-1) L - BR ต่ํากวา 1.5 V
เกียร 2 ไมใชตําแหนง 2
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
15
D (T18-8) - E1 (T19-1) G-Y - BR 7.5 ถึง 14 V
เกียร D ในตําแหนง D และ 3
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร 16
D (T18-8) - E1 (T19-1) G-Y - BR ต่ํากวา 1.5 V
เกียร D ไมใชตําแหนง D หรือ 3
R (T18-9) - E1 (T19-1) R-Y - BR
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
7.5 ถึง 14 V 17
เกียร R ในตําแหนง R
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
R (T18-9) - E1 (T19-1) R-Y - BR
เกียร R ไมใชตําแหนง R
ต่ํากวา 1.5 V 19
สัญญาณพัลส
SP1 (T17-25) - E1 (T19-1) V-R - BR สัญญาณความเร็ว ความเร็วรถ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.)
(ดูคลื่นสัญญาณ 5) 26
OILW (T17-8) - E1 (T19-1) P - BR สัญญาณอุณหภูมนิ า้ํ มัน ATF
ไฟเตือนอุณหภูมิน้ํามัน ATF ติด ต่ํากวา 1.5 V
OILW (T17-8) - E1 (T19-1) P - BR สัญญาณอุณหภูมนิ า้ํ มัน ATF
ไฟเตือนอุณหภูมิน้ํามัน ATF ไมติด 9 ถึง 14 V 27
STP (T17-14) - E1 (T19-1) G-W - BR สัญญาณสวิตชไฟเบรก สวิตชจดุ ระเบิด ON และเหยียบเบรก 7.5 ถึง 14 V
STP (T17-14) - E1 (T19-1) G-W - BR สัญญาณสวิตชไฟเบรก สวิตชจดุ ระเบิด ON และปลอยเบรก ต่ํากวา 1.5 V 28
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
3 (T17-12) - E1 (T19-1) G-O - BR 7.5 ถึง 14 V
เกียร 3 ในตําแหนง 3
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร 29
3 (T17-12) - E1 (T19-1) G-O - BR ต่ํากวา 1.5 V
เกียร 3 ไมใชตําแหนง 3
STA (T19-11) - E1 (T19-1) B-Y - BR สัญญาณมอเตอรสตารท
สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
ต่ํากวา 3 V 30
ในตําแหนง P หรือ N
31
32
05–440 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด


1 STA (T19-11) - E1 (T19-1) B-Y - BR สัญญาณมอเตอรสตารท
สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
9 ถึง 14 V
ไมใชตําแหนง P หรือ N
2 SIL (T18-23) - E1 (T19-1) R-Y - BR ขั้ว SIL ของขั้วตอ DLC3
ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
สัญญาณพัลส
เขากับขั้วตอ DLC3
WFSE (T18-24) - E1 (T19-1) W - BR ขั้ว SIL ของขั้วตอ DLC3 สวิตชจุดระเบิด ON 9 ถึง 14 V
3 สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
L4 (T18-15) - E1 (T19-1)* G-W - BR ต่ํากวา 1.5 V
เกียร L4 ทรานสเฟอรในตําแหนง L4
5 สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
L4 (T18-15) - E1 (T19-1)* G-W - BR 7.5 ถึง 14 V
เกียร L4 ทรานสเฟอรไมใชตําแหนง L4
10 สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
TFN (T18-16) - E1 (T19-1)* W-G - BR ต่ํากวา 1.5 V
เกียร N ทรานสเฟอรในตําแหนง N
11 TFN (T18-16) - E1 (T19-1)* W-G - BR
สัญญาณสวิตชตําแหนง สวิตชจุดระเบิด ON และคันเกียร
7.5 ถึง 14 V
เกียร N ทรานสเฟอรไมใชตําแหนง N
12 CAN+ (T17-21) - E1 (T19-1) V - BR
สายระบบการสื่อสารแบบ
สวิตชจุดระเบิด ON
สัญญาณพัลส
CAN (ดูคลื่นสัญญาณ 6)
สายระบบการสื่อสารแบบ สัญญาณพัลส
13 CAN- (T17-20) - E1 (T19-1) P - BR
CAN
สวิตชจุดระเบิด ON
(ดูคลื่นสัญญาณ 7)

14 ขอแนะนํา:
*: เฉพาะ A340F เทานั้น
15
คลื่นสัญญาณ 1 (ขอมูลอางอิง):
16
5 V/DIV
ขั้ว SLT+ - SLT-
การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 1 msec./DIV
17 สภาวะ ความเร็วรอบเดินเบา
GND

19
1 ms/DIV

26 G23426

คลื่นสัญญาณ 2 (ขอมูลอางอิง):
27
10 V/DIV
ขั้ว SL - E1
การตั้งเครื่องมือ 10 V/DIV, 100 msec./DIV
28 GND สภาวะ
ความเร็วรถ 65 กม./ชม. (40 ไมล/ชม.), ล็อค-อัพ (ON
ไป OFF)
29
100 ms/DIV

30
G34875

31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–441

คลื่นสัญญาณ 3 (ขอมูลอางอิง):
2 V/DIV
ขั้ว SP2+ - SP2- 1
การตั้งเครื่องมือ 2 V/DIV, 20 msec./DIV
GND
สภาวะ ความเร็วรถ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.) 2
3
20 ms/DIV
G34874
5
คลื่นสัญญาณ 4 (ขอมูลอางอิง):
5 V/DIV
ขั้ว NCO+ - NCO- 10
การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 0.5 msec./DIV
GND
สภาวะ ความเร็วรถ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.) 11

0.5 ms/DIV
12
13
G34873

คลื่นสัญญาณ 5 (ขอมูลอางอิง):
14
5 V/DIV
ขั้ว SP1 - E1
การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 20 msec./DIV
สภาวะ ความเร็วรถ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.) 15
GND

20 ms/DIV
16
17
G34872

คลื่นสัญญาณ 6 (ขอมูลอางอิง):
1 V/DIV ขั้ว CAN+ - E1 19
การตั้งเครื่องมือ 1 V/DIV, 10 msec./DIV
สภาวะ ดับเครื่องยนต, สวิตชจุดระเบิด ON
26
GND
27
10 ms/DIV
G36660

คลื่นสัญญาณ 7 (ขอมูลอางอิง): 28
ขั้ว CAN- - E1
1 V/DIV
การตั้งเครื่องมือ 1 V/DIV, 10 msec./DIV
29
สภาวะ ดับเครื่องยนต, สวิตชจุดระเบิด ON
30
GND

31
10 ms/DIV
G36661

32
05–442 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ระบบวิเคราะหปญหา
1 1. คําอธิบายระบบ
เมื่อทําการคนหาสาเหตุปญหาของรถที่มีระบบ Multiplex OBD (M-
2
OBD) ตองตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับรถจึงจะสามารถ
3 อานผลขอมูลตางๆ จากชุดควบคุมเกียร (TCM) ของรถได

5 ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) จะติดสวาง เมื่อ


คอมพิ ว เตอร ข องรถตรวจพบความผิ ด ปกติ ภ ายในหรื อ ในส ว น
10 ประกอบตางๆ ของระบบขับขี่ นอกจากนีย้ งั เก็บบันทึกรหัสวิเคราะห
ปญหาตางๆ (DTCs) ของความผิดปกติที่เกิดขึ้นดังกลาวไวในหนวย
11 ความจําของ TCM (ดูหนา 05-62)
ถาความผิดปกติดังกลาวไมเกิดขึ้นซ้ําอีก ไฟเตือน MIL จะยังติด
12 สวางอยูจนกระทั่งบิดสวิตชจุดระเบิด OFF แลวจะไมตดิ ขึน้ อีกเมือ่
A93827

บิดสวิตชจดุ ระเบิด ON แตรหัสวิเคราะหปญ  หายังคงถูกบันทึกไวใน


13 หนวยความจําของ TCM
14 การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญ  หา (DTCs) ใหตอ เครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา
(IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 (ขั้วตอเชื่อมโยงขอมูล 3) ของรถหรือตอ
15 ขัว้ TC กับ CG ของขัว้ ตอ DLC3 (รหัสวิเคราะหปญ  หาตางๆ จะปรากฏ
DLC3 ขึ้นในมาตรวัดรวม)
16 เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) A98433

17
2. โหมดปกติและโหมดตรวจเช็ค
19 ระบบวิเคราะหปญ  หาจะทํางานใน “โหมดปกติ” เมือ่ รถอยูร ะหวางการใชงานโดยทัว่ ไป ในโหมดปกติจะใช “การตรวจจับ
ปญหา 2 ครัง้ ” เพือ่ ใหแนใจวาตรวจจับความผิดปกติตา งๆ ไดอยางแมนยํา นอกจากนี้ ยังมี “โหมดตรวจเช็ค” ใหเปนทาง
26 เลือกแกชางเทคนิค ในโหมดตรวจเช็ค จะใช “การตรวจจับปญหา 1 ครั้ง” เพื่อจําลองสภาพความผิดปกติและเพิ่มความ
สามารถของระบบในการตรวจจับขอบกพรองตางๆ รวมทั้งความผิดปกติที่เกิดขึ้นเปนชวงๆ (ดูหนา 05-53)
27 3. การตรวจจับปญหา 2 ครั้ง
เมื่อตรวจจับความผิดปกติไดในครั้งแรก ความผิดปกติดังกลาวจะถูกบันทึกเก็บไวในหนวยความจําของ TCM ชั่วคราว
28 (ตรวจจับปญหาครั้งที่ 1) กรณีตรวจพบความผิดปกติเชนเดียวกันนี้ในเวลาตอมา ไฟเตือน MIL จะติดสวางขึ้น (การ
29 ตรวจจับปญหาครั้งที่ 2)
4. ขอมูลสภาพเครื่องยนต (FREEZE FRAME DATA)
30 ขอมูลตางๆ เกี่ยวกับสภาพเครื่องยนต (เชน ระบบเชื้อเพลิง ภาระของเครื่องยนต อุณหภูมิน้ําหลอเย็น อัตราสวนผสม
เชือ้ เพลิง/อากาศ ความเร็วรอบเครือ่ งยนต ความเร็วของรถ ฯลฯ) บันทึก ณ เวลาทีพ่ บปญหา จึงเปนประโยชนในการคนหา
31 สาเหตุปญ  หา เพือ่ ดูวา ปญหานัน้ เกิดขึน้ ขณะรถวิง่ หรือรถจอด เครือ่ งรอนหรือไม อัตราสวนผสมระหวางอากาศ-เชือ้ เพลิง
หนาหรือบาง ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–443

5. ตรวจเช็คขั้วตอ DLC3
CG SG SIL
TCM ของรถใชระบบการสื่อสารตามมาตรฐาน ISO 14230 (วิธกี าร 1
สือ่ สารแบบ M-OBD) รูปแบบการจัดเรียงขัว้ สายไฟของขัว้ ตอ DLC3
นั้นเปนไปตามมาตรฐานของ ISO 15031-03 ซึ่งใชไดกับรูปแบบ 2
1 2 3 4 5 6 7 8
มาตรฐาน ISO 14230
9 10 1112 1314 1516 3
BAT A82779
5
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
SIL (7) - SG (5) สาย Bus “+” ระหวางเขาเกียร สัญญาณพัลส 10
CG(4) - กราวดตัวถัง กราวดชวงลาง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
SG(5) - กราวดตัวถัง กราวดสัญญาณ คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 11
BAT(16) - กราวดตัวถัง ขั้วบวกแบตเตอรี่ คงที่ 9 ถึง 14 V
ขอแนะนํา: 12
ตอสายเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 บิดสวิตช
จุดระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวดูทหี่ นาจอเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หาหาก 13
หนาจอแจงใหทราบวาติดตอสือ่ สารไมได แสดงวามีปญ หาอยางใดอยาง
หนึ่งเกิดขึ้นกับตัวรถ หรือกับเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 14
• ถาตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคันอื่นแลวใชการได
ตามปกติ แสดงวาขั้วตอ DLC3 ของรถที่จะตรวจสอบนั้นมี
15
ปญหา 16
• ถาตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคันอืน่ แลวยังไมสามารถ
สื่อสารกันได แสดงวาอาจมีปญหาที่ตัวเครื่อง ใหปรึกษาฝาย 17
บริการตามที่ระบุไวในคูมือการใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา
6. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่ 19
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่: 11 ถึง 14 V
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ 26
7. ตรวจเช็คไฟเตือน MIL 27
(ก) ไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) จะติดขึ้น
เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON โดยไมติดเครื่องยนต 28
ขอแนะนํา:
ถาไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) ไมติดขึ้น ให 29
ตรวจเช็ควงจรไฟแสดงสถานะ MIL (ดูทวี่ งจรไฟแสดงสถานะ MIL
A93827
ในหนา 05-240) 30
(ข) เมือ่ เครือ่ งยนตสตารทติด ใหตรวจเช็ควาไฟเตือน MIL ดับไป
แตถา ไฟเตือนติดคางอยู แสดงวาระบบวิเคราะหปญ หาไดตรวจ 31
พบปญหาหรือความผิดปกติในระบบ
32
05–444 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

การตรวจเช็ค/ลบรหัสวิเคราะหปญหา
1 ขอควรระวัง:
2 ใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เทานั้น:
เมื่อเปลี่ยนระบบวิเคราะหปญหาจากโหมดปกติไปยังโหมดตรวจเช็ค รหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต
3 ทั้งหมดที่บันทึกไวในโหมดปกติจะถูกลบออก กอนเปลี่ยนโหมดทุกครั้ง ใหตรวจเช็คและจดบันทึกรหัสวิเคราะหปญหา
และขอมูลสภาพเครื่องยนตไว
5
1. ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา
10 (IT II))
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
11 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)

12 DLC3

เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)


13
A98433

(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / ECT / DTC


ตัวอยาง:
14 (ง) ตรวจเช็คและจดบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพ
สงกําลัง เครื่องยนต
15 ECT
ECT
(จ) ดูหนา 05-62 เพื่อตรวจยืนยันรายละเอียดของรหัสวิเคราะห
ปญหา (DTCs)
16 รหัสวิเคราะหปญ
 หา

17
G37242

2. ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญ  หา (โดยไมใชเครือ่ งวิเคราะหปญ


 หา
19 CG
(IT II))
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
26 (ข) ใชเครื่องมือพิเศษ ตอระหวางขั้ว 13 (TC) กับขั้ว 4 (CG) ของ
1 2 3 4 5 6 7 8
ขั้วตอ DLC3
27 9 10 1112 1314 1516
เครื่องมือพิเศษ 09843-18040
TC A82779

28 (ค) อานรหัสวิเคราะหปญ
 หาโดยการสังเกตไฟเตือน MIL ถาตรวจ
29 0.25 วินาที ไมพบรหัสวิเคราะหปญหา ไฟเตือน MIL จะกะพริบดังแสดง
ในภาพ
ON
30 OFF

31 0.25 วินาที
A73556

32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–445

0.5 วินาที 1.5 วินาที (ง) ตัวอยาง


2.5 วินาที
(1) ตรวจพบรหัส 12 และ 31 และไฟเตือน MIL เริ่มแสดง 1
4.5 วินาที 4.5 วินาที รหัสวิเคราะหปญ  หา ดังภาพซายมือรูปแบบการกะพริบ
ON
ไฟเตือน MIL ของรหัส 12 จะปรากฏขึ้นกอน 2
OFF (2) หยุดพัก 2.5 วินาที การหยุดพักนี้จะเกิดขึ้นระหวางการ
0.5 วินาที ซ้าํ กะพริบไฟเตือน MIL ของแตละรหัส
1 รอบ (3) รูปแบบการกะพริบไฟเตือน MIL ของรหัส 31 จะ
3
เริ่ม ปรากฏขึ้น
BR3589

(4) หยุดพัก 4.5 วินาที การหยุดพักนี้จะเกิดขึ้นเมื่อกะพริบ 5


ไฟเตือน MIL ของเลขรหัสวิเคราะหปญหาตัวสุดทาย
(5) ไฟเตือน MIL จะแสดงรหัสวิเคราะหปญหาตางๆ ซ้ํา 10
อีกครั้ง
(จ) ตรวจเช็ครายละเอียดของปญหา โดยดูจากตารางรหัสวิเคราะห 11
ปญหาในหนา 05-62
(ฉ) หลังจากตรวจเช็คเสร็จ ใหปลดเครื่องมือพิเศษออกจากขั้ว 13 12
(TC) และ ขั้ว 4 (CG) แลวปดการแสดงผลบนหนาจอ
ขอแนะนํา: 13
ถาตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหาตั้งแต 2 รหัสขึ้นไป ไฟเตือน MIL
จะแสดงรหัสวิเคราะหปญหาที่มีคานอยกวาเปนอันดับแรก 14
(ช) ดูหนา 05-62 เพื่อตรวจยืนยันรายละเอียดของรหัสวิเคราะห
ปญหา (DTCs) 15
3. ลบรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต (โดยใช
ตัวอยาง: 16
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II))
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON (โดยไมสตารทเครื่องยนต) และ 17
ลบ เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / ECT / DTC / Clear 19
(ง) ลบรหัสทั้งหมดและขอมูลสภาพเครื่องยนตโดยกด YES ที่
A90410
เครื่องวิเคราะหปญหา 26
(จ) บิดสวิตชจดุ ระเบิด OFF แลวจึงบิดสวิตชจดุ ระเบิด ON ใหมอกี
ครัง้ และตรวจเช็ควาทีห่ นาจอไมปรากฏรหัสวิเคราะหปญ หาใดๆ 27
กรณีทมี่ รี หัสวิเคราะหปญ
 หาปรากฏขึน้ ใหทาํ ซ้าํ ขัน้ ตอนตัง้ แตขอ (ค)
4. ลบรหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต 28
J/B หองเครื่องยนต
(โดยไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II))
(ก) ปฏิบัติอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ 29
(1) ปลดสายขั้วลบแบตเตอรี่ (-) ออกนานกวา 1 นาที
(2) ถอดฟวส EFI ออกจาก J/B หองเครื่องยนตที่ติดตั้งอยู 30
ภายในหองเครื่องยนตนานกวา 1 นาทีขึ้นไป
31
ฟวส EFI A99789

32
05–446 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

การปฏิบัติโหมดตรวจเช็ค
1 ขอแนะนํา:
2 ใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เทานั้น:
โหมดตรวจเช็คมีความไวในการตรวจจับปญหาสูงกวา สามารถตรวจจับปญหาทีใ่ นโหมดปกติไมสามารถทําได นอกจากนี้
3 โหมดตรวจเช็คยังสามารถตรวจจับทุกปญหาที่โหมดปกติสามารถทําได
ในโหมดตรวจเช็คนี้ TCM กําหนดใหรหัสวิเคราะหปญหาใชการตรวจจับปญหา 1 ครั้ง
5 ขอควรระวัง:
รหัสวิเคราะหปญหาที่เก็บบันทึกไวและขอมูลสภาพเครื่องยนตทั้งหมดจะถูกลบออกกรณีที่: 1) เปลี่ยน TCM จากโหมด
10 ปกติไปยังโหมดตรวจเช็ค หรือในทางกลับกัน; หรือ 2) บิดสวิตชจดุ ระเบิดจากตําแหนง ON ไปที่ ACC หรือ OFF ขณะอยู
ในโหมดตรวจเช็ค กอนเปลีย่ นโหมด ใหตรวจเช็คและจดบันทึกรหัสวิเคราะหปญ  หาและขอมูลสภาพเครือ่ งยนตไว
11
12
1. ขั้นตอนการตรวจเช็ค
13
(ก) ตรวจดูใหแนใจวารถอยูในสภาวะดังตอไปนี้:
14 (1) แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เทากับ 11 โวลท หรือสูงกวา
(2) ลิ้นเรงปดสุด
15 (3) คันเกียรอยูในตําแหนง P หรือ N
DLC3 (4) ปดสวิตช A/C (OFF)
16 เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
A98433

(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3


17 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / ECT / Check Mode
19 0.13 วินาที
(ฉ) ตรวจดูใหแนใจวาไฟเตือน MIL กะพริบดังแสดงในภาพ
(ช) สตารทเครื่องยนต (ไฟเตือน MIL ควรดับไป)
26 ON
(ซ) จําลองสภาพปญหาตามคําบอกเลาของลูกคา
(ฌ) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาและขอมูลสภาพเครื่องยนต
27 OFF โดยใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
0.13 วินาที (ญ) หลังจากตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญ  หาแลว ใหตรวจสอบวงจร
28 A76900

ที่เกี่ยวของ (ดูหนา 05-62)


29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–447

ตารางรหัสปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe chart)


ฟงกชนั่ นีจ้ ะชวยลดความสูญเสียในการทํางานของ ECT เมือ่ เกิดความผิดปกติใดๆ ขึน้ ในเซ็นเซอรหรือโซลินอยดแตละตัว
1
ชิ้นสวนที่ผิดปกติ การทํางาน
รหัส P0710, P0712, P0713: ขณะที่เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) บกพรอง ระบบจะคง
2
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) อุณหภูมิ ATF ที่ 80°C (176°F)
รหัส P0722: ขณะทีเ่ ซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 บกพรอง เปนผลใหการควบคุมคันเกียรผา นสัญญาณ 3
เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 (SP2) เซ็นเซอรความเร็วการรับกําลัง (NCO) หรือสัญญาณความเร็วรอบเครือ่ งยนต (NE)
รหัส P0973, P0974, P0976, P0977: กระแสไฟฟาไปยังโซลินอยดตัวที่บกพรองจะถูกตัดและควบคุมการทํางานโดยใช 5
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1, S2 งานโซลินอยดวาลวตัวอื่นๆ ที่ทํางานปกติ
รหัส P2716:
ขณะที่โซลินอยดวาลว SLT บกพรอง จะไมมีกระแสไฟฟาไปที่โซลินอยดวาลว 10
ทําใหการควบคุมแรงดันทอหยุดทํางาน การกระตุกของเกียรจึงเพิ่มขึ้น อยางไร
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT
ก็ตาม จะเปลี่ยนเกียรไดผานการควบคุมแรงดันคลัตชที่ปกติ 11
รหัส P2769, P2770: ขณะที่โซลินอยดวาลว SL บกพรอง จะไมมีกระแสไฟฟาไปยังโซลินอยดวาลว
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL ทําใหการควบคุมล็อค-อัพไมทํางาน จึงลดการประหยัดเชื้อเพลิงลง
12
ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (Fail-safe):
ถาวงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียรตัวใดตัวหนึ่งเกิดขาดหรือลัดวงจร TCM จะเปดและปดโซลินอยดวาลว 13
ตัวอื่นที่ปกติเพื่อเปลี่ยนตําแหนงเกียรดังในตารางดานลาง อีกทั้งปดโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL ดวยใน
ขณะเดียวกัน กรณีที่โซลินอยดทั้งสองบกพรอง การควบคุมไฮดรอลิกจะไมสามารถควบคุมไดดวยไฟฟา จึงตองทําการ 14
เปลี่ยนเกียรดวยมือดังตารางตอไปนี้ ในกรณีที่ลัดวงจร TCM จะหยุดสงกระแสไฟฟาไปยังโซลินอยดที่ลัดวงจร
15
โซลินอยดควบคุมการเปลี่ยน โซลินอยดควบคุมการเปลี่ยน โซลินอยดทั้งสอง
ปกติ
เกียร S1 บกพรอง เกียร S2 บกพรอง บกพรอง 16
ตําแหนง
โซลินอยดวาลว โซลินอยดวาลว โซลินอยดวาลว เกียรเมื่อเลื่อนคันเลือก
เกียร เกียร เกียร
S1 S2 S1 S2 S1 S2 เกียรดวยเมือ 17
ON OFF เกียร 1 X ON เกียร 3 ON X เกียร 1 O/D

D
ON ON เกียร 2 X ON เกียร 3 OFF X O/D O/D
19
OFF ON เกียร 3 X ON เกียร 3 OFF X O/D O/D

OFF

ON
OFF

OFF
O/D

เกียร 1
X

X
OFF

ON
O/D

เกียร 3
OFF

ON
X

X
O/D

เกียร 1
O/D

เกียร 3
26
เกียร 2 เกียร 3 เกียร 3 เกียร 3
27
2 ON ON X ON OFF X

OFF ON เกียร 3 X ON เกียร 3 OFF X เกียร 3 เกียร 3


ON OFF เกียร 1 X OFF เกียร 1 ON X เกียร 1 เกียร 1
L
ON ON เกียร 2 X ON เกียร 2 ON X เกียร 1 เกียร 1 28
X: บกพรอง
29
30
31
32
05–448 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

การแสดงขอมูล (DATA LIST)/ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)


1 1. อานขอมูลใน DATA LIST
2 ขอแนะนํา:
ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากขอมูลใน Data List ทีแ่ สดงโดยเครือ่ งวิเคราะหปญ  หา
3 (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานขอมูลจาก Data List ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุปญหาเปน
วิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
5 ขอควรระวัง:
ในตารางขางลางนี้ คาที่อยูในชอง “สภาวะปกติ” นั้นเปนเพียงคาที่อางอิง หามใชคาเหลานี้เพียงลําพังในการตัดสินวา
10 ชิ้นสวนนั้นบกพรองหรือไม
(ก) อุนเครื่องยนต
11 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
12 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(จ) เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
13 (ฉ) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / ECT / Data List
(ช) อานขอมูลใน Data List
14 สิ่งที่ตรวจวัด/
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
การแสดงผล (ตําแหนง)
15 สถานะของสวิตชไฟเบรก/ • เหยียบเบรก: ON
Stop Light Switch -
ON หรือ OFF • ปลอยเบรก: OFF
16 เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
17 Neutral Position Switch สถานะสวิตช PNP/
คันเกียรอยูที่: ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช
ตําแหนง P และ N: ON PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
Signal ON หรือ OFF
ไมใชตําแหนง P หรือ N: OFF ขอแนะนํา:
19 เมื่อยังเกิดความบกพรองแมหลังจากปรับตั้ง
สวนตางๆ เหลานี้แลว ดูหนา 05-476
26 เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
27 Shift Switch Status สถานะสวิตช PNP/
คันเกียรอยูที่: ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช
ตําแหนง R: ON PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
(R Range) ON หรือ OFF
28 ไมใชตําแหนง R: OFF ขอแนะนํา:
เมื่อยังเกิดความบกพรองแมหลังจากปรับตั้ง
สวนตางๆ เหลานี้แลว ดูหนา 05-476
29 เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
30 คันเกียรอยูที่: ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช
Shift Switch Status สถานะสวิตช PNP/
ตําแหนง D: ON PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
(4 or D Range) ON หรือ OFF
31 ไมใชตําแหนง D: OFF ขอแนะนํา:
เมื่อยังเกิดความบกพรองแมหลังจากปรับตั้ง
32 สวนตางๆ เหลานี้แลว ดูหนา 05-476
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–449

สิ่งที่ตรวจวัด/ บันทึกการวิเคราะห
รายการขอมูล สภาวะปกติ
การแสดงผล (ตําแหนง) 1
เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
คันเกียรอยูที่: ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช 2
Shift Switch Status สถานะสวิตช PNP/
ตําแหนง 2: ON PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
(2 Range) ON หรือ OFF
ไมใชตําแหนง 2: OFF ขอแนะนํา: 3
เมื่อยังเกิดความบกพรองแมหลังจากปรับตั้ง
สวนตางๆ เหลานี้แลว ดูหนา 05-476
เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
5
วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
Shift Switch Status สถานะสวิตช PNP/
คันเกียรอยูที่: ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช 10
ตําแหนง L: ON PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
(L Range) ON หรือ OFF
ไมใชตําแหนง L: OFF ขอแนะนํา: 11
เมื่อยังเกิดความบกพรองแมหลังจากปรับตั้ง
สวนตางๆ เหลานี้แลว ดูหนา 05-476
คันเกียรอยูที่: 12
• ตําแหนง L: เกียร 1
ตําแหนงเกียรแทจริง/ • ตําแหนง 2: เกียร 1 หรือ เกียร 2 13
Shift Status เกียร 1, 2, 3, • ตําแหนง D: (โอเวอรไดรฟไมทํางาน) -
โอเวอรไดรฟ เกียร 1, เกียร 2 หรือ เกียร 3
• ตําแหนง D: (โอเวอรไดรฟทาํ งาน) เกียร 1,
14
เกียร 2 หรือโอเวอรไดรฟ
สถานะโซลินอยดลอ็ คอัพ/ • ล็อค-อัพ: ON 15
Lock Up Solenoid Status -
ON หรือ OFF • ไมอยูในล็อค-อัพ: OFF
สถานะโซลินอยดควบ
• เหยียบคันเรง: OFF
16
SLT Solenoid Status คุมการเปลี่ยนเกียร SLT/ -
• ปลอยคันเรง: ON
ON หรือ OFF
คาเซ็นเซอรอณ ุ หภูมิ ATF/ • หลังการทดสอบสตอล: ถาคาที่ไดเปน -40°C (-40°F) หรือ 150°C
17
A/T Oil Temperature 3 ต่าํ สุด: -40°C (-40°F) ประมาณ 80°C (176°F) (302°F) แสดงวาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิ
สูงสุด: 150°C (302°F) • เทากับอุณหภูมภิ ายนอกเมือ่ เครือ่ งยนตเย็น ATF ขาดหรือลัดวงจร 19
ความเร็วเพลาสงกําลัง/
ต่ําสุด: 0 กม./ชม.
รถหยุด: 0 กม./ชม. (0 ไมล/ชม.) 26
SPD (SP2) (0 ไมล/ชม.) -
(ความเร็วเพลาสงกําลังจะเทากับความเร็วรถ)
สูงสุด: 255 กม./ชม.
(158 ไมล/ชม.) 27
• ล็อค-อัพทํางาน (ON) (อุนเครื่องยนต,
ยกเวน O/D): 28
ความเร็วเทอรไบนรับกําลัง (NCO) เทากับ
ความเร็วรอบเครื่องยนต 29
ความเร็วเทอรไบนรับ
• ล็อค-อัพทํางาน (ON) (อุน  เครือ่ งยนต, O/D):
กําลัง/
SPD (NCO) ความเร็วเทอรไบนรับกําลัง (NCO) เทากับ -
การแสดงผล: 50 รอบ/
0 รอบ/นาที 30
นาที
• ล็อค-อัพไมทํางาน (OFF) (เดินเบาขณะ
คันเกียรอยูในตําแหนง N): 31
ความเร็วเทอรไบนรับกําลัง (NCO) เกือบจะ
เทากับความเร็วรอบเครื่องยนต
32
05–450 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

2. ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)


1 ขอแนะนํา:
การทดสอบในโหมด Active Test ของเครือ่ งวิเคราะหปญ  หา (IT II) เพือ่ ใหรเี ลย, VSV, แอ็คชิวเอเตอร และอืน่ ๆ ทํางาน
2 โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การทดสอบโหมด Active Test ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุปญหาเปนวิธี
การหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
3 สามารถใหแสดงขอมูล (Data List) ในระหวางการทดสอบ Active Test ได
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
5 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) เปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
10 (ง) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / ECT / Active Test
(จ) ทดสอบการทํางานในโหมด Active Test
11 รายการขอมูล รายละเอียดการทดสอบ บันทึกการวิเคราะห
[รายละเอียดการทดสอบ]
12 ใหโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียรทํางานและเลื่อนคันเกียรไป
ทีละตําแหนงเอง
สามารถตรวจเช็คการทํางาน
13 Control the Shift Position
[สภาวะของรถ]
ของโซลินอยดวาลวควบคุม
ความเร็วต่ํากวา 50 กม./ชม. หรือนอยกวา
การเปลี่ยนเกียรได
14 [อื่นๆ]
กดปุม “ →”: เปลี่ยนเกียรขึ้น
กดปุม “→”: เปลี่ยนเกียรลง
15
[รายละเอียดการทดสอบ]
ควบคุมโซลินอยดควบคุมการเปลี่ยนเกียร DSL ใหเกียรอัตโนมัติอยู
16 Control the Lock Up ที่สภาวะล็อค-อัพ
สามารถตรวจเช็คการทํางาน
ของ DSL ได
[สภาวะของรถ]
17 ความเร็วรถ: 60 กม./ชม. (36 ไมล/ชม.) หรือมากกวา
[รายละเอียดการทดสอบ]
19 ใชงานโซลินอยดควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT และเพิ่มแรงดันทอ
[สภาวะของรถ]
26 รถหยุด
Control the Line Pressure Up* IDL: ทํางาน (ON) -
[ขอแนะนํา]
27 OFF: แรงดันทอเพิ่มขึ้น (เมื่อทําการทดสอบ ACTIVE TEST ของ
“LINE PRESS UP” และ TCM สั่งใหโซลินอยด SLT ไมทํางาน)
28 ON: ไมมีปฏิกิริยา (การทํางานปกติ)
ขอแนะนํา:
29 *: ทดสอบ “Control the Line Pressure Up” ในโหมด Active Test เพื่อตรวจเช็ควาแรงดันทอเปลี่ยนแปลงเมื่อตอเครื่อง
30 มืการทดสอบ
อพิเศษเขากับเกียรอัตโนมัติ ซึ่งใชในการทดสอบไฮดรอลิกดวยเชนกัน (ดูหนา 05-429) โปรดสังเกตวาคาแรงดันใน
Active Test และ Hydraulic Test นั้นแตกตางออกไปจากกัน
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–451

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
ถามีรหัสวิเคราะหปญ
 หาปรากฏออกมาในระหวางการตรวจเช็ครหัส ใหตรวจดูวงจรทีร่ ะบุไวในตารางดานลางและดําเนิน
1
การตามหนาที่ใหไว
2
ขอแนะนํา:
• เครื่องหมาย “O” ดานลาง แสดงใหรูวาไฟเตือนระบบควบคุมเครื่องยนตบกพรอง (MIL) จะติดสวาง 3
• เครื่องหมาย “◯” หมายถึง TCM บันทึกรหัสผิดปกติไวกรณีพบสภาวะที่ตรวจจับรหัสวิเคราะหปญหาได
• รหัสวิเคราะหปญหาเหลานี้อาจปรากฏออกมาไดเมื่อคลัตช เบรก และเฟองตางๆ ฯลฯ ภายในเกียรอัตโนมัติ 5
ชํารุดเสียหาย
รหัส
ปญหาที่ตรวจพบ บริเวณที่เกิดปญหา MIL
หนวย 10
(ดูหนา) ความจํา
• วงจรเซ็นเซอรความเร็วรถขาดหรือลัดวงจร 11
P0500/42 • เซ็นเซอรความเร็วรถ
เซ็นเซอรความเร็วรถ “A” O ◯
(05-453) • ชุดเกียรอัตโนมัติ
• TCM 12
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) ขาดหรือ
P0710/38 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามัน ลัดวงจร 13
O ◯
(05-457) เกียร “A” • เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
• TCM 14
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) ขาดหรือ
P0712/38 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอร ลัดวงจร
O ◯ 15
(05-457) อุณหภูมิน้ํามันเกียร “A” ต่ํา • เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
TCM

• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) ขาดหรือ
16
P0713/38 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอร ลัดวงจร
(05-457) อุณหภูมิน้ํามันเกียร “A” สูง • เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF)
O ◯ 17
• TCM
P0717/67
ไมมีสัญญาณวงจรเซ็นเซอร • วงจรเซ็นเซอรความเร็ว (NCO) ขาดหรือลัดวงจร 19
ความเร็วเทอรไบน/การรับ • เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (NCO) O ◯
(05-460)
กําลัง “A” • TCM 26
• วงจรเซ็นเซอรความเร็ว (SP2) ขาดหรือลัดวงจร
P0722/61 ไมมีสัญญาณวงจรเซ็นเซอร
(05-463) ความเร็วการสงกําลัง
• เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 (SP2) O ◯
27
• TCM
กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยด • วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1 ขาดหรือ
P0973/62 ควบคุมการเปลี่ยนเกียร “A” ต่ํา ลัดวงจร
28
O ◯
(05-466) (โซลินอยดวาลวควบคุมการ • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1
เปลี่ยนเกียร S1) • TCM 29
กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยด • วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1 ขาดหรือ
P0974/62 ควบคุมการเปลี่ยนเกียร “A” สูง ลัดวงจร
O ◯
30
(05-466) (โซลินอยดวาลวควบคุมการ • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1
เปลี่ยนเกียร S1) • TCM 31
32
05–452 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยด • วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2 ขาดหรือ


1 P0976/63 ควบคุมการเปลี่ยนเกียร “B” ต่ํา ลัดวงจร
O ◯
(05-466) (โซลินอยดวาลวควบคุมการ • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2
2 เปลี่ยนเกียร S2) • TCM
กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยด • วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2 ขาดหรือ
P0977/63 ควบคุมการเปลี่ยนเกียร “B” สูง ลัดวงจร
3 (05-466) (โซลินอยดวาลวควบคุมการ • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2
O ◯

เปลี่ยนเกียร S2) • TCM


5 • วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT ขาดหรือ
โซลินอยดควบคุมแรงดัน “D”
P2716/77 ลัดวงจร
(โซลินอยดวาลวควบคุมการ –
10 (05-470)
เปลี่ยนเกียร SLT)
• โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT

• TCM
11 • วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT ขาดหรือ
P2769/64 กระแสไฟฟาควบคุมโซลินอยด ลัดวงจร
– ◯
(05-473) DSL ต่าํ โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL
12 •
• TCM
• วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT ขาดหรือ
13 P2770/64 กระแสไฟฟาควบคุมโซลินอยด ลัดวงจร
– ◯
(05-473) DSL สูง • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL
14 • TCM
• วงจร TCM ขาดหรือลัดวงจร
U0001/A2 สาย Bus ของระบบการสื่อสาร
15 (05-211) แบบ CAN ความเร็วสูง
• TCM O ◯
• ECM
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–453

รหัส P0500/42 เซ็นเซอรความเร็วรถ “A” 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เซ็นเซอรความเร็วรถจะสงสัญญาณออกมา 4 พัลส ตอการหมุนของเพลาโรเตอร 1 รอบ ซึ่งเพลาโรเตอรนี้จะหมุนจาก 3
การขับของเพลาสงกําลังผานทางเฟองตาม หลังจากที่สัญญาณนี้ถูกแปลงเปนคลื่นสัญญาณรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่เที่ยงตรง
ขึ้นโดยวงจรสรางคลื่นสัญญาณภายในมาตรวัดรวมแลว คลื่นสัญญาณดังกลาวก็จะถูกสงไปยัง TCM ซึ่งจะใชความถี่ 5
ของสัญญาณพัลสนี้ในการกําหนดความเร็วรถ
10
11
4-พัลส 4-พัลส

เซ็นเซอร 12
TCM
ความเร็วรถ มาตรวัดรวม 13
14
G36574 15
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
ตรวจพบทุกสภาวะขางลางนี้ 500 ครัง้ หรือมากกวาอยางตอเนือ่ ง 16
(การตรวจจับปญหา 2 ครั้ง)
(ก) ไมมีสัญญาณจากเซ็นเซอรความเร็วรถถูกสงเขาไปที่ 17
TCM ในขณะที่สัญญาณเซ็นเซอรความเร็วตัวที่ 2 สง • วงจรเซ็นเซอรความเร็วรถขาดหรือลัดวงจร
P0500/42
เขาไป 48 พัลส • เซ็นเซอรความเร็วรถ 19
(ข) ความเร็วรถเทากับ 9 กม./ชม. (5.6 ไมล/ชม.) หรือมาก • มาตรวัดรวม
กวาในกรณีต่ําสุด 4 วินาที TCM
(ค) สวิตชสตารทเกียรวางไมทํางาน (คันเกียรไมอยูใน

26
ตําแหนง P หรือ N)
(ง) คันเกียรทรานสเฟอรไมอยูในตําแหนง N 27
28
29
30
31
32
05–454 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ผังวงจรไฟฟา
1
2 C8
C8 Combination Meter Assy
TCM

มาตรวัดรวม
ชุด J/B แผงหนาปด 5V
3 Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดSide
(Driver านคนขั บ)
J/B)

5 6 V-R
26
2Q
10
2Q
V-R
25
T17
SP1

10
11
12
13 A99781

14 ขั้นตอนการตรวจสอบ
15 ขอาอนข
แนะนํา:
อมูลสภาพเครือ่ งยนตโดยใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ระบบจะบันทึกขอมูลสภาพเครือ่ งยนตเอาไวเมือ่ ตรวจพบ
16 ความผิดปกติ จึงเปนประโยชนในการคนหาสาเหตุปญหา เพื่อดูวาปญหานั้นเกิดขึ้นขณะรถวิ่งหรือรถจอด เครื่องรอน
หรือไม ฯลฯ จากชวงเวลาที่เกิดปญหา
17 เมื่อใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):
19 1 อานขอมูลใน DATA LIST (ความเร็วรถ)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
26 (ข) สตารทเครื่องยนตและเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
27 (ค) เขาเมนูรายการดังนี้: Powertrain / ECT / Data List / Vehicle SPD
(ง) ตรวจเช็คความเร็วรถในขณะรถวิ่งที่ความเร็วรอบ 2,000 รอบ/นาทีขึ้นไป
28 ปกติ: เทากันกับคาความเร็วรถที่แทจริง
ใช ตรวจหาปญหาที่เกิดเปนชวงๆ
29 (ดูหนา 05-25)
30 ไมใช

31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–455

2 ตรวจเช็คการทํางานของมาตรวัดความเร็ว 1
(ก) ตรวจดูคามาตรวัดความเร็วในมาตรวัดรวม
ขอแนะนํา: 2
ถาเซ็นเซอรความเร็วรถมีความผิดปกติใดๆ มาตรวัดความเร็วจะแสดงคาผิดปกติ
ปกติ: มาตรวัดความเร็วทํางานตามปกติ 3
บกพรอง ตรวจเช็ควงจรมาตรวัดความเร็ว 5
(รวมถึงเซ็นเซอรความเร็ว) (ดูหนา 05-635)
10
ปกติ
11
3 ตรวจเช็ค TCM (สัญญาณ SP1)
12
T17 (ก) ขณะเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลืน่ สัญญาณของ
TCM ขั้วตอตางๆ ของ TCM 13
(ข) เลื่อนคันเกียรไปที่ N
(ค) ขึ้นแมแรงยกรถ 14
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ TCM ขณะหมุนลออยางชาๆ 15
SP1 คามาตรฐาน:
5 V/DIV
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 16
T17-25 (SP1) – กราวดตัวถัง แรงดันไฟฟาเกิดขึ้นเปนชวงๆ
ขอแนะนํา: 17
ขณะทีล่ อ กําลังหมุนอยางชาๆ แรงดันไฟฟาจะถูกสงออกมาเปนชวงๆ
19
20 msec./DIV 26
G34866 บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)
27
ปกติ
28
เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17)
29
30
31
32
05–456 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

เมื่อไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II):


1
1 ตรวจเช็คการทํางานของมาตรวัดความเร็ว
2
(ก) ตรวจดูคามาตรวัดความเร็วในมาตรวัดรวม
3 ขอแนะนํา:
ถาเซ็นเซอรความเร็วรถมีความผิดปกติใดๆ มาตรวัดความเร็วจะแสดงคาผิดปกติ
5 ปกติ: มาตรวัดความเร็วทํางานตามปกติ
บกพรอง ตรวจเช็ควงจรมาตรวัดความเร็ว
10 (รวมถึงเซ็นเซอรความเร็ว) (ดูหนา 05-635)
11 ปกติ

12 2 ตรวจเช็ค TCM (สัญญาณ SP1)


13 T17
(ก) ขณะเดินเบา ใหใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลืน่ สัญญาณของ
TCM ขั้วตอตางๆ ของ TCM
14 (ข) เลื่อนคันเกียรไปที่ N
(ค) ขึ้นแมแรงยกรถ
15 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ TCM ขณะหมุนลออยางชาๆ
16 SP1 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
17 5 V/DIV
T17-25 (SP1) – กราวดตัวถัง แรงดันไฟฟาเกิดขึ้นเปนชวงๆ

19 ขอแนะนํา:
ขณะทีล่ อ กําลังหมุนอยางชาๆ แรงดันไฟฟาจะถูกสงออกมาเปนชวงๆ
26
27 20 msec./DIV
G34866 บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)
28 ปกติ

29 เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–457

รหัส P0710/38 วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียร “A” 1


2
รหัส P0712/38 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียร
“A” ต่ํา 3
5
รหัส P0713/38 กระแสไฟฟาวงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียร
10
“A” สูง
คําอธิบายผังวงจร 11
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) จะแปลงอุณหภูมิน้ํามันเปนคาความตานทานซึ่งสงเขาไปที่ชุดควบคุม 12
เกียร (TCM)
TCM นั้นจายแรงดันไฟฟาไปยังเซ็นเซอรอุณหภูมิผานทางขั้ว THOC ของ TCM 13
คาความตานทานของเซ็นเซอรจะเปลี่ยนไปพรอมกับอุณหภูมิน้ํามันเกียร
ขั้วหนึ่งของเซ็นเซอรจะถูกตอลงกราวดเพื่อใหคาความตานทานของเซ็นเซอรลดลงและแรงดันไฟฟาตกลงขณะที่ 14
อุณหภูมิกลับสูงขึ้น
TCM จะคํานวณอุณหภูมิน้ํามันเกียรตามสัญญาณแรงดันไฟฟาดังกลาว 15
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
คาความตานทานของเซ็นเซอรอณ ุ หภูมิ ATF เปลีย่ นจาก (ก) ไปที่ (ข)
หรือจาก (ข) ไปที่ (ก) ในเวลาต่าํ กวา 0.5 วินาที โดยทีร่ หัส P0712/38 • วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF ขาดหรือลัดวงจร
16
P0710/38 และ P0713/38 ไมถกู ตรวจพบ (การตรวจจับปญหาครัง้ เดียว): • เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF
(ก) คาความตานทานของเซ็นเซอรอณ ุ หภูมิ ATF ต่าํ กวา 79 Ω • TCM 17
(ข) คาความตานทานของเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF สูงกวา 156 kΩ
คาความตานทานของเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF ต่ํากวา 79 Ω
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF ลัดวงจร 19
P0712/38 • เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF
ประมาณ 0.5 วินาทีขึ้นไป (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
TCM
• คาความตานทานของเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF สูงกวา 156 kΩ

26
• วงจรเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF ขาดวงจร
ประมาณ 15 นาทีขึ้นไปหลังจากเครื่องยนตสตารทติด
P0713/38 เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF
• ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหาประมาณ 0.5 วินาทีขึ้นไป

• TCM
27
(การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
รายละเอียดการตรวจสอบ 28
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) แปลงอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติไปเปนคาความตานทานไฟฟา จากคา
ความตานทานดังกลาว ทําให TCM ตัดสินอุณหภูมิ ATF และตรวจจับการขาดและลัดวงจรในวงจรอุณหภูมิ ATF ได 29
ถาคาความตานทานของอุณหภูมิ ATF ต่าํ กวา 79 Ω*1 หรือสูงกวา 156 kΩ*2 TCM จะแปลสิง่ นีเ้ ปนความบกพรองในวงจร
สายไฟหรือเซ็นเซอร ATF รวมทั้งทําใหไฟเตือน MIL ติดขึ้นและเก็บบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาไว 30
ขอแนะนํา:

*1
: แสดงอุณหภูมิ 150°C (302°F) หรือสูงกวา โดยไมคํานึงถึงคาอุณหภูมิ ATF ที่แทจริง 31
*2
• : แสดงอุณหภูมิ -40°C (-40°F) โดยไมคํานึงถึงคาอุณหภูมิ ATF ที่แทจริง
• สามารถตรวจเช็คอุณหภูมิ ATF ไดจากหนาจอของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 32
05–458 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ผังวงจรไฟฟา
1
2
A2 TCM

3 เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF 24
BR
T19
2 1 THOC
5 23
E2
B-Y
T19

10
11 G36552

12 ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา:
13 ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากขอมูลใน Data List ที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะห
ปญหา (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานขอมูลจาก Data List ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุ
14 ปญหาเปนวิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
(ก) อุนเครื่องยนต
15 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
16 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON และกดเปดสวิตชหลักของเครื่องวิเคราะหปญหา
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Power train / ECT / Data List
17 (ฉ) ปฏิบัติตามวิธีการในเครื่องวิเคราะหปญหาและอานขอมูลใน Data List
สิ่งที่ตรวจวัด/
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
19 การแสดงผล (ตําแหนง)
• หลังการทดสอบสตอล: ถาคาที่ไดเปน -40°C (-40°F) หรือ
คาเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF/
ประมาณ 80°C (176°F) 150°C (302°F) แสดงวาวงจร
26 A/T Oil Temperature 3 ต่ําสุด: -40°C (-40°F)
• เทากับอุณหภูมิภายนอกเมื่อ เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF ขาดหรือ
สูงสุด: 150°C (302°F)
เครื่องยนตเย็น ลัดวงจร
27 ขอควรระวัง:
ในตารางขางบนนี้ คาที่อยูในชอง “สภาวะปกติ” นั้นเปนเพียงคาที่อางอิง หามใชคาเหลานี้เพียงลําพังในการตัดสินวา
28 ชิ้นสวนนั้นบกพรองหรือไม
ขอแนะนํา:
29 เมื่อรหัส P0712/38 ปรากฏออกมา และผลจากเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เทากับ 150°C (302°F) หรือสูงกวา แสดง
วามีการลัดวงจร
30 เมื่อรหัส P0713/38 ปรากฏออกมา และผลจากเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เทากับ -40°C (-40°F) หรือสูงกวา แสดงวา
มีวงจรขาด
วัดคาความตานทานระหวางขั้ว THOC กับกราวดตัวถัง
31 อุณหภูมิที่อานได ความบกพรอง
-40°C (-40°F) วงจรขาด
32 150°C (302°F) หรือสูงกวา ลัดวงจร
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–459

1 ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติ (ATF) 1
(ก) ปลดขั้วตอ A2 ของเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF ออกจากชุดเกียร
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอรอุณหภูมิ 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 79 ถึง 156 Ω
5
2 1

G22837
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF 10
(ดูหนา 40-29)
11
ปกติ
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรอุณหภูมิ ATF − TCM)
13
T19
(ก) ปลดขั้วตอ T19 ของ TCM
TCM (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 14
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 15
T19-24 (THOC) - T19-23 (E2) 79 ถึง 156 Ω
T19-24 (THOC) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
16
T19-23 (E2) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
THOC E2 F45523

บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17) 17


ปกติ 19
เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17) 26
27
28
29
30
31
32
05–460 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 รหัส P0717/67 ไมมีสัญญาณวงจรเซ็นเซอรความเร็วเทอรไบน/


2 การรับกําลัง “A”
คําอธิบายผังวงจร
3 ดรัมคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ (NCO) ตรวจจับความเร็ว
ในการหมุนเพลารับกําลังโอเวอรไดรฟจากการหมุนของดรัมคลัตช
5 หลังโอเวอรไดรฟ โครงสรางของเซ็นเซอรเปนเชนเดียวกับเซ็นเซอร
ความเร็วรถตัวที่ 2 (SP2)
10 TCM ตรวจจับจังหวะการเปลี่ยนเกียรและควบคุมแรงบิดเครื่องยนต
รวมทั้งแรงดันไฮดรอลิกอยางเหมาะสมในการตอบสนองตอสภาวะ
เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลัง ตางๆ ดวยการเปรียบเทียบสัญญาณความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
11 โอเวอรไดรฟ (NCO)
กับสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 (SP2) ดังนัน้ จึงเปลีย่ นเกียร
G23741

ไดอยางราบรื่น
12
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
ตรวจพบทุกสภาวะขางลางนี้เปนเวลา 5 วินาทีขึ้นไป
13 (การตรวจจับปญหา 2 ครั้ง)
(ก) เกียรไมเปลี่ยน
• วงจรเซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
14 P0717/67
(ข) ตําแหนงเกียร: เกียร 1, 2 หรือ 3
(ค) รอบการหมุนเพลารับกําลังของชุดเกียร: 300 รอบ/นาทีหรือต่าํ กวา
ขาดหรือลัดวงจร
• เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
(ง) รอบการหมุนเพลาสงกําลังของชุดเกียร: 500 รอบ/นาที หรือมากกวา
15 (จ) สวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด: OFF
• TCM
(ฉ) โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1, S2, SL และ
16 เซ็นเซอรความเร็วรถทํางานเปนปกติ
รายละเอียดการตรวจสอบ
17 เซ็นเซอรความเร็วการรับกําลังทําหนาทีต่ รวจจับความเร็วเพลารับกําลังของเกียร TCM จะกําหนดจังหวะการเปลี่ยนเกียร
โดยใชการเปรียบเทียบคาเซ็นเซอรความเร็วการรับกําลัง (ความเร็วเพลารับกําลัง) กับเซ็นเซอรความเร็วการสงกําลัง
19 (ความเร็วเพลาสงกําลัง)
ในขณะรถวิ่งและคันเกียรอยูในตําแหนง D เมื่อความเร็วเพลาสงกําลังสูงกวาคาที่ประมาณการไวและความเร็วการรับ
26 กําลังเทากับ 300 รอบ/นาทีหรือต่ํากวา TCM จะสรุปวามีความผิดปกติในเซ็นเซอรความเร็วการรับกําลัง (NCO) และทํา
ใหไฟเตือน MIL ติดสวางรวมทั้งแสดงรหัสวิเคราะหปญหาออกมา
27 ผังวงจรไฟฟา
28 T6
เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ TCM
(เซ็นเซอรตรวจจับรอบเกียร (ขาเขา)) 3
29 V
T19
NCO+
2 1

30
2
31 P
T19
NCO-

32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–461

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2
2
(ก) ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอร
ปกติ: 3
ขั น โบลท ติ ด ตั้ ง ให แ น น พอดี โ ดยไม มี ช อ งว า งระหว า งตั ว
เซ็นเซอรกับเสื้อเกียร 5
10
ถูก ผิด BR3795 บกพรอง เปลีย่ นเซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ *
11
ปกติ
12
2 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
13
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร T6 ออกจากชุดเกียร
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร 14
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 15
1 (NCO+) – 2 (NCO-) 20°C (68°F) 560 ถึง 680 Ω
16
2 1
C58536

17
T19
ขอแนะนํา:
TCM ขอมูลอางอิง: การตรวจสอบโดยใชออสซิลโลสโคป 19
ตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณระหวางขั้ว NCO+ กับ NCO- ของขั้ว
ตอ TCM 26
คามาตรฐาน: อางอิงตามภาพ
การตอขั้วทดสอบ T19-3 (NCO+) - T19-2 (NCO-) 27
NCO+ NCO- การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 0.5 msec./DIV

5 V/DIV
สภาวะ ความเร็วรถ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.) 28
29
GND

30
0.5 msec./DIV
31
G34867
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ
ปกติ
32
05–462 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรความเร็วคลัตชหลังโอเวอรไดรฟ − TCM)


(ก) ปลดขั้วตอ T19 ของ TCM
2 T19
TCM (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
T19-3 (NCO+) -
5 T19-2 (NCO-)
20°C (68°F) 560 ถึง 680 Ω
T19-3 (NCO+) -
20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา
10 NCO+ NCO- F45523
กราวดตัวถัง
T19-2 (NCO-) -
20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา
11 กราวดตัวถัง

บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)


12
ปกติ
13
เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17)
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–463

รหัส P0722/61 ไมมีสัญญาณวงจรเซ็นเซอรความเร็วการสงกําลัง 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 ทําหนาที่ตรวจจับความเร็วในการหมุนเพลาสงกําลังของเกียร และสงสัญญาณไปยัง TCM 3
ซึ่งจะใชสัญญาณเหลานี้ในการกําหนดความเร็วรถ
เมื่อโรเตอรบนเพลาสงกําลังหมุน จะเกิดแรงดันไฟฟากระแสสลับในคอลยของเซ็นเซอรความเร็วรถ SP2 และสงตอไป 5
ยัง TCM
ตําแหนงการเลื่อนเกียรและจังหวะการล็อค-อัพ จึงถูกควบคุมโดย TCM ตามสัญญาณที่สงมาจากเซ็นเซอรความเร็วนี้ 10
และจากเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา 11
ตรวจพบทุกสภาวะดานลางอยางตอเนื่องตั้งแต 500 ครั้งขึ้นไป
(การตรวจจับปญหา 2 ครั้ง): 12
(ก) ไมมีสัญ ญาณจากเซ็นเซอรความเร็วรถ (SP2) สงเขาไปที่
TCM ในขณะที่สัญญาณเซ็นเซอรความเร็วตัวที่ 2 ถูกสงเขา วงจรเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 ขาดหรือลัดวงจร
P0722/61 ไป 4 พัลส

• เซ็นเซอรจับความเร็วรถตัวที่ 2
13
(ข) ความเร็วรถเทากับ 9 กม./ชม. (6 ไมล/ชม.) หรือสูงกวาใน • TCM
กรณีต่ําสุด 4 วินาที 14
(ค) สวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอดไมทํางาน (OFF)
(ง) ตําแหนงทรานสเฟอรไมอยูที่เกียรวาง (4WD) 15
รายละเอียดการตรวจสอบ 16
เซ็นเซอรความเร็วการสงกําลังจะตรวจสอบควบคุมความเร็วของเพลาสงกําลัง ตําแหนงการเลือ่ นเกียรและจังหวะการล็อค-อัพ
จึงถูกควบคุมโดย TCM ตามสัญญาณที่สงมาจากเซ็นเซอรความเร็วการสงกําลังนี้และจากเซ็นเซอรตําแหนงลิ้นเรง 17
ถา TCM ตรวจพบวาไมมีสัญญาณจากเซ็นเซอรความเร็วการสงกําลังแมในขณะที่รถกําลังแลนก็จะสรุปวาเซ็นเซอร
ความเร็วการสงกําลังบกพรอง TCM จะทําใหไฟเตือน MIL ติดสวางและแสดงรหัสวิเคราะหปญหาออกมา 19
ผังวงจรไฟฟา
26
T7
เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 TCM 27
(เซ็นเซอรตรวจจับรอบเกียร (ขาออก)) 30

28
R SP2+
T19
2 1

29
2
G SP2-
T19
30
31
32
05–464 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2
2
(ก) ตรวจเช็คการติดตั้งเซ็นเซอร
3 ปกติ:
ขันโบลทติดตั้งใหแนนพอดีโดยไมมีชองวางระหวางตัว
5 เซ็นเซอรกับเสื้อเกียร

10
ถูก ผิด BR3795 บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2
11
ปกติ
12
2 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2
13
(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร T7 ออกจากชุดเกียร
14 (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
15 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1 (SP2+) – 2 (SP2-) 20°C (68°F) 560 ถึง 680 Ω
16
2 1
C58536

17 ขอแนะนํา:
T19
ขอมูลอางอิง: การตรวจสอบโดยใชออสซิลโลสโคป
19 TCM
ตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณระหวางขั้ว SP2+ กับ SP2- ของขั้ว
26 ตอ TCM
คามาตรฐาน: อางอิงตามภาพ
27 การตอขั้วทดสอบ T19-30 (SP2+) - T19-29 (SP2-)
SP2+ SP2- การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 0.5 msec./DIV
สภาวะ ความเร็วรถ 20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.)
28
2 V/DIV

29
30
GND

31 20 msec./DIV

G36609 บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2


32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–465

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรความเร็วรถตัวที่ 2 − TCM) 1


(ก) ปลดขั้วตอ T19 ของ TCM
T19
TCM (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
3
T19-30 (SP2+) -
T19-29 (SP2-)
20°C (68°F) 560 ถึง 680 Ω 5
T19-30 (SP2+) -
20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา
SP2+ SP2- F45523
กราวดตัวถัง 10
T19-29 (SP2-) -
20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา
กราวดตัวถัง 11
บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)
12
ปกติ
13
เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17)
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–466 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 รหัส P0973/62 กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยดควบคุมการเปลีย่ นเกียร


“A” ต่ํา
2 (โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1)
3
รหัส P0974/62 กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยดควบคุมการเปลีย่ นเกียร
5 “A” สูง
10 (โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1)
11 รหัส P0976/63 กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยดควบคุมการเปลีย่ นเกียร
“B” ต่ํา
12
(โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2)
13
รหัส P0977/63 กระแสไฟฟาวงจรโซลินอยดควบคุมการเปลีย่ นเกียร
14 “B” สูง
15 (โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2)
คําอธิบายผังวงจร
16 การเปลีย่ นจากเกียร 1 ไปยัง O/D จะกระทํารวมกับการปดและเปดโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียรตวั ที่ 1 และ ตัวที่ 2 ซึง่
ถูกควบคุมโดย TCM หากเกิดการขาดหรือลัดวงจรในโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียรตวั ใดตัวหนึง่ TCM จะควบคุม
17 โซลินอยดวาลวปกติทยี่ งั เหลืออยูเ พือ่ ใหรถวิง่ ตอไปไดอยางปลอดภัย (ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (Fail-safe function))
ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (Fail-safe):
19 ถาวงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียรตวั ใดตัวหนึง่ เกิดขาดหรือลัดวงจร TCM จะเปดและปดโซลินอยดวาลวตัวอืน่
ทีป่ กติเพือ่ เปลีย่ นตําแหนงเกียรดงั ในตารางดานลาง อีกทัง้ ปดโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร SL ดวยในขณะเดียวกัน
26 กรณีทโี่ ซลินอยดทงั้ สองบกพรอง การควบคุมไฮดรอลิกจะไมสามารถควบคุมดวยไฟฟาได จึงตองทําการเปลีย่ นเกียรดว ยมือ
ดังตารางตอไปนี้ ในกรณีทลี่ ดั วงจร TCM จะหยุดสงกระแสไฟฟาไปยังโซลินอยดทลี่ ดั วงจร
27 ปกติ โซลินอยดควบคุมการเปลี่ยน โซลินอยดควบคุมการเปลี่ยน โซลินอยดทั้งสอง
เกียร S1 บกพรอง เกียร S2 บกพรอง บกพรอง
ตําแหนง
โซลินอยดวาลว โซลินอยดวาลว โซลินอยดวาลว เกียรเมื่อเลื่อนคันเลือก
28 S1 S2
เกียร
S1 S2
เกียร
S1 S2
เกียร
เกียรดวยเมือ
ON OFF เกียร 1 X ON เกียร 3 ON X เกียร 1 O/D
29 D
ON ON เกียร 2 X ON เกียร 3 OFF X O/D O/D
OFF ON เกียร 3 X ON เกียร 3 OFF X O/D O/D

30 OFF
ON
OFF
OFF
O/D
เกียร 1
X
X
OFF
ON
O/D
เกียร 3
OFF
ON
X
X
O/D
เกียร 1
O/D
เกียร 3
2 ON ON เกียร 2 X ON เกียร 3 OFF X เกียร 3 เกียร 3
31 OFF ON เกียร 3 X ON เกียร 3 OFF X เกียร 3 เกียร 3
ON OFF เกียร 1 X OFF เกียร 1 ON X เกียร 1 เกียร 1
L
เกียร 2 เกียร 2 เกียร 1 เกียร 1
32 ON ON X ON ON X

X: บกพรอง
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–467

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา


TCM ตรวจพบวงจรโซลินอยดวาลว S1 ลัดวงจร 4 ครั้ง เมื่อ
• วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1 ลัดวงจร 1
P0973/62 • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1
โซลินอยดวาลว S1 ทํางาน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
TCM

• วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1 ขาด
2
TCM ตรวจพบวงจรโซลินอยดวาลว S1 ขาด 4 ครั้ง เมื่อ
P0974/62 • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1
โซลินอยดวาลว S1 ไมทํางาน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• TCM 3
• วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2 ลัดวงจร
TCM ตรวจพบวงจรโซลินอยดวาลว S2 ลัดวงจร 4 ครั้ง เมื่อ 5
P0976/63 • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2
โซลินอยดวาลว S2 ทํางาน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• TCM
TCM ตรวจพบวงจรโซลินอยดวาลว S2 ขาด 4 ครั้ง เมื่อ
• วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2 ขาด 10
P0977/63 • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S2
โซลินอยดวาลว S2 ไมทํางาน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• TCM 11
รายละเอียดการตรวจสอบ
TCM สั่งเปลี่ยนเกียรโดยการ “เปด/ปด” โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร เมื่อ TCM ตรวจพบปญหาการขาดหรือ 12
ลัดวงจรในวงจรโซลินอยดควบคุมการเปลีย่ นเกียรใดๆ ก็จะทําใหไฟเตือน MIL ติดสวางและเก็บบันทึกรหัสวิเคราะห
ปญหาไว และ TCM จะทํางานในระบบปองกันการทํางานบกพรอง (fail-safe) โดยเปด/ปดโซลินอยดวาลวตัวอื่นที่อยู 13
ในสภาพปกติ ในกรณีที่วงจรขาดหรือลัดวงจร TCM จะหยุดสงกระแสไฟฟาไปยังวงจรดังกลาว
14
ผังวงจรไฟฟา
E1 15
โซลิE1 Shift
นอยด วาลSolenoid
วควบคุมการเปลี่ยนเกียร
Valve (ECT Solenoid) TCM
(โซลินอยด ECT)
16
18
W GR
S1 4
T19 S1
17
B W-L
17
T19 S2
19
S2 8

26
G22782
27
28
29
30
31
32
05–468 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบสายไฟระบบเกียร (S1/S2)
2
(ก) ปลดขั้วตอโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร E1
3 (ข) วัดความตานทานของสายไฟระบบเกียร
S1
คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
4 (S1) - กราวดตัวถัง 20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω
10 S2
8 (S2) - กราวดตัวถัง 20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω

G22892 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3


11
ปกติ
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1/S2 − TCM)
13
(ก) ปลดขั้วตอ T19 ของ TCM
T19
14 TCM (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
15 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
T19-18 (S1) -
20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω
16 กราวดตัวถัง
T19-17 (S2) -
20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω
17
S1 S2 F45523
กราวดตัวถัง

บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)


19
ปกติ
26
เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17)
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–469

3 ตรวจสอบโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1/S2 1
(ก) ถอดโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร S1/S2
S1
(-) (ข) วัดความตานทานของโซลินอยดวาลว 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
3
(+)
ขั้วตอโซลินอยด (S1) -
ตัวเรือนโซลินอยด (S1)
20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω 5
ขั้วตอโซลินอยด (S2) -
20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω
S2
ตัวเรือนโซลินอยด (S2) 10
(-) (ค) ตอสายขัว้ บวก (+) ของแบตเตอรีเ่ ขากับขัว้ ของขัว้ ตอโซลินอยด
และตอสายขั้วลบ (-) เขากับตัวเรือนโซลินอยด 11
ปกติ: มีเสียงการทํางานของโซลินอยด
(+) 12
13
P
G34611
บกพรอง เปลี่ยนโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร
G34612
G34855 S1/S2 (ดูหนา 40-30) 14
ปกติ
15
เปลี่ยนสายไฟระบบเกียร (ดูหนา 40-35)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–470 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 รหัส P2716/77 แรงดันควบคุมโซลินอยด “D” (โซลินอยดควบคุม


2 การเปลี่ยนเกียร SLT)
คําอธิบายผังวงจร
3 แรงดันลิน้ เรงทีจ่ า ยไปยังวาลวควบคุมแรงดันปฐมภูมิ (ซึง่ ควบคุมแรงดัน
ทอ) ทําใหโซลินอยดวาลว SLT ภายใตการควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส
5 ทําการปรับและสรางแรงดันทอไดอยางถูกตองและแมนยําตามแรงกด
แรงดันควบคุม แปนคันเรงหรือตามกําลังเครื่องยนต
10 แรงดันทอ การทํางานนี้จึงชวยควบคุมแรงดันทอและชวยใหเปลี่ยนเกียรได
อยางราบรื่น
11 เมือ่ ไดรบั สัญญาณมุมเปดลิน้ เรง TCM จะควบคุมแรงดันทอโดยการ
กระแสไฟฟาไหลไปที่โซลินอยด D02290 สงสัญญาณดิวตี้ (duty ratio)* ที่กําหนดไวลวงหนาไปยังโซลินอยด
12 วาลว ใหทําการปรับแรงดันทอและสรางแรงดันลิ้นเรงขึ้น
ขอแนะนํา:
13 *: สัญญาณดิวตี้ (duty ratio) คือ อัตราสวนของกระแสไฟฟาในชวง
ON เวลาการไหลของกระแส (A) ตอชวงเวลาการไหลและหยุดไหลของ
14 กระแสทั้งหมด (A+B)
Duty Ratio (%) = A/(A+B) x 100
OFF
15 1 รอบ

16
BE4056

รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา


17 • วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT ขาด
TCM ตรวจพบความผิดปกติของวงจรโซลินอยด SLT หรือลัดวงจร
P2716/77
ประมาณ 1 วินาทีขึ้นไป (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว) โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT
19 •
• TCM

26 ผังวงจรไฟฟา
E1
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT
27 (โซลินอยด ECT) TCM

28 O G-Y
20
T19
SLT+ 2 SLT+

29
30 G L-B
19
T19
SLT-
SLT- 6

31
G35181

32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–471

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบสายไฟระบบเกียร (SLT)
2
(ก) ปลดขั้วตอโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร E1
(ข) วัดความตานทานของสายไฟระบบเกียร 3
SLT+
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 5
2 (SLT+) - 6 (SLT-) 20°C (68°F) 5.0 ถึง 5.6 Ω
SLT- 2 (SLT+) - กราวดตัวถัง 20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา 10
6 (SLT-) - กราวดตัวถัง 20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา
G22892

บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3 11
ปกติ 12

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT − TCM) 13

T19
(ก) ปลดขั้วตอ T19 ของ TCM 14
TCM (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
T19-20 (SLT+) -
20°C (68°F) 5.0 ถึง 5.6 Ω
16
T19-19 (SLT-)

SLT+ SLT-
T19-20 (SLT+) -
20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา 17
F45523
กราวดตัวถัง
T19-19 (SLT-) -
กราวดตัวถัง
20°C (68°F) 10 kΩ หรือสูงกวา 19
บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17) 26
ปกติ 27
เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17) 28
29
30
31
32
05–472 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 3 ตรวจสอบโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT
(ก) ถอดโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SLT
2 (ข) วัดความตานทานของโซลินอยดวาลว
1 2
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 20°C (68°F) 5.0 ถึง 5.6 Ω
5
10 G36604

(ค) ตอสายขัว้ บวก (+) ของแบตเตอรีก่ บั หลอดไฟขนาด 21 วัตต เขา


11 1
กับขัว้ 2 และตอสายขัว้ ลบ (-) เขากับขัว้ 1 ของขัว้ ตอโซลินอยด
2
วาลว จากนั้นตรวจเช็คการเลื่อนตัวของวาลว
12 ปกติ: มีเสียงการทํางานของโซลินอยด
13
(-) (+)
14 G36605

ขอแนะนํา:
15 T19
TCM ขอมูลอางอิง: การตรวจสอบโดยใชออสซิลโลสโคป
ตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณระหวางขั้ว SLT+ กับ SLT- ของขั้ว
16 ตอ TCM
คามาตรฐาน: อางอิงตามภาพ
17 การตอขั้วทดสอบ T19-20 (SLT+) - T19-19 (SLT-)
SLT+ SLT- การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 1 msec./DIV
19 สภาวะ ความเร็วรอบเดินเบา
5 V/
26 Division

27 GND

28 บกพรอง เปลี่ยนโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร
1 msec./Division
SLT (ดูหนา 40-30)
29 G36606

ปกติ
30
เปลี่ยนสายไฟระบบเกียร (ดูหนา 40-35)
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–473

รหัส P2769/64 กระแสไฟฟาควบคุมโซลินอยด DSL ต่ํา 1


2
รหัส P2770/64 กระแสไฟฟาควบคุมโซลินอยด DSL สูง
3
คําอธิบายผังวงจร
โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL จะถูกเปดและปดโดยสัญญาณจาก TCM ทั้งนี้เพื่อควบคุมแรงดันไฮดรอลิก
5
ที่กระทําตอล็อค-อัพรีเลยวาลว ซึ่งไปควบคุมการทํางานของล็อค-อัพคลัตชอีกตอหนึ่ง 10
รหัส สภาวะที่ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหา บริเวณที่เกิดปญหา
วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL ลัดวงจร
P2769/64
TCM ตรวจพบวงจรโซลินอยดวาลว SL ลัดวงจร (ครั้งเดียว)

• โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL
11
เมื่อโซลินอยดวาลว S1 ทํางาน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• TCM
• วงจรโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL ขาด 12
TCM ตรวจพบวงจรโซลินอยดวาลว SL ขาด (ครั้งเดียว) เมื่อ
P2770/64 • โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL
โซลินอยดวาลว S1 ไมทํางาน (การตรวจจับปญหาครั้งเดียว)
• TCM 13
ระบบปองกันการทํางานบกพรอง (Fail-safe):
14
TCM จะปดโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL กรณีที่ตรวจพบขอบกพรอง
รายละเอียดการตรวจสอบ 15
ล็อค-อัพทอรคคอนเวอรเตอรจะถูกควบคุมจาก TCM ตามความเร็วรอบเครือ่ งยนต, ภาระเครือ่ งยนต, อุณหภูมเิ ครือ่ งยนต,
ความเร็วรถ, อุณหภูมิเกียร และการเลือกตําแหนงเกียร TCM นั้นกําหนดสถานะล็อค-อัพของทอรคคอนเวอรเตอรจาก 16
การเปรียบเทียบความเร็วรอบเครื่องยนต (NE) กับความเร็วรอบการรับกําลัง (NCO) และคํานวณเกียรที่แทจริงโดยการ
เทียบความเร็วรอบการรับกําลัง (NCO) กับความเร็วรอบการสงกําลัง (SP2) เมื่ออยูในสภาวะที่ตองใชงาน “ล็อค-อัพ” 17
TCM จะจายแรงดันไฟฟาควบคุมไปยังโซลินอยดควบคุมการเปลีย่ นเกียร SL และเมือ่ โซลินอยด SL เปด โซลินอยด SL
ก็จะจายแรงดันไปยังล็อค-อัพรีเลยวาลวใหลอ็ คคลัตชทอรคคอนเวอรเตอรอกี ตอหนึง่ ถา TCM ตรวจพบวงจรโซลินอยด 19
SL ขาดหรือลัดวงจร TCM จะแปลสิ่งนี้เปนความบกพรองในวงจรหรือโซลินอยด SL โดยจะทําใหไฟเตือน MIL ติด
ขึ้นและเก็บบันทึกรหัสวิเคราะหปญหาไว 26
ผังวงจรไฟฟา 27
E1 TCM
E1 Shift Solenoid Valve SL
โซลินอยด วาลSolenoid)
วควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL
(ECT
(โซลินอยด ECT) 28

Y G
16 29
T19 SL
S3 7
30
31
32
G22672
05–474 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบสายไฟระบบเกียร (SL)
2
(ก) ปลดขั้วตอโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร E1
3 (ข) วัดความตานทานของสายไฟระบบเกียร
คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
7 (SL+) - กราวดตังถัง 20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω
10 SL

