You are on page 1of 7

ตารางที่ 1 สรุปสถานการณ์กลุ่มเปราะบางและสถานการณ์ทางสิทธิทางสุขภาพจากเนื้อหาในบทที่ 3

กลุ่มเปราะบาง กลุ่มย่อย ประชากร สถานการณ์ทางสิทธิทางสุขภาพ หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

ยากจนห่างไกล 7.2 ล้านคน1 - การเข้าถึงบริการ - สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ


พิการ 3.8 แสนคน2 - การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพ (สปสช.)
- กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง
เปราะบางทางสังคม
สาธารณสุข
1. กาพร้า 1. 3.6ล้านคน3 -การเข้าถึงบริการ เนื่องจากไม่มีบัตร ไม่
- ส านั ก ปลั ด กระทรวงพั ฒ นาสั ง คมและ
2. ถูกทอดทิ้ง 2. 6 ร้อยคน4 มีที่อยู่
เยาวชน ความมั่นคงของมนุษย์
3. ใช้สารเสพติด 3. 9.6 ล้านคน5 -การเข้าถึงข้อมูลสิทธิทางสุขภาพ
- กรมกิจการเด็กและเยาวชน พม.
4. 2 ล้านคน6
- กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
4. แม่วัยรุ่น

1
ข้อมูล ปี พ.ศ. 2560 (เฉพาะภาคเรียนที่ 1 ) โดย 7.2 ล้านคนประกอบเป็นกลุ่มเด็กยากจนและเด็กด้อยโอกาสตามนิยามของกระทรวงศึกษาธิการ ข้อมูลจากงานสถิติการศึกษา
กลุ่มสารสนเทศ สานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษธิการ1 https://portal.bopp-obec.info/
2
ข้อมูล ปี พ.ศ. 2560 มีนาคม 2560 จาก กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
3
ข้อมูลจากกรมการปกครองในปี พ.ศ. 2555 และข้อมูลจากยูนิเซฟ 2557 เนื่องจากการตีความเด็กกาพร้า คือเด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ หรือพ่อ หรือแม่คนใดคนหนึ่งเนื่องจากไม่มี
หน่วยงานที่ทาการเก็บข้อมูลทาให้ตัวเลขไม่เป็นปัจจุบัน
4
ยอดรวมเด็กถูกทอดทิ้งตั้งแต่ พ.ศ. 2556 – 2559 จากกรมกิจการเด็กและเยาวชน
5
ผู้ใช้สารเสพติดนิยามรวมถึง ผู้ที่ดื่มสุราและบุหรี่ ซึ่งตามการสารวจของสานักงานสถิติในปี พ.ศ. 2557 จานวนประมาณ 9.6 ล้านคน แต่หากระบุเฉพาะจานวนผู้เข้ารับการบาบัด
สารเสพติดของสถาบัน สถาบันธนารักษ์ มีจานวนผู้เข้ารับการบาบัดประมาณ 3 พันคนใน ปี พ.ศ. 2559
6 ประมาณการจาก สัดส่วนแม่วัยรุ่น ที่อัตรา 44.8 ต่อประชากร 1000 คน ตามข้อมูลอ้างอิงในบทที่ 3 หัวข้อ กลุ่มหญิงที่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
กลุ่มเปราะบาง กลุ่มย่อย ประชากร สถานการณ์ทางสิทธิทางสุขภาพ หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

5. เด็กในสถานพินิจ 5. 1 หมื่นคน7 - ส านั ก สนั บ สนุ น สุ ข ภาวะเด็ ก เยาวชน


ปัญหาเฉพาะ -การเข้าถึงบริการเนื่องจากไม่มีบัตร ไม่ และครอบครัว สสส.
1. เร่ร่อน 1. 3 หมื่นคน8 สามารถดูแลตัวเองได้ (เด็กเร่ร่อน) - กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
2. ไร้สัญชาติ 2. 3 ล้านคน9 - กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
-การเข้าถึงข้อมูล สิทธิประโยชน์
3. ติดเชื้อ HIV 3. 3 พันคน10 - องค์การยูนิเซฟ
4. แรงงานเด็ก 4. 3 แสนคน11 - สถาบันราชานุกูล
5. ค้ามนุษย์และ 5. 6 หมื่นคน12 - มูลนิธิโรงพยาบาลเด็ก
ค้าประเวณี - สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี

