You are on page 1of 4

คุณ ลักษณะเฉพาะของสารละลายเบ็นโทไนท์ เมื่อผงเบ็นโทไนท์ถูกนํามาผสมกับน้ําสะอาดและกวนให้

แตกตัว แล้ว จะกลายเป็ น สารละลายเบ็น โทไนท์ ที่มีค วามหนืด (Viscous Slurry) และหากปล่ อ ยให้ อยู่
นิ่ง ๆ ในระยะเวลาหนึ่ง (เรียกว่า Exposure time หรือ Contact Time) ความเหนียวหนืดจะเพิ่มมาก
ขึ้น (Thick) แต่ ค วามเหนีย วหนืด นี้จ ะลดลง (Thin) เมื่อ สารละลายถูก กวนให้ ปั ่ น ป่ ว น (Agitation)
ปรากฎการณ์ เ ฉพาะนี้เรียกว่ า Thixotropy Characteristic (ณรงค์แ ละคณะ, 2543ก) สาเหตุม า จาก
เม ื่ อสารละลายฯอยู่ นิ่ง ๆนั้น ประจุไ ฟฟ้ า ในอนุภ าคเล็ก ๆของผงเบ็น โทไนท์ จ ะดึง ดูด ซ ึ่ งกัน และกัน ก่
อตัว เป็ น โครงสร้ า งของอนุภ าคลอยแขวนคล้ า ยเมือ กวุ้ น (Gel) เมื่อ เมือ กวุ้ น นี้ถูก กวน (Agitated) จะ
ทํา ให้ ป ระจุไ ฟฟ้ า ที่ดึง ดูด กัน อยู่ ถูกทํา ลายลงทํา ให้ โ ครงสร้ า งอนุภ าคลอยแขวนท ี่เ ป็ น เมือ กวุ้ น เกิดการ
แยกตัว (Disperse) กระจัดกระจายทํา ให้สารละลายกลับเป็นของเหลว (Fluid) ไหลได้อีก

คุณ ลักษณะเฉพาะสารละลายโพลิเมอร์ (Polymer Slurry ) แม้นสารละลายเบ็นโทไนท์ จะมีข้อดีอยู่