G22892
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
11
ปกติ
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (โซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL − TCM)
13
(ก) ปลดขั้วตอ T19 ของ TCM
14 T19
TCM (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
15 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
T19-16 (SL+) -
20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω
16 กราวดตัวถัง

17 SL F45523 บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)


ปกติ
19
เปลี่ยน TCM (ดูหนา 10-17)
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–475

3 ตรวจสอบโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL 1
(ก) ถอดโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลี่ยนเกียร SL
(+) (ข) วัดความตานทานของโซลินอยดวาลว 2
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
3
(-)
T19-16 (SL+) -
กราวดตัวถัง
20°C (68°F) 11 ถึง 15 Ω 5
(ค) ตอสายขัว้ บวก (+) ของแบตเตอรีเ่ ขากับขัว้ ของขัว้ ตอโซลินอยด
G34613

และตอสายขั้วลบ (-) เขากับตัวเรือนโซลินอยด


10
ปกติ: มีเสียงการทํางานของโซลินอยดวาลว 11
บกพรอง เปลีย่ นโซลินอยดวาลวควบคุมการเปลีย่ นเกียร SL
(ดูหนา 40-30) 12
ปกติ 13
เปลี่ยนสายไฟระบบเกียร (ดูหนา 40-35) 14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–476 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 วงจรสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด
2 คําอธิบายผังวงจร
3 สวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด (PNP) ทําหนาที่ตรวจจับตําแหนงคันเกียรแลวสงสัญญาณไปที่ TCM
ผังวงจรไฟฟา
5
TCM
D J/C F
10 B-Y
J16 J12
B-Y
7
ID2
B-Y
11
T19 STA
ชุด J/B แผงหน
Instrument Panel าJ/B
ปด Assy
11 N1 PNP Switch
N1
ชุดสวิตช PNP
Assy (J/B ดานคนขับ)
(Driver Side J/B)

1 3 19 D J/C F 12
L-Y L-Y L-Y L-Y
12 5 L B 4
ID2 2O 2N J16 J11 T19 NSW
3 27 27 9
Y R-Y R-Y
13 RL 1
ID1 2Q 2P T18 R

J/C
14 2 RB G-Y A
J11
C
J12
G-Y 8
T18 D
R-L DL 7
C
15 J12

L B B L 11
J11 J12 T17 2
16 2L 3
G-R C A G-R 10
J11
J11 J12 T17 L
LL 8
17 S11
S11 Shift Lock Control ECU Sub-
ชุassy
ดประกอบ ECU ควบคุมการล็อคคันเกียร ชุด J/B แผงหน
Instrument าปดJ/B Assy
Panel
(Driver Side J/B)
(J/B ดานคนขับ)
G-Y
19 NSSD
9
G-O 18 18 G-O 12
AT3 2O 2N T17 3
26 3

ECU-IG &
2 25 GAUGE 6 B B
27 ID1
R-L
2S 2A
B-Y
J19
J19 J18
I6
J/B หองเครื
Engine Room่องยนต
J/B I6 Ignition Switch
Assyชุดสวิตชจด
28 ุ ระเบิด B-Y
1 ALT 1 1 AM1 2
W B B-R
1A 1F 2G 2A AM1 IG1
1 2 4 1
29
แบตเตอรี
Battery ่

30
G37160

31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–477

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากขอมูลใน Data List ที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะห
ปญหา (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานขอมูลจาก Data List ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุ
2
ปญหาเปนวิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
3
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ข) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 5
(ค) บิดสวิตชจุดระเบิด ON และกดเปดสวิตชหลักของเครื่องวิเคราะหปญหา
(ง) เขาเมนูรายการดังนี้: Power train / ECT / Data List 10
(จ) ปฏิบัติตามวิธีการในเครื่องวิเคราะหปญหาและอานขอมูลใน Data List
รายการขอมูล
สิ่งที่ตรวจวัด/
สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห 11
การแสดงผล (ตําแหนง)
คันเกียรอยูที่:
เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง 12
สถานะสวิตช PNP/ วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
Neutral Position Switch Signal ตําแหนง P และ N: ON
ON หรือ OFF ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช
ไมใชตําแหนง P หรือ N: OFF
PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด 13
เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
สถานะสวิตช PNP/
คันเกียรอยูที่:
วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก 14
Shift Switch Status (R Range) ตําแหนง R: ON
ON หรือ OFF ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช
ไมใชตําแหนง R: OFF
PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด 15
เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
คันเกียรอยูที่:
Shift Switch Status สถานะสวิตช PNP/
ตําแหนง D และ 3: ON
วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก 16
(4 or D Range) ON หรือ OFF ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช
ไมใชตําแหนง D หรือ 3: OFF
PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง
17
คันเกียรอยูที่:
สถานะสวิตช PNP/ วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
Shift Switch Status (2 Range)
ON หรือ OFF
ตําแหนง 2 และ L: ON
ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช 19
ไมใชตําแหนง 2 และ L: OFF
PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
คันเกียรอยูที่:
เมื่อตําแหนงคันเกียรซึ่งปรากฏขึ้นที่เครื่อง 26
สถานะสวิตช PNP/ วิเคราะหปญหา (IT II) แตกตางจาก
Shift Switch Status (L Range) ตําแหนง L: ON
ON หรือ OFF
ไมใชตําแหนง L: OFF
ตําแหนงที่แทจริง อาจเพราะปรับตั้งสวิตช 27
PNP หรือสายควบคุมการเขาเกียรผิด
ขอควรระวัง: 28
ในตารางขางบนนี้ คาที่อยูในชอง “สภาวะปกติ” นั้นเปนเพียงคาที่อางอิง หามใชคาเหลานี้เพียงลําพังในการตัดสินวา
ชิ้นสวนนั้นบกพรองหรือไม 29
ขอแนะนํา:
เริ่มการตรวจสอบจากขั้นตอนที่ 1 กรณีพบความผิดปกติเมื่อคันเกียรอยูในตําแหนง 3 และเริ่มจากขั้นตอนที่ 2 กรณีที่ 30
พบความผิดปกติเมื่อคันเกียรไมอยูในตําแหนง 3
31
32
05–478 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 1 ตรวจสอบชุดประกอบ ECU ควบคุมการล็อคคันเกียร


(ก) ปลดขั้วตอ S11 ของ ECU
2 AT3
(ข) วัดความตานทานของ ECU เมือ่ เลือ่ นคันเกียรไปทีละตําแหนง
คามาตรฐาน:
3 6 5 4 3 2 1 การตอขั้วทดสอบ ตําแหนงคันเกียร เงื่อนไขที่กําหนด
12 1110 9 8 7
9 (NSSD) - 3 (AT3) D 10 kΩ หรือสูงกวา
5 9 (NSSD) - 3 (AT3) 3 ต่ํากวา 1 Ω
NSSD
10 F42943 D29380
บกพรอง เปลีย่ นชุดประกอบ ECU ควบคุมการล็อคคันเกียร
(ดูหนา 40-44)
11 ปกติ
12
2 ตรวจสอบชุดสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด
13 (ก) ปลดขั้วตอสวิตช N1 ของ PNP
2L RB
14 B RL (ข) วัดความตานทานของสวิตช PNP เมื่อเลื่อนคันเกียรไปทีละ
ตําแหนง
15 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ ตําแหนงคันเกียร เงื่อนไขที่กําหนด
16 LL DL L
4 (B) - 5 (L) P และ N ต่ํากวา 1 Ω
4 (B) - 5 (L) ไมใชตําแหนง P หรือ N 10 kΩ หรือสูงกวา
G26080
1 (RL) - 2 (RB) R ต่ํากวา 1 Ω
17 1 (RL) - 2 (RB) ไมใชตําแหนง R 10 kΩ หรือสูงกวา
2 (RB) - 7 (DL) D ต่ํากวา 1 Ω
19 2 (RB) - 7 (DL) ไมใชตําแหนง D 10 kΩ หรือสูงกวา
2 (RB) - 3 (2L) 2 ต่ํากวา 1 Ω
26 2 (RB) - 3 (2L) ไมใชตําแหนง 2 10 kΩ หรือสูงกวา
2 (RB) - 8 (LL) L ต่ํากวา 1 Ω
27 2 (RB) - 8 (LL) ไมใชตําแหนง L 10 kΩ หรือสูงกวา

28 บกพรอง เปลีย่ นชุดสวิตชตาํ แหนงเกียรวา ง/จอด (ดูหนา 40-3)


ปกติ
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–479

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (TCM − แบตเตอรี่) 1


(ก) ปลดขั้วตอ T17 และ T18 ของ TCM
T18
TCM
T17
TCM (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 2
(ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ ตําแหนงคันเกียร เงื่อนไขที่กําหนด
T18-9 (R) - กราวดตัวถัง R 10 ถึง 14 V*
5
L
3 2 T18-9 (R) - กราวดตัวถัง ไมใชตําแหนง R ต่ํากวา 1 V
R D F45814
T18-8 (D) - กราวดตัวถัง D และ 3 10 ถึง 14 V 10
T18-8 (D) - กราวดตัวถัง ไมใชตําแหนง D หรือ 3 ต่ํากวา 1 V
T17-12 (3) - กราวดตัวถัง 3 10 ถึง 14 V 11
T17-12 (3) - กราวดตัวถัง ไมใชตําแหนง 3 ต่ํากวา 1 V
T17-11 (2) - กราวดตัวถัง 2 10 ถึง 14 V 12
T17-11 (2) - กราวดตัวถัง ไมใชตําแหนง 2 ต่ํากวา 1 V
T17-10 (L) - กราวดตัวถัง L 10 ถึง 14 V 13
T17-10 (L) - กราวดตัวถัง ไมใชตําแหนง L ต่ํากวา 1 V
ขอแนะนํา: 14
*: แรงดันไฟฟาจะตกลงชาๆ ระหวางที่ไฟถอยติดขึ้น
15
บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)
ปกติ 16

ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-433) 17


19
26
27
28
29
30
31
32
05–480 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 วงจรสวิตชไฟเบรก
2 คําอธิบายผังวงจร
3 วงจรนี้ประสงคเพื่อปองกันไมใหเครื่องยนตดับขณะขับขี่ในสภาวะล็อค-อัพ แลวเหยียบเบรกกระทันหัน
เมื่อเหยียบเบรก สวิตชนี้จะสงสัญญาณไปที่ TCM แลว TCM จะยกเลิกการทํางานของล็อค-อัพคลัตชในขณะที่ทําการ
5 เหยียบเบรก
ผังวงจรไฟฟา
10
ชุด J/B แผงหน
Instrument าปดJ/B Assy
Panel
11 (J/B ดานคนขับ)
(Driver Side J/B) TCM

G-W 5 21 14
G-W
12 2M 2R T17 STP

S14
S14 Stop Lamp
13 สวิตชไฟเบรก
Switch
2 1
G-B STOP B
2F 2G
14 1 2

15 J/B หองเครื
Engine Room ่องยนต
J/B

16 W
1
1A
ALT 1
1F

17
Battery
แบตเตอรี ่
19
26 G34504

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–481

ขั้นตอนการตรวจสอบ
ขอแนะนํา: 1
ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากขอมูลใน Data List ที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะห
ปญหา (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานขอมูลจาก Data List ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุ
2
ปญหาเปนวิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
3
(ก) อุนเครื่องยนต
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 5
(ค) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิด ON และกดเปดสวิตชหลักของเครื่องวิเคราะหปญหา 10
(จ) เขาเมนูรายการดังนี้: Power train / ECT / Data List
(ฉ) ปฏิบัติตามวิธีการในเครื่องวิเคราะหปญหาและอานขอมูลใน Data List 11
สิ่งที่ตรวจวัด/
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
การแสดงผล (ตําแหนง) 12
สถานะของสวิตชไฟเบรก/ • เหยียบเบรก: ON
Stop Light Switch -
ON หรือ OFF • ปลอยเบรก: OFF 13
ขอควรระวัง:
ในตารางขางบนนี้ คาที่อยูในชอง “สภาวะปกติ” นั้นเปนเพียงคาที่อางอิง หามใชคาเหลานี้เพียงลําพังในการตัดสินวา 14
ชิ้นสวนนั้นบกพรองหรือไม
15
1 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟเบรก
(ก) ถอดสวิตชไฟเบรก 16
สลัก 2 1
(ข) วัดความตานทานของสวิตช
คามาตรฐาน:
17
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
สลักถูกกด
19
ถูกกด 1-2 10 kΩ หรือสูงกวา
(ปลอยแปนเบรก)
ไมถูกกด
สลักไมถูกกด 26
1-2 ต่ํากวา 1 Ω
E65594
(เหยียบแปนเบรก)
27
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟเบรก (ดูหนา 32-11)
ปกติ 28
29
30
31
32
05–482 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (TCM − แบตเตอรี่)


(ก) ปลดขั้วตอ T17 ของ TCM
2 T17
TCM (ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
T17-14 (STP) -
5 กราวดตัวถัง
เหยียบเบรก 10 ถึง 14 V
T17-14 (STP) -
ปลอยเบรก ต่ํากวา 1 V
10 STP G37243
กราวดตัวถัง

11 บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)


ปกติ
12
ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-41)
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–483

วงจรสวิตชตําแหนง L4 1
ขอแนะนํา:
เฉพาะ A340F เทานั้น 2
คําอธิบายผังวงจร 3
สวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 1 (สวิตชตาํ แหนง L4) ตรวจจับตําแหนงเกียรทรานสเฟอรเมือ่ เลือ่ นคันเกียร
ทรานสเฟอรไปที่ L4 สวิตชตาํ แหนง L4 จะทํางานโดยอัตโนมัติ จากนัน้ TCM จะสัง่ ยกเลิกการทํางานของล็อค-อัพคลัตช 5
ผังวงจรไฟฟา
T4
T4 Transfer Indicator Switch No.
10
สวิ
1ต ชแสดงการทํ
(L4 Position าSwitch)
งานของทรานสเฟอรเบอร 1
TCM
J17 (สวิตชตําแหนง L4) J6
J/C J/C
15
11
W-B W-B G-W G-W
T18 L4
A A 2 1 C C
12
13
EC
14
G34508 15
ขั้นตอนการตรวจสอบ 16
1 ตรวจสอบสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 1
17
(ก) ถอดสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอร
2 1 (ข) วัดความตานทานของสวิตชเมื่อกดลูกปนตรงปลายสวิตช 19
ปกติ:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด 26
1-2 ไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
1-2 ถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
27
กด 28
ลูกปน
29
30
27 ± 0.82 มม.

OFF J ON
(1.06 ± 0.0323 นิ้ว)
31
G22950
บกพรอง เปลีย่ นสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 1
ปกติ
32
05–484 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (สวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 1 − TCM และกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอสวิตชแสดงการทํางานของ T4
2 (ข) ปลดขัว้ ตอ T18 ของ TCM
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 T18-15 (L4) - T4-1 ต่ํากวา 1 Ω
T4-2 - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
10 T18
TCM T18-15 (L4) หรือ T4-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา

11
12
13
L4
บกพรอง ซอมหรือเปลีย่ นขัว้ ตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)
14 G34868

ปกติ
15
ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-433)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–485

วงจรไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติ 1
ขอแนะนํา: 2
เฉพาะ A340F เทานั้น
คําอธิบายผังวงจร 3
เพลากลางและลอจะเปนอิสระแมเมื่อคันเลื่อนเกียรอยูในตําแหนง P ตลอดเวลาที่คันเกียรทรานสเฟอรอยูในตําแหนง N
โดยไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติจะติดสวางเพื่อเตือนใหคนขับทราบวาเพลากลางและลอไมล็อค 5
ถาไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติติดขึ้น ควรเลื่อนคันเกียรทรานสเฟอรออกจากตําแหนง N
ผังวงจรไฟฟา 10
C12
C12 Combination 11
มาตรวั
Meterดรวม
(A/T P Indica
tor)
(ไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติ)
5 17
J6 J/C
J6
J/C 8 16
TCM
12
G-B W-G W-G W-G W-G
G-B ID8
ID2 ID2 T18 TFN
12 13 A
A
A
13
W-G
6 14
N1 PNP Switch
N1
สวิตช PNP
T5 T5 Transfer Indicator 1
Switch No. 2
15
2 สวิตชแสดงการทํางาน
(N Position Switch)
ชุด J/B แผงหน าปดJ/B Assy ของทรานสเฟอรเบอร 2
Instrument
(J/B ดาSide
(Driver
Panel
นคนขัJ/B)
บ) (สวิตชตําแหนง N)
16
R-L 2 25
ECU-IG & J/C
B B 2
ID1
R-L
2S
GAUGE 6
2A
B-Y
J19 J18
B-Y 17
1 19
I6 Ignition W-B
I6 IG1
Switch Assy
ชุดสวิตชจุดระเบิด 26
AM1
ชุด J/B แผงหน าปดJ/B Assy
J/B หองเครื
Engine Room่องยนต
J/B
Instrument
(J/B ดาSide
(Driver
Panel
นคนขัJ/B)
บ)
4
B-R
27
A J8
1
W
1A
ALT 1
1F
B
1
2G
AM1 2
2A
J/C
28
A J7

29
W-B

แบตเตอรี่ 30
Battery EC

31

G34576
32
05–486 การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F)

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบชุดสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด
2 (ก) ปลดขั้วตอสวิตช N1 ของ PNP
2L RB
B RL (ข) วัดความตานทานของสวิตช PNP เมื่อเลื่อนคันเกียรไปทีละ
3 ตําแหนง
คามาตรฐาน:
5 การตอขั้วทดสอบ ตําแหนงคันเกียร เงื่อนไขที่กําหนด
4 (B) - 5 (L) P และ N ต่ํากวา 1 Ω
10 LL DL L 4 (B) - 5 (L) ไมใชตําแหนง P หรือ N 10 kΩ หรือสูงกวา
G26080 1 (RL) - 2 (RB) R ต่ํากวา 1 Ω
11 1 (RL) - 2 (RB) ไมใชตําแหนง R 10 kΩ หรือสูงกวา
2 (RB) - 7 (DL) D ต่ํากวา 1 Ω
2 (RB) - 7 (DL) ไมใชตําแหนง D 10 kΩ หรือสูงกวา
12 2 (RB) - 3 (2L) 2 ต่ํากวา 1 Ω
2 (RB) - 3 (2L) ไมใชตําแหนง 2 10 kΩ หรือสูงกวา
13 2 (RB) - 8 (LL) L ต่ํากวา 1 Ω
2 (RB) - 8 (LL) ไมใชตําแหนง L 10 kΩ หรือสูงกวา
14
บกพรอง เปลีย่ นชุดสวิตชตาํ แหนงเกียรวา ง/จอด (ดูหนา 40-3)
15 ปกติ
16 2 ตรวจสอบสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 2 (สวิตชตําแหนงเกียรวางของทรานสเฟอร)
17 (ก) ถอดสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอร
2 1 (ข) วัดความตานทานของสวิตชเมื่อกดลูกปนตรงปลายสวิตช
19 ปกติ:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
26 1-2 ไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
1-2 ถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
27
กด
28
ลูกปน
29
30 27 ± 0.82 มม.
(1.06 ± 0.0323 นิ้ว)
31 OFF J ON บกพรอง เปลี่ยนสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอร
G22950
เบอร 2 (สวิตชตาํ แหนงเกียรวา งของทรานสเฟอร )
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − เกียรอัตโนมัติควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส [ECT] (A340E, A340F) 05–487

3 ตรวจสอบชุดมาตรวัดรวม 1
(ก) ตรวจเช็คไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติ
(1) ปลดขั้วตอสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอร T4 2
(2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(3) ตอขั้ว T5-1 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเขากับกราวดตัวถัง แลวตรวจเช็คไฟแสดงตําแหนง P ของเกียร 3
อัตโนมัติ
ปกติ: ไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติติดขึ้น
5
บกพรอง เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม 10
(ดูหนา 71-16)
11
ปกติ
12
ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ (ดูหนา 01-17)
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–488 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ระบบเสริมความปลอดภัย
1
ขอพึงระวัง
2 1. ขอพึงระวังสําหรับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
ขอแนะนํา:
3 ในหมวดนี้จะกลาวถึงเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยซึ่งประกอบไปดวยชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง, เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา
ดานซาย, เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
5 (ก) การเปลี่ยนเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย ตองรอหลังจากปลดขั้วลบแบตเตอรี่ (-) ออกไปแลว 90 วินาที
(ข) การตอหรือปลดขั้วตอเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยนั้น จะตองแนใจวาติดตั้งเซ็นเซอรครบทุกตัวแลว
10 (ค) หามใชเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยที่เคยตกกระแทกกับพื้น
(ง) อยาถอดแยกเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย
11
2. ขั้นตอนการตรวจสอบรถที่เกิดการชนแลว
12 (ก) กรณีทถี่ งุ ลมนิรภัยไมพองตัว ใหตรวจยืนยันรหัสวิเคราะหปญ
 หาโดยการตรวจเช็คไฟเตือน SRS หากพบขอบกพรอง
ใหทําการคนหาสาเหตุปญหา
13 (ข) กรณีที่ถุงลมนิรภัยพองตัว ใหเปลี่ยนเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยใหมและตรวจเช็ควาการทํางานเปนปกติหรือไม

14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–489

ตําแหนงชิ้นสวน
1
2
3
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
5
10
11
R/B, J/B หองเครื่องยนต
z ฟวสกระแสสูง AM2 12
มาตรวัดรวม 13
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย 14
15
ไฟเตือน SRS 16
17
19
ชุดประกอบสายไฟขด
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
26
z ฟวส IGN
z ฟวส MET 27
DLC3
28
แปนแตร
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 29
H45635

30
31
32
05–490 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

วงจรระบบ
1
2
3
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย
5
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
10 แปนแตร (ชนวน D)
ชุดเซ็นเซอรถุงลม
นิรภัยกลาง
11 มาตรวัดรวม (ไฟเตือน SRS)

12 ECM

DLC3
13
14
15 H45627

16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–491

คําอธิบายระบบ
1. คําอธิบายระบบเสริมความปลอดภัย 1
(ก) คําอธิบายเบื้องตน
(1) เซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยกลางจะใชสญ ั ญาณการชนทีไ่ ดรบั มาจากเซ็นเซอรแตละตัวในการตัดสินวาถุงลมนิรภัย
2
(ดานคนขับ) ควรถูกกระตุนใหทํางานหรือไม เมื่อเกิดปญหาขึ้นในระบบ ไฟเตือน SRS บนมาตรวัดรวม 3
จะติดขึ้นเพื่อแจงใหคนขับทราบ
(2) เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางจะติดตั้งอยูบริเวณพื้นรถใตเครื่องปรับอากาศ 5
(ข) คําอธิบายโหมดตรวจสอบ (การตรวจเช็คสัญญาณ)
(1) เซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยกลางจะมีโหมดตรวจสอบทีส่ ามารถทํางานผานเครือ่ งวิเคราะหปญ  หา (IT II) ซึง่ สามารถ 10
ตรวจหารหัสวิเคราะหปญหาและสัญญาณที่สงออกมาได
หากไมสามารถจําลองสภาพปญหาขณะทําการคนหาสาเหตุปญ  หาหรือปญหาเกิดเปนชวงๆ ใหทาํ การจําลอง 11
สภาพปญหา เพือ่ ชวยในการตัดสินสาเหตุของปญหา โดยเปลีย่ นเซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยเปนโหมดตรวจสอบ
จากนัน้ ขยับขั้วตอแตละตัว หรือขับขี่บนถนนหรือบริเวณที่ขรุขระ 12
2. การสั่งการและเงื่อนไขของการพองตัว
(ก) การทํางานในกรณีที่เกิดการชนดานหนา 13
(1) หากแรงกระแทกบริเวณทีแ่ รเงาในภาพที่ 1 สูงเกินกวาระดับทีก่ าํ หนดไว ถุงลมนิรภัยจะพองตัวโดยอัตโนมัติ
(2) เซ็นเซอรจับแรงหนวงของเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางจะใชสัญญาณเซ็นเซอรจับแรงหนวงของเซ็นเซอร 14
ถุงลมนิรภัยหนาในการตัดสินวาถุงลมนิรภัยควรถูกกระตุนใหทํางานหรือไม
(3) เซ็ น เซอร นิ ร ภั ย ของเซ็ น เซอร ถุ ง ลมนิ ร ภั ย กลางถู ก ออกแบบมาให ทํางานที่ อั ต ราแรงหน ว งน อยกวา 15
เซ็นเซอรจบั แรงหนวง เมือ่ เซ็นเซอรนริ ภัยและเซ็นเซอรจบั แรงหนวงทํางานพรอมกัน กระแสไฟฟาจะไหล
ไปยังชนวนและถุงลมนิรภัยก็จะพองตัว
16
17
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 19
เซ็นเซอรนิรภัย ON
และ ถุงลมนิรภัยพองตัว 26
เซ็นเซอรจับ
แรงหนวง ON
27
28
รูปที่ 1 รูปที่ 2
29
H44048 H46062

30
31
32
05–492 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
1 ใชขั้นตอนตอไปนี้ในการวิเคราะหปญหาระบบเสริมความปลอดภัย
2 1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ

3 ตอไป

5 2 วิเคราะหปญหาของลูกคาและตรวจเช็คอาการปญหา
10 ตอไป

11 3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
12 มาตรฐาน: 11 ถึง 14 โวลท
หากแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 โวลท ใหชารจแบตเตอรี่อีกครั้งกอนดําเนินการขั้นตอไป
13 ตอไป
14
4 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-495)
15 (ก) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาและจดบันทึกผลที่ไดไว
(ข) ลบรหัสวิเคราะหปญหา
16 (ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาซ้ําอีกครั้ง โดยการจําลองสภาพการทํางานเดิมตามที่รหัสวิเคราะหปญหาแนะนํา
ผลที่ได:
17 ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
ถารหัสไมปรากฏซ้ําอีก A
19 ถารหัสปรากฏซ้ําอีก B

26 B ไปขั้นตอนที่ 7
A
27
28 5 ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-505)
ผลที่ได:
29 ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
ปญหาที่พบไมมีในตารางสภาพปญหา A
30 ปญหาที่พบมีในตารางสภาพปญหา B

31 B ไปขั้นตอนที่ 7
A
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–493

6 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม 1
(ก) การตรวจสอบบนรถ (ดูหนา 60-10)
(ข) การตรวจสอบขั้วของ ECU (ดูหนา 05-504) 2
ตอไป
3
7 ซอมหรือเปลี่ยน 5
ตอไป 10
8 ทดสอบยืนยัน 11
ตอไป 12
จบขั้นตอน 13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–494 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบเสริมความปลอดภัย ชื่อผูต รวจสอบ
2
หมายเลขตัวถัง
3 ชื่อลูกคา วันทีผ่ ลิต / /
5 หมายเลขทะเบียน
กม.
วันทีน่ ํารถเขาซอม คามาตรบันทึกระยะทาง ไมล
10
วันทีเ่ กิดปญหา
11 ความถี่ของปญหา สม่ําเสมอ บางครั้ง ( ครั้งตอวัน)
สภาพอากาศ แจมใส มีเมฆมาก ฝนตก หิมะตก อื่นๆ
12 ๐ ๐
อุณหภูมิ ประมาณ C( F)
13 ขณะสตารท ขณะเดินเบา
14 การทํางานของเครื่องยนต ขณะขับขี่ [ ความเร็วคงที่ เรงความเร็ว ลดความเร็ว
อื่นๆ ]
15 สภาพถนน

16 รายละเอียดของปญหา

17
ประวัติการตรวจสอบและ
19 ซอมรถกอนเกิดปญหา
(รวมถึงระบบเสริมความปลอดภัย)
26 การตรวจสอบระบบวิเคราะหปญหา
ครั้งที่ 1 ติดคาง ติดบางครั้ง ไมติด
27 การตรวจสอบไฟเตือน SRS
ครั้งที่ 2 ติดคาง ติดบางครั้ง ไมติด
28 การตรวจสอบ ครั้งที่ 1 รหัสปกติ รหัสผิดปกติ [ รหัส ]
รหัสวิเคราะหปญหา ครั้งที่ 2 รหัสปกติ รหัสผิดปกติ [ รหัส ]
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–495

ระบบวิเคราะหปญหา
1. คําอธิบาย 1
(ก) เซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยกลางจะควบคุมการทํางานของระบบเสริมความปลอดภัย (SRS)โดยสามารถอานขอมูลระบบ
จากขั้วตอเชื่อมโยงขอมูล 3 (DLC3) ของรถ เมื่อสงสัยวามีความบกพรองเกิดขึ้นในระบบ ใหใชเครื่องวิเคราะห
2
ปญหา (IT II) ตรวจเช็ค แลวทําการซอม 3
5
2. การตรวจเช็ค DLC3
ขอแนะนํา: 10
CG
SG SIL
ECM ของรถใชขอตกลงการสื่อสารในระบบ ISO 14230 (M-OBD)
การจัดเรียงขั้วสายไฟของขั้วตอ DLC3 นั้น เปนไปตามมาตรฐาน
11
1 2 3 4 5 6 7 8
ของ ISO 15031-03 ซึ่งใชไดกับรูปแบบมาตรฐาน ISO 14230 12
9 10 11 12131415 16

BAT A82779 13
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) คําอธิบายขั้ว การตอ เงื่อนไขที่กําหนด 14
SIL (7) - SG (5) สาย Bus “+” ระหวางเขาเกียร สัญญาณพัลส
CG (4) - กราวดตัวถัง กราวดชวงลาง ตลอดเวลา ต่ํากวา 1 Ω
SG (5) - กราวดตัวถัง กราวดสัญญาณ ตลอดเวลา ต่ํากวา 1 Ω
15
BAT (16) - กราวดตัวถัง แบตเตอรี่ขั้วบวก ตลอดเวลา 11 ถึง 14 โวลท
16
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวาขั้วตอ DLC3 อาจบกพรอง ใหซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและสายไฟ
ขอแนะนํา: 17
ตอสายเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 จากนั้นบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON แลวดูที่หนาจอ
เครื่องวิเคราะห หากปรากฏวามีการสื่อสารผิดพลาดเกิดขึ้น แสดงวามีปญหากับรถหรือกับเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 19
• ถาตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคันอื่นแลวใชการไดตามปกติ แสดงวาขั้วตอ DLC3 ของรถที่จะตรวจสอบ
นั้นมีปญหา 26
• ถาตอเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หาเขากับรถคันอืน่ แลวยังไมสามารถใชการไดอกี แสดงวาอาจมีปญ
 หาทีต่ วั เครือ่ งวิเคราะห
ปญหา ใหติดตอฝายบริการตามที่ระบุไวในคูมือการใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา 27
28
29
30
31
32
05–496 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

3. การจําลองสภาพปญหา
1 ขอแนะนํา:
สิ่งที่ยากที่สุดในการคนหาสาเหตุปญหาก็คือ เมื่อไมมีอาการปญหาใดๆ ปรากฏใหเห็น กรณีดังกลาว ชางจะตองทําการ
2 วิเคราะหปญหาที่ลูกคาประสบโดยตลอด จากนั้นจึงทําการจําลองสภาพการณที่ลูกคาเคยประสบปญหา และไมวาชางผู
นั้นจะมีประสบการณและความชํานาญมากเพียงใด หากคนหาสาเหตุปญหาโดยไมมีการยืนยันอาการปญหาแลว ก็มี
3 แนวโนมวาชางมักจะมองขามจุดสําคัญที่ตองซอมและอาจทําการซอมผิดจุดหรือทําใหงานลาชาได
5
สัน่ เบาๆ (ก) วิธที ดสอบความสัน่ สะเทือน: เมือ่ คาดวาความสัน่ สะเทือนอาจ
10 เปนสาเหตุสําคัญ
ขอแนะนํา:
11 ควรจําลองสภาพปญหาในชวงเวลาการตรวจเช็คเบื้องตนเทานั้น
(ประมาณ 6 วินาที หลังจากบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON)
12 (1) ใช นิ้ ว มื อ จั บ ชิ้ น ส ว นของเซ็ น เซอร ที่ ค าดว า จะเป น
สาเหตุของปญหาแลวสั่นเบาๆ และตรวจดูวามีปญหา
13 เกิดขึ้นหรือไม
โยกเบาๆ
ขอควรระวัง:
14 การทําใหรีเลยสั่นสะเทือนมากๆ อาจทําใหรีเลยขาดได
(2) โยกขั้วตอขึ้น-ลงและซาย-ขวาเบาๆ
15 (3) โยกชุดสายไฟขึ้น-ลงและซาย-ขวาเบาๆ
ขอแนะนํา:
16 จุดสําคัญที่ควรตรวจเช็คใหทั่วถึงคือตรงจุดเชื่อมตอที่ไดรับแรงสั่น
สัน่ เบาๆ D25083
สะเทือนและสวนที่ทะลุผานตัวถัง
17
4. การทํางานของไฟเตือน SRS
19 (ก) การตรวจเช็คเบื้องตน
(1) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF แลวรออยางนอย 2 วินาทีจึงบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
26 ไฟเตือน SRS จะติดขึ้นประมาณ 6 วินาที แลวทําการวิเคราะหปญหาระบบถุงลมนิรภัย
ขอแนะนํา:
27 ถาตรวจพบปญหาระหวางการตรวจเช็คเบื้องตน ไฟเตือน SRS จะยังติดคางอยูแมหลังจากชวงเวลาที่ตรวจเช็คเบื้องตน
ไปแลว (ประมาณ 6 วินาที)
28
(ข) การตรวจเช็คตอเนื่อง
29 (1) หลังจากตรวจเช็คเบื้องตน เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางจะตรวจหาขอบกพรองของระบบถุงลมนิรภัย SRS
ขอแนะนํา:
30 ถาตรวจพบความบกพรองระหวางการตรวจเช็คตอเนื่อง เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางจะทํางานดังนี้:
• ไฟเตือน SRS จะติดขึ้น
31 • ไฟเตือน SRS จะดับแลวติดขึน้ อีก การกะพริบของไฟเตือนลักษณะนีแ้ สดงถึงแรงดันไฟฟาแหลงจายไฟตก ไฟเตือน
SRS จะดับไป 10 วินาทีหลังจากนั้น แรงดันไฟฟาแหลงจายไฟจะกลับสูปกติ
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–497

(ค) การตรวจสอบอีกครั้ง
(1) เมื่อระบบถุงลมนิรภัยเปนปกติ: 1
ไฟเตือน SRS จะติดขึ้นเฉพาะในชวงเวลาการตรวจเช็คเบื้องตน (ประมาณ 6 วินาทีหลังจากบิดสวิตชจุด
ระเบิดไปที่ตําแหนง ON) 2
(2) เมื่อระบบถุงลมนิรภัยบกพรอง:
• ไฟเตือน SRS จะยังติดคางอยูหรือกะพริบแมหลังจากชวงเวลาที่ตรวจเช็คเบื้องตนไปแลว 3
• ไฟเตือน SRS จะดับไปหลังจากการตรวจเช็คเบือ้ งตน แตจะติดขึน้ อีกครัง้ ระหวางการตรวจเช็คตอเนือ่ ง
• ไฟเตือน SRS จะไมติดขึ้นเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดจากตําแหนง OFF ไป ON 5
ขอแนะนํา:
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางจะยังคงสั่งใหไฟเตือน SRS ติดคางอยูแมถุงลมนิรภัยจะพองตัวแลว
10
5. การเช็คไฟเตือน SRS 11
(ก) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวตรวจเช็ควาไฟเตือน
SRS ติดขึ้นประมาณ 6 วินาที (การตรวจเช็คเบื้องตน) 12
(ข) ตรวจเช็ควาไฟเตือน SRS ดับไปประมาณ 6 วินาทีหลังจาก
บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON (การตรวจเช็คตอเนื่อง) 13
ขอแนะนํา:
เมื่อเกิดอาการใดๆ ดังตอไปนี้ ใหดูที่ “ตารางอาการปญหา” (ดูหนา
14
C93955

05-505) 15
• ไฟเตือน SRS ติดขึน้ เปนบางครัง้ หลังจากผานชวงการตรวจเช็ค
เบื้องตนไปแลว 16
• ไฟเตือน SRS ติดขึน้ แตไมมรี หัสวิเคราะหปญ
 หาปรากฏออกมา
• เมือ่ บิดสวิตชจดุ ระเบิดจากตําแหนง OFF ไป ON ไฟเตือน SRS 17
จะไมติดขึ้น
6. วิธีปลดกลไกปองกันการทํางาน 19
(ก) กลไกปองกันการทํางานจะติดตั้งอยูภายในขั้วตอวงจรชนวนของ SRS
ดังอธิบายไวในขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหา ใหสอดกระดาษซึ่งมีความหนาเทากับขั้วตัวผูเขาระหวางตัวขั้ว 26
กับสปริงลัดวงจรเพื่อปลดกลไกปองกันการทํางานของถุงลมนิรภัย (ดูรูปในหนา 05-499)
คําเตือน: 27
หามปลดกลไกที่ขั้วตอชนวน
ขอควรระวัง: 28
• อยาปลดกลไกถาไมมีระบุไวในขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหา
• เพือ่ ปองกันความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ กับขัว้ และสปริงลัดวงจร ใหใชกระดาษแข็งทีม่ คี วามหนาเทากับขัว้ ตัวผูท กุ ครัง้ 29
30
31
32
05–498 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1
2
เซ็นเซอรถุงลม
3 นิรภัยหนาดานขวา 3

5 11
มาตรวัดรวม
(ไฟเตือน SRS)
10 12

ชุดเซ็นเซอรถุงลม
11 นิรภัยกลาง 1
5
2 6

12 7
ชุดประกอบ
9
แปนแตร
สายไฟขด (ชนวน)
13 8
10

เซ็นเซอรถุงลม
14 นิรภัยหนาดานซาย
3

15
16
H45625

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–499

ขั้วตอชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 1
2
2
3
5
สปริงลัดวงจร
หลังปลด
10
กอนปลด กระดาษ กระดาษ
11
12
สปริงลัดวงจร 13
ขั้วตอ 7 14
กอนปลด หลังปลด
กระดาษ กระดาษ 15
16

สปริงลัดวงจร สปริงลัดวงจร สปริงลัดวงจร 17

H45623
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–499

ขั้วตอชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 1
2
2
3
5
สปริงลัดวงจร
หลังปลด
10
กอนปลด กระดาษ กระดาษ
11
12
สปริงลัดวงจร 13
ขั้วตอ 7 14
กอนปลด หลังปลด
กระดาษ กระดาษ 15
16

สปริงลัดวงจร สปริงลัดวงจร สปริงลัดวงจร 17

H45623
19
26
27
28
29
30
31
32
05–500 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

การตรวจเช็ค/ ลบรหัสวิเคราะหปญหา
1 1. การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (โดยใชสายไฟตรวจเช็ค
ของเครื่องมือพิเศษ)
2 CG
(ก) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (รหัสปญหาปจจุบัน)
1 2 3 4 5 6 7 8 (1) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON และรอประมาณ
3 9 10111213141516
60 วินาที
(2) ใชเครือ่ งมือพิเศษตอขัว้ 4 (CG) กับ 13 (TC) ของขัว้ ตอ
5 TC
DLC3
A04550
เครื่องมือพิเศษ 09843-18040
10 ขอควรระวัง:
H45758

ตอขั้วตางๆ ใหตรงตําแหนงเพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเกิดความผิดปกติ
11 (ข) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (รหัสปญหาเกา)
(1) ใชเครือ่ งมือพิเศษตอขัว้ 4 (CG) กับ 13 (TC) ของขัว้ ตอ
12 DLC3
เครื่องมือพิเศษ 09843-18040
ขอควรระวัง:
13 ตอขั้วตางๆ ใหตรงตําแหนงเพื่อหลีกเลี่ยงไมใหเกิดความผิดปกติ
(2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON และรอประมาณ
14 60 วินาที
(ค) อานรหัสวิเคราะหปญหา
15 รหัสปกติ (ไมมีรหัสปญหาเกา) (1) อานรูปแบบการกะพริบของรหัสวิเคราะหปญ  หา สําหรับ
0.25 วินาที
รูปแบบการกะพริบของรหัสปกติ และรหัสผิดปกติ 11
16 และ 31 จะเปนดังภาพซายมือ
ON
• การแสดงผลรหัสปกติ (ไมมีรหัสปญหาเกา)
17 OFF ไฟเตือนจะกะพริบ 2 ครั้งตอวินาที
0.25 วินาที • การแสดงผลรหัสปกติ (มีรหัสปญหาเกา)
19 รหัสปกติ (มีรหัสปญหาเกา) เมือ่ มีรหัสปญหาเกาเก็บไวในชุดเซ็นเซอรถงุ ลม
0.75 วินาที นิรภัยกลาง ไฟเตือนจะกะพริบเพียง 1 ครั้งตอ
26 ON วินาที
• การแสดงผลรหัสผิดปกติ
27 OFF
0.25 วินาที รูปแบบการกะพริบครั้งแรกแสดงรหัสวิเคราะห
ปญหาตัวที่ 1 สวนรูปแบบการกระพริบครั้งที่ 2
รหัสผิดปกติ (ตัวอยาง รหัส 11 และ 31) จะปรากฎขึ้นหลังจากหยุดไป 1.5 วินาที
28 0.5 วินาที 2.5 วินาที 4.0 วินาที ถามีรหัสวิเคราะหปญหามากกวา 1 รหัส จะมีเวลาหยุดพักระหวาง
แตละรหัส 2.5 วินาที หลังจากแสดงผลรหัสครบทุกตัวแลว จะหยุด
29 พักเปนเวลา 4.0 วินาที จึงจะเริ่มแสดงผลรหัสทุกตัวซ้ํา
ซ้าํ
ขอแนะนํา:
30 1.5 วินาที 0.5 วินาที
• ถาตรวจพบรหัสผิดปกติตั้งแต 2 รหัสขึ้นไป จะเริ่มแสดงผล
รหัส 11 รหัส 31
จากรหัสที่มีคานอยกวากอน
31 H13050 • ถารหัสวิเคราะหปญ  หาปรากฏออกมาขณะยังไมตอ ขัว้ ใหปฏิบตั ิ
ตามหัวขอ “วงจรขั้ว TC” ในหนา 05-546
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–501

2. การลบรหัสวิเคราะหปญหา (โดยใชสายไฟตรวจเช็คของเครื่องมือพิเศษ)
(ก) เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF รหัสวิเคราะหปญหาจะถูกลบ 1
ขอแนะนํา:
รหัสวิเคราะหปญหาบางตัวอาจไมถูกลบเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ OFF ในกรณีนี้ใหปฏิบัติตามขั้นตอนตอไป 2
(ข) ใชเครื่องมือพิเศษตอขั้ว TC กับ CG ของขั้วตอ DLC3 แลวบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
เครื่องมือพิเศษ 09843-18040 3
(ค) เมื่อรหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา ใหปลดขั้ว TC ของขั้วตอ DLC3 ภายใน 3 ถึง 10 วินาที แลวตรวจเช็คดู
วาไฟเตือน SRS ติดขึ้น 3 วินาทีหลังจากนั้นหรือไม 5
(ง) หลังจากไฟเตือน SRS ติดขึ้น ใหตอขั้ว TC และ CG ของขั้วตอ DLC3 ภายใน 2 ถึง 4 วินาที แลวตรวจเช็คดูวาไฟ
เตือน SRS ดับไปภายใน 2 ถึง 4 วินาทีหรือไม
10
(จ) หลังจากไฟเตือน SRS ดับไป ใหปลดขั้ว TC ของขั้วตอ DLC3 ภายใน 2 ถึง 4 วินาที แลวตรวจเช็คดูวาไฟเตือน
11
SRS ติดขึ้นภายใน 2 ถึง 4 วินาทีหรือไม
(ฉ) หลังจากไฟเตือน SRS ติดขึ้น ใหตอขั้ว TC และ CG ของขั้วตอ DLC3 ภายใน 2 ถึง 4 วินาที แลวตรวจเช็คดูวาไฟ 12
เตือน SRS ดับไปภายใน 2 ถึง 4 วินาทีหรือไม รวมทั้งตรวจเช็คดูวามีรหัสปกติปรากฏออกมาภายใน 1 วินาที
หรือไม 13
ถารหัสวิเคราะหปญหายังไมถูกลบ ใหทําซ้ําขั้นตอนนี้จนกวารหัสจะถูกลบออกไป
14
สวิตชจุดระเบิด ON
15
OFF

DLC3 ขาดวงจร 16
TC

ลัดวงจร 0.5 วินาที 0.5 วินาที 0.25 วินาที 0.25 วินาที 17


CG ON
ไฟเตือน SRS* 19
OFF

1.5 วินาที 26
T1: 0 ถึง ∞ วินาที 27
T2: ประมาณ 6 วินาที
T1 T2 T3 T4 T5 T6 T5 T6 T5 T6 T5 T7

T3: 3 ถึง 5 วินาที


T4: 3 ถึง 10 วินาที
28
T5: 2 ถึง 4 วินาที
T6: 1 ถึง 5 วินาที 29
T7: ภายใน 1 วินาที

*: ตัวอยางรหัสปญหาเกาในภาพประกอบคือ รหัส 21 30
31
32
05–502 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)


3. การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ใชเครื่องวิเคราะหปญหา
1 IT II)
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
2 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาจากหนาจอเครื่องวิเคราะห
3 ขอแนะนํา:
DLC3 กรุณาดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่คูมือการใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา
5 A98433

(IT II)
10 4. การลบรหัสวิเคราะหปญหา
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
11 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) ลบรหัสวิเคราะหปญหาจากหนาจอเครื่องวิเคราะห
12 ขอแนะนํา:
กรุณาดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่คูมือการใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–503

บันทึกขอมูล (DATA LIST)/ โหมดทดสอบ (ACTIVE TEST)


1. การอานบันทึกขอมูล 1
ขอแนะนํา:
ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากบันทึกขอมูล (Data List) ที่แสดงโดยเครื่อง
2
วิเคราะหปญหา (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานบันทึกขอมูลในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุ 3
ปญหา เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยรนระยะเวลาการทํางานได
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 5
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) อานขอมูล “DATA LIST” จากหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา 10
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง:
หัวขอ
สิ่งที่ตรวจวัด /
สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
11
ชวง (การแสดงผล)
รูปแบบของการแสดงขอมูล/ 12
รูปแบบของการแสดงขอมูล LR: แสดงขอมูลซาย/ ขวา LR -
DP: แสดงขอมูลคนขับ/ ผูโดยสาร
จํานวนรหัสวิเคราะหปญหา
13
จํานวนรหัสวิเคราะหปญหา
ในอดีตที่บันทึกไว/ 0 -
ในอดีต
ต่ําสุด: 0, สูงสุด: 255 14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–503

บันทึกขอมูล (DATA LIST)/ โหมดทดสอบ (ACTIVE TEST)


1. การอานบันทึกขอมูล 1
ขอแนะนํา:
ทานสามารถอานคาของสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากบันทึกขอมูล (Data List) ที่แสดงโดยเครื่อง
2
วิเคราะหปญหา (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานบันทึกขอมูลในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุ 3
ปญหา เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยรนระยะเวลาการทํางานได
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 5
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) อานขอมูล “DATA LIST” จากหนาจอเครื่องวิเคราะหปญหา 10
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง:
หัวขอ
สิ่งที่ตรวจวัด /
สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
11
ชวง (การแสดงผล)
รูปแบบของการแสดงขอมูล/ 12
รูปแบบของการแสดงขอมูล LR: แสดงขอมูลซาย/ ขวา LR -
DP: แสดงขอมูลคนขับ/ ผูโดยสาร
จํานวนรหัสวิเคราะหปญหา
13
จํานวนรหัสวิเคราะหปญหา
ในอดีตที่บันทึกไว/ 0 -
ในอดีต
ต่ําสุด: 0, สูงสุด: 255 14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–504 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ขั้วตางๆ ของ ECU


1 1. ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
2
3 A14

5
10
11
12
H45630

หมายเลขขั้ว สัญลักษณ จุดหมาย


13 A14-5 D+ ชุดแปนแตร (ชนวน D)
A14-6 D- ชุดแปนแตร (ชนวน D)
14 A14-14 LA ชุดมาตรวัดรวม (ไฟเตือน SRS)
A14-15 TC ขั้วตอ DLC3
15 A14-16 SIL ขั้วตอ DLC3
A14-21 IG2 ฟวส IGN
A14-25 E1 กราวด
16 A14-26 E2 กราวด
A14-27 -SR เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
17 A14-28 -SL เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย
A14-29 +SR เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
19 A14-30 +SL เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย

26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–505

ตารางสภาพปญหา
ขอแนะนํา: 1
• ใชตารางขางลางนี้เพื่อชวยในการกําหนดสาเหตุของอาการปญหา ซึ่ง “บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” จะเรียงตาม
ลําดับความเปนไปได ใหทําการตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยตรวจดูบริเวณที่คาดวาเปนปญหาตามลําดับใน
2
รายการ ถาจําเปนใหเปลี่ยนชิ้นสวน 3
• ปฏิบัติตามขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหาของแตละวงจร
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา 5
เมื่อสวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง ON ไฟเตือน SRS ติด วงจรไฟเตือน SRS บกพรอง
05-540
สวางขึ้นเปนบางครั้งหลังจากผานไปประมาณ 6 วินาที (ติดคางเมื่อไมมีรหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา)
ไฟเตือน SRS ติดคางอยูแมจะไมมีรหัสวิเคราะหปญหา วงจรไฟเตือน SRS บกพรอง
10
05-540
ปรากฏออกมาก็ตาม (ติดคางเมื่อไมมีรหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา)
ขณะสวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง ON ไฟเตือน SRS ไมติด วงจรไฟเตือน SRS บกพรอง 11
05-544
สวางขึ้น (ไมติดเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON)
ไฟเตือน SRS กะพริบ แตรูปแบบการกะพริบไมตรงกับรหัส 12
วงจรขั้ว TC 05-546
วิเคราะหปญหาหรือรหัสปกติ
ขั้ว TC และ CG ยังตออยู แตรูปแบบการกะพริบไมตรงกับ
วงจรขั้ว TC 05-546
13
รหัสวิเคราะหปญหาหรือรหัสปกติ
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–506 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
1 1. รหัสวิเคราะหปญหาของระบบเสริมความปลอดภัย
ถารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏขึ้นในขณะตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา ใหตรวจดูวงจรของรหัสนั้นๆ ตามตารางขาง
2 ลางนี้ แลวปฏิบัติตามขั้นตอนในหนาที่ระบุไวสําหรับวงจรนั้นๆ
ขอแนะนํา:
3 • เมือ่ ไฟเตือน SRS ติดคางอยูแ ละรหัสวิเคราะหปญ หาทีป่ รากฏออกมาเปนรหัสปกติ อาจเปนไปไดวา แรงดันไฟฟา
แหลงจายไฟตก ความบกพรองนี้จะไมถูกบันทึกลงในหนวยความจําของเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง ถาแรงดัน
5 ไฟฟาแหลงจายไฟกลับเปนปกติ ไฟเตือน SRS จะดับไปโดยอัตโนมัติ
• เมื่อมีรหัสวิเคราะหปญหาตั้งแต 2 รหัสขึ้นไป รหัสที่มีคาตัวเลขนอยจะถูกแสดงออกมากอน
10 • ถารหัสไมตรงกับตารางที่ใหขางลางนี้ เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางอาจทํางานบกพรอง
• เมื่อวงจรขาด ลัดวงจรลงกราวด หรือชนวนที่เกี่ยวของลัดวงจรไปที่ B+ จะตองแกไขขอบกพรองเหลานี้เปน
11 ลําดับแรก มิเชนนั้นอาจทําใหไมสามารถตรวจจับรหัสปญหาบางตัวได เมื่อแกไขขอบกพรองเสร็จแลว ใหทํา
การวิเคราะหปญหาใหมอีกครั้ง
12 • คําอธิบายสัญลักษณในชอง “โหมดตรวจสอบ”:
◯ : รหัสวิเคราะหปญหารวมอยูในโหมดตรวจสอบ

13 — : รหัสวิเคราะหปญหาไมรวมอยูในโหมดตรวจสอบ
หมายเลขรหัส โหมด ไฟเตือน
สิ่งที่ตรวจพบ บริเวณที่เปนปญหา
(ดูหนา) ตรวจสอบ SRS
14 B1000/31 ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง — ติดสวาง
(05-507) บกพรอง
15 • เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
B1610/13 วงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
— ติดสวาง
(05-508) ดานขวาทํางานบกพรอง • สายไฟใตแผงหนาปด
16 • สายไฟหลักหองเครื่องยนต
• เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย
17 B1615/14
(05-515)
วงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา
ดานซายทํางานบกพรอง


ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
สายไฟใตแผงหนาปด
— ติดสวาง
• สายไฟหลักหองเครื่องยนต
19 • ชุดแปนแตร (ชนวน D)
B1800/51 • ชุดประกอบสายไฟขด
วงจรชนวน D ลัดวงจร ◯ ติดสวาง
26 (05-522) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
• สายไฟใตแผงหนาปด
• ชุดแปนแตร (ชนวน D)
27 B1801/51
วงจรชนวน D ขาด
• ชุดประกอบสายไฟขด
◯ ติดสวาง
(05-522) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
สายไฟใตแผงหนาปด
28 •
• ชุดแปนแตร (ชนวน D)
B1802/51 วงจรชนวน D ลัดวงจร • ชุดประกอบสายไฟขด
◯ ติดสวาง
29 (05-522) (ลงกราวด) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
• สายไฟใตแผงหนาปด
ชุดแปนแตร (ชนวน D)
30 B1803/51 วงจรชนวน D ลัดวงจร

• ชุดประกอบสายไฟขด
◯ ติดสวาง
(05-522) (ไปที่ B+) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
31 • สายไฟใตแผงหนาปด
ปกติ • แบตเตอรี่
แรงดันไฟฟาตก — ติดสวาง
(05-537) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
32 ปกติ ระบบปกติ — — ดับ
05–506 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
1 1. รหัสวิเคราะหปญหาของระบบเสริมความปลอดภัย
ถารหัสวิเคราะหปญหาปรากฏขึ้นในขณะตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา ใหตรวจดูวงจรของรหัสนั้นๆ ตามตารางขาง
2 ลางนี้ แลวปฏิบัติตามขั้นตอนในหนาที่ระบุไวสําหรับวงจรนั้นๆ
ขอแนะนํา:
3 • เมือ่ ไฟเตือน SRS ติดคางอยูแ ละรหัสวิเคราะหปญ หาทีป่ รากฏออกมาเปนรหัสปกติ อาจเปนไปไดวา แรงดันไฟฟา
แหลงจายไฟตก ความบกพรองนี้จะไมถูกบันทึกลงในหนวยความจําของเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง ถาแรงดัน
5 ไฟฟาแหลงจายไฟกลับเปนปกติ ไฟเตือน SRS จะดับไปโดยอัตโนมัติ
• เมื่อมีรหัสวิเคราะหปญหาตั้งแต 2 รหัสขึ้นไป รหัสที่มีคาตัวเลขนอยจะถูกแสดงออกมากอน
10 • ถารหัสไมตรงกับตารางที่ใหขางลางนี้ เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางอาจทํางานบกพรอง
• เมื่อวงจรขาด ลัดวงจรลงกราวด หรือชนวนที่เกี่ยวของลัดวงจรไปที่ B+ จะตองแกไขขอบกพรองเหลานี้เปน
11 ลําดับแรก มิเชนนั้นอาจทําใหไมสามารถตรวจจับรหัสปญหาบางตัวได เมื่อแกไขขอบกพรองเสร็จแลว ใหทํา
การวิเคราะหปญหาใหมอีกครั้ง
12 • คําอธิบายสัญลักษณในชอง “โหมดตรวจสอบ”:
◯ : รหัสวิเคราะหปญหารวมอยูในโหมดตรวจสอบ

13 — : รหัสวิเคราะหปญหาไมรวมอยูในโหมดตรวจสอบ
หมายเลขรหัส โหมด ไฟเตือน
สิ่งที่ตรวจพบ บริเวณที่เปนปญหา
(ดูหนา) ตรวจสอบ SRS
14 B1000/31 ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง — ติดสวาง
(05-507) บกพรอง
15 • เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
B1610/13 วงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
— ติดสวาง
(05-508) ดานขวาทํางานบกพรอง • สายไฟใตแผงหนาปด
16 • สายไฟหลักหองเครื่องยนต
• เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย
17 B1615/14
(05-515)
วงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา
ดานซายทํางานบกพรอง


ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
สายไฟใตแผงหนาปด
— ติดสวาง
• สายไฟหลักหองเครื่องยนต
19 • ชุดแปนแตร (ชนวน D)
B1800/51 • ชุดประกอบสายไฟขด
วงจรชนวน D ลัดวงจร ◯ ติดสวาง
26 (05-522) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
• สายไฟใตแผงหนาปด
• ชุดแปนแตร (ชนวน D)
27 B1801/51
วงจรชนวน D ขาด
• ชุดประกอบสายไฟขด
◯ ติดสวาง
(05-522) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
สายไฟใตแผงหนาปด
28 •
• ชุดแปนแตร (ชนวน D)
B1802/51 วงจรชนวน D ลัดวงจร • ชุดประกอบสายไฟขด
◯ ติดสวาง
29 (05-522) (ลงกราวด) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
• สายไฟใตแผงหนาปด
ชุดแปนแตร (ชนวน D)
30 B1803/51 วงจรชนวน D ลัดวงจร

• ชุดประกอบสายไฟขด
◯ ติดสวาง
(05-522) (ไปที่ B+) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
31 • สายไฟใตแผงหนาปด
ปกติ • แบตเตอรี่
แรงดันไฟฟาตก — ติดสวาง
(05-537) • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
32 ปกติ ระบบปกติ — — ดับ
05–508 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 รหัส B1610/13 เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวาทํางานบกพรอง


2 คําอธิบายวงจร
3 เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวาประกอบไปดวยวงจรวิเคราะหปญหาและเซ็นเซอรจับแรงหนวงดานหนา
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางจะรับสัญญาณจากเซ็นเซอรจับแรงหนวงดานหนาและตัดสินวาระบบ SRS ควรถูกกระตุน
5 ใหทํางานหรือไม
รหัส B1610/13 จะถูกบันทึกไว เมื่อตรวจพบวาวงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวาทํางานบกพรอง
10 หมายเลขรหัส สิ่งที่ตรวจพบ บริเวณที่เปนปญหา
• เมื่อเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางรับสัญญาณการลัดวงจร,
• เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
ขาดวงจร, ลัดวงจรลงกราวดหรือลัดวงจรไปที่ B+ ใน
11 B1610/13 วงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาเปนเวลา 2 วินาที
• ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
• สายไฟใตแผงหนาปด
• เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวาทํางานบกพรอง
12 • เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางทํางานบกพรอง
• สายไฟหลักหองเครื่องยนต

13
ผังวงจรไฟฟา
14
15 A6
A6 Airbag Sensor Front RH
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา ชุดเซ็นเซอร ถุงลมนิ รภัยCenter
กลาง
16 Airbag Sensor Assy

17 B-W
B-W
1
B-W
29
IF1 A14 +SR
2
19
26 2 27
BR-W BR-W
IF1 A14 -SR
27 1

28
29
30
31
H02750

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–509

ขั้นตอนการตรวจสอบ
คําเตือน: 1
ปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้กอนจะคนหาสาเหตุปญหา เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหถุงลมนิรภัยพองตัวโดยบังเอิญ
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
2
(ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
3
(ค) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ง) ปลดขั้วตอออกจากแปนแตร 5
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
10
(ก) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
เซ็นเซอร ชุดเซ็นเซอร (ข) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที 11
ถุงลมนิรภัย ถุงลมนิรภัย (ค) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
หนาดานขวา กลาง (ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500) 12
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ฉ) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที 13
รหัส B1610/13
DLC3 (ช) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
ปกติ: รหัสวิเคราะหปญหา B1610/13 ไมปรากฏออกมา 14
ขอแนะนํา:
CG TC รหัสอื่นๆ นอกเหนือจากรหัส B1610/13 อาจปรากฏขึ้นในขณะนั้น
15
แตไมเกี่ยวของกับการตรวจเช็คนี้ 16
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
17
ปกติ
19
ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)
26
2 ตรวจเช็คการตอขั้วตอ
27
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที 28
(ค) ตรวจเช็ควาตอขั้วตอตางๆ เขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางและเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวาถูกตองหรือ
ไม 29
ปกติ: ขั้วตอยังตออยู
30
บกพรอง ตอขั้วตอ จากนั้น ดูขั้นตอนที่ 1
ปกติ 31
32
05–510 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 3 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานขวา) (ขาด)


(ก) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางและเซ็นเซอร
2 เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร ถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
นิรภัยหนาF A ถุงลมนิรภัย (ค) ใชสายไฟวิเคราะหปญ  หาตอขัว้ A6-2 และ A6-1 ของขัว้ ตอ “E”
3 ดานขวา E D C B กลาง
ขอควรระวัง:
อยาฝนสอดสายไฟวิเคราะหปญหาเขาไปในขั้วของขั้วตอ
5 A6 A14 (ง) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
1 2
มาตรฐาน:
10
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A14-29 (+SR) - A14-27 (-SR) ต่ํากวา 1 Ω
11
สายไฟวิเคราะหปญหา +SR
12
H03353
-SR
H08016 G27651
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 8
H45737

13 ปกติ

14 4 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานขวา) (ลัดวงจร)

15 (ก) ปลดสายไฟวิเคราะหปญหาออกจากขั้วตอ “E”


เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
16 นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย
กลาง
มาตรฐาน:
ดานขวา E D C B
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
17 A14
A14-29 (+SR) - A14-27 (-SR) 1 MΩ หรือสูงกวา

19
26
+SR
27 H03355 -SR
G27651 H45738
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 9
28 ปกติ
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–511

5 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานขวา) (ไปที่ B+) 1


(ก) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON 2
นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ดานขวา E D C B กลาง
มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A14
A14-29 (+SR) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท 5
A14-27 (-SR) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
10
11
+SR

12
H03355 -SR
G27651 H45738
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 10
ปกติ 13
6 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานขวา) (ลงกราวด) 14
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 15
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร (ข) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 16
ดานขวา กลาง
E D C B
มาตรฐาน:
A14 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 17
A14-29 (+SR) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
A14-27 (-SR) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา 19
26
+SR
H03355 -SR 27
G27651 H45738
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 11
ปกติ 28
29
30
31
32
05–512 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 7 ตรวจเช็คเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
(ก) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
2 เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร (ข) สลับเซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยหนาดานขวากับดานซาย แลวนํามา
นิรภัยหนา ถุงลมนิรภัย
กลาง ตอเขากับขั้วตอ
ดานซาย
3 DC
(ค) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
(ง) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
5 รหัส B1610/13 (จ) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
(ฉ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
10 DLC3 (ช) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
รหัส B1615/14 (ซ) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
11 ผลที่ได:
CG TC ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
รหัส B1610/13 ปรากฏออกมา A
12 รหัส B1615/14 ปรากฏออกมา B
รหัส B1610/13 และ B1615/14
C
13 ไมปรากฏออกมา

A เปลีย่ นชุดเซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยกลาง (ดูหนา 60-25)


14
B เปลี่ยนเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวา
15 (ดูหนา 60-28)
C
16
ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)
17
8 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ขาด)
19 (ก) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง
สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด หนาปด
26 เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร ขอแนะนํา:
นิรภัยหนา F ถุงลมนิรภัย
A
กลาง
เสียบขั้วตอ “E” เขาไปในสายไฟวิเคราะหปญหาแลว
27 ดานขวา E D C B
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
IF1 มาตรฐาน:
28 1
A6
2
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
IF1-1 (+SR) - IF1-2 (-SR) ต่ํากวา 1 Ω
29
-SR 21 +SR
4 3

30
สายไฟวิเคราะหปญหา
H03352 C81305 H45740 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต
31 ปกติ
32 ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–513

9 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ลัดวงจร) 1
(ก) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง
สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด 2
หนาปด
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
นิรภัยหนา F ถุงลมนิรภัย (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ดานขวา E D C B
A
กลาง มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
IF1
IF1-1 (+SR) - IF1-2 (-SR) 1 MΩ หรือสูงกวา 5

-SR 21
+SR
10
4 3

11
12
H03354
C81305
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต
H45741

ปกติ 13
ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด 14

10 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ไปที่ B+) 15

สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 16
(ข) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย (ค) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง 17
ดานขวา E D C B กลาง หนาปด
(ง) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที 19
IF1
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ฉ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ 26
-SR 21
+SR มาตรฐาน:
4 3

การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 27
IF1-1 (+SR) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
H03354
C81305 H45741
IF1-2 (-SR) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท 28
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต 29
ปกติ
30
ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
31
32
05–514 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 11 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ลงกราวด)
(ก) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง
2 สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด
หนาปด
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
นิรภัยหนา F ถุงลมนิรภัย (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ดานขวา E D C B
A
กลาง มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 IF1
IF1-1 (+SR) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
IF1-2 (-SR) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
10 -SR 21
+SR
4 3

11
12
H03354
C81305 H45741
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต

13 ปกติ

14 ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–515

รหัส B1615/14 เซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยหนา (ดานซาย) ทํางานบกพรอง 1


คําอธิบายวงจร 2
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซายประกอบไปดวย วงจรวิเคราะหปญหาและเซ็นเซอรจับแรงหนวงดานหนา 3
เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางจะรับสัญญาณจากเซ็นเซอรจับแรงหนวงดานหนาและตัดสินวาระบบ SRS ควรถูกกระตุน
ใหทํางานหรือไม 5
รหัส B1615/14 จะถูกบันทึกไว เมื่อตรวจพบวาวงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานซาย) ทํางานบกพรอง
หมายเลขรหัส สิ่งที่ตรวจพบ บริเวณที่เปนปญหา 10
B1615/14 • เมื่อเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางรับสัญญาณการลัดวงจร, • เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย
ขาดวงจร, ลัดวงจรลงกราวดหรือลัดวงจรไปที่ B+ ใน ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
วงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซายเปนเวลา 2 วินาที

• สายไฟใตแผงหนาปด
11
• เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซายทํางานบกพรอง • สายไฟหลักหองเครื่องยนต
• เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางทํางานบกพรอง 12
13
ผังวงจรไฟฟา
14
A5 15
เซ็นA5เซอร
Airbag Sensor
ถุงลมนิ รภัยหนFront
าดานซLH
าย ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
Airbag Sensor Assy Center
16

W-R
3
W-R
30 17
IF1 A14 +SL
2
19

4 28
26
BR BR
IF1 A14 -SL
1
27
28
29
30
31
H02750

32
05–516 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 คําเตือน:
ปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้กอนจะคนหาสาเหตุปญหา เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหถุงลมนิรภัยพองตัวโดยบังเอิญ
2 (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
3 (ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
(ค) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
5 (ง) ปลดขัว้ ตอออกจากแปนแตร
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
10
(ก) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
11 เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร (ข) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
นิรภัยหนา ถุงลมนิรภัย (ค) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
12 ดานซาย กลาง
(ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
13 (ฉ) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
DLC3 รหัส B1615/14 (ช) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
14 ปกติ: รหัส B1615/14 ไมปรากฏออกมา
ขอแนะนํา:
15 CG TC
รหัสอื่นๆ นอกเหนือจากรหัส B1615/14 อาจปรากฏขึ้นในขณะนั้น
H02757
แตไมเกี่ยวของกับการตรวจเช็คนี้
16 H10600 W02044 H45742

บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
17
ปกติ
19
ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)
26
2 ตรวจเช็คการตอขั้วตอ
27
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
28 (ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
(ค) ตรวจเช็ควาตอขัว้ ตอตางๆ เขากับเซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยกลางและเซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยหนาดานซายถูกตองหรือไม
29 ปกติ: ขั้วตอยังตออยู

30 บกพรอง ตอขั้วตอ จากนั้น ดูขั้นตอนที่ 1


ปกติ
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–517

3 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานซาย) (ขาด) 1


(ก) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางและเซ็นเซอร
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร ถุงลมนิรภัยหนาดานซาย 2
นิรภัยหนาF A ถุงลมนิรภัย (ข) ใชสายไฟวิเคราะหปญ  หาตอขัว้ A5-2 และ A5-1 ของขัว้ ตอ “E”
ดานซาย E D C B กลาง
ขอควรระวัง: 3
อยาฝนสอดสายไฟวิเคราะหปญหาเขาไปในขั้วของขั้วตอ
A5 A14 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5
1 2
มาตรฐาน:
10
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A14-30 (+SL) - A14-28 (-SL) ต่ํากวา 1 Ω
11
สายไฟวิเคราะหปญหา +SL

12
H03353
H08016 G27651
-SL H45737 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 8
ปกติ
13
4 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานซาย) (ลัดวงจร) 14
(ก) ปลดสายไฟวิเคราะหปญหาออกจากขั้วตอ “E”
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 15
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
มาตรฐาน:
นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย
กลาง การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
16
ดานซาย E D C B
A14-30 (+SL) - A14-28 (-SL) 1 MΩ หรือสูงกวา
A14
17
19
26
+SL
H03355
G27651
-SL
H45738 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 9 27
ปกติ 28
29
30
31
32
05–518 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 5 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานซาย) (ไปที่ B+)


(ก) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
2 เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ดานซาย E D C B กลาง
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 A14
A14-30 (+SL) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
A14-28 (-SL) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
10
11
+SL

12 H03355 -SL
G27651 H45738
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 10

13 ปกติ

14 6 ตรวจเช็ควงจรเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนา (ดานซาย) (ลงกราวด)

(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF


15 (ข) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
16 นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
กลาง
ดานซาย E D C B
มาตรฐาน:
17 A14
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A14-30 (+SL) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
A14-28 (-SL) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
19
26
+SL
27 H03355
G27651
-SL
H45738
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 11
28 ปกติ

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–519

7 ตรวจเช็คเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย 1
(ก) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
(ข) สลับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานขวากับดานซาย แลวนํา 2
นิรภัยหนา ถุงลมนิรภัย
ดานขวา กลาง มาตอเขากับขั้วตอ
DC
(ค) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที 3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
รหัส B1610/13
(จ) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
5
(ฉ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
DLC3
10
รหัส B1615/14
(ช) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
(ซ) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500) 11
CG TC ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน 12
รหัส B1615/14 ปรากฏออกมา A
รหัส B1610/13 ปรากฏออกมา B
รหัส B1610/13 และ B1615/14
13
C
ไมปรากฏออกมา
14
A เปลี่ยนชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ดูหนา 60-25) 15
B เปลี่ยนเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยหนาดานซาย 16
(ดูหนา 60-27)
C
17
19
ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)
26
27
28
29
30
31
32
05–520 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 8 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ขาด)
(ก) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง
2 สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด
หนาปด
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
นิรภัยหนา F ขอแนะนํา:
3 ดานซาย E D C B
A ถุงลมนิรภัย
กลาง เสียบขั้วตอ “E” เขาไปในสายไฟวิเคราะหปญหาแลว
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5 IF1
มาตรฐาน:
A5
1 2
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
10 -SL 21 +SL
IF1-3 (+SL) - IF1-4 (-SL) ต่ํากวา 1 Ω
4 3

11
สายไฟวิเคราะหปญหา
12 H03352 C81305 H45740
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต
13 ปกติ

14 ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
15 9 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ลัดวงจร)
16 สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด
(ก) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง
หนาปด
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
17 นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ดานซาย E D C B กลาง มาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
IF1
IF1-3 (+SL) - IF1-4 (-SL) 1 MΩ หรือสูงกวา
26
21

27 -SL 4 3 +SL

28 H03354
C81305
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต
H45741

29 ปกติ
30
ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–521

10 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ไปที่ B+) 1


(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด 2
(ข) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
นิรภัยหนา F ถุงลมนิรภัย (ค) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง
ดานซาย E D C B
A
กลาง หนาปด 3
(ง) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
IF1
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
5
(ฉ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
10
21
4 3 +SL
มาตรฐาน:
-SL
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 11
IF1-3 (+SL) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
IF1-4 (-SL) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
12
H03354
C81305 H45741

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต
13
ปกติ
14
ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
15
11 ตรวจเช็คสายไฟหลักหองเครื่องยนต (ลงกราวด)
16
(ก) ปลดขั้วตอสายไฟหลักหองเครื่องยนตออกจากสายไฟใตแผง
สายไฟหลักหองเครื่องยนต สายไฟใตแผงหนาปด
เซ็นเซอรถงุ ลม ชุดเซ็นเซอร
หนาปด 17
นิรภัยหนา F A ถุงลมนิรภัย
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ดานซาย E D C B กลาง มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
IF1
IF1-3 (+SL) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา 26
IF1-4 (-SL) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
21
4 3 +SL
27
-SL

28
H03354
C81305

29
H45741

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟหลักหองเครื่องยนต
ปกติ 30

ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
31
32
05–522 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 รหัส B1800/51 วงจรชนวนดานคนขับ (ชนวน D) ลัดวงจร


2 รหัส B1801/51 วงจรชนวนดานคนขับ (ชนวน D) ขาด
3
รหัส B1802/51 วงจรชนวนดานคนขับ (ชนวน D) ลัดวงจร (ลงกราวด)
5
10 รหัส B1803/51 วงจรชนวนดานคนขับ (ชนวน D) ลัดวงจร (ไปที่ B+)
11 คําอธิบายวงจร
วงจรชนวนดานคนขับ (ชนวน D) ประกอบไปดวย เซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง สายไฟขด และแปนแตร
12 วงจรนี้จะสั่งใหถุงลมนิรภัยระเบิดพองตัวเมื่ออยูในสภาวะที่เหมาะสม
รหัสเหลานี้จะถูกบันทึกไว เมื่อตรวจพบวาวงจรชนวนดานคนขับทํางานบกพรอง
13 หมายเลขรหัส สิ่งที่ตรวจพบ บริเวณที่เปนปญหา
• ชุดแปนแตร (ชนวน D)
14 เมื่อเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางรับสัญญาณการลัดวงจร • ชุดประกอบสายไฟขด
B1800/51
ของวงจรชนวน D 5 ครั้งขณะทําการตรวจเช็คเบื้องตน • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
15 • สายไฟใตแผงหนาปด
• ชุดแปนแตร (ชนวน D)
16 B1801/51
เมื่อเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางรับสัญญาณการขาดวงจร • ชุดประกอบสายไฟขด
ของวงจรชนวน D เปนเวลา 2 วินาที • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
17 • สายไฟใตแผงหนาปด
• ชุดแปนแตร (ชนวน D)
เมื่อเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางรับสัญญาณการลัดวงจร • ชุดประกอบสายไฟขด
19 B1802/51
ลงกราวดของวงจรชนวน D เปนเวลา 0.5 วินาที • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
• สายไฟใตแผงหนาปด
26 • ชุดแปนแตร (ชนวน D)
เมื่อเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางรับสัญญาณการลัดวงจร • ชุดประกอบสายไฟขด
B1803/51
27 ไปที่ B+ ของวงจรชนวน D เปนเวลา 0.5 วินาที • ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
• สายไฟใตแผงหนาปด
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–523