7
ระบบงานคดีอาญา (CM) กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน โดยข้อมูลปี พ.ศ. 2560 ถึงวันที่ 17 กรกฎาคม 2560
8
สารวจเกี่ยวกับครูข้างถนน จัดทาขึ้นในปี พ.ศ. 2553 โดยมูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก เป็นประมาณการจากเด็กเร่ร่อนทั่วประเทศโดยรวมเด็กเร่ร่อนที่เป็นเด็กไทยและเด็กต่างชาติเข้าไป
ด้วย โดยรายงานนี้รายงานในปี พ.ศ. 2558 อ่านเพิ่มเติมได้ที่ http://www.fblcthai.org/?name=news&file=readnews&id=21 หรือ คลิ๊กที่นี่
9
ข้อมูลประมาณการแน่ชัดไม่สามารถติดตามได้ รายงานของสานักงานสถิติย้อนปี พ.ศ. 2553 จานวนประมาณ 136,942 คน ขณะที่ UNICEF ประมาณไว้ที่ 2 ล้านคนในปี พ.ศ.
2552 ในปี พ.ศ. 2558 รายงานการสารวจเด็กไร้สัญชาติของประเทศจาก ไทยทริบูนประมาณ 3 ล้านคน
10
รายงานสถานการณ์เอชไอวีและเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการประมาณการด้วยแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ จากสานักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข
11
ข้อมูลจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2559
12
จากประมาณการของ องค์ ก ร End Child Prostitution, Childe Pornmography and Trafficking of Children for Sexual Purposes อ้ า งอิ ง การศึ ก ษา ของ NGO (U
Department of State 2009 Country Reports on Human Rights Practices- Thailand ตามที่อ้างอิงใน (Veyoma Hevamange, 2011) )
กลุ่มเปราะบาง กลุ่มย่อย ประชากร สถานการณ์ทางสิทธิทางสุขภาพ หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

ผู้สูงอายุ 8.8 แสนคน13 -การเข้ า ถึ ง บริ ก าร (กลุ่ ม ผู้ สู ง อายุถู ก - ส านั ก งานประกั น สุ ข ภาพ กระทรวง
ทอดทิ้ง และอยู่คนเดียว) สาธารณสุข
-การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล (กลุ่ ม ผู้ สู ง อายุถู ก - กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ทอดทิ้ง) - กรมกิจการผู้สูงอายุ พม.
- มูล นิธิส ถาบันวิจัยและพัฒ นาผู้ สู ง อายุ
ไทย
- ศู น ย์ ส่ ง เสริ ม ฟื้ น ฟู สุ ข ภาพผู้ สู ง อายุ
สภากาชาดไทย
- ส านั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า ง
เสริมสุขภาพ (สสส.)
ผู้มีปัญหาด้าน 6 แสนคน 14 -การเข้าถึงบริการ - ก ลุ่ ม ป ร ะ กั น สุ ข ภ า พ ส า นั ก ง า น
สถานะ -การเข้าถึงข้อมูล ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

13
ประมาณการจากอัตราส่วนผู้สูงอายุที่อยู่เพียงลาพัง 9 % และอัตราผู้สูงอายุที่มีภาวะติดเตียง 1.5 % ของ ปี พ.ศ. 2557 ตามรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย มูลนิธิสถาบันวิจัย
และพัฒนาผู้สูงอายุไทย โดยมีสมมุติฐานว่า อัตราการอยู่ลาพังและอัตราผู้สูงอายุติดเตียงคงที่เช่นเดี ยวกันใน คานวณจากจานวนประชากรผู้สูงอายุ ปี พ.ศ. 2559 ณ วันที่ 31
ธันวาคม พ.ศ. 2559 สถิติประชากร กรมการปกครอง
14
ตัวเลขผู้ลงทะเบียนกองทุนเพื่อสิทธิทางด้านการรักษาพยาบาลแก่บุคคลที่มีปัญหาทางสถานะและสิทธิโดยไม่ต้องรอพิสูจน์สถานะบุคคล ปี พ.ศ. 2560 จากกระทรวงสาธารณสุข
ประมาณ 5 แสนกว่ารายอ่านเพิ่มเติมในเนื้อหาบทที่ 3
กลุ่มเปราะบาง กลุ่มย่อย ประชากร สถานการณ์ทางสิทธิทางสุขภาพ หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