มากมายหลายประการแต่ ส ารละลายเบ็น โทไนท์ มีข ้ อ เสีย คือ ก่ อ ให้ เกิด ปั ญ หากับ สิ่ง แวดล้ อ มเนื่อ งจาก
เบ็นโทไนท์ ไม่ สามารถถูกย่อยสลายได้และอนุภาคของเบ็นโทไนท์จะ แขวนลอยอยู่ ใ นน้ําอีกทั้งยังก่อ ให้
เกิด ปั ญ หาด้ า นฝุ่ น ละออง เพื่อ ขจัด ปั ญ หาดัง กล่ า วจึง ได้ มีก ารนํา เอาโพลิเ มอร์ ม าใช้ เ พราะโพลิเ มอร์ เ ป็
นสารประเภท Hydrocarbon ที่สามารถย่อยสลายได้ด้วยกระบวนการทางชีวภาพ (Biodegradation)
จึงไม่ก่อ ให้เกิดปั ญหาด้านสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันจึงได้มีการทําสารละลายโพลิเมอร์ มาใช้ ในการ ก่อสร้
างเสาเข็มเจาะในหลายๆ โครงการ (ณรงค์, เผด็จ, และพรพจน์, 2543ข)
ทํา การวิจัย และสรุป ว่ า หากปล่ อ ยให้ ส ารละลายเบ็น โทไนท์ อ ยู่ นิ่ง ๆ โดยไม่ ถูก รบ กวน (Non
Agitation) เป็นเวลานาน Filter Cake จะก่อตัวที่ผนังรูเจาะหนา Fleming et al (1977) ที่เสนอแนะว
่าให้ทําการเทคอนกรีตเสาเข็มระบบเจาะเปียกให้แล้วเสร็ภายใน 24 ชั่ว โมงหลังการขุดเจาะแล้วเสร็จข้
อเสนอแนะข้ างต้ นค่อนข้างตรงกับการปฏิบัติงานจริงในสนามเพราะในขณะทํา การขุดเจาะสารละลาย
เบ็น โทไนท์ จ ะถูก รบกวน (Agitated) ตลอดเวลา ทํา ให้ Filter Cake ก่ อ ตัว ช้ า และน้ อ ยหลัง การขุด
เจาะหรือทําความสะอาดสารละลายฯแล้วเสร็จ Filter Cake จะเร ิ่ มก่อตัวมากเน ื่ องจากสารละลาย
ฯจะอยู่ นิ่ง ท ี่ เรีย กว่ า Exposure Time หรือ Contact Time มาตรฐาน ACI 336.1.94 แนะนํา ว่ า ไม่
ควรปล่อ ยให้ ส ารละลายฯในรูเจาะอยู่ นิ่ง ๆ โดยไม่มีการกวน (Non Agitation) นานเกินกว่ า 4 ชั่ว โมง
หากเวลาระหว่างการขุดเจาะแล้วเสร็จจนถึงเวลาเริ่มเทคอนกรีตนานเกิน 24 ชั่ว โมง ต้องทําการขุดคว้
านรูเ จาะใหม่ เ พื่อ ครูด Filter Cake ให้ ห ลุด ออกแล้ ว ทํา ความสะอาดสารละลายฯจากนั้น ตรวจสอบ
คุณสมบัติสารละลายฯที่ก้นหลุมและปรับปรุงคุณสมบัติใหม่อีกคร ั้งให้ตรงตามข้อกําหนดก่อนทําการเท
คอนกรีตจึงจะทําให้ได้แรงเสียดทานระหว่างผิวเสาเข็มกับผิวรูเจาะดีขึ้น
การศึก ษาถึง ผลกระทบของ Viscosity ต่ อ กํา ลัง รับ แรงเสีย ดทานที ่ผ ิว ซึ ่ง ได้ ส รุป ไว้ ว ่ า ถ้ า
Viscosity มีค ่ า มากกว่ า 35 sec/quartแล้ วจะทํา ให้ แ รงเสีย ดทานที่ผิว ของเสาเข็ม ลดลงเช่ น กัน ใน
โครงการนี้จึง ได้ มีก ารกํา หนดไว้ ว ่ า เวลาท ี่ใ ช้ ใ นการก่ อ สร้ า งเสาเข็ม เจาะแต่ ล ะต้ น จะต้ อ งไม่ ม ากกว่ า
24 ชั่วโมงและ Viscosity จะต้องไม่มากกว่า 35 sec/quart จากผลการทดสอบหลายโครงการพบว่าค่
าแรงเสียดทานที่ผิวเสาเข็มมีแนวโน้มสูงกว่าเสาเข็มท ี่ใช้สารละลายเบ็นโทไนท์ จะเห็นได้ว่าสัดส่วนแรง
เสีย ดทานที่ผิว ของเสาเข็ม เจาะทีฎใช้ ่ โ พลิเ มอร์ จ ะค่ อ นข้ า งสูง กว่ า เสาเข็ม เจาะท ี่ใ ช้ เ บนโทไนท์ เป็ น ผ
ลการทดสอบกํา ลัง รับ น้ํา หนัก บรรทุก ของเสาเข็ม เจาะท ี่ใ ช้ ส ารละลาย โพลีเ มอร์ ใ นการก่ อ สร้ า งของ
โครงการก่ อ สร้ า งสะพานยกระดับ รับ สะพานข้ า มแม่ นฎาเจ้ ้ า พระยา ในการใช้ ส าร ละลายโพลีเ มอร์ ข ้
อสํา คัญ ที่ ควรระวัง ก็คือ จะต้ อ งศึก ษาชั้น ดิน แต่ ล ะแห่ ง อย่ า งละเอีย ดว่ า มีค วามเหมาะสมที่จ ะนํา โพลิเม
อร์มาใช้หรือไม่เพราะในชั้นดินทีฎเป็ ่ นทรายหยาบจะเกิดปัญหา High Fluid Loss และสารละลายโพลิเม
อร์จะมี Density ฎากว่
ต่ าสารละลายเบ็นโทไนท์ทําให้แรงดันของสารละลายฯในหลุมเจาะจะมีค่าต่ํากว่า
แรงดันจากสาร ละลายเบนโทไนท์

คุณสมบัติของสารละลายพยุงดิน

 
 