ผังวงจรไฟฟา
1
2
ชุดเซ็นเซอร
Airbag ถุงลมนิ
Sensor AssyรภัยCenter
กลาง
3

ชุดHorn
แปนแตร A15 Spiral
A15
Cable Sub-
5
Button Assy (D
(ชนวน D)
Squib) ชุดassy
ประกอบสายไฟขด
10
5
D+ Y-B
A14 D+
D+ 1 11

D- Y
6 12
A14 D-
D- 2
13
14
15
16
H01451
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–524 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 คําเตือน:
ปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้กอนจะคนหาสาเหตุปญหา เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหถุงลมนิรภัยพองตัวโดยบังเอิญ
2 (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
3 (ค) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ง) ปลดขั้วตอออกจากแปนแตร
5 (จ) ปลดขั้วตอออกจากถุงลมนิรภัยผูโดยสารเบาะหนา
10 1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา

11 (ก) ปฏิ บัติตามแตละขั้นตอนที่อานรหัสวิเคราะหปญหาได


(1) กรณีใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (อานรหัสที่เปนตัวเลข 5 หลัก):
ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
12 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
13 รหัส B1800 ปรากฏออกมา A
รหัส B1801 ปรากฏออกมา B
14 รหัส B1802 ปรากฏออกมา C
รหัส B1803 ปรากฏออกมา D
15 (2) กรณีไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (อานรหัสที่เปนตัวเลข 2 หลัก):
ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
16 ผลที่ได:
รหัส 51 ปรากฏออกมา E
17 B ดูขั้นตอนที่ 4
19 C ดูขั้นตอนที่ 5
26 D ดูขั้นตอนที่ 6
27 E ดูขั้นตอนที่ 7
28 A

29 2 ตรวจเช็คขั้วตอ
30 (ก) ตรวจเช็ควาขั้วตอตางๆ ของสายไฟขด (ที่ดานแปนแตร) ไมเสียหาย
ปกติ: ปุมล็อคไมถูกปลด หรือขอเกี่ยวของตัวล็อคไมเสียรูปหรือเสียหาย
31
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด (ดูหนา 60-22)
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–525

3 ตรวจเช็ควงจรชนวน D (ลัดวงจร) 1
(ก) ปลดกลไกปองกันการทํางานของถุงลมนิรภัยที่ติดตั้งในขั้ว
ตอ “B” ออก (ดูหนา 05-495) 2
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
สายไฟขด A ถุงลมนิรภัย มาตรฐาน: 3
กลาง
F E DC B
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
D+ - D- 1 MΩ หรือสูงกวา 5
D- D+
10
สี: สม
11
H41475 H45743 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 13 12
ปกติ
13
ดูขั้นตอนที่ 10
14
4 ตรวจเช็ควงจรชนวน D (ขาด) 15
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
มาตรฐาน:
16
ชนวน D ชุดประกอบ การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
ชุดเซ็นเซอร 17
A ถุงลมนิรภัย D+ - D- ต่ํากวา 1 Ω
สายไฟขด
กลาง
19
F E DC B

D- D+
26
สี: สม
27
H41475 H45743 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 15 28
ปกติ 29
ดูขั้นตอนที่ 11 30
31
32
05–526 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 5 ตรวจเช็ควงจรชนวน D (ลงกราวด)
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
2 มาตรฐาน:
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3 สายไฟขด A ถุงลมนิรภัย D+ - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
F E DC B กลาง D- - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
5
D- D+
10
สี: สม
11
12 H41475 H45743
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 17

13 ปกติ

14 ดูขั้นตอนที่ 11
15 6 ตรวจเช็ควงจรชนวน D (ไปที่ B+)

16 (ก) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที


(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
17 ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
A ถุงลมนิรภัย มาตรฐาน:
สายไฟขด กลาง
19 F E DC B
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
D+ - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
26 D- D+ D- - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท

27 สี: สม

28 H41475 H45743
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 19
29 ปกติ
30 ดูขั้นตอนที่ 11
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–527

7 ตรวจเช็คขั้วตอ 1
(ก) ตรวจเช็ควาขั้วตอตางๆ ของสายไฟขด (ที่ดานแปนแตร) ไมเสียหาย
ปกติ: ปุมล็อคไมถูกปลด และขอเกี่ยวของตัวล็อคไมเสียรูปหรือเสียหาย 2
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด 3
(ดูหนา 60-22)
ปกติ
5
10
8 ตรวจเช็ควงจรชนวน D
(ก) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที 11
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
12
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร
A ถุงลมนิรภัย มาตรฐาน:
สายไฟขด กลาง 13
F E DC B
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
D+ - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
D- D- - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
14
D+

(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 15


สี: สม (จ) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
(ฉ) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 16
H41475 H45743 มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 17
D+ - D- ต่ํากวา 1 Ω
D+ - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา 19
D- - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
(ช) ปลดกลไกปองกันการทํางานของถุงลมนิรภัยทีต่ ดิ ตัง้ ในขัว้ ตอ 26
“B” ออก (ดูหนา 05-495)
(ซ) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 27
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 28
D+ - D- 1 MΩ หรือสูงกวา
29
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 21
ปกติ 30
31
32
05–528 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 9 เปลี่ยนชุดแปนแตร (ชนวน D)
(ก) เปลี่ยนแปนแตร (ดูหนา 60-13)
2 (ข) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร
ถุงลมนิรภัย (ค) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
3 สายไฟขด
FE DC กลาง (ง) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
(จ) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
5 (ฉ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ช) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
10 รหัส 51
DLC3 (ซ) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
ปกติ: รหัส 51 ไมปรากฏออกมา
11 ขอแนะนํา:
รหัสอื่นๆ นอกเหนือจากรหัส 51 อาจปรากฏขึ้นในขณะนั้น แตไม
CG
TC
12
H01003
H10600 H01075 H45744
เกี่ยวของกับการตรวจเช็คนี้

13 บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด
(ดูหนา 60-25)
14 ปกติ
15 จบขั้นตอน
16
10 ตรวจเช็คชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
17 (ก) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ข) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
19 (ค) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร
ถุงลมนิรภัย
(ง) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
26 สายไฟขด
F E DC กลาง (จ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ฉ) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
27 (ช) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
H01002 H45745
ปกติ: รหัส B1800 ไมปรากฏออกมา
28 ขอแนะนํา:
รหัสอื่นๆ นอกเหนือจากรหัส B1800 อาจปรากฏขึ้นในขณะนั้น แต
29 ไมเกี่ยวของกับการตรวจเช็คนี้

30 บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด
(ดูหนา 60-25)
31 ปกติ
32 ดูขั้นตอนที่ 12
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–529

11 ตรวจเช็คชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 1
(ก) จากขั้นตอนที่ 6:
บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 2
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ข) จากขั้นตอนที่ 6:
สายไฟขด ถุ
ง ลมนิ รภั
ย ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที 3
F E DC กลาง
(ค) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ง) ใชสายไฟวิเคราะหปญหา ตอขั้ว D+ และ D- ของขั้วตอ “E”
5
ขอควรระวัง:
D- D+ 10
สายไฟวิเคราะหปญ หา • บิดปลายสายของสายไฟวิเคราะหปญหาเพื่อใหสอดเขาไปใน
ขั้วตอได 11
สี: สม
• อยาฝนสอดสายไฟวิเคราะหปญหาที่บิดปลายสายแลวเขาไป
H01002
C89252 H45746 ในขั้วของขั้วตอ 12
(จ) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
(ฉ) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที 13
(ช) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
(ซ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 14
(ฌ) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
(ญ) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500) 15
ปกติ:
รหัส B1801, B1802 หรือ B1803 ไมปรากฏออกมา 16
ขอแนะนํา:
รหัสอืน่ ๆ นอกเหนือจากรหัส B1801, B1802 หรือ B1803 อาจปรากฏ 17
ขึ้นในขณะนั้น แตไมเกี่ยวของกับการตรวจเช็คนี้
19
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
26
ปกติ
27
28
29
30
31
32
05–530 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 12 ตรวจเช็คชุดแปนแตร
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
2 (ข) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ค) จากขัน้ ตอนที่ 11:
3 ถุงลมนิรภัย ปลดสายไฟวิเคราะหปญหาออกจากขั้วตอ “E”
สายไฟขด กลาง
FE DC (ง) ตอขั้วตอเขากับชุดแปนแตร
5 (จ) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
(ฉ) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
10 H01003 H45747

(ช) ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)


11 (ซ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ฌ) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON แลวรออยางนอย 60 วินาที
12 (ญ) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-500)
ปกติ:
13 รหัส DTC B1800, B1801, B1802 หรือ B1803 ไมปรากฏ
ออกมา
14 ขอแนะนํา:
รหัสอื่นๆ นอกเหนือจากรหัส B1800, B1801, B1802 หรือ B1803
15 อาจปรากฏขึ้นในขณะนั้น แตไมเกี่ยวของกับการตรวจเช็คนี้

16 บกพรอง เปลี่ยนชุดแปนแตร
(ดูหนา 60-13)
17 ปกติ
19 ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–531

13 ตรวจเช็คสายไฟใตแผงหนาปด (ลัดวงจร) 1
สายไฟใตแผงหนาปด (ก) ปลดขั้วตอสายไฟใตแผงหนาปดออกจากสายไฟขด
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร ขอแนะนํา: 2
สายไฟขด A ถุงลมนิรภัย กลไกปองกันการทํางานของขั้วตอ “B” ถูกปลดออกแลว
F E D C B กลาง
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
มาตรฐาน:
A15
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5
A15-1 (D+) - A15-2 (D-) 1 MΩ หรือสูงกวา
D- 10
D+

11
H40539

12
H40539

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
H45748

ปกติ 13
14 ตรวจเช็คชุดประกอบสายไฟขด (ลัดวงจร) 14
(ก) ปลดกลไกปองกันการทํางานที่อยูในขั้วตอ “D” ออก (ดูหนา 15
05-495)
ชนวน D
ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 16
A ถุงลมนิรภัย มาตรฐาน:
สายไฟขด กลาง
F E D C B การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 17
D+ - D- 1 MΩ หรือสูงกวา
D- D+ 19

สี: สม 26
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด
H41479 H45749 (ดูหนา 60-22) 27
ปกติ 28
ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495) 29
30
31
32
05–532 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 15 ตรวจเช็คสายไฟใตแผงหนาปด (ขาด)

สายไฟใตแผงหนาปด (ก) ปลดขั้วตอสายไฟใตแผงหนาปดออกจากสายไฟขด


2 ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
A ถุงลมนิรภัย มาตรฐาน:
สายไฟขด
3 F E D C B กลาง
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A15-1 (D+) - A15-2 (D-) ต่ํากวา 1 Ω
5 A15

10 D-

D+

11
H40539

12 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
H40539
H45748

ปกติ
13
14 16 ตรวจเช็คชุดประกอบสายไฟขด (ขาด)
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
15 มาตรฐาน:
ชนวน D การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
16 ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร
D+ - D- ต่ํากวา 1 Ω
A ถุงลมนิรภัย
สายไฟขด กลาง
17
F E D C B

19 D- D+

26 สี: สม
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด
27 H41479 H45749
(ดูหนา 60-22)
28 ปกติ

29 ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–533

17 ตรวจเช็คสายไฟใตแผงหนาปด (ลงกราวด) 1
สายไฟใตแผงหนาปด
(ก) ปลดขั้วตอสายไฟใตแผงหนาปดออกจากสายไฟขด
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 2
สายไฟขด A ถุงลมนิรภัย มาตรฐาน:
F E D C B กลาง
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
A15-1 (D+) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
A15
A15-2 (D-) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา 5
D- 10
D+

11
H40539
H40539
H45748
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด 12
ปกติ 13
18 ตรวจเช็คชุดประกอบสายไฟขด (ลงกราวด) 14
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 15
มาตรฐาน:
ชนวน D
ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 16
Aถุงลมนิรภัย D+ - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
สายไฟขด กลาง D- - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
F E D C B
17
D- D+ 19
สี: สม 26
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด
H41479 H45749
(ดูหนา 60-22)
27
ปกติ 28
ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495) 29
30
31
32
05–534 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 19 ตรวจเช็คสายไฟใตแผงหนาปด (ไปที่ B+)

สายไฟใตแผงหนาปด
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
2 ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร (ข) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
สายไฟขด A ถุงลมนิรภัย (ค) ปลดขั้วตอสายไฟใตแผงหนาปดออกจากสายไฟขด
3 F E D C B กลาง
(ง) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
(จ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
5 A15
(ฉ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
มาตรฐาน:
10 D-
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
D+
A15-1 (D+) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
11 A15-2 (D-) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
H40539

12 H40539
H45748
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด

13 ปกติ

14 20 ตรวจเช็คชุดประกอบสายไฟขด (ไปที่ B+)

15 (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
16 ชนวน D ชุดเซ็นเซอร มาตรฐาน:
ชุดประกอบ Aถุงลมนิรภัย การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
สายไฟขด กลาง
17 F E D C B D+ - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
D- - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
19 D- D+

26 สี: สม
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด
27 H41479 H45749
(ดูหนา 60-22)
28 ปกติ

29 ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–535

21 ตรวจเช็คสายไฟใตแผงหนาปด 1
สายไฟใตแผงหนาปด (ก) เลือ่ นกลไกปองกันการทํางานของถุงลมนิรภัยทีต่ ดิ ตัง้ ในขัว้ ตอ
ชนวน D ชุดประกอบ ชุดเซ็นเซอร “B” มาที่ตําแหนงเดิมกอนปลด 2
A ถุงลมนิรภัย (ข) ปลดขั้วตอสายไฟใตแผงหนาปดออกจากสายไฟขด
สายไฟขด
F E D C B กลาง
(ค) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที 3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
A15
(จ) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5
มาตรฐาน:
D- 10
D+
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
A15-1 (D+) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
A15-2 (D-) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
11
H40539
H40539
H45748 (ฉ) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 12
(ช) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
(ซ) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 13
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 14
A15-1 (D+) - A15-2 (D-) ต่ํากวา 1 Ω
A15-1 (D+) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา 15
A15-2 (D-) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
(ฌ) ปลดกลไกปองกันการทํางานของถุงลมนิรภัยที่ติดตั้งในขั้ว 16
ตอ “B” ออก (ดูหนา 05-495)
(ญ) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 17
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 19
A15-1 (D+) - A15-2 (D-) 1 MΩ หรือสูงกวา
26
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟใตแผงหนาปด
ปกติ 27
28
29
30
31
32
05–536 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 22 ตรวจเช็คชุดประกอบสายไฟขด
(ก) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
2 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
ชนวน D ชุดเซ็นเซอร (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุดประกอบ A ถุงลมนิรภัย มาตรฐาน:
สายไฟขด กลาง
F E D C B การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 A15-1 (D+) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
A15-2 (D-) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 โวลท
10
D- D+

(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF


11 สี: สม (จ) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
(ฉ) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
12 H41479 H45749 มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
13 D+ - D- ต่ํากวา 1 Ω
D+ - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
D- - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา
14
(ช) ปลดกลไกปองกันการทํางานที่อยูในขั้วตอ “D” ออก (ดูหนา
15 05-495)
(ซ) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
16 มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
17 D+ - D- 1 MΩ หรือสูงกวา

19 บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบสายไฟขด
(ดูหนา 60-22)
26 ปกติ

27 ใชวิธีการจําลองสภาพปญหาเพื่อตรวจเช็ค (ดูหนา 05-495)


28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–537

แรงดันไฟฟาตก 1

คําอธิบายวงจร 2
ระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) จะติดตั้งวงจรเพิ่มแรงดันไฟฟา (ตัวแปลงแรงดันไฟฟา DC-DC) ในเซ็นเซอรถุงลม 3
นิรภัยกลางกรณีที่แรงดันไฟฟาตก เมื่อแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ตก วงจรเพิ่มแรงดันไฟฟาจะเพิ่มแรงดันไฟฟาของระบบ
SRS ใหอยูในระดับปกติ 5
ความบกพรองในวงจรนี้จะไมถูกบันทึกไวในเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง เมื่อไฟเตือน SRS ติดสวางคางอยูโดยไมดับ
และรหัสวิเคราะหปญหาเปนปกติ แสดงวาแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ตก เมื่อแรงดันไฟฟากลับเปนปกติ ไฟเตือน SRS จะ 10
ดับเองโดยอัตโนมัติ
หมายเลขรหัส การวิเคราะหปญหา 11
(ปกติ) แรงดันไฟฟาตก
12
ผังวงจรไฟฟา
13
ชุด J/B แผงหน าปดJ/B Assy
I8
I8 Ignition Switch
ชุดสวิตชจุดระเบิด
Assy
Instrument Panel
(J/B ดานคนขับ)
(Driver Side J/B)
Airbag Sensor
ชุดเซ็นเซอร
Assy ถุงCenter
ลมนิรภัยกลาง 14
6 IGN 8 21

5 AM2
B
2C 6 2B
B-O
A14 IG2 15
IG2 6

11
16
W-R
II4
J/B หRoom
Engine องเครื่อJ/B
งยนต 17
1 AM2 4
1A 1B
ชุInstrument
ด J/B แผงหน
W-R
าปด J/B Assy
19
Panel
(J/B
(Driverดานคนขั
SideบJ/B)
)
18 1 25 26
W-B W-B
2D 2B A14 E1

W 27
9 2 26
W-B
2D 2B
W-B
A14 E2 28
29
แบตเตอรี
Battery ่
ID IE
30
H45636
31
32
05–538 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 คําเตือน:
ปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้กอนจะคนหาสาเหตุปญหา เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหถุงลมนิรภัยพองตัวโดยบังเอิญ
2 (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
3 (ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
(ค) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
5 (ง) ปลดขัว้ ตอออกจากแปนแตร
1 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง - แบตเตอรี่)
10
ดานชุดสายไฟ (ก) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
11 A14 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง (ค) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
12 มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
13 IG2 A14-21 (IG2) - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 โวลท

14
B79312
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ
15
16 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง - กราวดตัวถัง)

ดานชุดสายไฟ (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF


17 A14 (ข) ปลดสายขัว้ ลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
19 มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
26 A14-25 (E1) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
A14-26 (E2) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
27 E1 E2 B79312

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
28
ปกติ
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–539

3 ตรวจเช็คไฟเตือน SRS 1
(ก) ตอขั้วตอเขากับเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ข) ตอขั้วตอเขากับแปนแตร 2
(ค) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON แลวรออยางนอย 6 วินาที 3
(จ) ใชงานระบบไฟฟาทั้งหมด (ไลฝา, ที่ปดน้ําฝน, ไฟหนา, โบลวเวอรฮีทเตอร ฯลฯ) และตรวจเช็คไฟเตือน SRS
ปกติ:
5
เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON ไฟเตือน SRS จะติดสวางขึ้นประมาณ 6 วินาทีแลวดับไป
10
บกพรอง เปลีย่ นชุดเซ็นเซอรถงุ ลมนิรภัยกลาง (ดูหนา 60-25)
11
ปกติ
12
จบขั้นตอน
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–540 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 วงจรไฟเตือน SRS ทํางานบกพรอง


2 (ติดขึ้นเมื่อไมมีรหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา)
3 คําอธิบายวงจร
ไฟเตือน SRS จะติดตั้งอยูในมาตรวัดรวม
5 เมื่อระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) เปนปกติ ไฟเตือน SRS จะติดขึ้นประมาณ 6 วินาทีหลังจากบิดสวิตชจุดระเบิด
จากตําแหนง OFF ไปยัง ON และจะดับไปโดยอัตโนมัติ
10 ถามีขอบกพรองเกิดขึ้นในระบบ ไฟเตือน SRS จะติดขึ้นเพื่อแจงใหคนขับทราบ
เมือ่ ตอขัว้ TC และ CG ของขัว้ ตอ DLC3 แลว รหัสวิเคราะหปญ
 หาจะสือ่ สารผานรูปแบบการกระพริบของไฟเตือน SRS
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–541

ผังวงจรไฟฟา
1
Airbag Sensor
มาตรวัดรวม
Combination Meter ชุดเซ็นเซอร
Assy ถุงCenter
ลมนิรภัยกลาง 2
22 21
B-O
C8 C8
SRS 3
20 ชุด J/B แผงหน
Instrument PanelาปJ/B
ด Assy
(J/B ดSide
านคนขัJ/B)
บ)
C8 (Driver
5
21 3 14
B-Y B-Y
2Q 2B A14 LA
10
MET 1
I8
I8
ชุIgnition
ดสวิตชSwitch
จุดระเบิAssy

2D
11
6 8 21
IGN
5
AM2 IG2
6
B
2C 2B
B-O
A14 IG2 12

W-R
11 13
II4

J/B หRoom
Engine องเครื่อJ/B
งยนต 14
1 AM2 4
W-R
1A 1B 15
Y 16
18 1 25
W-B W-B

W
B J27 2D 2B A14 E1
17
J/C 9 2 26

B J28
W-B
2D 2B
W-B
A14 E2 19
W-B
26
แบตเตอรี
Battery ่
ID IE
27
28
H45637

29
30
31
32
05–542 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบแบตเตอรี่
2 (ก) วัดแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
มาตรฐาน: 11 ถึง 14 โวลท
3 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนแบตเตอรี่
5 ปกติ

10 2 ตรวจเช็คการตอขั้วตอ
(ก) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
11 (ข) ตรวจเช็คดูวาตอขั้วตอเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางถูกตองหรือไม
ปกติ: ขั้วตอยังตออยู
12
บกพรอง ตอขั้วตอ
13 ปกติ

14 3 ตรวจเช็คชุดมาตรวัดรวม

15 ดานชุดสายไฟ (ก) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 2 วินาที


C8 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
ชุดมาตรวัดรวม (ค) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
16 (ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
มาตรฐาน:
17 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
C8-21 - กราวดตัวถัง 8 ถึง 14 โวลท
19 B79298

บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4
26
ปกติ
27
ดูขั้นตอนที่ 6
28
4 เตรียมการตรวจสอบ
29 คําเตือน:
ปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้กอนจะคนหาสาเหตุปญหา เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหถุงลมนิรภัยพองตัวโดยบังเอิญ
30 (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
(ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
31 (ค) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ง) ปลดขั้วตอออกจากแปนแตร
32 ตอไป
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–543

5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง - ชุดมาตรวัดรวมและกราวดตัวถัง) 1


ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัด A14
A14 (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 2
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง มาตรฐาน:
LA
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
A14-14 (LA) - C8-20 ต่ํากวา 1 Ω
5
10
C8 11
ชุดมาตรวัดรวม
12
13
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
G27651
B79298 H45671
14
ปกติ
15
6 เปลี่ยนชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 16
(ก) หลังจากเปลี่ยนเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางแลว ใหตรวจเช็ควาไฟเตือน SRS ติดสวางตามปกติ
ปกติ: ไฟเตือน SRS ติดสวางตามปกติ 17
บกพรอง เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม 19
(ดูหนา 71-16)
ปกติ
26
27
จบขั้นตอน
28
29
30
31
32
05–544 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 วงจรไฟเตือน SRS ทํางานบกพรอง


2 (ไมติดขึ้นเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON)
3 คําอธิบายวงจร
ไฟเตือน SRS จะติดตั้งอยูในมาตรวัดรวม
5 เมื่อระบบเสริมความปลอดภัย (SRS) เปนปกติ ไฟเตือน SRS จะติดขึ้นประมาณ 6 วินาทีหลังจากบิดสวิตชจุดระเบิด
จากตําแหนง OFF ไปยัง ON และจะดับไปเองโดยอัตโนมัติ
10 ถามีขอบกพรองเกิดขึ้นในระบบ ไฟเตือน SRS จะติดขึ้นเพื่อแจงใหคนขับทราบ
เมือ่ ตอขัว้ TC และ CG ของขัว้ ตอ DLC3 แลว รหัสวิเคราะหปญ
 หาจะสือ่ สารผานรูปแบบการกระพริบของไฟเตือน SRS
11
12 ผังวงจรไฟฟา
ดูหนา 05-537
13 ขั้นตอนการตรวจสอบ
คําเตือน:
14 ปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้กอนจะคนหาสาเหตุปญหา เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหถุงลมนิรภัยพองตัวโดยบังเอิญ
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
15 (ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
(ค) ปลดขั้วตอออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
16 (ง) ปลดขั้วตอออกจากแปนแตร
17 1 ตรวจเช็คแบตเตอรี่

19 (ก) วัดแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
มาตรฐาน: 11 ถึง 14 โวลท
26 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนแบตเตอรี่
27 ปกติ

28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–545

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดมาตรวัดรวม - ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางและกราวดตัวถัง) 1


ดานชุดสายไฟ
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
A14 (ข) ตอสายขั้วลบ (-) เขากับแบตเตอรี่อีกครั้ง แลวรออยางนอย 2
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 2 วินาที
LA
(ค) ปลดขั้วตอมาตรวัด A14 3
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(จ) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5
มาตรฐาน:
10
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
C8-21 - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 โวลท
C8
C8-22 - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
11
ชุดมาตรวัดรวม
A14-14 (LA) - C8-20 ต่ํากวา 1 Ω
12
13
G27651
B79298 H45671 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
3 เปลี่ยนชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง 16
(ก) หลังจากเปลี่ยนเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางแลว ใหตรวจเช็ควาไฟเตือน SRS ติดสวางตามปกติ
ปกติ: ไฟเตือน SRS ติดสวางตามปกติ 17
บกพรอง เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม 19
(ดูหนา 71-16)
26
ปกติ
27
จบขั้นตอน
28
29
30
31
32
05–546 การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย

1 วงจรขั้ว TC
2 คําอธิบายวงจร
3 เริ่มโหมดแสดงผลรหัสวิเคราะหปญหาดวยการตอขั้ว TC และ CG ของขั้วตอ DLC3
รหัสวิเคราะหปญหาจะสื่อสารผานรูปแบบการกระพริบของไฟเตือน SRS
5 ผังวงจรไฟฟา
ECU ควบคุมการลื่นไถล ชุด J/B แผงหนาปด
10 Skid Control ECU
แบบมี แอ็คชิวเอเตอร
with Actuator
Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดSide
านคนขั บ)
Airbag Sensor
ชุดเซ็นเซอร ถุงลมนิ รภัยกลาง
(Driver J/B) Assy Center

11 16
P-L
5 4
P-B
15
TC S2 2J 2B A14 TC

12
13 ECM
11 5
P-B
14 TC E5 2Q

15 D1
DLC3

16 P-B
21
TC 2Q
13
17 G
CG
4
19
A
26 J28
J/C

27 A
W-B

28 IF

29 H45638 H46051

30 ขอแนะนํา:
การที่ไฟเตือนแตละดวงยังคงกะพริบอยู อาจมีสาเหตุมาจากการลัดวงจรลงกราวดในสายไฟขั้ว TC ของขั้วตอ DLC3
31 หรือการลัดวงจรลงกราวดภายใน ECU

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเสริมความปลอดภัย 05–547

ขั้นตอนการตรวจสอบ
คําเตือน: 1
ปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้กอนจะคนหาสาเหตุปญหา เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหถุงลมนิรภัยพองตัวโดยบังเอิญ
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
2
(ข) ปลดสายขั้วลบ (-) ออกจากแบตเตอรี่ แลวรออยางนอย 90 วินาที
3
(ค) ปลดขั้วตอตางๆ ออกจากเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
(ง) ปลดขั้วตอตางๆ ออกจากแปนแตร 5
1 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ขั้วตอ DLC3 - ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลางและกราวดตัวถัง)
10
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ดานชุดสายไฟ
D1
มาตรฐาน: 11
DLC3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1 2 3 4 5 6 7 8
D1-13 (TC) - A14-15 (TC) ต่ํากวา 1 Ω 12
D1-4 (CG) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
9 10 111213141516
A14-15 (TC) - กราวดตัวถัง 1 MΩ หรือสูงกวา 13
TC

A14
14
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
15

TC
16
17
A04550
B79312
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 19
H45880

ปกติ
26
เปลี่ยนชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง (ดูหนา 60-25) 27
28
29
30
31
32
05–548 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

ระบบเครื่องเสียง
1
ตําแหนงชิ้นสวน
2
R/B, J/B หองเครื่องยนต
3 z ฟวส DCC
z ฟวส RAD
5 z ฟวสกระแสสูง ALT

10
11
12
13
14
15 ชุดเครื่องรับวิทยุ
ชุด J/B แผงหนาปด
16 (J/B ดานคนขับ)
z ฟวสกระแสสูง AM1
z ฟวส ACC
17
19
26
27
28
29
30
I43613

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–549

ชุดเสาอากาศ
เอ็กซตราแคป ชุดสายอากาศ 1
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
2
ชุดลําโพงหลังดานขวา
3
5
10
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
11
ชุดลําโพงหลังดานซาย
12
13
ดับเบิ้ลแคป
ชุดสายอากาศ ชุดเสาอากาศ
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 14
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
15
ชุดลําโพงหลังดานขวา 16
17
19
26
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
27
ชุดลําโพงหลังดานซาย
28
I43614 29
30
31
32
05–550 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

ผังวงจรระบบ
1
2
3
5 ชุดเสาอากาศ ชุดลําโพงหลัง
ดานซาย
10
11
ชุดลําโพงหลัง
12 ชุดลําโพงหนา ดานขวา
ดานซายตัวที่ 2*
13 ชุดเครื่องรับวิทยุ
ชุดลําโพงหนา
14 ดานซายตัวที่ 1

15 ชุดลําโพงหนา
ดานขวาตัวที่ 2*
16
ชุดลําโพงหนา
17 ดานขวาตัวที่ 1
*: ดับเบิ้ลแคป
19
26 I43624

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–551

คําอธิบายระบบ
คําเตือน: 1
เครื่องเลน CD ใชลําแสงเลเซอรที่ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา ซึ่งอาจทําใหเสี่ยงตอการถูกรังสี ดังนั้นจึงควร
แนใจวาใชงานเครื่องเลนอยางถูกวิธี
2
1. เครื่องเลนคอมแพ็คดิสก 3
(ก) เครือ่ งเลนคอมแพ็คดิสก (ทีเ่ รียกกันวา “เครือ่ งเลน CD”) จะใชลาํ แสงเลเซอรในการอานสัญญาณดิจติ อลทีบ่ นั ทึก
บนแผนคอมแพ็คดิสก (ทีเ่ รียกวา “CD” หรือ “ดิสก”) และสรางสัญญาณอานาล็อกของเสียงดนตรีขนึ้ มาใหม ฯลฯ 5
เครื่องเลน CD นี้สามารถใชกับแผนดิสกที่มีขนาด 12 ซม. (4.7 นิ้ว) และขนาด 8 ซม. (3.2 นิ้ว)
ขอควรระวัง: 10
• หามถอดแยกชิ้นสวนหรือหยอดน้ํามันสวนใดๆ ของชุดเครื่องเลน
• หามใสวัตถุอื่นใดนอกเหนือจากแผนดิสกเขาไปในเครื่องเลน CD 11
2. การบํารุงรักษา 12
ตัวอยาง
หัวเทป เข็มกวานเทป (ก) การทําความสะอาดหัวเทป / เครื่องเลนเทป:
(1) ใชนิ้วมือยกฝาเปดชองเทปคาสเซ็ท จากนั้น ใชดินสอ 13
หรือวัตถุที่คลายกันดันไว
(2) ใชอุปกรณทําความสะอาดหรือกานสําลีชุบน้ํายาทํา 14
ความสะอาดผิวสัมผัสหัวเทป ลูกยางกดเทป และเข็ม
ลูกยางกดเทป N17398
กวานเทป 15
(ข) การทําความสะอาดแผน CD / เครื่องเลน CD: 16
(1) ถาแผน CD สกปรก ใหใชผานุมๆ เช็คทําความสะอาด
ผิว สัมผัสตามแนวรัศมีจากตรงกลางแผนไปยังขอบ 17
ดานนอก
ขอควรระวัง: 19
อยาใชน้ํายาลางหัวเทปทั่วๆ ไปหรือที่มีสารปองกันไฟฟาสถิตย
BE4331 26
3. ระบบการสื่อสาร 27
(ก) อุปกรณตางๆ ในระบบเครื่องเสียงสื่อสารถึงกันโดยใชระบบ AVC-LAN (Audio Visual Communication-Local
Area Network) 28
(ข) เครื่องรับสัญญาณจะมีความตานทานอยูระหวาง 60 ถึง 80 Ω ซึ่งเพียงพอตอการสื่อสาร
(ค) เมื่อระบบ AVC-LAN ลัดวงจรหรือเสียหาย ระบบเครื่องเสียงจะไมทํางานตามปกติเนื่องจากถูกตัดการติดตอ 29
4. ฟงกชั่นวิเคราะหปญหา
(ก) ระบบเครื่องเสียงมีฟงกชั่นวิเคราะหปญหา ซึ่งจะปรากฏผลที่หนาจอ LCD ของชุดเครื่องรับวิทยุ 30
(ข) อุปกรณแตละชิ้นของระบบ AVC-LAN จะมีรหัสอุปกรณ (Physical address) หรือรหัส 3 หลัก (ในเลขฐาน 16)
กํากับไว 31
(ค) ฟงกชั่นแตละสวนและอุปกรณแตละชิ้นของระบบ AVC-LAN จะมีรหัสการทํางาน (Logical address) หรือรหัส
2 หลัก (ในเลขฐาน 16) กํากับไว 32
05–552 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
1 ขอแนะนํา:
ใชขั้นตอนตอไปนี้ในการวิเคราะหปญหาระบบเครื่องเสียง
2
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ
3 ตอไป
5
2 วิเคราะหปญหาของลูกคาและตรวจยืนยันอาการปญหา (ดูหนา 05-554)
10 ตอไป
11
3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
12 มาตรฐาน: 11 ถึง 14 โวลท
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11โวลท ใหชารจแบตเตอรี่กอน
13 ตอไป
14 4 ตรวจสอบเบื้องตน
15 (ก) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ACC
(ข) ตรวจเช็ควาหนาจอปรากฏขึ้นที่ชุดเครื่องรับวิทยุหรือไม
16 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
หนาจอปรากฏขึ้น A
17 หนาจอไมปรากฏขึ้น B

19 B ปฏิบัติตามตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-557)


A
26
5 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
27
(ก) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาและจดบันทึกผลที่ไดไว
28 (ข) ลบรหัสวิเคราะหปญหา
(ค) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาอีกครั้ง ซึ่งขึ้นอยูกับผลของรหัสวิเคราะหปญหาในขอ (ก) ใหพยายามควบคุมผล
29 ของรหัสระบบเครื่องเสียงโดยการจําลองสภาพการทํางานตามรหัสวิเคราะหปญหาที่ได
ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
30 รหัสวิเคราะหปญ หาไมปรากฏขึน้ อีก A
รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏขึ้นอีก B
31
B ดูขั้นตอนที่ 7
32 A
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–553

6 ปฏิบัติตามตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-557) 1


ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน 2
ปญหาที่พบไมมีในตารางสภาพปญหา A
ปญหาที่พบมีในตารางสภาพปญหา B 3
B ดูขั้นตอนที่ 8 5
A
10
7 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม 11
(ก) ขั้วตางๆ ของ ECU (ดูหนา 05-558)
ตอไป
12
13
8 ปรับตั้ง ซอม หรือเปลี่ยน
14
ตอไป
15
จบขั้นตอน
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–554 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบเครือ่ งเสียง ชือ่ ผูตรวจสอบ:
2 หมายเลขตัวถัง
วันทีผ่ ลิต
3 ชื่อลูกคา
หมายเลขทะเบียน
5 วันทีน่ ํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง
กม.
ไมล

10 วันทีเ่ กิดปญหา / /

11 ความถี่ของปญหา
□ สม่ําเสมอ □ บางครั้ง ( ครั้งตอวัน/เดือน)
□ เพียงครั้งเดียว

12 สภาพอากาศ □ ดี □ ครึ้ม □ ฝนตก □ หิมะตก


สภาพอากาศ □ อื่นๆ

13 ขณะเกิดปญหา □ รอน □ อุน □ เย็น □ เย็นจัด


อุณหภูมิภายนอก ๐ ๐
ประมาณ C( F)
14 □ สวิตช
□ วิทยุ
15 อาการปญหา
□ ซีดี
เสียงรบกวน
16 □

การตรวจสอบ ชื่อชิ้นสวน รหัส (ครั้งที่ 1) รหัส (ครั้งที่ 2)


17 รหัสวิเคราะหปญหา ชุดเครื่องรับวิทยุ

19
26
27
28
29
I32867

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–555

การระบุแหลงกําเนิดสัญญาณรบกวน
1. คลื่นวิทยุ 1
(ก) คลืน่ ความถี่วิทยุ
(1) การสงสัญญาณกระจายเสียงจะใชคลื่นวิทยุที่มีความถี่ดังแสดงในตารางขางลางนี้
2

ความถี่ 30 kHz 300 kHz 3 MHz 30 MHz 300 MHz


3
ชวงความถี่ LF MF HF VHF
5
AM FM
คลื่นวิทยุ
การปรับ เปลี่ยนความลึกของคลื่น (AM) เปลี่ยนความถี่ของคลื่น (FM)
10
ขอแนะนํา: 11
LF: ความถี่ต่ํา
MF: ความถี่ปานกลาง 12
HF: ความถี่สูง
VHF: ความถี่สูงมาก 13
2. พื้นที่กระจายเสียง 14
(ก) ขนาดของพื้นที่กระจายเสียง AM และ FM นั้นแตกตางกัน
มาก บางครั้งจึงไมสามารถรับคลื่น FM สเตอริโอได แมจะ 15
สามารถรับคลื่น AM ไดอยางชัดเจนก็ตาม
ไมเพียงแตคลื่น FM สเตอริโอจะมีพื้นที่กระจายเสียงแคบที่ 16
FM (Stereo)
สุดเทานั้น แตยังถูกรบกวนดวยคลื่นสถิตยและอื่นๆ (เสียง
FM (Monaural)
AM รบกวน) ไดงาย
17
BE2818
3. ปญหาในการรับสัญญาณ 19
ขอแนะนํา:
นอกจากปญหาเกีย่ วกับคลืน่ สถิตยแลว ยังมีปญ
 หาเกีย่ วกับเรือ่ ง “คลืน่ 26
แทรก”, “คลื่นแทรกหลายทาง” และ “คลื่นหาย” อีกดวย ปญหา
เหลานี้เกิดจากคลื่นเสียงไฟฟารบกวนและลักษณะตามธรรมชาติ 27
ของคลื่นวิทยุเอง
(ก) สําหรับคลื่นวิทยุ AM นั้น นอกจากจะมีคลื่นไฟฟารบกวนที่ 28
คลื่นแทรก บรรยากาศชัน้ ไอโอโนสเฟยร
เรียกกันวา “คลื่นแทรก”แลว ยังมีความไวตอการรบกวนอื่นๆ
โดยเฉพาะอยางยิ่งในตอนกลางคืน ซึ่งเกิดจากการที่รถรับ 29
สัญญาณคลื่นวิทยุ 2 ชองจากตัวสงตัวเดียวกัน โดยสัญญาณ
ชองหนึ่งจะสะทอนออกไปยังบรรยายกาศชั้นไอโอโนสเฟยร
30
สวนสัญญาณอีกชองจะรับไดโดยตรงจากตัวสง
31
BE2819

32
05–556 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

(ข) คลื่นหลายทางเปนการรบกวนซึ่งเกิดจากการที่รถรับสัญญาณ
คลื่นหลายทาง
1 คลื่นวิทยุ 2 ชองจากตัวสงตัวเดียวกัน โดยสัญญาณชองหนึ่ง
จะสะทอนออกไปยังอาคารหรือภูเขา สวนสัญญาณอีกชองจะ
2 รับไดโดยตรงจากตัวสง

3
5 BE2820

(ค) คลื่ นหายเกิ ดจากการหักเหของสัญญาณบางสวนออกจาก


คลื่นหาย
10 วัตถุ (อาคาร, ภูเขา, อื่นๆ) ทําใหสัญญาณออนลงเมื่อวัตถุนั้น
อยูร ะหวางตัวสงกับตัวรถ คลืน่ วิทยุความถีส่ งู เชนการกระจาย
11 เสียงของคลื่น FM จะหักเหไดงายเมื่อเจอสิ่งกีดขวาง สวน
คลื่นวิทยุความถี่ต่ํา เชนการกระจายเสียงคลื่น AM จะหักเห
12 ไดยากกวา

13
BE2821

4. ปญหาเสียงรบกวน
14 (ก) ชางเทคนิคจะตองเขาใจปญหาเสียงรบกวนของลูกคา ขอแนะนําใหใชตารางดานลางนี้ในการวิเคราะหปญหา
คลื่นวิทยุ สภาวะการเกิดเสียงรบกวน สาเหตุที่สันนิษฐาน
15 AM เสียงรบกวนเกิดขึ้นในบางพื้นที่ เกิดเสียงรบกวนจากคลื่นที่แรงกวา
• เกิดจากมีการถายทอดรายการเดียวกันพรอม
16 AM
เสียงรบกวนเกิดขึ้นขณะรับฟงคลื่นสัญญาณ
กันในหลายๆ สถานี
กระจายเสียงออนๆ อยู
• กรณีนี้ จะมีเพียงรายการเดียวที่ถูกจูนเขา
17 เกิดเสียงแทรกเปนระยะๆ จากสถานีที่อยูไกล
AM เสียงรบกวนเกิดขึ้นเฉพาะตอนกลางคืน
ออกไปไดงาย
19 FM เสียงรบกวนเกิดขึ้นเฉพาะบางที่ขณะขับขี่
เกิดเสียงแทรกและเสียงหายอันเนื่องมาจากการ
เปลี่ยนแปลงของความถี่ FM ไดงาย
26 ขอแนะนํา:
เมื่อเสียงรบกวนที่เกิดขึ้นไมตรงกับตัวอยางขางตน ใหยอนกลับไปที่เรื่อง “ปญหาการรับสัญญาณ” (ขั้นตอนที่ 3) แลวดู
27 คําอธิบายเกี่ยวกับคลื่นแทรกและคลื่นหลายทาง

28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–557

ตารางสภาพปญหา
ขอแนะนํา: 1
ใชตารางขางลางนี้เพื่อชวยในการกําหนดสาเหตุของอาการปญหา ซึ่ง “บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” จะเรียงตามลําดับ
ความเปนไปได ใหทาํ การตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยตรวจดูบริเวณทีค่ าดวาเปนปญหาตามลําดับในรายการ ถาจําเปน
2
ใหเปลี่ยนชิ้นสวน 3
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. ฟวส (DCC, RAD, ACC)
เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON แลว แตระบบเครื่องเสียงไม
2. ชุดสายไฟ 05-566
5
ทํางาน
3. ชุดเครื่องรับวิทยุ
เปดสวิตชไฟหนาแลว ไฟเรืองแสงตอนกลางคืนของเครื่อง 1. ชุดสายไฟ 10
05-568
รับวิทยุไมติดขึ้น 2. ชุดเครื่องรับวิทยุ
1. ชุดสายไฟ 11
ไมไดยินเสียงจากลําโพงในทุกๆ โหมดการทํางาน 2. ชุดลําโพง 05-570
3. ชุดเครื่องรับวิทยุ 12
1. ชุดสายไฟ
คุณภาพเสียงไมดีในทุกๆ โหมดการทํางาน (เสียงเบาเกินไป) 2. ชุดลําโพง 05-583
3. ชุดเครื่องรับวิทยุ
13
1. อุปกรณเสริม
ไมสามารถรับการกระจายเสียงวิทยุได (การรับสัญญาณไมดี) 2. ชุดสายอากาศ 05-597 14
3. ชุดเครื่องรับวิทยุ
1. เทปคาสเซ็ท 15
ไมสามารถใสเทปหรือเลนเทปคาสเซ็ทได 05-599
2. ชุดเครื่องรับวิทยุ
ไมสามารถนําเทปคาสเซ็ทออกจากเครื่องเลนเทปได
1. เทปคาสเซ็ท
05-600
16
2. ชุดเครื่องรับวิทยุ
คุณภาพเสียงไมดีเฉพาะเมื่อเลนเทป
1. เทปคาสเซ็ท
05-601 17
2. ชุดเครื่องรับวิทยุ
เทปพันกันเนื่องจากความเร็วเทปไมถูกตอง หรือการกลับ 1. เทปคาสเซ็ท
เทปอัตโนมัติบกพรอง 2. ชุดเครื่องรับวิทยุ
05-602 19
1. ซีดี
ไมสามารถใสแผน CD หรือหลังจากใสเขาไปแลวถูกดีดออก
2. ชุดเครื่องรับวิทยุ
05-603 26
1. ซีดี
แมวาระบบจะมีไฟเขา แตไมสามารถเลน CD ได
2. ชุดเครื่องรับวิทยุ
05-606 27
1. ซีดี
ไมสามารถนําแผน CD ออกได 05-605
2. ชุดเครื่องรับวิทยุ 28
1. ซีดี
คุณภาพเสียงไมดีเฉพาะเมื่อเลนแผน CD (เสียงเบาเกินไป) 05-608
2. ชุดเครื่องรับวิทยุ 29
1. ซีดี
เสียง CD ขาดหายเปนชวงๆ 2. การติดตั้งวิทยุ 05-609
3. ชุดเครื่องรับวิทยุ
30
เสียงรบกวนเกิดขึ้น - 05-611
31
32
05–558 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

ขั้วตางๆ ของ ECU


1 1. ตรวจเช็คชุดเครื่องรับวิทยุ
2
R1 R2
3
5
10 E34795 I43600

(ก) ปลดขั้วตอตัวรับสัญญาณ R2 และ R3


11 (ข) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
มาตรฐาน:
12 สัญลักษณ(หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
GND (R1-7) - กราวดตัวถัง BR - กราวดตัวถัง กราวด ตลอดเวลา ต่ํากวา 1 Ω
ACC (R1-3) - กราวดตัวถัง GR - กราวดตัวถัง แหลงจายไฟ ACC สวิตชจุดระเบิด ACC 10 ถึง 14 โวลท
13 +B (R1-4) - กราวดตัวถัง L-Y - กราวดตัวถัง แหลงจายไฟแบตเตอรี่ ตลอดเวลา 10 ถึง 14 โวลท
ILL (R1-10) - กราวดตัวถัง G - กราวดตัวถัง สัญญาณไฟสองสวาง สวิตชควบคุมไฟสองสวาง 10 ถึง 14 โวลท
14 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
15 (ค) ตอขั้วตอตัวรับสัญญาณ R2 และ R3 กลับเขาที่
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ
16 มาตรฐาน:
สัญลักษณ(หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
17 RR+ (R2-1) - GND (R1-7) R - BR สัญญาณเสียง (ดานหลังขวา)
ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา
ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
19 RL+ (R2-2) - GND (R1-7) B - BR สัญญาณเสียง (ดานหลังซาย)
ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา
ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
RR- (R2-3) - GND (R1-7) W - BR สัญญาณเสียง (ดานหลังขวา)
26 ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา
ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
RL+ (R2-6) - GND (R1-7) Y - BR สัญญาณเสียง (ดานหลังซาย)
ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา
27 ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
FR+ (R1-1) - GND (R1-7) LG - BR สัญญาณเสียง (ดานหนาขวา)
ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา
28 FL+ (R1-2) - GND (R1-7) P - BR สัญญาณเสียง (ดานหนาซาย)
ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา
29 FR- (R1-5) - GND (R1-7) L - BR สัญญาณเสียง (ดานหนาขวา)
ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา
ระบบเครื่องเสียงกําลัง คลื่นสัญญาณที่มาพรอม
30 FL- (R1-6) - GND (R1-7) V - BR สัญญาณเสียง (ดานหนาซาย)
ทํางาน กับเสียงปรากฏออกมา

31 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวาชุดเครื่องรับสัญญาณอาจบกพรอง
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–559

การตรวจเช็ค/ลบรหัสวิเคราะหปญหา
1. ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา 1
สวิตชตั้งสถานี 1 สวิตชตั้งสถานี 3
สวิตชตั้งสถานี 2
สวิตชตั้งสถานี 5
สวิตชตั้งสถานี 4 สวิตชตั้งสถานี 6 2
3
5
10
SEEK TRACK UP
11
สวิตช DISC SEEK TRACK DOWN

12
I43621

(ก) เริ่มโหมดวิเคราะหปญหา (อุปกรณทั้งหมดติดขึ้นขณะอยูในโหมดตรวจเช็คสวิตช)


(1) ปดระบบเครื่องเสียงและบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ACC ในขณะที่กดสวิตชตั้งสถานี “1” และ “6” 13
พรอมกัน ใหกด “DISC” 3 ครั้ง
ขอแนะนํา: 14
• เมื่อระบบเขาสูโหมดวิเคราะหปญหา เสียงบี๊บจะดังออกมา 3 ครั้ง และอุปกรณทั้งหมดติดขึ้นในระหวางโหมด
การตรวจเช็คสวิตช 15
• ใชเวลาตรวจเช็คเสร็จราว 40 วินาที
• ใหอุปกรณทั้งหมดใน LCD ทํางาน 16
• เมื่อกดสวิตช ใหตรวจยืนยันวาเสียงบี๊บดังออกมา
(ข) หนาจอการตรวจเช็คระบบ
17
(1) กดสวิตช “SEEK TRACK UP” เพื่อเขาสู “หนาจอการตรวจเช็คระบบ”
19
(2) ในโหมดตรวจเช็คระบบนั้น ทั้งระบบและหนวยความจําระบบวิเคราะหปญหาจะไดรับการตรวจเช็ค และ
ผลการตรวจเช็คตางๆ จะปรากฏออกมาตามลําดับรหัสอุปกรณที่สูงขึ้น (Physical address) 26
ศัพท ความหมาย
รหัสอุปกรณ (Physical address)
รหัส 3 หลัก (ในเลขฐาน 16) ซึ่งใหไวกับแตละอุปกรณที่มีระบบ AVC-LAN โดย 27
จะมีสัญลักษณเฉพาะกํากับไวตามฟงกชั่นการทํางาน
รหัส 2 หลัก (ในเลขฐาน 16) ซึ่งใหไวกับแตละฟงกชั่นและชุดอุปกรณในแตละ
รหัสการทํางาน (logical address)
อุปกรณที่มีระบบ AVC-LAN
28
รายการหมายเลขรหัส (Physical address)
หมายเลขรหัส (Physical address) ชื่ออุปกรณ
29
190 ชุดเครื่องรับวิทยุ (Audio head unit)
30
(ค) จบโหมดวิเคราะหปญหา
(1) กดสวิตช “DISC” ประมาณ 2 วินาทีขึ้นไป หรือบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 31
32
05–560 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

(ง) หนาปดแสดงผลโหมดตรวจเช็คระบบ (สําหรับตรวจเช็คสภาพระบบทั้งในอดีตและปจจุบัน)


1 (1) กดสวิตช “SEEK TRACK” เพื่อรับทราบผลการตรวจเช็คของแตละอุปกรณ

2
3
P — ยอมาจาก “physical address” (รหัสอุปกรณ)
5 190— รหัสอุปกรณ

10 good — “ชิน้ สวนเปนปกติ”

11 P — ยอมาจาก physical address (รหัสอุปกรณ)


360 — รหัสอุปกรณ
12
CHEC — “ตองตรวจเช็ค”
13
14 : เลื่อนขึ้น
: เลื่อนลง

15 จากตัวอยาง อุปกรณ 2 ชิน้ (รหัส 190 กับรหัส 360) ปรากฏออกมา อุปกรณที่มีรหัส 190 จะทํางานตามปกติ แตอุปกรณรหัส
360 ตองตรวจเช็ค
16 ผลการตรวจเช็คจะแสดงจากรหัสอุปกรณต่ําสุดไปยังสูงสุด
ถาผูแทนจําหนายไมติดตั้งอุปกรณพเิ ศษที่ใชระบบ AVC-LAN มาให เฉพาะรหัส P 190 เทานั้นที่จะปรากฏออกมา
17 I34696

19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–561

(2) หนาปดแสดงผลการตรวจเช็ค
หนาปด มาจาก ความหมาย การแกไข 1
ตรวจไมพบรหัสวิเคราะหปญหาทั้งใน “โหมดตรวจเช็คระบบ”
good Good (ปกติ) -
และ “โหมดหนวยความจําระบบวิเคราะหปญหา” 2
ตรวจเช็ควงจรแหลงจายไฟ
ระบบจําอุปกรณไดเมื่อปอนรหัสใหอุปกรณนั้นไว แตอุปกรณ และวงจรการสื่อสารของ
NCON No connection นั้นไมมีการตอบสนองตอ “การเรียกโหมดวิเคราะหปญหา อุปกรณที่บงชี้ดวยรหัส
3
ทํางาน (ON)” อุปกรณนั้นๆ (Physical
address) 5
ไปที่โหมดขอมูลราย
ตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหาของ “Exchange” ตั้งแต 1 รหัสขึ้น
ECHN Exchange ไปใน “โหมดตรวจเช็คระบบ” หรือ “โหมดหนวยความจําระบบ
ละเอียดเพื่อตรวจเช็ค 10
บริเวณที่เปนปญหาในราย
วิเคราะหปญหา” โหมดใดโหมดหนึ่ง
การรหัสวิเคราะหปญหา 11
ไปที่โหมดขอมูลราย
เมื่อตรวจไมพบรหัสวิเคราะหปญหาของ “Exchange” แตตรวจ
ละเอียดเพื่อตรวจเช็ค 12
พบรหัสวิเคราะหปญหาตั้งแต 1 รหัสขึ้นไปใน “โหมดตรวจเช็ค
CHEC Check บริเวณที่เปนปญหาโดย
ระบบ” หรือ “โหมดหนวยความจําระบบวิเคราะหปญหา” โหมด
อางอิงจากรายการรหัส
ใดโหมดหนึ่ง
วิเคราะหปญหา 13
ตรวจพบทั้งรหัสวิเคราะหปญหาเกาที่เกี่ยวของและรหัสวิเคราะห
OLD Old version ปญหาใน “โหมดตรวจเช็คระบบ” หรือ “โหมดหนวยความจํา - 14
ระบบวิเคราะหปญหา” โหมดใดโหมดหนึ่ง
ตรวจเช็ควงจรแหลงจายไฟ 15
อุปกรณไมมีการตอบสนองตอ “การเรียกโหมดวิเคราะหปญหา และวงจรการสื่อสารของ
NRES No response ทํางาน (ON)” “การเรียกผลการตรวจเช็คระบบ” และ “การเรียก อุปกรณที่ระบุจากรหัส 16
หนวยความจําระบบวิเคราะหปญหา” อุปกรณนั้นๆ (Physical
address)
17
(3) เมื่อจะตรวจเช็คระบบอีกครั้ง ใหกดสวิตชตั้งสถานี “1”
(จ) โหมดขอมูลรายละเอียด (เมื่อแสดงผลรหัสวิเคราะหปญหาสําหรับอุปกรณที่ขัดของ) 19
(1) ขณะที่ “CHEC” หรือ “ECHN” ปรากฏขึ้น ใหกดสวิตชตั้งสถานี “2” เพื่อไปที่โหมดขอมูลรายละเอียด
(2) กดสวิตช “SEEK TRACK” เพื่อแสดง “ผลการตรวจเช็คระบบ (SYS)” และ “ผลหนวยความจําระบบ 26
วิเคราะหปญหา (CODE)”
27
28
29
30
31
32
05–562 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 โหมดตรวจเช็คระบบ

2
สวิตชตั้งสถานี “3”
3 สวิตชตั้งสถานี “2”
โหมดขอมูลรายละเอียด P—ยอมาจาก “Physical address” (รหัสอุปกรณ)
5 190 —รหัสอุปกรณ

10 SYS—ผลการตรวจเช็คระบบ

1—รหัสตัวที่ 1
11 62 —รหัสการทํางาน
ขอมูลรายละเอียดของ
รหัสตัวที่ 1 จะปรากฏขึ้น
12 47—DTC

13 จะแสดงขอมูลรายละเอียดตอไปอีก
เมื่อตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหามากกวา 1 ตัว
14 CODE—ผลหนวยความจํา
ระบบวิเคราะหปญหา
15
2—รหัสตัวที่ 2
01 —รหัสการทํางาน
16
DC—รหัสวิเคราะหปญหา
17
ขอมูลรายละเอียดของ P—ยอมาจาก “Physical address” (รหัสอุปกรณ)
19 รหัสตัวที่ 2 จะปรากฏขึ้น 360 —รหัสยอย

26 6F—หมายเลขการตรวจเช็คการตอ*

27 05—จํานวนครั้งที่เกิด
(เปนทศนิยม)

28 จะแสดงขอมูลรายละเอียดตอไปอีก
เมื่อตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหามากกวา 1 ตัว
: เลื่อนขึ้น (SEEK TRACK UP)
29 : เลื่อนลง (SEEK TRACK DOWN)
จาก “_P190” ไป “_P190”

30 จากตัวอยาง ตลอดการตรวจเช็คระบบและผลหนวยความจําระบบวิเคราะหปญหา อุปกรณที่มีรหัส 190 จะมี


รหัสวิเคราะหปญหา 2 ตัว: รหัส 47 และ รหัส DC
*: หนาจอนี้จะกะพริบถารหัสวิเคราะหปญหาไมมีรหัสยอย
31 I34695

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–563

(3) รายการที่ปรากฏในโหมดขอมูลรายละเอียด
รหัสจําแนกตาม ขอมูลรายละเอียดจะปรากฏขึ้นตามลําดับเมื่อกดสวิตช 1
การแสดงผลรหัส ความหมาย “SEEK TRACK UP” (ลําดับการแสดงจะยอนกลับเมื่อกด
วิเคราะหปญหา สวิตช “SEEK TRACK DOWN”) 2
รหัสการทํางาน (logical address) →
SYS ผลการตรวจเช็คระบบปรากฏ
รหัสวิเคราะหปญหา 3
รหัสการทํางาน (logical address) →
รหัสวิเคราะหปญหา →
CODE ผลการตรวจเช็คหนวยความจําระบบวิเคราะหปญหาปรากฏ รหัสยอย →
5
หมายเลขยืนยันการตอ →
จํานวนครั้งที่เกิดขึ้น 10
(4) ตรวจเช็คบริเวณที่เปนปญหาในรายการรหัสวิเคราะหปญหา
(5) การกลับสูโหมดตรวจเช็คระบบ ใหกดสวิตชตั้งสถานี “3”
11
2. การลบรหัสวิเคราะหปญหา
12
(ก) การลบหนวยความจํารหัสวิเคราะหปญ  หาทีละรหัส (เมือ่ ลบหนวยความจํารหัสวิเคราะหปญ
 หาทีต่ รวจพบในอดีต
ทีละตัว) 13
(1) กดสวิตชตั้งสถานี “5” ประมาณ 2 วินาทีหรือนานกวานั้นขณะที่ “ECHN” ปรากฏขึ้นในโหมดตรวจเช็ค
ระบบ หรือในระหวางโหมดแสดงขอมูลรายละเอียด 14
ขอแนะนํา:
• จะไดยินเสียงบี๊บ 1 ครั้ง เมื่อเสร็จสิ้นการลบหนวยความจํารหัสวิเคราะหปญหา 15
• เมื่อหนวยความจํารหัสวิเคราะหปญหาถูกลบออก จะมีเฉพาะรหัสอุปกรณที่ใช (Physical address) ปรากฏขึ้น
• การตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา ใหกดสวิตชตั้งสถานี “1” และทําการตรวจเช็คระบบอีกครั้ง 16
(ข) การลบหนวยความจํารหัสวิเคราะหปญหาทั้งหมด (เมื่อลบหนวยความจํารหัสวิเคราะหปญหาทั้งหมดที่ตรวจพบ
ในอดีต) 17
(1) เริ่มตนโหมดวิเคราะหปญหาหลังจากซอมบริเวณที่เปนปญหา
(2) กดสวิตชตั้งสถานี “5” ประมาณ 2 วินาทีขึ้นไป (“CLR” จะปรากฏขึ้นในขณะนั้น) 19
ขอแนะนํา:
• จะไดยินเสียงบี๊บ 1 ครั้ง เมื่อเสร็จสิ้นการลบหนวยความจํารหัสวิเคราะหปญหา 26
• เมือ่ หนวยความจํารหัสวิเคราะหปญ  หาสําหรับอุปกรณทงั้ หมดถูกลบออกไป จะมีเพียงรหัสอุปกรณ (Physical address)
ปรากฏขึ้นเทานั้น 27
(3) กดสวิตชตั้งสถานี “1” เพื่อทําการตรวจเช็คระบบอีกครั้ง และตรวจเช็ควาไมมีรหัสวิเคราะหปญหาปรากฏ
ขึ้นสําหรับรหัสอุปกรณทั้งหมด (Physical address)
28
(ค) จบโหมดวิเคราะหปญหา 29
(1) กดสวิตช “DISC” ประมาณ 2 วินาทีขึ้นไป หรือบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
30
31
32
05–564 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
1 ศัพท ความหมาย
รหัสอุปกรณ (physical address) • รหัส 3 หลัก (ในเลขฐาน 16) ซึ่งใหไวกับแตละอุปกรณที่มีระบบ AVC-LAN
2 • จะมีสัญลักษณเฉพาะกํากับไวตามฟงกชั่นการทํางาน
รหัสการทํางาน (logical address) รหัส 2 หลัก (ในเลขฐาน 16) ซึ่งใหไวกับแตละฟงกชั่นและชุดอุปกรณในแตละ
อุปกรณที่มีระบบ AVC-LAN
3
ขอแนะนํา:
5 หัวขอของแตละชุดอุปกรณจะแสดงเปนลําดับดังนี้: รหัสอุปกรณ (ชื่ออะไหล)
1. 190 (ชุดเครื่องรับวิทยุ)
(ก) รหัสการทํางาน: 01 (การควบคุมการสื่อสาร)
10 รหัส หัวขอการวิเคราะห รายละเอียดการวิเคราะห การแกไขและชิ้นสวนที่ตรวจสอบ
D6 ไมมีสัญญาณใดๆ อุปกรณที่มีรหัสนี้บันทึกไวถูกปลดออกจาก • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบจายไฟ
11 *1
ระบบหรืออุปกรณหลักแลวขณะสวิตชจุด ของชุดเครื่องรับวิทยุ
ระเบิดอยูที่ตําแหนง ACC หรือ ON • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบสื่อสาร

12 ของชุดเครื่องรับวิทยุ
D8 ไมมีการตอบสนองตอการตรวจเช็คการตอ อุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอยถูกปลดหรือได • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบจายไฟ
*2
ขั้ว ปลดออกจากระบบแลวหลังจากเครือ่ งยนต ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
13 สตารทติด • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบสื่อสาร
ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
14 D9 โหมดลาสุดที่ใชงานเสีย
*1
ขณะสวิตชจุดระเบิดอยูที่ ACC หรือ ON • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบจายไฟ
อุปกรณเครื่องเสียงหรือวีดิทัศนที่ใชงาน ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
กอนเครื่องยนตดับถูกปลดหรือไดปลดออก • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบสื่อสาร
15 จากระบบแลว ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
DA ไมมีการตอบสนองตอคําสั่ง ON/OFF ไมพบวามีการตอบสนองเมื่อเปลี่ยนโหมด • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบจายไฟ
16 การทํางาน (โหมดเครื่องเสียงและการ ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
เปลี่ยนโหมดวีดิทัศน) • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบสื่อสาร
เมื่อกดปุมแลว ภาพและเสียงไมมีการเปลี่ยน ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
17 แปลง • ถาเกิดการผิดพลาดขึ้นอีกครั้ง ใหเปลี่ยน
อุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
19 DB สถานะโหมดผิดพลาด ตรวจพบสัญญาณคู • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบจายไฟ
*1
ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
• ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบสื่อสาร
26 ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
DC การสงผานขอมูลผิดพลาด การสงผานขอมูลไปยังอุปกรณที่แสดงดวย ถารหัสยอยตัวเดียวกันถูกบันทึกไวใน
27 *3 รหัสยอยลมเหลว อุปกรณอื่น ใหตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับ
(การตรวจพบรหัสวิเคราะหปญหานี้ไมจํา ระบบการสื่อสารและระบบจายไฟของ
28 เปนตองหมายถึงมีขอขัดของอยูจริง) อุปกรณตามรหัสทั้งหมด ไมเชนนั้น ใหลบ
รหัสวิเคราะหปญหาแลวตรวจเช็คซ้ํา
DD การปรับตั้งอุปกรณหลักใหม หลังจากสตารทเครื่องยนตและอุปกรณหลัก • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบจายไฟ
29 *4 (การหยุดชะงักชั่วคราว) ถูกปลดออกจากระบบแลว ของชุดเครื่องรับวิทยุ
• ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบสื่อสาร

30 ของชุดเครื่องรับวิทยุ
• ถาเกิดความผิดพลาดเชนนี้บอยครั้งให
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
31 DE การปรับตั้งอุปกรณรองใหม หลังจากสตารทเครื่องยนตและอุปกรณที่ • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบจายไฟ
*4 (การหยุดชะงักชั่วคราว) แสดงดวยรหัสยอยถูกปลดออกจากระบบ ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
32 แลว • ตรวจเช็คชุดสายไฟสําหรับระบบสื่อสาร
ของอุปกรณที่แสดงดวยรหัสยอย
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–565

รหัสการทํางาน: 01 (การควบคุมการสื่อสาร) ตอ


รหัส หัวขอการวิเคราะห รายละเอียดการวิเคราะห การแกไขและชิ้นสวนที่ตรวจสอบ 1
E0 ความผิดพลาดในคําสั่งบันทึกขอมูลให ไมสามารถรับคําสัง่ “Registration Completion เนื่องจากรหัสวิเคราะหปญหานี้มีไวเพื่อจุด
2
*1
สมบูรณ Instruction” จากอุปกรณหลักได ประสงคทางดานวิศวกรรมศาสตร จึงอาจ
ตรวจพบไดเมื่อไมมีขอมูลขัดของอยูจริง
E2 ความผิดพลาดของตัวแปรคําสั่ง ON/OFF เกิดขอผิดพลาดขึ้นในคําสั่งควบคุม เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
ON/OFF จากอุปกรณหลัก 3
E3 มีสัญญาณขอใหบันทึกขอมูล เมื่อคําสั่งขอใหบันทึกขอมูลปรากฏออกมา เนื่องจากรหัสวิเคราะหปญหานี้มีไวเพื่อจุด
*1
จากอุปกรณยอยหรือเมื่อคําสั่งขอใหบันทึก ประสงคทางดานวิศวกรรมศาสตร จึงอาจ 5
ขอมูลปรากฏออกมาเมื่อรับคําสั่งการตอขั้ว ตรวจพบไดเมื่อไมมีขอมูลขัดของอยูจริง
จากอุปกรณยอย
E4 ยกเลิกโครงรางเอนกประสงค การสงผานสัญญาณโครงรางเอนกประสงค เนื่องจากรหัสวิเคราะหปญหานี้มีไวเพื่อจุด
10
*1
ถูกยกเลิก ประสงคทางดานวิศวกรรมศาสตร จึงอาจ
ตรวจพบไดเมื่อไมมีขอมูลขัดของอยูจริง 11
ขอแนะนํา:
*1
: แมวาจะตรวจไมพบความบกพรอง แตรหัสนี้อาจถูกบันทึกเก็บไว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพของแบตเตอรี่หรือแรงดันไฟ 12
ฟาในการสตารทเครื่องยนต
*2
: รหัสจะถูกบันทึกเก็บไวใน 180 วินาที หลังจากที่เครื่องยนตสตารทติดแลวขั้วตอแหลงจายไฟถูกปลดออก
13
3
* : ถาบิดสวิตชสตารทไปที่ตําแหนง START อีกครั้งขณะเครื่องยนตทํางาน รหัส DC อาจถูกบันทึกไว
14
*4: ถาสวิตชสตารทอยูใ นตําแหนง START เปนเวลา 1 นาทีขนึ้ ไปกอนบิดกลับไปทีต่ าํ แหนง ON รหัสนีอ้ าจถูกบันทึกไว
(ข) รหัสการทํางาน: 61 (สวิตชคาสเซ็ท) 15
รหัส หัวขอการวิเคราะห รายละเอียดการวิเคราะห การแกไขและชิ้นสวนที่ตรวจสอบ
40 กลไกการสื่อสารเสีย ตรวจพบขอผิดพลาดเนื่องมาจากกลไกเสีย • ตรวจสอบเทปคาสเซ็ท (ดูหนา 67-5)
หรือเทปขาดหรือพันกัน • เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
16
(ค) รหัสการทํางาน: 62 (เครื่องเลน CD)
รหัส หัวขอการวิเคราะห รายละเอียดการวิเคราะห การแกไขและชิ้นสวนที่ตรวจสอบ 17
42 ไมอานแผน CD ไมสามารถอานแผน CD ได • ตรวจสอบแผน CD
• ทําความสะอาดเลนสของเครื่องเลน CD 19
• เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
44 เครื่องเลน CD เสีย ตรวจพบขอผิดพลาดในเครื่องเลน CD • ตรวจสอบแผน CD (รอยแตก, วัตถุแปลก 26
ปลอม)
• เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 27
45 EJECT เสีย ไมสามารถนํากลองแม็กกาซีนออกได เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
46 แผน CD กลับดานหรือเปนรอยขีดขวน พบวาผิวหนาแผน CD เปนรอยขีดขวนหรือ ตรวจสอบแผน CD
สกปรก หรือใสแผน CD คว่ําดานบนลง 28
47 การตรวจจับอุณหภูมิสูง ตรวจจับไดวามีอุณหภูมิสูงในเครื่องเลน CD ขณะสวิตชจุดระเบิด OFF ปลอยรถทิ้งไวให
เย็นลงในที่รมชั่วขณะและตรวจเช็คซ้ํา ลบ 29
หนวยความจํารหัสวิเคราะหปญหาแลว
ตรวจเช็ครหัสซ้ํา 30
ถาตรวจพบรหัสตัวเดิม ใหเปลี่ยนชุดเครื่อง
รับวิทยุ
48 การตรวจพบกระแสไฟฟาเกิน มีกระแสไฟเกินในเครื่องเลน CD เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 31
32
05–566 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON แลว แตระบบเครื่องเสียงไมทํางาน


2 คําอธิบายผังวงจร
3 วงจรนี้ใหกระแสไฟฟากับเครื่องรับวิทยุ
ผังวงจรไฟฟา
5
10
11 R/B, J/BRoom
Engine หองเครืR/B,
่องยนต
J/B
Radio Receiver
ชุAssy
ดเครื่องรับวิทยุ

12 DCC RAD
1
L-Y
2
IF2 L-Y
4
R1 +B
1 2 1 2

13 W
1
1A
ALT 1
1F B

14
ชุด J/B แผงหนาปด
15 I6
I6
ชุดสวิตชSwitch
Ignition จุดระเบิAssy

Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดานคนขั
(Driver Side บ )
J/B)

2 1
16 2 ACC
B-R 2A
AM1
2G
AM1 4 2 1

17 L-R
12 ACC
24
GR
3
2C 2N R1 ACC

19
7
BR R1 GND
26
แบตเตอรี
Battery ่
27 ID

28
I43602

29
30
31
32
05–568 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 เมื่อเปดสวิตชไฟสองสวางแลว แตไฟเรืองแสงตอนกลางคืนของ
2 เครื่องรับวิทยุไมติดขึ้น
3 คําอธิบายผังวงจร
แผงเครื่องรับวิทยุจะติดขึ้นเมื่อสวิตชไฟสองสวางอยูที่ตําแหนง TAIL หรือ HEAD
5 ผังวงจรไฟฟา
10
11 ชุด J/B แผงหนาปด
Instrument Panel J/B Assy Radio Receiver
(J/B ดาSide
(Driver นคนขัJ/B)
บ) ชุAssy
ดเครื่องรับวิทยุ
12
12 24 10
G 2Q 2P G R1 ILL+B
13
C10
14 Combination
C10
สวิ ตชรวม
Switch
7 7
G
15 2S 2R
8

16 B
1
2G
TAIL 5
2C G-W
5
17
19 1 1F

J/B หองเครื่องยนต
26 ALT Engine Room J/B

7
27 1 1A BR R1 GND

28 W

29 แบตเตอรี่
Battery ID

30
31 I43601

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–569

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบไฟเรืองแสงตอนกลางคืน
2
(ก) เปดสวิตชไฟสองสวางและตรวจเช็คการเรืองแสงตอนกลางคืนจากดานในของรถ
ผลที่ได: 3
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
เฉพาะไฟเรืองแสงตอนกลางคืนของเครื่องรับวิทยุเทานั้นที่ไมทํางาน A
ไฟเรืองแสงตอนกลางคืนทั้งหมดไมทํางาน B
5
B ดูที่ระบบมาตรวัดรวม 10
(ดูหนา 05-622)
11
A
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ – แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)
13
ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
R1 (ข) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ 14
ชุดเครื่องรับวิทยุ
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 15
สวิตชควบคุมไฟสองสวาง
ILL+B (R1-10) -
1. OFF → 1. 0 →
ILL+B กราวดตัวถัง
2. TAIL หรือ HEAD 2. 10 ถึง 14 โวลท
16
GND I43605
GND (R1-7) -
กราวดตัวถัง
คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 17
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 19
ปกติ 26
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 27
28
29
30
31
32
05–570 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 ไมไดยินเสียงจากลําโพงในทุกๆ โหมดการทํางาน
2 คําอธิบายผังวงจร
3 เครื่องรับวิทยุจะสงสัญญาณเสียงไปยังลําโพง
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–571

ผังวงจรไฟฟา
1
ชุRadio
ดเครื่องรัReceiver
บวิทยุ
From L-Y
4
Assy
2
จากแบตเตอรี
Battery ่ R1 +B

From
จากสวิตชSwitch
Ignition จุดระเบิด GR
3
R1 ACC 3
V*1
T23
T23 Front No. 2 Speaker
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
Assy LH*2 *2 5
5 6
V*2 V*2 IB1 V R1 FL-
S15
S15
Front No. 1
ชุดลําโพงหน า
2 1 2 10
Speaker Assy
ดานซายตัวที่ 1
LH
1
6 2
P*2
3 4
P*2 IB1 P R1 FL+ 11
P*1

T24 T24 L*1 12


Front No. 2 Speaker
*2
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
Assy RH*2

S16
L*2 L*2
7
II1 L
4
IH1 L
5
R1 FR- 13
S16 2 1 2
ชุดลําโพงหน
Front No. 1 า
ดานขวาตัAssy
Speaker
RH
วที่ 1 1 LG*2 LG*2 8
LG
9
LG
1
R1 FR+
14
II1 IH1
3 4
LG*1 15
B*1
*2
S17 , S19 *1 R*2
1
BB1 B*2
2
IH1 B
2
R2 RL+ 16
S17*2, S19*1 1
ชุดลําโพงหลั
Rear Speakerง
ดานซาย
Assy LH
2 W*2
2
Y*2
1
Y
6 17
BB1 IH1 R2 RL-

Y*1 19
R*1

*2
S18 , S20 *1 R*2
1
BC1 R*2
6
IH1 R
1
R2 RR+ 26
S18*2, S20*1 1
ชุดลําSpeaker
Rear โพงหลัง
Assy RH
ดานขวา 2 W*2
2
W*2
5
W
3 27
BC1 IH1 R2 RR-