-ความเข้ า ใจด้ า นกฏระเบี ย บ ผู้ ใ ห้ - เครือข่ายชนเผ่ าพื้นเมือ งแห่ งประเทศ


ผู้รับบริการ ไทย
- เครือข่ายสุขภาพชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง
- สานักสนับสนุนสุขภาวะประชากรกลุ่ ม
เฉพาะ (สสส.)
- รศ.ดร. พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สาย
สุนทร
- ส านั ก งานข้ า หลวงใหญ่ ผู้ ลี้ ภั ย แห่ ง
สหประชาชาติ (UNHCR)
- คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชน
ชาติ ผู้ไร้สัญชาติ แรงงานข้ามชาติและผู้
พลัดถิ่น
- มูลนิธิกระจกเงา
กลุ่มเปราะบาง กลุ่มย่อย ประชากร สถานการณ์ทางสิทธิทางสุขภาพ หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

แรงงานต่างชาติ ในระบบ 1.5 ล้านคน15 - ถูกจากัดสิทธิการเข้าถึง เนื่องจากภาระ - กลุ่มประกันสุขภาพ สานักงาน


ทางสถานบริการ (เช่น กรณีศึกษาจังหวัด ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภูเก็ต) - มูลนิธิภิวัฒน์สาธารณสุขไทย (ภวส.)
- สานักงานประกันสังคม
นอกระบบ ไม่เกิน 2 หมื่นคน -ไม่มีบริการ ไม่มีสิทธิ
- เครือข่ายสุขภาพชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง

คนยากจน 4.8 ล้านคน16 เข้าถึงบริการ (ปัญหาจากภาวะ - สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ


เศรษฐกิจ) (สปสช.)
การเข้าถึงข้อมูล - เครือข่ายชุมชนแออัด
- เครือข่ายสลัม 4 ภาค
- กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (พม.)

2 หมื่นคน17 -สุขภาพจิต

15
ข้อมูลแรงงานต่างด้าวที่ทางานในไทย ปีพ.ศ. 2560 สานักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน อย่างไรก็ตามข้อมูลแรงงานต่างด้าวที่ผิดกฏหมายในไทยไม่
เกิน 2 หมื่นคนเป็นตัขเลขประมาณจาก ข้อมูลในรายงานของปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อ้างองิง สานักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน
กระทรวงแรงงาน ในเนื้อหาบทที่ 3 ภาพที่ 30
16
รายงานวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้า พ.ศ. 2558 จาก (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 2559)
17
ข้อมูลปี พ.ศ. 2557 โครงการหน่วยเคลื่อนที่เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนใต้ โดยรวมกลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบที่เป็นเด็กและสตรีแล้ว
กลุ่มเปราะบาง กลุ่มย่อย ประชากร สถานการณ์ทางสิทธิทางสุขภาพ หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง

3 จังหวัดชายแดน กลุ่มหญิงหม้าย 3 พันคน -ขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ - ศูนย์บริห ารการพัฒ นาสุ ขภาพจั ง หวั ด


ใต้ ชายแดนภาคใต้
- กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
- สถาบันจัดการระบบสุขภาพ ม.อ.

กลุ่มผู้ต้องขังหญิง 4.7 หมื่นคน -ข้อจากัดด้านการความปลอดภัย อิสระ - กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม


ในการตัดสินใจด้านสุขภาพของตน - กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความ
-การเข้าถึงข้อมูลของผู้ต้องขัง มั่นคงของมนุษย์
- ข้ อ จ ากั ด ด้ า นสถานให้ บ ริ ก ารและ - กระทรวงสาธารณสุข
เวชภัณฑ์ - (สสส.)
คนเร่ร่อน 3 พันคน (กทม)18 -การเข้าถึงบริการ ไม่มีสิทธิ ตกหล่น - กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ พม.
ไม่เข้าถึงข้อมูล ด้วยสถานะทางเศรษฐกิจ - มูลนิธิกระจกเงา
สังคม - เครือข่ายคนไร้บ้าน
- สานักสนับสนุนสุขภาวะประชากรกลุ่ ม
เฉพาะ (สสส.)
- กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

18
รายงานการสารวจข้อมูลทางประชากรเชิง ลึกของคนไร้บ้าน ในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง สารวจโดยภาคีเครือข่าย สนับสนุนโดยกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ พ.ศ. 2559

You might also like