เครื่องมือและอุปกรณ์ที่สําคัญในการทําเสาเข็มเจาะ

1. ถั ง ผสมและถั ง เก็ บ น้ํา ยาเบนโทไนท์ / โพลี เมอร์ (BENTONITE-POLYMER SLURRY MIXER TANK
2. สารละลายเบนโทไนท์ / โพลี เมอร์ ( BENTONITE-POLYMER SLURRY )
3. รถยกบริ การเอนกประสงค์ (SERVICE CRANE )
4. ท่ อ เทคอนกรี ตใต้ น้ํา ( TREMIE TUBE )
5. เครื่ องเจาะระบบไฮดรอลิ ก ( HYDRAULIC DRILLING RIG )
6. หั วเจาะแบบสว่า น ( AUGER )
7. หัวเจาะแบบถังหมุน ( BUCKET )
8. ปลอกเหล็ก ป้องกั น ดิน พัง ทลาย ( TEMPORARY CASING )
9. เครื่ องกดและถอนปลอกเหล็กระบบสั่น ( VIBRO HAMMER )

การขุดเจาะเสาเข็มด้วยระบบแห้ง (DRY PROCESS)

ช่วงแรกทําการเจาะดินภายในปลอกเหล็กด้วยหัวเจาะแบบสว่าน (AUGER) ซึ่งในหลุมเจาะจะยังไม่มีน้ํา


หรือดินปนเข้ามาขั้นตอนนี้จึงเป็นการเจาะแบบระบบแห้ง เมื่อเจาะลงไปใกล้ถึงชั้นดินปนทราย (SILTY
CLAY/CLAYED SAND) จะเริ่มมีน้ําหรือดินสามารถทะลักเข้ามาในหลุมเจาะได้ จึงทําการใส่สารละลาย
ช่วยพยุงดิน (BENTONITE-POLYMER SLURRY) เพิ่อป้องกันไม่ให้ดินในหลุมเจาะเกิดการพังทลาย
พร้อมทั้งเปลี่ยนหัวเจาะมาเป็นแบบถังหมุนหรือบุ้งกี๋ (BUCKET)

การขุดเจาะเสาเข็มด้วยระบบเปียก (WET PROCESS)


ดํา เนิน การเจาะดิน ด้ว ยหัว เจาะแบบถัง หมุน หรือ บุ้ง กี๋( BUCKET) จนถึง ระดับ ความลึก ที่ต้อ งการ ซึ่ง
ระหว่างนี้จะต้องเติมสารละลายพยุงดินในหลุมเจาะอยู่ตลอดเวลาโดยที่ร ะดับของสารละลายพยุงดินอยู่
ไม่ต่ํา กว่า 2 เมตรจากขอบด้า นบนของปลอกเหล็ก สารละลายพยุง ดิน ในหลุม เจาะนี้เ ป็น ส่ว นผสมของ
เบนโทไนท์กับ โพลีเ มอร์ โดยที่เ บนโทไนท์เ ป็น ตัว ก่อ เยื่อ บุทึบ น้ํา (FILTER CAKE) ที่ผ นัง ของหลุม เจาะ
ทํา ให้ส ารละลายถ่า ยแรงดัน ไปที่เ ม็ด ทรายได้ส่ว นโพลีเ มอร์เ ป็น สารสัง เคราะห์ ชนิด โมเลกุล ใหญ่ห รือ
แบบลูกโซ่ชนิดยาว(LONG CHAIN MOLECULE) จะซึม ผ่านเข้าในชั้นทราย โครงสร้างของโพลีเมอร์จ ะ
จับ ตัว ยึด เหนี่ย วกับ เม็ด ทรายทํา ให้ผ นัง หลุม เจาะจับ เป็น กลุ่ม ก้อ นเล็ก ๆตกลงสู่ก้น หลุม เจาะเร็ว ขึ้น เมื่อ
เจาะถึง ความลึกที่ต้อ งการจะทิ้ง หลุม เจาะไว้ป ระมาณ 1 ชั่ว โมง เพื่อ รอให้ต ะกอนตกลงมาก้นหลุมเจาะ
ให้ห มดแล้ว จึง ใช้หัว เจาะแบบถัง หมุน หรือ บุ้ง กี๋ก วาดเก็บ ตะกอนขึ้น มาให้ห มด แล้ว ทํา การตรวจสอบ
ความลึกอีกครั้งด้วยลูกดิ่งถ่วงสายสลิงที่ทําเครื่องหมายแสดงระยะเอาไว้

ทดสอบความหนืดของสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยวิธี Marsh Cone Viscosity Test