28
77
W*1 BR
R1 GND
*1
: เอ็กซตราแคป ID
*1:*2Extra
: ดับเบิCab
้ลแคป
*2: Double Cab
29
I43611

30
31
32
05–572 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คลําโพง
2
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงมีเสียงดังออกมาหรือไม
3 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
ลําโพงทุกตัวเสียงไมดัง A
5 ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 เสียงไมดัง*1 B
ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 เสียงไมดัง*1 C
10 ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 เสียงไมดัง*2 D
ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 เสียงไมดัง*2 E
11 ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 เสียงไมดัง*2 F
ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 เสียงไมดัง*2 G
12 ลําโพงหลังดานขวาเสียงไมดัง H
ลําโพงหลังดานซายเสียงไมดัง I
13 ขอแนะนํา:
*1
: เอ็กซตราแคป
14 *2
: ดับเบิ้ลแคป
15 B ดูขั้นตอนที่ 2

16 C ดูขั้นตอนที่ 4

17 D ดูขั้นตอนที่ 6

19 E ดูขั้นตอนที่ 10

26 F ดูขั้นตอนที่ 14

27 G ดูขั้นตอนที่ 16

28 H ดูขั้นตอนที่ 18

I ดูขั้นตอนที่ 20
29
A
30
ดูขั้นตอนที่ 22
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–573

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ – ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง 2
R1 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-1 (FR+) - S16-1 ต่ํากวา 1 Ω 5
FR+ R1-5 (FR-) - S16-2 ต่ํากวา 1 Ω
FR-
R1-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
R1-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 11
12
13
I43605
I43609 I44961
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ 15
3 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 16
(ก) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง 17
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω 26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
I43619
(ดูหนา 67-7) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–574 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ – ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1)


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ S16 ของลําโพง
R1 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R1-1 (FR+) - S16-1 ต่ํากวา 1 Ω
FR+ R1-5 (FR-) - S16-2 ต่ํากวา 1 Ω
10 FR-
R1-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
R1-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1

12
13
14
I43605
I43609 I44961 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ
15
5 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
16
(ก) ปลดขั้วตอ S15 ของลําโพง
17 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
27
I43619
(ดูหนา 67-7)
ปกติ
28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
29
6 ตรวจเช็คชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
30
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 มีเสียงดังออกมาหรือไม
ปกติ: ลําโพงมีเสียงดัง
31
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 14
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–575

7 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 - ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2) 1


(ก) ปลดขั้วตอ S16 และ T24 ของลําโพง
ดานชุดสายไฟ (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 2
มาตรฐาน:
S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
S16-1 - T24-1 ต่ํากวา 1 Ω
S16-2 - T24-3 ต่ํากวา 1 Ω 5
S16-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S16-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
11
T24
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
12
13
14
I43609
I43610 I43616
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ 15
8 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 16
(ก) ปลดขั้วตอ T24 ของลําโพง 17
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ต่ํากวา 1 Ω 26
3-4 ต่ํากวา 1 Ω
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
I43617
3 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
27
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 28
(ดูหนา 67-9)
29
ปกติ
30
31
32
05–576 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 9 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
(ก) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง
2 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
5
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
10 I43619
(ดูหนา 67-7)
ปกติ
11
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
12
10 ตรวจเช็คชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
13
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 มีเสียงดังหรือไม
14 ปกติ: ลําโพงมีเสียงดัง
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 16
15
ปกติ
16
11 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 - ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2)
17 (ก) ปลดขั้วตอ S15 และ T23 ของลําโพง
ดานชุดสายไฟ (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
19 มาตรฐาน:
S15
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
26 S15-1 - T23-1 ต่ํากวา 1 Ω
S15-2 - T23-3 ต่ํากวา 1 Ω
27 S15-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S15-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
28
29 T23
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2

30
31 I43609
I43610 I43616 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–577

12 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 1
(ก) ปลดขั้วตอ T23 ของลําโพง
(ข) วัดความตานทานของลําโพง 2
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 ต่ํากวา 1 Ω
3-4 ต่ํากวา 1 Ω 5
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
I43617
3 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
บกพรอง เปลีย่ นชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 (ดูหนา 67-9) 11
ปกติ
12
13 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 13
(ก) ปลดขั้วตอ S15 ของลําโพง
(ข) วัดความตานทานของลําโพง 14
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
15
1-2 ประมาณ 4 Ω
16
I43619
บกพรอง เปลีย่ นชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 (ดูหนา 67-7) 17
ปกติ 19
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 26
27
28
29
30
31
32
05–578 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 14 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2)


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ T24 ของลําโพง
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 R1
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R3-1 (FR+) - T24-2 ต่ํากวา 1 Ω
R3-5 (FR-) - T24-4 ต่ํากวา 1 Ω
10 FR+
R3-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
FR- R3-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
T24
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
12
13
I43605

14 I43610 I43618 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ


ปกติ
15
16 15 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
(ก) ตรวจเช็ควาเมื่อติดตั้งลําโพงอีกตัวที่อยูในสภาพดีแลว ความผิดปกติหายไปหรือไม
17 ปกติ: ความผิดปกติหายไป
ขอแนะนํา:
19 • ตอขั้วตอทั้งหมดของลําโพง
• เมื่อสงสัยวาลําโพงหนาดานซายหรือขวาเสีย ใหตรวจสอบโดยการสลับกันฟงทีละดาน
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
27 (ดูหนา 67-9)

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–579

16 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ T23 ของลําโพง 2
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
R1
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-2 (FL+) - T23-2 ต่ํากวา 1 Ω 5
R1-6 (FL-) - T23-4 ต่ํากวา 1 Ω
FL+
R1-2 (FL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
FL- R1-6 (FL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
T23
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
12
13
I43605
I43610 I43618 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
17 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 16
(ก) ตรวจเช็ควาเมื่อติดตั้งลําโพงอีกตัวที่อยูในสภาพดีแลว ความผิดปกติหายไปหรือไม
ปกติ: ความผิดปกติหายไป 17
ขอแนะนํา:
• ตอขั้วตอทั้งหมดของลําโพง 19
• เมื่อสงสัยวาลําโพงหนาดานซายหรือขวาเสีย ใหตรวจสอบโดยการสลับกันฟงทีละดาน
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
(ดูหนา 67-9) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–580 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 18 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหลังดานขวา)


(ก) ปลดขั้วตอ R2 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
R2
(ข) ปลดขัว้ ตอ S18 หรือ S20 ของลําโพง
ชุดเครื่องรับวิทยุ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 มาตรฐาน:
RR+
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R2-1 (RR+) - S20-1*1 ต่ํากวา 1 Ω
RR- R2-3 (RR-) - S20-2*1 ต่ํากวา 1 Ω
10 R2-1 (RR+) - S18-1*2 ต่ํากวา 1 Ω
*2 *1
S18 , S20 R2-3 (RR-) - S18-2*2 ต่ํากวา 1 Ω
11 ชุดลําโพงหลังดานขวาตัวที่ 1 R2-1 (RR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
R2-3 (RR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12
13 *1
I43604
: เอ็กซตราแคป
*2
14 I43609 : ดับเบิ้ลแคป I43620
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ
15
16 19 ตรวจสอบชุดลําโพงหลังดานขวา
(ก) ปลดขั้วตอ S18 หรือ S20 ของลําโพง
17 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหลังดานขวา
27 I43619
(ดูหนา 67-10)

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–581

20 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหลังดานซาย) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R2 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ 2
R2
(ข) ปลดขัว้ ตอ S17 หรือ S19 ของลําโพง
ชุดเครื่องรับวิทยุ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
RL+ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R2-2 (RL+) - S19-1*1 ต่ํากวา 1 Ω 5
RL-
R2-6 (RL-) - S19-2*1 ต่ํากวา 1 Ω
R2-2 (RL+) - S17-1*2 ต่ํากวา 1 Ω 10
*2 *1
S17 , S19 R2-6 (RL-) - S17-2*2 ต่ํากวา 1 Ω
ชุดลําโพงหลังดานซาย R2-2 (RL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 11
R2-2 (RL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12

*1
13
I43604
: เอ็กซตราแคป
*2
I43609 : ดับเบิ้ลแคป I43620
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
21 ตรวจสอบชุดลําโพงหลังดานซาย 16
(ก) ปลดขั้วตอ S17 หรือ S19 ของลําโพง
17
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหลังดานซาย
I43619 (ดูหนา 67-10) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–582 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 22 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)

ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 R1 (ข) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดเครื่องรับวิทยุ
มาตรฐาน:
3 +B
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-3 (ACC) -
5 ACC กราวดตัวถัง
สวิตชจุดระเบิด ACC 10 ถึง 14 โวลท

GND R1-4 (+B) - กราวดตัวถัง คงที่ 10 ถึง 14 โวลท


10 I43605
R1-7 (GND) -
คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
11
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
12 ปกติ

13 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–583

คุณภาพเสียงไมดีในทุกๆ โหมดการทํางาน (เสียงเบาเกินไป) 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เครื่องรับวิทยุจะสงสัญญาณเสียงไปยังลําโพง 3
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–584 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

ผังวงจรไฟฟา
1
ชุRadio
ดเครื่องรัReceiver
บวิทยุ
2 From L-Y
4
Assy

จากแบตเตอรี
Battery ่ R1 +B

3 From
จากสวิตชSwitch
Ignition จุดระเบิด GR
3
R1 ACC
V*1
T23
5 T23 Front No. 2 Speaker
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
Assy LH*2 *2
5 6
V*2 V*2 IB1 V R1 FL-
10 S15
S15
Front No. 1
ชุดลําโพงหน า
2 1 2
Speaker Assy
ดานซายตัวที่ 1
LH
1
6 2
11 P*2
3 4
P*2 IB1 P R1 FL+

P*1
12 T24 T24 L*1
Front No. 2 Speaker
*2
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
Assy RH*2

13 S16
L*2 L*2
7
II1 L
4
IH1 L
5
R1 FR-
S16 2 1 2
ชุดลําโพงหน
Front No. 1 า
14 ดานขวาตัAssy
Speaker
RH
วที่ 1 1 LG*2 LG*2 8
LG
9
LG
1
R1 FR+
II1 IH1
3 4
15 LG*1

B*1
16 *2
S17 , S19 *1 R*2
1
BB1 B*2
2
IH1 B
2
R2 RL+
S17*2, S19*1 1
ชุดลําโพงหลั
Rear Speakerง
17 ดานซาย
Assy LH
2 W*2
2
Y*2
1
Y
6
BB1 IH1 R2 RL-

19 Y*1

R*1
26 *2
S18 , S20 *1 R*2
1
BC1 R*2
6
IH1 R
1
R2 RR+
S18*2, S20*1 1
ชุดลําSpeaker
Rear โพงหลัง
27 Assy RH
ดานขวา 2 W*2
2
W*2
5
W
3
BC1 IH1 R2 RR-

28 W*1 BR 7
R1 GND
*1
: เอ็กซตราแคป ID
29 *1:*2Extra
: ดับเบิCab
้ลแคป
*2: Double Cab
I43611

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–585

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ปรับคุณภาพเสียง
2
(ก) ใชงานชุดเครื่องรับวิทยุเพื่อปรับคุณภาพเสียง
ปกติ: คุณภาพเสียงกลับเปนปกติ 3
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
5
ปกติ
10
ระบบปกติ (คุณภาพเสียงไมดี)
11
2 เปรียบเทียบกับรถอีกคันในรุนเดียวกัน
12
(ก) เปรียบเทียบกับรถคันอื่นที่ระบบเครื่องเสียงทํางานปกติ โดยตรวจเช็ความีความแตกตางหรือไม
ปกติ: ไมพบความแตกตาง 13
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3 14
ปกติ
15
ระบบปกติ (คุณภาพเสียงไมดี)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–586 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 3 ตรวจเช็คลําโพง
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงมีเสียงดังหรือไม
2 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขั้นตอน
3 ลําโพงทุกตัวเสียงไมดัง A
ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 เสียงไมดัง*1 B
5 ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 เสียงไมดัง*1 C
ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 เสียงไมดัง*2 D
10 ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 เสียงไมดัง*2 E
ลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 เสียงไมดัง*2 F
11 ลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 เสียงไมดัง*2 G
ลําโพงหลังดานขวาเสียงไมดัง H
ลําโพงหลังดานซายเสียงไมดัง I
12
ขอแนะนํา:
13 *1

*2
: เอ็กซตราแคป
: ดับเบิ้ลแคป
14
B ดูขั้นตอนที่ 4
15 C ดูขั้นตอนที่ 6
16 D ดูขั้นตอนที่ 8
17 E ดูขั้นตอนที่ 12
19 F ดูขั้นตอนที่ 16
26 G ดูขั้นตอนที่ 18
27 H ดูขั้นตอนที่ 20
28 I ดูขั้นตอนที่ 22

29 A

30 ดูขั้นตอนที่ 24
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–587

4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ S16 ของลําโพง 2
R1 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-1 (FR+) - S16-1 ต่ํากวา 1 Ω 5
FR+ R1-5 (FR-) - S16-2 ต่ํากวา 1 Ω
FR-
R1-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
R1-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 11
12
13
I43605
I43609 I44961 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
5 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 16
(ก) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง
(ข) วัดความตานทานของลําโพง 17
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
19
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
I43619
(ดูหนา 67-7) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–588 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1)


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ S15 ของลําโพง
R1 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R1-2 (FL+) - S15-1 ต่ํากวา 1 Ω
R1-6 (FL-) - S15-2 ต่ํากวา 1 Ω
10 FL+
FL-
R1-2 (FL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
R1-6 (FL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 S15
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1

12
13
14
I43605
I43609 I44961 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ
15
7 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
16
(ก) ปลดขั้วตอ S15 ของลําโพง
17 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
27 I43619
(ดูหนา 67-7)
ปกติ
28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
29
8 ตรวจเช็คชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
30
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 เสียงดังหรือไม
31 ปกติ: ลําโพงมีเสียงดัง
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 16
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–589

9 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 - ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2) 1


(ก) ปลดขั้วตอ S16 และ T24 ของลําโพง
ดานชุดสายไฟ (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 2
มาตรฐาน:
S16
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
S16-1 - T24-1 ต่ํากวา 1 Ω
S16-2 - T24-3 ต่ํากวา 1 Ω 5
S16-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S16-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
11
T24
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
12
13
I43609
I43610 I43616 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
10 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 16
(ก) ปลดขั้วตอ T24 ของลําโพง
(ข) วัดความตานทานของลําโพง 17
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
19
1-2 ต่ํากวา 1 Ω
3-4 ต่ํากวา 1 Ω 26
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
I43617
3 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 27
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2 28
(ดูหนา 67-9)
ปกติ 29
30
31
32
05–590 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 11 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1
(ก) ปลดขั้วตอ S24 ของลําโพง
2 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
5
10 I43619 บกพรอง เปลีย่ นชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 1 (ดูหนา 67-7)
ปกติ
11
12 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
12 ตรวจเช็คชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
13
(ก) ตรวจเช็ควาลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 เสียงดังหรือไม
14 ปกติ: ลําโพงมีเสียงดัง
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 18
15
ปกติ
16
13 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 - ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2)
17 (ก) ปลดขั้วตอ S15 และ T23 ของลําโพง
ดานชุดสายไฟ (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
19 มาตรฐาน:
S15
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
26 S15-1 - T23-1 ต่ํากวา 1 Ω
S15-2 - T23-3 ต่ํากวา 1 Ω
27 S15-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S15-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
28
29 T23
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
30
31 I43609
I43610 I43616 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–591

14 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 1
(ก) ปลดขั้วตอ T23 ของลําโพง
(ข) วัดความตานทานของลําโพง 2
มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3
1-2 ต่ํากวา 1 Ω
3-4 ต่ํากวา 1 Ω 5
1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
I43617
3 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 11
(ดูหนา 67-9)
ปกติ 12
13
15 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1
(ก) ปลดขั้วตอ S16 ของลําโพง 14
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
16
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 1 17
I43619
(ดูหนา 67-7)
19
ปกติ
26
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)
27
28
29
30
31
32
05–592 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 16 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2)


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ T24 ของลําโพง
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 R1
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R1-1 (FR+) - T24-2 ต่ํากวา 1 Ω
R1-5 (FR-) - T24-4 ต่ํากวา 1 Ω
10 FR+
R1-1 (FR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
FR- R1-5 (FR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
T24
ชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
12
13
I43605

14 I43610 I43618 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ


ปกติ
15
16 17 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
(ก) ตรวจเช็ควาเมื่อติดตั้งลําโพงอีกตัวที่อยูในสภาพดีแลว ความผิดปกติหายไปหรือไม
17 ปกติ: ความผิดปกติหายไป
ขอแนะนํา:
19 • ตอขั้วตอทั้งหมดของลําโพง
• เมื่อสงสัยวาลําโพงหนาดานซายหรือขวาเสีย ใหตรวจสอบโดยการสลับกันฟงทีละดาน
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานขวาตัวที่ 2
27 (ดูหนา 67-9)

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–593

18 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ T23 ของลําโพง 2
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
R1
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-2 (FL+) - T23-2 ต่ํากวา 1 Ω 5
R1-6 (FL-) - T23-4 ต่ํากวา 1 Ω
FL+
R1-2 (FL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
FL- R1-6 (FL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11
T23
ชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
12
13
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
I43605
I43610 I43618
14
ปกติ
15
19 ตรวจสอบชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2 16
(ก) ตรวจเช็ควาเมื่อติดตั้งลําโพงอีกตัวที่อยูในสภาพดีแลว ความผิดปกติหายไปหรือไม
ปกติ: ความผิดปกติหายไป 17
ขอแนะนํา:
• ตอขั้วตอทั้งหมดของลําโพง 19
• เมื่อสงสัยวาลําโพงหนาดานซายหรือขวาเสีย ใหตรวจสอบโดยการสลับกันฟงทีละดาน
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหนาดานซายตัวที่ 2
(ดูหนา 67-9) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–594 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 20 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหลังดานขวา)


(ก) ปลดขั้วตอ R2 ของตัวรับสัญญาณ
2 ดานชุดสายไฟ
R2
(ข) ปลดขัว้ ตอ S18 หรือ S20 ของลําโพง
ชุดเครื่องรับวิทยุ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 มาตรฐาน:
RR+
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 R2-1 (RR+) - S20-1*1 ต่ํากวา 1 Ω
RR- R2-3 (RR-) - S20-2*1 ต่ํากวา 1 Ω
10 R2-1 (RR+) - S18-1*2 ต่ํากวา 1 Ω
*2 *1
S18 , S20 R2-3 (RR-) - S18-2*2 ต่ํากวา 1 Ω
11 ชุดลําโพงหลังดานขวาตัวที่ 1 R2-1 (RR+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
R2-3 (RR-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12
13 *1
I43604
: เอ็กซตราแคป
*2
14 I43609 : ดับเบิ้ลแคป I43620
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ
15
16 21 ตรวจสอบชุดลําโพงหลังดานขวา
(ก) ปลดขั้วตอ S18 หรือ S20 ของลําโพง
17 (ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหลังดานขวา
27 I43619
(ดูหนา 67-10)

28 ปกติ

29 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–595

22 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - ชุดลําโพงหลังดานซาย) 1


(ก) ปลดขั้วตอ R2 ของตัวรับสัญญาณ
ดานชุดสายไฟ 2
R2
(ข) ปลดขัว้ ตอ S17 หรือ S19 ของลําโพง
ชุดเครื่องรับวิทยุ (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
RL+ มาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
R2-2 (RL+) - S19-1*1 ต่ํากวา 1 Ω 5
RL-
R2-6 (RL-) - S19-2*1 ต่ํากวา 1 Ω
R2-2 (RL+) - S17-1*2 ต่ํากวา 1 Ω 10
*2 *1
S17 , S19 R2-6 (RL-) - S17-2*2 ต่ํากวา 1 Ω
ชุดลําโพงหลังดานซาย R2-2 (RL+) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 11
R2-2 (RL-) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ขอแนะนํา: 12
*1
: เอ็กซตราแคป
*1
*2
: ดับเบิ้ลแคป 13
I43604
: เอ็กซตราแคป
*2
I43609 : ดับเบิ้ลแคป 14
I43620
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
ปกติ 15
23 ตรวจสอบชุดลําโพงหลังดานซาย 16
(ก) ปลดขั้วตอ S17 หรือ S19 ของลําโพง
17
(ข) วัดความตานทานของลําโพง
มาตรฐาน: 19
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 4 Ω
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดลําโพงหลังดานซาย
I43619
(ดูหนา 67-10) 27
ปกติ 28
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 29
30
31
32
05–596 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 24 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดเครื่องรับวิทยุ - แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)

ดานชุดสายไฟ (ก) ปลดขั้วตอ R1 ของตัวรับสัญญาณ


2 R1 (ข) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดเครื่องรับวิทยุ มาตรฐาน:
3 +B
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
R1-3 (ACC) -
5 ACC กราวดตัวถัง
สวิตชจุดระเบิด ACC 10 ถึง 14 โวลท

GND R1-4 (+B) - กราวดตัวถัง คงที่ 10 ถึง 14 โวลท


10 I43605
R1-7 (GND) -
คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
11
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
12 ปกติ

13 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–597

ไมสามารถรับการกระจายเสียงวิทยุได (การรับสัญญาณไมดี) 1

ขั้นตอนการตรวจสอบ 2
1 ตรวจเช็ควาฟงกชั่นคนหาคลื่นวิทยุอัตโนมัติทํางานถูกตองหรือไม 3
(ก) ทําการคนหาคลื่นวิทยุอัตโนมัติและตรวจเช็ควาการทํางานเปนปกติ 5
ปกติ: ฟงกชั่นคนหาคลื่นวิทยุอัตโนมัติทํางานเปนปกติ
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
10
ปกติ 11
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 12

2 ตรวจเช็คอุปกรณเสริม
13
(ก) ตรวจเช็ควาติดตั้งฟลมกันแดด เสาโทรศัพท และอุปกรณเสริมอื่นๆ มาดวยหรือไม 14
ปกติ: มีการติดตั้งอุปกรณเสริม
15
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
ปกติ 16

เปนผลมาจากอุปกรณเสริม
17
19
3 ตรวจเช็คเสาอากาศเพื่อหาที่มาของเสียงรบกวน
(ก) ขณะสวิตชจุดระเบิดอยูที่ตําแหนง ACC ใหเปดวิทยุแลวเลือกโหมด AM
26
(ข) แตะปลายไขควงที่เสาอากาศ แลวตรวจดูวามีเสียงรบกวนออกมาจากลําโพงหรือไม
27
ปกติ: มีเสียงรบกวน
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4 28
ปกติ 29
เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5) 30
31
32
05–598 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 4 ตรวจเช็คชุดเครื่องรับวิทยุ (เสาอากาศ)
(ก) ถอดปลั๊กเสาอากาศของเครื่องรับวิทยุออก
2 (ข) ขณะตอขั้วตอของเครื่องรับวิทยุ ใหบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่
ตําแหนง ACC
3 (ค) เปดวิทยุแลวเลือกโหมด AM
(ง) แตะไขควงปากแบนหรือเศษโลหะ อาทิ ลวดเสนเล็กๆ ลง
5 บนชองเสียบเสาอากาศของชุดเครื่องรับวิทยุ แลวตรวจดูวามี
เสียงรบกวนออกมาจากลําโพงหรือไม
10 E50367

ปกติ: มีเสียงรบกวน
11 บกพรอง เปลี่ยนชุดเสาอากาศและชุดสายอากาศ
12 ปกติ

13 เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ (ดูหนา 67-5)


14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–599

ไมสามารถใสเทปหรือเลนเทปคาสเซ็ทได 1

ขั้นตอนการตรวจสอบ 2
1 ตรวจหาวัตถุแปลกปลอมใดๆ 3
(ก) ตรวจเช็ควาไมมีวัตถุแปลกปลอมหรือขอบกพรองใดๆ ในเครื่องเลนเทปคาสเซ็ทของเครื่องรับวิทยุ 5
ปกติ: ไมมีวัตถุแปลกปลอมหรือขอบกพรองใดๆ
บกพรอง ขจัดวัตถุแปลกปลอมออก
10
ปกติ 11

2 ตรวจเช็คเทปคาสเซ็ท 12
(ก) ตรวจเช็ควาเทปคาสเซ็ทเปนเทปแบบทั่วไปที่ใชบันทึกเสียงดนตรีหรือเสียงรอง 13
ปกติ: เทปคาสเซ็ทเปนปกติและมีเสียงดนตรีหรือเสียงรองบันทึกอยู
14
บกพรอง เทปคาสเซ็ทเสีย
ปกติ 15
16
3 เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา
(ก) เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนที่ปกติดีและตรวจดูวาเกิดปญหาเดียวกันขึ้นอีกครั้งหรือไม 17
ปกติ: ปญหาเดียวกันหายไป
19
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
(ดูหนา 67-5) 26
ปกติ
27
เทปคาสเซ็ทเสีย 28
29
30
31
32
05–600 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 ไมสามารถนําเทปคาสเซ็ทออกจากเครื่องเลนเทปได
2 ขั้นตอนการตรวจสอบ
3 1 กด “EJECT” และตรวจเช็คการทํางาน

5 (ก) กดสวิตช EJECT เทปคาสเซ็ทของชุดเครื่องรับวิทยุประมาณ 2 วินาทีหรือนานกวานั้น และตรวจเช็ควาเทปคาส


เซ็ทถูกดีดออกมาหรือไม
10 ปกติ: เทปคาสเซ็ทถูกดีดออกมา

11 บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
(ดูหนา 67-5)
12 ปกติ

13 2 ตรวจเช็คเทปคาสเซ็ท
14 (ก) ตรวจเช็ควาเทปคาสเซ็ทที่ดีดออกมาไมมีฉลากหลุดลอก มวนเทปไมเสียรูป หรือมีขอเสียหายอื่นๆ
ปกติ: เทปคาสเซ็ทไมมีปญหา
15
บกพรอง เทปคาสเซ็ทเสีย
16 ปกติ
17
3 เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา
19 (ก) เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนที่ปกติดีและตรวจดูวาเกิดปญหาเดียวกันขึ้นอีกครั้งหรือไม
ปกติ: ความผิดปกติหายไป
26
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
27 (ดูหนา 67-5)

28 ปกติ

29 เทปคาสเซ็ทเสีย
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–601

คุณภาพเสียงไมดีเฉพาะเมื่อเลนเทป 1

ขั้นตอนการตรวจสอบ 2
1 เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา 3
(ก) เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนที่ปกติดีและตรวจดูวาเกิดปญหาเดียวกันขึ้นอีกครั้งหรือไม 5
ปกติ: ความผิดปกติหายไป
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
10
ปกติ 11
เทปคาสเซ็ทเสีย 12

2 ตรวจหาวัตถุแปลกปลอมใดๆ
13
(ก) ตรวจเช็ควาไมมีวัตถุแปลกปลอมหรือขอบกพรองใดๆ ในเครื่องเลนเทปคาสเซ็ทของเครื่องรับวิทยุ 14
ปกติ: ไมมีวัตถุแปลกปลอมหรือขอบกพรองใดๆ
15
บกพรอง ขจัดวัตถุแปลกปลอมออก
ปกติ 16
17
3 ทําความสะอาดหัวเทปและตรวจเช็คการทํางาน
(ก) ใชนิ้วมือยกฝาเปดชองเทปคาสเซ็ท จากนั้น ใชดินสอหรือ 19
วัตถุที่คลายกันดันไว
26
หัวเทป เข็มกวานเทป (ข) ใชอุปกรณทําความสะอาดหรือกานสําลีชุบน้ํายาทําความ
สะอาดผิวสัมผัสหัวเทป ลูกยางกดเทป และเข็มกวานเทป
27
(ค) ตรวจเช็ควาความผิดปกติหายไปหรือไม
ปกติ: ความผิดปกติหายไป 28
ลูกยางกดเทป บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
N17398
(ดูหนา 67-5) 29
ปกติ 30
หัวเทปสกปรก 31
32
05–602 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 เทปพันกันเนือ่ งจากความเร็วเทปไมถกู ตอง หรือการกลับเทปอัตโนมัตบิ กพรอง


2 ขั้นตอนการตรวจสอบ
3 1 ตรวจหาวัตถุแปลกปลอมใดๆ

5 (ก) ตรวจเช็ควาไมมีวัตถุแปลกปลอมหรือขอบกพรองใดๆ ในเครื่องเลนเทปคาสเซ็ทของเครื่องรับวิทยุ


ปกติ: ไมมีวัตถุแปลกปลอมหรือขอบกพรองใดๆ
10 บกพรอง ขจัดวัตถุแปลกปลอมออก
11 ปกติ

12 2 เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา (นอยกวา 90 นาที)


13 (ก) เปลี่ยนเทปคาสเซ็ทอีกมวนที่ปกติดี (90 นาทีหรือนอยกวา) แลวตรวจเช็ควาความผิดปกติหายไปหรือไม
ปกติ: ความผิดปกติหายไป
14
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
15 ปกติ
16 เทปคาสเซ็ทเสีย
17
3 ทําความสะอาดหัวเทปและตรวจเช็คการทํางาน
19 (ก) ใชนิ้วมือยกฝาเปดชองเทปคาสเซ็ท จากนั้น ใชดินสอหรือ
หัวเทป เข็มกวานเทป วัตถุที่คลายกันดันไว
26 (ข) ใชอุปกรณทําความสะอาดหรือกานสําลีชุบน้ํายาทําความ
สะอาดผิวสัมผัสหัวเทป ลูกยางกดเทป และเข็มกวานเทป
27
(ค) ตรวจเช็ควาความผิดปกติหายไปหรือไม
28 ปกติ: ความผิดปกติหายไป
ลูกยางกดเทป
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
N17398

29 (ดูหนา 67-5)
30 ปกติ

31 หัวเทปสกปรก
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–603

ไมสามารถใสแผน CD หรือหลังจากใสเขาไปแลวถูกดีดออก 1

ขั้นตอนการตรวจสอบ 2
1 ตรวจเช็ควาใสแผน CD เขาไปอยางถูกตอง 3
(ก) ตรวจดูใหแนใจวาแผน CD เปนแบบที่ใชกับเครื่องเสียงทั่วไป และไมมีการบิดเบี้ยว มีตําหนิ เปนคราบ ขอบ 5
แผนแตก หรือขอบกพรองอื่นๆ บนแผน CD
ปกติ: เปนแผน CD เครื่องเสียงทั่วไป 10
ขอแนะนํา:
• ไมสามารถเลนแผน CD ที่โปรงแสงหรือมีรูปรางแตกตางออกไปได 11
• ไมสามารถเลนแผน CD สําหรับคอมพิวเตอรแบบ PC (ที่มีเสียงดนตรีบันทึก) และแผน CD-R ได
• ไมตองใชอะแดปเตอรในการเลนแผน CD ขนาด 8 ซม. (3.2 นิ้ว) 12
บกพรอง แผน CD เสีย 13
ปกติ
14
2 ตรวจเช็ควาใสแผน CD เขาไปอยางถูกตอง 15
(ก) ตรวจเช็ควาคว่ําดานบนของแผน CD ลงหรือไม
ปกติ: ใสแผน CD อยางถูกตอง 16
บกพรอง ใสแผน CD ใหถูกตอง 17
ปกติ 19
3 เช็ดทําความสะอาดแผน CD 26
(ก) ทําความสะอาดแผน CD โดยใชผานุมๆ เช็ดทําความสะอาด
27
ผิวสัมผัสตามแนวรัศมีจากตรงกลางแผนไปยังขอบดานนอก
ปกติ: ความผิดปกติหายไป 28
ขอควรระวัง:
อยาใชน้ํายาลางหัวเทปทั่วๆ ไปหรือที่มีสารปองกันไฟฟาสถิตย 29
E50013 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4 30
ปกติ 31
แผน CD สกปรก 32
05–604 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 4 เปลี่ยนแผน CD อีกแผนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา
(ก) เปลี่ยนแผน CD อีกแผนที่ปกติดี แลวตรวจเช็ควาความผิดปกติหายไปหรือไม
2 ปกติ: ความผิดปกติหายไป
3 บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
(ดูหนา 67-5)
5 ปกติ
10
แผน CD เสีย
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–605

ไมสามารถนําแผน CD ออกได 1

ขั้นตอนการตรวจสอบ 2
1 กด “EJECT” และตรวจเช็คการทํางาน 3
(ก) กดสวิตช EJECT แผน CD ของเครื่องรับวิทยุประมาณ 2 วินาทีหรือนานกวานั้นและตรวจดูวาแผน CD ถูกดีด 5
ออกมาหรือไม
ปกติ: แผน CD ถูกดีดออกมา 10
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ 11
(ดูหนา 67-5)
ปกติ 12

2 กด “EJECT” และตรวจเช็คการทํางาน
13
(ก) ตรวจเช็คสภาพการติดตั้งเครื่องรับวิทยุ 14
ปกติ: ติดตั้งอยางถูกตอง
15
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
(ดูหนา 67-5) 16
ปกติ
17
แผน CD เสีย
19
26
27
28
29
30
31
32
05–606 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 แมวาระบบจะมีไฟเขา แตไมสามารถเลน CD ได


2 ขั้นตอนการตรวจสอบ
3 1 ตรวจเช็ควาใสแผน CD เขาไปอยางถูกตอง

5 (ก) ตรวจดูใหแนใจวาแผน CD เปนแบบที่ใชกับเครื่องเสียงทั่วไป และไมมีการบิดเบี้ยว มีตําหนิ เปนคราบ ขอบ


แผนแตก หรือขอบกพรองอื่นๆ บนแผน CD
10 ปกติ: เปนแผน CD เครื่องเสียงทั่วไป
ขอแนะนํา:
11 • ไมสามารถเลนแผน CD ที่โปรงแสงหรือมีรูปรางแตกตางออกไปได
• ไมสามารถเลนแผน CD สําหรับคอมพิวเตอรแบบ PC (ที่มีเสียงดนตรีบันทึก) และแผน CD-R ได
12 • ไมตองใชอะแดปเตอรในการเลนแผน CD ขนาด 8 ซม. (3.2 นิ้ว)

13 บกพรอง แผน CD เสีย


ปกติ
14
15 2 ตรวจเช็ควาใสแผน CD เขาไปอยางถูกตอง
(ก) ตรวจเช็ควาคว่ําดานบนของแผน CD ลงหรือไม
16 ปกติ: ใสแผน CD อยางถูกตอง
17 บกพรอง ใสแผน CD ใหถูกตอง

19 ปกติ

26 3 เช็ดทําความสะอาดแผน CD
(ก) ทําความสะอาดแผน CD โดยใชผานุมๆ เช็ดทําความสะอาด
27
ผิวสัมผัสตามแนวรัศมีจากตรงกลางแผนไปยังขอบดานนอก
28 ปกติ: ความผิดปกติหายไป
ขอควรระวัง:
29 อยาใชน้ํายาลางหัวเทปทั่วๆ ไปหรือที่มีสารปองกันไฟฟาสถิตย

30 E50013
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4
31 ปกติ

32 แผน CD สกปรก
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–607

4 เปลี่ยนแผน CD อีกแผนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา 1
(ก) เปลี่ยนแผน CD อีกแผนที่ปกติดี แลวตรวจเช็ควาความผิดปกติหายไปหรือไม
ปกติ: ความผิดปกติหายไป 2
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ 3
(ดูหนา 67-5)
ปกติ
5
10
แผน CD เสีย
11
5 อุณหภูมิในหองโดยสารเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วหรือไม
(ก) ตรวจเช็ความีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็วเกิดขึ้นในหองโดยสารหรือไม
12
ปกติ: เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็ว 13
ขอแนะนํา:
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็วทําใหเกิดหยดน้ําภายในเครื่องเลน CD ซึ่งอาจทําใหเลน CD ไมได 14
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
(ดูหนา 67-5) 15
ปกติ 16
เกิดหยดน้ําเนื่องจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง (ควรปลอยทิ้งไวชั่วขณะกอนใชงาน) 17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–608 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 คุณภาพเสียงไมดีเฉพาะเมื่อเลนแผน CD (เสียงเบาเกินไป)
2 ขั้นตอนการตรวจสอบ
3 1 เปลี่ยนแผน CD อีกแผนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา

5 (ก) เปลี่ยนแผน CD อีกแผนที่ปกติดี แลวตรวจเช็ควาความผิดปกติหายไปหรือไม


ปกติ: ความผิดปกติหายไป
10 บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
(ดูหนา 67-5)
11
ปกติ
12
แผน CD เสีย
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–609

เสียง CD ขาดหายเปนชวงๆ 1

ขั้นตอนการตรวจสอบ 2
1 เช็ดทําความสะอาดแผน CD 3
(ก) ถาแผน CD สกปรก ใหทําความสะอาดแผน CD โดยใชผา 5
นุมๆ เช็ดทําความสะอาดผิวสัมผัสตามแนวรัศมีจากตรงกลาง
แผนไปยังขอบดานนอก 10
ปกติ: ความผิดปกติหายไป
ขอควรระวัง: 11
อยาใชน้ํายาลางหัวเทปทั่วๆ ไปหรือที่มีสารปองกันไฟฟาสถิตย
12
E50013
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
ปกติ 13

แผน CD สกปรก
14
15
2 เปลี่ยนแผน CD อีกแผนหนึ่งและตรวจเช็คซ้ํา
(ก) เปลี่ยนแผน CD อีกแผนที่ปกติดี แลวตรวจเช็ควาความผิดปกติหายไปหรือไม
16
ปกติ: ความผิดปกติหายไป
17
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
19
ปกติ
26
แผน CD เสีย
27
3 ตรวจเช็คเมื่อสิ่งนี้เกิดขึ้น
28
(ก) ตรวจเช็ควาสภาวะ (สถานที่) ที่เกิดเสียงรบกวน
ปกติ: ขณะขับขี่บนสภาพถนนที่ขรุขระ เปนหลุมเปนบอ 29
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4
30
ปกติ
31
ดูขั้นตอนที่ 5
32
05–610 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

1 4 เปรียบเทียบกับรถอีกคันในรุนเดียวกัน
(ก) เปรียบเทียบกับรถคันอื่นที่ระบบเครื่องเสียงทํางานปกติ โดยตรวจเช็ความีความแตกตางหรือไม
2 ปกติ: ไมพบความแตกตาง
3 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 5
ปกติ
5
10 ตั้งคา
11 5 ตรวจเช็คการติดตั้งชุดเครื่องรับวิทยุ

12 (ก) ตรวจเช็คสภาพการติดตั้งเครื่องรับวิทยุ
ปกติ: ติดตั้งอยางถูกตอง
13 บกพรอง ติดตั้งชุดเครื่องรับวิทยุใหถูกตอง
14 ปกติ

15 6 อุณหภูมิในหองโดยสารเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วหรือไม

16 (ก) ตรวจเช็ความีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็วเกิดขึ้นในหองโดยสารหรือไม
ปกติ: เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็ว
17 ขอแนะนํา:
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอยางรวดเร็วทําใหเกิดหยดน้ําภายในเครื่องเลน CD ซึ่งอาจทําใหเลน CD ไมได
19
บกพรอง เปลี่ยนชุดเครื่องรับวิทยุ
26 (ดูหนา 67-5)
ปกติ
27
เกิดหยดน้ําเนื่องจากอุณหภูมิเปลี่ยนแปลง (ควรปลอยทิ้งไวชั่วขณะกอนใชงาน)
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง 05–611

มีเสียงรบกวนเกิดขึ้น 1

ขั้นตอนการตรวจสอบ 2
1 ตรวจเช็คการติดตั้งลําโพง 3
(ก) ตรวจเช็ควาติดตั้งลําโพงแตละตัวอยางแนนหนา 5
ปกติ: ความผิดปกติหายไป
ขอแนะนํา: 10
วิทยุนี้จะมีฟงกชั่นปองกันเสียงรบกวนเพื่อลดเสียงรบกวนขณะฟงวิทยุ ถามีเสียงดังรบกวนมากเกินไป ใหตรวจเช็ควา
ติดตั้งและเดินสายกราวดที่ฐานยึดเสาอากาศและระบบปองกันเสียงรบกวนอยางถูกตองหรือไม 11
สภาวะการเกิดเสียงรบกวน ประเภทของเสียงรบกวน
การเหยียบคันเรงจะเพิม่ เสียงรบกวน และการดับเครือ่ งจะขจัดเสียงรบกวนโดยทันที เสียงอัลเทอรเนเตอร 12
เมื่อเครื่องปรับอากาศหรือฮีทเตอรทํางาน เสียงมอเตอรโบลวเวอร
• เมื่อเรงรถอยางรวดเร็วบนถนนที่ไมลาดยาง
เสียงปมเชื้อเพลิง 13
• เมื่อสวิตชจุดระเบิดอยูที่ตําแหนง ON
• เมื่อกดสวิตชแตรแลวปลอย
เสียงแตร 14
• เมื่อกดสวิตชแตรคางไว
การทํางานของเครื่องยนตทําใหเกิดเสียงรบกวนเล็กนอย และการดับเครื่องจะขจัด
เสียงรบกวนโดยทันที
เสียงจุดระเบิด 15
เสียงรบกวนเกิดขึ้นขณะไฟเลี้ยวกะพริบ เสียงไฟกะพริบ
เสียงรบกวนเกิดขึ้นขณะใชงานที่ฉีดน้ําลางกระจก เสียงที่ฉีดน้ําลางกระจก 16
การทํางานของเครื่องยนตทําใหเกิดเสียงรบกวน แตการดับเครื่องจะไมขจัดเสียง
เสียงเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต 17
รบกวนออกไป
เมื่อใบปดน้ําฝนทํางาน เสียงใบปดน้ําฝน
เมื่อเหยียบแปนเบรก เสียงสวิตชไฟเบรก 19
อื่นๆ ไฟฟาสถิตยที่ตัวรถ
ขอแนะนํา: 26
• ใหคน หาสภาวะทีต่ รงกับปญหาของลูกคาจากชองดานซายของตาราง จากนัน้ ดูแหลงทีม่ าของเสียงรบกวนจากชอง
ดานขวา แลวจึงตรวจเช็คเสียงรบกวนในชิ้นสวนที่ระบุ 27
• เพื่อเปนการประหยัดเวลาและปองกันการวิเคราะหปญหาผิด จะตองแนใจเสียกอนวาเสียงรบกวนไมไดมาจาก
ดานนอกตัวรถ 28
• การคนหาสาเหตุของเสียงรบกวนใหเรียงตามลําดับความดัง โดยเริ่มจากเสียงที่ดังที่สุดกอน
• การตั้งวิทยุไปยังคาความถี่ที่ไมมีสัญญาณอาจทําใหระบุปญหาเสียงรบกวนไดงายขึ้น 29
บกพรอง ติดตั้งใหถูกตอง 30
ปกติ 31
ระบุแหลงกําเนิดเสียงรบกวน 32
05–612 การวิเคราะหปญหา − ระบบเครื่องเสียง

การตรวจสอบ
1
2
1. ตรวจสอบรีเลย (ทําเครื่องหมาย: PWR OUT)
3 1 2
(ก) วัดความตานทานของรีเลย PWP OUT
มาตรฐาน:
5 3 5
สภาวะที่ทําการ
5 เงื่อนไขที่กําหนด
ทดสอบ
10 2 1
3 3-5 10 kΩ หรือสูงกวา
ต่ํากวา 1 Ω
11 B60778
3-5
(เมื่อจายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขาขั้ว 1 และ 2)
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนรีเลย
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–613

มาตรวัดรวม
1
ขั้วลบ (-) แบตเตอรี่ ขอพึงระวัง
1. การถอดและใสสายเคเบิ้ลเขากับขั้วลบแบตเตอรี่ 2
สายเคเบิ้ล (ก) กอนทํางานกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ใหถอดสายเคเบิ้ลออก
จากขั้วลบแบตเตอรี่ เพื่อปองกันการลัดวงจรและการลุกไหม 3
(ข) เมือ่ จะถอดและใสสายเคเบิล้ ใหคลายนัตยึดสายเคเบิล้ ใหหลวม
D33496
เต็มที่ อยาบิดหรืองัดสายเคเบิล้ รวมทัง้ บิดสวิตชจดุ ระเบิด OFF 5
และปรับสวิตชควบคุมไฟสองสวางไปที่ตําแหนง OFF
(ค) กอนถอดสายเคเบิ้ล ใหบันทึกสิ่งที่จําเปน เชน หนวยความจํา 10
นาฬิกา การตั้งคาระบบเครื่องเสียง รหัสวิเคราะหปญหา และ
อืน่ ๆ เพราะเมือ่ ถอดสายเคเบิล้ ออกแลว หนวยความจําทัง้ หมด 11
จะถูกลบออก หลังจากใสสายเคเบิ้ลกลับคืนแลว ใหตั้ง คา
หนวยความจําของอุปกรณที่จําเปนใหม
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–614 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

ตําแหนงชิ้นสวน
1
2
3 ชุดมาตรวัดรวม

5 รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว
ชุดสวิตชจุดระเบิด
10 ชุด J/B แผงหนาปด ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา
(J/B ดานคนขับ) z สวิตชควบคุมไฟสองสวาง
z ฟวส MET
11 z ฟวส GAUGE & ECU-IG
z สวิตชไฟตัดหมอก
z สวิตชไฟเลี้ยว

12 ECU ควบคุมการขับเคลื่อน 4 ลอ (4WD)*2

13
14
15
ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
16
ECM
17
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัย*1
19
TCM*3 ชุดสวิตชเบรกมือ ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนาขวา
26 (ดานคนขับ)

27
*1
: มีถุงลมนิรภัย
28 *2
*3
: ขับเคลื่อน 4 ลอ (4WD)
: เกียรอัตโนมัติ
29
E75642

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–615

ชุดสวิตชไฟประตูหนาขางขวา 1
ขับเคลื่อน 4 ลอ (4WD):
เซ็นเซอรความเร็วรถ
ชุดประกอบกระปุกน้ํามันเบรก
ชุดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 2
z สวิตชกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
z สวิตชเตือนระดับน้ํามันเบรก z สวิตชกรองดักน้ํา
ชุดหมอลมเบรก 3
z สวิตชสุญญากาศ

สวิตชแสดงการทํางาน
5
ECU ควบคุมการลื่นไถล
พรอมแอ็คชิวเอเตอร *2 ของทรานสเฟอรเบอร 2
(สวิตชตรวจจับ 10
ตําแหนงวาง)
11
12
ชุดทอดูดน้ํามันเชื้อเพลิง
มีปมและเกจวัด 13
z ชุดเกจสงสัญญาณน้าํ มันเชือ
้ เพลิง
ชุดไดชารจ
ชุดสวิตชไฟประตูหนาซาย 14
J/B, R/B หองเครื่องยนต
z ฟวส DOME
ขับเคลื่อน 2 ลอ: *1
: เกียรอัตโนมัติ
15
ชุดสวิตชตําแหนง เซ็นเซอรความเร็วรถ *2
z ฟวส DCC เกียรวาง/จอด*1 : มี ABS
16
E75643

17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–616 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1
เซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
2
3
5
10 ชุดสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง
(หลอลื่น)
11
12
13
14
E75641

15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–617

วงจรระบบ
1
ECM สวิตชเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 2
3
*1
สวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด สวิตชกรองดักน้ํา
5
TCM*1 สวิตชเตือนแรงดันน้ํามันเครื่อง
(หลอลื่น) 10
เซ็นเซอรความเร็วรถ สวิตชเตือนระดับน้ํามันเบรก
11
เกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
สวิตชปมสุญญากาศ 12

ชุดสวิตชไฟประตู ชุดมาตรวัดรวม ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง*2


13
14
ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ รีเลยไฟเลี้ยว
15
สวิตชหัวเข็มขัดนิรภัยดานคนขับ ชุดอัลเทอรเนเตอร
16
สวิตชควบคุมไฟสองสวาง ECU ควบคุมการลื่นไถล
พรอมแอ็คชิวเอเตอร*3 17
ชุดสวิตชไฟเบรกมือ สวิตชไฟตัดหมอก*4 19

รีเลยรวม
26
ECU ควบคุมระบบขับเคลื่อน 4 ลอ*5
27
*7
สวิตชไฟเลี้ยว ECU เตือนการขโมย
*1
: เกียรอัตโนมัติ *4
: มีไฟตัดหมอก 28
*2 *5
: มีถุงลมนิรภัย : ขับเคลื่อน 4 ลอ (4WD)
ECU กุญแจรหัส*6 *3
: มี ABS *6
*7
: มีระบบยับยัง้ การทํางาน 29
: มีระบบกันขโมย
30
31
32
05–618 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

คําอธิบายระบบ
1 1. มาตรวัดและสัญญาณเตือน/ไฟแสดง
เกจวัด:
2 รายการขอมูล รายละเอียดของสัญญาณ
มาตรวัดความเร็ว คํานวณความเร็วรถยนตจากสัญญาณเซ็นเซอรความเร็วรถ
3 มาตรวัดรอบ
มาตรวัด ODO/TRIP
คํานวณสัญญาณความเร็วรอบตามสัญญาณจาก ECM
คํานวณระยะทางที่รถถูกใชงานหรือระยะทางเมื่อเริ่มกดปุม Trip
มาตรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง แสดงระดับน้ํามันที่เหลืออยูตามสัญญาณจากเกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
5 มาตรวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต แสดงอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนตตามสัญญาณจาก ECM
สัญญาณเตือน/ไฟแสดง:
10 รายการขอมูล รายละเอียดของสัญญาณ
TURN กะพริบเมื่อเปดไฟเลี้ยวหรือไฟเตือนฉุกเฉิน
11 BEAM
CHARGE
ติดสวางเมื่อสวิตชอยูในตําแหนงไฟสูง
ติดสวางเมื่อไดรับสัญญาณความผิดปกติจากอัลเทอรเนเตอร
OIL PRESSURE ติดสวางเมื่อไดรับสัญญาณ “แรงดันน้ํามันเครื่องต่ําผิดปกติ (สวิตชแรงดัน ON)”
12 MIL ติดสวางเมื่อไดรับสัญญาณความผิดปกติจาก ECM
DOOR ติดสวางเมื่อไดรับสัญญาณสวิตชไฟประตูของแตละประตู
13 SEAT BELT กะพริบเมื่อสวิตชปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยดานคนขับ ON (ไมคาดเข็มขัดนิรภัย)
BRAKE ติดสวางเมื่อสวิตชเบรกมือ สวิตชเตือนระดับน้ํามันเบรก และสวิตชสุญญากาศทํางาน (ON)
ABS ติดสวางเมือ่ ไดรบั สัญญาณความผิดปกติจาก ECU ควบคุมการลืน่ ไถลพรอมแอ็คชิวเอเตอร
14 FRONT FOG ติดสวางเมื่อสวิตชไฟตัดหมอกอยูในตําแหนง ON
GLOW ติดสวางเมือ่ ไดรบั สัญญาณ “เครือ่ งยนตอณุ หภูมติ า่ํ เกินกวาทีจ่ ะสตารทได (หัวเผาทํางาน)” จาก ECM
15 FUEL FILTER/FUEL SEDIMENTER
ติดสวางเมื่อกรองน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน และกะพริบเมื่อมีปริมาณน้ําสะสมอยูกนกรองน้ํามัน
เชื้อเพลิง
AIRBAG ติดสวางเมื่อไดรับสัญญาณความผิดปกติจากชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
16 FUEL ติดสวางเมื่อไดรับสัญญาณเชื้อเพลิงหมดจากเกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
T-BELT ติดสวางเมื่อมาตรบันทึกระยะทางแสดงที่ 150,000 กม.
17 4WD ติดสวางเมื่อเปลี่ยนการสงกําลังจาก 2WD เปน 4WD
A/T OIL TEMP ติดสวางเมื่อไดรับสัญญาณ “อุณหภูมิ ATF สูงเกินไป” จาก ECM
A/T P ติดสวางเมื่อคันเกียรทรานสเฟอรอยูในตําแหนง N และคันเกียรอัตโนมัติอยูในตําแหนง P
19
เสียงเตือน:
รายการขอมูล รายละเอียดของสัญญาณ
26 เสียงเตือนเมื่อสวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง OFF โดยลูกกุญแจยังเสียบอยูในสวิตชจุดระเบิด
เตือนกุญแจ
และประตูดานคนขับถูกเปดออก
27 เตือนไฟสองสวาง
เสียงเตือนเมื่อสวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง OFF โดยปรับสวิตชควบคุมไฟสองสวางไปที่
ตําแหนง TAIL หรือ HEAD และประตูดานคนขับถูกเปดออก
28 2. มาตรวัดรวมมีจุดเดนดังตอไปนี้:
(ก) ระบบเตือน (ไฟสองสวางและกุญแจ) แบบมีเสียงเตือนในตัว
29 • เสียงเตือนดังเมื่อ: 1) ลูกกุญแจเสียบอยูในสวิตชจุดระเบิดตําแหนง OFF และประตูดานคนขับถูกเปดออก;
และ 2) สวิตชควบคุมไฟสองสวางอยูในตําแหนง TAIL หรือ HEAD, สวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง OFF
30 และประตูดานคนขับถูกเปดออก
(ข) มาตรบันทึกระยะทางและปุมวัดระยะการเดินทาง
31 • กดและปลอยปุมมาตรวัดใหเลื่อนผาน Trip “A”, Trip “B” และมาตรบันทึกระยะทาง
• กดปุมมาตรวัดคางไวเพื่อยกเลิกตัวเลขระยะทาง
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–619

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ขอแนะนํา: 1
• ใชขั้นตอนตอไปนี้ในการคนหาสาเหตุปญหาระบบมาตรวัดรวม
• ควรใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ในขั้นตอนที่ 5 2
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ
3
ตอไป
5
2 วิเคราะหปญหาของลูกคาและตรวจเช็คอาการปญหา (ดูหนา 05-620)
10
ตอไป
11
3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V 12
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ
13
ตอไป
14
4 ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-622)
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ 15
ถาขอบกพรองไมมีอยูในตางรางสภาพปญหา A
ถาขอบกพรองมีอยูในตางรางสภาพปญหา B
16
B ดูขั้นตอนที่ 6
A 17
5 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม 19
(ก) ขั้วตางๆ ของ ECU (ดูหนา 05-624)
(ข) การแสดงขอมูล (DATA LIST)/การทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST) (ดูหนา 05-632) 26
(ค) การตรวจสอบบนรถ (ดูหนา 05-652)
(ง) การตรวจสอบ (ดูหนา 05-655) 27
ตอไป 28
6 ปรับตั้ง ซอม หรือเปลี่ยน
29
ตอไป
30
7 ทดสอบยืนยัน
31
ตอไป
32
จบขั้นตอน
05–620 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบมาตรวัดรวม ชื่อผูตรวจสอบ :
2
หมายเลขประจํารถ
3 ชื่อลูกคา วันที่ผลิต
หมายเลขทะเบียน
5 กม.
วันที่นํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง ไมล

10 วันที่เกิดปญหาขึ้นครั้งแรก / /
□ สม่ําเสมอ □ บางครั้ง ( ครั้งตอวัน/เดือน)
11 ความถี่ของปญหาที่เกิดขึ้น □ ครั้งเดียว
□ แจมใส □ เมฆมาก □ ฝนตก □ หิมะตก
อากาศ
12 สภาพอากาศ □ หลากหลาย/อื่นๆ
เมื่อเกิดปญหา อุณหภูมิภายนอก □ รอน □ อบอุน □ เย็น □ หนาว (ประมาณ ๐
F( ๐
C))
13
□ ความบกพรองในมาตรวัดความเร็ว
14 □ ความบกพรองในมาตรวัดรอบ
เกจวัด

□ ความบกพรองในเกจรับสัญญาณอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
15
□ ความบกพรองในเกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง

16 □ มาตรวัดรวมทั้งหมดไมทํางาน

□ ไฟเตือนเข็มขัดนิรภัยดานคนขับไมทํางาน

17 □ เสียงเตือนไมดัง (เตือนลืมถอดกุญแจสตารท, เตือนไฟสองสวาง)


อาการปญหา

□ ไฟเตือนอื่นๆ หรือไฟแสดงการทํางานไมติดขึ้น
19 □

อื่นๆ

26 □

27

28 □


29 □

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–621

การตั้งคาเริ่มตน
1. คําอธิบายระบบ
1
(ก) ไฟเตือนสายพานไทมมิ่ง (T-BELT)
2
(1) ไฟเตือน T-BELT สวางขึ้นเมื่อระยะทางถึง 150,000 กม. เพื่อเตือนใหเปลี่ยนสายพานไทมมิ่ง
(ข) ไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ํา 3
(1) ไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ําสวางขึ้นเมื่อพบการอุดตันในกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
(2) ไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ํากะพริบเมื่อมีน้ําสะสมอยูกนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 5
2. การปรับตั้งไฟเตือน T-BELT ใหม
(ก) เมื่อไฟเตือน T-BELT สวางขึ้น ใหปฏิบัติตามขั้นตอนดานลางนี้เพื่อปรับตั้งมาตรวัดรวมใหม 10
(1) กดและปลอยปุมมาตรวัดเพื่อเปลี่ยนการแสดงมาตรวัดเปนโหมด ODO
(2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF 11
(3) กดปุมมาตรวัดคางไวและบิดสวิตชจุดระเบิดไปตําแหนง ON
(4) กดปุมมาตรวัดคางไวอีก 5 วินาทีขึ้นไป 12
(5) ปลอยปุมแลวกดซ้ําอีกครั้งภายใน 5 วินาที
(6) ปลอยปุม 13
(7) กดและปลอยปุมเพื่อเลือกเวนระยะกอนการแสดงไฟเตือนครั้งตอไป *
(8) หลังจากเลือกเวนระยะแลว ใหกดปุมคางไวอยางนอย 5 วินาทีขึ้นไป 14
(9) การแสดงที่มาตรวัดจะกลับไปที่โหมด ODO และไฟเตือนดับไป
ขอแนะนํา: 15
*: การเวนระยะกอนการแสดงไฟเตือนครั้งตอไปสามารถคํานวณไดโดยนําคาตัวเลข 2 หลักจากหนาปดมาตรวัดคูณกับ
10,000 สวน 150,000 กม. คือ คาเริ่มตน ปฏิบัติขอ (7) ภายใน 30 วินาทีหลังจากที่ปฏิบัติขอ (6) มิฉะนั้น จะไมเปลี่ยน
16
การเวนระยะและหนาปดจะกลับที่โหมด ODO โดยอัตโนมัติ 17
3. การปรับตั้งไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ําใหม
(ก) เมื่อไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิงกะพริบ ใหถายน้ําที่ส ะสมออก 19
(ข) เมื่อไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ําสวางขึ้น ใหปฏิบัติตามขั้นตอนดานลางนี้เพื่อปรับตั้งมาตรวัดรวม
ใหม 26
(1) เปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-7)
(2) ปลดขั้วตอสวิตชเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง F4 27
(3) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(4) รอ 3 วินาที 28
(5) ตอกลับขั้วตอ F4 ภายใน 57 วินาที
(6) ตองแนใจวาไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ําดับไปภายใน 3 วินาทีหลังจากที่ตอกลับขั้วตอ 29
30
31
32
05–622 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

ตารางสภาพปญหา
1 ขอแนะนํา:
2 • ใชตารางขางลางนี้เพื่อชวยในการกําหนดสาเหตุของอาการปญหา โดยสาเหตุของอาการปญหาที่ซอนเรนอยูจะ
เรียงตามลําดับความเปนไปไดในชองตาราง “บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” ใหตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยทํา
3 การตรวจเช็คบริเวณที่คาดวาเปนปญหาตามลําดับรายการและเปลี่ยนชิ้นสวนตางๆ ถาจําเปน
• ตรวจสอบฟวสและรีเลยที่เกี่ยวของกอนตรวจยืนยันบริเวณที่คาดวาเปนปญหาดังในตารางดานลาง
5 ระบบทํางานบกพรอง
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
มาตรวัดรวมทั้งหมดไมทํางาน อางอิงการวิเคราะหแกไขปญหา 05-633
10 เสียงเตือนไมดัง อางอิงการวิเคราะหแกไขปญหา 05-647

11 มาตรวัด อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา


ความบกพรองในมาตรวัดความเร็ว อางอิงการวิเคราะหแกไขปญหา 05-635
12 ความบกพรองในมาตรวัดรอบเครื่องยนต อางอิงการวิเคราะหแกไขปญหา 05-638
ความบกพรองในเกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง อางอิงการวิเคราะหแกไขปญหา 05-640
13 ความบกพรองในเกจรับสัญญาณอุณหภูมนิ า้ํ หลอเย็นเครือ่ งยนต อางอิงการวิเคราะหแกไขปญหา 05-642
ไฟเตือน
14 อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. ECM -
ไฟเตือน MIL ไมติด 2. ชุดสายไฟ -
15 3. ชุดมาตรวัดรวม -
1. ชุดอัลเทอรเนเตอร 19-11
16 ไฟเตือนแบตเตอรี่หมดประจุไมติด 2. ชุดสายไฟ -
3. ชุดมาตรวัดรวม -
17 1. สวิตชเตือนระดับน้ํามันเบรก 05-655
2. ชุดสวิตชไฟเบรกมือ 05-655
ไฟเตือนระบบเบรกไมติด 3. สวิตชสุญญากาศ 05-655
19 4. ชุดสายไฟ -
5. ชุดมาตรวัดรวม -
26 1. ECU ควบคุมการลื่นไถลพรอมแอ็คชิวเอเตอร
ไฟเตือน ABS ไมติด 2. ชุดสายไฟ 05-403
27 3.
1.
ชุดมาตรวัดรวม
ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง
ไฟเตือน SRS ไมติด 2. ชุดสายไฟ 05-544
28 3. ชุดมาตรวัดรวม
1. ชุดสวิตชไฟประตู 05-825
29 ไฟเตือนประตูเปดไมติด 2. ชุดสายไฟ -
3. ชุดมาตรวัดรวม -
1. ชุดเกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง 05-655
30 ไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลิงไมติด 2. ชุดสายไฟ -
3. ชุดมาตรวัดรวม -
31 1. ชุดสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง 05-652
ไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่องต่ําไมติด 2. ชุดสายไฟ -
32 3. ชุดมาตรวัดรวม -
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–623

ไฟเตือน T-belt ไมติด ชุดมาตรวัดรวม -

ไฟเตือนอุณหภูมิน้ํามันเกียรอัตโนมัติไมติด
1. TCM
2. ชุดสายไฟ
05-457
-
1
3. ชุดมาตรวัดรวม -
1. สวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 2 05-655 2
(สวิตชตรวจจับตําแหนงวาง)
ไฟเตือนตําแหนง P เกียรอัตโนมัติไมติด 2. ชุดสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด 05-476 3
3. ชุดสายไฟ -
4. ชุดมาตรวัดรวม -
ไฟเตือนเข็มขัดนิรภัยเบาะดานคนขับไมติด อางอิงการคนหาสาเหตุปญหา 05-644
5
1. ชุดสายไฟ -
ไฟเตือนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ําไมติด 2. ชุดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง 05-655 10
3. ชุดมาตรวัดรวม -
ไฟแสดงการทํางาน 11
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา (สวิตชไฟเลี้ยว) 05-655 12
2. รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว 65-9
ไฟแสดงการทํางานของไฟเลี้ยวไมติด
3. ชุดสายไฟ -
4. ชุดมาตรวัดรวม - 13
1. ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา 05-655
ไฟแสดงการทํางานของไฟสูงไมติด 2. ชุดสายไฟ - 14
3. ชุดมาตรวัดรวม -
1. ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา (สวิตชไฟตัดหมอก) 05-655 15
ไฟแสดงการทํางานของไฟตัดหมอกไมติด 2. ชุดสายไฟ -
3. ชุดมาตรวัดรวม -
1. ECM - 16
ไฟแสดงการทํางานของหัวเผาไมติด 2. ชุดสายไฟ -
3. ชุดมาตรวัดรวม - 17
1. สวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 3 (สวิตช 31-7

ไฟแสดงการทํางาน 4WD ไมติด 1.


ตรวจจับ 4WD)
ECU ควบคุม 4WD -
19
2. ชุดสายไฟ -
3. ชุดมาตรวัดรวม - 26
เสียงเตือน
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา 27
1. ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ 05-647
เสียงเตือนลืมถอดกุญแจสตารทไมดัง 2. ชุดสายไฟ - 28
3. ชุดมาตรวัดรวม -
1. ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา (สวิตชควบคุมไฟสองสวาง) 05-655
เสียงเตือนไฟสองสวางไมดัง 2. ชุดสายไฟ -
29
3. ชุดมาตรวัดรวม -
30
31
32
05–624 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

ขั้วตางๆ ของ ECU


1 1. ตรวจเช็คชุดมาตรวัดรวม
2
3 C8

5
10
11
12
13
14
15
16
17
B83995

19 (ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
26 คามาตรฐาน:
หมายเลขขั้ว สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
27 C8-1 - กราวดตัวถัง R - กราวดตัวถัง แบตเตอรี่ คงที่ 10 ถึง 14 V
W-B -
C8-19 - กราวดตัวถัง* กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
28 กราวดตัวถัง
Y-
C8-22 - กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
29 สวิตชจุดระเบิด
C8-21 - C8-22 B-O - Y สัญญาณ IG2 1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V →
30 2: OFF 2: 10 ถึง 14 V
ขอแนะนํา:
31 *: ไมมีถุงลมนิรภัย
32 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–625

(ค) ตอกลับขั้วตอมาตรวัดรวม C8
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ 1
คามาตรฐาน:
หมายเลขขั้ว สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ
สวิตชจุดระเบิด ON,
เงื่อนไขที่กําหนด 2
สัญญาณระดับน้ํามัน ระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
C8-2 - C8-3 BR - BR-Y
เชื้อเพลิง 1: F → 1: ต่ํากวา 1 V → 3
2: E 2: 4 ถึง 5 V
C8-5 - กราวดตัวถัง
P-L - สัญญาณความเร็วรถ
กราวดตัวถัง (สัญญาณเขา)
สวิตชจุดระเบิด ON,
หมุนลออยางชาๆ
สัญญาณพัลส
(ดูคลื่นสัญญาณ 1)
5
V-R - สัญญาณความเร็วรถ สัญญาณพัลส
C8-6 - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง (สัญญาณออก)
รถถูกขับ
(ดูคลื่นสัญญาณ 1) 10
B-W - สัญญาณพัลส
C8-7 - กราวดตัวถัง สัญญาณมาตรวัดรอบ เครื่องยนตหมุน
กราวดตัวถัง
สวิตชจุดระเบิด OFF,
(ดูคลื่นสัญญาณ 2) 11
G-Y - สัญญาณสวิตชเตือนการ 1: กุญแจไมไดเสียบอยูที่เบาเสียบ 1: 10 ถึง 14 V →
C8-10 - กราวดตัวถัง 12
กราวดตัวถัง ปลดล็อคกุญแจ กุญแจ →
2: กุญแจเสียบอยูที่เบาเสียบกุญแจ 2: ต่ํากวา 1 V
สวิตชจุดระเบิด ON,
R-Y- สัญญาณเตือนเข็มขัดนิรภัย เข็มขัดนิรภัยดานคนขับ
13
C8-11 - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง ดานคนขับ 1: ไมคาดเข็มขัด → 1: ต่ํากวา 1 →
2: คาดเข็มขัด 2: 10 ถึง 14 V 14
สวิตชจุดระเบิด ON,
คันเกียรอัตโนมัติอยูในตําแหนง P
1: คันควบคุมทรานสเฟอรไมอยูใน 1: 10 ถึง 14 V → 15
C8-12 - C8-13*1 G-B - W-B ไฟเตือนตําแหนงเกียรวาง
ตําแหนง N →
2: คันควบคุมทรานสเฟอรอยูใน 2: ต่ํากวา 1 V 16
ตําแหนง N →
สวิตชจุดระเบิด ON, ไฟเตือนกรอง
W-G - สัญญาณเตือนกรองน้ํามัน น้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ํา 17
C8-14 - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง เชือ้ เพลิง 1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V →
2: ON 2: 10 ถึง 14 V 19
ประตูดานคนขับ
R-B - สัญญาณประตูดานคนขับ
C8-15 - กราวดตัวถัง 1: ปด → 1: 10 ถึง 14V →
กราวดตัวถัง (สัญญาณออก)
2: เปด 2: ต่ํากวา 1 V 26
ประตูดานคนขับ
R-B - สัญญาณประตูดานคนขับ
C8-16 - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง (สัญญาณเขา)
1: ปด → 1: 10 ถึง 14 V → 27
2: เปด 2: ต่ํากวา 1 V
ประตูอื่นๆ
C8-17 - กราวดตัวถัง
R-L -
สัญญาณประตู 1: ปด → 1: 10 ถึง 14 V → 28
กราวดตัวถัง
2: เปด 2: ต่ํากวา 1 V

สัญญาณเตือนอุณหภูมิน้ํา
สวิตชจุดระเบิด ON,
ไฟเตือนอุณหภูมนิ า้ํ มันเกียรอตั โนมัติ
29
C8-18 - กราวดตัวถัง P - กราวดตัวถัง
มันเกียรอัตโนมัติ 1: OFF → 1: 10 ถึง 14 V →
2: ON 2: ต่ํากวา 1 V 30
สวิตชจุดระเบิด ON, ไฟเตือนกรอง
C8-23 - กราวดตัวถัง
L-R -
กราวดตัวถัง
สัญญาณเตือนกรองดักน้ํา
น้ํามันเชื้อเพลิง/กรองดักน้ํา
1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V →
31
2: ON 2: 10 ถึง 14 V
32
05–626 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

สวิตชจุดระเบิด ON,
1 C8-24 - C8-22 G-B - Y
สัญญาณแสดงไฟเลี้ยวหนา ไฟแสดงไฟเลี้ยวหนาซาย
ซาย 1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V →
2: ON 2: 10 ถึง 14 V
2 สวิตชจุดระเบิด ON,
สัญญาณแสดงไฟเลี้ยวหนา ไฟแสดงไฟเลี้ยวหนาขวา
C8-25 - C8-22 G-Y - Y
3 ขวา 1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V →
2: ON 2: 10 ถึง 14V
ไฟแสดงไฟสูง
R-Y-
5 C8-27 - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง
สัญญาณแสดงไฟสูง 1: OFF → 1: 10 ถึง 14 V →
2: ON 2: ต่ํากวา 1 V
สวิตชจุดระเบิด ON, ปรับสวิตช
10 ควบคุมไฟสองสวางไปที่ TAIL,
G-B -
C8-30 - กราวดตัวถัง*3 สัญญาณแสดงไฟตัดหมอก สวิตชไฟตัดหมอก
กราวดตัวถัง
11 1: OFF → 1: 10 ถึง 14 V →
2: ON 2: ต่ํากวา 1 V
สวิตชจุดระเบิด ON,
12 คันควบคุมทรานสเฟอรอยูใน
R-B -
C8-31 - กราวดตัวถัง*4 สัญญาณแสดง 4WD 1: ตําแหนงอื่นนอกเหนือจาก H4
กราวดตัวถัง
13 หรือ L4 → 1: 10 ถึง 14 V →
2: ตําแหนง H4 หรือ L4 2: ต่ํากวา 1 V
สวิตชจุดระเบิด ON,
14 LG-B - สัญญาณเตือนแรงดัน ไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่อง
C8-35 - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง น้ํามันเครื่อง 1: OFF → 1: 10 ถึง 14 V →
15 2: ON 2: ต่ํากวา 1 V
สวิตชจุดระเบิด ON,
LG - ไฟเตือนระบบเบรก
16 C8-36 - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง
สัญญาณเตือนเบรก
1: OFF → 1: 10 ถึง 14 V →
2: ON 2: ต่ํากวา 1 V
17 สวิตชจุดระเบิด ON,
GR - ไฟเตือนชารจแบตเตอรี่
C8-37 - กราวดตัวถัง สัญญาณเตือนการชารจ
กราวดตัวถัง 1: OFF → 1: 10 ถึง 14 V →
19 2: ON 2: ต่ํากวา 1 V
สวิตชจุดระเบิด ON, ไฟเตือน ABS
R-G -
26 C8-38 - กราวดตัวถัง*5 สัญญาณเตือน ABS 1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V →
กราวดตัวถัง
2: ON 2: 10 ถึง 14 V
สวิตชจุดระเบิด ON, ไฟเตือน MIL
27 C8-39 - กราวดตัวถัง
R-B -
กราวดตัวถัง
สัญญาณ MIL 1: OFF → 1: 10 ถึง 14V →
2: ON 2: ต่ํากวา 1 V
28 C8-40 - กราวดตัวถัง
Y-R -
สัญญาณแสดงหัวเผา
สวิตชจดุ ระเบิด ON, ไฟแสดงหัวเผา
1: OFF → 1: 10 ถึง 14 V →
กราวดตัวถัง
2: ON 2: ต่ํากวา 1 V
29 ขอแนะนํา:
*1
: เกียรอัตโนมัติ
30 *2
: มีถุงลมนิรภัย
*3
: มีไฟตัดหมอก
31 *4
: ขับเคลื่อน 4 ลอ (4WD)
*5
: มี ABS
32 ถาผลการตรวจสอบไมไดตามคากําหนด มาตรวัดรวมอาจบกพรอง
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–627

คลื่นสัญญาณ 1 (ขอมูลอางอิง):
หัวขอ รายละเอียด 1
การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 10 msec./DIV
สภาวะของรถ ขับรถประมาณ 20 กม./ชม. 2
GND ขอแนะนํา:
ขณะที่ความเร็วรถเพิ่มขึ้น คลื่นจะสั้นลง 3
I42329
5
คลื่นสัญญาณ 2 (ขอมูลอางอิง): 10
หัวขอ รายละเอียด
การตั้งเครื่องมือ 5 V/DIV, 20 msec./DIV 11
GND สภาวะของรถ เครื่องยนตเดินเบา
ขอแนะนํา: 12
ขณะที่ความเร็วรอบเพิ่มขึ้น คลื่นจะสั้นลง
13
I42330

14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–628 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

วงจรภายในมาตรวัดรวม
1
A/T P
2 C8-13 C8-12
เลี้ยวซาย
3 C8-22 C8-24
เลี้ยวขวา
5
C8-25

ตัดหมอกหนา
C8-30 C8-8

10
C8-5 4 พัลส C8-6
11

ความเร็ว วัดรอบ อุณหภูมิ


12
C8-3

13 C8-2

14 C8-7
เชือ้ เพลิง
น้าํ มัน

15 C8-4
ระดับน้ํามันเชื้อเพลิง

16 C8-10
T-BELT

17 เข็มขัดนิรภัย
ดานคนขับ
C8-11 กะพริบ
19 C8-20 SRS
ติดตอกัน
C8-19
26 กรองน้ํามันเชื้อเพลิง/
C8-23 กะพริบ/ กรองดักน้ํา
27 C8-14 สวาง

28
29
E75819

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–629

1
2
IG
C8-21
3
+B
C8-1
5

เสียงเตือน
10

ODO/TRIP
11
C8-16

DOOR
12
C8-17

C8-15
13
ชารจแบตเตอรี่
C8-37 14
ABS
C8-38

เบรก
15
C8-36
อุณหภูมิน้ํามัน

C8-18
เกียรอัตโนมัติ 16
C8-39
MIL
17
GLOW
C8-40
แรงดัน 19
น้ํามันเครื่อง
C8-35

4WD 26
C8-31

C8-27
ไฟสูง 27
28
E76233 29
30
31
32
05–630 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 ตารางการเชื่อมตอขั้วสาย
หมายเลขขั้ว ดานชุดสายไฟ
2 C8 1 ฟวส DOME
2 ชุดเกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
3 3
4
ชุดเกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
ECM (อุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต)
5 เซ็นเซอรความเร็วรถ
5 6 สัญญาณออก 4 พัลส
7 ECM (มาตรวัดรอบ)
10 8
9
ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา
-
10 ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
11 11 ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนาขวา (สวิตชปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัย)
12 ชุดสวิตชตําแหนงเกียรวาง/จอด*1
12 13
14
สวิตชตรวจจับตําแหนงวางของเกียรทรานสเฟอร*2
ชุดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง (สวิตชกรองน้ํามันเชื้อเพลิง)
15 รีเลยรวม, ชุด ECU กุญแจรหัส*3
13 16 ชุดสวิตชไฟประตูดานคนขับ
17 ชุดสวิตชไฟประตู, รีเลยรวม, ชุด ECU เตือนกันขโมย*3
14 18
19
TCM*1
กราวดตัวถัง*4
20 ชุดเซ็นเซอรถุงลมนิรภัยกลาง*5
15 21 ฟวส MET
22 กราวดตัวถัง
16 23
24
ชุดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง (สวิตชกรองดักน้ํา)
รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว
25 รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว
17 26 -
27 ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา
19 28 -
29 -
30 ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา (สวิตชไฟตัดหมอก)*6
26 31 ECU ควบคุม 4WD
32 -
27 33 -
34 -
35 สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง
28 36 ชุดสวิตชไฟเบรก, ชุดสวิตชระดับน้าํ มันเบรก, สวิตชสญุ ญากาศ, ECU ควบคุมการลืน่ ไถลพรอมแอ็คชิวเอเตอร*7
37 อัลเทอรเนเตอร
29 38 ECU ควบคุมการลื่นไถลพรอมแอ็คชิวเอเตอร*7, กราวดตัวถัง*8
39 ECM (MIL)
40 ECM (GLOW)
30 *1 *4 *8
: เกียรอัตโนมัติ : ไมมีถุงลมนิรภัย : ไมมี ABS
*2 *5
: ขับเคลื่อน 4 ลอ (4WD) : มีถุงลมนิรภัย
31 *3
: มีระบบยับยั้งการทํางาน *6
: มีไฟตัดหมอก
*7
และระบบกันขโมย : มี ABS
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–631

ระบบวิเคราะหปญหา
1
2
1. ตรวจเช็คขั้วตอ DLC3
ECM ของรถใชระบบการสื่อสารตามมาตรฐาน ISO 14230 (วิธีการ 3
SG
CG SIL สือ่ สารแบบ M-OBD) รูปแบบการจัดเรียงขัว้ สายไฟของขัว้ ตอ DLC3
นั้น เปนไปตามมาตรฐานของ ISO 15031-03 ซึ่งใชไดกับรูปแบบ
5
1 2 3 4 5 6 7 8
มาตรฐาน ISO 14230 10
9 10 1112 1314 1516
BAT
A82779 11
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) คําอธิบายขั้ว สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 12
SIL (7) - SG (5) สาย Bus “+” ระหวางเขาเกียร สัญญาณพัลส
CG (4) - กราวดตัวถัง กราวดชวงลาง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
SG (5) - กราวดตัวถัง กราวดสัญญาณ คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
13
BAT (16) - กราวดตัวถัง ขั้วบวกแบตเตอรี่ คงที่ 11 ถึง 14 V
14
15
16
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
ขอแนะนํา:
ตอสายเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3 แลวบิด 17
สวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON และดูที่หนาจอเครื่องวิเคราะห
หากหนาจอแจงใหทราบวาเกิดการติดตอสือ่ สารไมได แสดงวามีปญ
 หา 19
อยางใดอยางหนึ่งขึ้นกับตัวรถ หรือกับเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II)
ถาการติดตอสื่อสารปกติเมื่อตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคัน 26
DLC3
อื่น แสดงวาขั้วตอ DLC3 ของรถที่จะตรวจสอบนั้นมีปญหา
A98433

ถาตอเครื่องวิเคราะหปญหาเขากับรถคันอื่นแลวยังไมสามารถสื่อ
27
สารกันได แสดงวาอาจมีปญหาที่ตัวเครื่อง ใหปรึกษาฝายบริการ 28
ตามที่ระบุไวในคูมือการใชงานเครื่องวิเคราะหปญหา
2. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่ 29
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ 30
31
32
05–632 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

การแสดงขอมูล (DATA LIST)/ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)


1 1. อานขอมูลใน DATA LIST
2 ขอแนะนํา:
ทานสามารถอานคาของสวิตช แอ็คชิวเอเตอร ฯลฯ ไดจากขอมูลใน DATA LIST ที่แสดงโดยเครื่องวิเคราะหปญหา
3 (IT II) โดยไมตองถอดชิ้นสวนตางๆ ออก การอานขอมูลจาก DATA LIST ในขั้นตอนแรกของการคนหาสาเหตุปญหา
เปนวิธีการหนึ่งที่ชวยประหยัดเวลา
5 (ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
10 (ค) อานขอมูลใน DATA LIST ตามที่ปรากฏบนเครื่องวิเคราะหปญหา
ECU ควบคุมการลื่นไถลพรอมแอ็คชิวเอเตอร:
11 รายการขอมูล
สิ่งที่ตรวจวัด/
สภาวะปกติ
บันทึกการ
การแสดงผล (ตําแหนง) วิเคราะห
12 Parking Brake SW สวิตชเบรกมือ / ON หรือ OFF
ON: ดึงเบรกมือ
-
OFF: ไมดึงเบรกมือ
13 2. ทดสอบการทํางาน (ACTIVE TEST)
ขอแนะนํา:
14 ทําการทดสอบในโหมด ACTIVE TEST ของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เพื่อใหรีเลย, VSV, แอ็คชิวเอเตอร และอื่นๆ
ทํางานโดยไมตอ งถอดชิน้ สวนตางๆ ออก การทดสอบโหมด ACTIVE TEST ในขัน้ ตอนแรกของการคนหาสาเหตุปญ  หา
15 เปนวิธกี ารหนึง่ ทีช่ ว ยประหยัดเวลา และสามารถใหแสดงขอมูล (DATA LIST) ในระหวางการทดสอบ ACTIVE TEST ได
(ก) ตอเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขากับขั้วตอ DLC3
16 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) ทําการทดสอบโหมด ACTIVE TEST ตามที่ปรากฏบนเครื่องวิเคราะหปญหา
17 ชุดมาตรวัดรวม:
รายการขอมูล สภาวะปกติ บันทึกการวิเคราะห
19 ABS Warning Light ไฟเตือน ABS ON / OFF -

26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–633

มาตรวัดรวมทั้งหมดไมทํางาน 1

ผังวงจรไฟฟา 2
3
C8
C8 Combination Meter
Assyชุดมาตรวัดรวม
5
I6 ชุInstrument
ด J/B แผงหน
I6 Ignition Switch Assy (Drive Side J/B)
าปด J/B Assy
Panel 10
ชุดสวิตชจุดระเบิด (J/B ดานคนขับ)

B
6 MET 1 B-O 11
2C 2D
5 AM
AM11 IG2
IG2 6 21

W-R 12
8 25
11 IF3
R
2J 2Q
R
1
13
W-R 14
J/B, R/B หRoom
Engine องเครื่อR/B,
งยนตJ/B
4 1B 1
B J/C B
15
Y
J23 J22
2 22
AM2
1
DOME
W-B 16
ID
2
DCC 17
1

19
1 1A

W
26
แบตเตอรี
Battery ่ 27
28
29
E75648

30
31
32
05–634 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (DCC, DOME, MET)
2
(ก) ถอดฟวส DCC และ DOME ออกจากกลองรีเลยหองเครื่องยนต
3 (ข) ถอดฟวส MET ออกจากกลองรวมชุดสายไฟใตแผงหนาปด
(ค) วัดความตานทาน
5 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
บกพรอง เปลี่ยนฟวส
10
ปกติ
11
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดมาตรวัดรวม – แบตเตอรี่และกราวดตัวถัง)
12
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
ดานชุดสายไฟ
13 C8 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดมาตรวัดรวม คามาตรฐาน:
14 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
C8-1 - กราวดตัวถัง คงที่ 10 ถึง 14 V
15 C8-21 - กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
C8-22 - กราวดตัวถัง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
16 B79298

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
17 ปกติ

19 เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16)


26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–635

ความบกพรองในมาตรวัดความเร็ว 1

ผังวงจรไฟฟา 2
3
C8
C8 Combination Meter
Assy ชุดมาตรวัดรวม
5
S3S3 Vehicle Speed Sen
sorเซ็นเซอรความเร็วรถ
10
15 R-B 6
B P-L P-L
ID2 ID2
1 3 5 11
J/B หองเครื
Engine Room ่องยนต
J/B R-B
BR
1F 1 1 2G 2S 30 2 12
EC
1 ECU-IG & ชุด J/B แผงหนาปด
ALT
2
AM1
GAUGE
(J/B ดานคนขัPanel
Instrument บ) J/B Assy 13
(Drive Side J/B)

1A 1 1 2A 2A 6 14
B J/C B
B-Y
W
I6
J19 J18
15
I6 Ignition Switch Assy
ชุดสวิตชจุดระเบิด B-Y
แบตเตอรี
Battery ่
B-R
16
4 AM1 IG1 1
17
19
E75647

26
ขั้นตอนการตรวจสอบ
1 ตรวจสอบฟวส (ECU-IG & GAUGE)
27
(ก) ถอดฟวส ECU-IG & GAUGE ออกจากกลองรวมชุดสายไฟใตแผงหนาปด 28
(ข) วัดความตานทาน
คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω 29
บกพรอง เปลี่ยนฟวส 30
ปกติ
31
32
05–636 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 2 ตรวจสอบเซ็นเซอรความเร็วรถ
(ก) ขึ้นแมแรงยกรถ
2 (ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
• สวิตชจุดระเบิด ON
5 • คันเปลี่ยนเกียรอยูใน 10 ถึง 14 V
2-3
ตําแหนง N (สัญญาณพัลส)
10 10 ถึง
• หมุนลอหลังอยางชาๆ
14 V ขอแนะนํา:
11 ตอสายขั้วบวก (+) ของเครื่องทดสอบเขากับขั้ว 3 และสายขั้วลบ (-)
เขากับขั้ว 2
12 0V

13
E75829
A62954 E76238
บกพรอง เปลี่ยนเซ็นเซอรความเร็วรถ

14 ปกติ

15 3 ตรวจสอบชุดมาตรวัดรวม
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
16 ดานชุดสายไฟ
(ข) ใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของมาตรวัด
C8 การตอขั้วทดสอบ การตั้งเครื่องมือ สภาวะของรถ
17 ชุดมาตรวัดรวม ขับดวยความเร็ว
C8-5 - กราวดตัวถัง 5 V/DIV, 20 msec./DIV.
20 กม./ชม. (12 ไมล/ชม.)
19 ปกติ: อางอิงตามภาพ
ขอแนะนํา:
26 ขณะที่ความเร็วรถเพิ่มขึ้น คลื่นจะสั้นลง
27
28
GND
29
30 E76236
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 4
ปกติ
31
32 เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16)
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–637

4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (เซ็นเซอรความเร็วรถ – ชุดมาตรวัดรวม, แบตเตอรี่ และกราวดตัวถัง) 1


(ก) ปลดขั้วตอเซ็นเซอร S3
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอมาตรวัดรวม C8 2
(ค) วัดความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
S3
คามาตรฐาน: 3
เซ็นเซอรความเร็วรถ
ขั้วตอทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
S3-3 - C8-5 คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 5
S3-1 - กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
S3-2 - กราวดตัวถัง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 10
C8
ชุดมาตรวัดรวม
11
12
13
E75651

B79298
E75936
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ 15
เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16) 16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–638 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 ความบกพรองในมาตรวัดรอบเครื่องยนต
2 ผังวงจรไฟฟา
3 E5
C8 Combination
Meter
C8 Assy
ECM ชุดมาตรวัดรวม
5 ชุด J/B แผงหน
Instrument าปด J/B Assy
Panel
(J/B ดานคนขั
(Driver Side บ )
J/B)

10 TACH
B-W
6
2N
22
2O
B-W
4 7

11
12
13 E75645

ขั้นตอนการตรวจสอบ
14
1 ตรวจสอบชุดมาตรวัดรวม
15
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
ดานชุดสายไฟ
16 (ข) ใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของมาตรวัด
C8
การตอขั้วทดสอบ การตั้งเครื่องมือ สภาวะของรถ
ชุดมาตรวัดรวม
17 C8-7 - กราวดตัวถัง 5 V/DIV, 10 msec./DIV. ขณะเดินเบา
ปกติ: อางอิงตามภาพ
19 ขอแนะนํา:
ขณะที่ความเร็วรอบเพิ่มขึ้น คลื่นจะสั้นลง
26
27
28 GND

29
E76237 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
30
ปกติ
31
เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16)
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–639

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดมาตรวัดรวม – ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
ดานชุดสายไฟ 2
C8 (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM
ชุดมาตรวัดรวม (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
ขั้วตอทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
C8-7 - E5-4 (TACH) ต่ํากวา 1 Ω 5
10
E5

11
ECM TACH

12
13
E75830 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
ดูที่ระบบ ECD (ดูหนา 05-1)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–638 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 ความบกพรองในมาตรวัดรอบเครื่องยนต
2 ผังวงจรไฟฟา
3 E5
C8 Combination
Meter
C8 Assy
ECM ชุดมาตรวัดรวม
5 ชุด J/B แผงหน
Instrument าปด J/B Assy
Panel
(J/B ดานคนขั
(Driver Side บ )
J/B)

10 TACH
B-W
6
2N
22
2O
B-W
4 7

11
12
13 E75645

ขั้นตอนการตรวจสอบ
14
1 ตรวจสอบชุดมาตรวัดรวม
15
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
ดานชุดสายไฟ
16 (ข) ใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็คคลื่นสัญญาณของมาตรวัด
C8
การตอขั้วทดสอบ การตั้งเครื่องมือ สภาวะของรถ
ชุดมาตรวัดรวม
17 C8-7 - กราวดตัวถัง 5 V/DIV, 10 msec./DIV. ขณะเดินเบา
ปกติ: อางอิงตามภาพ
19 ขอแนะนํา:
ขณะที่ความเร็วรอบเพิ่มขึ้น คลื่นจะสั้นลง
26
27
28 GND

29
E76237 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
30
ปกติ
31
เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16)
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–639

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดมาตรวัดรวม – ECM) 1


(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
ดานชุดสายไฟ 2
C8 (ข) ปลดขัว้ ตอ E5 ของ ECM
ชุดมาตรวัดรวม (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
ขั้วตอทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
C8-7 - E5-4 (TACH) ต่ํากวา 1 Ω 5
10
E5

11
ECM TACH

12
13
E75830 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
ดูที่ระบบ ECD (ดูหนา 05-1)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–640 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 ความบกพรองในเกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
2 ผังวงจรไฟฟา
3 C8
C8 Combina
tion Meter Assy
F13 ชุดมาตรวัดรวม
F13 Fuel Suction w/ Pump & Gauge
5 ชุTube
ดทอดูAssy
ดน้ํามั(Fuel
นเชื้อเพลิ งพรอมป
Sender มและเกจวัด
Gauge)
(เกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
4 8
10 3 2
BR-Y
BA1
BR-Y
IA1
BR-Y
3

11
12 3 9 BR
BR BR
BA1 IA1
2
13
14
E75644

15
ขั้นตอนการตรวจสอบ
16
1 ตรวจเช็คการทํางานของเกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
17
(ก) ปลดขั้วตอปมและเกจวัด F13
ดานชุดสายไฟ
19 F13 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON จากนั้นตรวจเช็ค
ชุดปมน้ํามันเชือ้ เพลิงพรอมปมและเกจวัด ตําแหนงของเข็มบอกระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
(เกจสงสัญญาณน้ํามันเชือ้ เพลิง)
26 ปกติ: เกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิงชี้ตําแหนง E
(ค) ตอขั้ว 2 และ 3 ของขั้วตอดานชุดสายไฟ
27 (ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON จากนั้นตรวจเช็ค
E75651 E75933
ตําแหนงของเข็มบอกระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
28 ปกติ: เกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิงชี้ตําแหนง F

29 บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
ปกติ
30
เปลี่ยนเกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูหนา 11-34)
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–641

2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดมาตรวัดรวม – ชุดทอดูดน้ํามันเชื้อเพลิงพรอมปมและเกจวัด 1


(ชุดเกจสงสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง)
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8 2
ดานชุดสายไฟ (ข) ปลดขัว้ ตอปมและเกจวัด F13
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
C8 คามาตรฐาน:
ชุดมาตรวัดรวม
ขั้วตอทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5
C8-2 - F13-2 ต่ํากวา 1 Ω
C8-3 - F13-3 ต่ํากวา 1 Ω 10
F13 11
ชุดทอดูดน้ํามันเชือ้ เพลิงพรอมปมและเกจวัด
(เกจสงสัญญาณน้ํามันเชือ้ เพลิง) 12
13
B79298 14
E75651 E75934
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15

เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16) 16


17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–642 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 ความบกพรองในเกจรับสัญญาณอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
2 ผังวงจรไฟฟา
3 E5
C8
ECM ชุดมาตรวัดรวม
5 ชุด J/B แผงหนาปด
(J/B ดานคนขับ)
10 THWO
P
16
2Q
32
2Q
P
2 4

11
12
13
E75645

ขั้นตอนการตรวจสอบ
14
1 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา
15
(ก) ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาของระบบ ECD
16 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
รหัสวิเคราะหปญหาไมปรากฏออกมา A
17 รหัสวิเคราะหปญหาปรากฏออกมา B

19 B ดูที่ระบบ ECD (ดูหนา 05-1)

26 A

27
28
29
30
31
32
05–644 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 ไฟเตือนเข็มขัดนิรภัยดานคนขับไมทํางาน
2 ผังวงจรไฟฟา
3 J11
J/C
C8
ชุดมาตรวัดรวม
19
5
*1
R-Y R-Y
IA1
B 11

10
*2
*1 R-Y
R-Y
B
1
11 F12
ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัย
12 เบาะหนาขวา (ดานคนขับ)
2
13 R-Y

14 A
J33
J/C

15 *1
II
: มีล็อคประตูไฟฟา
*2
: ไมมีล็อคประตูไฟฟา
16
E75649

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–645

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนาขวา (ดานคนขับ)
2
(ก) ปลดขั้วตอเข็มขัดนิรภัย F12
ไมคาด (ข) วัดความตานทานของเข็มขัดนิรภัย
(ON) 3
คามาตรฐาน:
คาด
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 5
คาดเข็มขัดนิรภัย
(OFF) 1-2 10 kΩ หรือสูงกวา
(OFF)
ไมคาดเข็มขัดนิรภัย
10
1-2 ต่ํากวา 1 Ω
(ON)
11
12
13

บกพรอง เปลี่ยนชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนาขวา 14
E75832
(ดานคนขับ) (ดูหนา 61-6)
15
ปกติ
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–646 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนาขวา (ดานคนขับ) – ชุดมาตรวัดรวมและ


กราวดตัวถัง)
2 (ก) ปลดขั้วตอเข็มขัดนิรภัย F12
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอมาตรวัดรวม C8
3 F12
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนา คามาตรฐาน:
5 ขั้วตอทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
F12-1 - C8-11 ต่ํากวา 1 Ω
10 F12-2 - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω

11
C8
12 ชุดมาตรวัดรวม

13
14 E75651

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
B79298
E75833

15 ปกติ

16 เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16)


17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–647

เสียงเตือนไมดัง 1

ผังวงจรไฟฟา 2
3
ชุInstrument
ด J/B แผงหนPanel
าปด J/B Assy C8
C8 Combination Meter 5
(J/B ดานคนขับ)J/B)
(Driver Side Assy ชุดมาตรวัดรวม

B
1 5 10
2G 2C
TAIL

G
7 23
G
11
2R 2S
8

G-Y 10 26
12
G-Y
2O 2O
2O
10
13
G-W

R-B
3
R-B
14
IA1
16
J/B หองเครื
Engine Room่องยนต
J/B 15
1 1F 1 1
D2 Front Door
U1
U1 Unlock
ชุWarning
ดสวิตชเตือSwitch
นปลดล็อค
Courtesy Lamp
D2
Switch Assy RH
16
ALT ชุ(Driver
ดสวิตชSide)
ไฟประตูหนา
กุญแจประตู
Assy
ขางขวา (ดานคนขับ) 17
1 1A 2

GR 5 8
19
Lamp Control
ไฟสองสวาง
สวิตชควบคุม

B Switch B1 T1
B1 T1
W
J23 OFF
OFF 26
J/C TAIL
TAIL
B
W-B
HEAD
HEAD 27
แบตเตอรี
Battery ่
ID
28

E75914
29
30
31
32
05–648 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (TAIL)
2 (ก) ถอดฟวส TAIL ออกจากกลองรวมชุดสายไฟใตแผงหนาปด
(ข) วัดคาความตานทานของฟวส
3 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
บกพรอง เปลี่ยนฟวส
5
ปกติ
10
2 ตรวจเช็คการทํางานของเสียงเตือนมาตรวัดรวม
11 (ก) ตรวจเช็คการทํางานของเสียงเตือนลืมถอดกุญแจสตารท
(1) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF โดยกุญแจสตารทยังเสียบคางอยูที่เบาสวิตชกุญแจ
12 (2) เปดประตูดานคนขับ
ปกติ: เสียงเตือนดัง
13 (ข) ตรวจเช็คการทํางานของเสียงเตือนไฟสองสวาง
(1) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง OFF
14 (2) ปรับสวิตชควบคุมไฟสองสวางไปที่ตําแหนง TAIL หรือ HEAD
(3) เปดประตูดานคนขับ
15 ปกติ: เสียงเตือนดัง
ผลที่ได:
16 ผลที่ได ปฏิบัติขอ
เสียงเตือนลืมถอดกุญแจสตารทไมทํางาน A
17 เสียงเตือนลืมปดไฟหนาไมทํางาน B

B ดูขั้นตอนที่ 5
19
A
26
3 ตรวจสอบชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
27
(ก) ถอดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
28 (ข) วัดความตานทานของสวิตช
คามาตรฐาน:
29 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
ถูกกด ไมถูกกด 1-2 ถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
30
B83342
B85913 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
31 (ดูหนา 50-9)
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–649

4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ – ชุดมาตรวัดรวมและกราวดตัวถัง) 1


(ก) ปลดขั้วตอสวิตช U1
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอมาตรวัดรวม C8 2
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
U1
คามาตรฐาน: 3
ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจประตู
ขั้วตอทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
U1-1 - C8-10 ต่ํากวา 1 Ω 5
U1-2 - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
10
C8
ชุดมาตรวัดรวม 11
12
13
E75651
B79298 E75834 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
ดูขั้นตอนที่ 7
16
5 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา (สวิตชควบคุมไฟสองสวาง) 17
(ก) ถอดสวิตชไฟสูง-ต่ํา
(ข) วัดความตานทานของสวิตช 19
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
26
5 (B1) - 8 (T1) OFF 10 kΩ หรือสูงกวา
5 (B1) - 8 (T1) TAIL ต่ํากวา 1 Ω 27
T1 B1 5 (B1) - 8 (T1) HEAD ต่ํากวา 1 Ω
E59482
28
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา
(ดูหนา 65-29) 29
ปกติ
30
31
32
05–650 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

1 6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา (สวิตชควบคุมไฟสองสวาง) – ชุดมาตรวัดรวมและแบตเตอรี่)

ดานชุดสายไฟ (ก) ปลดขั้วตอสวิตช C10


2 (ข) ปลดขัว้ ตอมาตรวัดรวม C8
C10
(ค) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 C10-8 (T1) - C8-8 ต่ํากวา 1 Ω
B1 T1 C10-5 (B1) - กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
10
C8
11 ชุดมาตรวัดรวม

12
13
14 E75835 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
7 เปลี่ยนชุดสวิตชไฟประตูหนา (ดานคนขับ)
16
(ก) ถอดสวิตชไฟประตูออก
17 ไมถูกกด (ON) (ข) วัดความตานทานของสวิตช
ถูกกด (OFF) คามาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
1 1 - กราวดตัวถัง ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω
26 1 - กราวดตัวถัง ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา
กราวดตัวถัง
27 B82879
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟประตูหนา (ดานคนขับ)
ปกติ
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–651

8 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชไฟประตูหนา (ดานคนขับ) – ชุดมาตรวัดรวม) 1


(ก) ปลดขั้วตอสวิตช D2
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอมาตรวัดรวม C8 2
D2
ชุดสวิตชไฟประตูหนาขวา (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
(ดานคนขับ) คามาตรฐาน: 3
ขั้วตอทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
D2-1 - C8-16 ต่ํากวา 1 Ω 5
10
C8
ชุดมาตรวัดรวม 11
12
13
B84618 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ
15
เปลี่ยนชุดมาตรวัดรวม (ดูหนา 71-16)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–652 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

การตรวจสอบบนรถ
1 1. ตรวจเช็คมาตรวัดความเร็ว
2 (ก) ตรวจเช็คการทํางาน
(1) ใชเครื่องทดสอบมาตรวัดความเร็ว ตรวจเช็คคาความคลาดเคลื่อนที่รับไดจากมาตรวัดความเร็วและตรวจ
3 เช็คการทํางานของมาตรบันทึกระยะทาง
ขอมูลอางอิง:
5 คามาตรฐาน ระยะที่รับได
20 กม./ชม. 21 ถึง 25 กม./ชม.
40 กม./ชม. 41.7 ถึง 46.2 กม./ชม.
10 60 กม./ชม. 62.7 ถึง 67.2 กม./ชม.
80 กม./ชม. 83.4 ถึง 88.4 กม./ชม.
11 100 กม./ชม. 104.3 ถึง 109.3 กม./ชม.
120 กม./ชม. 125.1 ถึง 130.6 กม./ชม.
12 140 กม./ชม. 145.8 ถึง 151.8 กม./ชม.
160 กม./ชม. 166.2 ถึง 173.2 กม./ชม.
13 ขอควรระวัง:
การสึกหรอของยางและแรงดันลมยางที่สูงหรือต่ําเกินไป จะทําใหคาที่อานคลาดเคลื่อนได
14 (2) ตรวจเช็คระยะการเบี่ยงเบนของเข็มมาตรวัดความเร็ว
ขอมูลอางอิง: ระยะที่รับได ± 0.5 กม./ชม.
15
ถาผลที่ไดไมตรงตามคากําหนด มาตรวัดความเร็วอาจมีขอบกพรอง
16 2. ตรวจเช็คสัญญาณความเร็วรถที่สงออกมา
(ก) ตรวจเช็คคลื่นสัญญาณที่สงออกมา
17 (1) ถอดมาตรวัดรวมออก แตไมปลดขั้วตอ
(2) ใชออสซิลโลสโคปตรวจเช็ครูปแบบคลื่นสัญญาณ
19 ของมาตรวัดรวม
ชุดมาตรวัดรวม การตอขั้วทดสอบ การตั้งเครื่องมือ สภาวะของรถ
26 C8-6 - C8-22 5 V/DIV, 20 msec./DIV. ขณะรถวิ่ง
ปกติ: อางอิงตามภาพ
27 ขอแนะนํา:
ขณะที่ความเร็วรถเพิ่มขึ้น คลื่นจะสั้นลง
28 ถาผลการตรวจสอบไมไดตามคากําหนด มาตรวัดความเร็วอาจบกพรอง
29
30
31 GND

32 B85652
I42329 E76302
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–653

3. ตรวจเช็คมาตรวัดรอบ
(ก) ตรวจเช็คการทํางาน 1
(1) ตอมาตรวัดรอบที่ใชทดสอบการปรับตั้งเครื่องยนต และสตารทเครื่องยนต
ขอควรระวัง: 2
• การตอขั้วมาตรวัดรอบกลับกันจะทําใหกับทรานซิสเตอรและไดโอดที่อยูในมาตรวัดรอบเสียหาย
• เมื่อจะถอดหรือติดตั้งมาตรวัดรอบ ระวังอยาใหมาตรวัดรอบตกหรือถูกกระแทกแรงๆ 3
(2) เปรียบเทียบคามาตรวัดรอบที่ใชทดสอบกับคามาตรวัดรอบของรถ
DC 13.5 V ที่ 25°C (77°F) 5
ชวงที่ยอมรับได (รอบ/นาที)
คามาตรวัดรอบมาตรฐาน (รอบ/นาที)
ขอมูลใน ( ) คือคาอางอิง 10
700 630 ถึง 770
1,000 (900 ถึง 1100) 11
2,000 (1850 ถึง 2150)
3,000 2800 ถึง 3200 12
4,000 (3800 ถึง 4200)
5,000 4800 ถึง 5200 13
ถาผลการตรวจสอบไมไดตามคากําหนด มาตรวัดรอบอาจบกพรอง
14
4. ตรวจเช็คชุดเกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิง
ดานชุดสายไฟ
F13 (ก) ปลดขั้วตอปมและเกจวัด F13 15
ชุดทอดูดน้าํ มันเชือ้ เพลิงพรอมปม และเกจวัด (ข) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปที่ตําแหนง ON จากนั้นตรวจเช็ค
(เกจสงสัญญาณน้าํ มันเชือ้ เพลิง)
ตําแหนงของเข็มบอกระดับน้ํามันเชื้อเพลิง 16
ปกติ: เกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิงชี้ตําแหนง E
(ค) ตอขั้ว 2 และ 3 ของขั้วตอดานชุดสายไฟ 17
(ง) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON จากนั้นตรวจเช็ค
19
I30899

ตําแหนงของเข็มบอกระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
ปกติ: เกจรับสัญญาณน้ํามันเชื้อเพลิงชี้ตําแหนง F
ถาผลทีไ่ ดไมตรงตามทีก่ าํ หนด แสดงวามาตรวัดรวมอาจมีขอ บกพรอง 26
5. ตรวจเช็คไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
(ก) ปลดขั้วตอปมและเกจวัด F13 27
(ข) บิดสวิตชจดุ ระเบิดไปทีต่ าํ แหนง ON จากนัน้ ตรวจเช็ควาเกจรับสัญญาณน้าํ มันเชือ้ เพลิงชีต้ าํ แหนง E และไฟเตือน
ระดับน้ํามันเชื้อเพลิงติดขึ้น
28
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวามาตรวัดรวมอาจมีขอบกพรอง
29
6. ตรวจเช็คไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่องต่ํา
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช E4 30
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(ค) ตอขั้ว E4-1 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเขากับกราวดตัวถัง แลวตรวจเช็ควาไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่องต่ําติดขึ้น 31
ปกติ: ไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่องต่ําติดขึ้น
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวามาตรวัดรวมอาจมีขอบกพรอง 32
05–654 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

7. ตรวจเช็คไฟเตือนระบบเบรก
1 (ก) ตรวจเช็คไฟเตือนเบรกมือ
(1) ปลดขั้วตอสวิตช P3
2 (2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(3) ตอขั้ว P3-1 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเขากับกราวดตัวถัง แลวตรวจเช็ควาไฟเตือนเบรกมือติดขึ้น
3 ปกติ: ไฟเตือนระบบเบรกติดขึ้น
(ข) ตรวจเช็คไฟเตือนระดับน้ํามันเบรก
5 (1) ปลดขั้วตอสวิตช B2-1
(2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
10 (3) ตอขั้ว B2-1 และ B2-2 ของขั้วตอดานชุดสายไฟแลวตรวจเช็คสวิตชเตือนระดับน้ํามันเบรกทํางาน
ปกติ: ไฟเตือนระบบเบรกติดขึ้น
11
(ค) ตรวจเช็คไฟเตือนปมสุญญากาศ
12 (1) ปลดขั้วตอสวิตช B3
(2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
13 (3) ตอขั้ว B3-1 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเขากับกราวดตัวถัง แลวตรวจเช็ควาไฟเตือนติดขึ้น
ปกติ: ไฟเตือนปมสุญญากาศติดขึ้น
14 ถาผลการตรวจสอบไมไดตามคากําหนด มาตรวัดรวมอาจบกพรอง
8. ตรวจเช็คไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติ
15 (ก) ตรวจเช็คไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติ
(1) ปลดขั้วตอสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอร T5
16 (2) บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ตําแหนง ON
(3) ตอขั้ว T5-1 ของขั้วตอดานชุดสายไฟเขากับกราวดตัวถัง แลวตรวจเช็คไฟแสดงตําแหนง P ของเกียร
17 อัตโนมัติ
ปกติ: ไฟแสดงตําแหนง P ของเกียรอัตโนมัติติดขึ้น
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–655

การตรวจสอบ
1
2
1. ตรวจสอบชุดเกจสงสัญญาณเชื้อเพลิง
(ก) ถอดทอดูดน้าํ มันเชือ้ เพลิงพรอมปม และเกจวัด (ดูหนา 11-35) 3
(ข) ถอดเกจสงสัญญาณเชื้อเพลิง
F
(ค) วัดความตานทานระหวางขั้ว 2 กับ 3 ของเกจวัด
5
1/2
คามาตรฐาน: 10
10.9 E
ระดับลูกลอย ตําแหนงลูกลอย มม. (นิว้ ) เงื่อนไขที่กําหนด
มม.
F 79.7 (31.4) ± 3 (0.12) 4.0 ± 1.0 Ω
E75831
1/2 3.00 (0.12) ± 3 (0.12) 59.0 ± 3.0 Ω
11
E 93.2 (36.7) ± 3 (0.12) 110.0 ± 1.0 Ω
12
2. ตรวจสอบชุดสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง 13
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช E4
กราวดตัวถัง
(ข) วัดความตานทานของสวิตช 14
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด 15
1 – กราวดตัวถัง ไมเดินเบา ต่ํากวา 1 Ω
E75912
1 – กราวดตัวถัง ขณะเดินเบา 10 kΩ หรือสูงกวา 16
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนสวิตช
ขอแนะนํา: 17
แรงดันน้ํามันเครื่องเกิน 24.5 กิโลปาสคาล (0.25 กก./ซม.2, 3.55
ปอนด/นิ้ว2) 19
3. ตรวจสอบชุดสวิตชเบรกมือ
ไมถูกกด ถูกกด
(ก) ปลดขั้วตอสวิตชเบรกมือ P2 26
กราวดตัวถัง
(ข) ถอดสวิตชเบรกมือออก
(ค) วัดความตานทานของสวิตช
27
P2 1
คามาตรฐาน: 28
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
1 – กราวดตัวถัง ไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
G26238
1 – กราวดตัวถัง ถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
29
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนสวิตชเบรกมือ 30
31
32
05–656 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

4. ตรวจสอบสวิตชเตือนระดับน้ํามันเบรก
1 (ก) ถอดฝาปดกระปุกน้ํามันและกรองน้ํามันเบรกออก
(ข) ปลดขั้วตอสวิตช B2
2 (ค) วัดความตานทานของสวิตช
คามาตรฐาน:
3 ลูกลอยลอยขึ้น (สวิตช OFF): 10 kΩ หรือสูงกวา
(ง) ใชทอ หรืออืน่ ๆ ทีค่ ลายกันดูดเอาน้าํ มันออกจากกระปุกน้าํ มัน
5 G26237

(จ) วัดความตานทานของสวิตช
คามาตรฐาน:
10 ลูกลอยจมลง (สวิตช ON): ต่ํากวา 1 Ω
(ฉ) รินน้ํามันเบรกกลับลงในกระปุกน้ํามัน
11
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนกระปุกน้ํามันเบรก
12
13 5. ตรวจสอบชุดสวิตชเตือนสุญญากาศ
สุญญากาศเต็มระบบ (ก) ปลดขั้วตอสวิตชสุญญากาศ B3
14 (ข) วัดความตานทานของสวิตช
คามาตรฐาน:
15 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
1 – กราวดตัวถัง ไมเปนสุญญากาศ ต่ํากวา 1 Ω
16 ไมเปนสุญญากาศ 1 – กราวดตัวถัง สุญญากาศ 10 kΩ หรือสูงกวา
F50761

ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนสวิตชสุญญากาศ
17
6. ตรวจสอบสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอรเบอร 2
สี: เขียว
19 (สวิตชตรวจจับตําแหนงเกียรวางของทรานสเฟอร)
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช T5
26 (ข) ถอดสวิตชแสดงการทํางานของทรานสเฟอร
(ค) วัดความตานทานของสวิตช
27 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
28 G34535

1-2 ถูกกด ต่ํากวา 1 Ω


1-2 ไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
29 ถาผลทีไ่ ดไมตรงตามทีก่ าํ หนด ใหเปลีย่ นสวิตชแสดงการทํางานของ
ทรานสเฟอรเบอร 2
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม 05–657

7. ตรวจสอบเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนต
(ก) ถอดเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็น 1
(ข) วัดความตานทานของเซ็นเซอร
คามาตรฐาน: 2
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
1-2 ประมาณ 20°C (68°F) 2.32 ถึง 2.59 kΩ 3
30 1-2 ประมาณ 80°C (176°F) 0.310 ถึง 0.326 kΩ
20
ขอควรระวัง: 5
10 ในกรณีที่ตรวจเช็คเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ําหลอเย็นเครื่องยนตในน้ํา
10
คาความตานทาน kΩ

5 คาที่ยอมรับได ระวังอยาใหน้ําเขาไปในขั้วไฟฟา และหลังจากตรวจเช็คแลว ใหเช็ด


3
น้ําออกจากเซ็นเซอร
2
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนเซ็นเซอรอุณหภูมิน้ํา
11
1

0.5 12
0.3
0.2

0.1
13
-20 0 20 40 60 80
(-4) (23) (68) (104) (140) (176) (212)
14
อุณหภูมิ ๐C (๐F) A72396
15
8. ตรวจสอบชุดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
ทางออก
(ก) ปลดขั้วตอกรองน้ํามันเชื้อเพลิง F4 และ F10 16
(ข) ถอดกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
(ค) อุดชองทอทางเขาดวยจุกยาง 17
ทางเขา (ง) วัดความตานทานของกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
F4
คามาตรฐาน; 19
การตอขั้วทดสอบ สภาวะ เงื่อนไขที่กําหนด
ลูกลอยจมลง 26
F4-1 - F4-2 10 kΩ หรือสูงกวา
(สวิตช OFF)
F4-1 - F4-2
ลูกลอยลอยขึ้น
ต่ํากวา 1 Ω
27
(สวิตช ON)

F10
F10-1 - F10-2 คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 28
ดูดอากาศจากทอทางออก
F10-1 - F10-2 10 kΩ หรือสูงกวา
ของกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
29
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
ขอแนะนํา: 30
การรินน้ํามันเชื้อเพลิงลงในกรองน้ํามันจะทําใหลูกลอยลอยขึ้น
ลูกลอย
31
32
E75913
05–658 การวิเคราะหปญหา − มาตรวัดรวม

9. ตรวจสอบชุดสวิตชไฟสูง-ต่ํา
1 TR TL
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช C10
(ข) ถอดสวิตชออก
2 (ค) วัดความตานทานของสวิตช
คามาตรฐาน:
3 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
E T1 B1 5 (B1) - 8 (T1) OFF 10 kΩ หรือสูงกวา
5 E59482
5 (B1) - 8 (T1) TAIL ต่ํากวา 1 Ω
5 (B1) - 8 (T1) HEAD ต่ํากวา 1 Ω
10 11 (E) - 12 (TL) L ต่ํากวา 1 Ω
11 (E) - 13 (TR) R ต่ํากวา 1 Ω
11 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนสวิตช

12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–659

ระบบควบคุมกระจกไฟฟา
1
ตําแหนงชิ้นสวน
เอ็กซตราแคป
2

ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
3
(ดานคนขับ)
5
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานผูโดยสาร) ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
10
ชุดมอเตอรควบคุม
กระจกไฟฟา ชุดประกอบตัวควบคุมกระจกประตู
11
(ดานผูโดยสาร) หนาดานขวา
12
13
14
15
16
ชุดประกอบตัวควบคุมกระจก
ประตูหนาดานซาย 17
19
26
27
28
29
30
B85842

31
32
05–660 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 ดับเบิ้ลแคป

ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
2 (ดานคนขับ)

3
ชุดสวิตชควบคุม ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
กระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร)
5 ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา ชุดประกอบตัวควบคุมกระจกประตูหนาดานขวา
(ดานผูโดยสาร)
10 ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานหลังขวา)
11
12 ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานหลังขวา)

13
14
15
ชุดประกอบตัวควบคุมกระจก
16 ประตูหนาดานซาย

17 ชุดประกอบตัวควบคุม
ชุดประกอบตัวควบคุมกระจก
กระจกประตูหลังดานขวา
19 ประตูหลังดานซาย
ชุดมอเตอรควบคุม
กระจกไฟฟา ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
26 (ดานหลังซาย) (ดานหลังซาย)

27
28
29 B85841

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–661

1
2

R/B, J/B หองเครื่องยนต


3
z ฟวสกระแสสูง ALT
5
10
11
12
13
14
15
16
17
R/B เบอร 3 19
z รีเลย IG1
z ฟวสกระแสสูง PWR
26
ชุด J/B ใตแผงหนาปด ชุดสวิตชจุดระเบิด 27
(J/B ดานคนขับ)
z ฟวสกระแสสูง AM1
z ฟวสกระแสสูง IG1
28
z ฟวส ECU-IG & GAUGE
B86282 29
30
31
32
05–662 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

แผนผังระบบวงจรไฟฟา
1
2
3 รีเลย ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
IG1
5 ชุดมอเตอรควบคุม
กระจกไฟฟา
10 (ดานคนขับ)
ECU-IG &

11 GAUGE
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานผูโดยสาร)
12 ชุดมอเตอรควบคุม
กระจกไฟฟา
13 สวิตชจุดระเบิด (ดานผูโดยสาร)
PWR

14 ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานหลังขวา)*
15
ชุดมอเตอรควบคุม
AM1
กระจกไฟฟา
16 (ดานหลังขวา)*
IG1
17 ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานหลังซาย)*
19
ชุดมอเตอรควบคุม
26
ALT
กระจกไฟฟา
(ดานหลังซาย)*
27
28 แบตเตอรี่
*: ดับเบิ้ลแคป
29
B85837

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–663

คําอธิบายระบบ
1. คําอธิบายระบบควบคุมกระจกไฟฟา
1
ระบบควบคุมกระจกไฟฟาจะควบคุมการเลื่อนขึ้น/ลงของกระจกดวยมอเตอรควบคุม
2
การควบคุมหลักของระบบนี้คือ: สวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา ซึ่งจะอยูในโครงประตูดานคนขับ และสวิตชควบคุม
กระจกไฟฟา* ซึ่งจะอยูในโครงประตูดานผูโดยสาร (และประตูดานหลัง*) ใหกดสวิตชควบคุมแตละตัวหรือสวิตชตัว 3
ใดตัวหนึง่ * บนสวิตชหลักเพือ่ สงสัญญาณเลือ่ นกระจกขึน้ /ลง (UP/DOWN) เพือ่ ใหมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟาทํางาน
ตรงกัน 5
2. การทํางานของอุปกรณหลัก
อุปกรณ การทํางาน 10
ควบคุมการทํางานของกระจกทุกบาน ทั้งนี้ เมื่อสวิตชล็อคกระจกถูกตั้งไวที่ตําแหนงล็อค การ
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
ทํางานของกระจกอาจจะทํางานไดดวยสวิตชหลักเทานั้น 11
ติดตั้งอยูที่ประตูดานผูโดยสาร (และประตูดานหลัง*) ชุดสวิตชควบคุมแตละตัวจะควบคุมการ
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
ทํางานของกระจกแตละบาน 12
รับสัญญาณจากสวิตช และเปลี่ยนสัญญาณเขาไปกระตุนมอเตอรใหทํางาน ผลที่ไดคือ
ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
ตําแหนงกระจกจะเปลี่ยนแปลง 13
3. การทํางานของระบบ
ระบบควบคุมกระจกไฟฟามีหนาที่ดังตอไปนี้: 14
ฟงกชั่น รายละเอียด
กระจกไฟฟาดานคนขับ: การทํางานของกระจกเลื่อนขึ้นขณะสวิตชกระจกไฟฟาถูกดึงขึ้น และกระจกเลื่อนลง 15
ฟงกชั่น UP/DOWN ขณะกดสวิตชลงครึ่งจังหวะ และกระจกจะหยุดทันทีที่สวิตชถูกปลอย
แบบธรรมดา กระจกไฟฟาดานที่เหลือ: การทํางานของกระจกเลื่อนขึ้นขณะสวิตชกระจกไฟฟาถูกดึงขึ้น และกระจกเลื่อนลง 16
ขณะกดสวิตชลง และกระจกจะหยุดทันทีที่สวิตชถูกปลอย
ฟงกชั่น AUTO DOWN
การทํางานของกระจกดานคนขับสามารถเปดสุดไดโดยกดสวิตชกระจกไฟฟาลงสุดเพียงครั้งเดียว การทํางาน 17
ของ AUTO DOWN จะมีเฉพาะกระจกไฟฟาดานคนขับเทานั้น
การทํางานคือจะยอมใหชุดสวิตชหลักกระจกไฟฟาไปควบคุมการทํางาน UP/DOWN แบบธรรมดาของกระจก 19
ฟงกชั่นรีโมท UP/DOWN
ไฟฟาดานผูโดยสาร (และกระจกไฟฟาดานหลัง*)
การทํางานของกระจกไฟฟาดานผูโดยสาร (และกระจกไฟฟาดานหลัง*) จะทํางานไมไดเมื่อสวิตชล็อคกระจก
ฟงกชั่นล็อคกระจก ของสวิตชหลักถูกกด กระจกไฟฟาดานผูโดยสาร (และกระจกไฟฟาดานหลัง*) สามารถทํางานไดเมื่อสวิตช 26
ล็อคกระจกถูกกดอีกครั้ง
ขอแนะนํา:
27
*: ดับเบิ้ลแคป
28
29
30
31
32
05–664 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
1 ขอแนะนํา:
ใชขั้นตอนนี้ในการคนหาสาเหตุปญหาระบบควบคุมกระจกไฟฟา
2 1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ
3 ตอไป
5 2 วิเคราะหปญหาของลูกคาและตรวจเช็คอาการปญหา (ดูหนา 05-665)
10 ตอไป

11 3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่

12 ถาแรงดัคนามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V
ไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ
13 ตอไป
14 4 ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-666)
ผลที่ได:
15 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ถาขอบกพรองไมมีอยูในตางรางสภาพปญหา A
16 ถาขอบกพรองมีอยูในตางรางสภาพปญหา B

B ดูขั้นตอนที่ 6
17 A
19 5 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม
26 (ก) ขั้วตางๆ ของ ECU (ดูหนา 05-667)
(ข) การตรวจสอบบนรถ (ดูหนา 05-695)
27 (ค) การตรวจสอบ (ดูหนา 05-697)
ตอไป
28
6 ปรับตั้ง ซอม หรือเปลี่ยน
29
ตอไป
30
7 ทดสอบยืนยัน
31
ตอไป
32
จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–665

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบควบคุมกระจกไฟฟา
ชื่อผูตรวจสอบ: 2
หมายเลขประจํารถ 3
ชื่อลูกคา วันที่ผลิต
หมายเลขทะเบียน
5
วันที่นํารถเขาซอม คามาตรบันทึกระยะทาง กม. 10
/ / ไมล

วันที่เกิดปญหาขึ้นครั้งแรก / /
11
ความถี่ของปญหา □ ตอเนื่อง □ บางครั้ง ( ครั้งตอ วัน, เดือน) 12
□ เพียงครั้งเดียว
□ แจมใส □ เมฆมาก □ ฝนตก □ หิมะตก
อากาศ □ หลากหลาย/อื่นๆ
13
สภาพอากาศ
เมื่อเกิดปญหา □ รอน □ อุน □ เย็น □ หนาว
อุณหภูมิภายนอก
ประมาณ ๐
C( ๐
F) 14

□ การเลื่อนกระจกขึ้น/ลงอัตโนมัติ (AUTO UP/DOWN)ไมทํางาน


15
□ การเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN) ไมทํางาน 16
□ ทั้งหมด □ ดานคนขับ □ ดานผูโดยสาร □ ดานหลังขวา* □ ดานหลังซาย*
17
อาการผิดปกติ □ ฟงกชั่นรีโมทการเลื่อนกระจกขึ้น/ลง (UP/DOWN) ไมทํางาน
19
□ ทั้งหมด □ ดานผูโดยสาร □ หลังหลังขวา* □ ดานหลังซาย*

□ สวิตชจุดระเบิด ON □ สตารทเครื่องยนต 26
สภาวะที่กลับเปนปกติ □( ) ใชงานสวิตช
□ สวิตชจุดระเบิด OFF • ON □( ) ใชงานสวิตช 27
สภาวะที่เกิดปญหา ใช •ไมใช
□ อื่นๆ ( )
28
ขอแนะนํา:
*: ดับเบิ้ลแคป 29
30
31
32
05–666 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

ตารางสภาพปญหา
1 ใชตารางขางลางนีเ้ พือ่ ชวยในการกําหนดสาเหตุของปญหา สาเหตุของอาการปญหาจะเรียงลําดับความเปนไปไดในชอง
2 ของตาราง “บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” ตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยการทําการตรวจเช็คบริเวณที่คาดวาเปนปญหา
ตามลําดับรายการ ถาจําเปนใหเปลี่ยนชิ้นสวน
3 อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานคนขับ)
ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN)
2. ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 05-669
5 และ (AUTO DOWN) ที่ดานคนขับไมทํางาน
3. ชุดสายไฟ
1. ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร)
10 ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ ลงแบบธรรมดาที่ดานผูโดยสาร
2. ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร) 05-673
ไมทํางาน
3. ชุดสายไฟ
11 ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN )
1. ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา)*
2. ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา)* 05-679
ที่ดานหลังขวา*ไมทํางาน
12 3. ชุดสายไฟ
1. ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย)*
ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN )
2. ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย)* 05-684
13 ที่ดานหลังซาย*ไมทํางาน
3. ชุดสายไฟ
ฟงกชั่นรีโมทการเลื่อนกระจกขึ้น/ ลง (UP/DOWN) 1. ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
14 ไมทํางาน 2. ชุดสายไฟ
05-689
1. ฟวส ECU-IG & GAUGE
15 กระจกไฟฟาทุกบานไมทํางาน
2. รีเลย IG1
05-691
3. ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
16 4. ชุดสายไฟ
ขอแนะนํา:
17 *: ดับเบิ้ลแคป

19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–667

ขั้วตางๆ ของ ECU


1. เอ็กซตราแคป:
1
ตรวจเช็คสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
2
P4
3
5
10
B86291

(ก) ปลดขั้วตอสวิตช P4 11
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 12
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
W-B - 13
E (P4-10) – กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
B (P4-9) - E (P4-10) L - W-B แหลงจายไฟฟาของสวิตชหลัก สวิตชจุดระเบิด 1: OFF → 2: ON 1: 0 V → 2: 10 ถึง 14 V 14
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
(ค) ตอขั้วตอของสวิตช P4 กลับเขาที่ 15
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ
คามาตรฐาน:
16
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
1: สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชกระจก 1: 0 V →
17
DU (P4-2) - E (P4-10) B - W-B มอเตอรกระจกไฟฟา UP ไฟฟาดานคนขับ OFF →
2: UP (การทํางานแบบธรรมดา) 2: 10 ถึง 14 V 19
1: สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชกระจก 1: 0 V →
DD (P4-5) - E (P4-10) L-R - W-B มอเตอรกระจกไฟฟา DOWN ไฟฟาดานคนขับ OFF → 26
2: DOWN (การทํางานแบบธรรมดา) 2: 10 ถึง 14 V
1: สวิตชจุดระเบิด ON, กระจกไฟฟา 1: 0 V → 27
ดานคนขับปดสุด →
DD (P4-5) - E (P4-10) L-R - W-B มอเตอรกระจกไฟฟา DOWN 2: สวิตชกระจกไฟฟาดานคนขับ 2: 10 ถึง 14 V → 28
DOWN (การทํางาน AUTO) →
3: กระจกไฟฟาดานคนขับเปดสุด 3: 0 V
29
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวาสวิตชหลักอาจมีขอบกพรอง
(จ) ตรวจเช็คไฟ AUTO 30
(1) เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิด ON ใหตรวจเช็ควาไฟ AUTO สวางขึ้น (สีเขียว)
31
32
05–668 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

2. ดับเบิ้ลแคป:
1 ตรวจเช็คสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา

2 P4

3
5
B87841

10
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช P4
11 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
12 สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
W-B -
E (P4-3) – กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
13 กราวดตัวถัง
B (P4-6) - E (P4-3) L - W-B แหลงจายไฟฟาของสวิตชหลัก สวิตชจุดระเบิด 1: OFF → 2: ON 1: 0 V → 2: 10 ถึง 14 V
14 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
(ค) ตอขั้วตอของสวิตช P4 กลับเขาที่
15 (ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ
คามาตรฐาน:
16 สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
1: สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชกระจก 1: 0 V →
17 DU (P4-4) - E (P4-3) B - W-B มอเตอรกระจกไฟฟา UP ไฟฟาดานคนขับ OFF →
2: UP (การทํางานแบบธรรมดา) 2: 10 ถึง 14 V
19 1: สวิตชจุดระเบิด ON, สวิตชกระจก 1: 0 V →
DD (P4-9) - E (P4-3) L-R - W-B มอเตอรกระจกไฟฟา DOWN ไฟฟาดานคนขับ OFF →
2: DOWN (การทํางานแบบธรรมดา) 2: 10 ถึง 14 V
26 1: สวิตชจุดระเบิด ON, กระจกไฟฟา 1: 0 V →
ดานคนขับปดสุด →
27 DD (P4-9) - E (P4-3) L-R - W-B มอเตอรกระจกไฟฟา DOWN 2: สวิตชกระจกไฟฟาดานคนขับ 2: 10 ถึง 14 V →
DOWN (การทํางาน AUTO) →
28 3: กระจกไฟฟาดานคนขับเปดสุด 3: 0 V
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวาสวิตชหลักอาจมีขอบกพรอง
29 (จ) ตรวจเช็คไฟ AUTO
(1) เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิด ON ใหตรวจเช็ควาไฟ AUTO สวางขึ้น (สีเขียว)
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–669

ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN) และ(AUTO 1


DOWN) ที่ดานคนขับไมทํางาน 2
คําอธิบายผังวงจร 3
ถาฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN) และเลื่อนลง (AUTO) ไมทํางานอาจเนื่องจากมีความ
บกพรองอยูในสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา มอเตอรควบคุมกระจกไฟฟาหรือชุดสายไฟ 5
ผังวงจรไฟฟา 10
P6
ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา P4
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 11
(ดานคนขับ)

B 2*
1
DU
12
2
2 4*

1
13
L-R 5*
2
DD
9*
14
1

1
จากรีเลย IG1 L 9*
6*
2
B
15
16
1
ไปที่กราวดตัวถัง W-B 10* E
*1: เอ็กซตราแคป
2
3*

*2: ดับเบิ้ลแคป 17
B85839

19
26
27
28
29
30
31
32
05–670 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานคนขับ)
2
เฟองมอเตอร
(ก) ถอดมอเตอร (ดูหนา 75-7)
3 ตามเข็มนาฬิกา (ข) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 กับ 2
ขอควรระวัง:
5 อยาจายแรงดันไฟฟาเขากับขั้วใดนอกจากขั้ว 1 และ 2
(ค) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
10 ทวนเข็มนาฬิกา
ปกติ:
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
B86400

11 แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
12 ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา

13 บกพรอง เปลีย่ นชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานคนขับ)

14 ปกติ

15 2 ตรวจสอบชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา (สวิตชดานคนขับ)

16 (ก) เอ็กซตราแคป:
(1) ถอดสวิตชหลัก (ดูหนา 75-7)
สวิ ตชคนขั
Driver บ
Switch
17 (2) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
คา
19
26 A

27
28 DD B E

29 ภาพ AA
View
DU
30 B85836

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–671

มาตรฐาน:
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 1
คงที่ 10 (E) - 5 (DD)
ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 2 (DU) - 9 (B) 2
คงที่ 10 (E) - 2 (DU)
OFF ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 10 (E) - 5 (DD) 3
คงที่ 10 (E) - 2 (DU)
ลง ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 9 (B) - 5 (DD)
คงที่ 10 (E) - 2 (DU)
5
ลงอัตโนมัติ ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 9 (B) - 5 (DD)
10
(ข) ดับเบิ้ลแคป: 11
สวิตชคนขับ
(1) ถอดสวิตชหลัก (ดูหนา 75-7)
(2) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน 12
13
14
15
16
17

E DU B DD
19
B85831

คามาตรฐาน: 26
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
คงที่
ขึ้น
3 (E) -9 (DD)
ต่ํากวา 1 Ω
27
(ON/OFF) 4 (DU) -6 (B)
คงที่
OFF
3 (E) -4 (DU)
ต่ํากวา 1 Ω 28
(ON/OFF) 3 (E) -9 (DD)
คงที่
ลง
3 (E) -4 (DU)
ต่ํากวา 1 Ω 29
(ON/OFF) 6 (B) -9 (DD)
คงที่ 3 (E) -4 (DU)
(ON/OFF)
ลงอัตโนมัติ
6 (B) -9 (DD)
ต่ํากวา 1 Ω 30
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 31
ปกติ 32
05–672 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา – ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานคนขับ))


(ก) ปลดขั้วตอสวิตชหลัก P4
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอมอเตอร P6
เอ็กซตราแคป (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 P4
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
DU เอ็กซตราแคป
5 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P4-5 (DD) - P6-1 ต่ํากวา 1 Ω
10 DD P4-2 (DU) - P6-2 ต่ํากวา 1 Ω
ดับเบิ้ลแคป P4-5 (DD) หรือ P6-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 P4 P4-2 (DU) หรือ P6-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา ดับเบิ้ลแคป
12 DU DD การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P4-9 (DD) - P6-1 ต่ํากวา 1 Ω
13 P4-4 (DU) - P6-2 ต่ํากวา 1 Ω
P4-9 (DD) หรือ P6-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
14 P4-4 (DU) หรือ P6-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา

15 P6
ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานคนขับ)
16
17
19 B86284 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
26
27 ปญหาอื่นๆ (ดูหนา 05-666)
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–673

ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN) 1
ที่ดานผูโดยสารไมทํางาน 2
คําอธิบายผังวงจร 3
ถาการเลือ่ นกระจกขึน้ /ลงแบบธรรมดาดานผูโ ดยสาร (UP/DOWN) ไมทาํ งานอาจเนือ่ งจากมีความบกพรองอยูใ นมอเตอร
ควบคุมกระจกไฟฟา สวิตชควบคุมกระจกไฟฟา สวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟาหรือชุดสายไฟ 5
ผังวงจรไฟฟา 10

P5
P9 Window Regulator
P9 Power 11
P5 Power Window Regulator
ชุMotor
ดมอเตอร ควบคุ
Assy มกระจกไฟฟ
(Passenger า
Side)
ชุดAssy
Switch สวิตช(Passenger
ควบคุมกระจกไฟฟ
Side)า
(ดานผูโดยสาร)
(ดานผูโดยสาร) 12

1
L-R
5
13

2
R
2
14
15
J/C J/C
From IG1 A A A C
จากรี
Relayเลย IG1 LL
J16 J16
L
J13 J14
LL
16
3

P4P4 Power Window Regulator


17
ชุดMaster
สวิตชหลัSwitch
กควบคุAssy
มกระจกไฟฟา
19
10 3
PU
8*1
8*1
10*2
10*2
R-L
II1
R-L
IC1
R-L
1
26
3 4
PD
1
1*1
1*
2
13*2
3*
G-W
II1
G-W
IC1
G-W
4
27
28
1
9*
9*
B 12
L จากรี
From เลยIG1
IG1Relay
6*
6*
2 *1: เอ็กซตราแคป
E
10*1 W-B
10*1
3*2
3*2
ไปที
To ่กBody
ราวดตGround
ัวถัง *2: ดับเบิ้ลแคป 29
*1: Extra Cab *2:
Double Cab
B86130
30
31
32
05–674 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร) (แหลงจายไฟฟา)
2
(ก) ปลดขั้วตอสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา P9
ดานชุดสายไฟ
3 P9
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
(ดานผูโดยสาร)
5 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
P9 - 3 - กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
10
B62901
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอ และชุดสายไฟ (กลองรีเลย
11 เบอร 3 - ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา)
12 ปกติ

13 2 ตรวจสอบชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร)
14 (ก) ถอดสวิตช (ดูหนา 75-7)
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
15 5 4 3 2 1
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
16 5-4
ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
2-3
17 5-4
OFF ต่ํากวา 1 Ω
B63163
2-1
19 5-3
ลง ต่ํากวา 1 Ω
2-1
26 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานผูโดยสาร)
27
ปกติ
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–675

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร) – ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา 1


(ดานผูโดยสาร))
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช P9 2
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอมอเตอร P5
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
คามาตรฐาน:
P9
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5
(ดานผูโดยสาร) P9-5 - P5-1 ต่ํากวา 1 Ω
P9-2 - P5-2 ต่ํากวา 1 Ω 10
P9-5 หรือ P5-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
P9-2 หรือ P5-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 11
P5
ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา 12
(ดานผูโดยสาร)
13
14
B63164 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ 15
16
4 ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร)
(ก) ถอดมอเตอร (ดูหนา 75-7) 17
เฟองมอเตอร ทวนเข็มนาฬิกา
(ข) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 และ 2
ขอควรระวัง: 19
ตามเข็มนาฬิกา
อยาจายแรงดันไฟฟาเขากับขั้วใดนอกจากขั้ว 1 และ 2
(ค) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
26
ปกติ:
27
B86401
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา 28
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา 29
บกพรอง เปลี่ยนชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา 30
(ดานผูโดยสาร)
ปกติ
31
32
05–676 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา – สวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร))


(ก) ปลดขั้วตอสวิตชหลัก P4
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอสวิตช P9
เอ็กซตราแคป (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 P4
คามาตรฐาน:
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
PU เอ็กซตราแคป
5 PD
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P4-8 (PU) - P9-1 ต่ํากวา 1 Ω
10 P4-1 (PD) - P9-4 ต่ํากวา 1 Ω
P4-8 (PU) หรือ P9-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 ดับเบิ้ลแคป P4-2 (PD) หรือ P9-4 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
P4
ดับเบิ้ลแคป
12 ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P4-10 (PU) - P9-1 ต่ํากวา 1 Ω
13 P4-13 (PD) - P9-4 ต่ํากวา 1 Ω
P4-10 (PU) หรือ P9-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
14 P4-13 (PD) หรือ P9-4 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
PU PD

15 P9
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
16 (ดานผูโดยสาร)

17
19 B86403
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
26 ปกติ

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–677

6 ตรวจสอบชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา (สวิตชผูโดยสารดานหนา) 1
(ก) เอ็กซตราแคป:
สวิตชล็อคกระจก
(1) ถอดสวิตชหลัก (ดูหนา 75-7) 2
(2) วั ดความต านทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
3
5
สวิตชผูโดยสารดานหนา A
10
11
PU B E
12
ภาพ A 13
PD
B85836
14
คามาตรฐาน:
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 15
10 (E) - 1 (PD)
OFF ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
9 (B) - 8 (PU) 16
10 (E) - 8 (PU)
OFF OFF ต่ํากวา 1 Ω
10 (E) - 1 (PD) 17
10 (E) - 8 (PU)
OFF ลง ต่ํากวา 1 Ω
9 (B) - 1 (PD)
10 (E) - 1 (PD) 10 kΩ หรือสูงกวา
19
ON ขึ้น
9 (B) - 8 (PU) ต่ํากวา 1 Ω
ON OFF 8 (PU) -1 (PD) ต่ํากวา 1 Ω 26
10 (E) - 8 (PU) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ลง
9 (B) - 1 (PD) ต่ํากวา 1 Ω 27
28
29
30
31
32
05–678 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

(ข) ดับเบิ้ลแคป:
สวิตชล็อคกระจก
1 (1) ถอดสวิตชหลัก (ดูหนา 75-7)
(2) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
2
สวิตชผูโดยสาร
3 ดานหนา

5
10
11 PD

PU

12
E B
13 B85831

คามาตรฐาน:
14 สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3 (E) -13 (PD) ต่ํากวา 1 Ω
OFF ขึ้น
15 6 (B) -10 (PU)
3 (E) -10 (PU) ต่ํากวา 1 Ω
OFF OFF
3 (E) -13 (PD)
16 3 (E) -10 (PU) ต่ํากวา 1 Ω
OFF ลง
6 (B) -13 (PD)
17 3 (E) -13 (PD) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ขึ้น
6 (B) -10 (PU) ต่ํากวา 1 Ω
19 ON OFF 10 (PU) -13 (PD) ต่ํากวา 1 Ω
3 (E) -10 (PU) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ลง
26 6 (B) -13 (PD) ต่ํากวา 1 Ω

27 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
ปกติ
28
ปญหาอื่นๆ (ดูหนา 05-666)
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–679

ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN) 1
ที่ดานหลังขวาไมทํางาน 2
คําอธิบายผังวงจร 3
ถาการเลือ่ นกระจกขึน้ /ลงแบบธรรมดาดานหลังขวา (UP/DOWN) ไมทาํ งานอาจเนือ่ งจากมีความบกพรองอยูใ นมอเตอร
ควบคุมกระจกไฟฟา สวิตชควบคุมกระจกไฟฟา สวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟาหรือชุดสายไฟ 5
ผังวงจรไฟฟา 10

P8
P11
P11 Power Window Regu
11
P8 Power Window Regula
ชุดtorมอเตอร ชุดสวิSwitch
lator ตชควบคุAssy
มกระจกไฟฟ
(Rear า
MotorคAssy
วบคุมกระจกไฟฟ
(Rear RH)า
(ดานหลังขวา))
RH)
(ดานหลังขวา) 12

1
L-R
5
13

2
R
2
14
15
J/C J/C
From IG1 Relay L A C A A 8
จากรีเลย IG1 L J16 J17
L
J26 J26
L
BC1
L
3
16
17
P4 Power Window Regulator
P4
Master Switch Assy
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 19
6
RRU
R-B
II1
R-B
6
BC1
R-B 26
16 1
5
RRD
15
G-B
II1
G-B
7
BC1
G-B 27
4

B
6
L จากรี
FromเลยIG1
IG1Relay 28
E
3
W-B ไปที
To ่กBody
ราวดตGround
ัวถัง 29
B86417
30
31
32
05–680 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา) (แหลงจายไฟฟา)
2
(ก) ปลดขั้วตอสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา P11
ดานชุดสายไฟ
3 P11
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
(ดานหลังขวา)
5 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
P11-3 - กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
10 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอ และชุดสายไฟ (กลองรีเลย
B62901
เบอร 3 - ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา)
11
ปกติ
12
2 ตรวจสอบชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา)
13
(ก) ถอดสวิตช (ดูหนา 75-23)
14 (ข) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
5 4 3 2 1
คามาตรฐาน:
15 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
5-4
ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
16 2-3
5-4
OFF ต่ํากวา 1 Ω
17 2-1
B63163

5-3
ลง ต่ํากวา 1 Ω
2-1
19
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
26 (ดานหลังขวา)

27 ปกติ

28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–681

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา) – ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา 1


(ดานหลังขวา))
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช P11 2
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอมอเตอร P8
P11 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
คามาตรฐาน:
(ดานหลังขวา)
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5
P11-5 - P8-1 ต่ํากวา 1 Ω
P11-2 - P8-2 ต่ํากวา 1 Ω 10
P11-5 หรือ P8-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
P8
P11-2 หรือ P8-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 11
ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานหลังขวา) 12
13
B62901
14
B86131 B86132
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
15
ปกติ
16
4 ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา)
17
(ก) ถอดมอเตอร (ดูหนา 75-23)
เฟองมอเตอร (ข) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 และ 2
ตามเข็มนาฬิกา 19
(ค) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
ปกติ: 26
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1 27
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา
ทวนเข็มนาฬิกา ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
B85064
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา 28
บกพรอง เปลี่ยนชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา 29
(ดานหลังขวา)
30
ปกติ
31
32
05–682 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา – ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา))

ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอสวิตชหลัก P4
2 (ข) ปลดขัว้ ตอสวิตช P11
P4 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
5 P4-16 (RRU) - P11-1 ต่ํากวา 1 Ω
P4-15 (RRD) - P11-4 ต่ํากวา 1 Ω
10 P4-16 (RRU) หรือ P11-1 - กราวดตวั ถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
RRD RRU P4-15 (RRD) หรือ P11-4 - กราวดตวั ถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 P11
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
12 (ดานหลังขวา)

13
14 B86404
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–683

6 ตรวจสอบชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา (สวิตชดานหลังขวา) 1
(ก) ถอดสวิตชหลัก (ดูหนา 75-7)
สวิตชล็อคกระจก 2
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน

สวิตชดานหลังขวา 3
5
10
11
RRD
RRU
12
13
E B B85831
14
คามาตรฐาน:
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 15
3 (E) - 15 (RRD)
OFF ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
6 (B) - 16 (RRU) 16
3 (E) - 15 (RRD)
OFF OFF ต่ํากวา 1 Ω
3 (E) - 16 (RRU) 17
3 (E) - 16 (RRU)
OFF ลง ต่ํากวา 1 Ω
6 (B) - 15 (RRD)
3 (E) - 15 (RRD) 10 kΩ หรือสูงกวา
19
ON ขึ้น
6 (B) - 16 (RRU) ต่ํากวา 1 Ω
ON OFF 15 (RRD) - 16 (RRU) ต่ํากวา 1 Ω 26
3 (E) - 16 (RRU) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ลง
6 (B) - 15 (RRD) ต่ํากวา 1 Ω 27
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 28
ปกติ
29
ปญหาอื่นๆ (ดูหนา 05-666)
30
31
32
05–684 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN)
2 ที่ดานหลังซายไมทํางาน
3 คําอธิบายผังวงจร
ถาการเลือ่ นกระจกขึน้ /ลงแบบธรรมดาดานหลังซาย (UP/DOWN) ไมทาํ งานอาจเนือ่ งจากมีความบกพรองอยูใ นมอเตอร
5 ควบคุมกระจกไฟฟา สวิตชควบคุมกระจกไฟฟา สวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟาหรือชุดสายไฟ

10 ผังวงจรไฟฟา
11 P7
P10
ชุดสวิPower
P10 ตชควบคุ มกระจกไฟฟ
Window Reguา
ชุดP7
tor
Power Window Regula
มอเตอร
Motorควบคุ
Assyมกระจกไฟฟ
(Rear LH)า lator Switch Assy (Rear
(ดานหลังซาย)
12 (ดานหลังซาย) LH)

13 L-R
L-R
1 5

14 2
RR
2

15
J/C J/C
A A 8
16 From
จากรี เลย IG1
IG1 Relay L
A
J16
A
J16
L
J13 J13
L
BB1
LL
3

17
P4 Power Window Regulator
P4Master Switch Assy
19 ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
2 6
26 RLU
R-Y
II1
R-Y BB1
R-B
18 1

27 RLD
G-Y
1
II1
G-Y
7
BB1
G-B
12 4

28 B
L
L จากรีเFrom
ลย IG1IG1 Relay
6

29 E
W-B
W-B ไปที่กTo
ราวดBody
ตัวถังGround
3

30 B86417

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–685

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย) (แหลงจายไฟฟา)
2
(ก) ปลดขั้วตอสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา P10
ดานชุดสายไฟ
P10
(ข) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
(ดานหลังซาย) การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด 5
P10-3 - กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอ และชุดสายไฟ (กลองรีเลย 10


B62901 เบอร 3 - ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา)
11
ปกติ
12
2 ตรวจสอบชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย)
13
(ก) ถอดสวิตช (ดูหนา 75-23)
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน 14
คามาตรฐาน:
15
5 4 3 2 1
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
5-4
ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
2-3 16
5-4
OFF ต่ํากวา 1 Ω
2-1 17
B63163

5-3
ลง ต่ํากวา 1 Ω
2-1
19
บกพรอง เปลีย่ นชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย)
26
ปกติ
27
28
29
30
31
32
05–686 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย) – ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา


(ดานหลังซาย))
2 ดานชุดสายไฟ (ก) ปลดขั้วตอสวิตช P10
(ข) ปลดขัว้ ตอมอเตอร P7
3 P10 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
5 (ดานหลังซาย)
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P10-5 - P7-1 ต่ํากวา 1 Ω
10 P10-2 - P7-2 ต่ํากวา 1 Ω
P10-5 หรือ P7-1 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
11 P7
P10-2 หรือ P7-2 - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
12 (ดานหลังซาย)

13
14 B62901
B86131 B86132 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
15 ปกติ
16
4 ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย)
17 (ก) ถอดมอเตอร (ดูหนา 75-23)
เฟองมอเตอร ทวนเข็มนาฬิกา
(ข) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 และ 2
19 (ค) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
ตามเข็มนาฬิกา ปกติ:
26 สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1
27 ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา
B85065
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา
28 ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1

29 บกพรอง เปลี่ยนชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานหลังซาย)
30 ปกติ
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–687

5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา – ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย)) 1


ดานชุดสายไฟ
(ก) ปลดขั้วตอสวิตชหลัก P4
(ข) ปลดขัว้ ตอสวิตช P10 2
P4
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P4-18 (RLU) - P10-1 ต่ํากวา 1 Ω 5
P4-12 (RLD) - P10-4 ต่ํากวา 1 Ω
P4-18 (RLU) หรือ P10-1 - กราวดตวั ถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 10
RLD RLU P4-12 (RLD) หรือ P10-4 - กราวดตวั ถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
P10
11
ชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา
(ดานหลังซาย) 12
13
B86404
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14
ปกติ 15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–688 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 6 ตรวจสอบชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา (สวิตชดานหลังซาย)
(ก) ถอดสวิตชหลัก (ดูหนา 75-7)
2 สวิตชล็อคกระจก
(ข) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
3
5
สวิตชดานหลังซาย
10
11
12 RLD
RLU

13
14 E B B85831

คามาตรฐาน:
15 สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3 (E) - 12 (RLD)
OFF ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
16 6 (B) - 18 (RLU)
3 (E) - 12 (RLD)
OFF OFF ต่ํากวา 1 Ω
17 3 (E) - 18 (RLU)
3 (E) - 18 (RLU)
OFF ลง ต่ํากวา 1 Ω
6 (B) - 12 (RLD)
19 3 (E) - 12 (RLD) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ขึ้น
6 (B) - 18 (RLU) ต่ํากวา 1 Ω
26 ON OFF 12 (RLD) - 18 (RLU) ต่ํากวา 1 Ω
3 (E) - 18 (RLU) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ลง
27 6 (B) - 12 (RLD) ต่ํากวา 1 Ω