- 40-60 sec for Polymer-Bentonite Slurry
- 30-55 sec for Bentonite Slurry
ทดสอบความเป็นกรดด่างของสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยใช้ Lismas paper
- 8-11 for Polymer-Bentonite Slurry
- 9-11 for Bentonite Slurry
ทดสอบความหนาแน่นของสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยใช้ Mud Balance
- 1.02 g/ml for Polymer-Bentonite Slurry
- 1.02-1.15 g/ml for Bentonite Slurry
ทดสอบปริมาณทรายในสารละละลายพยุงหลุมเจาะโดยใช้ Sand Screen
- < 1% for Polymer-Bentonite Slurry
- < 4% for Bentonite Slurry
 เปลี่ยนหัวเจาะเป็นแบบถังเจาะเก็บดิน (Bucket) แล้วทําการเจาะลงไปจนถึงระดับที่ต้องการโดย
ต้องรักษาระดับของสารละลายพยุงหลุมเจาะให้ไม่ต่ํากว่าระดับดินเดิมเกิน 3 เมตร
 สําหรับสารละลายโพลีเมอร์ หลังจากเจาะจนถึงระดับที่ต้องการแล้วรอให้ทรายตกตะกอนประมาณ
1ชั่วโมง หากพบว่ามีตะกอน ใช้ถังเก็บตะกอน หรือ Airlift ทําความสะอาดก้นหลุม

การทําความสะอาดสารละลายเบ็นโทไนท์
การขุด เจาะเสาเข็ม ลึก มากระบบเปี ย กภายใต้ ส ารละลายเบ็น โทไนท์ ใ นชั้ นดิน กรุง เทพฯที่มัก จะมีดิน
ตะกอน (Silt) แทรกผสมอยู่ในชั้นดินเหนียว (Clay) เป็น Silty clay และแทรกผสมในชั้นทราย (Sand)
เป็ น Silty sand เสมอในอดีต ตั้ง แต่ ป ี พ .ศ.2520-2535 ที่ผู้ ป ระกอบการในเมือ งไทย ยัง ไม่ มีก ารศึก ษา
อย่ า งจริง จัง ถึง ผลกระทบ ของสารละลายเบ็น โทไนท์ ต ่ อ แรงเสีย ดทานผิว เสาเข็ม ผู้ ป ระกอบการเกือ บ
ทุก รายจะใช้ เ ครื ่อ งทํา ความสะอาดสาร ละลายเบ็น โทไนท์ (Desander unit) แบบพื ้น ๆชนิด ทีฎไม่ ่
สามารถแยกดิน ตะกอน (Silt) ออกได้ โ ดยดิน ตะกอน จะ ลอดผ่ า นตะแกรงร่ อ นตกลงไปผสมกับ
สารละลายเบ็นโทไนท์อีก ทํา ให้คุณสมบัติต่างๆของสารละลายฯเสื่อม (ณรงค์ ,กมลและพรพจน์, 2543)
ซึ่งดินตะกอน (Silt) ที่แยกออกไม่ได้นอกจากจะเกิดผลกระทบกับพฤติกรรมการ รับน้ําหนักของเสาเข็ม
แล้วยังจะทํา ให้ ดินทรายที่ถูก สกัดออกมาจาก Desander unit มีลักษณะเปียกแฉะไม่ สามารถรวมเป็น
กองได้จนก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมติดตามมาด้วย
ปี พ .ศ.2535 เป็ น ต้ น มาผู้ ป ระกอบการที ่ม ีก ารศึก ษาและวิจ ัย ได้ เ ล็ง เห็น ความสํา คัญ ของ
คุณสมบัติของสารละลายเบ็นโทไนท์ว่าจะมีผลต่อพฤติกรรมการรับน้ําหนักของเสาเข็มจึงทําการเปลี่ ยน
เครื ่อ งทํา ความสะอาด Desander เป็ น ชนิด ที ่ม ี Desilting unit หัว ขุด Barrette แบบ Hydraulic
Hang Grab หัวขุด Barrette แบบ Hydromill การขุดในบริเวณความสูงจํากัดด้ วย ฺBaby hang grab
(ณรงค์และคณะ2542)
ส่ว นการความสะอาดสารละลายโพลิเ มอร์ โพลิเ มอร์ เ ป็ น สารประเภท Hydrocarbon ที่
สามารถย่ อ ยสลายได้ ด ้ ว ยกระบวนการทางชีว ภาพ (Biodegradation) จึง ไม่ ก ่ อ ให้ เ กิด ปั ญ หาด้ า นสิ่ง
แวดล้อม

You might also like