28 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
ปกติ
29
ปญหาอื่นๆ (ดูหนา 05-666)
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–689

ฟงกชั่นรีโมทการเลื่อนกระจกขึ้น/ลง (UP/DOWN) ไมทํางาน 1

คําอธิบายผังวงจร 2
ขณะสวิตชจุดระเบิด ON สวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟาจะสงสัญญาณรีโมทไปที่สวิตชควบคุม* ของกระจกไฟฟา 3
ประตูดานผูโดยสาร (และกระจกไฟฟาประตูหลัง*) แลวสวิตชควบคุมแตละตัวจะขับมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟาแต
ละบาน 5
ขอแนะนํา:
*: ดับเบิ้ลแคป 10
ผังวงจรไฟฟา
P9
11
P9 Power Window Regulator P4 P4 Power Window Regu
ชุSwitch
ดสวิตชคAssy
วบคุม(Passenger
กระจกไฟฟา Side) lator Master Switch Assy
(ดานผูโดยสาร) ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 12
3 10 1
R-L R-L R-L 8*8*1
1
IC1 II1
10*2
10* 2 PU
13
4 3
G-W 1*1*1
1
G-W G-W
4
IC1 II1
13*2
13* 2 PD
14
P11*2
P11*2 Power Window Reg
ชุดulator
สวิตชSwitch
ควบคุมกระจกไฟฟ
Assy (Rearา 15
(ดRH)
านหลังขวา)
R-B
6
BC1
R-B
6
II1
R-B
2 RRU
16
1 16*
16*2

G-B
7
BC1
G-B
5
II1
G-B
2
RRD 17
4 15*2
15*

P10*2
P10*2 Power Window Reg
19
ชุดulator
สวิตชSwitch
ควบคุมกระจกไฟฟ
Assy (Rearา
(ดานหลังซาย)
LH)
6 2
26
R-B R-Y R-Y
BB1 II1 2 RLU
18*2
1
27
18*

7 1
G-B G-Y G-Y
BB1 II1 RLD
28
2
4 12*2
12*

1
From Bat L 9*9*1
จากแบตเตอรี
tery ่ B
1
* : เอ็กซตราแคป
2
6*6*2 29
*2: ดับเบิ้ลแค ป Extra Cab *2:
1
*1:
Double Cab ไปทีTo
่กราวด
BodyตัวถังGround W-B 10*
10*1 E
30
2
3*2
3*

B85838
31
32
05–690 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา (สวิตชล็อคกระจก)
2
(ก) กดสวิตชลอ็ คกระจก OFF แลวใชงานสวิตชทสี่ วิตชหลัก ตรวจ
3 เช็ควาฟงกชนั่ รีโมทการเลือ่ นกระจกขึน้ /ลง (UP/DOWN) ทํางาน
เปนปกติ
5 ปกติ: ฟงกชั่นรีโมทการเลื่อนกระจกขึ้น/ลง (UP/DOWN)
ทํางานเปนปกติ
10
B66761
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
11
ปกติ
12
จบขั้นตอน
13
2 ตรวจเช็คฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN)
14
(ก) ตรวจเช็ควาฟงกชนั่ การเลือ่ นกระจกไฟฟาขึน้ /ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN) ของกระจกไฟฟาประตูดา นผูโ ดยสาร
15 (และกระจกไฟฟาประตูดานหลัง*) ทํางานเปนปกติ
ขอแนะนํา:
16 *: ดับเบิ้ลแคป
ปกติ: ฟงกชั่นการเลื่อนกระจกไฟฟาขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN) ทํางานเปนปกติ
17
บกพรอง ปญหาอื่นๆ (ดูหนา 05-666)
19 ปกติ
26
เปลี่ยนชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–691

กระจกไฟฟาทุกบานไมทํางาน 1

คําอธิบายผังวงจร 2
ถากระจกไฟฟาทุกบานไมทํางาน อาจเปนเพราะไมมีกําลังไฟฟาจายใหกับสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟาหรืออาจจะมี 3
ขอบกพรอง
5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–692 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

ผังวงจรไฟฟา
1
J/C
2 I6
I6 Ignition Switch Assy
ชุดสวิตชจุดระเบิด R-L
D
J16
E
J17
R-L
J/C
B B
3 4 AM1 IG1 1
B-Y
J18 J19

B-Y R/B เบอร


R/B No. 33
5 IG1
รีRelay
เลย IG1
ชุInsturument
ด J/B ใตแผงหน าปด
Panel J/B Assy
(J/B ดานคนขั
(Driver SideบJ/B)
)
10 3
1 2
3
W-B

6 ECU-IG & GAUGE 8


11 2A 2K

2
12 B-R
2A
W-R
3
3 5
3
W-G

2
AM1
13 1
1
2 PWR
B IG1 L
2G 2H 3 3
2 2 1
14 1
J/C J/C
A C A C
L
15 J16 J17 J26 J27

16 L
P4 Power Window Regula
P4 tor Master Switch Assy
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
17
19 1 1F 9*
9*1
1

B
6*2
6*2

26 ALT J/B หองเครื


Engine Room่องยนต
J/B
4 1
W-B 10*1
10*
II1 E
27 1 1A
W-B
3*2
3*2

W A
28 แบตเตอรี
A J28
J/C
Battery่
*1: เอ็กซตราแคป
29 *1: Extra
บCab
*2: ดัCab *2:
เบิ้ลแค ป
IF

Double
B85067

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–693

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (ECU-IG & GAUGE)
2
(ก) ถอดฟวส ECU-IG & GAUGE ออกจากกลองรวมชุดสายไฟใตแผงหนาปด
(ข) วัดคาความตานทานของฟวส 3
คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
บกพรอง เปลี่ยนฟวส 5
ปกติ 10

2 ตรวจสอบรีเลย (เครื่องหมาย: IG1) 11


(ก) ถอดรีเลยออกจากกลองรีเลยเบอร 3 12
(ข) วัดความตานทานของรีเลย
คามาตรฐาน: 13
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3-5 10 kΩ หรือสูงกวา 14
ต่ํากวา 1 Ω
3-5
A92673
(เมื่อแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ถูกจายไปยังขั้ว 1 และขั้ว 2) 15
บกพรอง เปลี่ยนรีเลย
16
ปกติ
17
3 ตรวจสอบชุดสวิตชจุดระเบิด
19
(ก) ถอดสวิตชจุดระเบิด
(ข) วัดความตานทานของสวิตช 26
IG1
AM1
คามาตรฐาน:
4 3 2 1 การตอขั้วทดสอบ ตําแหนงสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด 27
8 7 6 5
1-4 LOCK 10 kΩ หรือสูงกวา
1-4 ON ต่ํากวา 1 Ω 28
A87913
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชจุดระเบิด 29
ปกติ
30
31
32
05–694 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา – แบตเตอรี่ และกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอสวิตชหลัก P4
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
เอ็กซตราแคป คามาตรฐาน:
3
P4
สวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา เอ็กซตราแคป
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
5 P4-9 (B) - กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
P4-10 (E) - กราวดตัวถัง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
10 B E ดับเบิ้ลแคป
ดับเบิ้ลแคป
P4 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
11 สวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา P4-6 (B) – กราวดตัวถัง สวิตชจุดระเบิด ON 10 ถึง 14 V
E B P4-3 (E) – กราวดตัวถัง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
12
13
14 B85840
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ

15 ปกติ

16 เปลี่ยนชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–695

การตรวจสอบบนรถ
1
1. ตรวจเช็คสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา (สวิตชลอ็ คกระจก)
(ก) ตรวจเช็ควาการทํางานของกระจกไฟฟาดานผูโดยสาร (และ 2
กระจกไฟฟาดานหลัง*) จะทํางานไมไดเมือ่ สวิตชลอ็ คกระจก
ของสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟาถูกกด 3
(ข) ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานผูโ ดยสาร (และกระจกไฟฟาดาน
หลัง*) สามารถทํางานไดเมื่อสวิตชล็อคกระจกถูกกดอีกครั้ง 5
ขอแนะนํา:
B66761

*: ดับเบิ้ลแคป 10
2. ตรวจเช็คฟงกชั่นการเลื่อนกระจกขึ้น/ลงแบบธรรมดา (UP/DOWN)
(ก) ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานคนขับทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้:
11
ปกติ: 12
เงื่อนไข สวิตชหลัก การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา
สวิตชจุดระเบิด ON ดานคนขับ ดึงขึ้น เลื่อนขึ้น (ปด)
สวิตชจุดระเบิด ON ดานคนขับ กดลงครึ่งจังหวะ เลื่อนลง (เปด)
13
(ข) ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานผูโดยสารทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้: 14
ปกติ:
เงื่อนไข สวิตชควบคุม การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา 15
• สวิตชจุดระเบิด ON
ดานผูโดยสาร ดึงขึ้น เลื่อนขึ้น (ปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
• สวิตชจุดระเบิด ON
16
ดานผูโดยสาร กดลง เลื่อนลง (เปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
(ค) ดับเบิ้ลแคป:
17
ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานหลังขวาทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้:
19
ปกติ:
เงื่อนไข สวิตชควบคุม การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา
• สวิตชจุดระเบิด ON
26
ดานหลังขวา ดึงขึ้น เลื่อนขึ้น (ปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
• สวิตชจุดระเบิด ON 27
ดานหลังขวา กดลง เลื่อนลง (เปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
(ง) ดับเบิ้ลแคป: 28
ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานหลังซายทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้:
ปกติ:
29
เงื่อนไข สวิตชควบคุม การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา
• สวิตชจุดระเบิด ON 30
หลังซาย ดึงขึ้น เลื่อนขึ้น (ปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
• สวิตชจุดระเบิด ON 31
หลังซาย กดลง เลื่อนลง (เปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
32
05–696 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

3. ตรวจเช็คฟงกชั่นการเลื่อนกระจกลงอัตโนมัติ (AUTO DOWN)


1 (ก) ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานคนขับทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้:
ปกติ:
2 เงื่อนไข สวิตชหลัก การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา
สวิตชจุดระเบิด ON ดานคนขับ กดลงจนสุด เลื่อนลงอัตโนมัติ (เปดสุด)
3 4. ตรวจเช็คฟงกชั่นรีโมทการเลื่อนกระจกขึ้น/ลง (UP/DOWN)
(ก) ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานผูโดยสารทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้:
5 ปกติ:
เงื่อนไข สวิตชหลัก การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา
10 • สวิตชจุดระเบิด ON
ดานผูโดยสาร ดึงขึ้น เลื่อนขึ้น (ปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
11 • สวิตชจุดระเบิด ON
ดานผูโดยสาร กดลง เลื่อนลง (เปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
12 (ข) ดับเบิ้ลแคป:
ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานหลังขวาทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้:
13 ปกติ:
เงื่อนไข สวิตชหลัก การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา
14 • สวิตชจุดระเบิด ON
ดานหลังขวา ดึงขึ้น เลื่อนขึ้น (ปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
15 • สวิตชจุดระเบิด ON
ดานหลังขวา กดลง เลื่อนลง (เปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
16 (ค) ดับเบิ้ลแคป:
ตรวจเช็ควากระจกไฟฟาดานหลังซายทํางานเมื่อปฏิบัติดังตอไปนี้:
17 ปกติ:
เงื่อนไข สวิตชหลัก การทํางานของสวิตช กระจกไฟฟา
19 • สวิตชจุดระเบิด ON
หลังซาย ดึงขึ้น เลื่อนขึ้น (ปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
26 • สวิตชจุดระเบิด ON
หลังซาย กดลง เลื่อนลง (เปด)
• สวิตชล็อคกระจก OFF
27 5. ตรวจเช็คการทํางานของ PTC
ขอแนะนํา:
28 การทํางาน PTC คือฟงกชั่นนั้นจะปองกันโหลดเกินของตัวควบคุมกระจกไฟฟาโดยการหยุดมอเตอร การทํางานของ
PTC จะทํางานเมื่อสวิตชควบคุมกระจกไฟฟาทํางานตามเวลาที่กําหนดไวลวงหนา
29 (ก) ดึงสวิตชควบคุมกระจกไฟฟาขึ้นและยึดคางไวเปนระยะเวลาเกิน 4 ถึง 90 วินาที ปลอยสวิตช
(ข) ตรวจเช็ควากระจกไมเลื่อนเมื่อกดสวิตช
30 (ค) รอจนกระทั่ง 60 วินาทีผานไปใหกดสวิตชลงคางไว และปลอยในขอ (ก) ใหตรวจเช็ควากระจกเลื่อนเปนปกติ
เมื่อกดสวิตช
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–697

การตรวจสอบ
1
1. เอ็กซตราแคป:
สวิตชล็อคกระจก ตรวจสอบชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
สวิตชคนขับ 2
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
3
5
สวิตชผูโดยสารดานหนา A
10
11
DD PU B E
12
ภาพ A
PD DU
13
B85836

คามาตรฐาน:
14
สวิตชดานคนขับ 15
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
คงที่ 10 (E) - 5 (DD)
(ON/OFF)
ขึ้น
2 (DU) - 9 (B)
ต่ํากวา 1 Ω 16
คงที่ 10 (E) - 2 (DU)
OFF ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 10 (E) - 5 (DD) 17
คงที่ 10 (E) - 2 (DU)
ลง ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 9 (B) - 5 (DD)
คงที่ 10 (E) - 2 (DU)
19
ลงอัตโนมัติ ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 9 (B) - 5 (DD)
สวิตชดานผูโดยสาร
26
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
10 (E) - 1 (PD)
27
OFF ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
9 (B) - 8 (PU)
OFF OFF
10 (E) - 8 (PU)
ต่ํากวา 1 Ω
28
10 (E) - 1 (PD)
OFF ลง
10 (E) - 8 (PU)
ต่ํากวา 1 Ω 29
9 (B) - 1 (PD)
10 (E) - 1 (PD) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ขึ้น
9 (B) - 8 (PU) ต่ํากวา 1 Ω 30
ON OFF 8 (PU) -1 (PD) ต่ํากวา 1 Ω
ON ลง
10 (E) - 8 (PU) 10 kΩ หรือสูงกวา 31
9 (B) - 1 (PD) ต่ํากวา 1 Ω
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตชหลัก 32
05–698 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

(ข) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ไปที่สวิตชหลักแลวตรวจเช็ควา
สวิตชหลัก หลอดไฟ AUTO
1 หลอดไฟ AUTO สวางขึ้น
ปกติ:
2 สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 9 (B)
หลอดไฟ AUTO สวางขึ้น
3 ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → ขั้ว 10 (E)
B E ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตชหลัก
5 B85835

2. ดับเบิ้ลแคป:
สวิตชล็อคกระจก
10 สวิตชดานคนขับ
ตรวจสอบชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
11 สวิตชดานหลังขวา
สวิตชผูโดยสาร
12 ดานหนา
สวิตชดานหลังซาย
13
14 RRD
RRU

15 PD
RLD
RLU
PU

16
E DU B DD
17
B85831

คามาตรฐาน:
19 สวิตชดานคนขับ
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
คงที่ 3 (E) - 9 (DD)
26 (ON/OFF)
ขึ้น
4 (DU) - 6 (B)
ต่ํากวา 1 Ω
คงที่ 3 (E) - 4 (DU)
OFF ต่ํากวา 1 Ω
27 (ON/OFF) 3 (E) - 9 (DD)
คงที่ 3 (E) - 4 (DU)
ลง ต่ํากวา 1 Ω
28 (ON/OFF)
คงที่
6 (B) - 9 (DD)
3 (E) - 4 (DU)
ลงอัตโนมัติ ต่ํากวา 1 Ω
(ON/OFF) 6 (B) - 9 (DD)
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–699

สวิตชผูโดยสารดานหนา
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด 1
3 (E) -13 (PD)
OFF ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
6 (B) -10 (PU)
3 (E) -10 (PU) 2
OFF OFF ต่ํากวา 1 Ω
3 (E) -13 (PD)
OFF ลง
3 (E) -10 (PU)
ต่ํากวา 1 Ω 3
6 (B) -13 (PD)
3 (E) -13 (PD) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ขึ้น
6 (B) -10 (PU) ต่ํากวา 1 Ω 5
ON OFF 10 (PU) -13 (PD) ต่ํากวา 1 Ω
ON ลง
3 (E) -10 (PU) 10 kΩ หรือสูงกวา 10
6 (B) -13 (PD) ต่ํากวา 1 Ω
สวิตชดานหลังขวา 11
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3 (E) - 15 (RRD)
OFF ขึ้น
6 (B) - 16 (RRU)
ต่ํากวา 1 Ω 12
3 (E) - 15 (RRD)
OFF OFF ต่ํากวา 1 Ω
3 (E) - 16 (RRU) 13
3 (E) - 16 (RRU)
OFF ลง ต่ํากวา 1 Ω
6 (B) - 15 (RRD)
3 (E) - 15 (RRD) 10 kΩ หรือสูงกวา 14
ON ขึ้น
6 (B) - 16 (RRU) ต่ํากวา 1 Ω
ON OFF 15 (RRD) - 16 (RRU) ต่ํากวา 1 Ω 15
3 (E) - 16 (RRU) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ลง
6 (B) - 15 (RRD) ต่ํากวา 1 Ω
สวิตชดานหลังซาย 16
สภาวะสวิตชล็อคกระจก สภาวะสวิตชกระจกไฟฟา การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
OFF ขึ้น
3 (E) - 12 (RLD)
ต่ํากวา 1 Ω
17
6 (B) - 18 (RLU)
OFF OFF
3 (E) - 12 (RLD)
3 (E) - 18 (RLU)
ต่ํากวา 1 Ω 19
3 (E) - 18 (RLU)
OFF ลง
6 (B) - 12 (RLD)
ต่ํากวา 1 Ω 26
3 (E) - 12 (RLD) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ขึ้น
ON OFF
6 (B) - 18 (RLU)
12 (RLD) - 18 (RLU)
ต่ํากวา 1 Ω
ต่ํากวา 1 Ω
27
3 (E) - 18 (RLU) 10 kΩ หรือสูงกวา
ON ลง
6 (B) - 12 (RLD) ต่ํากวา 1 Ω 28
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตชหลัก
หลอดไฟ AUTO
(ข) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ไปที่สวิตชหลักแลวตรวจเช็ควา 29
สวิตชหลัก
หลอดไฟ AUTO สวางขึ้น
ปกติ: 30
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 6 (B)
หลอดไฟ AUTO สวางขึ้น
31
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → ขั้ว 3 (E)
E B ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตชหลัก 32
B85830
05–700 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา

3. ตรวจสอบชุดสวิตชควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร,
1 ดานหลังขวาและดานหลังซาย)
(ก) วัดความตานทานของขั้วตอสวิตชเมื่อสวิตชทํางาน
2 5 4 3 2 1
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
3 5-4
ขึ้น ต่ํากวา 1 Ω
2-3
5 B63163
5-4
OFF ต่ํากวา 1 Ω
2-1
10 5-3
ลง ต่ํากวา 1 Ω
2-1
11 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตชควบคุม
4. ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานคนขับ)
เฟองมอเตอร
12 ตามเข็มนาฬิกา (ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 และ 2
ขอควรระวัง:
13 อยาจายแรงดันไฟฟาเขากับขั้วใดนอกจากขั้ว 1 และ 2
(ข) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
14 ทวนเข็มนาฬิกา ปกติ:
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
15 B86400
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
16 แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1
17 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดมอเตอรควบคุมกระจก

19 เฟองมอเตอร ทวนเข็มนาฬิกา 5. ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานผูโดยสาร)


(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 และ 2
26 ขอควรระวัง:
ตามเข็มนาฬิกา อยาจายแรงดันไฟฟาเขากับขั้วใดนอกจากขั้ว 1 และ 2
27 (ข) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
ปกติ:
28 B86401
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา
29 ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา
30 ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดมอเตอรควบคุมกระจก
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมกระจกไฟฟา 05–701

6. ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังขวา)
ตามเข็มนาฬิกา
เฟองมอเตอร (ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 และ 2 1
(ข) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
ปกติ: 2
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา
3
ทวนเข็มนาฬิกา ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
B85064
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา 5
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดมอเตอรควบคุมกระจก 10
11
ทวนเข็มนาฬิกา 7. ตรวจสอบชุดมอเตอรควบคุมกระจกไฟฟา (ดานหลังซาย)
เฟองมอเตอร
(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขากับขั้วตอ 1 และ 2 12
(ข) ตรวจเช็ควาเฟองมอเตอรหมุนไดคลองตัว
ตามเข็มนาฬิกา ปกติ: 13
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 1 14
เฟองมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา
ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 2
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → 2
B85065

ขั้วลบแบตเตอรี่ (-) → 1
เฟองมอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา 15
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดมอเตอรควบคุมกระจก 16
17
8. ตรวจสอบรีเลย (เครื่องหมาย: IG1) 19
(ก) วัดความตานทานของรีเลย IG1
คามาตรฐาน: 26
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
3-5 10 kΩ หรือสูงกวา 27
ต่ํากวา 1 Ω
3-5
(เมื่อแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ถูกจายไปยังขั้ว 1 และขั้ว 2) 28
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนรีเลย
A92673

29
30
31
32
05–702 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา
1
ตําแหนงชิ้นสวน
2 R/B, J/B หองเครื่องยนต
z ฟวส ECU-B
3 z ฟวส DCC

5
10
11
12
13 ชุด J/B ใตแผงหนาปด
(J/B ดานคนขับ)
14 z รีเลยรวม
ชุดมาตรวัดรวม ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
15 z สวิตชควบคุมประตู

ชุด ECU เตือนกันขโมย


16
17
19
26
27
28
29 R/B เบอร 3
z ฟวส DOOR
ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยดานหนาขวา
30
B86245

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–703

เอ็กซตราแคป 1
ชุดล็อคประตูดานหนาขวา
z มอเตอรล็อคประตู
z สวิตชล็อคและปลดล็อคประตู
2
ชุดล็อคประตูดานหนาซาย
z มอเตอรล็อคประตู 3
5
10
11
12
13
14
15
16
17

ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ)
19
26
27
28
B86248 29
30
31
32
05–704 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

1 ดับเบิ้ลแคป
ชุดล็อคประตูหนาดานขวา
z มอเตอรล็อคประตู
2 z สวิตชล็อคและปลดล็อคประตู
ชุดล็อคประตูหนาดานซาย
z มอเตอรล็อคประตู
3 ชุดล็อคประตูหลังดานขวา
z มอเตอรล็อคประตู
5 ชุดล็อคประตูหลังดานซาย
z มอเตอรล็อคประตู

10
11
12
13
14
15
16
17
19 ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ)

26
27
28
29 B86249

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–705

ผังวงจรระบบ
1
เซ็นเซอรความเร็วรถ ชุด J/B ใตแผงหนาปด 2
z รีเลยรวม

3
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา ชุดล็อคประตูหนาดานขวา
(ดานคนขับ) (มอเตอรล็อคประตู) 5
SPD
ACT+
DCTY
10
ชุดมาตรวัดรวม ACT-

ชุดล็อคประตูหนาดานซาย 11
(มอเตอรล็อคประตู)
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา
(สวิตชควบคุมที่ประตู) 12
L1
UL1
13
ชุดล็อคประตูหลังดานขวา
(มอเตอรล็อคประตู)* 14
ชุดล็อคประตูหนาดานขวา
(สวิตชล็อคและปลดล็อคประตู) 15
ชุดล็อคประตูหลังดานซาย
(มอเตอรล็อคประตู)* 16
ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัย 17
ดานหนาขวา
19
ชุด ECU เตือนกันขโมย 26
ชุดสวิตชจุดระเบิด
L2 UL3
IG 27
28
KSW

ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ *: เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป
29
30
31
32
05–706 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

คําอธิบายระบบ
1 1. คําอธิบายระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา
2 ระบบล็อคประตูไฟฟาจะล็อค/ปลดล็อคประตูทุกบานพรอมกัน
สวิตชหลักจะสงสัญญาณล็อค/ปลดล็อคไปที่รีเลยรวม แลว รีเลยจะสงสัญญาณไปที่มอเตอรล็อคในแตละประตูเพื่อ
3 ล็อค/ปลดล็อคประตูทุกบานพรอมกัน
การล็อคประตูดานคนขับโดยการใชกุญแจจะเปนการสงสัญญาณล็อค/ปลดล็อคไปที่รีเลยรวม
5 2. การทํางานของอุปกรณหลัก
สวนประกอบ หนาที่
10 สวิตชหลัก สวิตชควบคุมประตูที่ชุดสวิตชหลักจะควบคุมการล็อค/ปลดล็อคประตูทุกบาน
ติดตัง้ อยูท ปี่ ระตูแตละบาน จะตรวจจับสถานะของประตู (เปดหรือปด) และสงขอมูล
สวิตชชายประตู
ไปที่รีเลยรวมไฟติดเมื่อประตูถูกเปด และไฟดับเมื่อประตูถูกปด
11 • ติดตั้งรวมกับมอเตอรล็อค/ปลดล็อคประตูเปนชุดเดียวกัน
• ติดตั้งรวมกับสวิตชควบคุมประตู (กุญแจเชื่อมตอ key-linked) เพื่อตรวจจับ
12 ตัวล็อคประตูดานคนขับ
สถานะประตูของการทํางานจากกุญแจประตู (ล็อค/ปลดล็อค) และสงขอมูล
ไปที่รีเลยรวม
13 ตัวล็อคประตูดา นผูโ ดยสาร (ดานหลังซายและดานหลังขวา)* ติดตั้งรวมกับมอเตอรล็อค/ปลดล็อคประตูเปนชุดเดียวกัน
ขอแนะนํา:
14 *: สําหรับรุนดับเบิ้ลแคปเทานั้น
3. คําอธิบายระบบ
15 • ระบบนี้จะถูกควบคุมโดยรีเลยรวม รีเลยรวมจะสงสัญญาณไปที่มอเตอรล็อคประตูแตละตัว
• ระบบควบคุมการล็อคประตูในรถมีฟงกชั่นตางๆ ดังตอไปนี้:
16
ฟงกชั่น รายละเอียด
ล็อค/ปลดล็อคประตูทุกบานโดยการล็อคของสวิตชควบคุมประตู (การทํางาน
17 ฟงกชั่นการล็อคและปลดล็อคแบบธรรมดา
แบบธรรมดา)
เชื่อมตอกับเบาเสียบกุญแจประตู เพื่อล็อค/ปลดล็อคประตูทุกบานเมื่อทําการ
19 ฟงกชั่นกุญแจเชื่อมตอ (Key-linked) ล็อค/ปลดล็อค ล็อค/ปลดล็อค อยางไรก็ตามฟงกชั่นกุญแจเชื่อมตอ (key-linked) ล็อค/ปลดล็อค
ประตูดานคนขับจะไมทํางานเมื่อคาดเข็มขัดนิรภัย
26 1
ฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว (Speed-sensitive)* ฟงกชั่นนั้นจะล็อคประตูทุกบานทันทีเมื่อความเร็วถึง 25 กม./ชม.
ฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติเชื่อมตอดวยสวิตชจุดระเบิด หลังจากฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว (speed-sensitive) ทํางานแลว
27 (Ignition switch-linked)
2
ใหบิดสวิตชจุดระเบิด OFF จะทําใหประตูปลดล็อคอัตโนมัติ
ล็อคประตูทุกบานดวยรีโมท* กดสวิตชล็อคของรีโมทเพื่อล็อคประตูทุกบาน
28 ปลดล็อคประตูทุกบานดวยรีโมท* 2
กดสวิตชปลดล็อคของรีโมทเพื่อปลดล็อคประตูทุกบาน
ขอแนะนํา:
29 *1: สําหรับรุนที่มีระบบกันขโมยเทานั้น
*2: สําหรับรุนที่มีระบบล็อคประตูดวยรีโมทเทานั้น
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–707

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ขอแนะนํา: 1
ใชขั้นตอนนี้ในการคนหาสาเหตุปญหาของระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ
2

ตอไป 3

2 วิเคราะหปญหาของลูกคาและตรวจเช็คอาการปญหา (ดูหนา 05-710) 5


ตอไป 10
3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่ 11
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V 12
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ
ตอไป 13
4 ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-711) 14
ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ 15
ความบกพรองไมมีอยูในตารางสภาพปญหา A
ความบกพรองมีอยูในตารางสภาพปญหา B 16
B ดูขั้นตอนที่ 5
A 17

5 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม 19
(ก) ขั้วตางๆ ของ ECU (ดูหนา 05-712) 26
(ข) การตรวจสอบบนรถ (ดูหนา 05-726)
(ค) การตรวจสอบ (ดูหนา 05-727) 27
ตอไป
28
6 ปรับตั้ง ซอม หรือเปลี่ยน
29
ตอไป
30
7 ทดสอบยืนยัน
31
ตอไป
32
จบขั้นตอน
05–708 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

การเลือกกําหนดคา
1 ขอแนะนํา:
2 หัวขอตอไปนี้สามารถกําหนดคาได
ขอควรระวัง:
3 • หลังจากยืนยันหัวขอตางๆ สําหรับการกําหนดคาที่ตองการโดยลูกคาวาเหมาะสมหรือไมใหทําการกําหนดคา
• ตองจดบันทึกคาปจจุบันกอนทําการกําหนด
5 ชุด ECU เตือนการขโมย:
หัวขอ คาเริ่มตน รายละเอียด การตั้งคา
10 ฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวย
ON*2 ฟงกชั่นนั้นจะล็อคประตูทุกบานทันทีเมื่อความเร็วถึง 25 กม./ชม. ON/OFF
ความเร็ว (Speed-sensitive)*1
ฟงกชั่นปลดล็อคประตูอัตโนมัติ
11 เชื่อมตอดวยสวิตชจุดระเบิด ON*2
หลังจากฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว (speed-sensitive)
ON/OFF
ทํางานแลว ใหบิดสวิตชจุดระเบิด OFF จะทําใหประตูปลดล็อคอัตโนมัติ
(Ignition switch-linked)
12 ขอแนะนํา:
1
*
13 2: สําหรับรุนที่มีระบบกันขโมยเทานั้น
* : เมื่อตั้งคากําหนด ON/OFF ของฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว (speed-sensitive) และฟงกชั่นปลดล็อค
14 ประตูอัตโนมัติเชื่อมตอดวยสวิตชจุดระเบิด (ignition switch-linked) แลวกรุณาจดบันทึกคาที่ตั้งทั้ง 2 ฟงกชั่นวาตรงกัน
หรือไม สําหรับขอมูลวิธีการกําหนด ใหอางอิงตามแผนภูมิที่หนาตอไป
15 1. แผนภูมวิ ธิ กี าํ หนดคาของฟงกชนั่ ล็อคประตูอตั โนมัตดิ ว ยความเร็ว (SPEED-SENSITIVE) และฟงกชนั่ ปลดล็อค
ประตูอัตโนมัติเชื่อมตอดวยสวิตชจุดระเบิด (IGNITION SWITCH-LINKED)
16 • ในระหวางอยูในโหมดกําหนดคา ฟงกชั่นควบคุมเสียงเตือนจะใชงานไมได
• ในระหวางอยูใ นโหมดกําหนดคา ฟงกชนั่ ควบคุมดวยรีโมทตอไปนีจ้ ะใชงานไมได ฟงกชนั่ เสียงเตือนดวยรีโมท,
17 ฟงกชั่นการล็อคอัตโนมัติ, ฟงกชั่นหยุดการทํางาน และฟงกชั่นไฟสองสวางชวยการมองเห็น
• ในแผนภูมิ “การล็อค” และ “การปลดล็อค” อางอิงตามการล็อค และปลดล็อคดวยรีโมท
19 • ในระหวางอยูในโหมดกําหนดคา ECU จะไมสงสัญญาณล็อค/ปลดล็อค
• ขณะที่อยูในโหมดกําหนดคา ใหเสียบกุญแจเขาในเบากุญแจจุดระเบิด โหมดกําหนดคาจะจบลง
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–709

ตองพบสภาวะตอไปนี้:
สวิตชจุดระเบิด OFF สวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ (ไมเสียบกุญแจ), ไมมีสิ่งผิดปกติ, 1
สัญญาณเตือนเกิดขึ้น, และไมมีสัญญาณเกิดขึ้น
เริ่มตน 2
ไมเสียบกุญแจเขาในเบากุญแจจุดระเบิด
3
เสียบกุญแจแลวดึงออกทําซ้ําหนึ่งครั้งภายใน 5 วินาที
ในระหวาง 5 ถึง 10 วินาที 5
กดสวิตชปลดล็อคและล็อคคางไวทั้งสองเปนเวลาเกิน 3 วินาที 10
ภายใน 5 วินาที เมื่อเขาโหมดกําหนดคา, ไฟเตือนฉุกเฉินจะกะพริบหนึ่งครั้ง 11

ทําการล็อคสองครัง้ ภายใน 2 วินาที ถาการล็อคทําเกิน 5 ครัง้ หรือสวิตชปลดล็อคถูกกด, โหมดกําหนดคาจะจบลง


12
ภายใน 2 วินาที 13
ทําการปลดล็อคหนึ่งครั้ง 14
เมื่อฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว (Speed-Sensitive) และฟงกชั่นปลดล็อคประตูอัตโนมัติ 15
ภายใน 10 วินาที เชื่อมตอดวยสวิตชจุดระเบิด (ignition switch-linked) ถูกเลือกไฟเตือนฉุกเฉินจะกะพริบสองครั้ง
16
ทําการล็อค ทําการล็อค ทําการล็อค
หนึ่งครั้ง สองครั้ง สามครั้ง
17
ภายใน 2 วินาที ภายใน 2 วินาที ขอแนะนํา:
โหมดกําหนดคาจบขั้นตอน
ทําการปลดล็อค ทําการปลดล็อค ทําการปลดล็อค
19
หนึ่งครั้ง หนึ่งครั้ง หนึ่งครั้ง
26
ไฟฉุกเฉินกะพริบ ไฟฉุกเฉินกะพริบ ไฟฉุกเฉินกะพริบ
หนึ่งครั้งหรือสองครั้ง หนึ่งครั้ง สองครั้ง 27
ขอแนะนํา:
คาที่กําหนดไวในขณะนั้นจะสื่อสารผาน 28
ทางการกะพริบของไฟเตือนฉุกเฉิน (คาเริ่มตน)
กะพริบ 1 ครั้ง : ON ON OFF 29
กะพริบ 2 ครั้ง: OFF ฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว
(speed-sensitive) และฟงกชั่นปลดล็อคประตูอัตโนมัติเชื่อมตอ 30
ดวยสวิตชจุดระเบิด (ignition switch-linked) ถูกตั้งคา
จบขั้นตอน
31
32
05–710 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา ชื่อผูตรวจสอบ:
2 หมายเลขประจํารถ
วันที่ผลิต
3 ชื่อลูกคา
หมายเลขทะเบียน
5 วันที่นํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง กม.
ไมล

10 วันที่เกิดปญหาขึ้นครั้งแรก / /
11 ความถี่ของปญหา □ คงที่ □ บางครั้ง ( ครั้งตอ วัน/เดือน)
□ เพียงครั้งเดียว
□ ดี □ มีเมฆ □ ฝนตก □ หิมะ
อากาศ
12 สภาพอากาศ □ หลากหลาย/อื่นๆ
เมื่อเกิดปญหา อุณหภูมิภายนอก □ รอน □ อุน □ เย็น □ หนาว
๐ ๐
ประมาณ C( F)
13
□ ความบกพรองในการใชสวิตช □ สวิตชควบคุมประตูดานคนขับ □ ประตูดานคนขับ
ล็อค/ปลดล็อคประตู ประตูดานผูโดยสาร
14 □
□ ประตูหลังดานขวา*
□ ประตูหลังดานซาย*
15 □ ความบกพรองในการใชกุญแจ □ สวิตชควบคุมการล็อคและปลดล็อค □ ประตูดานคนขับ
ล็อค/ปลดล็อคประตู ดวยกุญแจประตูดานคนขับ □ ประตูดานผูโดยสาร
ประตูหลังดานขวา*
16

□ ประตูหลังดานซาย*

17 □ อื่นๆ
อาการปญหา

19
26
27
28
29
30
ขอแนะนํา:
31 *: ดับเบิ้ลแคป

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–711

ตารางสภาพปญหา
ขอแนะนํา:
1
ใชตารางขางลางนีเ้ พือ่ ชวยในการกําหนดสาเหตุของปญหา สาเหตุของอาการปญหาจะเรียงลําดับความเปนไปไดในชอง
2
ของตาราง “บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” ตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยการทําการตรวจเช็คบริเวณที่คาดวาเปนปญหา
ตามลําดับรายการ ถาจําเปนใหเปลี่ยนชิ้นสวน 3
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. ฟวส ECU-B
2. ฟวส DOOR
5
3. ฟวส DCC
4. ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 10
5. ชุดตัวล็อคประตูหนาดานขวา (ดานคนขับ)
ไมสามารถใชงานล็อคประตูไฟฟาได 6. ชุดตัวล็อคประตูหนาดานซาย (ดานผูโดยสาร) 05-714 11
7. ชุดตัวล็อคประตูหลังดานขวา (ดานหลังขวา)
8. ชุดตัวล็อคประตูหลังดานซาย (ดานหลังซาย) 12
9. ชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนา (ดานคนขับ)
10. รีเลยรวม
11. ชุดสายไฟ
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–712 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

ขั้วตางๆ ของ ECU


1 1. ตรวจเช็คชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม)
2
ดานหลังรถ
Vehicle Rear Side
ดานหน
Vehicle ารถ Side
Front
3
5
2A
2O
10
11 2D

12
2K 2L 2R
13 2H

14
รีเลยRelay
Integration รวม
15
2A

16
17 2O

2R
19 2D

26
2K 2L

27
2H

28
29
30 B85014
B85014
B84046

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–713

(ก) ปลดขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2A, 2D, 2H และ 2L


(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 1
คามาตรฐาน:
สัญลักษณ
สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด 2
(หมายเลขขั้ว)
BECU (2L-12) - L - กราวดตัวถัง แหลงจายไฟ +B (BECU) คงที่ 10 ถึง 14 V
กราวดตัวถัง
3
ALTB (2H-4) - LG - +B แหลงจายไฟฟา (ระบบไฟฟา, คงที่ 10 ถึง 14 V
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง ระบบอัลเทอรเนเตอร) 5
GND (2D-9, 18) - W-B - กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง 10
L1 (2A-4) - L - กราวดตัวถัง
สัญญาณเขาล็อคสวิตชควบคุม สวิตชควบคุมประตู
กราวดตัวถัง ประตู 1:OFF → 2: ล็อค 1: 10 kΩ หรือสูงกวา → 2: ต่ํากวา 1 Ω 11
UL1 (2D-4) - L-W - สัญญาณเขาปลดล็อคสวิตช สวิตชควบคุมประตู
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง ควบคุมประตู 1:OFF → 2: ปลดล็อค 1: 10 kΩ หรือสูงกวา → 2: ต่ํากวา 1 Ω 12
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
(ค) ตอขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2A, 2D, 2H และ 2L กลับเขาที่ 13
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ
คามาตรฐาน: 14
สัญลักษณ สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
(หมายเลขขั้ว) 15
สัญญาณสงออกขับมอเตอรล็อคประตู สวิตชควบคุมประตูหรือเบาเสียบ 1: ต่ํากวา 1 V →
ACT+ (2R-28) - L -
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง
(ประตูดานคนขับ และประตูหลังดาน กุญแจประตูดานคนขับ 2: 10 ถึง 14 V → 16
ขวา) 1: OFF → 2: ล็อค → 3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V
ACT+(2K-11) - L-
สัญญาณสงออกขับมอเตอรล็อคประตู สวิตชควบคุมประตูหรือเบาเสียบ 1: ต่ํากวา 1 V → 17
(ประตูดานผูโดยสาร และประตูหลัง กุญแจประตูดานคนขับ 2: 10 ถึง 14 V →
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง
ดานซาย) 1: OFF →2: ล็อค →3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V
สัญญาณสงออกขับมอเตอรปลดล็อค สวิตชควบคุมประตูหรือเบาเสียบ 1: ต่ํากวา 1 V →
19
ACT- (2R-27) - L-Y -
ประตู (ประตูดานคนขับ และประตูหลัง กุญแจประตูดานคนขับ 2: 10 ถึง 14 V →
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง
ดานขวา) 1: OFF →2: ปลดล็อค →3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V 26
สัญญาณสงออกขับมอเตอรปลดล็อค สวิตชควบคุมประตูหรือเบาเสียบ 1: ต่ํากวา 1 V →
ACT- (2K-10) - L-Y -
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง
ประตู (ประตูดานผูโดยสาร และประตู กุญแจประตูดานคนขับ 2: 10 ถึง 14 V → 27
หลังดานซาย) 1: OFF →2: ปลดล็อค →3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V
DCTY (2O-27) - R-B -
สัญญาณเขาสวิตชชายประตูดานคนขับ
ประตูดานคนขับ 1: ต่ํากวา 1 V → 28
กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง 1:ปด → 2: เปด 2: 10 ถึง 14 V
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวารีเลยอาจบกพรอง 29
30
31
32
05–714 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

1 ไมสามารถใชงานล็อคประตูไฟฟาได
2 คําอธิบายผังวงจร
3 รีเลยควบคุมประตูจะขับมอเตอรล็อคประตูตามสัญญาณสวิตชจากสวิตชควบคุมประตูของสวิตชหลักควบคุมกระจก
ไฟฟา และเบากุญแจประตูดานคนขับ
5 อยางไรก็ตามฟงกชั่นกุญแจเชื่อมตอ (key-linked) ล็อค/ปลดล็อคประตูดานคนขับจะไมทํางานเมื่อคาดเข็มขัดนิรภัย
ผังวงจรไฟฟา
10 ผังวงจรไฟฟาจะแสดงที่หนาถัดไป
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–715

R/B หองเครื่องยนต ชุด J/B ใตแผงหนาปด (J/B ดานคนขับ) 1


จากแบตเตอรี่
R/B เบอร 3 2
จากแบตเตอรี่
3
P4
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา รีเลยรวม 5
(สวิตชควบคุมประตู)
ล็อค 10
ปลดล็อค
D6
ชุดล็อคประตูหนาดานขวา
11
ล็อค 12
ปลดล็อค
13
14
D9
ชุดล็อคประตูหลังดานขวา*2 15
16
D7
ชุดล็อคประตูหนาดานซาย 17
F12
ชุดปลอกล็อค 19
เข็มขัดนิรภัย
ดานหนา 26
(ดานคนขับ)
D8
ชุดล็อคประตูหลังดานขวา*2 27
28
29
*1
: เอ็กซตราแคป
*2
30
: ดับเบิ้ลแคป
B86241 31
32
05–716 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คการทํางานล็อค/ปลดล็อคประตู
2
(ก) ดําเนินการขั้นตอนตอไปตามอาการปญหาในตารางดานลาง
อาการปญหา ปฏิบัติตามขอ
3 ประตูทุกบานไมสามารถล็อค/ปลดล็อคในเวลาเดียวกันโดยการใชสวิตชควบคุม
A
ประตูที่สวิตชหลัก (การทํางานของสวิตช)
5 ประตูทุกบานไมสามารถล็อค/ปลดล็อคในเวลาเดียวกันโดยการใชเบากุญแจประตู
B
ที่ดานคนขับ (การทํางานของกุญแจ)
10 เฉพาะประตูเดียวที่ไมสามารถล็อค/ปลดล็อคได C
หัวขอดานบนทั้งหมดทํางานผิดพลาด D
11
B ดูขั้นตอนที่ 4
12
C ดูขั้นตอนที่ 7
13
D ดูขั้นตอนที่ 9
14 A

15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–717

2 ตรวจสอบชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา (สวิตชควบคุมประตู) 1
(ก) วัดความตานทานของสวิตชควบคุมประตู
ล็อค คามาตรฐาน: 2
ปลดล็อค เอ็กซตราแคป
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
3
3 - 10 ล็อค ต่ํากวา 1 Ω
3 - 10, 4 - 10 OFF 10 kΩ หรือสูงกวา 5
4 - 10 ปลดล็อค ต่ํากวา 1 Ω
สวิตชควบคุมประตู
ดับเบิ้ลแคป 10
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช เงื่อนไขที่กําหนด
เอ็กซตราแคป
3-5 ล็อค ต่ํากวา 1 Ω 11
3 - 5, 3 - 8 OFF 10 kΩ หรือสูงกวา
3-8 ปลดล็อค ต่ํากวา 1 Ω 12
5 6 7 8 9 10

13
1 2 3 4

14
ดับเบิ้ลแคป
15
16
17
B84059

บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา 19
ปกติ 26
27
28
29
30
31
32
05–718 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

1 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา – ชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด


(รีเลยรวม) และกราวดตัวถัง)
2 (ก) ปลดขั้วตอสวิตช P4
ดานชุดสายไฟ
เอ็กซตราแคป
(ข) ปลดขัว้ ตอกลองรวมสายไฟ 2A และ 2D
3 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
P4
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
5 L
UL เอ็กซตราแคป
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
10 P4-3 (L) - 2A-4 (L1) ต่ํากวา 1 Ω
P4-4 (UL) - 2D-4 (UL1) ต่ํากวา 1 Ω
11 ดับเบิ้ลแคป
E
P4-10 (E) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
P4
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา P4-3 (L) หรือ 2A-4 (L1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
12 L
P4-4 (UL) หรือ 2D-4 (UL1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
E UL
ดับเบิ้ลแคป
13 การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P4-5 (L) - 2A-4 (L1) ต่ํากวา 1 Ω
14 P4-8 (UL) - 2D-4 (UL1) ต่ํากวา 1 Ω
P4-3 (E) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
15 2A
ชุด J/B ใตแผงหนาปด P4-5 (L) หรือ 2A-4 (L1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
P4-8 (UL) หรือ 2D-4 (UL1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
16
17
L1

19 UL1
2D
ชุด J/B ใตแผงหนาปด

26
27
B84057 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
28 ปกติ
29 เปลี่ยนชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม)
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–719

4 ตรวจสอบชุดตัวล็อคประตูดานหนาขวา (มอเตอรล็อคประตู, สวิตชล็อคและปลดล็อคประตู) 1


(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขาที่ตัวล็อคประตูแลวตรวจเช็ค
การทํางานของมอเตอรล็อคประตู 2
ปกติ:
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
3
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) →ขั้ว 4
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 1
ล็อค 5
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 1
ปลดล็อค
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 4 10
ปลดล็อค 11
ล็อค
12
13
B65429
14
(ข) วัดความตานทานของสวิตชล็อคและปลดล็อคประตู
ปลดล็อค คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ สภาพการล็อคประตู เงื่อนไขที่กําหนด
7-9 ล็อค ต่ํากวา 1 Ω 16
ล็อค 7 - 9, 7 - 10 OFF 10 kΩ หรือสูงกวา
7 - 10 ปลดล็อค ต่ํากวา 1 Ω 17
19
26
27
28
B65430
บกพรอง เปลี่ยนชุดล็อคประตูหนาดานขวา 29
ปกติ
30
31
32
05–720 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

1 5 ตรวจสอบชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนาดานขวา
(ก) วัดความตานทานของสวิตชที่หัวเข็มขัด
2 โอหมมิเตอร
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
3 1-2 ไมคาดเข็มขัดนิรภัย ต่ํากวา 1 Ω
ไมคาดเข็มขัด 1-2 คาดเข็มขัดนิรภัย 1 MΩ หรือสูงกวา
5
10
คาดเข็มขัด
11
12
1 2
13
14 B85672

บกพรอง เปลีย่ นชุดปลอกล็อคเข็มขัดนิรภัยเบาะหนาดานขวา


15 ปกติ

16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–721

6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดตัวล็อคประตูหนา – ชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม) และกราวดตวั ถัง) 1


(ก) ปลดขั้วตอตัวล็อคประตู D8
ดานชุดสายไฟ 2
D8 (ข) ปลดขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2A, 2D และ 2R
ชุดล็อคประตูดานหนาซาย (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไข เงื่อนไขที่กําหนด
D8-1 - 2R-27 (ACT-) คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 5
D8-4 - 2R-28 (ACT+) คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
D8-5 - 2D-4 (UL1) คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 10
2A
ชุด J/B ใตแผงหนาปด D8-6 - 2A-4 (L1) คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
D8-8 - กราวดตัวถัง
เข็มขัดนิรภัยเบาะคนขับ
ต่ํากวา 1 Ω
11
ไมคาด
D8-1 หรือ 2R-27 (ACT-) -
คงที่ 10 kΩ หรือสูงกวา 12
กราวดตวั ถัง
L1 D8-4 หรือ 2R-28 (ACT+) -
คงที่ 10 kΩ หรือสูงกวา 13
2D กราวดตวั ถัง
UL1 ชุด J/B ใตแผงหนาปด D8-5 หรือ 2D-4 (UL1) -
กราวดตัวถัง
คงที่ 10 kΩ หรือสูงกวา 14
D8-6 หรือ 2A-4 (L1) -
กราวดตัวถัง
คงที่ 10 kΩ หรือสูงกวา 15
16
2R
ชุด J/B ใตแผงหนาปด 17
19
26
ACT- ACT+
B84048
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 27
ปกติ
28
เปลี่ยนชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม) 29
30
31
32
05–722 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

1 7 ตรวจสอบชุดตัวล็อคประตู (ประตูคนขับ, ประตูผูโดยสาร, ดานหลังขวา, ดานหลังซาย)


(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขาที่ตัวล็อคประตูแลวตรวจเช็คการทํางานของมอเตอรล็อคประตู
2 ปกติ:
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
3 แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 4
ล็อค
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 1
5 แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 1
ปลดล็อค
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 4
10
ดานหนาซาย ดานหนาขวา
11
12
13
ปลดล็อค ปลดล็อค
14 ล็อค ล็อค

15 ดานหลังซาย ดานหลังขวา

16
17
19
ล็อค ปลดล็อค ปลดล็อค ล็อค
26 B86805

27 บกพรอง เปลี่ยนชุดตัวล็อคประตู
ปกติ
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–723

8 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดตัวล็อคประตู – ชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม) และกราวดตวั ถัง) 1


(ก) ปลดขั้วตอตัวล็อคประตู D8, D9, D10* และ D11*
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอกลองรวมสายไฟ 2K และ 2R 2
D8, D9, D10*, D11* (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดล็อคประตูหนาหรือหลัง คามาตรฐาน: 3
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
D8-4 - 2R-28 (ACT+) ต่ํากวา 1 Ω 5
D8-1 - 2R-27 (ACT-) ต่ํากวา 1 Ω
D9-4 - 2K-11 (ACT+) ต่ํากวา 1 Ω 10
*: เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป D9-1 - 2K-10 (ACT-) ต่ํากวา 1 Ω
D11-4* - 2R-28 (ACT+) ต่ํากวา 1 Ω 11
2K D11-1* - 2R-27 (ACT-) ต่ํากวา 1 Ω
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
D10-4* - 2K-11 (ACT+) ต่ํากวา 1 Ω 12
D10-1* - 2R-10 (ACT-) ต่ํากวา 1 Ω
D8-4 หรือ 2R-28 (ACT+) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 13
D8-1 หรือ 2R-27 (ACT-) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ACT- ACT+ D9-4 หรือ 2K-11 (ACT+) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 14
D9-1 หรือ 2K-10 (ACT-) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
2R D11-4* หรือ 2R-28 (ACT+) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
D11-1* หรือ 2R-27 (ACT-) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
15
D10-4* หรือ 2K-11 (ACT+) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
D10-1* หรือ 2R-10 (ACT-) – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 16
17
ACT- ACT+
B84049 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 19
ปกติ
26
เปลี่ยนชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม)
27
9 ตรวจสอบฟวส (ECU-B, DCC, DOOR) 28
(ก) ถอดฟวส ECU-B และ DCC ออกจากกลองรีเลยหองเครื่องยนต
(ข) ถอดฟวส DOOR ออกจากกลองรีเลยเบอร 3 29
(ค) วัดความตานทานของฟวส
คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
30
บกพรอง เปลี่ยนฟวส 31
ปกติ 32
05–724 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

1 10 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม) -แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2D, 2H และ 2L
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
2D
คามาตรฐาน:
3 ชุด J/B ใตแผงหนาปด
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
GND
2L-12 (BECU) – กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
5 2H-4 (ALTB) – กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
2D-9 (GND) – กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
10 2D-18 (GND) – กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
GND

11 2H
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
12
13
14
ALTB
15 2L
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
16
17
BECU

19 B84058 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ


ปกติ
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–725

11 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา – ชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด 1


(รีเลยรวม) และกราวดตัวถัง)
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช P4 2
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอกลองรวมสายไฟ 2A และ 2D
เอ็กซตราแคป
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 3
P4
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา คามาตรฐาน:
L เอ็กซตราแคป 5
UL
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
P4-3 (L) - 2A-4 (L1) ต่ํากวา 1 Ω
10
P4-4 (UL) - 2D-4 (UL1) ต่ํากวา 1 Ω
ดับเบิ้ลแคป
E
P4-10 (E) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω 11
P4
ชุดสวิตชหลักควบคุมกระจกไฟฟา P4-3 (L) หรือ 2A-4 (L1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
L
P4-4 (UL) หรือ 2D-4 (UL1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 12
E UL
ดับเบิ้ลแคป
การตอขั้วทดสอบ เงื่อนไขที่กําหนด
13
P4-5 (L) - 2A-4 (L1) ต่ํากวา 1 Ω
P4-8 (UL) - 2D-4 (UL1) ต่ํากวา 1 Ω 14
P4-3 (E) - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
2A
ชุด J/B ใตแผงหนาปด P4-5 (L) หรือ 2A-4 (L1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา 15
P4-8 (UL) หรือ 2D-4 (UL1) - กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
16
17
L1

UL1
2D
ชุด J/B ใตแผงหนาปด 19
26
27
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
B84057

28
ปกติ
29
เปลี่ยนชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม)
30
31
32
05–726 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา

การตรวจสอบบนรถ
1 1. ตรวจเช็คการทํางานของระบบล็อคประตูดวยไฟฟา
2 (ก) ตรวจเช็คการทํางานขั้นพื้นฐาน
(1) ตรวจเช็คประตูทกุ บานจะถูกล็อคเมือ่ กดสวิตชควบคุมประตู (สําหรับระบบธรรมดา) ไปทีต่ าํ แหนง LOCK
3 และประตูทุกบานจะถูกปลดล็อคเมื่อกดสวิตชไปที่ตําแหนง UNLOCK
(2) ตรวจเช็ควาประตูทุกบานล็อคเมื่อบิดกุญแจที่เบาเสียบกุญแจล็อคประตูดานคนขับไปที่ตําแหนง LOCK
5 อยางไรก็ตามฟงกชนั่ กุญแจเชือ่ มตอ (key-linked) ล็อค/ปลดล็อคประตูดา นคนขับจะไมทาํ งานเมือ่ คาดเข็มขัด
นิรภัย
10 (ข) ตรวจเช็คฟงกชั่นล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว (speed-sensitive) และฟงกชั่นปลดล็อคประตูอัตโนมัติเชื่อม
ตอดวยสวิตชจุดระเบิด (ignition switch-linked)
11 (1) เมื่อประตูทุกบานถูกปด และขับรถที่ความเร็วประมาณ 25 กม./ชม. หรือมากกวาในครั้งแรก ใหตรวจเช็ค
วาประตูทุกบานล็อคเองอัตโนมัติ
12 ขอแนะนํา:
การล็อคอัตโนมัติอธิบายไวที่ดานบนจะไมเกิดขึ้นจนกวาประตูมีการเปดและปดอีกครั้ง
13 (2) หลังการทํางานของตัวล็อคประตูอัตโนมัติดวยความเร็ว (Speed-Sensitive) เกิดขึ้นแลว ใหตรวจเช็ควาเมื่อ
บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ OFF แลวประตูจะปลดล็อคอัตโนมัติ
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูไฟฟา 05–727

การตรวจสอบ
1
2
1. ตรวจสอบชุดตัวล็อคประตูหนาดานขวา
(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขาที่ตัวล็อคประตูแลวตรวจเช็ค 3
การทํางานของมอเตอรล็อคประตู
ปกติ:
5
สภาวะที่ตรวจวัด เงื่อนไขที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 4
10
ล็อค
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 1
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 1 11
ปลดล็อค
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 4
ปลดล็อค ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดตัวล็อคประตู 12
ล็อค
13
14
B65429 15
(ข) วัดความตานทานของสวิตชล็อคและปลดล็อคประตู
ปลดล็อค คามาตรฐาน:
16
การตอขั้วทดสอบ สภาพการล็อคประตู เงื่อนไขที่กําหนด
7-9 ล็อค ต่ํากวา 1 Ω
17
ล็อค 7 - 9, 7 - 10 OFF 10 kΩ หรือสูงกวา
7 - 10 ปลดล็อค ต่ํากวา 1 Ω 19
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดตัวล็อคประตู
26
27
28
29
B65430 30
31
32
05–730 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท
1
ตําแหนงชิ้นสวน
2
R/B, J/B หองเครื่องยนต
3 z ฟวสกระแสสูง ALT
z ฟวส ECU B
5 แตรกันขโมย z ฟวส DCC

10 ชุดไฟหนาดานขวา
z ไฟเตือนฉุกเฉินดานขวา ชุดไฟหนาดานซาย
z ไฟเตือนฉุกเฉินดานซาย
11
12
13
14
15 ชุด ECU เตือนกันขโมย สวิตชสัญญาณเตือนฉุกเฉิน

16
รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว
17
19 R/B เบอร 3
z ฟวสประตู
26
ชุดสวิตชเตือนปลดล็อค
27 กุญแจ
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
28 (J/B ดานคนขับ)
z รีเลยรวม
29 B85905
z ฟวสกระแสสูง IG1

30
B86230

31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–731

1
รีโมทประตู
z แบตเตอรี่รีโมท 2
z ชุดประกอบแบตเตอรี่รีโมทประตู
สวิตชล็อค 3
หลอด LED
สวิตชเสียงเตือน (Panic) 5

สวิตชปลดล็อค
10
11
ชุดล็อคประตูหนาดานขวา
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ)
12

ชุดล็อคประตูหลังดานขวา* 13
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง 14
ดานขวา*
15
16
ชุดล็อคประตูหนา
ดานซาย 17
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา
(ดานผูโดยสารเบาะหนา) 19
ชุดล็อคประตูหลังดานซาย* 26
ชุดไฟทายรวมดานขวา
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลังดานซาย*
z ไฟเตือนฉุกเฉินดานขวา
27
ชุดไฟทายรวมดานซาย
z ไฟเตือนฉุกเฉินดานซาย 28
*: เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป
B85906 29
30
31
32
05–732 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

วงจรระบบ
1
2
3 กุญแจ
(รีโมทประตู)
5
10
11
ชุด J/B ใตแผงหนาปด ชุดล็อคประตูหนา
12 ชุดสวิตชเตือนการ (J/B ดานคนขับ) (ดานคนขับ, ดาน
ปลดล็อคกุญแจ รีเลยรวม ผูโดยสารเบาะหนา)
13
ชุด ECU
14 สวิตชไฟชายประตู
เตือนกันขโมย ชุดล็อคประตูหลัง
หนา (ดานคนขับ,
(ติดตัง้ รวมกับ (ดานซาย, ดานหลัง)*
ดานผูโดยสารเบาะ
15 หนา)
ตัวรับสัญญาณ
การควบคุม
ประตู)
16 ชุดแตรกันขโมย
สวิตชไฟชายประตู
17 หลัง รีเลยแฟลชเชอร
(ดานซาย, ดานขวา)* ไฟเลี้ยว
19
26
*: เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป
27
28
B85903

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–733

คําอธิบายระบบ
1. คําอธิบายระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 1
(ก) ระบบนี้จะล็อคและปลดล็อคประตูรถดวยรีโมท โดยระบบการควบคุมดวยรีโมทจะมีลักษณะดังนี้:
• ตัวรับสัญญาณควบคุมประตูจะถูกติดตั้งอยูใน ECU เตือนกันขโมย โดย ECU จะทําการตรวจสอบรหัส 2
และทําการควบคุมการล็อคประตู ระบบเชื่อมตอขอมูลจะถูกเตรียมสําหรับการสื่อสารใน ECU
• ใชรีโมทแบบสวิตชรวม ซึ่งประกอบไปดวย 3 สวิตช ดังนี้: สวิตชล็อคประตู, สวิตชปลดล็อคประตู และ 3
สวิตชเสียงเตือนดวยรีโมท (Panic)
• หลอด LED ถูกติดตั้งบนรีโมทเพื่อใหสามารถทราบสถานะของแบตเตอรี่ 5
2. หนาที่ของอุปกรณหลัก
อุปกรณ หนาที่
10
• ประกอบดวยสวิตชล็อค, ปลดล็อค และเสียงเตือน (Panic)
รีโมทประตู • สงคลืน
่ ไฟฟาออนๆ (ลงทะเบียนรหัสและฟงกชนั่ รหัส) ไปที่ ECU เตือนกันขโมย 11
• ไฟแสดงสถานะ (LED) ติดสวางในระหวางสงสัญญาณ
สวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ ตรวจจับที่เบาเสียบกุญแจวามีกุญแจเสียบคางไวหรือไม 12
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา ไฟติดเมื่อประตูถูกเปด และไฟดับเมื่อประตูถูกปด, สงสัญญาณสถานะประตู
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง* (เปดหรือปด) ไปที่ ECU เตือนกันขโมย
ชุดล็อคประตูหนา
13
สงตําแหนงล็อคประตูของประตูแตละบานไปที่ ECU เตือนกันขโมย
ชุดล็อคประตูหลัง
ขอแนะนํา: 14
*: เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป
3. การทํางานของระบบ 15
(ก) ฟงกชั่นล็อค/ปลดล็อคประตู:
ขณะไมมีกุญแจในเบาเสียบกุญแจ (สวิตชเตือนปลดล็อคไมทํางาน) และสวิตชไฟชายประตูทุกบานไมทํางาน 16
ใหทําการกดสวิตชล็อค/ปลดล็อคของรีโมทประตู ซึ่งเปนเหตุใหรีโมทสงคลื่นไฟฟาออนๆ ออกมา แลวเขาที่
ECU เตือนกันขโมย โดย ECU จะแปลงคลื่นเหลานี้ใหกลายเปนขอมูลรหัสในวงจรความถี่สูงภายในและสงขอ 17
มูลรหัสออกมา (ลงทะเบียนรหัสและฟงกชั่นรหัส) เมื่อรับสัญญาณล็อค/ปลดล็อคประตู, ECU จะสงสัญญาณ
ควบคุมล็อค/ปลดล็อคประตูไปที่ชุดล็อคประตูแตละตัว โดยชุดล็อคประตูแตละตัวจะล็อค/ปลดล็อคประตูแตละ 19
บาน และสวิตชตําแหนงประตูจะทํางาน/ไมทํางานตามสัญญาณที่ไดรับ
(ข) ฟงกชั่นตอบรับ: 26
ECU เตือนกันขโมยจะรับสัญญาณทํางาน/ไมทาํ งานของสวิตชตรวจจับการปลดล็อคประตู แลวใชสญ ั ญาณเหลานี้
เพื่อยืนยันการทํางานของตัวควบคุมประตูวาเสร็จสมบูรณหรือไม โดย ECU จะสงสัญญาณควบคุมของไฟเตือน 27
ฉุกเฉินไปที่ไฟเตือนฉุกเฉินใหกะพริบและสงสัญญาณควบคุมของแตรกันขโมยไปที่แตรกันขโมยใหดังขึ้นเพื่อ
เปนสัญญาณตอบรับ 28
ขอแนะนํา:
แตรกันขโมยจะทํางานเฉพาะถาฟงกชั่นตอบรับดวยรีโมทถูกกําหนดไวใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกันขโมยดัง 29
(ค) ฟงกชั่นเสียงเตือนดวยรีโมท:
เมื่อกดสวิตชเสียงเตือน (PANIC) ของรีโมทประตู, ECU เตือนกันขโมยจะรับขอมูลรหัส (ลงทะเบียนรหัสและ 30
ฟงกชั่นรหัส) จากรีโมทประตูในทางเดียวกันกับเมื่อกดสวิตชล็อค/ปลดล็อคประตู เมื่อรับสัญญาณควบคุมเสียง
เตือนกันขโมย, ECU จะสงสัญญาณใหแตรกันขโมยดัง และสงสัญญาณเตือนชนิดตางๆ (สัญญาณควบคุมไฟ 31
เตือนฉุกเฉิน, สัญญาณควบคุมเสียงเตือนแตรรถ และสัญญาณควบคุมไฟสองสวางภายหองโดยสาร) เพื่อให
สัญญาณเตือนกันขโมยทํางาน 32
05–734 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

(ง) ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมทมีฟงกชั่นดังนี้
1 ฟงกชั่น รายละเอียด
ฟงกชั่นล็อคประตูทุกบาน กดสวิตชล็อคเพื่อใหประตูทุกบานถูกล็อค
2 ฟงกชั่นปลดล็อคประตูทุกบาน กดสวิตชปลดล็อคเพื่อใหประตูทุกบานถูกปลดล็อค
• ไฟเตือนฉุกเฉินจะกะพริบ 1 ครั้งเมื่อล็อคประตู และกะพริบ 2 ครั้งเมื่อปลด

3 ฟงกชั่นตอบรับ*
ล็อคประตู เพื่อแจงวาการทํางานเสร็จสิ้น
• แตรกันขโมยจะดัง 1 ครั้งเมื่อล็อคประตู และดัง 2 ครั้งเมื่อปลดล็อคประตู เพื่อ
แจงวาการทํางานเสร็จสิ้น
5 การกดสวิตชเสียงเตือน (PANIC) คางไว เพื่อใหเสียงเตือนกันขโมยทํางาน ซึ่ง
ฟงกชั่นเสียงเตือนดวยรีโมท (Panic) ประกอบดวย เสียงแตรรถ, แตรกันขโมย, ไฟเตือนฉุกเฉิน และไฟสองสวางหอง
10 โดยสาร
ถาประตูไมถูกเปดออกภายใน 30 วินาที หลังจากปลดล็อคดวยรีโมท ประตูทุก
ฟงกชั่นการล็อคอัตโนมัติ
11 บานจะล็อคซ้ําอีกครั้งโดยอัตโนมัติ
ถาประตูใดประตูหนึ่งถูกเปดหรือแงมไว เมื่อทําการกดสวิตชล็อค แตรกันขโมย
ฟงกชั่นเตือนการแงมประตู
12 จะดังประมาณ 1 วินาที
ฟงกชั่นกันขโมย สงสัญญาณเปนรหัสหมุนวน (rolling code)
13 ฟงกชั่นลงทะเบียนรหัสดวยรีโมท
สามารถลงทะเบียนรหัสดวยรีโมท (เขียนและเก็บ) ได 4 โหมด ใน EEPROM ซึ่ง
ติดตั้งอยูใน ECU เตือนกันขโมย
14 ขอแนะนํา:
*: แตรกันขโมยจะทํางานเฉพาะถาฟงกชนั่ ตอบรับดวยรีโมทถูกกําหนดไวใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกันขโมยดัง
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–735

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ขอแนะนํา:
1
• ขั้นตอนการคนหาสาเหตุปญหาของระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมทนี้ ตั้งอยูบนสมมุติฐานที่วาระบบล็อค
2
ประตูไฟฟากําลังทํางานตามปกติ ใหตรวจเช็คระบบล็อคประตูไฟฟาเปนอันดับแรกกอนทําการคนหาสาเหตุปญ
 หา
ระบบควบคุมล็อคประตูดวยรีโมท (ดูหนา 05-711) 3
• ใชขั้นตอนนี้ในการคนหาสาเหตุปญหาของระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท
1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ 5
ตอไป 10

2 วิเคราะหปญหาของลูกคาและตรวจเช็คอาการปญหา (ดูหนา 05-737)


11

ตอไป 12
13
3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่
(ก) ตรวจเช็คแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ 14
คามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ 15
ตอไป 16
4 ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-746) 17
ผลที่ได: 19
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ความบกพรองไมมอี ยูใ นตารางสภาพปญหา A
ความบกพรองมีอยูใ นตารางสภาพปญหา B
26
B ดูขั้นตอนที่ 6 27
A 28
5 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม 29
(ก) ขั้วตางๆ ของ ECU (ดูหนา 05-747) 30
(ข) การตรวจสอบบนรถ (ดูหนา 05-758)
(ค) การตรวจสอบ (ดูหนา 05-760) 31
ตอไป
32
05–736 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

1 6 ปรับตั้ง ซอม หรือเปลี่ยน

ตอไป
2
3 7 ทดสอบยืนยัน

5 ตอไป

10 จบขั้นตอน
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–737

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท
2
ชื่อผูต รวจสอบ
3
หมายเลขประจํารถ
5
ชื่อลูกคา วันทีผ่ ลิต / /
หมายเลขทะเบียน 10
วันทีน่ ํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง 11

วันทีเ่ กิดปญหาขึ้นครั้งแรก / /
12

ความถี่ของปญหา
□ คงที่ □ บางครั้ง ( ครั้งตอ วัน/เดือน) 13
□ เพียงครั้งเดียว

อากาศ
□ ดี □ มีเมฆ □ ฝนตก □ หิมะ 14
□ หลากหลาย/อื่นๆ
สภาพอากาศ □ รอน □ อุน เย็น
เมื่อเกิดปญหา อุณหภูมิภายนอก
□ เย็นจัด (ประมาณ


C( ๐
F))
15
สถานที่ □ ทุกที่ □ บางที่ ( ) 16
วันทีเ่ ปลี่ยนแบตเตอรี่รีโมทครั้งลาสุด / /
17
□ ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมททั้งระบบไมทํางาน 19
□ เฉพาะฟงกชนั่ การปลดล็อคประตูที่ไมทํางาน
26
อาการปญหา

□ เฉพาะฟงกชนั่ การล็อคประตูที่ไมทํางาน
□ รีโมทสามารถล็อคประตูไดแมจะเปดประตู 27
□ ฟงกชนั่ การล็อคประตูดวยรีโมทผิดปกติ 28
□ อื่นๆ
29
30
31
32
05–738 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

การลงทะเบียน
1 ขอแนะนํา:
2 • การลงทะเบียนรหัสเปนสิง่ จําเปนเมือ่ ทําการเปลีย่ นรีโมทประตูหรือ ECU เตือนกันขโมย (ตัวรับสัญญาณควบคุม
ประตู)
3 • โหมดเพิม่ เติมจะถูกใชสาํ หรับลงทะเบียนรหัสหนวยความจําใหม ในขณะทีย่ งั คงมีรหัสทีล่ งทะเบียนไวแลว โหมดนี้
จะใชเมื่อมีการเพิ่มรีโมทใหม ซึ่งถาจํานวนที่ลงทะเบียนไวเกินกวา 4 รหัส รหัสเกาจะถูกลบออกไปตามลําดับ
5 โดยเริ่มลบจากรหัสที่ลงทะเบียนไวตัวแรก
• โหมดเขียนใหมจะถูกใชสาํ หรับลบรหัสเกาทัง้ หมดเพือ่ ทําการลงทะเบียนรหัสใหม โหมดนีจ้ ะใชเมือ่ เปลีย่ นรีโมท
10 หรือ ECU เตือนกันขโมย
• โหมดเทียบรหัสจะถูกใชเพื่อเปลี่ยนลําดับรหัส (รหัสหมุนวน) ของรีโมทและเทียบกับรหัสหนวยความจําที่ลง
11 ทะเบียนไว โหมดนี้จะถูกใชเมื่อรีโมทไมทํางานเพราะวาโหมดไมถูกเทียบ (ถาสวิตชของรีโมทถูกกดในขณะ
ออกนอกชวงของ ECU เตือนกันขโมย ระบบจะไมสามารถเทียบลําดับรหัส (รหัสหมุนวน) กับรหัสหนวยความ
12 จําทีล่ งทะเบียนไวได ขณะเดียวกัน ระบบจะทําการเทียบรหัสใหโดยอัตโนมัติ อยางไรก็ตามการเทียบรหัสอัตโนมัติ
สามารถทําใหเพียง 500 ครั้ง ดังนั้น จําเปนที่ตองใชโหมดนี้หลังจากที่มีการเทียบครบ 500 ครั้งแลว) สามารถ
13 เทียบรหัสรีโมทไดถึง 4 ตัวในครั้งเดียว
• โหมดลบรหัสจะถูกใชเพื่อลบรหัสที่ลงทะเบียนทั้งหมดและยกเลิกฟงกชั่นการล็อคประตูดวยรีโมท โหมดนี้ใช
14 เมื่อรีโมทหาย
• ขั้นตอนการลงทะเบียนทั้งหมดตองทําตามลําดับ
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–739

1. ลงทะเบียนรหัสหนวยความจํา
1
ขั้นตอนการลงทะเบียนรหัสหนวยความจํา
เริ่ม 2
ควรทําตามสภาวะตางๆ ดังตอไปนี้ 3
z ไมไดเสียบกุญแจสตารทที่เบาเสียบกุญแจ

5
1. เสียบกุญแจสตารทเขาที่เบาเสียบกุญแจ
10
รอ 5 วินาที
ขอแนะนํา: 11
ถาดึงกุญแจสตารทออกจากเบาเสียบกุญแจหรือบิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON โหมดลงทะเบียนรหัส
จะถูกยกเลิก
12
2. บิดสวิตชจดุ ระเบิดจาก OFF ไป ON 5 ครัง้ ภายใน 10 วินาที จากนั้นไฟแสดงสถานะกันขโมยจะติดขึน้ 13
ขอแนะนํา:
ถาดึงกุญแจสตารทออกจากเบาเสียบกุญแจ โหมดลงทะเบียนรหัสจะถูกยกเลิก
14
3. เปดและปดประตูดานคนขับ 1 ครั้ง แลวบิดสวิตชจุดระเบิดจาก ON ไป OFF 15
ภายใน ขอแนะนํา:
30 วินาที ถาดึงกุญแจสตารทออกจากเบาเสียบกุญแจหรือประตูดานคนขับถูกเปดหรือปดมากกวา 2 ครั้ง
โหมดลงทะเบียนรหัสจะถูกยกเลิก 16
การตอบสนองตอโหมดลงทะเบียนรหัส: 17
เสียงแตรกันขโมย: 1 ครั้ง การกะพริบของไฟเตือนฉุกเฉิน: 1 ครั้ง

ON
T1

ON
T2
T1: 0.2 วินาที 19
T2: 0.35 วินาที
OFF OFF
26
การเลือกโหมด:
4. หลังจากบิดสวิตชจดุ ระเบิดจาก ON ไป OFF แลว ใหทาํ การเปด-ปดประตูดา นคนขับตามรายละเอียดดานลาง 27
จํานวนการเปด-ปดประตูดานคนขับ:
โหมดเพิ่มเติม โหมดเขียนใหม 28
การเปด-ปดประตู: ครั้งเดียว การเปด-ปดประตู: 2 ครั้ง
ภายใน
30 วินาที
โหมดเทียบรหัส
การเปด-ปดประตู: 3 ครั้ง
โหมดลบรหัส
การเปด-ปดประตู: 4 ครั้ง
29
ขอแนะนํา:
ถาดึงกุญแจสตารทออกจากเบาเสียบกุญแจ, ประตูดา นคนขับถูกเปดและปด 5 ครัง้ หรือมากกวา หรือ
30
บิดสวิตชจุดระเบิดไปที่ ON โดยไมเปด-ปดประตูดานคนขับ โหมดลงทะเบียนรหัสจะถูกยกเลิก
31
มีตอหนาถัดไป
32
05–740 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

การตอบสนองตอโหมดทีเ่ ลือก(การแสดง ตอจากหนาที่แลว


1 ผลของแตรกันขโมยและไฟเตือนฉุกเฉิน):
ECU เตือนกันขโมยจะสั่งใหแตรกันขโมยดังและไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบโดยอัตโนมัติ เพื่อแจงใหทราบ
2 วาไดเลือกโหมดที่ตอ งการแลว
โหมดเพิม่ เติม
3 เสียงแตรกันขโมยดังและไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ: 1 ครั้ง
การทํางานของแตรกันขโมย การทํางานของไฟเตือนฉุกเฉิน
T1 T2

5 ON ON
OFF OFF

10 โหมดเขียนใหม
เสียงแตรกันขโมยดังและไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ: 2 ครั้ง
11 การทํางานของแตรกันขโมย การทํางานของไฟเตือนฉุกเฉิน
T1 T3 T2 T2

12 ON
OFF
ON
OFF

13 โหมดเทียบรหัส
เสียงแตรกันขโมยดังและไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ: 3 ครั้ง
การทํางานของแตรกันขโมย
14 T1 T3

ON

15 OFF

การทํางานของไฟเตือนฉุกเฉิน T1: ประมาณ 0.2 วินาที


ประมาณ 0.35 วินาที
16 ON
T2 T2 T2:
T3: ประมาณ 0.5 วินาที

17
OFF

โหมดลบรหัส
เสียงแตรกันขโมยดังและไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ: 5 ครั้ง
19 การทํางานของแตรกันขโมย
T1 T3

26 ON
OFF

27 การทํางานของไฟเตือนฉุกเฉิน
T2 T2

28 ON
OFF

29 โหมดเพิ่มเติม, โหมดเขียนใหม, โหมดลบรหัส


โหมดเทียบรหัส
30
มีตอหนาถัดไป
31 ขั้นตอนการลงทะเบียนเสร็จสิน้

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–741

ตอจากหนาที่แลว
1
5. กดสวิตชล็อคและปลดล็อคที่รีโมทพรอมกัน 1 ครั้ง 2

6. กดสวิตชล็อคหรือปลดล็อคปุมใดปุมหนึ่ง
3
การตอบสนองตอ
ภายใน การเสร็จสิน้ 5
3 วินาที การลงทะเบียน:
ECU เตือนกันขโมยจะสั่งใหแตรกันขโมยดังและไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบโดยอัตโนมัติ 10
การล็อค-ปลดล็อคและเสียงแตรกันขโมยเกิดขึ้น 1 ครั้ง
การลงทะเบียนรหัสเสร็จสิ้น 11
การทํางานของล็อค-ปลดล็อค การทํางานของไฟเตือนฉุกเฉิน

ล็อค
T1 T2 T1

T1
12
13
OFF ON
ปลดล็อค OFF
การล็อค-ปลดล็อคและเสียงแตรกันขโมยเกิดขึ้น 2 ครั้ง
การลงทะเบียนรหัสลมเหลว T1: 0.25 วินาที
14
การทํางานของล็อค-ปลดล็อค T2: 0.75 วินาที
T1 T2 T1 T2 T1 T2 T1 T3: 1 วินาที 15
ล็อค
OFF
ปลดล็อค
16
การทํางานของไฟเตือนฉุกเฉิน
T1 T3 T1 17
ON
OFF 19
ขอแนะนํา:
ถาการทํางานของล็Proceed to flow
อค-ปลดล็อคและเสี ยงแตรกัchart
นขโมยเกิดขึ้น 2 ครั้ง การลงทะเบียนของรหัสจะลมเหลว
registrat
ใหเริ่มทําตามขั้นตอนการลงทะเบียนใหมอีกครั้ง 26
ภายใน 40 วินาที
ถาตองการลงทะเบียนรหัสรีโมทอื่นๆ ใหทําตามทิศทางลูกศรนี้ 27
ขอแนะนํา:
สามารถลงทะเบียนรหัสไดตดิ ตอกันทั้งหมด 4 ตัว
ใหปฏิบัตติ ามขอใดขอหนึ่งตอไปนี้
28
z เปดประตู
z ดึงกุญแจสตารทออกจากเบาเสียบกุญแจ 29
z บิดสวิตชจด ุ ระเบิด ON
30
การลงทะเบียนรหัส (โหมดเพิ่มเติม, โหมดเขียนใหมและโหมดเทียบรหัส) เสร็จสิ้น
31
32
05–742 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

การเลือกกําหนดคา
1 ขอแนะนํา:
2 หัวขอตอไปนี้สามารถกําหนดคาได
ขอควรระวัง:
3 • เมื่อลูกคาตองการใหเปลี่ยนฟงกชั่น ขั้นแรกใหแนใจวาฟงกชั่นที่ตองการสามารถกําหนดได
• ตองจดบันทึกคาปจจุบันกอนทําการกําหนด
5 • เมื่อทําการคนหาสาเหตุปญหาฟงกชั่น ขั้นแรกใหแนใจวาฟงกชั่นไมไดตั้งคาไปที่ OFF
การล็อคประตูดวยรีโมท:
10 รายการขอมูล คาเริ่มตน รายละเอียด การตั้งคา
ฟงกชั่นนั้นจะทําใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและ ไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบเทานั้น/ไฟ
ฟงกชั่นตอบรับดวย ไฟเตือนฉุกเฉิน
11 รีโมท กะพริบเทานั้น
แตรกันขโมยดังเพื่อตอบรับเมื่อกดสวิตชล็อค/ปลดล็อค เตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกัน
ของรีโมท ขโมยดัง/ไมทํางาน
ฟงกชั่นเตือนการแงม ทํางาน ถาประตูปดไมสนิทและกดสวิตชล็อคของรีโมท
12 ประตู (แตรกันขโมยดัง) ฟงกชั่นนี้จะทําใหเสียงแตรดัง 1 วินาที
ทํางาน/ไมทํางาน

13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–743

1. การกําหนดฟงกชั่นเตือนการแงมประตูและฟงกชั่นตอบรับดวยรีโมท
1
แผนภูมิของการกําหนดฟงกชั่น เริ่มตน
2
ควรทําตามสภาวะตางๆ ดังตอไปนี้ 3
z ไมไดเสียบกุญแจที่เบาเสียบกุญแจ
z ระบบกันขโมยอยูในสถานะที่ระบบไมทํางาน (Disarmed state)
5

1. เสียบกุญแจเขาที่เบาเสียบกุญแจ แลวดึงออก 10

ภายใน
11
5 วินาที 2. เสียบกุญแจเขาที่เบาเสียบกุญแจแลวดึงออก
ขอแนะนํา: 12
ถาเสียบกุญแจเขาที่เบาเสียบกุญแจแลวบิดไปที่ ON โหมดกําหนดคาจะถูกยกเลิก
13

3. รอ 5 วินาที 14
ขอแนะนํา:
ถาเสียบกุญแจเขาที่เบาเสียบกุญแจโดยไมรอ 5 วินาที โหมดกําหนดคาจะถูกยกเลิก 15
16
ภายใน 4. กดสวิตชล็อคและปลดล็อคพรอมกันคางไว 3 วินาที
10 วินาที ขอแนะนํา: 17
ถาเสียบกุญแจเขาที่เบาเสียบกุญแจแลวบิดไปที่ ON โหมดกําหนดคาจะถูกยกเลิก
19
ไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ 1 ครั้ง 26
27
มีตอหนาถัดไป
28
29
30
31
32
05–744 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

ตอจากหนาที่แลว
1
2 5. กดสวิตชล็อคของรีโมท

3 ภายใน
2 วินาที 6. กดสวิตชปลดล็อคของรีโมท
5
ภายใน
10 10 วินาที ไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ 1 ครั้ง

11
การเลือกโหมด:
12 7. กดสวิตชล็อคของรีโมทตามจํานวนครั้งที่แสดงดานลาง เพื่อเลือกรูปแบบการตอบรับและ
ฟงกชั่นเสียงเตือน
13
รูปแบบที่ 1
14 ฟงกชั่นการตอบรับของรีโมท: เฉพาะไฟเตือนฉุกเฉินทีก่ ะพริบ
ฟงกชั่นเตือนการแงมประตู: ทํางาน
(ก) กดสวิตชล็อคของรีโมท 1 ครั้ง
15 (ข) กดสวิตชปลดล็อคของรีโมท 1 ครั้ง
รูปแบบที่ 2
16 ฟงกชั่นการตอบรับของรีโมท: ไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและเสียงแตรกันขโมยดัง
ฟงกชั่นเตือนการแงมประตู: ทํางาน
17 (ก) กดสวิตชล็อคของรีโมท 2 ครั้ง
(ข) กดสวิตชปลดล็อคของรีโมท 1 ครั้ง
19 รูปแบบที่ 3
ฟงกชั่นการตอบรับของรีโมท: ไมทํางาน
ฟงกชั่นเตือนการแงมประตู: ไมทํางาน
26
(ก) กดสวิตชล็อคของรีโมท 3 ครั้ง
(ข) กดสวิตชปลดล็อคของรีโมท 1 ครั้ง
27
ขอแนะนํา:
ถากดสวิตชล็อคของรีโมท 4 ครั้ง หรือมากกวา โหมดกําหนดคาจะถูกยกเลิก
28 ถากดสวิตชปลดล็อคของรีโมท 1 ครั้ง โดยไมกดสวิตชล็อคของรีโมท โหมดกําหนดคาจะถูกยกเลิก
ถากุญแจถูกเสียบเขาที่เบาเสียบกุญแจ โหมดกําหนดคาจะถูกยกเลิก
29
30
มีตอหนาถัดไป
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–745

ตอจากหนาที่แลว
1
การตอบสนองตอการกําหนดคา: 2
ECU เตือนกันขโมยจะสั่งใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบโดยอัตโนมัติ
3
การกะพริบของไฟเตือนฉุกเฉินเกิดขึ้น 1 ครั้ง
การเลือกรูปแบบที่ 1 เสร็จสิ้น 5
10
T1

ON
OFF

11
การกะพริบของไฟเตือนฉุกเฉินเกิดขึ้น 2 ครั้ง
การเลือกรูปแบบที่ 2 เสร็จสิ้น 12
T1 T1

ON T1: 0.35 วินาที 13


OFF

14
การกะพริบของไฟเตือนฉุกเฉินเกิดขึ้น 3 ครั้ง
การเลือกรูปแบบที่ 3 เสร็จสิ้น 15
T1 T1
ON
16
OFF

17
จบขั้นตอน 19
26
27
28
29
30
31
32
05–746 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

ตารางสภาพปญหา
1 ขอแนะนํา:
2 ใชตารางขางลางนีเ้ พือ่ ชวยในการกําหนดสาเหตุของปญหา โดยสาเหตุของอาการปญหาทีซ่ อ นเรนอยูจ ะเรียงตามลําดับความ
เปนไปไดในชองตาราง “บริเวณที่คาดวาเปนปญหา” ตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยทําการตรวจเช็คบริเวณที่คาดวา
3 เปนปญหาตามลําดับรายการและเปลี่ยนชิ้นสวนตางๆ ถาจําเปน
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
1. แบตเตอรี่รีโมท
5 2. ชุดประกอบแบตเตอรี่รีโมทประตู
3. ฟวส
10 เฉพาะฟงกชั่นควบคุมดวยรีโมทที่ไมทํางาน
4. ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
05-750
5. ชุดสายไฟ
11 6. ชุด ECU เตือนกันขโมย
1. ระบบไฟสองสวาง
12 ไมมีสัญญาณตอบรับ
2. แตรกันขโมย*
05-755
3. ชุดสายไฟ
13 4. ชุด ECU เตือนกันขโมย
ขอแนะนํา:
14 *: แตรกันขโมยจะทํางานเฉพาะถาฟงกชนั่ ตอบรับดวยรีโมทถูกกําหนดไวใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกันขโมยดัง

15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–747

ขั้วตางๆ ของ ECU


1. ตรวจเช็คชุด ECU เตือนกันขโมย
1

T16
2
3
5
B85916
10
(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 11
คามาตรฐาน:
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด 12
สวิตชจุดระเบิด
IG (T16-18) - E (T16-1) R-L - B-W แหลงจายไฟจุดระเบิด 1: OFF → 1: 0 V → 13
2: ON 2: 10 ถึง 14 V
+B1 (T16-4) - E (T16-1) L-Y - B-W +B แหลงจายไฟ (ECU-B) คงที่ 10 ถึง 14 V
+B2 (T16-14) - E (T16-1) LG - B-W +B แหลงจายไฟ (DOOR) คงที่ 10 ถึง 14 V 14
B-W -
E (T16-1) – กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง 15
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
L- สงสัญญาณล็อคสวิตชควบ
L2 (T16-25) – กราวดตัวถัง 1: ล็อค → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา → 16
กราวดตัวถัง คุมประตู (สวิตชหลัก)
2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
UL3 (T16-26) – กราวดตวั ถัง
L-W - สงสัญญาณปลดล็อคสวิตช
1: ปลดล็อค → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา → 17
กราวดตัวถัง ควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω
R-L -
ประตูบานใดบานหนึ่ง 19
CTY (T16-7) – กราวดตัวถัง สวิตชไฟชายประตูทุกบาน 1: ปด → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
กราวดตัวถัง
2: เปด 2: ต่ํากวา 1 Ω
G-Y - สวิตชเตือนการปลดล็อค 1: ไมไดเสียบกุญแจทีเ่ บาเสียบกุญแจ → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
26
KSW (T16-5) – กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง กุญแจ 2: เสียบกุญแจ 2: ต่ํากวา 1 Ω
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ 27
(ค) ตอขั้วตอ (ECU) T16 กลับเขาที่
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ 28
คามาตรฐาน:
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด 29
ไฟเตือนฉุกเฉิน
G-O -
HAZD (T16-28) – กราวดตวั ถัง
กราวดตัวถัง
สงสัญญาณไฟเตือนฉุกเฉิน 1: OFF → 1: 0 V → 30
2: ON 2: สัญญาณพัลส
แตรกันขโมย 31
B-
SH- (T16-13) – กราวดตัวถัง สงสัญญาณแตรกันขโมย 1: OFF → 1: 0 V →
กราวดตัวถัง
2: ON 2: สัญญาณพัลส
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวา ECU อาจบกพรอง
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–747

ขั้วตางๆ ของ ECU


1. ตรวจเช็คชุด ECU เตือนกันขโมย
1

T16
2
3
5
B85916
10
(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 11
คามาตรฐาน:
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด 12
สวิตชจุดระเบิด
IG (T16-18) - E (T16-1) R-L - B-W แหลงจายไฟจุดระเบิด 1: OFF → 1: 0 V → 13
2: ON 2: 10 ถึง 14 V
+B1 (T16-4) - E (T16-1) L-Y - B-W +B แหลงจายไฟ (ECU-B) คงที่ 10 ถึง 14 V
+B2 (T16-14) - E (T16-1) LG - B-W +B แหลงจายไฟ (DOOR) คงที่ 10 ถึง 14 V 14
B-W -
E (T16-1) – กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง 15
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
L- สงสัญญาณล็อคสวิตชควบ
L2 (T16-25) – กราวดตัวถัง 1: ล็อค → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา → 16
กราวดตัวถัง คุมประตู (สวิตชหลัก)
2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
UL3 (T16-26) – กราวดตวั ถัง
L-W - สงสัญญาณปลดล็อคสวิตช
1: ปลดล็อค → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา → 17
กราวดตัวถัง ควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω
R-L -
ประตูบานใดบานหนึ่ง 19
CTY (T16-7) – กราวดตัวถัง สวิตชไฟชายประตูทุกบาน 1: ปด → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
กราวดตัวถัง
2: เปด 2: ต่ํากวา 1 Ω
G-Y - สวิตชเตือนการปลดล็อค 1: ไมไดเสียบกุญแจทีเ่ บาเสียบกุญแจ → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
26
KSW (T16-5) – กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง กุญแจ 2: เสียบกุญแจ 2: ต่ํากวา 1 Ω
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ 27
(ค) ตอขั้วตอ (ECU) T16 กลับเขาที่
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ 28
คามาตรฐาน:
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด 29
ไฟเตือนฉุกเฉิน
G-O -
HAZD (T16-28) – กราวดตวั ถัง
กราวดตัวถัง
สงสัญญาณไฟเตือนฉุกเฉิน 1: OFF → 1: 0 V → 30
2: ON 2: สัญญาณพัลส
แตรกันขโมย 31
B-
SH- (T16-13) – กราวดตัวถัง สงสัญญาณแตรกันขโมย 1: OFF → 1: 0 V →
กราวดตัวถัง
2: ON 2: สัญญาณพัลส
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวา ECU อาจบกพรอง
32
05–748 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

2. ตรวจเช็คชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม)
1
2
3 2A

5
10 2D

11
12 2R
2L

13
14
2L 2R
15
16 2A

17
19
26
2D

27
28
29 B83346
B84867
B87931

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–749

(ก) ปลดขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2A, 2D และ 2L


(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ 1
คามาตรฐาน:
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด 2
BECU (2L-12) - GND (2D-9) L - W-B +B แหลงจายไฟ (ECU-B) คงที่ 10 ถึง 14 V
GND (2D-9) – กราวดตัวถัง
W-B -
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
3

L- รับสัญญาณล็อคสวิตชควบ
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 5
L1 (2A-4) – กราวดตัวถัง 1: ล็อค → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
คุมประตู (สวิตชหลัก)
2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
10
L-W - รับสัญญาณปลดล็อคสวิตช
UL1 (2D-4) – กราวดตัวถัง 1: ปลดล็อค → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
ควบคุมประตู (สวิตชหลัก)
2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω 11
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
(ค) ตอขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2A, 2D และ 2L กลับเขาที่
12
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ 13
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) หรือ
สงสัญญาณล็อคไปยัง เบาเสียบกุญแจประตูดานคนขับ
14
L-
ACT+ (2R-28) – กราวดตวั ถัง มอเตอรล็อคประตู 1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V →
กราวดตัวถัง
(ประตูดานคนขับ) 2: ล็อค → 2: 10 ถึง 14 V → 15
3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V
สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) หรือ 16
สงสัญญาณปลดล็อคไปยัง เบาเสียบกุญแจประตูดานคนขับ
L-Y -
ACT- (2R-27) – กราวดตวั ถัง
กราวดตัวถัง
มอเตอรล็อคประตู (ประตู 1: OFF → 1: ต่ํากวา 1 V → 17
ดานคนขับ) 2: ปลดล็อค → 2: 10 ถึง 14 V →
3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V 19
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวากลองรวมสายไฟ (รีเลย) อาจบกพรอง
26
27
28
29
30
31
32
05–750 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

1 ฟงกชั่นควบคุมดวยรีโมทเทานั้นที่ไมทํางาน
2 คําอธิบายผังวงจร
3 ECU เตือนกันขโมยจะรับสัญญาณจากรีโมท ซึ่ง ECU เตือนกันขโมยจะควบคุมประตูทุกบานโดยสงสัญญาณล็อค/
ปลดล็อคไปที่ประตูแตละบาน และสงสัญญาณรีเลยแฟลชเชอรไฟเตือนฉุกเฉินไปที่รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว (ไฟเตือน
5 ฉุกเฉิน) และสงสัญญาณแตรกันขโมยไปที่แตรกันขโมย*
ขอแนะนํา:
10 *: แตรกันขโมยจะทํางานเฉพาะถาฟงกชนั่ ตอบรับดวยรีโมทถูกกําหนดไวใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกันขโมยดัง
ผังวงจรไฟฟา
11 T16 Theft Warning ECU
T16
R/B เบอร3 3
R/B No. ชุAssy
ด ECU เตือนกันขโมย
12 DOOR 7
W-R 1 2 LG LG 14
3 3 IH1 +B2

13 L-Y
L-
Y
4
+B1
G-Y 5
KSW
14 ชุInstrument
ด J/B ใตแPanel
ผงหนJ/BาปAssy
ด (Driver
Side J/B)
(J/B ดานคนขับ) J24
J/C
4
15 L1
14
2A
L G G L 25
L2

4
11 L-
L-W F F L-
L-W 26

16 Integration UL1 2D W W UL3


Relay
รีเลยรวม 3
28
ไปชุดล็อคประตู
B-W 1
E
ACT+ 2R To Door Lock
Assy
17 ACT-
2
27
2R ไปชุดล็อคประตู
To Door Lock U1 U1 Unlock Warning Switch
Assy
ชุดสวิตAssy
ชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
19 10
2N
10
2O
G-Y 1 2 GR

26 J/B, R/BRoom
Engine หองเครื
R/B,่อJ/B
งยนต
13 12 ECU-B DCC B J22

27
L 2 1 2 1
2S 2L 1
J/C
2 IG1 1 1 ALT 1
2 1 B
2H 2G 1F 1A B J23 B J23
28
W

29
W-B

แบตเตอรี
Battery ่
ID
30
31 B84862

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–751

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คฟงกชั่นควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท (ดูหนา 05-758)
ปกติ: 2
แตละฟงกชั่นของระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมทจะทํางานเปนปกติเมื่อใชสวิตชรีโมท
3
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 2
ปกติ 5
ทํางานปกติ 10
2 ตรวจเช็ควาหลอด LED ของรีโมทติดสวาง 11
(ก) ตรวจเช็ควาหลอด LED ของรีโมทติดสวางทั้ง 3 ครั้ง เมื่อกดสวิตช 3 ครั้ง
ปกติ: หลอด LED ของรีโมทจะติดสวางทั้ง 3 ครั้งเมื่อกดสวิตช 3 ครั้ง 12
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3 13
ปกติ
14
ดูขั้นตอนที่ 4
15
3 เปลี่ยนแบตเตอรี่รีโมท (ดูหนา 05-762)
(ก) หลังจากทําการเปลี่ยนแบตเตอรี่รีโมท ใหตรวจเช็ควาประตูสามารถล็อคและปลดล็อคไดโดยใชสวิตชรีโมท 16
ปกติ: ประตูสามารถล็อคและปลดล็อคไดดวยรีโมท
17
บกพรอง เปลี่ยนชุดประกอบแบตเตอรี่รีโมทประตู
(ดูหนา 05-762) 19
ปกติ
26
จบขั้นตอน (แบตเตอรี่รีโมทเสีย)
27
4 ตรวจเช็คฟงกชั่นควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท (ฟงกชั่นการทํางานมาตรฐาน)
ขอแนะนํา: 28
ใชขั้นตอนการทดสอบมาตรฐานตอไปนี้เพื่อตรวจเช็ครีโมทอีกครั้ง
(ก) ถือรีโมทหางจากมือเปดประตูดา นคนขับประมาณ 1 เมตร (39.4 นิว้ ) โดยรีโมทตองขนานกับพืน้ ดินและตัง้ ฉากกับตัวรถ 29
(ข) กดสวิตชล็อคหรือปลดล็อคคางไว 1 วินาที แลวตรวจเช็ควาประตูถูกล็อคหรือปลดล็อคตามลําดับหรือไม
30
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 5
ปกติ 31
ทํางานปกติ 32
05–752 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

1 5 ตรวจสอบฟวส
(ก) ถอดฟวส ECU-B และ DCC ออกจากกลองรวมสายไฟและกลองรีเลยหองเครื่องยนต
2 (ข) ถอดฟวส DOOR ออกจากกลองรีเลยเบอร 3
(ค) วัดความตานทานของฟวส
3 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
บกพรอง เปลี่ยนฟวส
5 ปกติ

10 6 ตรวจสอบชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
(ก) ถอดสวิตช
11
(ข) วัดความตานทานของสวิตช
12 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
1-2 ไมถูกกด 10 kΩ หรือสูงกวา
13 ถูกกด
ไมถูกกด 1-2 ถูกกด ต่ํากวา 1 Ω
14 B83342
B85913 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
15 ปกติ

16 7 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ - ชุด ECU เตือนกันขโมยและกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอสวิตช U1
17 ดานชุดสายไฟ U1 (ข) ปลดขัว้ ตอ (ECU) T16 ออก
สวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
19
คามาตรฐาน:
26 การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
U1-1 - T16-5 (KSW) ต่ํากวา 1 Ω
U1-2 – กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
27
T16
28 KSW
ชุด ECU เตือนกันขโมย

29
30
31 B84866

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–753

8 ลงทะเบียนรหัสหนวยความจํา (ดูหนา 05-738) 1


(ก) ตรวจเช็ควาระบบสามารถเปลีย่ นเปนโหมดเขียนใหมหรือโหมดเพิม่ เติม และสามารถลงทะเบียนรหัสหนวยความจํา
ได 2
ปกติ: สามารถลงทะเบียนรหัสหนวยความจําได
3
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 9
ปกติ
5
10
จบขั้นตอน
11
9 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – ชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม))
12
(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
ดานชุดสายไฟ
T16
(ข) ปลดขัว้ ตอกลองรวมสายไฟ 2A และ 2D 13
ชุด ECU เตือนกันขโมย (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 14
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
T16-25 (L2) - 2A-4 (L1) ต่ํากวา 1 Ω 15
T16-26 (UL3) - 2D-4 (UL1) ต่ํากวา 1 Ω

L2 UL3 16
2A
ชุด J/B ใตแผงหนาปด 17
(J/B ดานคนขับ)
19
26
L1
2D 27
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
(J/B ดานคนขับ)
UL1 28
29
30
B85912 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
31
ปกติ
32
05–754 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

1 10 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
2 ดานชุดสายไฟ
T16 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุด ECU เตือนกันขโมย คามาตรฐาน:
3 E +B1 +B2
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
T16-4 (+B1) – กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
5 T16-14 (+B2) – กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
T16-1 (E) – กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
10 B85914

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
11 ปกติ
12 เปลี่ยนชุด ECU เตือนกันขโมย
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–755

ไมมีสัญญาณตอบรับ 1

คําอธิบายผังวงจร 2
ในบางกรณี ฟงกชั่นควบคุมดวยรีโมทจะเปนปกติ แตอาจมีหนึ่งกรณีหรือมากกวาตอไปนี้เกิดขึ้น: 3
• ฟงกชั่นตอบรับของไฟเตือนฉุกเฉินไมปกติ (การสงสัญญาณของรีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยวของ ECU เตือนกัน
ขโมยอาจบกพรอง) 5
• ฟงกชั่นตอบรับของแตรกันขโมยไมปกติ (การสงสัญญาณแตรกันขโมยอาจบกพรอง)*
ขอแนะนํา: 10
*: แตรกันขโมยจะทํางานเฉพาะถาฟงกชนั่ ตอบรับดวยรีโมทถูกกําหนดไวใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกันขโมยดัง
ผังวงจรไฟฟา 11
T16
T16 Theft Warning ECU
Assyชุด ECU เตือนกันขโมย 12
13
13
B B 13 SH-
IF3

T22 ชุด J/B ใตแผงหนาปด


T22 Turn Signal Flasher Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดาSide
รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว (Driver
Relay นคนขั
J/B)บ)
14
25 
1
S1 9
S1 Security 8 G-O G-O 28
2
Horn EH 2O 2N HAZD
15
EHW
แตรกันขโมย W H5
H5 Hazard Warn
8
ing Signal Switch
สวิตชสัญญาณไฟเตือนฉุกเฉิน
16
25
G-O 4 2 R
2N

R 17
A J22

J/C 19
A J23

26
W-B 27

IE
28
29
B86238

30
31
32
05–756 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คฟงกชั่นควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท
2
(ก) ตรวจเช็คฟงกชั่นการล็อคประตูดวยรีโมทโดยทําการกดสวิตชรีโมท
3 ผลที่ได:
ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ฟงกชั่นการล็อคประตูดวยรีโมทปกติแตสัญญาณตอบรับของไฟเตือนฉุกเฉินไมปรากฏ A
5
ฟงกชั่นการล็อคประตูดวยรีโมทปกติแตสัญญาณตอบรับของแตรกันขโมยไมปรากฏ* B
ฟงกชั่นการล็อคประตูดวยรีโมทผิดปกติ C
10
ขอแนะนํา:
11 *: แตรกันขโมยจะทํางานเฉพาะถาฟงกชนั่ ตอบรับดวยรีโมทถูกกําหนดไวใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกันขโมยดัง
B ดูที่ ระบบกันขโมย (ดูหนา 05-806)
12
C ดูที่แผนผัง (หนา 05-750)
13
A
14
2 ตรวจเช็คไฟเตือนฉุกเฉิน
15
(ก) ตรวจเช็ควาไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบเมื่อกดสวิตชสัญญาณเตือนฉุกเฉิน
16 ปกติ: ไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ

17 บกพรอง ดูที่ระบบไฟสองสวาง (ดูหนา 65-11)


ปกติ
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–757

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว) 1


(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอรีเลย T22 2
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
T16
คามาตรฐาน: 3
ชุด ECU เตือนกันขโมย
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
T16-28 (HAZD) - T22-8 (EHW) ต่ํากวา 1 Ω 5
10
11
HAZD
T22
รีเลยแฟลชเชอรไฟเลี้ยว
12
13
EHW

B86406 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 14


ปกติ
15
เปลี่ยนชุด ECU เตือนกันขโมย
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–758 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

การตรวจสอบบนรถ
1 1. ขอสังเกตเมื่อทําการตรวจเช็ค
(ก) ฟงกชั่นการล็อค/ปลดล็อคประตูดวยรีโมท:
2 ฟงกชั่นนี้จะทํางานก็ตอเมื่ออยูในเงื่อนไขที่พบ 3 ขอดังตอไปนี้เทานั้น
(1) ไมไดเสียบกุญแจที่เบาเสียบกุญแจ
3 (2) ปดประตูทุกบาน
(3) ระบบล็อคประตูไฟฟาทํางานเปนปกติ
5 ขอแนะนํา:
• ฟงกชั่นปลดล็อคทํางานไดแมในขณะที่ประตูบานใดบานหนึ่งถูกเปดออก
10 • ฟงกชนั่ ปลดล็อคทํางานไดแมในขณะทีเ่ สียบกุญแจสตารทเขาไปในเบาเสียบกุญแจ อยางไรก็ตาม สวิตชจดุ ระเบิด
ตองอยูที่ตําแหนง OFF
11 (ข) ฟงกชั่นเสียงเตือนดวยรีโมท:
ฟงกชั่นนี้จะทํางานก็ตอเมื่ออยูในเงื่อนไขที่พบดังตอไปนี้เทานั้น
12 (1) สวิตชจุดระเบิดอยูในตําแหนง OFF
ขอแนะนํา:
13 สามารถเสียบกุญแจสตารทเขาไปในเบาเสียบกุญแจได อยางไรก็ตาม สวิตชจุดระเบิดตองอยูที่ตําแหนง OFF
(ค) พื้นที่การทํางานของรีโมทจะแตกตางกันขึ้นอยูกับตําแหนงที่ใช
14 (1) พื้นที่การทํางานจะแตกตางกันขึ้นอยูกับผูใช, ระยะทางของรีโมทที่ถือและตําแหนงที่ใช
(2) ในพืน้ ทีท่ แี่ นนอนนัน้ พืน้ ทีก่ ารทํางานจะลดลงตามรูปรางของตัวถังรถ และอิทธิพลของสภาพแวดลอมโดยรอบ
15 (3) คลื่นไฟฟาที่ออนกําลังลงของรีโมทอาจมีผลกระทบถาอยูในพื้นที่ที่มีคลื่นไฟฟาหนาแนนหรือสัญญาณ
รบกวน พื้นที่การทํางานของรีโมทอาจจะสั้นหรือรีโมทอาจไมทํางาน
16 (4) เมื่อแบตเตอรี่ออน พื้นที่การทํางานจะลดลงหรือรีโมทอาจไมทํางาน
ขอแนะนํา:
17 ถาวางรีโมทตากแดดไวเปนระยะเวลานาน เชน บนแผงหนาปด อาจทําใหแบตเตอรี่ออนหรือเกิดปญหาอื่นๆ ได
2. ตรวจเช็คฟงกชั่นควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท
19 ขอแนะนํา:
• สวิตชที่อธิบายดานลางจะสงสัญญาณและติดตั้งอยูภายในรีโมทประตู
26 • พื้นที่ทํางานของรีโมทตองทําตามลําดับรายการขณะทําการตรวจเช็ค
(ก) ใหแนใจวารถอยูในเงื่อนไขที่ฟงกชั่นควบคุมดวยรีโมทสามารถทํางานได (ดูดานบน)
27 (ข) ตรวจเช็คการทํางานขั้นพื้นฐาน
(1) ตรวจเช็ควาหลอด LED ของรีโมทติดสวางทั้ง 3 ครั้ง เมื่อกดสวิตช 3 ครั้ง
28 ขอแนะนํา:
ถาหลอด LED ไมติดสวางเมื่อกดสวิตช 3 ครั้งหรือมากกวา อาจเปนเพราะแบตเตอรี่หมด
29 (ค) ตรวจเช็คฟงกชั่นปองกันการทํางานซ้ําซอน
(1) ถาสวิตชถกู กด ใหตรวจเช็ความีการตอบสนองตอการทํางานเพียงครัง้ เดียว ถาสวิตชถกู กดคาง ใหตรวจเช็ค
30 วามีการตอบสนองตอการทํางานเพียงครัง้ เดียวและไมตอบสนองตอการกดสวิตชซา้ํ ๆ กัน ประการสุดทาย
ถาสวิตชถกู กดหางกัน 1 วินาที ใหตรวจเช็ความีการตอบสนองตอการกดสวิตชครัง้ เดียวตอทุกๆ การกดสวิตช
31 (ง) ตรวจเช็คฟงกชั่นการล็อคอัตโนมัติ
(1) เมือ่ ปลดล็อคประตูทกุ บานโดยการกดสวิตชปลดล็อคและไมมปี ระตูใดถูกเปดหรือล็อคภายในเวลาประมาณ
32 30 วินาที ใหตรวจเช็ควาประตูจะล็อคกลับโดยอัตโนมัติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–759

(จ) ตรวจเช็คฟงกชั่นปองกันการทํางานบกพรองของสวิตช
(1) ถากุญแจสตารทอยูในเบาเสียบกุญแจ ใหตรวจเช็ควาไมสามารถกดสวิตชล็อคใหล็อคประตูได อยางไรก็ 1
ตาม ฟงกชั่นนี้ใชไมไดเมื่อระบบอยูในโหมดลงทะเบียนรหัสหนวยความจํา
(ฉ) ตรวจเช็คฟงกชั่นเตือนการแงมประตู 2
(1) ถาประตูเปดหรือปดไมสนิท ใหตรวจเช็ควาประตูไมสามารถล็อคโดยสวิตชลอ็ คไดและเสียงแตรกันขโมย
จะดัง 1 วินาที 3
(ช) ตรวจเช็คฟงกชั่นตอบรับ*
ขอแนะนํา: 5
*: แตรกันขโมยจะทํางานเฉพาะถาฟงกชั่นตอบรับถูกกําหนดไวใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบและแตรกันขโมยดัง
(1) เมื่อกดสวิตชล็อค ใหตรวจเช็ควาไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ 1 ครั้ง, เสียงแตรกันขโมยดัง 1 ครั้งและประตูทุก 10
บานล็อค
(2) เมื่อกดสวิตชปลดล็อค 1 ครั้งใหตรวจเช็ควาไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ 2 ครั้ง, เสียงแตรกันขโมยดัง 2 ครั้ง 11
และประตูทุกบานปลดล็อค
(ซ) ตรวจเช็คฟงกชั่นเสียงเตือนดวยรีโมท (Panic)
12
(1) ถากดสวิตชเสียงเตือน (Panic) คางไว 1.5 วินาที ใหตรวจเช็คฟงกชั่นเสียงเตือนกันขโมยวาแตรรถกับแตร 13
กันขโมยดังหรือไม และไฟเตือนฉุกเฉินกับไฟสองสวางหองโดยสารกะพริบเปนเวลา 27.5 วินาที แลว
ตรวจเช็ควาถากดสวิตชใดสวิตชหนึง่ บนรีโมท จะเปนการหยุดเสียงแตรรถ, แตรกันขโมย, ไฟเตือนฉุกเฉิน 14
และไฟสองสวางหองโดยสาร
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–762 การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท

การถอดเปลี่ยน
1 ขอควรระวัง:
2 ใหระวังเปนพิเศษเมื่อปฏิบัติงานเกี่ยวกับชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
3 1. เปลี่ยนชุดประกอบแบตเตอรี่รีโมทประตู
ขอแนะนํา:
5 การติดตั้งใหทํายอนขั้นตอนการถอด

10 (ก) ใหบิดไขควงในทิศทางตามลูกศรในภาพ แลวเปดฝาครอบ


ตรงหัวกุญแจออก
11 ขอแนะนํา:
ใหใชเทปพันปลายไขควงกอนใชงาน
12 ขอควรระวัง:
อยาฝนงัดฝาครอบออก
13
B88005

14 (ข) ถอดแบตเตอรี่รีโมท

15
16
ชุดประกอบแบตเตอรี่รีโมท
17
B83983

19 2. เปลี่ยนแบตเตอรี่รีโมท
ขอแนะนํา:
26 การติดตั้งใหทํายอนขั้นตอนการถอด อยางไรก็ตาม ในขั้นตอนการ
ติดตั้งจําเปนตองใชขอมูลเพิ่มเติม
27 (ก) ถอดแบตเตอรี่รีโมท (ดูขอ 1)
28 ฝาครอบของแบตเตอรี่รีโมท (ข) ปลดขอเกีย่ วของฝาครอบแบตเตอรีร่ โี มทและถอดฝาครอบออก

29
30
31 B83984

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมท 05–763

(ค) ถอดแบตเตอรี่ (แบตเตอรี่ลิเธียม)


แบตเตอรี่รีโมท ขอควรระวัง: 1
• อยาใชนิ้วกดที่ขั้ว
• อยาฝนงัดแบตเตอรี่ (แบตเตอรีล่ เิ ธียม) อาจทําใหขวั้ เสียหายได 2
• อยาใชมือที่เปยกสัมผัสกับแบตเตอรี่ เพราะน้ําอาจเปนสาเหตุ
ใหเกิดสนิมได 3
• อยาสัมผัสหรือขยับชิ้นสวนใดๆ ภายในรีโมท เพราะอาจทํา
B83985
ใหใชงานไมได 5
(ง) ติดตัง้ แบตเตอรีใ่ หม (แบตเตอรีล่ เิ ธียม) โดยหันดานขัว้ บวก (+)
ขึ้น ดังภาพ 10
ขอควรระวัง:
• ใหแนใจวาหันดานขัว้ บวก (+) และขัว้ ลบ (-) ของแบตเตอรีร่ โี มท
11
ถูกตอง
12
• ขณะใสแบตเตอรี่ ระวังอยาทําใหขวั้ ของแบตเตอรีร่ โี มทบิดงอ
B83986
• เก็บรักษาใหภายในฝาครอบรีโมทปลอดจากฝุนและน้ํามัน 13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–764 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต
1
ตําแหนงชิ้นสวน
2
3
R/B, J/B หองเครื่องยนต
5 z ฟวสกระแสสูง AM2
z ฟวส ECU-B
10 z ฟวส DCC
z ฟวส EFI

11
12
13
14 ECM
ECU กุญแจ
15 แอมปลิฟายเออร
z ขดลวดสงสัญญาณกุญแจ
16
ไฟแสดงการทํางาน
17
19
26 สวิตชจุดระเบิด

27 สวิตชเตือนปลดล็อค
ชุด J/B แผงคอนโซล
28 (J/B ดานคนขับ)
B84873 z ฟวส IGN
B86387

29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–765

วงจรระบบ
1
2
ไฟแสดงการทํางาน 3
ชิพสงสัญญาณ ECU กันขโมย
5
กุญแจ
10
สวิตชฉุกเฉิน 11
สวิตชเตือนปลดล็อค
ขด 12
ลวด แอมปลิฟายเออร ECU กุญแจ
13
14
15
ECM

16
17
EDU

19
หัวฉีด 26
27
28
B87698

29
30
31
32
05–766 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

คําอธิบายระบบ
1 1. รายละเอียดของระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต
2 ระบบยั บยั้งการทํางานของเครื่องยนตถูกออกแบบมาเพื่อปองกันรถยนตถูกขโมย ระบบนี้จะใช ECU กุญแจ ซึ่งบันทึก
รหัสของกุญแจเอาไวสําหรับสตารทเครื่องยนต และถาใชกุญแจที่มีการบันทึกรหัสเอาไวอยางถูกตอง ECU กุญแจจะ
3 สงสัญญาณไปยัง ECM เพื่อทําใหมีการจายน้ํามันเชื้อเพลิงและจุดระเบิด เครื่องยนตก็สามารถที่จะทํางานได
2. หนาที่ของอุปกรณหลัก
5 อุปกรณ หนาที่
ขดลวดสงสัญญาณ/ เมื่อเสียบลูกกุญแจเขาไปยังกระบอกกุญแจ, ขดลวดจะอานรหัสของกุญแจ จากนั้นแอมปลิฟายเออรจะขยาย
แอมปลิฟายเออร สัญญาณรหัส ID และสงออกไปยัง ECU กุญแจ
10 สวิตชเตือนปลดล็อค ตรวจจับดูวามีลูกกุญแจเสียบอยูในกระบอกกุญแจหรือไม แลวสงสัญญาณไปยัง ECU กุญแจ
สื่อสารขอมูลกับ ECD, ECM จะรับรหัส ID จาก ECU กุญแจ และจะตรวจสอบวาเปนรหัสที่ถูกตองแลวจึงสั่ง
11 ECM
ใหเครื่องยนตทํางาน
ไฟแสดงการทํางาน จะติดหรือกะพริบ ซึ่งควบคุมโดย ECU กันขโมย
12 3. หนาที่ของระบบ
13 เมื่อ ECU กุญแจตรวจจับวาสวิตชเตือนปลดล็อคอยูในตําแหนง ON ECU จะจายกระแสไฟไปยังขดลวดสงสัญญาณ
และผลิตคลืน่ สัญญาณออกมา ชิพสงสัญญาณทีอ่ ยูใ นกุญแจจะรับคลืน่ ไฟฟาเขามา หลังจากรับคลืน่ ไฟฟาเขามาแลว ชิพ
14 สงสัญญาณจะสงสัญญาณรหัส ID ออกไปยังขดลวดสงสัญญาณและแอมปลิฟายเออรจะขยายสัญญาณและสงตอไปยัง
ECU กุญแจ ECU กุญแจจะตรวจสอบรหัส ID ของกุญแจวาตรงกับรหัส ID ที่ไดทําการลงทะเบียนไวหรือไม ถารหัส
15 ตรงกัน ไฟแสดงการทํางานจะดับลง และเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิด รหัส ID จะถูกสงไปยัง ECM
หลังจากที่ตรวจสอบแลววารหัสตรงกัน ECU กุญแจจะตรวจสอบความถูกตองอีกครั้ง และยืนยันความถูกตอง จากนั้น
16 จะยกเลิกการทํางานของระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนตและทําใหเครื่องยนตทํางาน (ฉีดน้ํามันและจุดระเบิด)

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–767

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
ขอแนะนํา: 1
• ใชลําดับขั้นตอนตอไปนี้ในการหาสาเหตุขอขัดของของระบบ
• ใหใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ในลําดับขั้นตอนที่ 4 และ 6
2
1 นํารถเขาไปที่ศูนยบริการ 3
ตอไป 5

2 วิเคราะหปญหาลูกคาและตรวจเช็คอาการ (ดูหนา 05-769) 10

ตอไป 11

3 สตารทเครื่องยนตเปนเวลามากกวา 10 วินาที
12

ตอไป 13
14
4 ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-776)
(ก) ตรวจเช็ครหัส DTC และบันทึกรหัสเอาไว 15
(ข) ลบรหัส DTC
(ค) ตรวจเช็ครหัส DTC อีกครั้ง และถายังมีรหัสเดิม (เหมือนขอ ก.) ใหพยายามหารหัสที่ใกลเคียงกับรหัสของระบบ 16
ECD หรือระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต โดยจําลองอาการที่แสดงรหัส DTC
ผลการตรวจสอบ:
17
ผลการตรวจสอบ ไปขั้นตอน
ไมมีรหัส DTC A
19
มีรหัสของระบบ ECD B
มีรหัสของระบบยับยั้งการทํางานของ 26
C
เครื่องยนต
27
B ไปที่ระบบ ECD (ดูหนา 05-62)
28
C ไปขั้นตอนที่ 7
A 29
30
31
32
05–768 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

1 5 ตารางวิเคราะหปญหา (ดูหนา 05-770)


ผลการตรวจสอบ:
2 ผลการตรวจสอบ ไปขั้นตอน
ไมมีในตารางวิเคราะหปญหา A
3 มีในตารางวิเคราะหปญหา B

5 B ไปขั้นตอนที่ 7
A
10
11 6 วิเคราะหปญหาโดยรวมและหาสาเหตุ
(ก) Data List/Active Test (ดูหนา 05-778)
12 (ข) ขั้วของกลอง ECU (ดูหนา 05-771)
ตอไป
13
14 7 ปรับแตง, ซอมหรือเปลี่ยน

15 ตอไป

16 8 ทดสอบยืนยัน

17 ตอไป

19 จบขั้นตอน
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–769

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
ใบตรวจเช็คระบบยับยั้งการทํางานของเครือ่ งยนต
ผูตรวจสอบ: 2
หมายเลขตัวถัง 3
วันทีผ่ ลิต / / 5
ชื่อลูกคา
หมายเลขทะเบียน
กม. 10
วันทีน่ ํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง ไมล
11
วันทีเ่ กิดปญหาครั้งแรก / / 12
… ตลอดเวลา … เปนชวงๆ ( ครั้งตอวัน/เดือน)
ความถี่ของปญหา
… ครั้งเดียว 13
… แจมใส … มีเมฆมาก … ฝนตก … หิมะตก
สภาพอากาศในขณะ สภาพอากาศ
… หลากหลาย/อื่นๆ 14
เกิดปญหา … รอน … อุน … เย็น … หนาว
อุณหภูมิภายนอก
(ประมาณ ๐
C( ๐
F) 15
16
… เซ็ตระบบไมได (เครื่องยนตสตารทไดโดยใชกญ
ุ แจที่ไมไดบันทึกรหัส)
17
อาการ … เครื่องยนตสตารทไมติด
… ไฟแสดงการทํางาน OFF แตไมสามารถบิดสวิตชจุดระเบิดได
19
26
ครั้งที่ 1 รหัสปกติ รหัสผิดปกติ (รหัส )
การตรวจเช็ครหัส … …
27
วิเคราะหปญหา ครั้งที่ 2 … รหัสปกติ … รหัสผิดปกติ (รหัส )
28
29
30
31
32
05–770 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

ตารางสภาพปญหา
1 ขอแนะนํา:
ใชตารางดานลางเพือ่ ชวยในการหาสาเหตุของปญหา สาเหตุทเี่ ปนไปไดของอาการทีเ่ กิดขึน้ จะแสดงอยูเ พือ่ ทําให
2 • การหาง ายขึ้นและจะแสดงใน “บริเวณที่เกิดปญหา” และตรวจเช็คดูอาการวาเหมือนกับที่แสดงในตาราง แลว
3 เปลี่ยนชิ้นสวนถาจําเปน
• ตรวจเช็คฟวสและรีเลยของระบบที่เกี่ยวของกอนทําการตรวจเช็คเพื่อหาสาเหตุในตาราง
5 อาการ บริเวณที่เกิดปญหา ดูหนา
1. วงจรไฟเลี้ยง ECU 05-797
เครื่องยนตสตารทไมติด
2. ระบบ ECD 05-41
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–771

ขั้วตางๆ ของ ECU


1. ตรวจเช็คแอมปลิฟายเออร 1
T20 2
3
5
10
B85900

(ก) ถอดขั้วตอ T20 ออกจากแอมปลิฟายเออร


(ข) วัดคาความตานทานของชุดสายไฟดานขั้วตอ 11
มาตรฐาน:
สัญลักษณ(ขั้ว) สีสายไฟ รายละเอียดขั้ว สภาวะ คากําหนด 12
L-O -
GND (T20-7) - กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง 13
ถาผลการตรวจสอบไมตรงตามคากําหนดอาจจะเกิดปญหาขึ้นกับชุดสายไฟ
(ค) ตอขอตอ T20 เขากับแอมปลิฟายเออร 14
(ง) วัดคาความตานทานและแรงดันไฟฟาของขั้วตอ
มาตรฐาน: 15
สัญลักษณ(ขั้ว) สีสายไฟ รายละเอียดขั้ว สภาวะ คากําหนด
VC5 (T20-1) - GND (T20-7) L - L-O แหลงจายไฟ
1: ไมไดเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ → 1: 0 V → 16
2: เสียบกุญแจเขากระบอกกุญแจ 2: 4.6 ถึง 5.4 V
CODE(T20-4) - GND (T20-7) L-Y - L-O
สัญญาณขอมูลของ 1: ไมไดเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ → มีสญ ั ญาณพัลส 17
กุญแจ 2: เสียบกุญแจเขากระบอกกุญแจ (ดูรปู คลื่นที่ 1)
1: ไมไดเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ → มีสัญญาณพัลส 19
TXCT (T20-5) - GND (T20-7) L-B - L-O สัญญาณรหัสกุญแจ
2: เสียบกุญแจเขากระบอกกุญแจ (ดูรูปคลื่นที่ 2)
L-O -
GND (T20-7) - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 26
ถาผลตรวจเช็คไมเปนไปตามคากําหนด อาจเกิดจากแอมปลิฟายเออรผิดปกติ
27
(จ) ตรวจเช็คโดยใชออสซิลโลสโคป
รูปคลื่น1 (อางอิง): 28
ขั้ว CODE - GND
GND
การปรับเครื่องมือ 2 V/DIV., 20 msec./DIV. 29
1: ไมไดเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ →
สภาวะ
2: เสียบกุญแจเขากระบอกกุญแจ 30
B86388
31
32
05–772 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

รูปคลื่น 2 (อางอิง):
1 ขั้ว TXCT - GND
การปรับเครื่องมือ 2 V/DIV., 20 msec./DIV.
2 GND
สภาวะ
1: ไมไดเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ →
2: เสียบกุญแจเขากระบอกกุญแจ
3
5 B86389

2. ตรวจเช็ค ECU กุญแจ


10
11 T21

12
13 B85907

(ก) ถอดขั้วตอ T21 ออกจากกลอง ECU


14 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของชุดสายไฟดานขั้วตอ
มาตรฐาน:
15 สัญลักษณ(ขั้ว) สีสายไฟ รายละเอียดขั้ว สภาวะ คากําหนด
+B (T21-1) - GND (T21-16) L-Y - G แหลงจายไฟ คงที่ 10 ถึง 14 V
สวิตชจุดระเบิด
16 IG (T21-2) - GND (T21-16) B-O - G สวิตชจุดระเบิด 1: OFF → 1: 0 V →
2: ON 2: 10 ถึง 14 V
17 KSW (T21-3) - GND (T21-16) BR - G สวิตชเตือนปลดล็อค
1: ไมไดเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
2: เสียบกุญแจเขากระบอกกุญแจ 2: ต่ํากวา 1 Ω
L-O -
19 AGND (T21-5) - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
G-
GND (T21-16) - กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
26 กราวดตัวถัง
ถาผลการตรวจสอบไมเปนไปตามคากําหนด อาจเกิดจากความผิดปกติของชุดสายไฟ
27 (ค) ตอขั้วตอ T21 ของ ECU กลับเขาที่
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ
28 มาตรฐาน:
สัญลักษณ(ขั้ว) สีสายไฟ รายละเอียดขั้ว สภาวะ คากําหนด
29 แหลงจายไฟของ
สวิตชจุดระเบิด
VC5 (T21-14) - AGND (T21-5) L - L-O 1: OFF → 1: 0 V →
แอมปลิฟายเออร
2: ON 2: 4.6 ถึง 5.4 V
30 สวิตชจุดระเบิด
สัญญาณสื่อสารของ สัญญาณพัลส
TXCT (T21-4) - AGND (T21-5) L-B - L-O 1: OFF →
แอมปลิฟายเออร (ดูรูปคลื่น 1)
31 2: ON
สวิตชจุดระเบิด
CODE (T21-15) - AGND สัญญาณสื่อสารของ สัญญาณพัลส
32 L-Y - L-O 1: OFF →
(T21-5) แอมปลิฟายเออร (ดูรูปคลื่น 2)
2: ON
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–773

สัญลักษณ(ขั้ว) สีสายไฟ รายละเอียดขั้ว สภาวะ คากําหนด

EFIO (T21-13) - E0M (T21-11)


Y-G - W-B
สัญญาณออกของ
สวิตชจุดระเบิด
1: OFF →
สัญญาณพัลส 1
ECM (ดูรูปคลื่น 3)
2: ON
สวิตชจุดระเบิด 2
สัญญาณพัลส
EFII (T21-12) - E0M (T21-11) Y-B - W-B สัญญาณเขาของECM 1: OFF →
(ดูรูปคลื่น 4)
2: ON 3
ถาผลการตรวจสอบไมเปนไปตามคากําหนด อาจเกิดจาก ECU ผิดปกติ
(จ) ตรวจสอบโดยใชออสซิลโลสโคป 5
รูปคลื่น 1 (อางอิง):
ขั้ว TXCT - GND
10
GND การปรับเครื่องมือ 2 V/DIV., 10 msec./DIV.
สวิตชจุดระเบิด 11
สภาวะ 1: OFF →
2: ON 12
B86389

รูปคลื่น 2 (อางอิง): 13
ขั้ว CODE - GND
การปรับเครื่องมือ 2 V/DIV., 20 msec./DIV. 14
GND สวิตชจุดระเบิด
สภาวะ 1: OFF → 15
2: ON
16
B86388

รูปคลื่น 3 (อางอิง): 17
ขั้ว EFIO - GND
GND การปรับเครื่องมือ 10 V/DIV., 100 msec./DIV. 19
สวิตชจุดระเบิด
สภาวะ 1: OFF → 26
2: ON

27
B86390

รูปคลื่น 4 (อางอิง): 28
ขั้ว EFII - GND
GND การปรับเครื่องมือ 10 V/DIV., 100 msec./DIV. 29
สวิตชจุดระเบิด
สภาวะ 1: OFF → 30
2: ON
31
B86391

32
05–774 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

3. ตรวจเช็ค ECM
1 E8 E7 E6 E5

2
3
5 B80556

(ก) วัดคาแรงดันไฟฟาและคาความตานทานของชุดสายไฟดานขั้วตอ
10 มาตรฐาน:
สัญลักษณ(ขั้ว) สีสายไฟ รายละเอียดขั้ว สภาวะ คากําหนด
11 สวิตชจุดระเบิด
สัญญาณออกของ สัญญาณพัลส
IMI (E6-30) - E0M (E5-16) Y-G - W-B 1: OFF →
12 ECU กุญแจ
2: ON
(ดูรูปคลื่น 1)
สวิตชจุดระเบิด
สัญญาณเขาของ สัญญาณพัลส
13 IMO (E6-29) - E0M (E5-16) Y-B -W-B
ECU กุญแจ
1: OFF →
(ดูรูปคลื่น 1)
2: ON
14 E01 (E8-7) - กราวดตัวถัง
W-B -
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
15 E02 (E8-6) - กราวดตัวถัง
W-
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
W-B -
16 E01 (E8-7) - กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω

17 ถาผลการตรวจสอบไมเปนไปตามคากําหนด อาจเกิดจากความผิดปกติของชุดสายไฟ
(ข) ตรวจสอบโดยใชออสซิลโลสโคป
19 รูปคลื่น 1 (อางอิง):
GND ขั้ว IMI - GND
26 การปรับเครื่องมือ 10 V/DIV., 100 msec./DIV.
สวิตชจุดระเบิด
27 สภาวะ 1: OFF →
2: ON
28
B86390

รูปคลื่น 2 (อางอิง):
29 ขั้ว IMO - GND
GND การปรับเครื่องมือ 10 V/DIV., 100 msec./DIV.
สวิตชจุดระเบิด
30 สภาวะ 1: OFF →
2: ON
31
B86391

32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–775

ระบบวิเคราะหปญหา
1. รายละเอียดทั่วไป 1
(ก) ขอมูลและรหัสวิเคราะหปญ  หา (DTC) ของระบบยับยัง้ การทํางานของเครือ่ งยนต สามารถทีจ่ ะอานไดจากการตอที่
ขั้วตอ DLC3
2
ในบางกรณี ความผิดปกติอาจเกิดขึน้ กับระบบยับยัง้ การทํางานของเครือ่ งยนตถงึ แมวา ไฟแสดงการทํางานจะไมกะพริบ 3
หรือเรืองแสง เมือ่ ระบบตรวจพบความผิดปกติ ใหใชเครือ่ งวิเคราะหปญ  หา (IT II) เพือ่ ทําการตรวจเช็คและการซอม
2. ตรวจเช็ค DLC3 5
ขอแนะนํา:
CG SG
SIL ในรถยนตจะใชโปรโตคอลการสื่อสารขอมูล ตามมาตรฐาน ISO 10
14230 และ ISO 9141-2 ซึ่งขั้วตอ DLC3 ซึ่งเปนมาตรฐาน SAE
1 2 3 4 5 6 7 8
15031-3 จะมีลักษณะเดียวกันกับมาตรฐาน ISO 14230 และ ISO 11
9 10 1112 1314 1516
9141-2
BAT
12
A82779

สัญลักษณ(ขั้ว) รายละเอียดขั้ว สภาวะ คากําหนด


13
SIL (7) - SG (5) สาย Bus “+” ระหวางการสงขอมูล สัญญาณพัลส
CG (4) - กราวดตัวถัง กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 14
SG (5) - กราวดตัวถัง กราวดสัญญาณ คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
BAT (16) - กราวดตัวถัง ขั้วบวกแบตเตอรี่ คงที่ 11 ถึง 14 V 15
ถาผลการตรวจสอบไมเปนไปตามคากําหนด DLC3 อาจผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟดานขั้วตอ
16
ขอแนะนํา: 17
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ตอสายของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขาไปที่ขั้วตอ DLC3 บิด
สวิตชจุดระเบิด ON แลวเปดเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ถาหนา 19
จอแสดงผลวาไมสามารถสื่อสารขอมูลได อาจเกิดปญหากับรถยนต
หรือเครื่องมือ 26
DLC3
• ถานําเอาเครือ่ งวิเคราะหปญ  หา (IT II) ไปตอเขากับรถยนตคนั
อืน่ แลวสามารถใชงานได ใหทําการตรวจเช็คขั้วตอ DLC3 27
B85587

• ถ า ยั ง ไม ส ามารถสื่ อ สารข อ มู ล ได เ มื่ อ ต อ เครื่ อ งวิ เ คราะห


ปญหา (IT II) เขากับรถยนตคันอื่น อาจเกิดจากปญหาของ
28
เครื่องมือ ใหสงเครื่องมือไปตรวจเช็คตามรายละเอียดในคูมือ
29
ประจําเครื่อง
3. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ 30
มาตรฐาน: 11 ถึง 14 V
ถาแรงดันไฟฟาต่ํากวา 11 V เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหมแลวคอยทําการซอม 31
32
05–776 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

ตรวจเช็ค/ลบรหัสวิเคราะหปญหา
1
2
1. ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (DTC)
3 เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II))
(ก) ตอสายเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขาที่ขั้วตอ DLC3
5 (ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON
(ค) อานรหัสวิเคราะหปญหาที่หนาจอของเครื่องวิเคราะหปญหา
10 DLC3
(TI II)
ขอแนะนํา:
11 B85587

รายละเอียดการใช ให อางอิงจากคูมือ การใชของเครื่องวิเ คราะห


12 ปญหา (IT II)
2. ตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหา (DTC)
13 (ไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II))
CG
(ก) บิดสวิตชจุดระเบิด ON
14 (ข) ใชเครื่องมือพิเศษ, ตอระหวางขั้ว 13 (TC) และขั้ว 4 (CG)
1 2 3 4 5 6 7 8
ของ DLC3
15 9 10 1112 1314 1516
เครื่องมือพิเศษ 09843-18040
16 TC A82779

รหัสปกติ
(ค) อานรหัสวิเคราะหปญหาจากการกะพริบของหลอดไฟที่หนา
17 0.25 วินาที 0.25 วินาที ปด ถาไมมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นรหัส DTC จะแสดงเหมือนใน
รูปดานซาย
19
26
27 BR3904

28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–777

0.5 วินาที รหัสผิดปกติ (ตัวอยาง: รหัส 12, 99) 1


ON

2
OFF

4.5 วินาที 1.5 วินาที 2.5 วินาที 4.5 วินาที 3


1 รอบ
5
B87057

(ง) ถามีรหัส 12 และ 99 เกิดขึ้น ไฟจะกะพริบตามที่แสดงอยู


ดานบน 10
ถาชวงระยะเวลาการกะพริบระหวางรหัสเทากับ 4.5 วินาที
หมายความวาเริม่ กะพริบซ้าํ รหัสเดิมและแสดงวามีรหัสเฉพาะ
11
ตามทีก่ ะพริบเทานัน้ หลอดไฟจะกะพริบซ้าํ รหัสเดิมตลอด
12
(จ) ตรวจเช็ครายละเอียดความผิดปกติโดยใชตารางวิเคราะห
ปญหา (ดูหนา 05-780) 13
(ฉ) หลังจากตรวจเช็คเสร็จแลว ใหถอดสายไฟเครือ่ งมือพิเศษ ออก
จากขั้ว 13 (TC) และขั้ว 4 (CG) ของ DLC 3 14
3. ลบรหัสวิเคราะหปญหา (ใชเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II))
เครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) (ก) ตอสายของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขาที่ขั้วตอ DLC3 15
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON
(ค) ทําการลบรหัสตามขั้นตอนการใชของเครื่องวิเคราะหปญหา 16
(IT II)
DLC3
ขอแนะนํา: 17
รายละเอี ยดการใชใหอางอิ งจากคูมือ การใชของเครื่องวิเ คราะห
B85587

ปญหา (IT II)


19
26
4. ลบรหัสวิเคราะหปญหา (DTC) (ไมใชเครื่องวิเคราะหปญหา
J/B หองเครื่องยนต 27
(IT II))
(ก) ปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้อยางใดอยางหนึ่ง
(1) ถอดขั้วลบ (-) แบตเตอรี่เปนเวลามากกวา 1 นาที 28
(2) ถอดฟวส EFI ออกจาก J/B ในหองเครือ่ งยนตเปนเวลา
มากกวา 1 นาที 29
A99789
ฟวส EFI B87056
30
31
32
05–778 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

DATA LIST/ACTIVE TEST


1 1. อานขอมูลใน DATA LIST
ขอแนะนํา:
2 การใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ในการอานขอมูลใน Data List จะตองไมมกี ารถอดอุปกรณพวกสวิตช เซ็นเซอร แอ็คชิว-
เอเตอรหรืออุปกรณอนื่ ๆ ออกขณะทําการอาน และเพือ่ ทําใหยน ระยะเวลาการอาน Data List ชวยในการหาสาเหตุขอ ขัดของ
3 (ก) ตอสายเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) เขาที่ขั้วตอ DLC3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON
5 (ค) อานขอมูลใน Data List
ECU กุญแจ:
10 หัวขอ หัวขอที่ทําการวัด/แสดงผล (ยาน) สภาวะปกติ รหัส
สัญญาณสวิตชจุดระเบิด / ON หรือOFF: สวิตชจุดระเบิด OFF หรือ ACC
IG SW -
OFF ON: สวิตชจุดระเบิด ON
11 สัญญาณสวิตชเตือนปลดล็อค/ ON หรือOFF: ไมเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ
SW กุญแจ -
OFF ON: เสียบกุญแจ
12 สภาวะของขดลวดสงสัญญาณ/ NORMAL: ขดลวดสงสัญญาณปกติ
สภาวะของขดลวด -
NORMAL หรือ FAIL FAIL: ขดลวดสงสัญญาณผิดปกติ
13 การแสดงรหัส G
การตอบสนองการเปลี่ยนแปลงรหัส G No: ไมมีการตอบสนอง
-
No หรือ Yes Yes: มีการตอบสนอง
สภาวะการสนับสนุนรหัส No: ไมสนับสนุน
14 G
การกําหนดรหัส G/ No หรือ Yes
Yes: สนับสนุน
-
ปกติ: อนุญาตใหสตารทเครื่องยนตได
15 การอนุญาต (สตารท) ควบคุมการสตารท/ ปกติ หรือ ผิดปกติ
ผิดปกติ: ไมอนุญาตใหสตารทเครื่องยนต
-
สภาวะของระบบยับยั้งการทํางาน/ UNSET: สวิตชจุดระเบิด ON
การยับยั้งการทํางาน -
16 SET หรือ UNSET SET: ไมมีกุญแจ
รหัสสัญญาณกุญแจมาสเตอร / NOMATCH: รหัสไมถูกตอง
กุญแจมาสเตอร -
NOMATCH หรือ MATCH MATCH: รหัสถูกตอง
17 รหัสกุญแจสํารอง/ NOMATCH: รหัสไมถูกตอง
กุญแจสํารอง (SUB) -
NOMATCH หรือ MATCH MATCH: รหัสถูกตอง
19 Bcc ผิดปกติ
สัญญาณชิพสงสัญญาณ/ NG: การสงสัญญาณไมถูกตอง
-
ผิดปกติ หรือ ปกติ OK: การสงสัญญาณถูกตอง
26 ทํางานผิดปกติ
ขอมูลชิพสงสัญญาณ/ NG: ขอมูลไมตรงกัน
-
ผิดปกติ หรือ ปกติ OK: ขอมูลตรงกัน
ขอมูลชิพสงสัญญาณ/ NG: ขอมูลไมตรงกัน
27 ความแตกตางของรหัส
ผิดปกติ หรือ ปกติ OK: ขอมูลตรงกัน
-
ขอมูลชิพสงสัญญาณ/ NG: ขอมูลไมตรงกัน
28 จํานวนความแตกตาง -
ผิดปกติ หรือ ปกติ OK: ขอมูลตรงกัน
ขอมูลชิพสงสัญญาณ/ NG: ขอมูลไมตรงกัน
Frame ไมตรงกัน -
29 ผิดปกติ หรือ ปกติ OK: ขอมูลตรงกัน
ขอมูลชิพสงสัญญาณ/ NG: ขอมูลไมตรงกัน
การตอบสนอง -
ผิดปกติ หรือ ปกติ OK: ขอมูลตรงกัน
30 หนวยความจํา/ No: บันทึกรหัสได
พื้นที่บันทึกรหัสเต็ม -
No หรือ Yes Yes: ไมสามารถบันทึกรหัสได
31 การสงสัญญาณรหัส M
จํานวนของกุญแจมาสเตอร/
จํานวนของกุญแจมาสเตอร -
ต่ําสุด: 0, สูงสุด: 15
32 การสงสัญญาณรหัส S
จํานวนของกุญแจสํารอง/
จํานวนของกุญแจสํารอง -
ต่ําสุด: 0, สูงสุด: 15
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–779

2. การทํา ACTIVE TEST


ขอแนะนํา: 1
การใชเครือ่ งวิเคราะหปญ
 หา (IT II) ทํา Active Test จะเปนการตรวจเช็คการทํางานของรีเลย, VSV, แอ็คชิวเอเตอร และ
อุปกรณอื่นๆ โดยที่ไมถอดชิ้นสวนออกมา การทํา Active Test เพื่อชวยทําใหระยะเวลาในการหาสาเหตุขอขัดของสั้น 2
ลง และในระหวางการทํา Active Test ก็ยังสามารถอานขอมูลใน Data List ได
(ก) ตอสาย IT II เขาที่ขั้วตอ DLC3 3
(ข) บิดสวิตชจุดระเบิด ON
(ค) ทํา Active Test ตามวิธีการใชในคูมือของเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) 5
สัญลักษณ ECU กุญแจ:
หัวขอ สภาวะปกติ บันทึกรหัส
10
ไฟแสดงการทํางาน การทํางานของหลอดไฟ ON/OFF -
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–780 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

ตารางรหัสวิเคราะหปญหา
1 1. ตารางรหัสวิเคราะหปญหา ECU กุญแจ
2 (ดูรหัหนสา) หัวขอการตรวจจับ บริเวณที่เกิดปญหา
• สวิตชเตือนปลดล็อค
3 B2780
สวิตชเตือนปลดล็อคทํางานผิดปกติ • ชุดสายไฟ
(05-781)
• ECU กุญแจ
5 B2784
• ชุดสายไฟ
ขดลวดสงสัญญาณ ขาด/ลัดวงจร • แอมปลิฟายเออร
(05-784)
10 • ECU กุญแจ
B2793
ชิพสงสัญญาณผิดปกติ กุญแจ
(05-786)
11
B2794
รหัสไมตรงกัน กุญแจ
(05-787)
12 B2795
รหัสกุญแจไมตรงกัน กุญแจ
(05-788)
13 • กุญแจ
B2796 • แอมปลิฟายเออร
ไมมีการสื่อสารในระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต
14 (05-789) • ชุดสายไฟ
• ECU กุญแจ
15 • กุญแจ
B2797 • แอมปลิฟายเออร
การสื่อสารผิดปกติ หมายเลข 1
(05-792) ชุดสายไฟ
16 •
• ECU กุญแจ
B2798
17 (05-789)
การสื่อสารผิดปกติ หมายเลข 2 กุญแจ

19 2. ตารางรหัสวิเคราะหปญหาของ ECM
คําเตือน:
26 รหัสวิเคราะหปญหาของระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนตจะแสดงในตารางดานบน ถามีรหัสอื่นๆ แสดงออกมา
ดวย ใหตรวจเช็ครหัสวิเคราะหปญหาของระบบควบคุมเครื่องยนต
27 รหัส
หัวขอการตรวจจับ บริเวณที่เกิดปญหา
(ดูหนา)
28 B2799/99
ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนตผิดปกติ
• ชุดสายไฟ
(05-795) • ECM
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–781

รหัส B2780 สวิตชเตือนปลดล็อค/สวิตชกด ผิดปกติ 1

รายละเอียดวงจร 2
รหัส DTC นี้จะแสดงออกมาเมื่อ ECU กุญแจ ตรวจไมพบวาสวิตชเตือนปลดล็อคอยูในตําแหนง ON ถึงแมจะเสียบ 3
กุญแจเขาไปที่กระบอกกุญแจ สภาวะปกติ สวิตชเตือนปลดล็อคจะตอง ON เมื่อเสียบกุญแจเขาไป
รหัส สภาวะการตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา 5
• สวิตชเตือนปลดล็อค
ไมมีสัญญาณ ON ของสวิตชเตือนปลดล็อคถึงแมจะเสียบ
B2780 ชุดสายไฟ
กุญแจเขาไป

• ECU กุญแจ
10
11
ผังวงจรไฟฟา
12
T21
T21 Transponder Key ECU
Assy ECU กุญแจ
U1 Unlock Warning Switch
J/B แผงคอนโซล
Instrument Panel J/B Assy 13
U1
Assyสวิตชเตือนปลดล็อค (J/B Side
(Driver ดานคนขั
J/B)บ)

GR 2 1 G-Y
10
2O
26
2N
BR 3
KSW
14

B
15
J23
J/C
B
16
W-B
17
ID

19
B84870
26
27
28
29
30
31
32
05–782 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

วิธีการตรวจสอบ
1
1 อานขอมูลใน Data List (สวิตชเตือนปลดล็อค)
2
(ก) ตรวจเช็คการทํางานของสวิตชเตือนปลดล็อคใน Data List
3 ECU กุญแจ:
หัวขอ หัวขอที่ทําการวัด/แสดงผล (ยาน) สภาวะปกติ การบันทึกผล
สัญญาณเตือนปลดล็อค/ OFF: ไมเสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ
5 SW กุญแจ
ON หรือ OFF ON: เสียบกุญแจ
-

10 ปกติ: หนาจอจะแสดงผล ON (มีกุญแจเสียบในกระบอกกุญแจ)


บกพรอง ไปขั้นตอนที่ 2
11
ปกติ
12
เปลี่ยน ECU กุญแจ
13
2 ตรวจสอบสวิตชเตือนปลดล็อค
14
(ก) ถอดสวิตชออกมา
15 (ข) วัดคาความตานทานของสวิตช
มาตรฐาน:
16 ขั้วที่ตรวจสอบ สภาวะของสวิตช คากําหนด
1-2 กด ต่ํากวา 1 Ω
17 กด ปลอย 1-2 ปลอย 10 kΩ หรือสูงกวา
B83342

19 B85913 บกพรอง เปลี่ยนสวิตชเตือนปลดล็อค


ปกติ
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–783

3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (สวิตชเตือนปลดล็อค - ECU กุญแจและกราวดตัวถัง) 1


(ก) ถอดขั้วตอ U1 ออกจากสวิตชเตือนปลดล็อค
ดานชุดสายไฟ
(ข) ถอดขั้วตอ T21 ออกจาก ECU กุญแจ 2
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
U1
สวิตชเตือนปลดล็อค มาตรฐาน: 3
การตอเครื่องมือวัด คากําหนด
T21-3 (KSW) - U1-1 ต่ํากวา 1 Ω 5
U1-2 - กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
10
T21 11
KSW ECU กุญแจ
12
13
B85918
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 14
ปกติ
15
เปลี่ยน ECU กุญแจ 16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–784 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

1 รหัส B2784 ขดลวดสงสัญญาณ ขาด/ลัดวงจร


2 รายละเอียดวงจร
3 ขดลวดสงสัญญาณจะรับสัญญาณรหัสกุญแจจากชิพกุญแจ ขดลวดจะติดตั้งในชุดแอมปลิฟายเออรซึ่งจะขยายสัญญาณ
รหัสกุญแจและสงสัญญาณออกไปยัง ECU กุญแจ
5 รหัส สภาวะการตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา
• ชุดสายไฟ
B2784 ขดลวดสงสัญญาณ ขาด/ลัดวงจร แอมปลิฟายเออร
10 •
• ECU กุญแจ

11
ผังวงจรไฟฟา
12
13 T20
T20 Transponder Key Amplifi
แอมปลิ
er ฟายเออร
T21 T21
Transponder Key ECU
AssyECU กุญแจ

แอมปลิ ฟายเออร
Amplifier
14 ANT1 VC5 1 L 14
VC5

15 CODE 4 L-Y 15
CODE

ขดลวดสง
16 Transponder
สัญCoil
Key ญาณ
TXCT 5 L-B 4
17 TXCT

GND 7 L-O 5
AGND
19 ANT2

26 B62676

27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–785

วิธีการตรวจสอบ
1
1 อานขอมูลใน DATA LIST (ขดลวดสงสัญญาณ)
2
(ก) ตรวจเช็คการทํางานของขดลวดสงสัญญาณใน Data List
ECU กุญแจ: 3
หัวขอ หัวขอที่ทําการวัด/แสดงผล (ยาน) สภาวะปกติ การบันทึกผล
สภาวะขดลวดสงสัญญาณ/ NORMAL: ขอลวดสงสัญญาณปกติ
สภาวะของขดลวด
NORMAL หรือ FAIL FAIL: ขอลวดสงสัญญาณผิดปกติ
- 5
ปกติ: หนาจอแสดงผล NORMAL (ขดลวดปกติ) 10
บกพรอง ไปขั้นตอนที่ 2
11
ปกติ
12
เปลี่ยน ECU กุญแจ
13
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU กุญแจ - แอมปลิฟายเออร)
14
(ก) ถอดขั้วตอ T21 ออกจาก ECU
ดานชุดสายไฟ (ข) ถอดขัว้ ตอ T20 ออกจากแอมปลิฟายเออร 15
(ค) วัดคาความตานทานชุดสายไฟดานขอตอ
T21
ECU กุญแจ มาตรฐาน: 16
TXCT
การตอเครื่องมือวัด คากําหนด
AGND
T21-14 (VC5) - T20-1 (VC5) ต่ํากวา 1 Ω 17
T21-15 (CODE) - T20-4 (CODE) ต่ํากวา 1 Ω
T21-4 (TXCT) - T20-5 (TXCT) ต่ํากวา 1 Ω 19
VC5 CODE
T21-5 (AGND) - T20-7 (GND) ต่ํากวา 1 Ω
T20 T21-14 (VC5) หรือ T20-1 (VC5) -
10 kΩ หรือสูงกวา 26
แอมปลิฟายเออร กราวดตัวถัง
T21-15 (CODE) หรือ T20-4 (CODE) -
10 kΩ หรือสูงกวา 27
กราวดตัวถัง
T21-4 (TXCT) หรือ T20-5 (TXCT) -
กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา 28
VC5 CODE TXCT GND
T21-5 (AGND) หรือ T20-7 (GND) -
B85908
กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา 29
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 30
ปกติ
31
เปลี่ยนแอมปลิฟายเออร 32
05–786 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

1 รหัส B2793 ชิพสงสัญญาณผิดปกติ


2 รายละเอียดวงจร
3 รหัสนี้จะแสดงออกมาเมื่อ: 1) มีความผิดปกติเกิดขึ้นระหวางการลงทะเบียน หรือ 2) ลงทะเบียนไมสมบูรณ ทําการ
ตรวจเช็คตามขั้นตอนตอไปนี้
5 รหัส สภาวะการตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา
B2793 ชิพสงสัญญาณการผิดปกติ กุญแจ
10
ขั้นตอนการตรวจสอบ
11
1 ลงทะเบียนอีกครั้ง
12 (ก) ลบรหัส DTC (ดูหนา 05-776)
13 (ข) ลงทะเบี ยนอีกครั้งและใชกุญแจสตารทเครื่องยนตอีกครั้ง
ปกติ: สตารทเครื่องยนตได
14 บกพรอง เปลี่ยนกุญแจ
15 ปกติ

16 ปกติ (เสร็จสิ้นการตรวจสอบ)
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–787

รหัส B2794 รหัสไมตรงกัน 1

รายละเอียดวงจร 2
รหัสนี้จะแสดงออกมาเมื่อเสียบกุญแจที่รหัสไมตรงกันเขาไปในกระบอกกุญแจ 3
รหัส สภาวะการตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา
B2794 เสียบกุญแจที่รหัสไมตรงกัน กุญแจ
5
ขั้นตอนการตรวจสอบ 10
1 ลงทะเบียนอีกครั้ง 11
(ก) ลบรหัส DTC (ดูหนา 05-776)
(ข) ลงทะเบียนอีกครั้งและใชกุญแจสตารทเครื่องยนตอีกครั้ง 12
ปกติ: สตารทเครื่องยนตได
13
บกพรอง เปลี่ยนกุญแจ
14
ปกติ
15
ปกติ (เสร็จสิ้นการตรวจสอบ)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–788 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

1 รหัส B2795 รหัสไมตรงกัน


2 รายละเอียดวงจร
3 รหัสนี้จะแสดงออกมาเมื่อเสียบกุญแจที่ไมไดลงทะเบียนใน ECU เขาไปที่กระบอกกุญแจ
รหัส สภาวะการตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา
B2795 เสียบกุญแจที่ไมไดลงทะเบียนในกระบอกกุญแจ กุญแจ
5
10 ขั้นตอนการตรวจสอบ
11 1 ลงทะเบียนอีกครั้ง
(ก) ลบรหัส DTC (ดูหนา 05-776)
12 (ข) ลงทะเบียนอีกครั้งและใชกุญแจสตารทเครื่องยนตอีกครั้ง
ปกติ: สตารทเครื่องยนตได
13
บกพรอง เปลี่ยนกุญแจ
14
ปกติ
15
ปกติ (เสร็จสิ้นการตรวจสอบ)
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–789

รหัส B2796 ไมมีการสื่อสารขอมูลในระบบยับยั้งการทํางานของ 1


เครื่องยนต 2
รหัส B2798 การสื่อสารขอมูลผิดปกติหมายเลข 2 3

รายละเอียดวงจร 5
เมื่อเสียบกุญแจเขาไปในกระบอกกุญแจแตไมมีการสื่อสารขอมูลกันระหวางกุญแจและ ECU กุญแจรหัส, DTC B2796 10
จะแสดงออกมา
เมื่อเสียบกุญแจเขาไปในกระบอกกุญแจ แตการสื่อสารขอมูลผิดปกติเกิดขึ้น รหัส DTC B2798 จะแสดงออกมา 11
รหัส สภาวะการตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา
• กุญแจ 12
• แอมปลิฟายเออร
B2796 ไมมีการสื่อสาร
• ชุดสายไฟ
• ECU กุญแจ
13
B2798 การสื่อสารผิดปกติ กุญแจ
14
ผังวงจรไฟฟา 15

T20 T21 T21


Transponder Key ECU
16
T20 Transponder Key Amplifi AssyECU กุญแจ
แอมปลิ
er ฟายเออร
แอมปลิ ฟายเออร
Amplifier
17
ANT1 VC5 1 L 14
VC5
19
CODE 4 L-Y 15
CODE

ขดลวดส ง
Transponder
26
สัKey
ญญาณ
Coil

TXCT 5 L-B 4
TXCT
27

ANT2
GND 7 L-O 5
AGND 28
29
B62676

30
31
32
05–790 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 อานขอมูลใน DATA LIST (ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต)
2
(ก) ตรวจเช็คขอมูลใน Data List ของระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต
3 ECU กุญแจ:
หัวขอ หัวขอที่ทําการวัด/แสดงผล (ยาน) สภาวะปกติ การบันทึกผล
สภาวะระบบยับยั้งการทํางาน/ UNSET: สวิตชจุดระเบิด ON
5 การยับยั้งการทํางาน
SET หรือ UNSET SET: ไมมีกุญแจ
-

ปกติ: หนาจอแสดงผล UNSET (สวิตชจุดระเบิด ON)


10
บกพรอง ไปขั้นตอนที่ 2
11
ปกติ
12
เปลี่ยน ECU กุญแจ
13
2 ตรวจเช็คดูวาเครื่องยนตสตารทไดโดยกุญแจอื่นหรือไม
14
(ก) ตรวจเช็ควาเครื่องยนตสตารทไดจากกุญแจดอกอื่นหรือไม
15 ปกติ: สตารทได
บกพรอง ไปขั้นตอนที่ 3
16
ปกติ
17
ลงทะเบียนใหมหรือเปลี่ยนกุญแจที่ไมสามารถสตารทเครื่องยนตได
19
3 อานขอมูลใน DATA LIST (ขดลวดสงสัญญาณ)
26
(ก) ตรวจเช็คสภาวะของขดลวดสงสัญญาณจาก Data List
27 ECU กุญแจ:
หัวขอ หัวขอที่ทําการวัด/แสดงผล (ยาน) สภาวะปกติ การบันทึกผล
28 สภาวะขดลวดสงสัญญาณ/ NORMAL: ขดลวดสงสัญญาณปกติ
สภาวะของขดลวด -
NORMAL หรือ FAIL FAIL: ขดลวดสงสัญญาณผิดปกติ
29 ปกติ: หนาจอแสดงผล NORMAL (ขดลวดปกติ)
30 บกพรอง ไปขั้นตอนที่ 4
ปกติ
31
32 เปลี่ยน ECU กุญแจ
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–791

4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU กุญแจ - แอมปลิฟายเออร) 1


(ก) ถอดขั้วตอ T21 ออกจาก ECU
ดานชุดสายไฟ
(ข) ถอดขัว้ ตอ T20 ออกจากแอมปลิฟายเออร 2
(ค) วัดคาความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
T21
ECU กุญแจ มาตรฐาน: 3
TXCT
การตอเครื่องมือวัด คากําหนด
AGND
T21-14 (VC5) - T20-1 (VC5) ต่ํากวา 1 Ω 5
T21-15 (CODE) - T20-4 (CODE) ต่ํากวา 1 Ω
T21-4 (TXCT) - T20-5 (TXCT) ต่ํากวา 1 Ω 10
VC5 CODE
T21-5 (AGND) - T20-7 (GND) ต่ํากวา 1 Ω
T20 T21-14 (VC5) or T20-1 (VC5) -
10 kΩ หรือสูงกวา
11
แอมปลิฟายเออร กราวดตัวถัง
T21-15 (CODE) หรือ T20-4 (CODE) -
10 kΩ หรือสูงกวา 12
กราวดตัวถัง
T21-4 (TXCT) หรือ T20-5 (TXCT) -
10 kΩ หรือสูงกวา 13
VC5 CODE TXCT GND กราวดตัวถัง
T21-5 (AGND) หรือ T20-7 (GND) -
B85908

กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา 14
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ 15
ปกติ 16
5 ตรวจเช็คการทํางานของแอมปลิฟายเออร 17
(ก) หลังจากที่เปลี่ยนแอมปลิฟายเออรใหมแลว ใหตรวจเช็คโดยการสตารทเครื่องยนต 19
ปกติ: เครื่องยนตสตารทได
บกพรอง เปลี่ยน ECU กุญแจ 26
ปกติ 27
จบ (แอมปลิฟายเออรผิดปกติ) 28
29
30
31
32
05–792 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

1 รหัส B2797 การสื่อสารขอมูลผิดปกติ หมายเลข 1


2 รายละเอียดวงจร
3 รหัส DTC จะแสดงออกมาเมือ่ การสือ่ สารขอมูลระหวางแอมปลิฟายเออรและ ECU กุญแจผิดพลาด ปญหาทีท่ าํ ใหความ
ผิดพลาดมีดังนี้: 1) ใชกุญแจมากกวา 2 ดอก วางใกลกันหรือ 2) มีคลื่นรบกวนที่สายสัญญาณ
5 รหัส สภาวะที่ตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา
• กุญแจ
วางกุญแจหลายๆ ดอกไวใกลกันหรือมีคลื่นรบกวนสาย ชุดสายไฟ
10 B2797
สัญญาณสื่อสาร

• แอมปลิฟายเออร
• ECU กุญแจ
11
12 ผังวงจรไฟฟา
13 T20
T20 Transponder Key Am
T21
T21 Transponder Key ECU
แอมปลิฟายเออร
plifier Assy ECU กุญแจ

14
15 CODE
4 L-Y 15
CODE

16
17
B52550

19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–793

วิธีการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คกุญแจ
(ก) ตรวจเช็คดูการใชงานของกุญแจเมือ่ ใกลกบั กุญแจดอกอืน่ ดังที่ 2
แสดงในรูปรวมทัง้ ตรวจเช็คในขณะกุญแจสัมผัสกับหวงโลหะ
ผลการตรวจสอบ:
3
ผลการตรวจสอบ ไปขั้นตอน
กุญแจอยูใกลกับกุญแจดอกอื่นหรือติดกับหวงโลหะ A
5
กุญแจไมอยูใกลหวงโลหะหรือไมติดหวงโลหะ B
10
B85901 B ไปขั้นตอนที่ 3
A
11
12
2 ตรวจเช็ครหัส DTC
(ก) แยกกุญแจออกจากพวงกุญแจ หรือเอาหวงโลหะออก 13
(ข) ลบรหัส DTC (ดูหนา 05-776)
(ค) เสียบกุญแจในกระบอกกุญแจ, ดึงออก, แลวเสียบกุญแจดอกอื่น 14
(ง) ตรวจเช็คดูวาไมมีรหัส
ปกติ: ไมมีรหัส 15
บกพรอง ไปขั้นตอนที่ 3
ปกติ
16
17
ปกติ
19
3 ตรวจเช็ค ECU กุญแจ
(ก) ใชออสซิลโลสโคปหรือเครื่องวิเคราะหปญหา (IT II) ตรวจ 26
เช็คคลืน่ รบกวนระหวางขัว้ T20 ของขัว้ ตอแอมปลิฟายเออรและ
ขัว้ ตอ T21 ของ ECU 27
ปกติ: ไมมีคลื่นรบกวน (ดูรูปตัวอยางดานซาย)
28
การตอเครื่องมือวัด คากําหนด
T21-15 (CODE) - T20-4 (CODE) ไมมีคลื่นรบกวน
ไมควรมีคลื่นรบกวน
29
B50157
การปรับเครื่องมือ 5 V/DIV., 20 ms/DIV
สวิตชจุดระเบิด
สภาวะ 1: OFF →
30
2: ON
31
บกพรอง หาสาเหตุของการเกิดคลื่นรบกวนและแกไข
ปกติ
32
05–794 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

1 4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU กุญแจ - แอมปลิฟายเออร)


(ก) ถอดขั้วตอ T21 ออกจาก ECU
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ถอดขัว้ ตอ T20 ออกจากแอมปลิฟายเออร
(ค) วัดคาความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 T21
ECU กุญแจ มาตรฐาน:
การตอเครื่องมือวัด คากําหนด
5 T21-15 (CODE) - T20-4 (CODE) ต่ํากวา 1 Ω

10
CODE

11 T20
แอมปลิฟายเออร
12
13
CODE

14 B85908 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ


ปกติ
15
16 5 ตรวจเช็คการทํางานของแอมปลิฟายเออร
(ก) หลังจากที่ทําการเปลี่ยนชุดแอมปลิฟายเออร ใหตรวจเช็คดูวาเครื่องยนตสตารทได
17 ปกติ: เครื่องยนตสตารทได
19 บกพรอง เปลี่ยน ECU กุญแจ
ปกติ
26
27 จบ (แอมปลิฟายเออรผิดปกติ)
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–795

รหัส B2799/99 ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนตผิดปกติ 1

รายละเอียดวงจร 2
รหัส DTC นี้จะแสดงออกมาเมื่อ: 1) ECM ตรวจพบความผิดพลาดในการสื่อสารขอมูลกับ ECU กุญแจ, 2) ECM ตรวจ 3
พบความผิดพลาดในสายสื่อสารขอมูลและ 3) การสงขอมูล ID ของ ECU ระหวาง ECU กุญแจ และ ECM เกิดความ
แตกตางและเครื่องยนตสตารทได 5
กอนทําการตรวจหารหัส DTC จะตองแนใจวาไมมีรหัส DTC ของ ECU กุญแจคางอยู ถามีใหตรวจรหัส DTC ECU
กุญแจกอน 10
รหัส สภาวะที่ตรวจจับ DTC บริเวณที่เกิดปญหา
• เกิดความผิดพลาดในการสื่อสารขอมูลระหวาง ECM และ
• ชุดสายไฟ 11
B2799/99 ECU กุญแจ และสายสัญญาณ
• ECM
รหัส ID แตกตางในระหวางการสื่อสารขอมูลกับ ECU

12
ผังวงจรไฟฟา 13
T21
T21 Transponder Key ECU 14
Assy ECU กุญแจ
E6
ECM 15

IMI
30 Y-G 13
EFIO
16
17

IMO
29 Y-B 12
EFII
19
26
27
B66227

28
29
30
31
32
05–796 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU กุญแจ - ECM)
2
(ก) ถอดขั้วตอ T21 ออกจาก ECU
ดานชุดสายไฟ
3 T21 (ข) ถอดขัว้ ตอ E6 ของ ECM
ECU กุญแจ (ค) วัดคาความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
5 มาตรฐาน:
การตอเครื่องมือวัด คากําหนด
10 T21-13 (EFIO) - E5-30 (IMI) ต่ํากวา 1 Ω
EFII EFIO T21-12 (EFII) - E5-29 (IMO) ต่ํากวา 1 Ω
T21-6 (EFIO) or E6-30 (IMI) -
11 E6 กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา
ECM
T21-7 (EFII) or E6-29 (IMO) -
12 กราวดตัวถัง
10 kΩ หรือสูงกวา

13
14 IMO IMI
B86233 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
15
ปกติ
16
เปลี่ยน ECM
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต 05–797

วงจรแหลงจายไฟ ECU 1

รายละเอียดวงจร 2
วงจรนี้เปนวงจรที่จายไฟใหกับ ECU กุญแจเพื่อใหทํางานได 3
ผังวงจรไฟฟา
5
T21
T21 Transponder Key ECU

J/B แผงคอนโซล
Assy ECU กุญแจ 10
Instrument Panel J/B Assy
(Driver(J/B ดานคนขั
Side J/B) บ)

L 12 29 L-Y 1
11
2L 2R +B
I6I6Ignition Switch
สวิตชจุดระเบิด
Assy 12
6 IGN 6
5 AM2 IG2 6 B B-O 2
2C 2R IG
13
W-R

11 IF3 R/B, R/B,


Engine Room J/B หJ/B
องเครื่องยนต 14
W-R 4
1B
2
AM2
1
1
1A
15
ECU-B DCC
1
2 1 2 1 16
W 17
G 16
GND
19
B J22
J/C
26
B J23
W-B
แบตเตอรี่
Battery ID
27
28
B84871

29
30
31
32
05–798 การวิเคราะหปญหา − ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนต

วิธีการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (ECU–B, DCC, IGN)
2 (ก) ถอดฟวส ECU-B และฟวส DCC ออกจาก R/B หองเครื่องยนต
(ข) ถอดฟวส IGN ออกจาก J/B แผงคอนโซล
3 (ค) วัดความตานทานของฟวส
มาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
5 บกพรอง เปลี่ยนฟวส

10 ปกติ

11 2 ตรวจสอบสวิตชจุดระเบิดหรือสวิตชสตารท
(ก) ถอดขั้วตอ I14 ออกจากสวิตช
12 (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
มาตรฐาน:
13 4 3 2 1 การตอเครื่องมือวัด ตําแหนงสวิตช คากําหนด
8 7 6 5 5 (AM2) - 6 (IG2) LOCK, ACC 10 kΩ หรือสูงกวา
14 AM2 5 (AM2) - 6 (IG2) ON, START ต่ํากวา 1 Ω
IG2
15 A87913 บกพรอง เปลี่ยนสวิตชจุดระเบิดหรือสวิตชสตารท

16 ปกติ

17 3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ECU กุญแจ - แบตเตอรี่และกราวดตัวถัง)


(ก) ถอดขั้วตอ T21 ออกจาก ECU
19 ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดคาความตานทานและแรงดันไฟฟาของขัว้ ตอดานชุดสายไฟ
T21
มาตรฐาน:
26 IG ECU กุญแจ
การตอเครื่องมือวัด สภาวะ คากําหนด
+B
T21-1 (+B) -
27 กราวดตัวถัง
คงที่ 10 ถึง 14 V
สวิตชจุดระเบิด
28 GND B85909
T21-2 (IG) -
1: OFF → 1: 0 V →
กราวดตัวถัง
2: ON 2: 10 ถึง 14 V
29 T21-16 (GND) -
คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
30
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนชุดสายไฟและขั้วตอ
31 ปกติ

32 เปลี่ยน ECU กุญแจ


การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–799

ระบบกันขโมย
1
ตําแหนงชิ้นสวน
2
R/B, J/B หองเครื่องยนต
z รีเลยรวม (ชุด B: รีเลย HORN)
z ฟวสกระแสสูง MAIN
3
z ฟวสกระแสสูง ALT
ชุดแตรกันขโมย 5
z ฟวส ECU-B
z ฟวส DCC
z ฟวส HORN 10
11
12
ชุดไฟหนาดานขวา
z ไฟเตือนฉุกเฉิน 13
14
15
16
17
19
26
แตรเสียงต่ํา (แตรรถ)
27
แตรเสียงสูง (แตรรถ) 28
ชุดไฟหนาดานซาย
z ไฟเตือนฉุกเฉิน 29
สวิตชเตือนกันขโมย.
(สวิตชชายฝากระโปรงหนา) 30
B85018

31
32
05–800 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

1
ชุด J/B ใตแผงหนาปด (J/B ดานคนขับ)
2 z รีเลยรวม
z ฟวสกระแสสูง AM1

3 z ฟวสกระแสสูง IG1
z ฟวส ECU-IG & GAUGE
 รีเลยแฟลชเชอร
5
ชุดมาตรวัดรวม
10
ชุด ECU เตือนกันขโมย
11
12
13
14
15
16
17
R/B เบอร 3
z ฟวส DOOR
19
26 ชุดไฟแสดงสถานะกันขโมย
ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ
27
28
29 B85020

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–801

ชุดล็อคประตูหนาดานซาย ชุดล็อคประตูหนาดานขวา 1
z มอเตอรล็อคประตู z มอเตอรล็อคประตู
z สวิตชล็อคและปลดล็อคประตู
หลอดไฟเลี้ยวดานขาง
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา 2
(ดานคนขับ)
(ดานคนขับ)
3
ดับเบิ้ลแคป:
ชุดล็อคประตูหลังดานขวา
5
หลอดไฟเลี้ยวดานขาง z มอเตอรล็อคประตู
(ดานผูโดยสาร) 10

ดับเบิ้ลแคป:
11
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง
(ดานหลังขวา) 12
13
14
15
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา
(ดานผูโดยสาร) 16
17
19
ชุดไฟทายรวมดานขวา
ดับเบิ้ลแคป: z ไฟเตือนฉุกเฉิน
26
ชุดล็อคประตูหลังดานซาย
z มอเตอรล็อคประตู
ชุดไฟทายรวมดานซาย
27
z ไฟเตือนฉุกเฉิน
ดับเบิ้ลแคป: 28
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง
B85017 (ดานหลังซาย) B86807 29
30
31
32
05–802 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ผังวงจรระบบ
1
ชุด ECU เตือนกันขโมย
2 z รวมถึงเซ็นเซอรตรวจจับการสะเทือน

3
L2 IG
รีเลยรวม ชุดสวิตชจุดระเบิด
5 UL3

10 KSW ชุดสวิตชเตือนการปลดล็อค
ไฟแสดงสถานะกันขโมย IND
กุญแจ
11
12 HONE CTY
ชุดสวิตชไฟชายประตู
รีเลยแตร (ดานคนขับ, ดานผูโดยสาร,
13 ดานหลังขวา, ดานหลังซาย)

14 แตรกันขโมย SH-
DSWH
สวิตชชายฝากระโปรงหนา
15
16 รีเลย ST SRLY
SPD
ชุดมาตรวัดรวม
17
19 รีเลยแฟลชเชอร HAZD
เซ็นเซอรความเร็วรถ

26
27
28 รีโมทประตู

29
B86257

30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–803

คําอธิบายระบบ
• ระบบกันขโมยจะใชชิ้นสวนของระบบควบคุมการล็อคประตูดวยรีโมทและระบบควบคุมการล็อคประตู ระบบ
1
กันขโมยจะทํางานเมื่อตรวจพบวา: 1) มีบุคคลพยายามเขาไปในรถโดยพลการ 2) มีบุคคลเปดฝากระโปรงหนา
2
3) รถไดรับการกระแทกเกินกวาที่กําหนด หรือ 4) สายแบตเตอรี่ถูกถอดและตอเขาใหม
• เซ็นเซอรตรวจจับการสะเทือนจะติดตั้งอยูใน ECU เตือนกันขโมย 3
• ECU เตือนกันขโมยจะควบคุมระบบนี้
• รายละเอียดตางๆ ในการเตือนของระบบนี้อยูดานลาง 5
รายละเอียดตางๆ ในการเตือน:
แตรรถ 10
เสียงดัง
(ประมาณ 0.4 วินาทีตอครั้ง)
วิธีการเตือน แตรกันขโมย 11
ติดสวาง
ไฟเตือนฉุกเฉิน
(ประมาณ 0.35 วินาทีตอครั้ง) 12
ระยะเวลาเตือน - 27.5 วินาที
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–804 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

วิธีการคนหาสาเหตุปญหา
1 ขอแนะนํา:
ใชขั้นตอนนี้ในการคนหาสาเหตุปญหาของระบบกันขโมย
2 1 ลูกคานํารถเขาศูนยบริการ
3 ตอไป
5 2 วิเคราะหปญหาของลูกคาและตรวจเช็คอาการปญหา (ดูหนา 05-805)
10 ตอไป

11 3 ตรวจสอบแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่

12 ถาแรงดัคนามาตรฐาน: 11 ถึง 14 V
ไฟฟาต่ํากวา 11 V ใหชารจแบตเตอรี่ใหมกอนลงมือปฏิบัติ
13 ตอไป
14 4 ตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)
ผลที่ได:
15 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
ไมมีความบกพรองอยูในตารางสภาพปญหา A
16 มีความบกพรองอยูในตารางสภาพปญหา B

B ดูขั้นตอนที่ 6
17 A
19 5 คนหาสาเหตุปญหาและวิเคราะหโดยรวม
26 (ก) ขั้วตางๆ ของ ECU (ดูหนา 05-807)
(ข) การตรวจสอบบนรถ (ดูหนา 05-834)
27 (ค) การตรวจสอบ (ดูหนา 05-838)
ตอไป
28
6 ปรับตั้ง ซอม หรือเปลี่ยน
29
ตอไป
30
7 ทดสอบยืนยัน
31
ตอไป
32
จบขั้นตอน
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–805

แบบวิเคราะหปญหาของลูกคา
1
แบบตรวจเช็คระบบกันขโมย ชื่อผูตรวจสอบ:
2
หมายเลขทะเบียน
ชื่อลูกคา วันที่ผลิต 3
หมายเลขตัวถัง
กม.
5
วันที่นํารถเขาซอม / / คามาตรบันทึกระยะทาง
ไมล
10
วันที่เกิดปญหาขึ้นครั้งแรก / /
11
ความถี่การเกิดปญหา □ เปนประจํา □ บางครั้ง ( ครั้ง/ตอ วัน/เดือน)
เพียงครั้งเดียว

□ ปลอดโปรง □ มีเมฆ □ ฝนตก □ หิมะ 12
สภาวะภูมิอากาศ สภาพอากาศ
□ แปรปรวน/อื่นๆ
เมื่อเกิดปญหา อุณหภูมิภายนอก
□ รอน □ อุน □ เย็น 13
□ หนาว (ประมาณ °C ( °F)
อาการของปญหา 14
□ ไมสามารถตั้งระบบกันขโมยได
15
□ ไฟแสดงสถานะกันขโมยไมกะพริบ เมื่อตั้งระบบกันขโมย (ไฟติดคางตลอดหรือไฟไมติด)
□ ระบบกันขโมยไมทํางาน □ เมื่อประตูถูกเปด □ ไฟเตือนฉุกเฉินเพียงอยางเดียว 16
□ เมื่อฝากระโปรงหนาถูกเปด □ แตรของรถเพียงอยางเดียว
□ แตรกันขโมยเพียงอยางเดียว 17
□ ระบบกันขโมยไมสามารถ □ เมื่อใชรีโมทปลดล็อคประตู
ยกเลิกได ภายใน 1 ครั้ง □ เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิด ON 19
□ ระบบกันขโมยไมสามารถ □ เมื่อใชรีโมทปลดล็อคประตู
ยกเลิกไดขณะที่ระบบเตือน □ เมื่อกุญแจสตารทถูกเสียบเขาที่เบาเสียบกุญแจ 26
ทํางาน □ 27.5 วินาทีผานไป หลังจากที่ประตูหรือฝากระโปรงหนาถูกเปด
□ การทํางานของระบบเตือนไมทํางานเมื่อตั้งระบบกันขโมยและเปดประตูโดยใชกุญแจ
27
□ อื่นๆ 28
29
30
31
32
05–806 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ตารางสภาพปญหา
1 ขอแนะนํา:
2 • ใชตารางขางลางนีเ้ พือ่ ชวยในการกําหนดสาเหตุของปญหา สาเหตุของอาการปญหาทีซ่ อ นเรนอยูจ ะเรียงตามลําดับ
ความเปนไปไดในชองตาราง “บริเวณทีค่ าดวาเปนปญหา” ตรวจเช็คแตละอาการปญหาโดยทําการตรวจเช็คบริเวณที่
3 คาดวาเปนปญหาตามลําดับรายการและเปลี่ยนชิ้นสวนตางๆ ถาจําเปน
• ระบบกันขโมยอยูบนพื้นฐานของหลักการที่วาระบบควบคุมการล็อคประตูและระบบควบคุมการล็อคประตูดวย
5 รีโมททํางานปกติ ตรวจเช็คระบบเหลานี้เปนอันดับแรกกอนทําการคนหาสาเหตุปญหาระบบกันขโมย
อาการปญหา บริเวณที่คาดวาเปนปญหา ดูหนา
10 1. วงจรไฟแสดงสถานะกันขโมย 05-821
2. วงจรแหลงจายไฟ ECU 05-811
3. สวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ 05-760
11 4. สวิตชล็อคและปลดล็อคประตูดวยกุญแจ 05-727
ไมสามารถตั้งคาระบบกันขโมยได 5. วงจรสวิตชไฟชายประตูหนาที่ดานคนขับ 05-825
12 6. วงจรสวิตชไฟชายประตูหนาที่ดานผูโดยสาร 05-828
7. วงจรสวิตชไฟชายประตูหลังที่ดานหลังขวา 05-830
13 8. วงจรสวิตชไฟชายประตูหลังที่ดานหลังซาย 05-832
9. วงจรสวิตชเตือนกันขโมย 05-823
14 ไฟแสดงสถานะกันขโมยไมกะพริบเมื่อตั้งคาระบบกันขโมย 1. วงจรไฟแสดงสถานะกันขโมย 05-821
ั ญาณเตือนดัง (alarm sounding state) ไมสามารถ 1.
สถานะทีส่ ญ วงจรสวิตชจุดระเบิด 05-813
ยกเลิกไดเมื่อบิดสวิตชจุดระเบิดจาก ON ไป OFF 10 ครั้ง 2. สวิตชเตือนการปลดล็อคกุญแจ 05-760
15 ภายใน 15 วินาที
1. วงจรสวิตชไฟชายประตูหนาที่ดานคนขับ 05-825
16 2. วงจรสวิตชไฟชายประตูหนาที่ดานผูโดยสาร 05-828
สามารถตั้งคาระบบกันขโมยไดแมวาจะเปดประตู
3. วงจรสวิตชไฟชายประตูหลังที่ดานหลังขวา 05-830
17 4. วงจรสวิตชไฟชายประตูหลังที่ดานหลังซาย 05-832
แตรรถ (เสียงต่าํ , เสียงสูง) ไมดงั ในขณะระบบกันขโมยทํางาน 1. วงจรแตรรถ 05-815
19 ไฟเตือนฉุกเฉินไมกะพริบในขณะระบบกันขโมยทํางาน 1. วงจรไฟเตือนฉุกเฉิน 65-7
แตรกันขโมยไมดังในขณะระบบกันขโมยทํางาน 1. วงจรแตรกันขโมย 05-819
26 ไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบแมวาไมไดตั้งคาระบบกันขโมย 1. วงจรสวิตชไฟเตือนฉุกเฉิน 65-7
ถาบริเวณที่คาดวาเปนปญหาถูกพบในฟงกชั่นการทํางานปกติ ใหเปลี่ยนชุด ECU เตือนกันขโมย
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–807

ขั้วตางๆ ของ ECU


1. ตรวจเช็คชุด ECU เตือนกันขโมย 1

T16
2
3
5

(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก


B85916
10
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน: 11
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด
สวิตชจุดระเบิด 12
IG (T16-18) - E (T16-1) R-L - B-W แหลงจายไฟจุดระเบิด
1:OFF → 2: ON 1: 0 V → 2: 10 ถึง 14 V
+B1 (T16-4) - E (T16-1) L-Y - B-W +B แหลงจายไฟ (ECU-B) คงที่ 10 ถึง 14 V 13
+B2 (T16-14) - E (T16-1) LG - B-W +B แหลงจายไฟ (DOOR) คงที่ 10 ถึง 14 V
E (T16-1) – กราวดตัวถัง
B-W -
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω 14
กราวดตัวถัง
L- สงสัญญาณล็อคสวิตชควบ สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
L2 (T16-25) – กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง คุมประตู (สวิตชหลัก) 1: LOCK →2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω 15
L-W - สงสัญญาณปลดล็อคสวิตช สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
UL3 (T16-26) – กราวดตวั ถัง
กราวดตัวถัง ควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: UNLOCK →2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω 16
G-Y - สวิตชเตือนการปลดล็อค 1: ไมไดเสียบกุญแจทีเ่ บาเสียบกุญแจ → 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
KSW (T16-5) – กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง กุญแจ 2: เสียบกุญแจ 2: ต่ํากวา 1 Ω 17
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
(ค) ตอขั้วตอ (ECU) T16 กลับเขาที่ 19
(ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอ
คามาตรฐาน: 26
สัญลักษณ (หมายเลขขัว้ ) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด
IND (T16-27) - สงสัญญาณไฟแสดง ไฟแสดงสถานะกันขโมยติดสวาง (จะ ต่ํากวา 1 V →10 ถึง 14 V
E (T16-1)
G-R - B-W
สถานะกันขโมย กะพริบเมื่อระบบกันขโมยทํางาน) (สัญญาณพัลส) 27
ประตูดานคนขับ, ดานผูโดยสาร, ดาน
CTY (T16-7) - รับสัญญาณสวิตชชาย
E (T16-1)
R-L - B-W
ประตูทุกบาน
หลังขวา* หรือดานหลังซาย* 28
1: ปด → 2: เปด 1: 10 ถึง 14 V →2: ต่าํ กวา 1 V
DSWH (T16-9) - รับสัญญาณสวิตชชายฝา ฝากระโปรงหนา 29
G-R - B-W 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
E (T16-1) กระโปรงหนา 1: ปดสุด → 2: เปด
2: ต่ํากวา 1 Ω
1: สถานะที่ระบบทํางาน (Armed state) 30
HORN (T16-11) - สงสัญญาณแตรรถทัง้ คู (แตร 1: 10 ถึง 14 V → 2: ต่าํ กวา 1 V
W-R - B-W →2: สถานะที่สัญญาณเตือนดัง
E (T16-1) เสียงต่าํ และแตรเสียงสูง) (สัญญาณพัลส)
(Alarm sounding state) 31
แตรกันขโมยดัง (ระบบกันขโมยอยูใน
SH- (T16-13) - 10 ถึง 14 V → ต่ํากวา 1 V
E (T16-1)
B - B-W สงสัญญาณแตรกันขโมย สถานะที่สัญญาณเตือนดัง (alarm
sounding state))
(สัญญาณพัลส) 32
05–808 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย
สัญลักษณ (หมายเลขขัว้ ) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด
1 HAZD (T16-28) -
G-O - B-W
สงสัญญาณไฟเตือนฉุกเฉิน
ไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ (ระบบกัน
ขโมยอยูในสถานะที่สัญญาณเตือนดัง
10 ถึง 14 V → ต่ํากวา 1 V
E (T16-1) ทั้งหมด (สัญญาณพัลส)
(alarm sounding state))
2 1: สถานะที่ระบบทํางาน (Armed state)
SRLY (T16-12) - สงสัญญาณตัดมอเตอร 1: 10 ถึง 14 V →
W-B - B-W → 2: สถานะที่สัญญาณเตือนดัง
E (T16-1) สตารท 2: ต่ํากวา 1 V
3 (Alarm sounding state)
SPD (T16-17) - สัญญาณความเร็ว สวิตชจุดระเบิด ON, หมุนพวงมาลัย สัญญาณพัลส
V-R - B-W
E (T16-1) จากมาตรวัดรวม ชาๆ (ดูคลื่นสัญญาณ)
5
ขอแนะนํา:
10 *: เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด แสดงวา ECU อาจบกพรอง
11
คลื่นสัญญาณ
12 5 V/ ชอง สัญญาณความเร็วรถ
ชื่อขั้ว ECU ระหวาง SPD กับ E
13 การตั้งคาเครื่องมือ 5 V/Division, 20 msec./Division
GND
สภาวะ ในขณะขับขี่
14 ขอแนะนํา:
ความยาวคลื่นจะสั้นลงเนื่องจากความเร็วรถเพิ่มขึ้น
20 มิลลิวนิ าที/ชอง
15
G34872

16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–809

2. ตรวจเช็คชุดกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด (รีเลยรวม)
1
ดานหลังรถ ดานหนารถ
2
3
2A
2O 5
2D 10
11
2L
2R
12
13
รีเลยรวม 14
2A
15
2O 16
2D
2R
17
19
2L
26
27
28
B85014
29
B86808

30
31
32
05–810 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

(ก) ปลดขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2A, 2D และ 2L


1 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
คามาตรฐาน:
2 สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด
BECU (2L-12) - GND (2D-9) L - W-B +B แหลงจายไฟ (ECU-B) คงที่ 10 ถึง 14 V
3 GND (2D-9, 18) – กราวดตวั ถัง
W-B -
กราวด คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
กราวดตัวถัง
5 L1 (2A-4) – กราวดตัวถัง
L- รับสัญญาณล็อคสวิตชควบ สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
กราวดตัวถัง คุมประตู (สวิตชหลัก) 1: LOCK → 2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω
10 L-W - รับสัญญาณปลดล็อคสวิตช สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: 10 kΩ หรือสูงกวา →
UL1 (2D-4) – กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง ควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: UNLOCK → 2: OFF 2: ต่ํากวา 1 Ω

11 ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่ดานชุดสายไฟ
(ค) ตอขั้วตอกลองรวมสายไฟ 2A, 2D และ 2L กลับเขาที่
12 (ง) วัดแรงดันไฟฟาของขั้วตอดานชุดสายไฟ
สัญลักษณ (หมายเลขขั้ว) สีสายไฟ คําอธิบายขั้ว สภาวะ สภาวะที่กําหนด
13 L- สงสัญญาณล็อคไปยัง สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: ต่ํากวา 1 V →
ACT+ (2R-28) – กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง มอเตอรล็อคประตู หรือเบาเสียบกุญแจประตูดา นคนขับ 2: 10 ถึง 14 V →
14 (ประตูดานคนขับ) 1: OFF → 2: LOCK → 3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V
L-Y - สงสัญญาณปลดล็อคไปยัง สวิตชควบคุมประตู (สวิตชหลัก) 1: ต่ํากวา 1 V →
ACT- (2R-27) – กราวดตัวถัง กราวดตัวถัง มอเตอรล็อคประตู (ประตู หรือเบาเสียบกุญแจประตูดา นคนขับ 2: 10 ถึง 14 V →
15 ดานคนขับ) 1: OFF → 2: UNLOCK → 3: OFF 3: ต่ํากวา 1 V
R-B - สัญญาณเขาสวิตชไฟ ประตูดานคนขับ 1: 10 ถึง 14 V →
16 DCTY (2O-27) – กราวดตัวถัง
กราวดตัวถัง ชายประตูดานคนขับ 1:ปด → 2: เปด 2: ต่ํากวา 1 V
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด อาจมีขอบกพรองที่กลองรวมสายไฟ (รีเลย)
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–811

วงจรแหลงจายไฟ ECU 1

คําอธิบายผังวงจร 2
วงจรนี้จะทําการสงกําลังไฟฟาไปที่ ECU เตือนกันขโมยใหทํางาน 3
ผังวงจรไฟฟา
5
ชุด J/B ใตPanel
Instrument แผงหนJ/B
าปAssy

(J/B Side
(Driver ดานคนขั
J/B)บ) Theftชุด ECU เตือECU
นกันAssy
ขโมย
12 13 4
Warning
10
L L-Y
2L 2S T16 +B1
11
R/B
R/Bเบอร
No. 33 12
DOOR 7 14
W-R
3
1 2
3
LG
IH1
LG
T16 +B2 13

2 2H
14
2
IG1 ชุInstrument Panel
ด J/B ใตแผงหน
(Driver Side J/B)
าปJ/B
ด Assy 15
1
(J/B ดานคนขับ)
1 2G
16
B
1
17
B-W
1 1 1F T16 E
19
2
ECU-B ALT
J/B, R/B หองเครื่องยนต
1
2 Engine Room R/B, J/B
26
DCC B J22
1
J/C 27
B J23
1 1A
28
W W-B

แบตเตอรี
29
Battery ่
ID

30
B85036

31
32
05–812 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (ECU-B, DCC, DOOR)
2
(ก) ถอดฟวส ECU-B และ DCC ออกจากกลองรวมสายไฟใตแผงหนาปด
3 (ข) ถอดฟวส DOOR ออกจากกลองรีเลยเบอร 3
(ค) วัดคาความตานทานของฟวส
5 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω

บกพรอง เปลี่ยนฟวส
10
ปกติ
11
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)
12
(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
ดานชุดสายไฟ
13 T16 (ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุด ECU เตือนกันขโมย คามาตรฐาน:
14 E +B1 +B2
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
T16-4 (+B1) – กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
15 T16-14 (+B2) – กราวดตัวถัง 10 ถึง 14 V
T16-1 (E) – กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
16 B85914

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
17 ปกติ
19 ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–813

วงจรสวิตชจุดระเบิด 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิด ON แลว แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ขั้วบวก (+) จะถูกจายเขาที่ขั้ว IG ของ ECU เตือนกันขโมย 3
ผังวงจรไฟฟา
5
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดานคนขั
Side บJ/B)
) ชุดWarning
ECU เตือECU
นกันขโมย
(Driver Theft Assy 10
B J/C B 6 16 18
B-Y B-Y R-L
J18 J19 2A 2S T16 IG 11
ECU-IG & GAUGE
1
IG1 I6
12
I6 Ignition Switch
ชุAssy
ดสวิตชจุดระเบิด
AM1 13
4

B-R
2
2A
AM1
2G
1
14
2 1

15
B
J/B หองเครื ่องยนต
Engine Room J/B
16
1 1
W ALT
1A 1F
17

แบตเตอรี
19
Battery ่

26
27
B85037

28
29
30
31
32
05–814 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบฟวส (ECU-IG & GAUGE)
2
(ก) ถอดฟวส ECU-IG & GAUGE ออกจากกลองรวมชุดสายไฟใตแผงหนาปด
3 (ข) วัดคาความตานทานของฟวส
คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
5 บกพรอง เปลี่ยนฟวส
10 ปกติ

11 2 ตรวจสอบชุดสวิตชจุดระเบิดหรือสวิตชสตารท
12 (ก) ปลดขั้วตอสวิตช I6
AM1 IG1 (ข) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
13 คามาตรฐาน:
4 3 2 1 การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
14 8 7 6 5
1 (IG1) - 4 (AM1) LOCK, ACC 10 kΩ หรือสูงกวา
1 (IG1) - 4 (AM1) ON, START ต่ํากวา 1 Ω
15 A87913
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชจุดระเบิดหรือสวิตชสตารท
16 ปกติ
17
3 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – แบตเตอรี่กับกราวดตัวถัง)
19 (ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
ดานชุดสายไฟ
(ข) วัดแรงดันไฟฟาและความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
26 T16
ชุด ECU เตือนกันขโมย คามาตรฐาน:
E การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
27 T16-18 (IG) - สวิตชจุดระเบิด 1: 0 V →
กราวดตัวถัง 1:OFF → 2: ON 2: 10 ถึง 14 V
28 T16-1 (E) – กราวดตัวถัง คงที่ ต่ํากวา 1 Ω
IG B85914

29 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
30
31 ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–815

วงจรแตร 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เมือ่ ระบบกันขโมยเปลีย่ นจากสถานะทีร่ ะบบทํางาน (armed state) เปนสถานะทีส่ ญ
ั ญาณเตือนดัง (alarm sounding state), 3
ECU จะสั่งรีเลยแตรใหทํางาน เปนเหตุใหแตรรถดังเปนชวงเวลา 0.4 วินาทีตอครั้ง
ผังวงจรไฟฟา 5
ชุด J/B ใตแPanel
Instrument ผงหนJ/B
าปดAssy
ชุด Warning
ECU เตือนกั นขโมย 10
(J/B ดานคนขับ)
(Driver Side J/B) Theft ECU Assy

W-R
12
IF3
W-R
16
2N
16
2O
W-R
11
T16 HORN
11

32 2O
12
13
To Horn
ไปสวิ
Switchตชแตร
14
B 15
J/B หองเครื
Engine ่องยนตJ/B
Room B 16
7 1I 8 1I
1 H4 Low
H4
Pitched
1 H3 High
H3
Pitched 17
แตรเสี
Horn ยงต่ํา แตรเสี
Horn ยงสูง
HORN
รีเลยแตร
Relay
19
2 BATT I/P 26
HORN
1

1 1H 3 1B 1 1A
27
28
W
W-L
29
แบตเตอรี
Battery ่
30
B85040 31
32
05–816 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดแตร
2 (ก) กดสวิตชแตรแลวตรวจเช็ควาแตรดังหรือไม
ผลที่ได:
3 ผลที่ได ปฏิบัติตามขอ
แตรดัง A
5 แตรไมมีเสียง B
B ดูขั้นตอนที่ 3
10 A
11 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – กลองรวมสายไฟหองเครื่องยนตและกราวดตัวถัง)
12 (ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอกลองรวมสายไฟ 1I
13 T16
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุด ECU เตือนกันขโมย HORN
คามาตรฐาน:
14 การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
T16-11 (HORN) - 1I-7 ต่ํากวา 1 Ω
15 T16-11 (HORN) หรือ 1I-7 – กราวดตวั ถัง 10 kΩ หรือสูงกวา

16 1I
J/B หองเครื่องยนต
17
19
26
B84061 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
27 ปกติ

28 เปลี่ยนชุด ECU เตือนกันขโมย


29 3 ตรวจสอบฟวส (HORN)
30 (ก) ถอดฟวส HORN ออกจากกลองรวมชุดสายไฟหองเครื่องยนต
(ข) วัดคาความตานทานของฟวส
31 คามาตรฐาน: ต่ํากวา 1 Ω
บกพรอง เปลี่ยนฟวส
32 ปกติ
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–817

4 ตรวจสอบแตร (ดูหนา 77-5) 1


บกพรอง เปลี่ยนแตร 2
ปกติ
3
5 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดแตร – กลองรวมสายไฟหองเครื่องยนตและกราวดตัวถัง) 5
(ก) ปลดขั้วตอ H3 กับ H4 ออก
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขั้วตอกลองรวมสายไฟ 1I 10
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
H3, H4
ชุดแตร คามาตรฐาน:
11
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
H3-1 - 1I-7 ต่ํากวา 1 Ω
12
H4-1 - 1I-7 ต่ํากวา 1 Ω
13
1I
J/B หองเครื่องยนต 14
15
16
B84062
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 17
ปกติ 19
26
27
28
29
30
31
32
05–818 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

1 6 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – กลองรวมสายไฟหองเครื่องยนตและกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอกลองรวมสายไฟ 1I
T16
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุด ECU เตือนกันขโมย HORN
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
5 T16-11 (HORN) - 1I-7 ต่ํากวา 1 Ω
T16-11 (HORN) หรือ 1I-7 – กราวดตัว 10 kΩ หรือสูงกวา
10 ถัง
1I
11 J/B หองเครื่องยนต

12
13
14 B84061

บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
15 ปกติ

16 7 ตรวจสอบรีเลยแตร (ดูหนา 77-3)


17
บกพรอง เปลี่ยนรีเลยรวม (รีเลยแตร)
19 ปกติ

26 เปลี่ยนชุด ECU เตือนกันขโมย


27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–819

วงจรแตรกันขโมย 1

คําอธิบายผังวงจร 2
ขณะระบบกันขโมยกําลังทํางาน รีเลยใน ECU เตือนกันขโมยจะเปดและปดอยางตอเนื่องที่ชวงเวลา 0.4 วินาทีตอครั้ง 3
เปนเหตุใหแตรกันขโมยดัง
ผังวงจรไฟฟา 5
10
ชุด ECU
Theft เตือนกัECU
Warning นขโมย
Assy

B
13
B
13 11
IF3 T16 SH-

12
1 S1
ชุS1
Assy
Security Horn
ดแตรกั นขโมย 13
14
B85038

15
ขั้นตอนการตรวจสอบ
16
1 ตรวจสอบชุดแตร
(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขาที่แตรแลวตรวจเช็คการทํางาน 17
ของแตร
ปกติ: 19
สภาวะที่ตรวจวัด สภาวะที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 1 26
เสียงแตร
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-)→ ขายึดแตร
27
B86240 บกพรอง เปลี่ยนชุดแตรกันขโมย
ปกติ 28
29
30
31
32
05–820 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุด ECU เตือนกันขโมย – ชุดแตรกันขโมย)


(ก) ปลดขั้วตอ (ECU) T16 ออก
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอแตร S1
T16
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 ชุด ECU เตือนกันขโมย SH-
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
5 T16-13 (SH-) - S1-1 ต่ํากวา 1 Ω
T16-1 (SH-) หรือ S1-1 – กราวดตัวถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10
11
S1
12 ชุดแตรกันขโมย

13
14 B84050 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
ปกติ
15
เปลี่ยนชุด ECU เตือนกันขโมย
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–821

วงจรไฟแสดงสถานะกันขโมย 1

คําอธิบายผังวงจร 2
เมื่อระบบกันขโมยอยูในสถานะที่ระบบไมทํางาน (Disarmed state) ไฟแสดงสถานะกันขโมยจะกะพริบอยางตอเนื่อง 3
ถาระบบยับยัง้ การทํางานของเครือ่ งยนตถกู ตัง้ ไว หรือไมตดิ สวางถาระบบยับยัง้ การทํางานของเครือ่ งยนตไมไดถกู ตัง้ ไว
เมื่อระบบกันขโมยอยูในสถานะที่ระบบทํางาน (armed state) ระบบยับยั้งการทํางานของเครื่องยนตจะถูกตั้งไวโดย 5
อัตโนมัติ และไฟแสดงสถานะกันขโมยจะกะพริบอยางตอเนื่อง
เมื่อระบบกันขโมยอยูในสถานะที่ระบบเตรียมทํางาน (arming preparation state) หรือสถานะที่สัญญาณเตือนดัง (alarm 10
sounding state), ECU เตือนกันขโมยจะทําใหไฟแสดงสถานะกันขโมยติดสวาง
ผังวงจรไฟฟา 11
12
ชุด ECU
Theft เตือนกัECU
Warning นขโมย
Assy
ชุด J/B ใตPanel
แผงหนJ/B
าปดAssy
Instrument
(J/B ดานคนขับ)
(Driver Side J/B)
13
27
G-R
4
2C
2
2C
G-R
T16 IND 14
2
S10
S10 Security Indi
15
ชุcator
ดไฟแสดงสถานะกั
Lamp Assy นขโมย
16
1

L-Y 17
B J22
J/C
19
B J23
26
W-B
27
ID
28
29
B85041

30
31
32
05–822 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบชุดไฟแสดงสถานะกันขโมย
2
(ก) ถอดไฟแสดงสถานะกันขโมย
3 (ข) จายแรงดันไฟฟา 12 V ระหวางขั้วของไฟแสดงสถานะ แลว
ตรวจเช็คสภาวะการสองสวางของไฟแสดงสถานะกันขโมย
5 คามาตรฐาน:
สภาวะที่ตรวจวัด สภาวะที่กําหนด
10 แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 2
ไฟติดสวาง
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 1
B83340

11 ขอควรระวัง:
• ถาตอสายขั้วบวก (+) และสายขั้วลบ (-) ไมถูกตอง ไฟแสดง
12 สถานะกันขโมยจะไมติดสวาง
• ถาแรงดันไฟฟาต่าํ เกินไป ไฟแสดงสถานะกันขโมยจะไมตดิ สวาง
13
บกพรอง เปลี่ยนชุดไฟแสดงสถานะกันขโมย
14 ปกติ

15 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดไฟแสดงสถานะกันขโมย - ชุด ECU เตือนกันขโมยและกราวดตัวถัง)


16 (ก) ปลดขั้วตอไฟแสดงสถานะ S10
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ (ECU) T16 ออก
17 S10
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดไฟแสดงสถานะกันขโมย
คามาตรฐาน:
19 การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
T16-27 (IND) - S10-2 ต่ํากวา 1 Ω
26 T16-27 (IND) หรือ S10-2 – กราวดตวั ถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
S10-1 – กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
27 T16
ชุด ECU เตือนกันขโมย
28
29
30 IND
B84053 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
31 ปกติ

32 ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)


การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–823

วงจรสวิตชเตือนกันขโมยที่ชายฝากระโปรงหนา 1

คําอธิบายผังวงจร 2
สวิตชเตือนกันขโมย (สวิตชชายฝากระโปรงหนา) ถูกติดตัง้ เขาดวยกันกับตัวล็อคฝากระโปรงหนา สวิตชนจี้ ะไมทาํ งาน 3
เมื่อฝากระโปรงหนาถูกเปดและจะทํางานเมื่อฝากระโปรงหนาถูกปด
ผังวงจรไฟฟา 5
E3
E3 Security Courtesy 10
สวิตชเ(Hood
Switch ตือนกันCourtesy
ขโมย ชุด ECU เตือนกันขโมย
Theft Warning ECU Assy
Switch)
(สวิตชชายฝากระโปรงหนา)
W-B 2 1 G-R
15
G-R
9 11
IF3 T16 DSWH

12
A
J1 13
J/C
A
14
W-B

EB
15
16
B85039

17
ขั้นตอนการตรวจสอบ
19
1 ตรวจสอบสวิตชเตือนกันขโมย (สวิตชชายฝากระโปรงหนา)
(ก) ถอดสวิตชชายฝากระโปรงหนาออกจากตัวล็อคฝากระโปรงหนา
26
ไมถูกกด (ON)
(ข) วัดความตานทานของสวิตช
27
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด 28
ถูกกด (OFF) 1-2 ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω
1-2 ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา
29
B83341 บกพรอง เปลี่ยนสวิตชเตือนกันขโมย
30
ปกติ
31
32
05–824 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

1 2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (สวิตชเตือนกันขโมย - ชุด ECU เตือนกันขโมยและกราวดตัวถัง)


(ก) ปลดขั้วตอสวิตช E3
2 ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอ (ECU) T16 ออก
E3
สวิตชเตือนกันขโมย (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
3 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
5 E3-1 - T16-9 (DSWH) ต่ํากวา 1 Ω
E3-2 หรือ T16-9 (DSWH) – กราวดตวั ถัง 10 kΩ หรือสูงกวา
10 E3-2 – กราวดตัวถัง ต่ํากวา 1 Ω
T16
11 ชุด ECU เตือนกันขโมย DSWH

12
13
14 B84051
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
15 ปกติ

16 ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)


17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–825

วงจรชุดสวิตชไฟชายประตูหนาที่ดานคนขับ 1

คําอธิบายผังวงจร 2
ECU เตือนกันขโมยจะตรวจจับสภาวะของสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ) 3
ผังวงจรไฟฟา
ชุด J/B ใตแPanel
Instrument ผงหนาJ/B
ปด Assy 5
(J/B ดาSide
(Driver นคนขัJ/B)
บ) ชุด ECU
Theft เตือนกัECU
Warning นขโมย
Assy
31 14 7 10
R-L R-L
17 2O 2N T16 CTY

C8 Combination Meter
C8
11
Assy
ชุดมาตรวัดรวม
16
R-B
12
3 IA1
13
R-B
1
D2 Front Door Courtesy Lamp Switch Assy (Driver
D2
14
ชุSide)
ดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ)
15
B86252
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–826 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจเช็คชุดมาตรวัดรวม
2
(ก) เมื่อประตูถูกเปด/ปด ใหตรวจเช็ควาไฟแสดงสถานะในมาตรวัดรวมทํางานตามปกติ
3 ปกติ: ไฟแสดงสถานะทํางานตามปกติ
บกพรอง ดูขั้นตอนที่ 3
5
ปกติ
10
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดมาตรวัดรวม – ชุด ECU เตือนกันขโมย)
11
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
ดานชุดสายไฟ
12 (ข) ปลดขัว้ ตอ (ECU) T16 ออก
C8
(ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดมาตรวัดรวม
13 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด
14 C8-17 - T16-7 (CTY) ต่ํากวา 1 Ω

15
T16

16
CTY
ชุด ECU เตือนกันขโมย

17
19
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
26
B86798

ปกติ
27
เปลี่ยนชุด ECU เตือนกันขโมย
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–827

3 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ) 1
(ก) ถอดสวิตช
ไมถูกกด (ON) (ข) วัดความตานทานของสวิตช 2
ถูกกด (OFF) คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
3
1 1 – กราวดตัวถัง ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω
1 – กราวดตัวถัง ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา 5
กราวดตัวถัง
B82879 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟชายประตูหนา 10
ปกติ
11
4 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (มาตรวัดรวม – ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ)) 12
(ก) ปลดขั้วตอมาตรวัดรวม C8
ดานชุดสายไฟ
(ข) ปลดขัว้ ตอสวิตช D2
13
C8 (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
ชุดมาตรวัดรวม 14
คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด 15
C8-16 - D2-1 ต่ํากวา 1 Ω
16
D2
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานคนขับ) 17
19
1
26
B84063 บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ 27
ปกติ
28
ดูที่ ระบบมาตรวัดรวม (ดูหนา 05-622) 29
30
31
32
05–828 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

1 วงจรชุดสวิตชไฟชายประตูหนาที่ดานผูโดยสารเบาะหนา
2 คําอธิบายผังวงจร
3 ECU เตือนกันขโมยจะตรวจจับสภาวะของสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานผูโดยสารเบาะหนา)
ผังวงจรไฟฟา
5 ชุInstrument
ด J/B ใตแผงหน
PanelาปJ/B
ด Assy
(J/B ดานคนขับ)
(Driver Side J/B) ชุด ECU
Theft เตือนกั
Warning ECU นขโมย
Assy
10 13 15 14 7
R-L R-L
IA1 2O 2N T16 CTY
11 *2
R-L*2 J29
B J/C

12 *1
R-L*1
B ไป
To Rear Door Courtesy Switch Assy
ดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ดานขวา)*2
ชุ(RH)*2
13 B B
ไป
To Rear Door Courtesy Switch Assy
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ดานซาย)*2
*2
1 R-L*2 (LH)*2
14 D3 Front Door Courtesy Switch Assy
D3
ชุ(Passenger
ดสวิตชไฟชายประตู
Side) หนา
(ดานผูโดยสารเบาะหนา) *1
: เอ็กซตราแคป
15 *1: Extra Cab *2:
*2: ดับCab
Double เบิ้ลแคป
16 B86253

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–829

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานผูโดยสารเบาะหนา)
2
(ก) วัดความตานทานของสวิตช
ไมถูกกด (ON) คามาตรฐาน: 3
ถูกกด (OFF) การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
1 – กราวดตัวถัง ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω
5
1 1 – กราวดตัวถัง ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา

กราวดตัวถัง
10
B82879 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟชายประตูหนา
11
ปกติ
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ดานผูโดยสารเบาะหนา) – ชุด ECU เตือนกันขโมย)
13
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช D3
ดานชุดสายไฟ
D3 (ข) ปลดขัว้ ตอ (ECU) T16 ออก 14
ชุดสวิตชไฟชายประตูหนา (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
(ดานคนขับ) คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด

1
D3-1 - T16-7 (CTY) ต่ํากวา 1 Ω 16
17
T16
CTY ชุด ECU เตือนกันขโมย 19
26
27
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
28
B84055

ปกติ
29
ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)
30
31
32
05–830 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

1 วงจรชุดสวิตชไฟชายประตูหลังที่ดานหลังขวา
2 คําอธิบายผังวงจร
3 เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป:
ECU เตือนกันขโมยจะตรวจจับสภาวะของสวิตชไฟชายประตูหลังดานขวา
5 ผังวงจรไฟฟา
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
10 Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดSide
(Driver านคนขัJ/B)
บ) TheftชุWarning
ด ECU เตืECU
อนกันAssy
ขโมย
13 15 14 7
11 R-L
IA1
R-L
2O 2N
R-L
T16 CTY
J29
J/C
12 B
B ไป
To Rear Door Courtesy Switch Assy (LH)
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ดานซาย)
13 B B
R-L
ไป
14 1
ToชุFront
ดสวิตชDoor
Side)
ไฟชายประตูหลังSwitch
Courtesy (ดานผูโ ดยสารเบาะหน
า)
Assy (Passenger

D5
D5 Rear Door Courtesy Switch Assy (RH)
15 ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง
(ดานขวา)
16
B86254

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–831

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ดานหลังขวา)
2
(ก) วัดความตานทานของสวิตช
ไมถูกกด (ON) คามาตรฐาน: 3
ถูกกด (OFF) การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
1 – กราวดตัวถัง ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω
5
1 1 – กราวดตัวถัง ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา

กราวดตัวถัง 10
B82879
บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง
11
ปกติ
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชไฟชายประตูหลังดานขวา – ชุด ECU เตือนกันขโมย)
13
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช D5
ดานชุดสายไฟ
D3 (ข) ปลดขัว้ ตอ (ECU) T16 ออก 14
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
(ดานหลังขวา) คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด

1
D5-1 - T16-7 (CTY) ต่ํากวา 1 Ω 16
17
T16
CTY ชุด ECU เตือนกันขโมย 19
26
27
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
28
B84055

ปกติ
29
ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)
30
31
32
05–832 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

1 วงจรชุดสวิตชไฟชายประตูหลังที่ดานหลังซาย
2 คําอธิบายผังวงจร
3 เฉพาะรุนดับเบิ้ลแคป:
ECU เตือนกันขโมยจะตรวจจับสภาวะของสวิตชไฟชายประตูหลังดานซาย
5 ผังวงจรไฟฟา
ชุด J/B ใตแผงหนาปด
10 Instrument Panel J/B Assy
(J/B ดSide
(Driver านคนขัJ/B)
บ) TheftชุWarning
ด ECU เตืECU
อนกันAssy
ขโมย
13 15 14 7
11 R-L
IA1
R-L
2O 2N
R-L
T16 CTY
J29
J/C
12 B
B ไป
To Rear Door Courtesy Switch Assy (LH)
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ดานขวา)
13 B B
R-L
ไป
14 1
ToชุFront
ดสวิตชDoor
Side)
ไฟชายประตูหลังSwitch
Courtesy (ดานผูโ ดยสารเบาะหน
า)
Assy (Passenger

D4
D5 Rear Door Courtesy Switch Assy (RH)
15 ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง
(ดานซาย)
16
B86254

17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–833

ขั้นตอนการตรวจสอบ
1
1 ตรวจสอบชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ดานหลังซาย)
2
(ก) วัดความตานทานของสวิตช
ไมถูกกด (ON) คามาตรฐาน: 3
ถูกกด (OFF) การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
1 – กราวดตัวถัง ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω
5
1 1 – กราวดตัวถัง ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา

กราวดตัวถัง
10
B82879 บกพรอง เปลี่ยนชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง
11
ปกติ
12
2 ตรวจเช็คชุดสายไฟ (ชุดสวิตชไฟชายประตูหลังดานซาย – ชุด ECU เตือนกันขโมย)
13
(ก) ปลดขั้วตอสวิตช D4
ดานชุดสายไฟ
D4 (ข) ปลดขัว้ ตอ (ECU) T16 ออก 14
ชุดสวิตชไฟชายประตูหลัง (ค) วัดความตานทานของขั้วตอดานชุดสายไฟ
(ดานหลังขวา) คามาตรฐาน: 15
การตอขั้วทดสอบ สภาวะที่กําหนด

1
D4-1 - T16-7 (CTY) ต่ํากวา 1 Ω 16
17
T16
CTY ชุด ECU เตือนกันขโมย 19
26
27
บกพรอง ซอมหรือเปลี่ยนขั้วตอและชุดสายไฟ
28
B84055

ปกติ
29
ตรวจสอบวงจรถัดไปตามที่แสดงในตารางสภาพปญหา (ดูหนา 05-806)
30
31
32
05–834 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

การตรวจสอบบนรถ
1 1. โครงสรางของระบบกันขโมย
2 (ก) เมื่อระบบกันขโมยตรวจพบวารถถูกโจรกรรม ระบบจะกระตุนฟงกชั่นสัญญาณเตือนใหทํางาน
(ข) ระบบกันขโมยมี 4 สถานะ: สถานะที่ระบบไมทํางาน (disarmed state), สถานะที่ระบบเตรียมทํางาน (arming
3 preparation state), สถานะที่ระบบทํางาน (armed state) และสถานะที่สัญญาณเตือนดัง (alarm sounding state)
(1) สถานะที่ระบบไมทํางาน (Disarmed state):
5 • ผูถือกุญแจรีโมทอยูใกลรถ
• ระบบกันขโมยจะไมทํางาน
10 (2) สถานะที่ระบบเตรียมทํางาน (Arming preparation state):
• ระบบกันขโมยจะไมทํางาน
11 (3) สถานะที่ระบบทํางาน (Armed state):
• ผูถือกุญแจรีโมทไมไดอยูใกลรถ
12 • ระบบกันขโมยทํางาน
(4) สถานะที่สัญญาณเตือนดัง (Alarm sounding state):
13 • ขณะอยูใ นสถานะทีร่ ะบบทํางาน (Armed state) ถาประตูใดประตูหนึง่ หรือฝากระโปรงหนาถูกเปด
โดยไมไดใชรีโมท ระบบจะเขาสูสถานะที่สัญญาณเตือนดัง (alarm sounding state) และฟงกชั่น
14 สัญญาณเตือนจะทํางานเปนเวลา 27.5 วินาที
• ฟงกชั่นสัญญาณเตือนประกอบดวย เสียงแตรดังและไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ
15 ดูที่ตารางวิธีการเตือนและระยะเวลาเตือน:
รายการขอมูล วิธีการเตือน
16 ไฟเตือนฉุกเฉิน กะพริบประมาณ 0.35 วินาทีตอครั้ง
แตร ดังประมาณ 0.4 วินาทีตอครั้ง
17 ขอแนะนํา:
19 ถาระบบกันขโมยตรวจพบสภาวะของสถานะที่สัญญาณเตือนดัง (alarm sounding state) ดังอธิบายไวในขอ (4) ได
อยางตอเนื่อง แมหลังจากที่ระยะเวลาที่สัญญาณเตือนดังผานไปแลว ระบบจะกระตุนใหเสียงเตือนดัง 10 ครั้ง
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–835

2. โหมดปองกันการโจรกรรม (ARMING MODE)


สถานะที่ระบบไมทํางาน (Disarmed State) (ไมมีกุญแจสตารทเสียบอยูที่เบาเสียบกุญแจ)
1
ปฏิบัติดังตอไปนี้เพื่อทําใหระบบเขาสูสถานะที่ระบบเตรียมทํางาน (arming preparation state) 2
(ขณะนั้น ไฟเตือนฉุกเฉินจะกะพริบและเสียงแตรกันขโมยจะดังขึ้น 1 ครั้ง):
z ปดประตูทั้งหมด และฝากระโปรงหนา แลวล็อคประตูทั้งหมดดวยรีโมท 3
ขอควรระวัง:
ระบบจะไมเขาสูสถานะที่ระบบทํางาน (armed state) ถาเปดประตูใดประตูหนึ่งหรือฝากระโปรงหนา 5
10
11

สถานะที่ระบบเตรียมทํางาน (Arming Preparation State)


12
ปฏิบัติตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งดังตอไปนี้จะทําให ปฏิบัติดังตอไปนี้เพื่อทําใหระบบเขาสูสถานะที่ระบบ 13
ระบบกลับเขาสูส ถานะทีร่ ะบบไมทาํ งาน (Disarmed state): ทํางาน (armed state):
z ใชรีโมทปลดล็อคประตูทั้งหมด z ปดประตูทั้งหมด และฝากระโปรงหนาแลวล็อค
z ใชมือปลดล็อคประตูทั้งหมด
14
ประตูทั้งหมดทิ้งไวประมาณ 30 วินาที
z เปดฝากระโปรงหนา
z เสียบกุญแจสตารทเขาที่เบาเสียบกุญแจ 15
z ตอแบตเตอรี่กลับเขาที่
16
17
สถานะที่ระบบทํางาน (Armed State)
19
ปฏิบัติตามขั้นตอนตอไปนี้จะทําใหระบบกลับเขาสู ปฏิบัติตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งดังตอไปนี้จะทําให
สถานะที่ระบบไมทํางาน (Disarmed state): ระบบเขาสูส ถานะทีส่ ญั ญาณเตือนดัง (alarm sounding state): 26
z ใชรีโมทปลดล็อคประตูทั้งหมด z เปดประตูใดประตูหนึ่ง
z เสียบกุญแจสตารทเขาที่เบาเสียบกุญแจและ z เปดฝากระโปรงหนา
บิดสวิตชจุดระเบิด ON
27
z ตอแบตเตอรี่กลับเขาที่
ขอแนะนํา: z ตอสายไฟของสวิตชจุดระเบิดเขากับกราวดตัวถัง
เมื่อบิดสวิตชจุดระเบิด ON ไฟแสดงสถานะกันขโมย โดยตรง
28
จะกะพริบ 3 ครั้งเพื่อแจงใหทราบวาระบบกันขโมยเขา z มีการกระแทกเกิดขึ้นที่รถ
สูสถานะที่สัญญาณเตือนดัง (alarm sounding state)
29
30
31

ตอจากหนาถัดไป ทําตอหนาถัดไป ตอจากหนาถัดไป 32


05–836 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

ตอจากหนาที่แลว ตอจากหนาที่แลว ตอจากหนาที่แลว


1
2
สถานะที่สัญญาณเตือนดัง (Alarm Sounding State)
3
ปฏิบัติตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งดังตอไปนี้จะทําให เมื่อตรวจพบการโจรกรรม ไฟเตือนฉุกเฉินจะกะพริบ
5 ระบบกลับเขาสูส ถานะทีร่ ะบบไมทาํ งาน (Disarmed state): และเสียงแตรจะดังเพื่อเตือนใหบุคคลที่อยูบริเวณรถ
z ใชรีโมทปลดล็อคประตูทั้งหมด หยุดการโจรกรรม ระบบกันขโมยจะทํางานเปนเวลา
z เสียบกุญแจสตารทเขาที่เบาเสียบกุญแจและ 27.5 วินาที
10 บิดสวิตชจุดระเบิด ON
ขอแนะนํา:
11 เมือ่ ใชรโี มททําการปลดล็อคประตูทงั้ หมด ไฟแสดงสถานะ
กันขโมยจะกะพริบเพื่อแจงใหทราบวาระบบกันขโมยเขา
12 สูร ะบบสถานะทีส่ ญ ั ญาณเตือนดัง (alarm sounding state)

13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–837

3. สัญญาณไฟแสดงสถานะกันขโมย
(ก) ECU เตือนกันขโมยจะสงสัญญาณไปทีไ่ ฟแสดงสถานะกันขโมยเพือ่ ใหกะพริบหรือติดขึน้ ตามแตสถานะของระบบ 1
ผลที่ได:
สภาวะ ไฟแสดงสถานะกันขโมย 2
ไมทํางาน (ไมไดตั้งระบบยับยั้งการทํางาน)
สถานะที่ระบบไมทํางาน (Disarmed state)
กะพริบ (ตั้งระบบยับยั้งการทํางาน) 3
สถานะที่ระบบเตรียมทํางาน (Arming Preparation State) ทํางาน
สถานะที่ระบบทํางาน (Armed state) กะพริบ 5
สถานะที่สัญญาณเตือนดัง (Alarm sounding state) ทํางาน
ความถี่ในการกะพริบ: 10
เวลา ไฟแสดงสถานะกันขโมย
0.2 วินาที ทํางาน 11
1.8 วินาที ไมทํางาน
4. ฟงกชั่นหนวยความจําเสียงเตือน 12
(ก) ถาเสียงเตือนดัง (ตรวจพบการโจรกรรม) ขณะระบบกันขโมยถูกตัง้ แลว ฟงกชนั่ หนวยความจําเสียงเตือนจะบันทึกไว
เมือ่ ใดก็ตามทีร่ ะบบกันขโมยถูกยกเลิก ฟงกชนั่ หนวยความจําเสียงเตือนจะสัง่ ใหไฟเตือนฉุกเฉินกะพริบ 3 ครัง้ ๆ ละ 13
0.35 วินาที
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32
05–838 การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย

การตรวจสอบ
1
2
3 1. ตรวจสอบชุดแตรกันขโมย
(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่เขาที่แตรแลวตรวจเช็คการทํางาน
5 ของแตร
ปกติ:
10 สภาวะที่ตรวจวัด สภาวะที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 1
แตรดัง
แบตเตอรี่ขั้วลบ (-)→ ขายึดแตร
11
B86240 ถาผลที่ไดไมตรงตามกําหนด ใหเปลี่ยนชุดแตร
12 ไมถูกกด (ON)
2. ตรวจสอบสวิตชเตือนกันขโมย (สวิตชชายฝากระโปรงหนา)
(ก) วัดความตานทานของสวิตช
13 คามาตรฐาน:
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
14 1-2 ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω
ถูกกด (OFF) 1-2 ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา
15 B83341
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตช

16 3. ตรวจสอบชุดไฟแสดงสถานะกันขโมย
(ก) จายแรงดันไฟฟาแบตเตอรีร่ ะหวางขัว้ ของไฟแสดงสถานะ แลว
17 ตรวจเช็คสภาวะการสองสวางของไฟแสดงสถานะกันขโมย
ปกติ:
19 สภาวะที่ตรวจวัด สภาวะที่กําหนด
แบตเตอรี่ขั้วบวก (+) → ขั้ว 2
ติดขึ้น
26 แบตเตอรี่ขั้วลบ (-) → ขั้ว 1
B83340
ขอควรระวัง:
27 • ถาตอสายขั้วบวก (+) และสายขั้วลบ (-) ไมถูกตอง ไฟแสดง
สถานะกันขโมยจะไมติดสวาง
28 • ถาแรงดันไฟฟาต่าํ เกินไป ไฟแสดงสถานะกันขโมยจะไมตดิ สวาง
ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดหลอดไฟ
29
30
31
32
การวิเคราะหปญหา − ระบบกันขโมย 05–839

4. ตรวจสอบสวิตชชายประตู (ดานคนขับ, ดานผูโ ดยสารเบาะหนา,


ไมถูกกด (ON) ดานหลังขวา และดานหลังซาย) 1
ถูกกด (OFF) (ก) วัดความตานทานของสวิตช
คามาตรฐาน: 2
1
การตอขั้วทดสอบ สภาวะของสวิตช สภาวะที่กําหนด
1 – กราวดตัวถัง ไมถูกกด (ON) ต่ํากวา 1 Ω 3
กราวดตัวถัง 1 – กราวดตัวถัง ถูกกด (OFF) 10 kΩ หรือสูงกวา
B82879

ถาผลที่ไดไมตรงตามที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดสวิตช 5
10
11
12
13
14
15
16
17
19
26
27
28
29
30
31
32

You might also like